The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

BBB004.อัตลักษณ์เรือแข่งนครน่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

BBB004.อัตลักษณ์เรือแข่งนครน่าน

BBB004.อัตลักษณ์เรือแข่งนครน่าน

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 98 | P a g e


รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 99 | P a g e


รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 100 | P a g e


รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 101 | P a g e


รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 102 | P a g e


รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 103 | P a g e


รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 104 | P a g e


บทท่ี 3

สรุปผลการวจิ ัย

จากผลการวจิ ัยศึกษาดังกล่าว ผู้วจิ ัยขออภปิ รายผลการวจิ ยั ตามวัตถุประสงค์ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
๓ ขอ้ ดงั น้ี

วตั ถปุ ระสงค์วิจยั
1. เพื่อศึกษาพัฒนาการตัวเรอื แขง่ เมืองน่านรูปแบบเชิงช่างขุดเรือในตัวเรือแข่ง มิติด้านหัตถศิลป์จาก

อดีตถงึ ปัจจบุ ัน
ลักษณะสกลุ ช่างครูชา่ ง รปู แบบ เทคนิค และแนวคดิ การสร้างหัวเรอื พญานาคและหางเรือแขง่ จังหวดั

น่าน” มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือเกบ็ รวบรวมรูปแบบและลกั ษณะของ ช่าง(สลา่ )แกะสลกั หวั เรือของแตล่ ะชุมชน สกลุ ชา่ ง
ครูชา่ ง ศกึ ษาวิเคราะห์รูปแบบเฉพาะของงานหวั เรือ และหางเรือ ท้ังทางดา้ นคติความเชื่อ เทคนิคการตกแต่ง และ
ความสมั พันธข์ องชมุ ชนตา่ งๆ ผา่ นงานแกะสลักหวั เรอื แบบน่านกบั ประเพณีแข่งเรือจังหวัดนา่ น ซง่ึ องค์ความรู้ท่ี
ไดจ้ ะสามารถนำไปใช้ในการสรา้ งและอนุรักษ์ รวมถงึ ผลกั ดันใหเ้ ป็นมรดกทางวฒั นธรรมท้องถ่นิ ลกั ษณะการวิจัย
เปน็ เชิงคุณภาพสำรวจลงพนื้ ทซี่ งึ่ มีวิธกี ารศึกษาในเชิงปฏบิ ตั ิการร่วมกับคนในชมุ ชน ท้ังการสอบถามรายละเอยี ด
สมั ภาษณแ์ ละการสนทนากลุ่มพร้อมท้ังทำการบันทกึ ภาพสดั สว่ นทางเชิงชา่ ง ศิลปกรรม งานหตั ถศลิ ป์พน้ื ถน่ิ ใน
รายละเอียดต่างๆ แล้วนำมาคัดลอก ทำชนิ้ งานจำลอง ขนึ้ ใหม่ (reproduction) ถอดออกมา เพื่อเปรียบเทียบ
ข้อมลู ก่อนนำไปวิเคราะหห์ ารูปแบบ เอกลักษณ์และเทคนิคการทำงานของสลา่

ผลการศกึ ษาพบว่างานแกะสลักหวั และหางเรือ ตามรปู แบบเรือแบบโบราณท่ีหลงเหลอื อยูไ่ มเ่ กนิ ซง่ึ มี
จำนวน 5 ชุมชน และไดท้ ำการสำรวจเพิม่ ตามคำให้สัมภาษณข์ องคนในชุมชนใกล้เคยี งอกี 7 แหง่ รวมสถานท่ีที่ทำ
การเก็บข้อมลู คอื จาก 17 ชมุ ชน 11 สลา่ (ชา่ ง) เรือแข่งรปู แบบเฉพาะของตน ซึง่ ลักษณะหัวและหางเรือแตล่ ะ
ชุมชนนน้ั ถือเปน็ เอกลักษณท์ างเทคนิคเชิงชา่ ง และเทคนคิ การตกแตง่ ทโ่ี ดดเดน่ ซ่ึงปรากฏในชมุ ชนลมุ น้ำโดยเฉพาะ
ตลอดชุมชนลำนำ้ น่านจากเหนือถึงใต้ คือ อำเภอเชียงกลาง อำเภอปัว อำเภอท่าวังผา อำเภอเมอื ง อำเภอภูเพยี ง
และ อำเภอเวียงสา อนั เป็นเอกลกั ษณ์ของการสร้างรูปแบบหัวเรอื และหางเรือจำแนกเชงิ สกลุ ช่าง หรือ ครชู ่าง ทงั้ นี้
ข้อมูลดังกล่าวไดน้ ำมาวิเคราะหต์ คี วามการเปลยี่ นแปลง ท้งั ทางด้านคติความเชือ่ เทคนิคการตกแต่ง รวมถึงลักษณะ
อนั เป็นเอกลักษณ์ของการสร้างสรรคข์ องสลา่ ในชว่ งยุคสมัยทเี่ ปน็ กล่มุ ครชู ่างนริ นามท่ีไมส่ ามารถสืบค้นได้ และ
กลุ่มสลา่ ช่างที่ยงั มชี วี ติ อยู่ ใน 11ชุมชน ซ่ึงองคค์ วามรู้ท่ีได้นนั้ สามารถนำไปใช้ในการสร้างและอนุรกั ษร์ วมถึง
ผลักดนั ใหเ้ ป็นมรดกทางวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ และแนวทางในการรกั ษาวัฒนธรรมน้ีไว้

จากขอ้ มลู สบื ค้น หลักฐานดังกล่าว เช่ือวา่ ประเพณี เรอื แข่งจงั หวดั น่าน คงมีข้ึนหลงั ท่ี สงั คมเมืองน่านเร่ิม
สงบสขุ และมคี วามเปน็ หนึ่งเดยี วกบั ราชสำนกั ทางกรงุ เทพแล้วน้ัน แมไ้ ม่มหี ลักฐานเลยว่าเรือน่านน้นั มีปรากฏ
เริ่มตน้ เมอ่ื ใด คงมีข้อสนั นษิ ฐาน และหลกั ฐานทปี่ รากฏ อยู่ ๔ ด้าน

๑. ขอ้ สนั นษิ ฐาน เกิดข้นึ ช่วงยุคสมัยเจ้าฟ้าอตั ถวรปัญโญ สมเดจ็ เจา้ ฟ้าเมืองน่าน เจา้ ผคู้ รองนครเมอื งน่าน
ลำดบั ที่ 57 และองคท์ ่ี 7 แห่งราชวงศ์ติน๋ มหาวงศ์ (พ.ศ.๒๓๓๑ - ๒๓๕๔)รตั นโกสินทรย์ คุ ตน้ เมือ่ เทียบ
ประวตั ิเรอื ท่เี กา่ ที่สุดของนา่ นทีข่ ุด เสอื เฒา่ ทา่ ล้อ ๒๓๙ ปี บวก ลบปีปจั จุบัน (ชมุ ชนบ้านทา่ ล้อ : 2564)

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 105 | P a g e


ภาพถา่ ยชุมชนบ้านท้าล้อ เรอื เสอื เฒ่าทา่ ลอ้
๒. เอกสารท่ีค้นพบโบราณสุด เกย่ี วกับเรอื แข่ง “สขู่ วัญเรือ” วัดน้ำลัด ตำบลนาปงั อำเภอภูเพยี ง จงั หวัด

นา่ น ใบลานมี 4 เส้นบรรทัด อักษรธรรมลา้ นนา ภาษา ลา้ นนา พ.ศ. 2401 (จ.ศ. 1120) บนั ทกึ ไว้
ประมาณ 163 ปี (พระอธิการนมสั ทพิ ฺพเมธี / ดร.ยุทธพร นาคสขุ ปริวรรตเปน็ อกั ษรไทย:๒๕๖๔)

๓. ภาพเรือแข่งเมืองนา่ น ทมี่ า : ส่วนหนง่ึ ของจิตกรรมเวียงต้า เขยี นขึ้นราว พ.ศ.2440 (ค.ศ. 1897) ใน
ประเทศไทย จิตรกรรมวัดเวยี งตา้ เป็นจติ รกรรมสีฝุ่นเขยี นบนแผ่นกระดานไม้สักที่ประกอบขึน้ เป็นผนงั
วิหารของวัดเวียงตา้ อำเภอลอง จงั หวัดแพร่ สนั นษิ ฐานว่าเขียนขึ้นรุ่นเดยี วกับจิตรกรรมที่วัดภมู นิ ทร์
จังหวัดนา่ นเม่ือราว พ.ศ. ๒๔๔๐ โดยชา่ งชาวไทลอ้ื จากเชียงตงุ (ตามข้อสันนิษฐาน และการวิเคราะห์
รปู แบบเทคนิคการวาด ของวินยั ปรารปิ ู และ ภเู ดช แสนสา มีความเหน็ ไปในทิศทางเดยี วกันว่า น่าจะเปน็
กล่มุ ชา่ งเดยี วกัน กับงานจติ รกรรม ในจังหวัดน่าน) ต่อมา วหิ ารทรดุ โทรมมากและฝนร่วั ทำความเสยี หาย
ให้กบั ภาพ ชาวบ้านตอ้ งการสร้างวิหารใหมจ่ งึ ได้ผาติกรรมไปไว้ท่หี อคำน้อย อุทยานศลิ ปวัฒนธรรมแมฟ่ า้
หลวง จังหวดั เชยี งรายเม่ือวนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๑ เมือ่ นับอายุ ปีทเี่ ขียนแล้ว เป็นปีท่ี 116 แห่งกรงุ
รตั นโกสนิ ทร์ และเปน็ ปีที่ 30 ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 106 | P a g e


ภาพวาดหัวเรอื แบบเมืองน่าน และเจ้านายฟ้อนบนหัวเรอื วัดเวียงตา้ มอ่ น มีการจารกึ ดว้ ยอักษรล้านนา วา่
“อนั นเ้ี ปน็ บา้ นอุตตาคามทเี่ จ้าแสงเมืองลงเล่นเรอื นัน้ แล”

๔. หลักฐานภาพถ่าย เจ้ามหาพรหมสรุ ธาดา ( เจ้ามหาพรหมสรุ ธาดา เจา้ ผคู้ รองนครนา่ น ลำดับที่ 64
และองคท์ ่ี 14 แห่งราชวงศ์ต๋ินมหาวงศ์)ฟ้อนล่องนา่ นบนเรือแข่งถวายแดส่ มเดจ็ เจ้าฟา้ กรมพระ
นครสวรรคว์ รพนิ ติ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๐(สกั ก์สีห์ พลสันตกิ ุล, การจัดการประเพณที ้องถ่ินเพ่อื การท่องเทย่ี ว
: กรณีศกึ ษาการจดั ประเพณแี ข่งเรือเมอื งน่าน (วทิ ยานิพนธ์ ศศ.ม สาขาวิชาการจดั การทางวัฒนธรรม (สห
สาขาวิชา),2556), 57.)

ภาพเจา้ มหาพรหมสรุ ธาดาฟ้อนบนเรือแข่งเพอื่
รับเสด็จสมเด็จเจา้ ฟ้าฯ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

จากหลักฐานและข้อมูลดังกลา่ ว คณะผวู้ ิจยั จงึ สรุป รปู แบบประเพณเี รือแข่งเมอื งน่าน การมีอยู่ของ
ประเพณแี หง่ สายนำ้ นา่ น คงปรากฏขน้ึ ชว่ งทส่ี ังคมนา่ นเริ่มเป็นปึกแผน่ มีความม่นั คง ในยุคสมัยประวตั ิศาสตร์ รตั น
โกสทิ ธ์ิ ตอนต้น ท่นี ่านเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของสยามประเทศในขนาดนน้ั ด้วยสังคมยคุ นัน้ ยังคงใช้โครงขา่ ยชุมชนทาง
น้ำเป็นหลัก ดงั หลักฐานการกระจายตัวของชมุ ชนเก่าแกโ่ บราณของนา่ นจะมีอายุ 200กวา่ ปี ตลอดแนวแมน่ ้ำสาขา
และแม่น้ำน่าน อีกท้ังสงั คมน่านเปน็ สังคมเกษตรกรรมเป็นฐาน การหล่อหลอมวฒั นธรรมกบั สายน้ำน่านจงึ ก่อ
เกิดขึน้ พฒั นาเปน็ รปู แบบประเพณที เ่ี ชอ่ื มโยงกบั พระพทุ ธศาสนา เทศกาลออกพรรษา ประเพณี "ทานก๋ายสลาก”
หรือ "กิ๋นกว๋ ยสลาก”และการเฉลมิ ฉลองหลังฤดเู ก็บเก่ียวผลผลิตการเกษตร เป็นวถิ ีประเพณีและความสนุกสนาน
ของชุมชนแต่ละล่มุ น้ำในส่วนของ คติ รสนิยม ความงาม ได้ยมิ ยืมรูปแบบชา่ งหลวง จากราชสำนัก มาบูรณาการ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 107 | P a g e


สรา้ งสรรคว์ จิ ติ รผสมผสานตามแต่จิตนาการของ ช่างท้องถิ่น จึงบังเกิดรูปแบบลักษณะเรือแข่งเมอื งน่านท่ีวิจติ
งดงามเฉพาะตน เปน็ ศลิ ปะพื้นถ่ิน ที่ผ้วู ิจยั ศึกษาและจำแนกกลมุ่ ออกมาดังนี้

ทำการวเิ คราะห์ จดั กลุ่มรปู แบบ โดยแบง่ ตาม ลักษณะ ห่วงเวลา อัตลักษณ์ความพิเศษ จำแนกออกเป็นสอง
รูปแบบ

๑.แบบดัง้ เดิม (Classic)

ลักษณะตวั ชิ้นงานท่เี ปน็ แบบอยา่ งทส่ี มบรู ณ์ของลักษณะเฉพาะบางสิง่ บางอย่างคณุ คา่ ที่มีคุณภาพยั่งยนื หรือเหนือ
กาลเวลา ทักรปู แบบ เทคนคิ ในการสร้างสรรคจ์ นปรากฏเป็นรูปนั้น และอาจไม่สามารถสืบคน้ ช่าง ผสู้ รา้ งงานได้

2.แบบรว่ มสมยั Contemporary

หรอื Contemporary design คอ่ นข้างมกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งต่อเนื่องตามยุคสมัย มีรากฐานการออกแบบที่
สามารถบอกเวลาท่เี กิดนน้ั ได้ และในแต่ละชว่ งเวลามีการถา่ ยเทสบื ถอดกนั มาอย่างต่อเนื่อง อย่างเปน็ พลวัต
(dynamic)

การรวมตัวของจุมสลา่ เรือแข่งน่าน ทถ่ี ือไดว้ ่าเปน็ ปรากฏการณส์ ำคญั ของกลุ่ม ชา่ งพน้ื ถนิ่ ทจี่ ะเปน็ พลวตั
ทางสังคมท่เี กดิ ขนึ้ ของเมืองน่านอยู่หลายมิติ ทงั้ ในด้านทุนทางวัฒนธรรมสงั คม ทีเ่ ปน็ ต้นทุนไปสกู่ ารจัดการ
ท่องเทย่ี วอยา่ งย่งั ยนื น่านเมืองเก่าท่ยี ังมีชวี ติ มีลมหายใจท่ีชวนให้ผคู้ น ไดม้ าเยยี น มาสมั ผัส มนต์เสนห่ อ์ ันงามของ
วฒั นธรรมสายน้ำน่านแห่งน้ี ประเพณี แขง่ เรือยาว จังหวัดนา่ น คอื ปลายปริ ามิด แห่งความสุข และความศรัทธา
หล่อหลอมสะทอ้ นภมู ิคุณคา่ ด้านวฒั นธรรม ของสงั คม

