รายงานผลการดำเนนิ งาน
โครงการการศกึ ษาอัตลกั ษณเ์ รอื แขง่ เมอื งน่าน ผ่านรปู แบบ
เชิงชา่ งศิลปห์ ัตถกรรมพื้นถนิ่ น่าน
ประจำปีงบประมาณ 2563 - 2564
คำนำ
ศูนย์น่านศึกษา หออัตลักษณ์นครน่าน วิทยาลัยชุมชนน่าน เป็นศูนย์การเรียนรู้ ที่สนับสนุนสร้าง
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ของเมืองน่าน แหล่งศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิตและเผยแพร่องค์ความรู้ เชิงประวัติศาสตร์
ภมู ปิ ญั ญา ศิลปวฒั นธรรม ทุนทางสังคมสกู่ ารจดั การการท่องเท่ียวแก่คนเมืองน่านและสาธารณชน สร้างเสริม
เอกลักษณไ์ ทย อนรุ กั ษ์ ประเพณวี ฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทยและภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น
ศูนยน์ ่านศกึ ษา หออตั ลักษณ์นครน่าน วทิ ยาลัยชุมชนน่านจึงไดจ้ ัดทำโครงการการศกึ ษาอัตลกั ษณ์เรือ
แข่งเมืองน่าน ผ่านรูปแบบเชิงช่างศิลป์หัตถกรรมพื้นถิ่นน่าน ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหาร
การพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท.6 เพื่อมุ่งเน้นถอดรูปแบบ
ความงามและเอกลักษณ์เฉพาะของตัวเรือแข่งเมืองนา่ น ที่เป็นเชิงช่างหัตถศิลป์พื้นถิ่น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน
เพื่อเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเชงิ พื้นที่ ในการที่จะเป็นต้นทุนของเมืองน่าน สามารถปกป้องรักษาคุณค่าของ
ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ มุ่งหวังทจี่ ะเปน็ แนวทางในการตอ่ ยอดการอนุรักษร์ ักษาจติ วญิ ญาณ ประเพณวี ัฒนธรรมแห่ง
สายน้ำนไ้ี ว้คูก่ ับเมืองน่านต่อไป
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน
ประจาปี งบประมาณ 2563 – 2564 ก|Page
สารบญั
เรื่อง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทท่ี 1 บทนำ 1- 2
1.1 หลักการและเหตผุ ล 2–4
1.2 วัตถปุ ระสงค์ 4
1.3 การตรวจเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 4
1.4 ขอบเขตของการวิจยั 4-5
1.5 กรอบ การตั้งมมติฐานการวจิ ยั 5–6
1.6 ระยะเวลาดำเนินโครงการตามแผนงาน 6–7
1.7 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 7
บทท่ี 2 เอกสารท่เี กี่ยวข้อง 8
2.1 โครงร่างโครงการการศึกษาอตั ลักษณ์เรือแข่งเมืองนา่ น 8
2.2 งบประมาณ 9 – 10
2.3 กจิ กรรมที่ 1 ลงพ้นื ทจ่ี ดั เวทีถอดบทเรียนเรอื แขง่ นา่ นในจงั หวดั น่าน 11 – 27
2.4 กจิ กรรมที่ 1 ลงพ้นทจ่ี ดั เวทีถอดบทเรียนเรอื แขง่ นา่ นในจงั หวัดน่าน 28 – 45
2.5 กิจกรรมที่ 3 ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในการจดั ทำเรอื จำลองเมืองนา่ นในแตล่ ะยุค 46 – 63
2.6 กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปผลการวจิ ัย 64 – 73
2.7 กจิ กรรมท่ี 2 เวทคี ืนข้อมลู ตอ่ ผสู้ ว่ นไดเ้ สีย 74 - 104
บทท่ี 3 สรปุ ผลการวจิ ัย 105
3.1 อภิปรายผลการวิจยั 105 - 127
ภาคผนวก 128 - 159
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน
ประจาปี งบประมาณ 2563 – 2564 ข|Page
บทที่ 1
บทนำ
นา่ น มปี ระวตั ศิ าสตร์ที่ยาวนานมากกว่า 700 ปี เคียงคู่กับนครรัฐสโุ ขทยั ดังมีหลักฐานปรากฏการณ์
ตั้งเมืองวรนคร ตั้งแต่ปี พ.ศ.1825 มีวัฒนธรรมอันโดดเด่นเป็นของตนเอง ซึ่งในอดีตจังหวัดน่านเป็นนครรัฐ
อิสระ มีเจ้าผู้ครองนครทั้งสิ้น 64 พระองค์ มีกฎหมายใช้ในการปกครองเป็นของตนเอง เรียกว่า “อาณาจักร
หลักคำ” และเมื่อปี พ.ศ.2474 นครน่านได้ถูกผนวกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน (กรม
ศิลปากร, 2537) ซึ่งความเป็นนครรัฐอิสระดังกล่าว ได้สั่งสมไว้ซึ่งเอกลักษณ์เฉพาะตนทั้งทางด้าน
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม ศิลปกรรม ตลอดถึงขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามและยังคงมีโบราณสถานท่ี
ยงั คงบทบาทสำคัญต่อชมุ ชน ตราบปจั จุบนั
ศิลปกรรมแบบน่านบริสุทธิ์ เป็นหนึ่งในศิลปกรรมที่มีรูปแบบที่แตกต่างจากงานศิลปกรรมแห่งอื่น ๆ
จากการศึกษาเธียรชาย อักษรดิษฐ์ และคณะ(2561) จำแนกศิลปกรรมแบบน่านบริสุทธ์ิไว้ 5 ประเภท
ประกอบด้วย 1) ประเภทสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของศิลปกรรมน่านบริสุทธิ์มี
รปู แบบทนี่ ่านสนใจ กล่าวคอื มีการจัดองคป์ ระกอบของศาสนสถานที่เฉพาะ รวมถึงมีการประดับและตกแต่งท่ี
แตกต่างจากแหง่ อน่ื ๆ เชน่ วิหารวดั พระธาตแุ ชแ่ หง้ วิหารและอุโบสถวดั ภูมินทร์ วิหารวดั นาหวาย เป็นต้น 2)
ประเภทจติ รกรรมและลายประดับคำ ความโดดเดน่ ของศลิ ปกรรมประเภทจิตรกรรมเขียนสีสกลุ ช่างเมืองน่าน
นั้น อยู่ที่โครงสร้างหรือองค์ประกอบของการจดั วางภาพในการเล่าเรื่องและโทนสที ี่เป็นเอกลักษณ์ของสีคูต่ รง
ข้าม เช่น ส้มแดงกับสีครามน้ำเงิน สำหรับรายละเอียดนั้นได้สะท้อนวิถีชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี
อีกทั้งแสดงความสัมพันธ์ของกลุ่มในสังคมเมืองน่าน โดยศิลปินได้จำแนกและถ่ายทอดให้ปรากฏออกมาอย่าง
ชัดเจนและแม่นยำทั้งลักษณะรูปพรรณสัณฐานรวมถึงวัฒนธรรมการแต่งกาย เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผ นังวัด
ภูมินทร์ และจิตรกรรมฝาผนังหลังพระประธานวัดหนองบัว เป็นต้น 3) ประเภทลวดลายปิดทอง ลาย
ปิดทองล่องชาด เป็นการใชเ้ ทคนิคการปรุหรือฉลุกระดาษเปน็ แบบ แล้วทำการทารักปิดทองคำเปลวบนพื้นผิว
