รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 83
อำเภอบา้ นแฮด
ประกอบด้วย สหกรณ์ ๒ แหง่ สมาชกิ 1,๓๙๘ คน กลุ่มเกษตรกร ๒ แห่ง สมาชิก ๑๒๓ คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ ส่งเสริมสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
เจา้ หน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ นำการแนะนำส่งเสริมดว้ ยระบบ CPS มาใช้ในการวิเคราะห์สหกรณ์ เพอื่ ให้
รู้จักสหกรณ์มากขึ้นในด้านการดำเนินการในสหกรณ์ การพัฒนาสหกรณ์ และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ
ที่เกิดขนึ้ ในสหกรณ์ได้ รวมถงึ ใหค้ วามรู้กับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ให้มีความรู้ เรือ่ งระเบียบ ขอ้ บังคับ
และกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสหกรณ์ทำให้สหกรณ์และกลมุ่ ฯ มีความก้าวหน้ามากข้นึ
⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
1. คณะกรรมการดำเนินการสหกรณข์ าดความรเู้ ร่ืองระเบียบ ขอ้ บงั คับ และการบรหิ ารจดั การภายใน
สหกรณ์
2. ควรให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ในเรื่องหลักการ อุดมการณ์ วิธีการ
สหกรณ์ ข้ันตอนการจัดตัง้ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพ่ิมน้อย เนื่องจากขาด ความเข้าใจ และความร่วมมือ
ในการทำงานรว่ มกันระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่สง่ เสริมสหกรณก์ บั สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา
การแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในสหกรณ์ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมให้ความรู้กับคณะกรรมการดำเนินการด้านการ
บริหารจัดการงานภายในและแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน แนะนำให้สหกรณ์เรียนรู้ระเบียบข้อบังคับ และกฎหมายที่
เกี่ยวข้องเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์เป็นเพียงผู้ช้ีแนะแนวทางเท่านั้น ส่วนการแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ
ดำเนินการ เจ้าหน้าท่ี ของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและดำเนินงานด้วยความ
ซือ่ สัตย์ เพ่ือมิให้เกดิ การทจุ รติ ขึ้นในสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแกน่ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณ์การเกษตรบา้ นแฮด จำกัด
สหกรณก์ ารเกษตรบา้ นแฮด จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเปน็ สหกรณ์หลักระดับ
อำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 ธันวาคม 256๑ จำนวน ๔๒๘ ราย ดำเนินธุรกิจ 2 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจเงิน
รับฝากและธุรกิจสินเชื่อ โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ คือ
“ผักปลอดสารพษิ และพืชสมุนไพร”
ผลการดำเนินงานท่ีโดดเด่นของสหกรณ์ สหกรณ์ได้จัดทำโครงการระดมหุ้นจากสมาชิกและจัด
โครงการออมให้สมาชิกร่วมฝากเงินกับสหกรณ์ การระดมทุนภายในของสหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนให้กับ
สมาชิกและเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมและส่งเสริมการออมให้แก่สมาชิกอีกทางหน่ึง ให้สมาชิกเข้าใจบทบาท
หน้าที่ของตนเองท่ีมีต่อสหกรณ์ สหกรณ์มีบทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการไทยนิยมยั่งยืน สหกรณ์เข้าไปมีส่วนร่วมใน
งานตามนโยบายของรัฐทสี่ หกรณ์เขา้ ไปมีส่วนรว่ มในงานตามนโยบายของรฐั
อำเภอบ้านแฮด มีศนู ย์เรยี นรูก้ ารเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรท่ีตำบลหนองแซง เป็นการ
ผลิตมะม่วง เพื่อนำไปจำหน่ายในต่างประเทศ และสหกรณ์ส่งเสริมอาชีพสมาชิกเพื่อให้มีรายได้เพ่ิมขึ้นใน
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 84
ครัวเรือน โดยส่งเสริมอาชีพในการปลูกผักปลอดสารพิษ และปลกู พืชสมุนไพร สหกรณ์เข้าไปมีส่วนร่วมในการ
ให้ความรู้ในเรื่องสหกรณ์ เพ่ือให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทั่วไปที่มีความสนใจในการ
รวมกลุ่ม เพ่ือให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถพัฒนาอาชีพเป็นการเพิ่มผลผลิต การลดต้นทุนการผลิต
การพัฒนาคุณภาพและการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการผลติ ตลอดจนยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ (เพอ่ื เป็นกรณีศกึ ษาตัวอย่างทด่ี ีหรอื แนวทางในการสง่ เสรมิ )
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นท่ีพ่ึงท่ี
ปรึกษาได้
2. เจ้าหน้าที่สง่ เสรมิ สหกรณเ์ ข้าร่วมประชุมคณะกรรรมการดำเนินงานเปน็ ประจำ