เกษตรกรรมเปน็ ฐานราก บนฐานปัจจยั ดา้ นภมู วิ ัฒนธรรม ( Cultural Landscape) ภมู ิศาสตรต์ น้ กำเนิด
“แม่น้ำนา่ น” เปน็ สายธารชวี ิตที่ก่อให้เกดิ ภมู ิวฒั นธรรมและสรา้ งสรรคศ์ ิลปวฒั นธรรมอันมเี อกลักษณ์เฉพาะตวั
สืบเนือ่ งเหตุการณ์ ทผี่ คู้ นมคี วามผกู พันกับสายน้ำอย่างยาวนาน นบั เหตุการณส์ ำคัญในประวัตศิ าสตร์ เมื่อคร้งั ยา้ ย
เมอื งมาสนู่ า่ นตอนใต้ สรา้ ง “เมอื งเวียงภูเพียงและพระมหาธาตุแชแ่ หง้ ” พัฒนาเป็นเวยี งใหม่ กลายเปน็ ศูนย์กลาง
ความศรัทธา จนกลายเป็นปจั จยั ที่กอ่ เกิดมรดกทางวฒั นธรรม บ่งบอกถึง การ ประดิษฐานพระพทุ ธ ศาสนาอย่าง
มนั่ คง ณ ดนิ แดนแหง่ น้ี นครน่าน

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 108 | P a g e


วตั ถปุ ระสงคว์ ิจยั
2. เพื่อศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นแนวทางในการต่อยอด ต้นทุนของชุมชน รักษา
อนรุ กั ษ์ คณุ ค่าของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ประเพณแี ข่งเรอื เมอื งน่าน
คุณค่าทางวฒั นธรรมของประเพณแี ขง่ เรอื

คณุ คา่ เชิงจิตวิญญาณ (Spiritual Value)

ประเพณีแข่งเรือเมอื งน่าน เกิดจากการละเล่น และวิถีชีวิตท่ีแนบแน่นกบั พระพุทธศาสนาและโลกุตรธรรม
มาแต่โบราณ ที่จะมีการแข่งเฉพาะในพิธีถวายทานสลากภัต ผสานเข้ากับนาคาคติแสดงออกมาในรูปแบบเรือ
พญานาคทีส่ ัมพนั ธก์ ับความเชือ่ เรอื่ งความอุดมสมบูรณ์ ท่ีแสดงออกถงึ ความเป็นสังคมเกษตรกรรมอย่างแท้จรงิ

พธิ กี รรมต่างๆท่ีแสดงออก ลว้ นมคี วามหมายท่ีลึกซ้ึง ซง่ึ สมเจตน์ วิมลเกษม ได้ใหข้ อ้ มูลว่า การแข่งเรือเป็น
“เกษมเมือง”ทีเ่ ปน็ หน่ึงในสามของประเพณีสำคัญสำหรับบ้านเมือง อนั ประกอบดว้ ย ประเพณีสงกรานต์ ประเพณี
ขึ้นธาตุ(นมัสการพระธาตุต่างๆในแต่ละเดือน เช่น วันเพ็ญเดือนหก ขึ้นนมัสการพระธาตุแช่แห้ง วันเพ็ญเดือนเจ็ด
ข้นึ นมสั การพระธาตุท่าล้อ วันเพญ็ เดอื นแปด ขึน้ นมสั การพระธาตุเขาน้อย เปน็ ต้น) และประเพณแี ข่งเรือ ท่ีเป็นกุศ
โลบายในการสร้างความสามัคคีให้เกิดในหมูป่ ระชาชนพลเมืองกำลังสำคัญในการผลิตทรัพยากรเพื่อหล่อเลี้ยงเมือง
เพราะความมัน่ คงของเมอื งในสมัยโบราณน้ันมีปจั จัยสำคัญประการหนึ่งคือ ปริมาณข้าว “หล่อฉาง” หรอื การส่งข้าว
จากหัวบา้ นหวั เมืองต่างๆเข้าฉางหลวงของเมือง หากทำนาไมส่ ำเร็จย่อมนำมาซึ่งความไม่มั่นคงของเมืองเช่นเดียวกัน
สมเจตน์ วิมลเกษม นิยาม ประเพณแี ขง่ เรือเมืองน่าน ซึ่งเรยี กว่า “กระบวนการขัดเกลาทางสังคม”

“คุณคา่ ” คือ บุญคุณของคนโบราณ ไม่วา่ จะเปน็ ร่นุ ไหนกต็ าม ท่ีท่านได้รังสรรค์ผลงานระดบั premiumของ
โลกมาแลว้ เราจะหาค่าเข้าไปเติมได้อย่างไร ที่มีต่อจิตวญิ ญาณของคนนา่ น แตค่ า่ ของมนั อยู่ทศ่ี ูนย์รวม สามัคคี จติ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 109 | P a g e


วญิ ญาณของคนน่าน ที่สอนลูกหลานนา่ น สำนึกในแผน่ ดินของน่าน การต่อยอดประเพณีน้ีไปในมติ ใิ ดก่อตาม แต่
จะต้องรู้ว่า สอนให้คนน่านรู้รักแผน่ ดนิ ถ่ินเกิดเมืองนา่ น

คณุ ค่าเชิงสังคม (Social Value)

ในทกุ กระบวนการของประเพณลี ว้ นมสี ว่ นในการกล่อมเกลาจติ ใจของผู้คนท้ังส้นิ จากทรรศนะของ สงา่ อิน
ยา กลา่ ววา่ เรมิ่ ต้งั แต่การ “รว่ มกนั คิด” ในชมุ ชนจนเกดิ ฉนั ทามตยิ นิ ยอมพร้อมใจกนั จากคนในชุมชนในการจะสร้าง
เรือลำหนึ่งซึ่งต้องใช้กำลังคนจำนวนมากตั้งแต่เริ่มต้น และทุกคนในชุมชนล้วนมีบทบาทในประเพณีทั้งสิ้น เช่น
พระสงฆท์ ำหนา้ ทีผ่ นู้ ำ และชา่ งฝมี ือ ชายฉกรรจเ์ ปน็ แรงงานหลกั ผสู้ ูงอายุมีบทบาทมากในส่วนของพิธีกรรม สตรีทำ
หน้าที่เป็นกองเสบียงของชุมชน เยาวชนทำหน้าทีเ่ ปน็ ผู้สังเกตการณ์และเรียนรู้เพื่อสบื ทอดประเพณีในอนาคต เป็น
ตน้

“การร่วม ความเป็นของสาธารณะ” ของคนในชุมชนที่สะท้อนผ่านความร่วมแรงร่วมใจในขึ้นตอนต่างๆ
เช่นการเริ่มลงมือเข้าป่าเพื่อตัดไม้ จำเป็นต้องใช้ชายฉกรรจ์จำนวนมากคนเหล่านั้นจำช่วยกันเลือกเฟ้นต้นไม้ที่ต้อง
ลักขณาตามตำราต่างๆ ของแต่ละชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการนับตาไม้ สถานที่อยู่ของต้นไม้นั้นๆว่าอยู่ริมน้ำ หรือ อ ยู่
ตำแหน่งใดของป่า ล้วนส่งผลต่อการตัดสินใจทั้งสิ้น ก่อนจะนำต้นไม้กลับสู่ชุมชน จะมีการพูดคุยต่อรองกับต้นไม้
หรือเทพารักษ์ที่รักษาต้นไม้ใหญ่ต้นนั้นๆด้วยวิธีการ วาไม้เสี่ยงทายไปเรื่อยๆ ถึงข้อจำกัดต่างๆในการอยู่ร่วมกันใน
อนาคต เช่น หากไปอยู่ร่วมกันแล้วจะสังเวยอะไร เทพรักษ์ปรารถนาจะนุ่งผ้าแบบใด และจะใช้ชื่ออะไรในการเรียก
ขาน เป็นตน้ เมือ่ ได้ตน้ ไมท้ ่เี หมาะสมแลว้ จะร่วมกนั ขอขมาและทำการโค่นในท่สี ุด หลงั จากนั้นตอ้ งใช้กำลังคนในการ
ชักลากต้นไม้กลับสู่ชุมชนเพื่อเข้าสู่กระบวนการสร้างเรือ ซึ่งในอดีตนั้นจะใช้ช่างฝีมือและแรงงา นจากในชุมชน
ทั้งหมด เมื่อสำเร็จเป็นเรือแข่งแล้ว จะมีการ “สู่ขวัญเรือ” เพื่อเป็นการปลอบประโลม “ขวัญ” ที่อาจจะบอบช้ำ
หรอื ตื่นตกใจของไมใ้ ห้กลบั มาสถิตอยกู่ ับเรือหลงั จากทต่ี ้องตรากตรำออกมาจากป่าและต้องถูกตัดถูกเล่ือยถูกเหยียบ
ย่ำในกระบวนการสร้างเรือที่ผ่านมา อีกนัยหนึ่ง สมเจตน์ วิมลเกษมให้ความเห็นว่า เพื่อเป็นการร่วมกันต้อนรับ
สมาชกิ ใหมข่ องชุมชน มาทำหน้าทเ่ี ปน็ เรือของ “หน้าหม”ู่ หรอื ของเป็นสาธารณะสมบัติของชาวบ้านทงั้ หมดอีกดว้ ย

ในการนำเรือลงแข่งนั้น เป็นภาพที่แสดงออกชัดเจนถึงความร่วมใจในการ “ร่วมพลังสามัคคี” ของคนใน
ชุมชนมาตั้งแต่อดีต สมกับสุภาษิตที่ว่า “ลงเรือลำเดียวกัน” หากได้รับชัยชนะก็รับร่วมกันหรือถ้าหากแพ้ ก็ต้อง
ร่วมกันรับความพ่ายแพ้เช่นกัน อันเป็นการ “ร่วมรับผลประโยชน์” ของทุกคนในชุมชนในทางตรง ส่วนในทางอ้อม
นั้นเป็นประโยชน์ที่เกิดจากความเข้มแข็งของชุมชน นำไปสู่ความมั่นคงของสังคมและย้อนกลับมาที่ความอยู่ดีมีสุข
ของคนในชมุ ชนอกี ดว้ ย

ท้ายที่สุดของกระบวนการนั้น เมื่อสิ้นสุดเทศกาลลงแล้ว กระบวนการ “ร่วมรับผิดชอบ” จะเริ่มขึ้น
กล่าวคือคนในชุมชนจะรับผิดชอบในหน้าที่ตา่ งๆของตน เช่น ชายฉกรรจจ์ ะร่วมกันขนยา้ ยเรอื กลับเข้าสู่โรงเรือของ
ชุมชน หากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับเรือก็จะร่วมกันซ่อมบำรุงให้อยู่ในสภาพดี สตรีจะรับผิดชอบในการเก็บกวาด
ซักล้าง และจัดเก็บพัสดุอุปกรณ์ต่างๆจำนวนมากที่ใช้งานแล้ว เช่น ถ้วยชาม เครื่องครัว อุปกรณ์ตกแต่งต่างๆ เป็น
ตน้ ผสู้ งู อายุจะรับผิดชอบพธิ ีกรรมต่อเน่ือง เช่น การแก้บนกับ เทวดาอารักษ์บ้าน เทวดาอารักษ์วัด เทวดารักษาท่า
นำ้ หรือสงิ่ ศกั ด์ิสิทธิต์ ่างๆที่ได้ขอพร และบนบานให้ไดร้ ับชนะตามแต่การนับถือของชมุ ชนนั้นๆ อีกทั้งหลายหมู่บ้าน
ยงั ทำการ “สู่ขวัญลกู เรอื ” เพือ่ เป็นการปลอบประโลมขวัญและกำลังใจของฝีพายเรอื ทีต่ รากตรำพายเรือมาหลายวัน
หรอื อีกนยั หนึง่ เปน็ การฉลองความสำเร็จและปลอบใจหากไดร้ ับความพ่ายแพ้ในการแขง่ ขันอีกด้วย ส่วนพระสงฆ์จะ
ทำหน้าที่ในการสั่งสอนให้คนในชุมชนเห็นถึงสามัคคีธรรม และกฎไตรลักษณ์จากประเพณี อีกทั้งยังทำหน้าที่เก็บ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 110 | P a g e


รักษาพสั ดุอุปกรณ์อีกส่วนหนึ่งทนี่ ำไปใชใ้ นประเพณี เชน่ เครอื่ งประโคมดนตรีต่างๆ ไม่ว่าจะเปน็ ปาน หรอื พับพาง
ฆ้อง กลอง รวมถึง พสั ดทุ ี่ใชใ้ นพิธีกรรมอกี ด้วย

จากกระบวนการต่างๆ ทำให้เห็นวา่ ประเพณีแข่งเรือมีคุณค่าเชิงสงั คมแฝงอยูโ่ ดยตลอดต้ังแตเ่ ริ่มต้น ทำให้
ชมุ ชนได้ รว่ มคดิ ร่วมปฏิบัติ รว่ มรับผลประโยชน์ และร่วมรับผดิ ชอบ เปน็ กระบวนการมีส่วนรว่ มอย่างแท้จริงซ่ึงจะ
ได้กล่าวถึงรายละเอียดในบทต่อไปอีกทั้งประเพณียังแสดงออกให้เห็นว่า ชุมชนมีควาเอื้อเฟื้อเกื้อกูลเป็นสังคมแบบ
ถอ้ ยทีถอ้ ยอาศัยกัน

คุณคา่ เชงิ สนุ ทรียศาสตรแ์ ละเอกลกั ษณ์พ้ืนถน่ิ (Aesthetic and Unique Value)

เรือแข่งเมืองน่านมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นประการหน่ึงคือ เป็นเรือมีหัวและหางที่งดงาม กล่าวคือ ในอดีตตัว
เรือจะทำจากไม้ซุงทั้งที่ท่อนขุดคล้ายเรือชล่า(เรือหาปลาชนิดหนึ่ง)ส่วนที่ต่อออกจากเรือเป็นคอหัวเรือ เรียกว่า
“กัญญาหัว” หรือ “โงนหัว”โขนเรือ ทำเป็นรูปโค้งงอนยาวรับกับหัวเรือที่แกะสลักอย่างวิจิตรบรรจงส่วนท้ายเรือก็
ระกอบด้วย “กญั ญาหาง” หรอื “โงนหาง” ทีโ่ ค้งงอนยาวรบั กบั “หางวัน” ทีแ่ กะสลกั อย่างวิจิตรบรรจงเช่นเดียวกัน
ตลอดลำเรอื น้ันจะเขียนลวดลายพ้ืนเมืองสสี ันสวยงาม บางลำประดับกระจกแวววาวงดงามยิง่ นัก ขณะที่ทำการแข่ง
เปรียบเสมอื นพญานาคชูคอแยกเข้ยี วโง้ง กำลังขบั เคี่ยวกันอยู่กลางลำน้ำ เป็นภาพทงี่ ดงามอยา่ งย่งิ

ในชน้ั การวจิ ัยครง้ั นี้ มขี อ้ อภิปราย ความหมาย และรปู ลักษณข์ องเรือน่านวา่ มีลกั ษณะพเิ ศษและสรา้ งสรรค์ตามจติ
นาการของสล่าท้องถน่ิ สรปุ การตคี วามลกั ษณะ เรือแขง่ เมอื งน่าน ๓ แนวทาง คอื

๑. ตามความเช่ือนยิ มเรือ่ งตำนานพญานาคราช ถือ เป็นกระแสหลัก และมีความเช่ือสืบเนื่องทง้ั บริบทของ
ตำนานท่เี ช่ือมโยงต่อพญานาคราชอย่หู ลากหลายมติ ิ หรือแม้แต่การหยิบยมื ความเชื่อมฝัง่ ล่มุ น้ำโขงมา
ผสมผสานกบั พื้นท่นี า่ น และความศรัทธาทีส่ ังคมคนนา่ นบริบทสงั คมพระพุทธศาสนาที่มีการนำงานพุทธ
ศลิ ป์ปูนปน้ั พญานาคเกือบทุกชมุ ชน ทุกวดั พร้อมกบั มิติสงั คมน่าน เปน็ สังคมเกษตรกรรม ทม่ี คี วามเช่ือและ
นับถอื พญานาคราช เปน็ ดังเทพ เทวดาท่ีบนั ดาลความอุดมสมบรู ณ์ใหก้ ับพนื้ ดนิ เพาะปลูก ทำให้ ประเพณี
แข่งเรอื ยาว หลังฤดูเก็บเกี่ยวเสรจ็ ส้นิ ลง และความงามวจิ ิตรของหัวและหางเรอื ทถ่ี ูกเกาะสลักงดงามของแต่
ละชุมชน คอื องค์พญานาคราชนั้นเอง