ที่เตรียมไว้ จากนั้นจึงดึงกระดาษต้นแบบออกจงึ เกิดเป็นลวดลายซำ้ ๆ กันอย่างต่อเนือ่ งหรือเป็นองค์ประกอบ
ใหม่ไปเรื่อย ๆ ตามแต่ช่างผู้สร้างงานจะออกแบบไว้ มักปรากฏอยู่ภายในอาคาร เช่น โครงสร้างของวิหาร
ได้แก่ ฝาย้อย ขื่อ คาน เสา และปรากฏอยู่บนเครื่องใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ ได้แก่ ธรรมาสน์ หีบธรรม และขัน
ดอก เป็นต้น สำหรับลวดลายที่มักปรากฏเป็นงานปิดทองน้ัน มกั จะเป็นจำพวกลวดลายประดิษฐ์ พันธ์ุพฤกษา
สัตว์ เทวดา อดีตพุทธ และลวดลายหม้อดอก หรือ “หม้อปูรณฆฏะ” เช่น ลวดลายเสาวิหารวัดภูมินทร์ และ
ลวดลายเสาวหิ ารวัดร้องแง เปน็ ต้น 4) ประเภทลายปูนป้ัน งานปูนปน้ั เป็นงานปติมากรรม ท่ีทำหน้าท่ีประดับ
ตกแตง่ ตัวสถาปตั ยกรรม มักปรากฏอยตู่ ามศาสนสถานประเภท วิหาร พระธาตุ เจดยี ์ และซมุ้ โขง เปน็ ตน้ ซึ่งมี
ส่วนผสมของปูนขาวและน้ำมันละหุ่ง น้ำอ้อยหรือกาวหนังควาย ลวดลายปูนปั้นนับเป็นงานศิลปะที่มี
เอกลักษณ์เฉพาะตัวสอดคล้องกับรูปแบบของงานสถาปัตยกรรมอย่างหนึ่งที่ทรงคุณค่าในเชิงสุนทรี ยศาสตร์
ประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์ศิลป์ ลวดลายปูนปั้นมีความต่อเนื่องเป็นวิวัฒนาการที่นับได้ว่ามีเอกภาพ
เฉพาะตัวของกลุ่มช่างในแต่ละช่วงเวลาแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธก์ ับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม
อกี ด้วย เช่น งานปูนปัน้ ชอ่ ฟา้ และลวดลายประดับซุ้มประตูวิหารวดั พระธาตุแช่แหง้ ลวดลายปูนป้ันซุ้มโขงพระ
เจ้าวัดพญาวัด ลวดลายปูนปั้นประดับเสาวิหารวัดบุญยืน ลวดลายปูนปั้นเครื่องประดับหลังคาวิหารวัดหนอง
บวั และวัดดอนมลู เปน็ ต้น นอกจากนี้นาคปูนปน้ั เปน็ อีกศลิ ปกรรมหนง่ึ ทโี่ ดดเด่นเปน็ เอกลกั ษณ์ เช่น นาคปูน
ปั้นประดบั แทน่ แกว้ พระประธาน วดั หนองแดง วดั ต้นแหลง วดั สวนตาล และวดั หัวขว่ ง ตลอดถึงนาค
ปูนปั้นที่ทอดตัวรองรับอุโบสถวัดภูมนิ ทร์ และนาคที่ทอดตัวเชื่อมเสน้ ทางเข้าสูพ่ ื้นท่ีของบริเวณวัดพระธาตุแช่
แห้ง เป็นต้น 5) ประเภทลายไม้แกะสลัก ลวดลายไม้แกะสลักเป็นอีกหนึ่งศิลปกรรมที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น มี
ปรากฏให้เห็นตาม ศาสนสถานและของใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ลวดลายแกะสลักหีบธรรม พิพิธภัณฑสถาน
แหง่ ชาติน่าน ลวดลายไม้ฉลุธรรมาสนว์ ัดพญาวัด ลวดลายไม้แกะสลักหนา้ บันวิหารและอโุ บสถวัดหนองบัว ช่อ
ฟ้าและปั้นลมไม้แกะสลักอุโบสถวัดนาหวาย พระพุทธรูปไม้แกะสลักวัดนาหวาย ลวดลายช่อฟ้าวัดหนองแดง
เป็นตน้ นอกจากนีใ้ นการแข่งขนั เรอื ยาวประจำปีของจงั หวัดนา่ น จะมกี ารทำหัวเรอื แขง่ เปน็ รูปพญานาค มีหาง
เป็นหงส์ ชาวน่านเรียกวา่ หางวัน ซงึ่ มีแห่งเดยี วทีไ่ มม่ ใี ครเหมอื น
ศิลปกรรมแบบน่านบริสุทธิ์ดังกล่าว ได้ถูกรังสรรค์ขึ้นเพื่อสนองต่อวิถีชีวิตที่เชื่อและศรัทธาใน
พระพุทธศาสนาของคนน่าน พัฒนาการและสืบสานมายังอนุชนรุ่นหลัง ที่เรียกขานว่า “พุทธศิลป์น่าน” ใน
ปัจจุบัน อันแสดงให้เห็นถึงฝีมือด้านช่างของบรรพชนคนน่านได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้หากไม่ได้รับการสืบทอด สืบ
สาน และต่อยอด ศลิ ปกรรมอนั เป็นมรดกท่ีล้ำคา่ ดงั กลา่ วย่อมเสื่อมคลายและสูญสิ้นในทสี่ ดุ
ดังที่กล่าวมาแล้ว นครน่าน จึงเป็นดินแดนที่มีบริบทของการก่อเกิดเมืองที่มีมาพร้อมๆกับแคว้น
โบราณอน่ื ๆ และอย่ใู นเสน้ ทางการแผข่ ยายอิทธิพลของแว่นแคว้นอาณาจักรทสี่ ำคัญๆ ในภูมภิ าคน้ี จึงส่งผลให้
เกิด การโอนถ่ายอำนาจทางการ ปกครองของรัฐชาติและการก่อเกิดวัฒนธรรมต่างๆ ที่ผสมผสานความ
หลากหลายจนกลายเปน็ แบบฉบับของตัวเอง (พิสุทธิศ์ ิลป์) ในอดีตนครนา่ น แม้จะมีฐานะเป็นนครรฐั เล็กๆ ใน
ดินแดนลา้ นนาด้านทิศตะวนั ออกและผ่านการเปลย่ี นแปลงใน หลายช่วงมติ ิของเวลาที่สัมพนั ธ์กบั บริบทของรัฐ
ชาติ ทำให้พื้น “นครน่าน” มีอัตลักษณ์ทางสังคม และวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่า ส่งผลเป็นต้นทุนของการ
ท่องเท่ียวในปจั จุบนั
1. หลักการและเหตผุ ล
นครน่าน มมี ติ ิของประวัติศาสตร์ เรื่องราวทง้ั ในระดับพืน้ ท่ี ชาตพิ นั ธุ์ วถิ ชี ีวิต ของผู้คนที่ถือว่ามีความ
เป็นพหุวัฒนธรรมที่สูงมาก เป็นความท้าท้ายที่จะให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา ค้นคว้า วิจัยองค์ความรู้ ทางด้าน
มานษุ ยวิทยาในระดบั สงู ต่อไป เพ่ือทำความเข้าใจในมิตขิ องภูมวิ ฒั นธรรม อธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมต้ังแต่
อดีตจนปัจจุบัน สู่การเปลี่ยนถ่ายในสภาวะท่ามกลางกระแส โลกาภิวัฒน์ที่หลั่งไหลเข้ามาใน “นครน่าน”
พร้อมกับธุรกิจการท่องเที่ยวที่กำลังเติบโตในมิติเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ใน โลกยุคปัจจุบัน ซึ่งคนน่านมิอาจ
ปฏิเสธผู้มาเยือนที่ต้องการเรียนรู้จักอดีตและวัฒนธรรมที่มีความเป็นอัตลักษณ์ของน่าน ปัจจัยด้านภูมิ
วัฒนธรรม (Cultural Landscape) ภูมิศาสตร์ต้นกำเนิด “แม่น้ำน่าน” เป็นสายธารชีวิตที่ก่อให้เกิด ภูมิ
วัฒนธรรมและสรา้ งสรรค์ศิลปวัฒนธรรมอนั มีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัว สืบเนอื่ งเหตุการณ์ ท่ีผูค้ นมีความผูกพันกับ
สายนำ้ อยา่ งยาวนาน นับเหตกุ ารณส์ ำคัญในประวัตศิ าสตร์ เม่อื คร้งั ย้ายเมอื งมาสู่น่านตอนใตส้ ร้าง “เมืองเวียง