3. เจา้ หน้าทีส่ ่งเสรมิ สหกรณ์ร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร
5. เจ้าหน้าทีส่ ่งเสริมสหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเยีย่ ม การดำเนินงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นประจำ
ศนู ยเ์ รียนรกู้ ารเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ สินคา้ เกษตรท่ตี ำบลหนองแซง อ.บ้านแฮด จ.ขอนแก่น
เป็นการผลิตมะม่วง เพ่ือนำไปจำหนา่ ยในตา่ งประเทศ เจา้ หนา้ ท่สี ง่ เสรมิ ใหค้ วามรู้
เรอ่ื งการมีส่วนรว่ มของสมาชิก หลักการ อุดมการ วิธกี ารสหกรณ์
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 85
อำเภอมัญจาครี ี
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 9 แห่ง สมาชิก 6,297 คน กลมุ่ เกษตรกร 1 แหง่ สมาชิก 179 คน
⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
การแนะนำส่งเสริมด้วยระบบ CPS ทำให้ได้วิเคราะห์สหกรณ์ในแต่ละแห่ง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมแนะนำ
ส่งเสริมสหกรณ์ในการพัฒนาสหกรณ์ การแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสหกรณ์ ทำให้สหกรณ์และกลุ่มฯ
มีความก้าวหน้าขน้ึ ดงั น้ี
1. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น สมาชิกให้ความสำคัญกับการออมเงินกับสหกรณ์ และมีส่วนร่วมใน
การทำธรุ กจิ กับสหกรณ์เพิ่มขึน้
2. มีการวิเคราะหป์ ัญหาของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และกำหนดแนวทางแก้ไข ทำให้สหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกรแกไ้ ขปญั หาได้ตรงประเด็น
3. ทำใหผ้ ลการดำเนนิ งานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผา่ นเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์
⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
1. ควรให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ในเรื่องหลักการ อุดมการณ์ วิธีการ
สหกรณ์ ขั้นตอนการจัดตั้งสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
2. ขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานของคณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการนำไปสู่การ
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จนสามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ
กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสหกรณ์ เจ้าหนา้ ท่ีสง่ เสรมิ ใหค้ วามรู้กับคณะกรรมการดำเนินการ ด้านการ
บรหิ ารจัดการงานภายใน และแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ข้นึ แนะนำให้สหกรณ์เรียนร้รู ะเบยี บข้อบงั คับ และกฎหมายที่
เก่ียวข้องเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เป็นเพียงผู้ช้ีแนะแนวทางเท่าน้ัน ส่วนการแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ
ดำเนินการ เจ้าหน้าที่ ของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและดำเนินงานด้วยความ
ซอื่ สตั ย์ เพ่อื มิใหเ้ กิดการทจุ รติ ขึน้ ในสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแก่น ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณก์ ารเกษตรมญั จาครี ี จำกัด
สหกรณ์การเกษตรมัญจาคีรี จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเป็นสหกรณ์ระดับ
อำเภอตามโครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 ธันวาคม
2560 จำนวน ๖,๔๘๙ ราย ดำเนินธรุ กจิ 2 ประเภท ได้แก่ ธรุ กิจเงินรบั ฝาก และธุรกจิ สินเช่อื โดยธุรกิจหลัก
ของสหกรณ์ คอื ธรุ กจิ สนิ เช่ือ ผลผลิตการเกษตรหลกั ของสหกรณ์ คอื “มนั สำปะหลังและขา้ วเปลือก”
สหกรณ์การเกษตรมัญจาคีรี จำกัด เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ มีการรวบรวมข้าวเปลือกและจำหน่ายปุ๋ย
มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ โครงการไทยนิยม ยั่งยืน
อำเภอมัญจาคีรี มีศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรที่ตำบลนางาม เป็นการผลิต
มันสำปะหลัง โดยสหกรณ์เข้าไปมีส่วนร่วมในการให้ความรู้ในเรื่องสหกรณ์ เพื่อให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิก
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 86
สหกรณ์และเกษตรกรท่ัวไปที่มีความสนใจในการรวมกลุ่ม เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถพัฒนา
อาชีพเป็นการเพ่ิมผลผลิต การลดต้นทุนการผลิต การพัฒนาคุณภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การผลติ ตลอดจนยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ปจั จัยแห่งความสำเร็จ (เพอื่ เป็นกรณศี ึกษาตวั อยา่ งที่ดีหรือแนวทางในการสง่ เสริม)