๒. ตามการตีความทางภาษาศาสตร์ และคตินยิ ม โดยดร.ยุทธพร นาคสุข ในมมุ องพยายามอธบิ าย
รูปลักษณ์ และเทียบเคียงกลุ่มวฒั นธรรมรว่ ม ที่มอี ยู่เชน่ กัน ว่ามีความเหมือนกบั หัวเรอื เหรา หรือ จระเข้
(เงอื ก) และวเิ คราะห์ กลุ่มเอกสารต้น และตำนาน ไมม่ ีการระบุชดั ลงไปวา่ เรือแขง่ เมืองน่านคอื เรือ
พญานาคแตอ่ ยา่ งใด จึงเสนอในมมุ มองวา่ เรือแข่งเมืองน่านอาจไม่ใชเ่ รอื พญานาค แตเ่ ป็น เหรา

๓. เนน้ มมุ มองตามจติ นาการของ(สล่า)ชา่ ง โดย วินัย ปรารปิ ู ศลิ ปนิ นา่ น ที่ ไม่ไดน้ ยิ ามส่ิงนั้นว่าคอื
พญานาค หรือเหรา แตค่ ือ เน้นเพยี งความงาม ความหมายท่แี ทนค่า คอื หวั เรือแข่งแบบน่าน เทา่ นน้ั "หัว
เรือแข่งเมอื งนา่ น" น้นั ถือไดว้ ่าเป็นการสร้างสรรค์ศลิ ปะพื้นบ้านเพอื่ ใช้กิจกรรมของงานร่ืนเริงบันเทิงใจของ
ชาวน่านทเี่ ป็นเอกลักษณ์ เพราะไม่มภี าพลักษณ์เหมือนอะไรในโลกท่ีกลา่ วถงึ อาจกล่าวได้วา่ เปน็ "เอกหนงึ่
เดยี วในโลก" ท่ีไม่ได้ออกแบบเกาะเก่ยี วสัตวใ์ นหิมพานต์มาใชอ้ อกแบบ หากแตเ่ จาะจงออกแบบใชก้ ับ
รูปลกั ษณเ์ รือแข่งเมืองนา่ นเท่าน้ัน ภาพลกั ษณ์ศิลปกรรมน่านทีผ่ า่ นขบวนการสรา้ งสรรค์ด้วยความเชื่อและ
ศรัทธาเร่อื งเทพเทวดา เร่อื งสัตว์หมิ พานต์เช่นครุฑ นาค สิงห์ หงส์ คชสีห์ นกหสั ดีลงิ คฯ์ ลฯ ได้ปรากฏ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 111 | P a g e


ทั่วไปตามศาสนสถานในดนิ แดนแถบอนิ โดจนี พม่า อนิ เดียเช่นกัน ดงั น้ันทนี่ า่ นจงึ ปรากฏรูปปั้นนาค สงิ ห์
และตัวเหรา(เห-รา)ทีว่ ัดโดยทั่วๆไป เรือแขง่ นา่ นนั้นมหี ัวทโ่ี ดดเด่นเป็นภาพลักษณ์ความทรงจำลักษณะนาม
ทีม่ านั้นอาจจะมาจากลกั ษณะผสมตัวเหรากบั จระเข้(ตามงานวจิ ัยของอ.ยุทธภูมิ สุประการ และการให้
ข้อมลู การสบื คน้ ของ ดร.ยุทธพร นาคสขุ ท่ีมคี วามใกลเ้ คยี งทีส่ ุด)ดว้ ยภาพลกั ษณ์ท่ีแตกต่างจากเรือของกลมุ่
ชนต่างๆในภมู ภิ าคน้ีในอดีตที่ปรากฎหลกั ฐานบันทึกไว้

ในอีกมิติการมองประเพณีแขง่ เรือเมอื งน่าน ของอาจารยส์ มเจตน์ วิมลเกษม กล่าววา่ เรือแข่งเมือง
นา่ น มาทำใหเ้ ห็นตำนานท่ีเก่ียวพันธก์ บั พญานาค นับขุนนุ่น ขุนฟอง ต้นราชวงศ์ภูคา มีพิธีมากมาย
เหล่าน้ี คือ จะสอนคนให้เคารพธรรมชาติ เพราะฉะนัน้ สญั ลักษณเ์ รือแขง่ เมืองนา่ นของเราจงึ เป็นเอกลักษณ์
และอัตลักษณ์ที่สะท้อนถึงการอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ ม โดยรวมทงั้ หมดผ่านกระบวนการเปน็ พธิ กี รรมความเช่อื
ทล่ี กึ ลำ้ เจา้ หลวงเมืองน่าน จึงเอาพิธตี รงนี้ เป็นพธิ ีที่สร้างความสามคั คีธรรมกบั ชมุ ชนคนในเมืองน่าน
บา้ นเมืองจะก้าวหนา้ ไปดว้ ยกันได้ จะต้องช่วยกันพายเรือ “ถ้าเมืองจะลม่ กล็ ่มไปดว้ ยกัน เหมอื นเรอื ที่มัน
ล่ม” คนโบราณเขาสอน เพราะฉะน้นั คนนา่ นจงึ รู้รักสามคั คีกัน ผ่านกระบวนการความเช่ือหลายๆ อย่าง ซ่ึง
เรียกว่า “กระบวนการขดั เกลาทางสังคม” ซง่ึ ส่ิงเหลา่ น้ี ไม่มใี ครสามารถอธบิ ายสง่ิ เหลา่ นี้ให้ลกู หลานเรา
ไดเ้ รียนรไู้ ด้ (สมเจตน์ วิมลเกษม,2564)

การศกึ ษาภาคเอกสารทำให้ทราบถงึ ความเปน็ มาของประเพณีแข่งเรือ ซ่ึงมนี ักวชิ าการได้
ทำการคน้ คว้าในประเด็นนไ้ี ว้หลายมติ ิ และกวา้ งขวาง โดยเฉพาะการศึกษาเรอื่ งความผูกพนั ของคนเมือง
นา่ นกับสายน้ำน่าน โดย ยุทธพร นาคสขุ กลา่ วถึงความสัมพันธท์ ีห่ ลากหลายมิติกับสายนำ้ และสงิ่ เหนอื
ธรรมชาติ ทผ่ี สมผสานกับวถิ ีชวี ติ ทัง้ น้ไี ดย้ ึดโยงภาพจากประวัติศาสตร์ยุคแรกของเมืองนา่ นในสมยั ของ
พญาภูคา (พญาพูคา) เชื้อสายของคนเมืองน่านซ่งึ เปน็ คนไทกล่มุ หนึ่งคือ “ชาวกาว” หรือ”กาวไทย” ก็ได้
ต้งั ถิ่นฐานอย่ตู ามลมุ่ แม่นำ้ แล้ว คือ ลำน้ำย่าง บรเิ วณเมืองย่าง เขต อ.ทา่ วังผาในปัจจุบัน ตอ่ มาในราว พ.ศ.
1902 พญาครานเมือง ผู้ทรงพระนามที่มีความหมายถงึ “ผทู้ ่ีเป็นทงั้ ความดแี ละความงามของบ้านเมือง”
หรอื “ผทู้ ีม่ ีอำนาจคับบ้านเมือง” หรอื พระนามของพระองคอ์ าจมาจากการทโ่ี ปรดให้เกณฑ์ไพร่ฟ้าประชา
ราษฎรย้ายเมืองจากเมืองวรนครบรเิ วณ อ.ปวั ลงมาตั้งท่ีเวียงภูเพียง (เวียงพเู พยี ง) อนั เป็นบริเวณที่
พระองค์ไดท้ รงสรา้ งพระธาตุเจ้าภูเพียงก่อนหนา้ น้นั กเ็ ป็นได้ เพราะคำว่า “คราน” ยังหมายถึงการเกณฑ์
การบังคับอีกดว้ ย (ยุทธพร นาคสขุ , 2553)

ย้ายเมืองครั้งน้ันทำใหเ้ กดิ ตำนานของ “ซอล่องน่าน” ว่าระหว่างทม่ี กี ารขนยา้ ยผคู้ นจากเมืองวรนคร
ลงมาตามลำนำ้ น่านน้นั ปรากฏวา่ มศี ิลปิน 2 คนคอื “ปู่คำมากับย่าคำบี้” ได้ผลดั เปล่ยี นกันขับขาน
พรรณนาความรู้สกึ หว่ งหาอาลัยบ้านเกิดเมืองนอนท่ีตวั เองจากมา ต่อมาจงึ เรยี กการขบั ขานเช่นนน้ั วา่
“ทำนองซอล่องนา่ น” (ยุทธพร นาคสขุ , 2553)

อีกประการหนึ่งทีเ่ ป็นสีสันของประเพณีได้แก่ การตั้งกองเชียรข์ องแต่ละชุมชนทีเ่ กิดจากความร่วมแรงรว่ ม
ใจอยา่ งแทจ้ ริง มักมกี ารประดับตกแตง่ ให้เป็นรูปสัญลกั ษณ์ตา่ งๆ ตามแต่ที่ตอ้ งการนำเสนอ เช่น รูปพระธาตุแช่แห้ง
พระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบรมวงศานุวงศ์ตามแต่วโรกาสในปีนั้นๆ เป็นต้น ซึ่งจะตั้งใจประดับตกแต่งอย่าง
สวยงาม เพื่อเป็นกำลังใจแก่ฝีพายเรือของชุมชนตนเองจะเห็นได้ว่าประเพณีแข่งเรือเมืองน่าน มีคุณค่าเชิง

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 112 | P a g e


สุนทรียศาสตร์ที่แฝงฝังอยู่ในกระบวนการของประเพณีอย่างหลากหลายและเป็นกลไกหนึ่งที่ทำให้เกิดการปลูกฝัง
ทรรศนะเรือ่ งความงามแก่คนในชุมชนอีกด้วย

สุนทรียศาสตร์ทั้งหมดนี้ ยังเป็นคุณค่าที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะพื้นถิ่น (Rarity and Unique Value) ซึ่งไม่
พบองคป์ ระกอบของประเพณีเช่นนใ้ี นทีแ่ หง่ ใดของประเทศไทย

คุณค่าเชิงประวตั ศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม (Historic and Cultural Value)

ประเพณแี ขง่ เรอื เมอื งน่านในเชิงประวตั ิศาสตร์นนั้ ไม่อาจบอกไดว้ ่าเรมิ่ ตั้งแตเ่ มือ่ ใด ซึง่ พอจะกำหนดคร่าวๆ
ได้ว่ามีมาไม่ต่ำกว่า 200 ปี ร่วมสมัยรัตนโกสินธิ์ตอนต้นแล้ว ดังมีหลักฐานที่ยังหลงเหลืออยู่ได้แก่เรือโบราณของ
หมู่บ้านต่างๆ ที่มีการจดบันทึกปีที่สร้างหรอื เลา่ สบื ๆ ต่อกันมา เรือที่เก่าที่สุดในเมืองน่านคือ เรือเสือเฒ่าท่าล้อ ขุด
เมื่อ พ.ศ.2359 ถ้านบั จนถงึ ปัจจบุ นั (25๖๔) ก็มีอายถุ งึ ๒๐๕ ปีแล้ว เรือจักแตนบ้านหนองบวั อายุ 19๘ ปี ขุดเมื่อ
ปี พ.ศ. 2366 ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่บ้านหนองบัว ต.ป่าคา อ.ท่าวังผา เรือเสือเฒ่าบุญเรืองอายุ 1๘๔ ปีขุดเมื่อปี
พ.ศ. 2380 ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่บ้านบุญเรือง ต.ไหล่น่าน อ.เวียงสา เรือคำแดงเทวีอายุ 1๗๔ ปี ขุดเมื่อปี พ.ศ.
2390 ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่บ้านนาเตา ต.ริม อ.ท่าวังผา เรือคำปิ๋ว (แม่คำปิ๋ว)อายุ 1๖๔ปีขุดเมื่อปี พ.ศ. 2400
ปัจจบุ ันเก็บรกั ษาไว้ที่บ้านเชียงแล ต.รมิ อ.ท่าวังผา เรอื แม่คำปิ๋ว อายุ ๑๓๘ ปี ขุนเมอื่ ปี ๒๔๒๖ ปัจจุบันเก็บรักษา
บา้ นนาหนุน ต.รมิ อ.ท่าวังผา เปน็ ต้น

นอกจากนี้ยังมีหลักฐานอื่นๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของประเพณีแข่งเรือเมืองน่านควบคู่กับ
ประวัติศาสตร์น่านมาโดยลำดับ เช่น ภาพถ่ายเจ้ามหาพรหมสุรธาดาฯ ฟ้อนบนเรือแข่ง ซึ่งภาพถ่ายนี้นับว่าเป็น
หลักฐานสำคัญเกี่ยวกับการแข่งเรือเมืองน่านอีกชิ้นหนึ่ง ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2460 เมื่อครั้งที่สมเ ด็จเจ้าฟ้ากรมพระ
นครสวรรค์วรพินิต เสด็จมาตรวจราชการที่เมืองน่าน เจ้ามหาพรหมสุรธาดาเป็นเจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้าย
ขณะน้ันดำรงตำแหน่งเจ้าอุปราชและเจา้ นายฝา่ ยเหนือไดล้ งไปฟอ้ นในเรือลำที่ชนะเลิศเพอ่ื เปน็ การถวายการต้อนรับ
เป็นตน้

นอกจากคุณค่าเชิงประวัติศาสตร์แล้ว ยังมี “คุณค่าเชิงวัฒนธรรม” อันเป็นเครื่องบ่งบอกถึงความต่อเนื่อง
และแนบแน่นของประเพณีที่อยู่คู่กับสังคมมาโดยตลอด ยกตัวอย่างเช่น คำสู่ขวัญเรือฉบับใบลานในความ
ครอบครองของพระพนัส ทิพพเมธี วัดน้ำลัด ต.นาปัง อ.ภูเพียง จ.น่านมีคำสู่ขวัญเรือเมื่อกว่า 150 ปีมาแล้ วน้ัน
ยอ่ มแสดงให้เห็นวา่ พิธีกรรมการสู่ขวัญเรอื และประเพณแี ข่งเรือต้องมีมาก่อนหน้านัน้ แลว้ เพราะคำสู่ขวัญเรือฉบับน้ี
เป็นเพียงฉบับคัดลอกอีกทอดหนึ่งเท่านั้น อีกทั้งยังพบภาพจิตรกรรมที่วัดต้าม่อน (จิตรกรรมเวียงต้า)อายุประมาณ
100กว่าปีเดิมอยู่ภายในวิหารไม้ของวัดต้าม่อน ต.เวียงต้า อ.ลอง จ.แพร่ ต่อมาผาติกรรมไปเก็บรักษาที่ไร่แม่ฟ้า
หลวง จ.เชียงราย จากการวิเคราะห์ด้วยศาสตร์ทางศิลปะของ อ.วินัย ปราบริปู ผู้อำนายการหอศิลป์ริมน่าน และ
จากการวิเคราะห์ทางด้านอักษรและอักขรวิธีของผู้เขียนเห็นไปในทางเดียวกันว่าผู้วาดภาพจิตรกรรม เวียงต้าน่าจะ
เป็นช่างกลุ่มเดียวกับช่างที่วาดภาพจิตรกรรมที่วัดหนองบัวและวัดภูมินทร์ (แต่คงวาดหลังสองวัดแรก) จึงได้
สอดแทรกวฒั นธรรมของทางเมืองน่านลงไปในภาพดว้ ย

คณุ คา่ เชิงเศรษฐกจิ (Economic Value) ประเพณีแข่งเรือ สามารถประเมินคณุ ค่าได้ในมิติตา่ งๆดงั ตอ่ ไปน้ี

คุณค่าเชิงเศรษฐกิจที่เกิดจากการใช้งานประเพณีโดยตรง(Productive Use Value) ได้แก่ คุณค่าเชิง
เศรษฐกจิ ทหี่ มนุ เวียนในชมุ ชนตา่ งๆ ในกระบวนการตงั้ แต่การสรา้ งเรือแข่ง การจ้างงานชา่ งและแรงงานในการสร้าง
เรอื การระดมทนุ ของชุมชนเพ่ือใช้จ่ายในชุมชน เชน่ จัดซ้อื อาหารเลยี้ งฝีพายเรือตลอดระยะเวลาการฝึกซ้อม จัดซ้ือ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 113 | P a g e