ภูเพียงและพระมหาธาตุแช่แห้ง” พัฒนาเป็นเวียงใหม่ กลายเป็นศูนย์กลางความศรัทธา จนกลายเป็นปัจจัยท่ี
ก่อเกดิ มรดกทางวฒั นธรรม บ่งบอกถึงการ ประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาอย่างม่ันคง ณ ดนิ แดนแห่งนี้
ดังหลักฐานวัฒนธรรมที่ปรากฏในปัจจุบัน ปัจจัยสำคัญด้านการเมืองเรื่องพื้นที่ (Politics of Space)
ปัจจัยนี้ ส่งผลให้การก่อเกิดพัฒนาการทางประวัติศาสตร์และความหลากหลายทางวัฒนธรรมในนครน่าน
เพราะการแผ่ขยายอิทธิพลทางการเมืองของแว่น แคว้น อาณาจักรใกล้เคียงในภูมิภาคนี้ที่มีความเข้มแข็งกว่า
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน
ประจาปี งบประมาณ 2563 – 2564 2|Page
“นครน่าน”อย่างอาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรล้านนา (เชียงใหม)่ อาณาจักรสโุ ขทัย อาณาจักรพุกาม นั้นทำ
ใหเ้ กดิ การถ่ายโอนอำนาจการเมืองและวฒั นธรรม
ปัจจัยด้านการรื้อฟื้นและการประดิษฐ์ประเพณี (The Re- invention of tradition ) ชาวน่านได้
พยายามรื้อฟื้นประเพณอี ันดีงามในอดีตและประดิษฐ์สรา้ งทางวัฒนธรรมใหม่ ที่ร่วมสมัยเพื่อชุบชีวิตของเมอื ง
ภายใต้กรอบคิด “เมืองเก่าที่มีชีวิต” (ภาณุรังษี เดือนโฮ้งและวาณี อรรจน์สาธิต, 2557) ถ่ายทอดและสื่อ
ความหมายผ่านกิจกรรม ประเพณี สิ่งก่อสร้าง ส่ิงประดิษฐ์ หัตถศิลป์ ที่สัมพันธ์กับพื้นที่เรื่องราวประวัตติ
ศาสตร์ ความทรงจำของอดีต ที่ถูกหลงลืมในช่วงเวลาหนึ่งให้กลับคืนมากลายเป็น “เมืองเก่า” ที่มีลมหายใจ
นำมาซึง่ การเช่ือมโยงเปน็ จุดขายเพอ่ื ชว่ งชงิ พื้นที่ความทรงจำทางสงั คม และการดงึ ดดู ผู้คนท่ัวไปให้เดินทางเข้า
มาสมั ผัสมาเรียนรู้จักอดีต (Consuming the past) ในทางสังคมศาสตร์เรียกปรากฏการณน์ ี้ว่า“ปรากฏการณ์
โหยหาอดีต” (Nostalgia) ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาในอัตลักษณ์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม การก่อเกิด
และพฒั นาการทางประวัตศิ าสตรก์ ารประดิษฐ์สรา้ งทางวฒั นธรรม และอธิบายปรากฏการณ์ พลวตั ทางสงั คมที่
เกิดขึ้นของสังคมเมืองน่าน โดยเลือกกรณีศึกษา องค์ความรู้ด้าน ศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ์เรือแข่งเมืองน่าน
ผา่ นรูปแบบ เชิงช่างศิลปห์ ัตถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ซง่ึ ถอื เป็นวัฒนธรรมสายน้ำที่เช่ือมโยงความสัมพันธ์ของคนกับ
สายน้ำ จังหวัดน่านเป็นแหล่งตน้ เกิดของแม่นำ้ สายสำคัญถึงสองสายคือ ลำน้ำยม และลำน้ำนา่ น โดยเฉพาะลำ
น้ำน่านถือเป็นสายน้ำที่หล่อเลี้ยงคนน่านมา นานหลายชั่วอายุคน จึงทำให้ก่อเกิดประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ
สายน้ำมากมาย หนึ่งในประเพณีท่ีสำคัญของจงั หวัดน่าน คืองานประเพณีแข่งเรอื น่าน ซึ่งกระทรวงมหาดไทย
ได้บันทึกไว้ในหนังสือ 75 เทศกาล งานประเพณีทั่วไทย (กวินธร เสถียร และพัชรินทร์ สิรสุนทร, 2557)
การศกึ ษาทำความเข้าใจปรากฏการณข์ องคา่ นิยมเชงิ ช่างของชุมชนผา่ นพฒั นาการของตวั เรือแข่งเมืองน่าน ใน
ลักษณะเฉพาะแบบ ดั้งเดิมท่ีคนในพื้นที่สามารถลุกขึ้นมารกั ษา รูปแบบเชิงช่าง (สกุลช่างน่าน) ปัจจุบัน แสดง
ถึงจิตวิญญาณของคนน่าน ประเพณีการแข่งเรอื ยาวจงั หวัดน่านจึงเป็นมากกว่าแค่ประเพณี และถูกนับให้เป็น
วฒั นธรรมทางสายน้ำถอื เปน็ การแข่งเรือยาวที่ยง่ิ ใหญท่ ี่สุดแหง่ หน่งึ ของประเทศไทย ทม่ี จี ำนวนเรือมากท่ีสุดใน
ประเทศกว่า 230 ลำ มีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขัน มากที่สุดถึงราว 8,000 คน มีผู้ชมนับแสนคนและยังความ
ปลาบปลื้มให้กับชาวเมืองน่านเป็นที่สุด คือการแข่งขันเรือของเมืองน่านได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์ อีกหลายพระองค์ที่ได้ทรงพระราชทานถ้วยรางวัล
แก่เรือชนะเลิศประเภทต่างๆ เป็นจำนวนมากที่สุดกว่าการแข่งเรือยาวสนามแข่งใดๆในประเทศไทย (ยุทธพร
นาคสขุ , 2553)
งานประเพณีแข่งเรือน่าน ถือได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ พลวัตทางสังคมที่เกิดขึ้นของสังคมเมืองน่านที่มีผู้ศึกษา
ค้นคว้าวิจัยอยู่หลายมิติ ทั้งในด้านทุนทางวัฒนธรรมสังคม ที่เป็นต้นทุนไปสู่การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
และในมิติด้านบูรณาการด้านสุขภาวะของเมืองของคน เทศกาลแข่งเรือประเพณีปลอดสุรา ของ สสส . และ
สาธารณสุขหรือการยกระดับพัฒนาการแข่งเรือประเพณีจังหวัดน่านให้มีความเป็นมาตรฐานแบบการกีฬา
สากลมากขึ้น อย่างไรก็ตามยังขาดการศึกษาทำความเข้าใจรูปแบบ เชิงช่างของชุมชน ผ่านพัฒนาการของตัว
เรือแข่งเมืองนา่ นที่มีความงามดา้ นศิลปกรรมในตวั เรือแข่ง ในลักษณะเฉพาะแบบ ดัง้ เดมิ ที่คนในพ้ืนท่ีสามารถ
ลุกขึ้นมารักษารูปแบบเชิงช่าง (สกุลช่างน่าน) และมีพลวัตของเงื่อนไขให้รูปแบบของตัวเรือเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลาและในหลายมิติทำให้ รูปแบบของเรือแข่งเมืองน่านแบบดังเดิมสูญหายไปตามกาลเวลาไปอย่างนา่
เสียดาย การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยมุ่งเน้นเพื่อสืบค้นหารูปแบบเชิงช่าง (สล่าเรือแข่งเมืองน่าน) ในตัวเรือแข่งเมือง
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน
ประจาปี งบประมาณ 2563 – 2564 3|Page
น่านและสล่าแกะสลักหัวและหางเรือโดยการถอดแบบ พัฒนาการของรูปแบบตัวเรือ และจำลองตัวเรือแข่ง