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นที่พ่ึงท่ี
ปรกึ ษาได้
2. เจา้ หนา้ ที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมคณะกรรรมการดำเนินงานเป็นประจำ
3. เจ้าหนา้ ท่ีสง่ เสรมิ สหกรณร์ ว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กล่มุ เกษตรกร
5. เจ้าหนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ สหกรณต์ รวจสอบ ตรวจเย่ยี ม การดำเนินงานสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรเปน็ ประจำ
ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตสินคา้ เกษตรท่ีตำบลนางาม อ.มญั จาคีรี จ.ขอนแกน่
เจา้ หน้าทีส่ ง่ เสรมิ ใหค้ วามรูเ้ ร่ืองการมีส่วนรว่ มของสมาชิก
และใหค้ วามรู้เร่ืองหลักการ อุดมการ วธิ กี ารสหกรณ์
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 87
อำเภอชนบท
ประกอบด้วย สหกรณ์ ๓ แหง่ สมาชกิ ๔,๐๒๑ คน กลุ่มเกษตรกร ๒ แหง่ สมาชกิ ๒๙๑ คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์แนะนำส่งเสริมสหกรณ์ด้วยระบบ CPS โดยทำให้ได้วิเคราะห์สหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกรในแต่ละแห่งก่อนการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เกิดการการพัฒนา
สหกรณ์ และแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ตรงตามความเป็นจริงท่ีเกิดขึ้นในสหกรณ์ ทำให้สหกรณ์และกลุ่มฯ
มีความก้าวหนา้ ข้นึ
1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการวิเคราะห์ปัญหาแล้วมีการกำหนดแนวทางแก้ไข ทำให้ทราบปัญหา
ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ชัดเจนขึ้นการนำระบบการส่งเสรมิ สหกรณ์ (CPS) ไปใช่ในการแนะนำส่งเสริมให้
สหกรณผ์ ่านเกณฑ์มาตรฐานและผลจากการดำเนินการดงั กลา่ วทำใหส้ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รักษามาตรฐานได้
2. สหกรณ์มีสร้างการมีส่วนร่วม และมีการบริหารจัดการโดยใช้ธรรมาภิบาลเพ่ิมขึ้นเป็นกลไกการ
บริหารจดั การทมี่ ีประสิทธภิ าพ เกิดประสิทธิผล
3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มข้ึน สมาชิกร่วมทำธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
เพ่ิมขึ้น
⚫ ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
1. ควรให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ในเรื่องหลักการ อุดมการณ์ วิธีการ
สหกรณ์ ข้นั ตอนการจดั ต้งั สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
2. ขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานของคณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการของสหกรณ์และ
กลมุ่ เกษตรกร
3. คณะกรรมการดำเนินการขาดความรเู้ รือ่ งระเบยี บขอ้ บังคับสหกรณ์และกฎหมายอน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นในสหกรณ์ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมให้ความรู้กับคณะกรรมการดำเนินการด้านการ
บริหารจัดการงานภายใน และแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดขึ้น แนะนำให้สหกรณ์เรียนรูร้ ะเบียบข้อบังคบั และกฎหมายที่
เกี่ยวข้องเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์เป็นเพียงผู้ชี้แนะแนวทางเท่าน้ัน ส่วนการแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ
ดำเนินการ เจ้าหน้าที่ ของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและดำเนินงานด้วยความ
ซื่อสตั ย์ เพอื่ มใิ ห้เกิดการทจุ รติ ข้นึ ในสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแก่น ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณก์ ารเกษตรชนบท จำกัด
สหกรณ์การเกษตรชนบท จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตร และเป็นสหกรณ์ระดับ
อำเภอ ตามโครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 ธันวาคม
256๑ จำนวน ๔,๐๒๑ ราย ดำเนินธุรกิจ 2 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจเงินรับฝากและธุรกิจสินเช่ือ โดยธุรกิจหลัก
ของสหกรณ์ คอื ธรุ กิจสินเชอ่ื ผลผลิตการเกษตรหลกั ของสหกรณ์ คอื “ขา้ วหอมมะลิและมนั สำปะหลงั ”
ผลการดำเนินงานท่ีโดดเด่นของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรชนบท จำกัด เป็นสหกรณ์ขนาดเล็ก
มีการรวบรวมข้าวเปลือกและจำหน่ายปุ๋ย มีบทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารการสง่ เสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการไทยนิยม ยัง่ ยนื
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 88
อำเภอชนบทมีศูนยเ์ รยี นร้กู ารเพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรที่ตำบลโนนพยอม โดยสหกรณ์