วัสดุอุปกรณ์ในการประดับตกแต่งกองเชียร์ ค่าจ้างฝีพายเรือ ค่าปรับปรุงซ่อมแซมเรือ ค่าใช้จ่ายในการเฉลิมฉลอง
เป็นต้น ซึ่งในกระบวนการเหล่านี้ พบว่ามีปริมาณเงินหมุนเวียนในประเพณี เฉลี่ยประมาณ 2 แสนบาทต่อชุมชน
หรือประมาณ 20 ล้านบาทต่อการจัดประเพณี 1 คร้งั นอกจากน้ยี ังหมายรวมถึงงบประมาณทีห่ นว่ ยงานรับผิดชอบ
จัดสรรลงไปในการกระบวนการต่างๆ เช่น เงินรางวัล ค่าจัดสถานที่ ค่าเบี้ยเลี้ยงเจ้าหน้าที่ ค่าสนับสนุนเรือแข่ง
ประเภทตา่ งๆ รวมแล้วเป็นเงนิ หมนุ เวียนทม่ี มี ูลคา่ กวา่ 2 ล้านบาทในการจัดประเพณี 1 คร้ัง ๑ สนาม

คุณค่าเชิงเศรษฐกิจที่เกิดจากการบริโภคคุณค่าของประเพณี (Consumptive Use value) ได้แก่ การนำ
ต้นทุนทางวัฒนธรรมของประเพณีไปสร้างให้เกิดรายได้ เช่น การจำหน่ายของที่ระลึกรูปเรือแข่ง จำหน่ายเรือแข่ง
จำลอง จำหน่ายเสื้อยืดรูปเรือแข่ง ใช้ประเพณีเป็นตรา(Brand)สินค้าเพื่อบอกภูมิประเทศของสินค้า เกิด
ผลประโยชน์แก่ธุรกิจท่องเที่ยว ธุรกิจที่พัก ร้านอาหาร และการบริการ เป็นต้น ซึ่งยังไม่มีการศึกษาเชิงปริมาณ
เกย่ี วกบั มูลคา่ ทางเศรษฐกิจหมุนเวยี นทเ่ี ป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน

คณุ ค่าเชิงการศึกษา (Education Value)

ประเพณแี ข่งเรอื เมืองน่านมคี ุณคา่ เชงิ การศกึ ษาในฐานะเป็นประเพณีท่ีเป็นแกนหลกั ในการสบื ทอด ภมู ิ
ปัญญาตา่ งๆของชมุ ชน ตลอดกระบวนการดังกล่าวมาแล้ว อกี ท้งั ยังทำหน้าท่เี ปน็ ส่ือกลางในการท่ีทำให้พลเมืองได้
เรียนรกู้ ารอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างสงบสุข คอื มีการรว่ มกนั คดิ รว่ มกันปฏบิ ตั ิ รว่ มกันรับผดิ ชอบ และร่วมกนั รบั
ผลประโยชน์ กลไกเหล่าน้ียงั คงหมนุ เวียนเปน็ พลวัต(Dynamic) อย่ใู นทุกชมุ ชนและในสังคมเมืองนา่ น สง่ ผลใหใ้ น
วันน้เี มอื งนา่ นยังคงรักษามรดกวัฒนธรรมน้ีไวไ้ ดอ้ ย่างเข้มแขง็

กระบวนการศึกษาเพื่อวิเคราะหค์ วามแท้ ไดท้ ำการสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ กลุ่มปราชญท์ ้องถิ่น และนกั วชิ าการ
ด้านวฒั นธรรมตามระเบยี บวิธีวิจยั ที่ 2 โดยแยกระดบั ของคุณคา่ ทางวฒั นธรรมออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1) ระดบั
ความสำคัญอย่างยิง่ ยวด (Most difference) หมายถึงมีความสำคญั มากควรค่าแก่การสงวนรกั ษาไวใ้ หค้ งอยู่และเมื่อ
สูญหายไปแล้วก็ยากท่จี ะกลบั คืนดังเดมิ 2) ระดบั ความสำคญั สามัญ (Indifference) หมายถึงความสำคัญทเ่ี ปน็
พน้ื ฐานมคี ุณค่าต่อสังคมและสามารถส่งเสรมิ ให้ดำรงอยู่ได้ 3) ระดบั ความสำคัญที่เปลย่ี นแปลงได้ (Support
Change) หมายถึงความสำคัญท่ีสารถเปลย่ี นแปลงไปตามบรบิ ทของแต่ละช่วงเวลา ดังจะแสดงผลการวเิ คราะหข์ อง
การศกึ ษาจากการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ ดงั ต่อไปน้ี

มรดกวัฒนธรรม ความสำคญั ของคุณค่า ระดบั ของ
ความสำคญั
ของคณุ คา่

คณุ คา่ ทางจิตวิญญาณ -ปลูกฝงั โลกุตรธรรมท่ีแนบแน่นกับศาสนา -สำคัญอยา่ งย่งิ ยวด
(Spiritual Value) -“เกษมเมือง” ประเพณสี ำคัญสำหรับบ้านเมือง (Most Important)

-ความเชื่อเรื่องพญานาคนำมาซึง่ ความอุดม

สมบรู ณ์

คณุ คา่ เชิงสังคม -กระบวนการมสี ่วนรว่ ม “รว่ มคดิ ร่วมปฏิบัติ -สำคัญระดบั สามัญ
(Social Value) ร่วมรบั ผิดชอบ ร่วมรับผลประโยชน์” (Indifferent)

-เกดิ สามคั คีธรรมในสงั คม

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 114 | P a g e


คณุ ค่าเชงิ สนุ ทรยี ศาสตร์ -เรอื รูปพญานาคมีความงดงามเป็นเอกลักษณ์ -สำคญั อย่างยง่ิ ยวด
และเอกลกั ณ์พืน้ ถ่ิน (Most Important)
(Aesthetic and -ได้มกี ารแสดงออกถึงนาฏกรรมฟอ้ นล่องนา่ น
Unique Value) และวงเคร่ืองประโคม “ตกี ลองล่องนา่ น ตปี าน
เรอื แขง่ ”

-มแี หง่ เดยี วในประเทศไทย

คุณค่าเชงิ ประวัติศาสตร์ -เปน็ ประเพณที ี่สืบทอดมาไม่ต่ำกว่า 200 ปี มี -สำคญั อยา่ งย่ิงยวด
และวัฒนธรรม (Historic หลักฐานภาพถา่ ยและบันทึกที่เกีย่ วข้องกบั (Most Important)

and Cultural Value) เหตกุ ารณ์สำคัญทางประวตั ศิ าสตรเ์ รอ่ื ยมา

-ปรากฏหลกั ฐานท่เี กยี่ วข้องกับมรดกวฒั นธรรม
มากมาย เชน่ วรรณกรรมคำสู่ขวญั เรือ ภาพเรือ
แขง่ จิตรกรรมฝาผนัง เปน็ ตน้

คุณค่าเชงิ เศรษฐกิจ -คุณค่าเชงิ เศรษฐกิจท่ีเกิดจากการใชง้ าน -สำคญั ในระดบั ที่
(Economic Value) ประเพณีโดยตรง เปลยี่ นแปลงได้
(Support Change)
-คณุ ค่าเชิงเศรษฐกจิ ทีเ่ กิดจากการบรโิ ภคคณุ ค่า
ของประเพณี

คณุ คา่ เชงิ การศึกษา -สง่ เสรมิ การสบื ทอดภมู ิปัญญา -สำคญั อย่างยง่ิ ยวด
(Educational Value) -ขดั เกลาสังคมให้อยู่รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข (Most Important)

วัตถปุ ระสงคว์ จิ ยั
3. เพื่อศึกษา Pilot project ตอบโจทย์ท้าทายของสังคมการพัฒนาเชิงพื้นที่ พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้

ชุมชน :การจัดการ การอนุรักษ์ และการสร้างเครือข่ายในมิติทางด้านศิลปวัฒนธรรม/ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
นา่ นศกึ ษา

ตอบโจทย์ท้าทาย ของเมืองน่าน ในการแสวงหาทุนทางสังคม ในมิติด้านศิลปวัฒนธรรมสู่การต่อยอด เมือง
สร้างสรรค์ (Creative City)

ประเด็นร่วม การมองโอกาสของการพัฒนาเมืองน่านสู่เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ความสำเร็จของ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ขึ้นอยู่กบั ความสามารถในเชงิ สร้างสรรค์และผู้ประกอบการ แตก่ ารพฒั นาทง้ั สองอย่างน้ีต้องใช้
เวลานาน และการลงทุนมาก

สว่ นการพัฒนาเมอื งสรา้ งสรรค์กเ็ พ่ือดึงดูดผูป้ ระกอบการ และผ้มู ีความคิดสร้างสรรค์จากที่อื่นๆ เข้ามา
เนอื่ งจากทกุ วันนี้ 64% ของประชากรวยั ทำงานเลอื กเมืองก่อนเลือกงาน?

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 115 | P a g e


การพัฒนาเมอื งสรา้ งสรรค์ มแี นวทางดงั น้ี
1. สร้างเอกลักษณ์ทางวฒั นธรรมใหแ้ ก่เมอื ง
2. สง่ เสริมความหลากหลาย และการเปน็ สงั คมทีเ่ ปดิ กว้าง
3. เปน็ ท่ีรวมของผู้ประกอบการเชิงสรา้ งสรรค์ และนกั คิด
4. สรา้ งส่งิ อำนวยความสะดวก และพน้ื ท่ีที่มีคุณภาพอยา่ งเพยี งพอ
5. มวี สิ ัยทัศนแ์ ละพันธกิจร่วมกนั ในการพัฒนาเมอื งสรา้ งสรรค์ผา่ นนโยบาย กลไกต่างๆ และธรรมาภบิ าลทีเ่ อื้อ
ตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์

รูปที่ 1 ภาคตัดขวางของภูมวิ ัฒนธรรมสงั คม

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 116 | P a g e


เมืองแห่งหตั ถกรรมและศิลปะพืน้ บาน

รปู ท่ี 138 กรอบแนวคิดเมืองแหง่ หตั ถกรรมและศิลปะพ้ืนบ้าน

ิ ีคดิ กระบ นระบบ

รปู ท่ี 2 กรอบวธิ ีคดิ กระบวนระบบ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 117 | P a g e


รูปท่ี 3 กรอบแนวคดิ ความสัมพนั ธ์ผลงานศิลปนิ กบั ชมุ ชน

การสงวนรักษามรดกวฒั นธรรมของประเพณแี ขง่ เรอื
ตามอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ของยูเนสโก (UNESCO) ฉบับปี
2546 ได้เสนอแนวทางในการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรม ได้แก่ การรวบรวมมรดกทางวัฒนธรรม ท่ี
ประกอบด้วย การสืบค้นเอกลักษณ์ (Identification) การเก็บรวบรวม (Documentation) การขึ้นทะเบียน
(Inventory) การสืบทอด ท่ปี ระกอบด้วย การแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Exchange) การถ่ายทอด (Transmission)
การอนุรักษ์ ประกอบด้วย การปกป้อง (Protection) การฟื้นฟู (Revitalization) อีกทั้ง การพัฒนา
(Development) รวมถึงการเผยแพร่ (Dissemination) เพื่อมุ่งปกปักรักษาอีกทั้งพัฒนาคุณค่าและความแท้ของ
มรดกวฒั นธรรมอีกด้วย ผ้วู ิจยั จึงไดท้ ำการเก็บข้อมูลสถานการณ์ปจั จบุ ันของกระบวนการดงั กล่าวที่ปรากฎในพ้ืนที่
ศกึ ษา ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้
1. สถานการณ์การการรวบรวมมรดกทางวัฒนธรรมในปัจจุบัน เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการ
อนุรกั ษแ์ ละซึ่งแบง่ ออกเปน็ 2 ข้ันตอน ดังน้ี
สืบคน้ เอกลกั ษณ์ (Identification)
ในปัจจุบันสังคมเมืองน่านเริ่มปรับมุมมองต่อประเพณีใหม่ โดยที่สังคมเริ่มเห็นพ้องกันว่า การรักษาอัต
ลักษณ์ทางวัฒนธรรม จะเกิดประโยชน์ต่อการสืบทอดประเพณีที่สามารถเป็นต้นทุนในการท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี
ทำให้เกิดการพยายามแสวงหาเอกลักษณ์ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัด และสภาวัฒนธรรมแต่ลำอำเภอ ร่วมกันชี้ นำ
สังคมให้ตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์ดังกลา่ วซึ่งได้รับความรว่ มมอื จากหลายชมุ ชนที่พยายามปรบั รูปแบบเรือแข่งให้คืนสู่
ความเป็นของเดิม ประชาชนชาวอำเภอเวียงสา จ.น่าน ร่วมกันจัดประเพณีแข่งเรือแบราณโดยไม่อนุญาตให้เรือ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 118 | P a g e


สมัยใหม่เขา้ แข่งขัน และหนว่ ยงานต่างๆ เช่น องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั องค์การบรหิ ารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพื่อ
การทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่ังยืน(อพท.) ฯลฯ ร่วมสนับสนนุ งบประมาณในการจัดแขง่ เรอื อัตลกั ษณ์ เปน็ ต้น

อย่างไรกด็ ี การศึกษาเก่ียวกับประเพณีแข่งเรือ จะเป็นสว่ นสำคัญในการบ่งบอกเอกลักษณ์ได้อย่างแท้จริง
นั้น ซึ่งในปัจจุบัน พบว่าการศึกษาดังกล่าว ยังไม่เป็นที่แพร่หลายและยงั ไม่สามารถเขา้ สู่กระบวนการเรียนรู้ของคน
ในสังคมเท่าที่ควรและบุคคลประเภท “ปราชญ์ท้องถิ่น” ที่สามารถทำการศึกษาและให้ข้อมูลที่เป็นระโยชน์และ
เข้าถึงได้น้นั ยังจำกัดอยแู่ ต่ในวงแคบๆเท่านัน้