เมอื งน่านและรปู แบบหวั และหางเรือจากอดตี จนถึงปัจจบุ ัน
2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือศกึ ษาพัฒนาการตวั เรือแข่งเมืองน่านรปู แบบเชิงช่างขดุ เรือในตัวเรือแข่ง มิตดิ า้ นหตั ถศลิ ป์จาก
อดีตถึงปัจจบุ นั
- เพอื่ ค้นหาชุดความรูแ้ ละครชู ่างศิลป์พน้ื ถ่นิ นา่ นขุดเรือแกะสลกั หวั และหางเรือน่าน
2. เพื่อศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นแนวทางในการต่อยอด ต้นทุนของชุมชน รักษา
อนุรกั ษ์ คุณคา่ ของภูมิปญั ญาท้องถิ่น ประเพณีแข่งเรอื เมอื งน่าน
- เพือ่ สง่ เสรมิ งานชา่ งศลิ ปแ์ กะสลักเรอื น่านสู่การสรา้ งอาชพี ในชมุ ชน
3. เพื่อศึกษา Pilot project ตอบโจทย์ท้าทายของสังคมการพัฒนาเชิงพื้นที่ พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้
ชมุ ชน : การจดั การ การอนุรกั ษ์ และการสรา้ งเครือข่ายในมิติทางด้านศลิ ปวัฒนธรรม/ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน
น่านศกึ ษา
3. การตรวจเอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง มรี ายละเอียดประกอบด้วย
- งานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วข้อง กับประเพณีเรือแขง่ เมืองน่าน
4. ขอบเขตของการวิจัย การวิจยั นี้ มีขอบเขตของการศกึ ษา ดังน้ี
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การวจิ ยั ครง้ั นม้ี ขี อบเขตการศึกษาเก่ยี วกบั รูปแบบตัวเรือแขง่ จังหวัดนา่ น โดย
สํารวจเพื่อรวบรวม แหล่งภูมิปัญญาในการสร้างเรือแข่งเมืองน่าน รวมทั้งวิเคราะห์องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ
การสร้าง และรปู แบบ ของเรอื แข่งของแต่ละยุคสมัย
2. ขอบเขตด้านประชากร ประชากรทศ่ี กึ ษาในการวิจัยครง้ั น้ีไดแก่ ชา่ งผมู้ คี วามรคู้ วามเชี่ยวชาญใน
การสรา้ งเรอื รวมทง้ั ชาวบ้านทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับประเพณีแข่งเรือเมืองน่าน บคุ ลากรวิทยาลยั ชมุ ชนนา่ น และบุคคล
ทส่ี นใจ
3. ขอบเขตด้านพื้นที่ พื้นที่ชุมชนในจังหวัดน่าน แบ่งเป็นสาม zone ชุมชนลุ่มน้ำ ที่มีกิจกรรม
ประเพณีแขง่ เรอื ยาว ดังนี้
๓.1. zone 1 น่านตอนเหนอื : อำเภอทงุ่ ช้าง อำเภอปัว อำเภอท่าวงั ผา
๓.๒. zone 2 น่านตอนกลาง : อำเภอสันติสขุ อำเภอเมอื งนา่ น
๓.๓. zone 3 นา่ นตอนใต้ : อำเภอเวยี งสา
4. ขอบเขตด้านระยะเวลา งานวิจัยครั้งน้ีใช้ระยะเวลาการดำเนินงานสองช่วง
ช่วงท่ี ๑ เวลา 6 เดือน นับจากวนั ท่ไี ดท้ นุ
ชว่ งท่ี ๑ การศกึ ษา อัตลกั ษณเ์ รือแข่งเมืองน่านผ่านรูปแบบ เชิงช่างศลิ ปห์ ตั ถกรรมพนื้ ถนิ่ น่าน
๑. ผู้วิจยั ประชมุ คณะทำงานเพื่อวางแผนการทำงานและมอบหมายงาน
๒. ผู้วิจยั และคณะทำงานดำเนนิ การศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู เนื้อหาวิชาการ
๓. ผู้วิจัยส่งเอกสารเนื้อหาวิชาการร่างที่ ๑ แก่ เจ้าของทุนและจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นด้านเนื้อหา
วชิ าการจากประชาคมชาวนา่ นและจากกรรมการฯ
๔. ผู้วิจัยและคณะทำงานแก้ไขเนื้อหาวิชาการตามคำแนะนำของประชาคมชาวน่าน ตลอดจน
กรรมการบรหิ ารฯ และส่งเน้อื หาวิชาการฉบบั สมบรู ณ์
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน
ประจาปี งบประมาณ 2563 – 2564 4|Page
ช่วงท่ี ๒ เวลา 6 เดอื น นับจากวนั ทไ่ี ด้ทุน
ช่วงที่ ๒ ตอบโจทย์ท้าทาย ของเมืองน่าน ในการแสวงหาทุนทางสังคม ในมิติด้านศิลปวัฒนธรรมสู่การต่อ
ยอด เมืองสรา้ งสรรค์ (Creative City)
1. ผวู้ ิจยั และคณะทำงานดำเนนิ การออกแบบเน้ือหาตน้ แบบนำเสนอตามลำดับเน้อื หาวชิ าการฉบับสมบูรณ์
ทีไ่ ดจ้ ากชว่ งท่ี๑โดยคัดเลือกประเด็นท่ีน่าสนใจที่เปน็ “อตั ลักษณ์เรือแข่งจังหวัดน่าน” เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการจัด
แสดงนทิ รรศการถาวรต่อไป
๒. ผู้วิจัยส่งเอกสารด้านออกแบบเนื้อหาต้นแบบร่างที่ ๑ แก่เจ้าของทุนวิจัยและจัดเวทีรับฟังความคิดเหน็
ดา้ นเน้อื หานิทรรศการจากประชาคมชาวนา่ นและจากกรรมการบริหารฯ
๓. ผู้วิจัยและคณะทำงานแก้ไขเนื้อหานิทรรศการตามคำแนะนำของประชาคมชาวน่าน ตลอดจน
กรรมการบริหารฯ และสง่ เนื้อหาวชิ าการฉบบั สมบูรณ์
5. กรอบ การต้ังสมมติฐานการวิจยั
6. เปน็
กรอบชุดวจิ ัยเชิงคณุ ภาพเพ่ือตอบโจทย์ทา้ ทายของสังคมการพฒั นาเชงิ พื้นท่ี พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรชู้ มุ ชนเป็น
กรอบชดุ วิจัยศลิ ปกรรมท้องถน่ิ ศึกษาเพื่อตอบโจทย์ทา้ ทายของสังคมการพฒั นาเชงิ พ้ืนที่ พัฒนาเปน็ แหลง่
เรียนรชู้ มุ ชน
เพ่อื พฒั นาสังคมเมืองนา่ นเป็นสงั คมคุณภาพและมน่ั คงทีส่ ามารถรักษารากและจติ วิญญาณของเมืองเอาไว้ได้ นำไปสู่
การพฒั นาต่อยอดสูเ่ มืองร่วมสมยั ท่ีมีทนุ ทางวฒั นธรรมทแ่ี ข็งแรง
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 5|Page
7.1 ประชุมคณะทำงานเพอื่ วางแผนการทำงานและมอบหมายงาน
7.2 คณะทำงานดำเนินการศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มูลเน้ือหาวิชาการ
7.3 คณะทำงานวิจัยส่งเอกสารเนื้อหาวิชาการร่างที่ ๑ แก่ เจ้าของทุนและจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นด้าน
เนือ้ หาวชิ าการจากประชาคมชาวน่านและจากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
7.4 คณะทำงานแก้ไขเน้ือหาวิชาการตามคำแนะนำของประชาคมชาวนา่ น ตลอดจนกรรมการบริหาร
เจา้ ของทุน และส่งเนื้อหาวชิ าการฉบบั สมบูรณ์