เขา้ ไปมีส่วนร่วมในการให้ความรู้ในเร่ืองสหกรณ์ เพอ่ื ให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทวั่ ไปท่ี
มีความสนใจในการรวมกลุ่ม เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถพัฒนาอาชีพเป็นการเพิ่มผลผลิต
การลดต้นทุนการผลิต การพัฒนาคุณภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิต ตลอดจนยึดหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
ปจั จยั แหง่ ความสำเรจ็ (เพ่อื เปน็ กรณีศกึ ษาตวั อยา่ งทีด่ หี รือแนวทางในการส่งเสรมิ )
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นท่ีพ่ึงที่
ปรึกษาได้
2. เจา้ หนา้ ท่สี ่งเสริมสหกรณ์เข้ารว่ มประชุมคณะกรรรมการดำเนินงานเปน็ ประจำ
3. เจา้ หน้าท่ีสง่ เสรมิ สหกรณ์ร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กล่มุ เกษตรกร
5. เจ้าหน้าทีส่ ่งเสริมสหกรณต์ รวจสอบ ตรวจเย่ยี ม การดำเนนิ งานสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรเปน็ ประจำ
ศนู ยเ์ รียนร้กู ารเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลิตสินคา้ เกษตรทีต่ ำบลโนนพะยอม อ.ชนบท จ.ขอนแกน่
เจา้ หนา้ ท่สี ง่ เสริมสหกรณ์ ร่วมเป็นวิทยากรในการฝึกอบรมเกษตร โครงการสรา้ งทกั ษะและส่งเสริมอาชีพ
ด้านการเกษตร กิจกรรมสรา้ งรายได้ใหแ้ ก่เกษตรกรรายย่อย และกิจกรรมพัฒนาการเกษตรเพ่อื ความยงั่ ยืน
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 89
อำเภอโนนศลิ า
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ ๒ แห่ง สมาชกิ ๒,๔๓๐ คน กลมุ่ เกษตรกร - แหง่
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
1. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ได้แนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด้วยระบบ CPS โดยมีการ
วิเคราะห์สถานะและศักยภาพของสหกรณ์ในแต่ละแห่ง เพื่อแนะนำ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาและแก้ไขปัญหา
ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในสหกรณ์ได้อย่างตรงตามบริบทของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทำให้สหกรณ์และ
กล่มุ เกษตรกรไดร้ ับการพฒั นาและมคี วามกา้ วหนา้ ขึน้
2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้วนำมากำหนดแนวทางแก้ไข ทำให้ทราบ
ปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ชัดเจนข้ึน การนำระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ไปใช่ในการแนะนำ
ส่งเสริมให้สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและผลจากการดำเนินการดังกล่าวทำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
รักษามาตรฐานได้
3. สหกรณ์มีสร้างการมีส่วนร่วม และมีการบริหารจัดการโดยใช้ธรรมาภิบาลเพ่ิมข้ึนเป็นกลไกการ
บรหิ ารจัดการท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ เกิดประสทิ ธิผล
4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มข้ึน สมาชิกร่วมทำธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
เพ่มิ ขึน้
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
1. สมาชกิ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ยังไม่เข้าใจในเร่ืองหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ ขั้นตอนการ
จัดตัง้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอยา่ งแท้จริง
2. ขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานของคณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการนำไปสู่การ
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จนสามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ
กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา
การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมให้ความรู้กับคณะกรรมการดำเนินการด้านการ
บรหิ ารจัดการงานภายใน และแกไ้ ขปญั หาท่ีเกิดขน้ึ แนะนำใหส้ หกรณ์เรียนรู้ระเบยี บข้อบังคบั และกฎหมายที่
เก่ียวข้องเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เป็นเพียงผู้ช้ีแนะแนวทางเท่าน้ัน ส่วนการแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ
ดำเนินการ เจ้าหน้าท่ี ของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและดำเนินงานด้วยความ
ซ่ือสตั ย์ เพ่อื มใิ ห้เกดิ การทจุ ริตขนึ้ ในสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแกน่ ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณ์การเกษตรโนนศลิ า จำกัด
สหกรณ์การเกษตรโนนศิลา จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเป็นสหกรณ์ระดับ
อำเภอ ตามโครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 ธันวาคม