การเกบ็ รวบรวม(Documentation)
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเพณีแข่งเรือ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารโบราณ หลักฐานภาพถ่าย
บันทึกเรอื่ งราวต่างๆเก่ยี วกบั ประเพณใี นอดีต ยงั กระจดั กระจายอยู่ท่ี นักประวัติศาสตร์ นกั วิชาการท้องถิ่น วัด หรือ
องค์กรภายนอก เช่น มหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ทำการศึกษาเฉพาะเรื่องเหล่านีไ้ ว้พอสมควร นอกจากนี้ ยังมีองค์ความรู้
แฝงฝังในตัวบุคคล(Tacit Knowledge)อีกมากมาย หากแต่ยังไม่มีการเก็บรวบรวมไว้ที่แห่งใดแห่งหนึ่งในจังหวัด
น่าน ทำให้ยากต่อการเข้าถงึ และใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลเหล่าน้ัน
ผู้วิจัย ใช้วิธีวิจัยแบบ “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research:
PAR) เป็นการลงพ้ืนทีว่ ิจยั โดยกลุ่มบุคคลร่วมกันเรียนรู้เพื่อรู้จกั ตัวเอง ชุมชนเเละสิง่ แวดล้อมเพื่อให้เหน็ ปัญหาเเละ
ทางแก้ โดยการลงมือปฏิบัติด้วยตัวเองจนเกิดองค์ความรู้ ซึ่งจะต้องไม่ยุ่งยากซับซ้อนให้กลายเป็นสิ่งปิดกั้นโอกาส
การมีส่วนร่วมของชาวบ้าน งานวจิ ยั ชิน้ นี้ มงุ่ เน้นกระบวนการและเทคนิคเชิงช่างของแต่ละชุมชน จึงออกแบบการ
เรียนรู้และเข้าถึงชุมชนด้วยการอ้างอิงต่อเนื่องปากต่อปาก หรือวิธีดำเนินการแบบ Snowball Sampling
Technique บันทึกความรู้น้ีจึงจะนำเสนอบทเรียนจากประสบการณ์ภาคปฏิบัติการสนาม ให้เห็นถึงหลักคิดและ
แนวทฤษฎีแบบบูรณาการของ Snowball Sampling Technique เพื่อนำไปออกแบบหรือปรับใช้ให้เหมาะสมกับ
เงื่อนไขที่ต่างออกไป รวมทั้งเทคนิควิธีดำเนินการ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสในการใช้ และข้อเสนอแนะเพ่ือใช้ทำงาน
ให้เหมาะสมกบั ชุมชนและสภาพบริบทแวดลอ้ ม ภูมทิ ศั น์วฒั นธรรม ของชมุ ชน
2. สถานการณก์ ารขน้ึ ทะเบียน(Inventory)
ในปัจจุบัน การขึ้นทะเบียนคือการจัดทำรายการที่เกี่ยวข้องมรดกทางวัฒนธรรมในมิติต่างๆ ทั้งที่เป็น
มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้(Tangible Cultural Heritage) และ มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Intangible
Cultural Heritage) เช่น ทะเบียนเรือแขง่ ทะเบียนช่างสร้างเรือ ทะเบียนช่างแกะสลัก ทะเบียนช่างฟ้อน ทะเบียน
เคร่ืองดนตรี เปน็ ต้น
ตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา มีการพยายามรวบรวมข้อมูลเป็นแขนงต่างๆไว้ในลักษณะการขึ้นทะเบียน
เช่น ทำเนียบเรือแข่งเมืองน่าน โดยสมาคมเรือพายจังหวัดน่าน การรวบรวมท่าฟ้อนล่องน่านจากแม่ครูทั่วจังหวัด
เพื่อจัดทำเอกสารองค์ความรู้โดยสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เนียบเรือแข่งที่ได้รับรางวัล โดยสมาคมเรือพาย
จังหวัดน่าน เป็นต้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นแนวทางที่ดี หากแต่ยังขาดการบูรณาการเช่ือมโยงต่อกัน ทำให้ข้อมูลที่มีอยู่นัน้
กระจัดกระจายอยู่ ยากต่อการเข้าถึง นอกจากน้ีประเพณีแข่งเรือ ยงั มอี งคป์ ระกอบอีกหลายแง่มมุ รวมถงึ ทรัพยากร
บคุ คลสำคัญในมติ ิต่างๆ ยังไม่ไดร้ บั การจดั การข้อมูลอยา่ งเป็นระบบเท่าท่คี วร
3. สถานการณก์ ารสบื ทอดในปจั จบุ ัน ประกอบด้วย 2 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่

การแลกเปลี่ยนเรียนร(ู้ Exchange)

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 119 | P a g e


ในปัจจุบัน เรียกได้ว่า มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับน้อยมากกล่าวคือ ผู้มีส่วนร่วมภายใน
ภาคส่วนต่างๆมีโอกาสน้อยมากที่จะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างมีคุณภาพ หมายรวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน
ระหว่างภาคสว่ นต่างๆ น้ันยิง่ มีโอกาสน้อยลงไปตามลำดบั เชน่ กนั

อย่างไรก็ดี ในแต่ละชุมชนยังมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยธรรมชาติ ที่เป็นกลไกสำคัญในการ
ดำรงอยู่ของประเพณีตลอดมา หากแต่ผู้วิจัยเห็นว่ากลไกเหล่านั้นขาดประสิทธิภาพนำมาซึ่งการจัดการที่ไม่เกิด
ประสิทธผิ ล เช่น ความส้นิ เปลืองในการจดั การภายในชุมชนของประเพณี หรอื การตัดสินใจของชุมชนโดยปราศจาก
ขอ้ มลู ในการตดั สินใจอยา่ งรอบดา้ น เป็นต้น

การถา่ ยทอด(Transmission)
ในปจั จุบัน พบว่ายงั ไมม่ ีกระบวนการถ่ายทอดทีเ่ ปน็ ระบบมากนัก เป็นแตเ่ พียงการถ่ายทอดแลกเปล่ียน
กนั เฉพาะในกลุ่มนักวชิ าการหรือผ้สู นใจเท่าน้ัน ทงั้ นหี้ ลายหน่วยงาน เช่น องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เทศบาลเมือง
น่าน สภาวัฒนธรรม องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ได้พยายามตีพิมพ์เอกสาร
ความเปน็ มา และองคค์ วามรูต้ ่างๆแจกจ่ายแก่สาธารณชนแตเ่ พยี งเท่าน้ัน ยังไมม่ ีการจดั การกระบวนการน้ีอย่างเป็น
รปู ธรรม

4. สถานการณ์การอนุรกั ษใ์ นปัจจุบนั ประกอบด้วย 2 ข้ันตอน ไดแ้ ก่

การปกป้อง(Protection)

ผู้วิจัยได้แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของประเพณีตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันมาโดยลำดับ ซึ่งล้วนเกิด
จากปัจจัยต่างๆที่เข้ามามีผลกระทบ ทั้งจากปัจจัยภายนอกจังหวัดและปัจจัยภายในตั้งแต่ระดับชุมชน ล้านส่งผล
กระทบทั้งในดา้ นบวกและลบต่อประเพณเี สมอ ซ่ึงเราไมส่ ามารถปฏเิ สธและหา้ มไมใ่ ห้เกิดการเปลีย่ นแปลงที่กระทบ
ความแท้(Authenticity)ของประเพณีได้ ผู้วิจัยจึงมุ่งหมายแต่เพียงให้เกิดกระบวนการจัดการอย่างเป็นระบบและมี
คณุ ภาพ เพ่ือรบั มือกับการเปล่ยี นแปลงตามธรรมชาติของประเพณีอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปกป้องคุณค่าหลัก
(Core Value) ของประเพณที ี่เกดิ จากการตระหนักรูข้ องทุกภาคส่วนท่เี ก่ยี วข้อง

การฟนื้ ฟใู นปจั จบุ นั

เริ่มมีประเด็นถกเถียงในวงสังคมเรื่องความเสื่อมไปของรูปแบบเรือแข่งและลักษณะการแข่งเรือที่มุ่ง
เอาชนะแต่เพียงอย่างเดียว โดยละเลยศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณค่าไปแทบจะหมดสิ้นจนกลายเป็นกระแสฟื้นฟูเรือ
โบราณให้กลับมาสู่ประเพณีแข่งเรืออีกครั้ง กระแสดังกล่าวเริ่มเข้มขันขึ้นและปรากฏผลอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อปี
2553 กล่าวคือ มกี ารฟ้นื ฟูการจัดการแขง่ เรอื แบบโบราณขึ้นมาอีกครั้งหน่ึง ในงานประเพณีแข่งเรืออำเภอท่าวังผา
จัดโดยอำเภอท่าวังผา และสภาวัฒนธรรมอำเภอท่าวังผา (ห่างจาก อ.เมืองน่านประมาร 45 กิโลเมตร เป็นการจัด
แข่งเรือประเพณีในอำเภอรอบนอกซึ่งไม่ใช่การแข่งเรือนัดใหญ่ที่จัดโดยจังหวัด) โดยใช้ชื่อว่า “แข่งเรือเอกลักษณ์
น่าน” และการแข่งเรือ ณ อำเภอเวียงสา ได้มีการฟื้นฟูการแข่งเรือแบบโบราณขึ้นในระยะเวลาเดียวกันโดยการ
รณรงค์ใหม้ ีการนำเรือโบราณเท่าท่ียังคงเหลืออยใู่ นชุมชนออกมาแข่งขันตามแบบโบราณหรือ แบบสามคั คีธรรม ซึ่ง
ใชฝ้ พี ายทม่ี ีอายุ 50 ปขี น้ึ ไปอกี ดว้ ย

การแขง่ เรอื เอกลักษณ์นา่ นในครั้งน้นั เปน็ การจดุ ประกายใหส้ ังคมเรม่ิ หันกลบั มาใส่ใจกับเรือแบบดั้งเดิม

อีกครั้ง จนถึงปี 2554 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(องค์การมหาชน) โดย

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 120 | P a g e


สำนักงานพื้นท่ีพิเศษเมืองเก่าน่าน ได้จัดสรรเงนิ งบประมาณสนับสนุนการแขง่ เรอื เอกลักษณ์น่าน เป็นครั้งแรกโดย
ความร่วมมือของสภาวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เทศบาลเมืองน่าน สมาคมเรือแข่งจังหวัดน่าน โดยแยกประเภทออก
จากเรือปกติ หลังจากนั้นในปี 2555 ได้มีการจัดแข่งขันเรือเอกลักษณ์น่านขึ้นอีกครั้ง ซึ่งได้รับความสนใจจาก
หน่วยงานท่ีให้การสนับสนุนโดยจัดสรรงบประมาณมากขึ้น เช่น องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ที่พิเศษเมืองเก่านา่ น
จำนวน 50,000 บาท องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดนา่ น จำนวน 50,000 บาท และจงั หวดั น่าน จำนวน 100,000
บาทเป็นต้น

5. สถานการณ์การพัฒนา(Development)ในปัจจบุ ัน

ปัจจุบันเริม่ มีการรวมตวั กันในแบบใหม่ เช่น การจัดตั้งฝ่ายกีฬาเรือพาย โดยสำนักงานพัฒนาสงั คมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อให้เยาวชนจากบา้ นพักเด็ก และสถานพินิจเข้าร่วมแข่งขัน มีการก่อตั้งกลุ่มเรือใหม่ๆใน
รูปแบบเอกชน โดยไม่อิงกับชุมชนแบบเดิมเข้มข้นมากขึ้นโดยการจัดการแบบสมัยใหม่ เช่น เรือแม่ป้อมการพัฒนา
เรือแข่งที่มีการนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างเรือ เช่นการคำนวณ
น้ำหนักเรือ การออกแบบรูปทรงเรือวิธีการต่อเรือแบบใหม่ ซึ่งมีรายละเอียดขั้นตอนในการสร้างแบบสมัยใหม่ เช่น
การวางกระดูกงูเรอื การวางแบบเรอื หรือบล็อกเรือ การขนึ้ ไมต้ วั เรอื หรือมาดเรือ เปน็ ต้น

นอกจากนีห้ ลายหมูบ่ า้ นยังใชร้ ะบบวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬาเขา้ มาพฒั นากระบวนการฝึกฝพี ายเรอื ไมว่ า่ จะ
เป็นเรื่องโภชนาการ ไปจนถึงสรีระวิทยา ยกตัวอย่างเช่นการฝึกซ้อมฝีพาย นั้น หลายชุมชน-หมู่บ้าน ได้พัฒนาการ
ฝึกซ้อมโดยนำวิชาการความรู้สมัยใหม่ วิทยาศาสตร์การกีฬา แบบฝึกซ้อม โภชนาการสำหรับนักกีฬา ตลอดจนถึง
การนำกฎ-กติกาสากลมาใช้ในการเตรียมการเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันค่อนข้างมาก และจะใช้ผู้ฝึกสอนที่มีความรู้
ประสบการณใ์ นการพายเรือแขง่ มาเป็นผู้ฝกึ สอนฝีพายเรือแข่งอีกด้วย

6. สถานการณก์ ารเผยแพร่(Dissemination)ในปจั จบุ ัน

การเผยแพร่ทีพ่ บอยู่ในปจั จบุ ันน้นั ประกอบดว้ ยสองส่วนหลกั คอื เผยแพร่องคค์ วามรู้ และเผยแพร่
ข้อมูลเพ่อื การท่องเที่ยว ซึ่งการเผยแพร่ในประการแรกนัน้ พบวา่ มกั ออกมาในรูปของส่ือสิ่งพิมพ์ เช่น ตำนานเรอื แขง่
เมืองน่าน โดย สำนักงานวฒั นธรรมจงั หวดั นา่ นรว่ มกับ อบจ.น่าน เป็นตน้ สว่ นในการเผยแพร่เพ่ือการท่องเท่ยี วน้นั
สว่ นใหญ่จะเผยแพร่ทางสื่ออินเตอรเ์ นต เช่น เวบไซด์ตา่ งๆ เชน่ www.nanlongboat.com ,
www.nan2day.com เป็นตน้ ซึง่ จะเปน็ ลักษณะของข้อมูลทัว่ ไปของประเพณีแขง่ เรือเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์
เท่านนั้

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 121 | P a g e


รปู ท่ี 4 ความสมั พนั ธ์ชุมชนกับเรือแข่งนา่ น

เรือแข่งเมืองน่าน มาทำให้เห็นตำนานท่ีเกี่ยวพันธก์ ับ พญานาค นับขุนนุ่น ขุนฟอง ต้นราชวงศ์ภูคา มี
พิธีมากมายเหล่านี้ คือ จะสอนคนให้เคารพธรรมชาติ เพราะฉะนั้นสัญลักษณ์เรือแข่งเมืองน่านของเราจึงเป็น
เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ที่สะท้อนถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยรวมทั้งหมดผ่านกระบวนการเป็นพิธีกรรมความ
เชอื่ ทีล่ กึ ล้ำ เจา้ หลวงเมอื งน่าน จึงเอาพิธตี รงน้ี เปน็ พิธที ส่ี รา้ งความสามัคคธี รรมกบั ชุมชนคนในเมืองน่าน บ้านเมือง
จะก้าวหน้าไปด้วยกันได้ จะต้องช่วยกันพายเรอื “ถ้าเมืองจะล่มก็ล่มไปด้วยกัน เหมือนเรือที่มันล่ม” คนโบราณเขา
สอน เพราะฉะนั้นคนน่านจงึ รู้รักสามัคคกี ัน ผ่านกระบวนการความเช่ือหลายๆ อย่าง ซึ่งเรียกว่า “กระบวนการขัด
เกลาทางสังคม” ซง่ึ สิง่ เหลา่ นี้ ไมม่ ใี ครสามารถอธบิ ายสง่ิ เหลา่ นใี้ ห้ลกู หลานเราได้เรียนรู้ได้ (สัมภาษณ์ สมเจตน์ วมิ ล
เกษม นักประวตั ิศาสตร์พ้นื ถ่นิ ด้านภาษาและวรรณกรรม: 2564)

วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั

การวจิ ัยครัง้ นเ้ี ป็นการวิจยั เชิงคุณภาพ(Qualitative research) โดยการสมั ภาษณ์ (interview) และ
การศึกษาภาคสนาม (Field study) เปน็ วธิ ีวจิ ยั เสนอรปู แบบการส่งเสริม การอนรุ ักษ์งานชา่ งฝมี อื แกะสลัก หัวเรือ
แข่งพญานาค ความสำคญั ของประเพณกี ารแข่งเรือ ในจงั หวดั น่าน การอนุรกั ษร์ ปู แบบอัตลกั ษณเ์ รือแข่งนา่ น เสนอ
รูปแบบ การส่งเสริมการอนุรักษ์กลมุ่ สกลุ ช่างนา่ นในพืน้ ที่จังหวัดน่าน ควรเป็นอยา่ งไรโดย ศกึ ษาจากเอกสารและ
การสัมภาษณ์ ขอบเขตการวจิ ัยแยกเป็นดังน้ี

ขอบเขตดา้ นประชาการ

งานวจิ ัยเรือ่ ง“การศึกษาอตั ลกั ษณเ์ รือแขง่ เมืองน่านผ่านรปู แบบ เชิงช่างศิลป์หัตถกรรมพ้ืนถิน่ น่าน”มี
กล่มุ เป้าหมาย 2 กลมุ่ คอื

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 122 | P a g e


ก. กลุ่มประชากรเปา้ หมายที่ใช้การสัมภาษณเ์ ชิงลกึ (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus
group) กับผู้ให้ข้อมูลสำคญั (Key Information)

ข. กลุม่ ประชากรท่ใี ช้แบบสัมภาษณ์

เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย จากการตั้งประเดน็ หลกั ในการศึกษาแนวคิด รูปแบบการสง่ เสรมิ การอนรุ ักษง์ านชา่ ง
ศิลปพ์ ื้นถน่ิ ของจังหวดั นา่ น ผา่ นการศึกษาอตั ลักษณ์เรือแข่งเมอื งน่านผ่านรูปแบบ เชงิ ชา่ งศิลป์หัตถกรรมพ้นื ถิน่ นา่ น
โดยเนน้ กระบวนการมีสว่ นรว่ มของผูท้ ่เี กย่ี วข้อง เพ่ือดำเนนิ การวิจยั จึงใช้เคร่อื งมือท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่