7.5 คณะทำงานดำเนนิ การออกแบบต้นแบบนิทรรศการเรือแข่งจงั หวัดน่าน ตามลำดบั เนื้อหาวิชาการฉบับ
สมบูรณ์ทไี่ ดจ้ ากข้อ ๑๑ นำมาสู่การออกแบบเป็นแนวทางจัดนทิ รรศการรปู แบบศิลปกรรมเรือแข่งจงั หวัดน่าน
7.6 คณะทำงานส่งเอกสารงานวิจัยร่างที่ ๑ แก่เจ้าของทุนวิจัยและจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นด้านเนื้อหา
นิทรรศการจากประชาคมชาวนา่ นและจากกรรมการบริหารเจ้าของทุน
7.7 คณะทำงานแก้ไขเนื้อหาวิจยั ตามคำแนะนำของประชาคมชาวน่าน ตลอดจนกรรมการบรหิ ารเจ้าของทนุ และส่ง
เน้อื หาวชิ าการวิจัยทฉ่ี บบั สมบูรณ์
7. ระยะเวลาดำเนินโครงการตามแผนงาน
ปีงบประมาณ 2563
ปี พ.ศ.2563 ปี พ.ศ.2564
วธิ ีดำเนนิ งาน ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย
เสนอแผนโครงการฯ
ชว่ งท่ี ๑ เวลา 3 เดอื น ชว่ งท่ี ๑ การศึกษา อัตลักษณเ์ รือแขง่ เมืองน่านผ่านรูปแบบ เชงิ ชา่ งศิลป์หตั ถกรรมพน้ื ถิน่
น่าน
1.ถอดบทเรยี นเรือแข่ง
นา่ นในจังหวัดนา่ น
2. เวทคี ืนข้อมูลต่อผ้สู ว่ น
ได้เสีย
3. ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร
ในการจัดทำเรือจำลอง
เมอื งน่านในแต่ละยุค
4. ประชุมสรุปผลการวจิ ยั
5. คา่ จ้างผชู้ ว่ ยนกั วิจยั
6. คา่ จ้างผู้ทรงคุณวฒุ ิ
อา่ นงานวจิ ยั
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 6|Page
วิธีดำเนนิ งาน ปี พ.ศ.2563 ปี พ.ศ.2564
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย
ช่วงท่ี ๒ เวลา 3 เดอื น ตอบโจทยท์ า้ ทาย ของเมอื งน่าน ในการแสวงหาทนุ ทางสงั คม ในมิติดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมสู่การ
ต่อยอด เมืองสร้างสรรค์ (Creative City)
8. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ
1. ได้ฐานข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งภูมิปัญญาการสร้างเรือประเพณีเรือแข่งของจังหวัดน่าน ศิลปกรรมที่ล้ำค่า
ของชาติไดร้ ับการอนรุ กั ษ์ สืบสาน และตอ่ ยอด
2. ได้ความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ในการสร้างและรูปแบบของเรือแข่งในลักษณะที่เป็น ความรู้ในเชิงบูรณา
การหลากหลายสาขาวิชา เกดิ การพัฒนาศักยภาพของชา่ งศลิ ป์เดิม และสรา้ งช่างศิลป์ใหม่
3. ได้ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบเชิงช่าง เรือแข่งอัตลักษณ์น่าน และเกี่ยวข้องกับบริบททางวัฒนธรรมสายน้ำ
ของจังหวดั น่าน
4. สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กบั คนในชมุ ชนด้วยภูมิปญั ญาของบรรพชน
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 7|Page
บทที่ 2
เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง
1. ความสอดคล้องตอบสนองของโครงการกบั แผนพฒั นาหน่วยงานและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
1.1 สอดคล้องกบั พันธกจิ ของวิทยาลัยชุมชนน่าน
พันธกจิ
[ ] .1จดั การศึกษาตลอดชวี ิตโดยม่งุ เนน้ การจดั การศึกษาเพอ่ื สรา้ งความเข้มแข็งของชมุ ชน และ
พฒั นาอาชีพ นวตั กรรมการเรียนรู้ ใหก้ ับชมุ ชน (basic skill / up-skill / re-skill)
[ ] .2จัดการศึกษาระดับอนปุ รญิ ญาให้ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาใหม้ คี ุณสมบตั ทิ ี่พงึ ประสงค์ และเปน็ ไป
ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ี กระทรวงอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กำหนด
[ ] .3พัฒนางานวจิ ัยที่นำมาใชป้ ระโยชน์กับชุมชน สงั คม และตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ
[ ] 4. ทำนุบำรงุ อนุรกั ษ์ สบื สาน สร้างสรรค์ พัฒนาศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น
[ ] .5 บรหิ ารจดั การเชงิ ธรรมมาภิบาล และมุ่งสอู่ งคก์ รคุณภาพ
1.2 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของวิทยาลัยชุมชนน่าน
ยุทธศาสตร์
[ ] 1. การเรียนรู้ตลอดชวี ิต (Life long learning : LLL)
[ ] 2 .การวจิ ัย งานสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรมเพ่ือตอบโจทยค์ วามทา้ ทายของสงั คม
[ ] .3การเพิม่ คณุ คา่ ด้านศิลปวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน อนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มและสรา้ ง
มลู ค่าเพิ่มภมู ิวัฒนธรรมสงั คม
[ ] .4 บริหารจัดการวทิ ยาลยั ชมุ ชนด้วยหลักธรรมาภิบาล และมุ่งเนน้ เขา้ สู่องคก์ รคุณภาพ
1.3 สอดคลอ้ งกับการประกันคณุ ภาพการศึกษา (SAR)
องค์ประกอบ
[ ] องค์ประกอบที่ 1การจัดการศึกษา
[ ] องคป์ ระกอบที่ 2การวิจัย
[ ] องค์ประกอบท่ี 3 การบริการวชิ าการ
[ ] องค์ประกอบท่ี 4 การทำนบุ ำรงุ ศาสนา และศลิ ปวฒั นธรรม
[ ] องคป์ ระกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 8|Page
2. งบประมาณ
ใช้งบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(องค์การ
มหาชน) ประจำปีงบประมาณ 2563 - 2564 โครงการการศกึ ษาอัตลักษณ์เรอื แข่งเมอื งน่าน ผ่านรปู แบบเชิงช่าง
ศิลป์หตั ถกรรมพื้นถ่นิ น่าน วงเงิน 500,000.- (หา้ แสนบาทถ้วน)
รายละเอียดงบประมาณปี 2563
กจิ กรรม จำนวนผู้ วัน หรือ อัตรา รวมเงิน
เขา้ รับ ชม. ค่าใชจ้ า่ ย (บาท)
ครัง้ /รุ่น บรกิ าร
ที่ตงั้
(คน)
(บาท)
รวมท้ังส้นิ 500,000
1. ถอดบทเรยี นเรือแข่งน่านในจังหวัดน่าน
71,542 71,542
- คา่ วิทยากร 6
1 7 ชม. 1,200 50,400
1,952
- ค่าพาหนะ (ไป - กลับ) 1 2 คัน 244 4
กม.