ก. การสัมภาษณ์ ผูว้ ิจัยได้ใช้การสัมภาษณเ์ ชิงลึก (In-depth Interviews) เปน็ แบบสัมภาษณ์จากเอกสาร
รายงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้อง เพื่อหาแนวคิด หลกั การและ กระบวนการส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์การศึกษาอัตลกั ษณ์เรือแข่ง
เมืองน่านผ่านรปู แบบ เชิงช่างศลิ ปห์ ัตถกรรมพื้นถิน่ น่านและออกแบบต่อยอดจากฐานทุนวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์

ข.ศกึ ษาและตดิ ตามการใช้นโยบายการสง่ เสรมิ การอนุรกั ษป์ ระเพณีแขง่ เรือยาว ของ จังหวดั นา่ นของหนว่ ยงาน
ในพ้นื ที่เป้าหมาย เพื่อรวบรวมปญั หาและการหาแนวทางร่วมกนั ในการ สง่ เสริมการอนรุ ักษร์ ูปแบบงานประเพณี
แข่งเรือยาวจังหวัดน่านใหด้ ยี ่ิงข้นึ จากการต้งั ประเดน็ หลักในการศึกษาแนวคดิ กระบวนการการสง่ เสริมการอนุรักษ์
การศึกษาอัตลักษณ์เรือแข่งเมืองนา่ นผ่านรปู แบบ เชงิ ชา่ งศิลปห์ ตั ถกรรมพืน้ ถิ่นน่าน จงึ ใช้เครื่องมือทสี่ ำคัญ ดังนี้

วัตถปุ ระสงค์ขอ้ ที่ 1 ความสำคัญของประเพณแี ข่งเรอื ยาวของจงั หวดั น่าน เครอ่ื งมอื วิจยั คอื การสมั ภาษณ์
และการประชุมกลมุ่ ย่อยระหวา่ งตวั แทนชมุ ชน หรือกลมุ่ สลา่ (ช่าง)ด้านแกะสลักหัวเรือแขง่ นา่ นท้ังจากภาคเอกชน
และรฐั บาล

วัตถุประสงคข์ ้อท่ี 2 การอนรุ ักษข์ องประเพณีแข่งเรอื ยาวของจังหวัดนา่ น และเทคนคิ งานเชิงช่างพ้นื ถนิ่ ที่
นา่ น เคร่อื งมือการวิจัย ไดแ้ ก่ การสมั ภาษณ์ การจดั สนทนากลุ่ม เพ่ือวิเคราะห์ข้อมลู เชิงลกึ และ ลักษณะพเิ ศษของ
ชมุ ชนในแต่ละแหง่ และเครื่องมอื อุปกรณ์ประกอบการวจิ ยั ได้แก่ เคร่ือง บันทึกภาพและเสยี งและการเก็บข้อมูล
จากการสมั ภาษณแ์ ละการลงภาคสนามและอปุ กรณ์ เครอื่ งมอื ทางศิลปะ หรือเชงิ ชา่ งศลิ ป์

วัตถุประสงค์ขอ้ ที่ 3 รูปแบบเชงิ ช่าง การจำแนกแบ่งยุค และสกลุ ชา่ ง ของชมุ ชน เหน็ คณุ ค่าและความ
หลากหลายของกลมุ่ งานศลิ ปะ หัวเรอื หางเรือ จังหวัดนา่ นได้แก่ แบบประเมิน การสัมภาษณแ์ ละการจัดสนทนา
กล่มุ เพ่ือวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงลกึ อปุ กรณท์ ี่ใช้ประกอบการวิจยั ได้แก่ เครื่องบนั ทึกภาพและเสยี งในการลง
ภาคสนาม

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 123 | P a g e


วเิ คราะห์กล่มุ สลา่ ตัวอย่างจากการศึกษา แบ่งกล่มุ สลา่ ออกเปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่

1. กลุ่มสล่าที่สืบทอดรูปแบบ รูปลักษณ์ และสายตระกูลมาโดยตรง โดยจุดประสงค์หลักของการแกะหัวโอ้
หางวันเรือ เพื่อสืบทอด รูปแบบสกุลช่างของตนเองให้สืบทอดต่อไป ได้แก่ สล่าเสวียน วงศ์สีสม สล่าธีธชั
สอนศริ ิ สล่าอนชุ า คันทะเนตร สล่ามนูญ ปาระมะ และสล่าวรี ชน หลวงแก้ว

2. กลุ่มสล่าที่สล่าที่อยู่ในกลุ่มสล่าพุทธศิลป์ และมีความสนใจเรื่องการแกะหัวโอ้ หางวันเรือ ได้แก่ พระครู
ผาสุขนนั ทวฒั น์ สล่าญาณ สองเมืองแกน่ สล่าอนรุ ักษ์ สมศกั ด์ิ สล่าวชิ าญ ปัญญา และสลา่ สนิ ชัย ค่าคาม

3. กลุ่มสล่าผู้บริบาลเรือแข่งประจำชุมชน ได้แก่ สล่าธีระพันธ์ วาฤทธิ์ สล่าสุมิตร จันทะเนตร สล่าเกรียงไกร
แสงทพิ ย์ และสลา่ วทิ ยา สมนึก

ผลจากการศึกษา พบว่า จุดประสงค์ของสล่าทุกท่านที่ได้ทำการศึกษามีเป้าหมายเดียวกนั คือ เพื่อสบื ทอดศิลปะ
การแกะหัวโอ้ หางวนั ใหย้ ังคงอยู่และสบื ตอ่ ไปใหค้ นรนุ่ หลังในอนาคต

หลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระดับท้องถิ่นเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะการท่องเที่ยว ที่เชอ่ื มโยงกับทนุ วัฒนธรรมสังคมของ ท้องถิน่ และถือเปน็ แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ
แบบยั่งยืน เศรษฐกจิ สร้างสรรค์จงึ นำไปใช้ในการยดึ โยงประเด็นการพัฒนาอย่างหลากหลายมิติ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นจึง
ถอื เปน็ 1 ใน ๗ องคป์ ระกอบในการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ ไดแ้ ก่ 1) องคค์ วามรู้ ๒) ความคิดสร้างสรรค์ ๓)
การใชท้ รพั ย์สินทางปญั ญา ๔) วฒั นธรรม ๕)ภมู ปิ ัญญา๖)เทคโนโลยีนวัตกรรมสมยั ใหม่ ๗) เครือข่ายวิสาหกิจ (ณัฐ
พัชญ์ เอกสิริชัยกุล, 2556:343-346) ดังนั้นแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จึงเป็นรากฐานในการสร้างสรรค์
เศรษฐกจิ ท่ยี ัง่ ยืนแก่ชมุ ชนได้

ประเพณีแข่งเรือยาวจังหวัดน่าน จึงถือเป็นประเพณีที่มีฐานทุนวัฒนธรรมเมืองที่สำคัญในการพัฒนาสู่
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทั้งนี้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้เลือกประเด็นศึกษาในมิติเชิงช่างพื้นถิ่น ที่สร้างสรรค์ในตั วเรือแข่ง
นา่ น และกรอบมุมมองในการต่อยอดงานช่างฝมี ือสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในระดับชุมชนได้อย่างไร อีกท้ังการมองใน

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 124 | P a g e


มติ ิการอนรุ ักษ์ การสืบถอดภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ใหเ้ ส่ือมสล่ายไปตามกาลเวลาและเป็นมองหาแนวทางยกระดับและ
การเพ่ิมมลู คา่ ในผลิตภัณฑ์ ตลอดถงึ การดำเนนิ การเป็นกลุ่มอาชีพ วสิ าหกจิ ชุมชน หรอื กลุม่ สล่าช่าง เพ่ือนำไปสู่การ
พ่ึงตนเองได้ ให้ชมุ ชนเขม้ แขง็ และการพัฒนาทยี่ ั่งยืน

ผวู้ จิ ยั ไดด้ ำเนนิ การวจิ ัย เนอ่ื งจากประเด็นเร่ืองรปู แบบการสง่ เสริมการอนรุ ักษก์ ารศกึ ษาอตั ลักษณเ์ รือแข่ง
เมอื งน่านผา่ นรูปแบบ เชงิ ช่างศลิ ป์หัตถกรรมพนื้ ถนิ่ น่าน ยงั ไม่ปรากฏงานวจิ ัยที่ชดั เจนอีกทง้ั ข้อมูลเร่ือง ดังกลา่ วมี
อยู่กระจัดกระจายท่วั ไป งานวิจัยทก่ี ลา่ วถงึ ประเพณีแขง่ เรือยาวมุ่งหมายในด้านการบริหารจัดการวฒั นธรรมและ
การส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็นสว่ นใหญ่ และขอ้ มูลเชิงช่างพ้ืนถิ่น มิได้ถูกเก็บรวบรวมเอาไวอ้ ย่างเป็นระบบ ดังน้ัน จึง
ต้องลงสำรวจข้อมูลในพ้นื ทีเ่ บ้ืองต้นเพอื่ แสวงหาขอ้ มูลท่จี ำเปน็ ตอ่ การกำหนดเปน็ ประเด็น คำถามสมั ภาษณ์ ผู้วจิ ยั
แบง่ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วจิ ัยออกเป็น 4 ระยะ

ระยะที่ 1เปน็ การสมั ภาษณ์ กลมุ่ เป้าหมาย 2 แห่งกอ่ น พร้อมท้งั สำรวจพ้นื ทท่ี างกายภาพซ่ึงในระยะ
นี้ใช้เวลา 3 เดอื น (เนอื่ งจากเผ่อื เวลาเลอื่ นนดั ของกลุ่มเป้าหมาย และสถานการณ์ โรคระบาดCovid-19)
วัตถปุ ระสงคใ์ นการเก็บข้อมูลวจิ ยั ระยะนเ้ี พ่ือ ศึกษาแนวคดิ ของกล่มุ เป้าหมายท่เี กยี่ วข้องกับรปู แบบการสง่ เสริมการ
อนรุ กั ษ์ การศึกษาอตั ลักษณเ์ รอื แข่งเมืองนา่ นผา่ นรูปแบบ เชงิ ชา่ งศลิ ป์หตั ถกรรมพื้นถิ่นนา่ น ผวู้ จิ ัยทำหนังสอื
ราชการเขา้ ไปท่ีกลุ่มเป้าหมาย เพือ่ ขออนุญาตเข้า สัมภาษณ์ และใช้เวลาสมั ภาษณ์ 1-2 ช่ัวโมง ณ พืน้ ทีเ่ ปา้ หมาย
จะนัดให้เขา้ สัมภาษณต์ ามวนั และเวลาท่ีสะดวก รวมทั้งการจดั วงคุยแลกเปล่ียน กับชมุ ชนและสล่า เพ่อื เวน้
ระยะห่าง และการรวมตวั ของคน ตามมาตรการ Social Distancing

ระยะท่ี 2 เปน็ การสมั ภาษณ์กลุ่มกลุ่มเปา้ หมายที่เหลือ พร้อมทงั้ สำรวจพ้ืนที่ทาง กายภาพ ซง่ึ ใน
ระยะนีใ้ ช้เวลา 1 เดอื น (เนื่องจากเผอ่ื เวลาเล่อื นนัดของกลุ่มเปา้ หมายและสถานการณ์ โรคระบาดCovid-19)
วัตถปุ ระสงค์ในการเก็บข้อมูลวิจัยระยะนเ้ี พื่อศึกษาแนวคดิ ของกลมุ่ เปา้ หมายทเี่ ก่ียวข้องกบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจัย

ระยะที่ 3 รวบรวมประเด็นท่ีได้จากการเก็บข้อมูลระยะท่ี 1-2 แลว้ นำไปประมวล เปน็ คำถามซ้ำกบั
กลมุ่ เปา้ หมายเปน็ ครัง้ ที่ 2 แหลง่ ทตุ ิยภมู ิ ขอ้ มลู ในแหลง่ น้ีมาจากหนว่ ยงานของรัฐท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ขอ้ มลู จากรายงาน
วจิ ยั และสถิติท่เี กี่ยวข้อง สำหรับข้อมูลและรายงานทเ่ี กีย่ วข้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ การวิจยั

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู

การศึกษาวจิ ัยคร้งั นี้ ไดม้ ีการศึกษาเอกสาร(Documentary Research) และขอ้ มูล เชิงประจักษ์ การ
สัมภาษณ์ ซึง่ เปน็ กระบวนการศกึ ษาวิจยั เชงิ คุณภาพ (Qualitative Research) โดยคณะผู้วจิ ยั ดำเนินการวเิ คราะห์
ข้อมลู ตามเนือ้ หา(Content analysis) แลว้ สรุปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี ้ังไว้ ดังนี้ การวิเคราะหข์ ้อมูลเชงิ คุณภาพเม่ือ
ได้รบั ข้อมลู จากการสมั ภาษณ์จากกลุ่ม เปา้ หมาย ผวู้ ิจัยจะนำขอ้ มูลจากการวิเคราะห์จากเอกสาร ประกอบกบั ข้อมูล
ทไ่ี ด้จากการ สัมภาษณแ์ บบเจาะลึก (Depth Interview) ผวู้ จิ ยั ยนื ยันความนา่ เชอ่ื ถอื ได้ของข้อมลู ด้วยการ ให้บคุ คล
ทีอ่ ยูใ่ นปรากฏการณ์ทีศ่ ึกษาและบุคคลที่มีความรูเ้ กีย่ วกบั เรื่องทีท่ ำการศึกษา ตรวจสอบและรับรองความถูกต้อง
โดยการอ่านข้อมูลดังกล่าว พรอ้ มใหข้ ้อคิดเห็นเพ่ิมเตมิ ทักทว้ งหรือยอมรับข้อมูลท่ีนำเสนอ ซ่ึงการตรวจสอบความ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 125 | P a g e


นา่ เช่อื ถือได้ของข้อมลู ดว้ ยวิธนี ้ี ผวู้ ิจยั ใช้กบั ข้อมลู เบ้ืองตน้ และข้อมูลทเ่ี ป็นส่วนท่ีผู้วิจัยได้ตคี วามแล้วนำข้อมูลจาก
การ สมั ภาษณ์โดยผู้ให้ข้อมูลสำคญั (Key Information) นำมาวิเคราะห์เชิงพรรณนา

ผลที่ไดร้ บั จากการวจิ ัยครงั้ น้ไี ดแ้ ก่

1. ได้ฐานขอ้ มลู เกี่ยวกับแหลง่ ภูมปิ ัญญาการสรา้ งเรือประเพณเี รอื แข่งของจังหวัดน่าน
2. ได้ความรู้เกยี่ วกับองคค์ วามรูใ้ นการสรา้ งและรูปแบบของเรือแขง่ ในลกั ษณะที่เป็น ความรู้

ในเชงิ บรู ณาการหลากหลายสาขาวิชา
3. ไดค้ วามรู้เกีย่ วกับรูปแบบเชิงชา่ ง เรอื แขง่ อัตลักษณ์นา่ น และเก่ยี วข้องกบั บริบททาง

วัฒนธรรมสายนำ้ ของจงั หวัดนา่ น

ผทู้ สี่ ามารถนำผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์

ผู้ใช้ การใชป้ ระโยชน์

หน่วยปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการศึกษาและ ทาํ ใหท้ ราบถงึ ค่านิยมทางศลิ ปวฒั นธรรมประเพณเี รือแขง่ พนื้ ท่ี
วฒั นธรรมจงั หวดั นา่ น จงั หวดั นา่ นในมิติของเชงิ ชา่ งพ้ืนถ่ินมติ ิประวัตศิ าสตร์ความเป็นมา
ในการออกแบบสร้างสรรค์รูปแบบเรือเอกลกั ษณ์นา่ นจากอดตี ถึง
นักขับเคลื่อนด้านวัฒนธรรมน่าน ปัจจบุ ัน

หน่วยปฏิบัตกิ ารดา้ นการจัดการทุนทาง สามารถนําข้อมูลไปเปน็ แนวทางในการออแบบมิตขิ องการจัดการ
วฒั นธรรมเมอื งและพัฒนาศักยภาพของ ท่องเทย่ี วโดยทนุ ทางวัฒนธรรม ตอบสนอง ความต้องการของคน
เมอื ง ในชมุ ชนที่มีความภาคภูมิใจใน ประเพณีเรอื แขง็ ของตน อีกทั้งให้
เกิดประโยชนส์ ูงสดุ แก่แผนยทุ ธศาสตร์อุสาหกรรมการท่องเทีย่ ว
ของจังหวัดนา่ น

สรุปผล การศึกษาเรื่อง “การศึกษาอตั ลักษณ์เรือแข่งเมอื งน่านผา่ นรปู แบบ เชิงช่างศลิ ป์หัตถกรรมพื้นถน่ิ
นา่ น(The study of Nan city boat identity through The craftsmanship of Nan local handicrafts)

เปน็ กรอบวิจัยเชงิ คณุ ภาพเพอ่ื ตอบโจทยท์ ้าทายของสังคมการพัฒนาเชงิ พืน้ ที่พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้
ชุมชนเป็นกรอบชดุ วิจยั ศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ ศกึ ษาเพือ่ ตอบโจทยท์ า้ ทายของสังคมการพัฒนาเชงิ พน้ื ท่ี พัฒนาเป็น
แหล่งเรยี นรู้ชมุ ชน น่านศึกษา เพื่อพัฒนาสงั คมเมอื งน่านเปน็ สังคมคุณภาพและมนั่ คงท่ีสามารถรักษารากและจติ
วิญญาณของเมืองเอาไว้ได้นำไปส่กู ารพฒั นาต่อยอดสเู่ มืองร่วมสมยั ที่มที ุนทางวัฒนธรรมท่แี ขง็ แรง

ลักษณะสกลุ ชา่ งครชู า่ ง รปู แบบ เทคนิค และแนวคิดการสร้างหวั เรือพญานาคและหางเรือแขง่ จังหวัดนา่ น”
มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อเกบ็ รวบรวมรปู แบบและลักษณะของ ช่าง(สลา่ )แกะสลักหัวเรอื ของแต่ละชุมชน สกุลชา่ งครชู า่ ง
ศึกษาวิเคราะห์รปู แบบเฉพาะของงานหัวเรอื และหางวนั ทั้งทางด้านคติความเชอ่ื เทคนิคการตกแต่ง และ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 126 | P a g e


ความสมั พันธ์ของชมุ ชนต่างๆ ผ่านงานแกะสลักหวั เรอื แขง่ เมืองน่าน ประเพณีแข่งเรือจังหวดั น่าน ซง่ึ องคค์ วามรทู้ ่ีได้
จะสามารถนำไปใชใ้ นการสร้างและอนุรักษ์ รวมถึงผลกั ดนั ให้เป็นมรดกทางวฒั นธรรมท้องถ่ิน ลกั ษณะการวิจยั เป็น
เชิงคุณภาพสำรวจลงพืน้ ท่ซี งึ่ มวี ธิ กี ารศึกษาในเชิงปฏบิ ัตกิ ารรว่ มกับคนในชุมชน ท้ังการสอบถามรายละเอยี ด
สมั ภาษณแ์ ละการสนทนากลุ่มพร้อมท้งั ทำการบนั ทกึ ภาพสดั ส่วนทางเชงิ ช่างศิลปกรรมงานหัตถศลิ ป์พนื้ ถ่นิ ใน
รายละเอยี ดต่างๆ แลว้ นำมาคดั ลอก ทำช้ินงานจำลอง ข้นึ ใหม่ ถอดออกมาลายเสน้ เพื่อเปรยี บเทยี บข้อมลู ก่อน
นำไปวเิ คราะห์หารปู แบบ เอกลกั ษณ์และเทคนิคการสร้าง

ผลการศกึ ษาพบวา่ งานแกะสลักหวั และหางเรือพญานาค ตามรูปแบบเรือแบบโบราณทห่ี ลงเหลอื อยู่ไม่
เกิน ซ่งึ มีจำนวน 6 ชุมชน และได้ทำการสำรวจเพ่ิมตามคำใหส้ มั ภาษณ์ของคนในชมุ ชนใกลเ้ คยี งอีก 5 แหง่ รวม
สถานท่ที ่ที ำการเก็บข้อมูลคือ 17 ชมุ ชนทม่ี ี เรือแขง่ รูปแบบเฉพาะของตน ซ่งึ ลักษณะหวั และหางเรือแต่ละชุมชน
นนั้ ถอื เป็นเอกลักษณ์ทางเทคนคิ เชงิ ชา่ ง และเทคนคิ การตกแตง่ ทโ่ี ดดเด่นซึ่งปรากฏในชุมชนลุม่ น้ำโดยเฉพาะแมน่ ้ำ
นา่ นเหนอื ถงึ ใต้ คือ อำเภอเชียงกลาง อำเภอปวั อำเภอท่าวงั ผา อำเภอเมือง อำเภอภูเพียงและ อำเภอเวียงสา อนั
เป็นเอกลักษณ์ของการสร้างรูปแบบหวั เรอื และหางเรอื จำแนกเชงิ สกลุ ชา่ ง หรือ ครชู า่ ง ท้ังน้ขี ้อมูลดงั กล่าวไดน้ ำมา
วิเคราะหต์ ีความการเปลย่ี นแปลง ทั้งทางดา้ นคติความเชือ่ เทคนคิ การตกแต่ง รวมถงึ ลักษณะอันเป็นเอกลักษณข์ อง
การสร้างสรรคข์ องสล่า ในชว่ งยคุ สมยั ที่เป็นกล่มุ ครูชา่ งนิรนามท่ีไมส่ ามารถสบื ค้นได้ และกล่มุ สล่าชา่ งที่ยงั มชี วี ิตอยู่
ใน 12 ชุมชน ซง่ึ องค์ความร้ทู ่ีไดน้ ัน้ สามารถนำไปใชใ้ นการสรา้ งและอนุรักษ์รวมถึงผลักดนั ใหเ้ ป็นมรดกทาง
วฒั นธรรมท้องถ่ินในอนาคตเพ่ือใช้เปน็ ข้อมูลในการจัดทำพพิ ธิ ภณั ฑเ์ รือแข่งจงั หวัดน่านในอนาคตตอ่ ไป

ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป

-ควรมีการศึกษาเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนทางวฒั นธรรม เช่น ภูมิปัญญาการ
สร้างกลไกตัวเรือ วรรณกรรมที่เกี่ยวกับเรือ เครื่องประกอบ เครื่องประดับเรือแข่งฯลฯ เชิงลึกถึงในระดับชุมชน
เนอ่ื งจากผู้วจิ ัยพบวา่ ยังมีองค์ความรู้อกี จำนวนมากท่ยี งั ไม่ไดร้ บั การศกึ ษาและรวบรวมอย่างเป็นระบบ

-ควรมีการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งพิพิธภณั ฑ์ประเพณีแข่งเรือ เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้
และเป็นอกี หนงึ่ สถานทีทอ่ งเทยี่ งทางวฒั นธรรมสำหรับจงั หวดั นา่ น

-ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบทางวัฒนธรรมของประเพณีระหว่างภูมิภาคอื่นๆ ที่มีวัฒนธรรมใกล้เคียงกัน
เช่น ประเพณีแข่งเรือสิบสองปันนา ประเพณีแข่งเรือหลวงพระบาง ประเพณีแข่งเรือลุ่มน้ำเจ้าพระยาและการ
เช่ือมโยงเปรียบเทยี บงานชา่ งพ้นื ถ่นิ แต่ละภมู ภิ าค เป็นตน้

-ควรมีการศึกษาเชิงปริมาณเกี่ยวกับประเด็นทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการจัดการประเพณีบนพื้นฐาน
ของการมสี ว่ นรว่ มและการวเิ คราะห์เชิงมลู คา่ ในการขับเคลื่อนงานวฒั นธรรมทไี่ ปไกลถึงการก่อเกดิ รายได้

-การศกึ ษาครั้งนี้เป็นการศึกษาในรปู แบบงานวิจยั พนื้ ฐาน (Basic Research) ควรมกี ารศึกษาในเชิงการวจิ ยั
ประยุกต์(Apply Research) เพ่อื ให้สามารถปรับใช้มรดกวัฒนธรรมในแง่มุมต่างๆให้เกิดประโยชนไ์ ปในแขนงต่างๆ
มากขน้ึ ในอนาคต

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 127 | P a g e


ภาคผนวก

1. สล่าเรือในจังหวัดน่าน

ผ้ใู ห้สัมภาษณ์ 1
ชอ่ื - นามสกุล นายญาณ สองเมืองแก่น

ช่ือเล่น เจา้ ปอ้ ม
อายุ 56 ปี
ตำแหนง่ ปราชญ์ชมุ ชน
หมายเลขโทรศพั ท์ 089 - 7568343

ท่ีอยู่ 184 หมู่ 4 ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภูมิ สุประการ

2. นายอธิปัตย์ สายสูง
3. นายอนุชา คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์
วันท่เี กบ็ ข้อมูล 18 พฤษภาคม 2564

ผู้ให้สมั ภาษณ์ 2
ชื่อ - นามสกุล นายธธี ชั สอนศิริ

ชื่อเลน่ ตวง
อายุ 31 ปี
ตำแหน่ง ปราชญ์ชมุ ชน
หมายเลขโทรศัพท์ 091 - 0737796
ที่อยู่ 103 หมู่ 7 ตำบลกลางเวยี ง อำเภอเวียงสา จงั หวดั น่าน
ผูส้ มั ภาษณ์ 1. นายยทุ ธภมู ิ สุประการ

2. นายอธิปตั ย์ สายสงู
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์
วันท่เี กบ็ ข้อมูล 20 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 128 | P a g e


ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ 3
ชื่อ - นามสกลุ นายมนญู ปะระมะ

ช่ือเลน่ นูญ
อายุ 43 ปี
ตำแหน่ง ปราชญ์ชุมชน
หมายเลขโทรศัพท์ 093 - 0325503
ที่อยู่ 109 หมู่ 3 ตำบลริม อำเภอท่าวงั ผา จังหวัดน่าน
ผู้สมั ภาษณ์ 1. นายยุทธภมู ิ สุประการ

2. นายอธปิ ัตย์ สายสงู
3. นายอนุชา คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์
วนั ท่ีเก็บข้อมูล 25 พฤษภาคม 2564

ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ 4
ชอ่ื - นามสกุล นายวิชาญ ปัญญา

ชอ่ื เล่น ชาญ
อายุ 54 ปี
ตำแหนง่ ปราชญ์ชุมชน
หมายเลขโทรศพั ท์ 087 – 1762656
ท่ีอยู่ 63 หมู่ 1 ตำบลม่วงต๊ึด อำเภอภเู พยี ง จังหวดั นา่ น
ผูส้ มั ภาษณ์ 1. นายยทุ ธภูมิ สปุ ระการ

2. นายอธปิ ตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์
วันทเ่ี กบ็ ข้อมูล 29 มิถนุ ายน 2564

ผู้ให้สัมภาษณ์ 5
ชื่อ - นามสกุล นายวีรชน หลวงแก้ว

ชอ่ื เล่น เอ็ด
อายุ 48 ปี
ตำแหนง่ ปราชญช์ มุ ชน
หมายเลขโทรศพั ท์ 085 - 0290595
ท่อี ยู่ 87/1 หมู่ 2 ตำบลไหล่น่าน อำเภอเวยี งสา จังหวดั นา่ น
ผู้สมั ภาษณ์ 1. นายยุทธภูมิ สุประการ

2. นายอธิปัตย์ สายสงู
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์
วนั ที่เก็บข้อมูล 30 มิถุนายน 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 129 | P a g e


ผใู้ หส้ ัมภาษณ์ 6
ช่ือ - นามสกลุ นายสนิ ชยั คา่ คาม

ช่อื เลน่ เดิน
อายุ -
ตำแหนง่ ปราชญช์ ุมชน
หมายเลขโทรศัพท์ 083 - 0203706
ทอ่ี ยู่ บ้านท่าข้าม ตำบลไหล่นา่ น อำเภอเวยี งสา จงั หวัดน่าน
ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยุทธภมู ิ สุประการ

2. นายอธิปตั ย์ สายสูง
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สัตยวงค์
วนั ทเ่ี กบ็ ข้อมูล 30 มถิ นุ ายน 2564

ผู้ให้สัมภาษณ์ 7
ชื่อ - นามสกลุ นายสุมิตร จนั ทะเนตร

ชื่อเล่น มิตร
อายุ -
ตำแหนง่ ปราชญช์ มุ ชน
หมายเลขโทรศัพท์ 089 - 9505968
ท่ีอยู่ บ้านท่าลอ้ ตำบลฝายแกว้ อำเภอเมืองน่าน จงั หวดั นา่ น
ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยุทธภูมิ สุประการ

2. นายอธปิ ตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์
วันท่ีเก็บข้อมูล 19 พฤษภาคม 2564

ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ 8
ชอ่ื - นามสกลุ นายอนชุ า คันทะเนตร

ชือ่ เล่น กอลฟ์
อายุ 36 ปี
ตำแหนง่
หมายเลขโทรศัพท์ 061 – 3604607
ทอี่ ยู่ 30 หมู่ 5 ตำบลมว่ งต๊ึด อำเภอภูเพยี ง จงั หวัดนา่ น
ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภมู ิ สุประการ

2. นายอธิปัตย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สัตยวงค์
วันทีเ่ กบ็ ข้อมูล 24 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 130 | P a g e


ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ 9
ชอ่ื - นามสกลุ นายอนุรกั ษ์ สมศกั ด์ิ

ชื่อเลน่ รงค์
อายุ 58 ปี
ตำแหนง่ ปราชญช์ ุมชน
หมายเลขโทรศัพท์ 081 – 7969075
ท่อี ยู่ 24 อะริยะวงค์ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองนา่ น จงั หวัดน่าน
ผู้สมั ภาษณ์ 1. นายยุทธภูมิ สปุ ระการ

2. นายอธิปัตย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์
วนั ท่ีเกบ็ ข้อมูล 2 กรกฎาคม 2564

ผ้ใู หส้ มั ภาษณ์ 10
ชอ่ื - นามสกลุ พระครูผาสุกนันทวฒั น์ (ศราวุธ สขุ วฑฺฒโน)

ช่ือเลน่ พระวุธ
อายุ 39 พรรษา
ตำแหนง่ เจ้าอาวาส, ปราชญ์ชุมชน
หมายเลขโทรศพั ท์ 095 - 4471427
ทีอ่ ยู่ วัดสวนหอม ม.1 ตำบลผาสิงห์ อำเภอเมืองนา่ น จังหวดั นา่ น
ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภมู ิ สปุ ระการ

2. นายอธปิ ัตย์ สายสูง
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์
วนั ท่ีเก็บข้อมูล 28 มถิ ุนายน 2564

ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ 11
ชอื่ - นามสกลุ นายวิทยา สมนึก

ช่ือเลน่ หนานหลง
อายุ -
ตำแหน่ง ปราชญ์ชุมชน
หมายเลขโทรศพั ท์ 095 - 6982507
ทอี่ ยู่ บ้านน้ำปว้ั ตำบลนำ้ ปว้ั อำเภอเวยี งสา จงั หวดั นา่ น
ผ้สู ัมภาษณ์ 1. นายยุทธภูมิ สปุ ระการ

2. นายอธปิ ตั ย์ สายสงู
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์
วนั ทเ่ี กบ็ ข้อมูล 18 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 131 | P a g e


ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ 12
ชอื่ - นามสกุล นายเหวียน วงศส์ ีสม

ช่ือเล่น เหวียน
อายุ -
ตำแหน่ง ปราชญช์ มุ ชน
หมายเลขโทรศพั ท์
ทอี่ ยู่ บ้านสา้ น ตำบลสา้ น อำเภอเวียงสา จงั หวดั น่าน
ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายยุทธภมู ิ สุประการ

2. นายอธิปัตย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์
วันท่ีเก็บข้อมูล 30 มถิ นุ ายน 2564