- ค่าอาหาร 6 15 คน 1 มื้อ 100 9,000
6
- ค่าอาหารว่าง 15 คน 2 มื้อ 35 6,300
41,244
- ค่าวัสดุ ,อปุ กรณ์ 6 3,890
2. ถอดบทเรยี นเรือแข่งน่านในจังหวดั น่าน
คร้งั ที่ 2 41,244
- คา่ วิทยากร 1 7 ชม. 600 25,200
4
- คา่ พาหนะ (ไป - กลับ) 1 1 คนั 186 100 744
กม. 35
9,000
- คา่ อาหาร 6 15 คน 1 มอ้ื 6,300
- ค่าอาหารวา่ ง 6 73,296
2. เวทคี ืนขอ้ มูลต่อผู้สว่ นได้เสยี 73,296 15 คน 2 มือ้ 11,200
- ค่าวิทยากร 2
1 7 ชม. 800 356
- คา่ เดนิ ทางวทิ ยากร 2 1 44.5 4
151 คน กโิ ลเมตร 90 13,590
- ค่าอาหาร 1 151 คน 1 มอื้ 25 7,550
- คา่ อาหารวา่ ง 1
2 มอ้ื
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 9|Page
- คา่ จ้างเหมาออกแบบและผลติ ชดุ ความรู้ 40,600
โครงการการศึกษาอตั ลักษณ์เรอื แข่งเมืองนา่ น 93,960
ฯ
3. ประชมุ เชิงปฏบิ ัติการในการจดั ทำเรือ 93,960
จำลองเมืองน่านในแต่ละยคุ
- คา่ วทิ ยากร 2 1 14 ชม. 600 16,800
- ค่าเดนิ ทางวิทยากร
4 1 30 กม. 4 480
- คา่ เดินทาง คนเข้ารว่ มประชุม 4 1 155 4 2,480
กม.
- ค่าอาหาร 2,700
- คา่ อาหารวา่ ง 2 15 คน 1 มอื้ 90 1,500
2 15 คน 2 มอื้ 25
- ค่าวสั ดุ ,อปุ กรณ์ ,ค่าจา้ งเหมา 70,000
4. ประชมุ สรุปผลการวิจยั 93,024 93,024
- คา่ วทิ ยากร 2 1 7 ชม. 1,200 16,800
- คา่ เดนิ ทางวทิ ยากร 2 1 49.6 4 396
- คา่ เดนิ ทาง คนเขา้ ร่วมประชมุ 2 1 306 4 2,448
กม.
- คา่ อาหาร 2 36 คน 1 มอ้ื 90 6,480
- ค่าอาหารวา่ ง 2 36 คน 2 ม้อื 25 3,600
35,000
- ค่าจ้างเหมาจดั ทำวีดีโอในการเผยแพร่ 25,000
องค์ความรู้
ค่าจ้างเหมาจัดทำหนงั สือเผยแพร่องค์
ความรู้(รูปเลม่ วิจัย)
- ค่าวสั ดุ ,อปุ กรณ์ 3,300
5. ค่าจ้างผ้ชู ่วยนักวิจยั 67,500 4 เดือน 67,500
15 วนั 15,000 29,434
6. คา่ จ้างเหมาจัดทำ Digital Platform 29,434 30,000
ภายใตช้ ือ่ “จุมสลา่ เรอื น่าน” 30,000 500,000.-
7. คา่ จ้างเหมาจัดทำหนังสือเผยแพรอ่ งค์ 500,00
ความรู้ (หนงั สือเล่มเลก็ )
รวม
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 10 | P a g e
ลงพนื้ ที่จดั เวทีถอดบทเรยี นเรือแขง่ น่านในจังหวดั น่าน
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 11 | P a g e
ผลการดำเนินงาน “
จากการดำเนินจดั กิจกรรมที่ 1 ลงพนื้ ที่ จดั เวทถี อดบทเรยี นเรือแข่งน่านในจังหวดั น่าน
โครงการการศึกษาอัตลักษณ์เรอื แข่งเมืองน่านผ่านรูปแบบ เชิงช่างศิลป์หัตถกรรมพื้นถิ่นน่าน ” ระหว่างวันที่ 18 -
31 พฤษภาคม 2564 ณ บา้ นบุญยืน ตำบลกลางเวยี ง อำเภอเวยี งสา, ณ บ้านท่าลอ้ ตำบลฝายแก้ว อำเภอภู
เพียง, ณ บ้านดอนไชยใต้ ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา, ณ บ้านดอนแท่น ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา, ณ
บ้านนาเตา ตำบลริม อำเภอทา่ วังผา, ณ บ้านศรบี ญุ เรือง ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอท่าวงั ผา ไดข้ ้อมลู ทงั้ หมด 6 หมู่บ้าน
ดงั น้ี
1. ข้อมลู ทว่ั ไปของชุมชน
2. ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรือในชุมชน โดยปราญช์ชุมชน ข้อมูลเรือในส่วนประกอบของเรือ
อย่างละเอยี ด ขอ้ มูลสกลุ ช่างทำเรือ ข้อมูลพิธีกรรม/ความเชื่อท่เี กยี่ วกับเรือในชมุ ชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ เปรียบเทียบกบั เปา้ หมาย
1. เชิงปริมาณ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน ในแต่ละชุมชน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และ
ปราชญ์ชาวบ้านทมี่ คี วามรู้เกีย่ วกับด้านเรือ
2. เชงิ คุณภาพ
ในการจัดกิจกรรมที่ 1 ลงพื้นที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ 18 - 31
พฤษภาคม 2564 ณ บ้านบุญยืน ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา, ณ บ้านท่าล้อ ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง, ณ
บ้านดอนไชยใต้ ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา, ณ บ้านดอนแท่น ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา, ณ
บ้านนาเตา ตำบลริม อำเภอท่าวังผา, ณ บ้านศรีบุญเรือง ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอท่าวังผา “ โครงการการศึกษา อัต
ลักษณ์เรือแข่งเมืองน่านผ่านรูปแบบ เชิงช่างศิลป์หัตถกรรมพื้นถิ่นน่าน ” และได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตาม
กำหนดการจนสำเร็จบรรุลุผลตามวัตถุประสงค์โครงการฯ จากผลการลงพ้ืนที่ในแต่ละชมุ ชนจงึ ได้ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม
ท้ังหมด 80 คน มคี วามพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมต่อภาพรวมของกิจกรรมท่ี 1 ลงพื้นท่ี จัดเวทีถอดบทเรียนเรือ
แขง่ นา่ นในจงั หวดั นา่ น
ประโยชน์ท่สี าธารณชน/ชุมชน ได้รบั
1. ทำใหร้ ู้ขอ้ มูลตา่ งๆ ของชุมชน เชน่ ข้อมลู ดา้ นการปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม การศึกษา วฒั นธรรม
2. ทำให้ผูท้ ่ีศกึ ษารู้ถงึ ความเป็นมาของเรือแตล่ ะชุมชน
3. ทำให้ชุมชนมสี ว่ นร่วมมากข้นึ
ปญั หาอุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะ
1. ปญั หาอุปสรรค
- เนื่องจากเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID - 19) ทำให้การลง
พน้ื ท่ีเกบ็ ขอ้ มลู ได้ไม่ครบท้ัง 8 หมู่บา้ น เหลืออีก 2 หมู่บ้าน และท้งั การพบประเด็นใหมๆ่ ทน่ี ่าสนใจและข้อมลู ท่ีได้ลง
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 12 | P a g e
พื้นที่ศึกษา ยังขาดข้อมูลพื้นที่สำคัญ ต่อกระบวนการวิเคราะห์ฐานข้อมูลที่ครบมิติของงานวิจัย รวมทั้งหมด 9
หมู่บา้ น ประกอบด้วย
1. บ้านนาหนนุ ตำบลแสนทอง อำเภอท่าวงั ผา จงั หวัดน่าน
2. บา้ นนาปัง ตำบลนาปัง อำเภอภเู พียง จงั หวดั น่าน
3. บ้านบุญเรือง ตำบลไหลน่ า่ น อำเภอเวยี งสา
4. บ้านป่าหดั ตำบลมว่ งตด๊ึ อำเภอภเู พียง
5. บ้านสวนหอม ตำบลในเวยี ง อำเภอเมืองน่าน
6. บา้ นเมอื งเล็น ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน
7. บา้ นดอนศรเี สรมิ ตำบลในเวยี ง อำเภอเมืองนา่ น
8. บา้ นพญาวดั ตำบลดใู่ ต้ อำเภอเมอื งน่าน
9. บ้านศรีพันตน้ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองนา่ น
2. ขอ้ เสนอแนะ
- การปอ้ งกันตนเองดว้ ยการใส่แมสปิดปาก สเปรแ์ อลกอฮอล์ การ์ดอย่าตก
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 13 | P a g e
ภาพกจิ กรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลกั ษณเ์ รอื แขง่ เมืองน่านผา่ นรูปแบบ เชงิ ช่างศิลป์หตั ถกรรมพ้ืนถ่นิ น่าน
ประจำปีงบประมาณ 2563
กจิ กรรมท่ี 1 ลงพ้นื ที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวดั น่าน