ผใู้ ห้สัมภาษณ์ 13
ชอ่ื - นามสกลุ นายเกรยี งไกร แสงทิพย์

ช่ือเล่น อ๊อย
อายุ 63 ปี
ตำแหน่ง ปราชญช์ มุ ชน
หมายเลขโทรศพั ท์ 086 - 1953558
ที่อยู่ 13 หมู่ 2 ตำบลกลางเวยี ง อำเภอเวยี งสา จงั หวดั นา่ น
ผ้สู มั ภาษณ์ 1. นายยุทธภมู ิ สปุ ระการ

2. นายอธิปตั ย์ สายสงู
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์
วันทีเ่ กบ็ ข้อมูล 21 พฤษภาคม 2564

ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ 14
ชอ่ื - นามสกลุ นายธีระพันธ์ วาฤทธ์ิ

ชอื่ เลน่ หรดั
อายุ -
ตำแหนง่ ปราชญ์ชุมชน
หมายเลขโทรศัพท์ 097 - 9207760
ทีอ่ ยู่ 251 หมู่ 2 ตำบลปา่ คา อำเภอท่าวังผา จังหวดั น่าน
ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยุทธภมู ิ สปุ ระการ

2. นายอธปิ ตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สัตยวงค์
วันทเ่ี ก็บข้อมูล 25 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 132 | P a g e


1.2 ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ 1
ชอ่ื - นามสกลุ นายสเุ มษ สายสงู

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ชมุ ชนน่าน, ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นา่ น

หมายเลขโทรศพั ท์ 081 - 7647830

ทอ่ี ยู่ 328 หมู่ 17 ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพยี ง จังหวดั น่าน

ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภูมิ สุประการ
2. นายอธปิ ตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์

วันที่เก็บข้อมูล 9 กรกฎาคม 2564

ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ 2

ชื่อ - นามสกลุ นายราเชนทร์ กาบคำ

ตำแหนง่ -

หมายเลขโทรศัพท์ 081 – 7649645, 089 - 9564644

ทอี่ ยู่ -
ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยุทธภูมิ สปุ ระการ

2. นายอธปิ ตั ย์ สายสงู
3. นายอนุชา คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์

วันทเ่ี กบ็ ข้อมูล 16 กรกฎาคม 2564

ผู้ให้สมั ภาษณ์ 3

ชื่อ - นามสกลุ นายสมเจตน์ วิมลเกษม
ตำแหน่ง

หมายเลขโทรศัพท์ 089 – 2663770, 061 - 2984747

ท่ีอยู่

ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภูมิ สปุ ระการ
2. นายอธิปัตย์ สายสูง
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

วนั ท่ีเกบ็ ข้อมูล 20 กรกฎาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 133 | P a g e


ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ 4
ชือ่ - นามสกลุ นายมานะ ทองใบศรี

ตำแหน่ง -
หมายเลขโทรศพั ท์ 081 - 9806470

ที่อยู่ 16/10 ต.ไชยสถาน อ.เมือง จ.น่าน
ผ้สู มั ภาษณ์ 1. นายยทุ ธภมู ิ สปุ ระการ

2. นายอธปิ ัตย์ สายสงู
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์
วันท่ีเกบ็ ข้อมูล 20 กรกฎาคม 2564

ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ 5
ชื่อ - นามสกุล นายสงา่ อนิ ยา

ตำแหนง่ รองประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวัดนา่ น
หมายเลขโทรศัพท์ 089 - 9532083

ท่อี ยู่ 98 หมู่ 7 ตำบลรมิ อำเภอท่าวังผา จงั หวัดน่าน
ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยุทธภมู ิ สปุ ระการ

2. นายอธปิ ัตย์ สายสงู
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์
วันท่เี ก็บข้อมูล 25 พฤษภาคม 2564

ผู้ให้สัมภาษณ์ 6
ช่ือ - นามสกลุ นายยุทธพร นาคสขุ

ชอื่ เลน่ เจมส์
ตำแหน่ง
หมายเลขโทรศัพท์ 086 - 6114926

ที่อยู่ 190/69 หมบู่ ้านดรีมวลิ ล์ 2 หมู่ 1 ถนนบางกรวย - จงถนอม ตำบล
มหาสวัสด์ิ อำเภอบางกรวย จงั หวัดนนทบุรี

ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภูมิ สปุ ระการ
2. นายอธิปัตย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

วนั ท่ีเก็บข้อมูล 23 กรกฎาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 134 | P a g e


ผใู้ ห้สัมภาษณ์ 7
ช่อื - นามสกลุ นายสักกส์ หี ์ พลสนั ติกุล

ชื่อเล่น ดอย
อายุ 35 ปี
ตำแหนง่
หมายเลขโทรศพั ท์ 065 - 7894978
ท่อี ยู่ 86 หมู่ 1 ตำบลฝายแกว้ อำเภอภเู พยี ง จงั หวัดน่าน
ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภูมิ สุประการ

2. นายอธปิ ัตย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์
วนั ที่เกบ็ ข้อมูล 25 กรกฎาคม 2564

ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ 8

ชอื่ - นามสกุล พระปลดั พิษณุ ญานเมธี

ตำแหนง่
หมายเลขโทรศัพท์

ท่อี ยู่ โรงเรียนนนั ทบุรีวิทยา พระปริยัติธรรม วัดช้างคำ้ วรวิหาร

ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภูมิ สุประการ
2. นายอธิปตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

วนั ทเี่ กบ็ ข้อมูล 25 กรกฎาคม 2564

ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ 9
ชื่อ - นามสกุล นายระดม อินแสง

ตำแหน่ง

หมายเลขโทรศพั ท์ 085 - 0298029

ท่อี ยู่

ผู้สัมภาษณ์ 1. นายยทุ ธภมู ิ สุประการ
2. นายอธิปัตย์ สายสงู
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์

วนั ทเ่ี กบ็ ข้อมูล 19 กรกฎาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 135 | P a g e


3. ชมุ ชน 17 ชุมชน Focus Group ชุมชนบ้านดอนไชยใต้
ผู้ให้สมั ภาษณ์
1. นายธีธชั สอนศริ ิ
ผู้สมั ภาษณ์ 2. นายปงิ การินทร์
วันท่เี กบ็ ข้อมูล 3. นายอดศิ ักดิ์ ศรีเทพ
4. นายประภาส การินทร์
5. นายไชยวงค์ เพียงนอ้ ย
6. นายจกั รพันธ์ กันคำ
7. นายไสว ขนั เบาะ
8. นายไชยวัฒน์ สทิ ธยิ ศ
9. นายสกลุ อุ่นเรอื น
10. นายดำรง เสนนา
11. นายอนชุ า คันทะเนตร
12. นายเหลี่ยม การนิ ทร์
13. นายดาวรุง่ ขันเบาะ

1. นายยทุ ธภมู ิ สุประการ
2. นายอธปิ ตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์

20 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 136 | P a g e


ผใู้ ห้สัมภาษณ์ Focus Group ชุมชนบ้านดอนแทน่

ผสู้ มั ภาษณ์ 1. นายเกรยี งไกร แสงทิพย์
วันทีเ่ กบ็ ข้อมูล 2. นายภูมิภาค คำมอญ
3. นายพล จันทร์คำ
4. นางกิ่งแกว้ อะทะวงศ์
5. นายณฐั วุฒิ เสนวงค์
6. นายชยั วรรณ์ สทิ ธยิ ศ
7. นายสมนกึ เพชรชนะ
8. นายศลิ ป์ อนิ า
9. นายกฤษชัย เทนรักษ์
10. นายชุมพล พลสันตกิ ุล
11. นายพงค์รนิ ทร์ สทุ ธารักษ์

1. นายยุทธภมู ิ สุประการ
2. นายอธิปัตย์ สายสงู
3. นายอนุชา คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สัตยวงค์

21 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 137 | P a g e


ผใู้ ห้สัมภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบา้ นท่าลอ้

ผสู้ ัมภาษณ์ 1. พระครูมานติ นันทวงศ์
วนั ท่เี กบ็ ข้อมูล 2. นายสุมติ ร จนั ทะเนตร
3. นายศิรวชิ ย์ อุดอาจ
4. นายประสาท วรรณโกฐ
5. นายอรรถ อะทะวงค์
6. รตอ.เจษฎาวัฒน์ จันทร์สนนั ต์
7. นายขจร ระลึก
8. นายสมบัติ ณ น่าน
9. นายปรีชา ฝายทะจกั ษ์
10. นายอนชุ า คันทะเนตร

1. นายยทุ ธภูมิ สปุ ระการ
2. นายอธปิ ัตย์ สายสูง
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สัตยวงค์

19 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 138 | P a g e


ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบา้ นนาเตา

ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายมนญู ปะระมะ
วนั ท่ีเก็บข้อมูล 2. นายช่มุ ไชยช่อฟ้า
3. นางบัวแก้ว ไชยสลี
4. นางคำดี ไชยสลี
5. นางศรคี ำ ไชยสลี
6. นางสายพณิ หิรัญวทิ ย์
7. นายจริ เดช จณิ ะกับ
8. นายถาวร ไชยสลี
9. นายอิสรภาพ ไชยสลี
10. นายนกุ ุล ไชยช่อฟ้า
11. นางสมจิตร อารมสขุ
12. นางเงา ไชยสลี

1. นายยุทธภูมิ สปุ ระการ
2. นายอธิปัตย์ สายสงู
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

25 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 139 | P a g e


ผู้ใหส้ มั ภาษณ์ Focus Group ชุมชนบา้ นป่ากลว้ ย(บญุ ยืน)

ผูส้ ัมภาษณ์ 1. นายพงศ์นรินทร์ สทุ ธารกั ษ์
วันทเ่ี กบ็ ข้อมูล 2. นายญาณ สองเมอื งแกน่
3. นายชมุ พล พลสันตกิ ุล
4. นายนิคม เอียมอ่ำ
5. นายสุริท บุญธรรม
6. นายเหวยี น วงคส์ ีสม
7. นายเกตุ ขันธ์ทะยศ
8. นางลิขิต จนั ทรกำธร
9. นายปิยะพงษ์ มะโน
10. นางธัญย์ธิยา โลน์ศริ ิภาณกุ ุล

1. นายยทุ ธภมู ิ สปุ ระการ
2. นายอธปิ ตั ย์ สายสูง
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สัตยวงค์

18 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 140 | P a g e


ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบ้านศรบี ุญเรือง

ผูส้ ัมภาษณ์ 1. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
วันที่เก็บข้อมูล 2. นายสมาน ธรรมสละ
3. นายอนนั ต์ จานนั ชัย
4. นายอาจ สุทธิ
5. นายบญั ชา ธรรมสละ
6. นายชูศักดิ์ ศิรงาม
7. นายสาคร ธรรมสอน
8. นายอาหล่ำ มูลหลา้
9. นายสงบ ธนญั ชัย
10. นายนยิ ม ขตั ยิ ศ

1. นายยุทธภูมิ สปุ ระการ
2. นายอธิปตั ย์ สายสูง
3. นายอนุชา คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

24 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 141 | P a g e


ผู้ให้สมั ภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบา้ นดอนศรีเสริม

ผ้สู ัมภาษณ์ 1. พระครสู ุวรรณเจติยานันท์
วนั ท่ีเก็บข้อมูล 2. นายธนากร พิงศห์ าญ
3. นายอนุชติ สวุ รรณโน
4. นายวชั ระ ไชยเถาะ
5. นายวัชรินทร์ สมณชา้ งเผือก
6. นายสุสันต์ ภูวโข
7. ด.ต. วฑิ ูรย์ ขัติยศ
8. นายสมบูรณ์ งามลอ้ ม
9. นางนฤมล คนั ทะ
10. อรรณพ ศถิ าศรี
11. นายวีรพันธ์ กุลไชยา
12. นายบุญช่วย เกิดไชย
13. นายบญุ สง่ ส่วนยะ
14. ผูส้ นใจในการอนรุ กั ษป์ ระเพณแี ข่งเรอื

1. นายยทุ ธภูมิ สปุ ระการ
2. นายอธปิ ตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์

29 มถิ นุ ายน 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 142 | P a g e


ผใู้ ห้สัมภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบา้ นนาปัง

ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายเดช ปันแกว้
วันทเ่ี ก็บข้อมูล 2. นางศรีจนั ทร์ ปิงยศ
3. นายคำแสน วิชาเปง็
4. นางระเบียบ ปติ ริ ตั น์
5. นางไฉล ถาละเสน
6. นางขวัญทนันท์ เศรษฐปิติวงค์
7. นางสาวจันทร์สม มะรินทร์
8. นายสนิท ปนั ใจ
9. นายประยูร แกว้ ปนั
10. นางจำนงค์ ใจแก้ว

1. นายยทุ ธภมู ิ สปุ ระการ
2. นายอธิปัตย์ สายสงู
3. นายอนุชา คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สตั ยวงค์

5 กรกฎาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 143 | P a g e


ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ Focus Group ชุมชนบา้ นนาหนนุ

ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายสม ใบยา
วันที่เกบ็ ข้อมูล 2. นายสมศักดิ์ สมเงิน
3. นายอนิ ไปล่ ใบยา
4. นายเทียง ใบยา
5. รตอ. เสรี พรหมโชติ
6. นายมานติ ย์ เชยี งบุตร
7. นางสีดา ทายะ
8. นางสมัย เนตรวรี ะ
9. นางจนั ทร์ ทายะ
10. นายเชดิ ใบยา

1. นายยุทธภูมิ สุประการ
2. นายอธิปตั ย์ สายสูง
3. นายอนชุ า คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

1 กรกฎาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 144 | P a g e


ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบ้านบุญเรือง

ผสู้ มั ภาษณ์ 1. พระครวู สิ ฐิ นนั ทวฒั น์
วนั ทีเ่ ก็บข้อมูล 2. นายสวาท มัตปิ นั
3. นายศิรศิ ักด์ิ ขดั แปง
4. นายหลักชยั ไชยชนะ
5. นายสมคดิ สรุ ยิ ะ
6. นายจำรอง ปญั ญาอนิ ทร์
7. นายคงพิศ อินผง
8. นายนิเธศน์ ปญั ญานะ
9. นายบันลอื เตย๋ี วฮอ้
10. นายมาตร ปญั ญานะ

1. นายยทุ ธภูมิ สุประการ
2. นายอธิปตั ย์ สายสงู
3. นายอนุชา คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรัตน์ สัตยวงค์

30 มิถนุ ายน 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแขง่ เมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 145 | P a g e


ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบ้านป่าหดั

ผูส้ ัมภาษณ์ 1. นายถวลิ ศรงี าม
วันที่เก็บข้อมูล 2. นางนฤมล คนั ทะ
3. นายสุรพล วุฒิ
4. นายอำนวย บุตรแสนดี
5. นายบุญน้อม ขดั เงางาม
6. นายถวลิ คนั ทะ
7. นางกัญญารัตน์ ทองลอย
8. นางประพันธ์ อทุ ธิ
9. นายศกั ด์ิ ปญั ญา
10. นายเหรยี ญ จันต๊ะวงค์

1. นายยุทธภมู ิ สปุ ระการ
2. นายอธปิ ัตย์ สายสงู
3. นายอนชุ า คันทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

29 มถิ ุนายน 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้ืนถิ่นน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 146 | P a g e


ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ Focus Group ชมุ ชนบ้านพญาวัด

ผสู้ ัมภาษณ์ 1. นายสมบูรณ์ สิทธิ
วนั ท่เี กบ็ ข้อมูล 2. นายจิตร กาวนิ
3. นางวารณุ ี ยอดหงส์
4. นายยงั คำฟู
5. นายณฐั พล แก้ววิจติ ร
6. นายลกั ษการ ยะราช
7. นายเสมอ สทิ ธิ
8. นายลำนวย อินทะเณ
9. นายผล เขียวนวล
10. นางสมบรู ณ์ คำฟู

1. นายยุทธภมู ิ สปุ ระการ
2. นายอธปิ ัตย์ สายสูง
3. นายอนุชา คนั ทะเนตร
4. นางสาวตระการรตั น์ สตั ยวงค์

2 กรกฎาคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการศึกษาอตั ลกั ษณ์เรือแข่งเมืองน่าน ผา่ นรูปแบบเชิงช่างศิลป์ หตั ถกรรมพ้นื ถ่ินน่าน ประจาปี

งบประมาณ 2563 – 2564 147 | P a g e


Click to View FlipBook Version