ระหว่างวนั ที่ 18 – 31 พฤษภาคม 2564
วนั ที่ 18 พฤษภาคม 2564 ณ บ้านบญุ ยนื ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 14 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 15 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 16 | P a g e
ภาพกิจกรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลักษณ์เรอื แขง่ เมืองน่านผ่านรปู แบบ เชงิ ชา่ งศลิ ป์หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินนา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กจิ กรรมที่ 1 ลงพืน้ ที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวัดน่าน
ระหวา่ งวันท่ี 18 – 31 พฤษภาคม 2564
วนั ที่ 19 พฤษภาคม 2564 ณ บ้านท่าลอ้ ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง จงั หวดั นา่ น
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 17 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 18 | P a g e
ภาพกจิ กรรม โครงการการศกึ ษาอัตลกั ษณเ์ รือแขง่ เมืองน่านผา่ นรูปแบบ เชิงช่างศลิ ป์หัตถกรรมพื้นถนิ่ นา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กิจกรรมท่ี 1 ลงพนื้ ที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวดั นา่ น
ระหวา่ งวันท่ี 18 – 31 พฤษภาคม 2564
วันที่ 20 พฤษภาคม 2564 ณ บ้านดอนไชยใต้ ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดนา่ น
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 19 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 20 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 21 | P a g e
ภาพกจิ กรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลกั ษณเ์ รือแขง่ เมืองน่านผ่านรูปแบบ เชิงชา่ งศิลป์หตั ถกรรมพื้นถนิ่ นา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กจิ กรรมท่ี 1 ลงพ้ืนที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวดั น่าน
ระหวา่ งวันที่ 18 – 31 พฤษภาคม 2564
วนั ท่ี 21 พฤษภาคม 2564 ณ บ้านดอนแทน่ ตำบลกลางเวยี ง อำเภอเวียงสา จงั หวดั นา่ น
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 22 | P a g e
ภาพกจิ กรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลกั ษณเ์ รือแข่งเมืองน่านผา่ นรปู แบบเชิงชา่ งศลิ ป์หัตถกรรมพ้ืนถ่ินนา่ น
ประจำปงี บประมาณ 2563
กิจกรรมที่ 1 ลงพนื้ ที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งนา่ นในจังหวดั นา่ น
ระหวา่ งวนั ที่ 18 – 31 พฤษภาคม 2564
วนั ที่ 24 พฤษภาคม 2564 ณ บา้ นศรีบญุ เรอื ง ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภเู พียง จงั หวัดนา่ น
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 23 | P a g e
ภาพกิจกรรม โครงการการศกึ ษาอัตลักษณ์เรือแขง่ เมืองน่านผ่านรูปแบบ เชิงชา่ งศิลป์หตั ถกรรมพนื้ ถ่ินนา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กจิ กรรมที่ 1 ลงพนื้ ที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งนา่ นในจังหวัดน่าน
ระหว่างวนั ท่ี 18 – 31 พฤษภาคม 2564
วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2564 ณ บา้ นนาเตา ตำบลริม อำเภอทา่ วังผา จังหวดั นา่ น
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 24 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 25 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 26 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 27 | P a g e
ลงพ้ืนทจี่ ัดเวทีถอดบทเรยี นเรือแขง่ น่านในจงั หวดั นา่ น ครั้งที่ 2
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 28 | P a g e
ผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนินจัดกิจกรรมที่ 1 ลงพื้นที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวัดน่าน ครั้งที่ 2
“ โครงการการศึกษาอัตลักษณ์เรือแข่งเมืองนา่ นผา่ นรูปแบบ เชิงช่างศลิ ปห์ ตั ถกรรมพืน้ ถ่ินน่าน ” ระหว่างวันท่ี 28
มิถุนายน 2564 – 2 กรกฎาคม 2564 และวันที่ 5 กรกฎาคม 2564 ณ บ้านสวนหอม ตำบลในเวียง อำเภอ
เมืองนา่ นและบ้านเมืองเลน็ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองนา่ น, ณ บ้านป่าหัด ตำบลม่วงต๊ึด อำเภอภูเพยี งและบ้านดอน
ศรเี สริม(วดั กู่คำ) ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน, ณ บา้ นบุญเรอื ง ตำบลไหลน่ ่าน อำเภอเวียงสา, ณ บ้านนาหนุน 1
ตำบลแสนทอง อำเภอทา่ วงั ผา, ณ บ้านศรพี ันต้น ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่านและบ้านพญาวดั ตำบลด่ใู ต้ อำเภอ
เมืองน่าน, ณ บ้านนาปงั ตำบลนาปัง อำเภอภูเพยี ง ได้ข้อมูลท้งั หมด 9 หมู่บา้ น ดงั น้ี
1. ขอ้ มลู ทวั่ ไปของชุมชน
2. ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรือในชุมชน โดยปราญช์ชุมชน ข้อมูลเรือในส่วนประกอบของเรือ
อยา่ งละเอยี ด ขอ้ มูลสกุลช่างทำเรือ ข้อมลู พิธกี รรม/ความเชอื่ ท่เี กี่ยวกับเรือในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ เปรียบเทียบกับเปา้ หมาย
1. เชงิ ปริมาณ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน ในแต่ละชุมชน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และ
ปราชญช์ าวบา้ นทม่ี ีความรู้เกย่ี วกบั ด้านเรือ
2. เชิงคณุ ภาพ
ในการจัดกิจกรรมที่ 1 ลงพื้นที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวัดน่าน ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 28
มิถุนายน 2564 - 2 กรกฎาคม 2564 2564 และวันที่ 5 กรกฎาคม 2564 ณ บ้านสวนหอม ตำบลในเวียง
อำเภอเมืองน่านและบ้านเมืองเล็น ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน, ณ บ้านป่าหัด ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียงและ
บ้านดอนศรีเสริม(วัดกู่คำ) ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน, ณ บ้านบุญเรือง ตำบลไหล่น่าน อำเภอเวียงสา, ณ บ้าน
นาหนุน 1 ตำบลแสนทอง อำเภอท่าวังผา, ณ บ้านศรีพันต้น ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่านและบ้านพญาวัด
ตำบลดู่ใต้ อำเภอเมืองน่าน, ณ บ้านนาปัง ตำบลนาปัง อำเภอภูเพียง “ โครงการการศึกษาอัตลักษณ์เรือแข่งเมือง
น่าน ผ่านรูปแบบเชิงช่างศิลป์หัตถกรรมพื้นถิ่นน่าน ” และได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตามกำหนดการจนสำเร็จ
บรรลุผลตามวัตถุประสงค์โครงการฯ จากผลการลงพื้นที่ในแต่ละชุมชนจึงได้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งหมด 90 คน มี
ความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมต่อภาพรวมของกจิ กรรมที่ 1 ลงพ้ืนท่ี จดั เวทถี อดบทเรียนเรือแข่งน่านใน จังหวัด
น่าน ครงั้ ที่ 2
ประโยชนท์ ่สี าธารณชน/ชมุ ชน ได้รบั
1. ทำใหร้ ู้ข้อมลู ตา่ งๆ ของชมุ ชน เช่น ขอ้ มูลดา้ นการปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม การศึกษา วัฒนธรรม
2. ทำใหผ้ ูท้ ศ่ี ึกษารู้ถึงความเป็นมาของเรอื แต่ละชุมชน
3. ทำให้ชมุ ชนมีส่วนรว่ มมากขนึ้
ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
1. ปัญหาอุปสรรค
2. ขอ้ เสนอแนะ
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 29 | P a g e
ภาพกิจกรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลักษณ์เรอื แข่งเมืองน่านผ่านรปู แบบ เชงิ ชา่ งศิลป์หตั ถกรรมพน้ื ถ่ินนา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กจิ กรรมท่ี 1 ลงพื้นที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งน่านในจังหวัดน่าน คร้งั ที่ 2
พ้ืนทีบ่ ้านสวนหอมและบา้ นเมืองเลน็
ระหวา่ งวันท่ี 28 มิถุนายน 2564 – 2 กรกฎาคม 2564 และวันที่ 5 กรกฎาคม 2564
วนั ที่ 28 มิถนุ ายน 2564 ณ บ้านสวนหอม ตำบลในเวียง อำเภอเมอื งน่าน จงั หวดั นา่ น
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 30 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 31 | P a g e
ภาพกิจกรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลักษณ์เรอื แข่งเมืองน่านผา่ นรปู แบบ เชิงชา่ งศิลป์หัตถกรรมพ้นื ถ่ินนา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กจิ กรรมท่ี 1 ลงพนื้ ที่ จัดเวทีถอดบทเรียนเรือแข่งนา่ นในจงั หวดั นา่ น คร้ังที่ 2
พื้นทบี่ ้านดอนศรีเสรมิ (วัดกู่คำ)และบ้านปา่ หัด
ระหวา่ งวันท่ี 28 มิถนุ ายน 2564 – 2 กรกฎาคม 2564 และวันที่ 5 กรกฎาคม 2564
วันที่ 29 มิถนุ ายน 2564 ณ บา้ นปา่ หดั ตำบลม่วงต๊ึด อำเภอภูเพียง จงั หวัดน่าน
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 32 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 33 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 34 | P a g e
ภาพกิจกรรม โครงการการศกึ ษาอัตลักษณเ์ รือแข่งเมืองน่านผา่ นรปู แบบ เชงิ ชา่ งศิลป์หัตถกรรมพ้ืนถิ่นนา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กิจกรรมท่ี 1 ลงพืน้ ที่ จดั เวทีถอดบทเรยี นเรือแขง่ นา่ นในจงั หวัดนา่ น ครัง้ ที่ 2
พน้ื ที่บา้ นบุญเรอื ง
ระหวา่ งวนั ท่ี 28 มิถุนายน 2564 – 2 กรกฎาคม 2564 และวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564
วนั ที่ 30 มิถุนายน 2564 ณ บ้านบญุ เรือง ตำบลไหลน่ ่าน อำเภอเวียงสา จังหวดั นา่ น
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 35 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 36 | P a g e
ภาพกจิ กรรม โครงการการศกึ ษาอัตลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่านผ่านรปู แบบเชิงช่างศิลป์หัตถกรรมพืน้ ถิ่นนา่ น
ประจำปงี บประมาณ 2563
กจิ กรรมท่ี 1 ลงพื้นท่ี จัดเวทถี อดบทเรียนเรอื แขง่ นา่ นในจงั หวัดน่าน ครง้ั ท่ี 2
พื้นทีบ่ ้านนาหนนุ
ระหว่างวนั ท่ี 28 มิถนุ ายน 2564 – 2 กรกฎาคม 2564 และวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564
วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ณ บา้ นนาหนุน ตำบลแสนทอง อำเภอทา่ วังผา จังหวดั น่าน
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 37 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 38 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 39 | P a g e
ภาพกิจกรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลกั ษณ์เรอื แขง่ เมืองน่านผา่ นรูปแบบ เชิงชา่ งศิลป์หัตถกรรมพ้นื ถ่ินนา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กิจกรรมที่ 1 ลงพน้ื ที่ จดั เวทีถอดบทเรียนเรอื แขง่ นา่ นในจังหวัดนา่ น คร้งั ท่ี 2
พื้นทบี่ ้านพญาวดั และบา้ นศรพี ันต้น
ระหวา่ งวันท่ี 28 มิถุนายน 2564 – 2 กรกฎาคม 2564 และวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564
วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2564 ณ บา้ นศรพี นั ต้น ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จงั หวัดน่าน
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 40 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 41 | P a g e
ภาพกิจกรรม โครงการการศกึ ษาอตั ลกั ษณเ์ รือแขง่ เมืองน่านผา่ นรูปแบบ เชงิ ชา่ งศลิ ป์หัตถกรรมพน้ื ถนิ่ นา่ น
ประจำปีงบประมาณ 2563
กจิ กรรมท่ี 1 ลงพืน้ ที่ จดั เวทีถอดบทเรยี นเรอื แขง่ นา่ นในจงั หวดั น่าน ครั้งท่ี 2
พื้นที่บ้านนาปัง
ระหวา่ งวนั ท่ี 28 มิถุนายน 2564 – 2 กรกฎาคม 2564 และวันท่ี 5 กรกฎาคม 2564
วนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2564 ณ บ้านนาปงั ตำบลนาปัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 42 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 43 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 44 | P a g e
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 45 | P a g e
ประชุมเชิงปฏบิ ัติการในการจดั ทำเรือจำลองเมอื งน่านในแต่ละยุค
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 46 | P a g e
ผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนินจัดกิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดทำเรือจำลองเมืองน่านในแต่ละยุค
“ โครงการการศึกษาอัตลักษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผ่านรปู แบบเชิงช่างศลิ ปห์ ัตถกรรมพื้นถ่นิ น่าน ” ระหว่างวันท่ี 13
– 14 กรกฏาคม 2564 เพื่อเก็บรวบรวมรูปแบบและลักษณะของ ช่าง(สล่า)แกะสลักหัวเรือของแต่ละชุมชน สกุล
ช่างครูช่าง ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบเฉพาะของงานหัวเรือ และหางวัน ทั้งทางด้านคติความเชื่อ เทคนิคการตกแต่ง
และความสัมพันธข์ องชุมชนตา่ งๆ ผ่านงานแกะสลักหัวเรือพญานาค ประเพณแี ข่งเรอื จังหวัดน่าน ซ่ึงองค์ความรู้ท่ีได้
จะสามารถนำไปใช้ในการสรา้ งและอนุรักษ์ รวมถึงผลักดันให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่น ลักษณะการวิจัยเป็น
เชิงคุณภาพสำรวจลงพื้นที่ซึ่งมีวิธีการศึกษาในเชิงปฏิบัติการร่วมกับคนในชุมชนน่าน ที่ผ่านมาได้ผลการดำเนินงาน
โดยได้ศลิ ปะสกุลชา่ งทั้งหมด 11 สกุลชา่ งดงั น้ี
รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี
งบประมาณ 2563 – 2564 47 | P a g e