256๑ จำนวน ๒,๔๓๐ ราย ดำเนินธุรกิจ 2 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจรับฝากเงินและธุรกิจสินเชื่อ โดยธุรกิจหลัก
ของสหกรณ์ คอื ธุรกจิ สินเชือ่ ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ คือ “ข้าวเปลือกและมนั สำปะหลัง”
ผลการดำเนินงานท่ีโดดเด่นของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรโนนศิลา จำกัด เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่
มีการรวบรวมข้าวเปลือกและจำหน่ายปุ๋ย สหกรณ์ได้จัดทำโครงการส่งเสริมอาชีพการเกษตรให้กับสมาชิก
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 90
คือโครงการปลูกผักปลอดสารพษิ เป็นการสรา้ งการมีสว่ นรว่ มให้แก่สมาชกิ อีกทางหนึง่ ให้สมาชิกเขา้ ใจบทบาท
หน้าที่ของตนเองท่ีมีต่อสหกรณ์และให้สมาชิกมีความกินดีอยู่ดี มีรายได้ในครวั เรอื นเพิ่มขึน้ สหกรณ์การเกษตร
โนนศิลา จำกัด มีบทบาทของสหกรณ์ในการขับเคล่ือนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น ประชุมเชิงปฏิบัติการการ
ส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการไทยนิยม ย่ังยืน รวมถึงสหกรณ์เข้าไปมีส่วนร่วมในงานตามนโยบาย
ตา่ งๆ ของรฐั บาล
อำเภอโนนศิลา มีศูนย์เรยี นรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรท่ตี ำบลโนนแดง อ.โนนศลิ า
จ.ขอนแก่น โดยสหกรณ์เข้าไปมีส่วนร่วมในการให้ความรู้ในเรื่องสหกรณ์ เพื่อให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิก
สหกรณ์และเกษตรกรทั่วไปที่มีความสนใจในการรวมกลุ่ม เพ่ือให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถพัฒนา
อาชีพเป็นการเพิ่มผลผลิต การลดต้นทุนการผลิต การพัฒนาคุณภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิต
ตลอดจนยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปจั จัยแหง่ ความสำเรจ็ (เพื่อเป็นกรณีศกึ ษาตวั อยา่ งท่ีดีหรือแนวทางในการส่งเสรมิ )
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นท่ีพึ่งที่
ปรกึ ษาได้
2. เจา้ หนา้ ทส่ี ่งเสรมิ สหกรณ์เข้ารว่ มประชุมคณะกรรรมการดำเนนิ งานเปน็ ประจำ
3. เจา้ หนา้ ท่ีสง่ เสรมิ สหกรณร์ ว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลมุ่ เกษตรกร
5. เจา้ หนา้ ท่สี ่งเสริมสหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเย่ียม การดำเนนิ งานสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรเป็นประจำ
ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิตสนิ ค้าเกษตรที่ตำบลโนนแดง อ.โนนศลิ า จ.ขอนแกน่
เจ้าหน้าที่สง่ เสรมิ สหกรณ์ รว่ มเปน็ วิทยากรในการฝึกอบรมเกษตร โครงการสร้างทักษะและส่งเสริมอาชีพ
ด้านการเกษตร กจิ กรรมสร้างรายไดใ้ ห้แกเ่ กษตรกรรายย่อย และกจิ กรรมพฒั นาการเกษตรเพอื่ ความย่งั ยนื
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 91
อำเภอเปือยนอ้ ย
ประกอบด้วย สหกรณ์ ๒ แห่ง สมาชกิ ๒,๙๕๐คน กลุ่มเกษตรกร ๓ แหง่ สมาชกิ ๘๔๐ คน
⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ได้แนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด้วยระบบ CPS โดยมีการ
วิเคราะห์สถานะและศักยภาพของสหกรณ์ในแต่ละแห่ง เพ่ือแนะนำ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาและแก้ไขปัญหา
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสหกรณ์ได้อย่างตรงตามบริบทของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทำให้สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรไดร้ ับการพฒั นาและมีความกา้ วหน้าขึ้น
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร
1. ควรให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ในเรื่องหลักการ อุดมการณ์ วิธีการ
สหกรณ์ ขนั้ ตอนการจดั ตง้ั สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกจิ เพิม่ น้อย เน่ืองจากขาด ความเขา้ ใจ และความรว่ มมือใน
การทำงานร่วมกนั ระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่สง่ เสรมิ สหกรณก์ บั สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
3. ขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานของคณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการนำไปสู่การ
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จนสามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ
กรมส่งเสรมิ สหกรณ์
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
การแก้ไขปญั หาท่ีเกิดข้ึนในสหกรณ์ เจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมใหค้ วามรู้กับคณะกรรมการดำเนินการ ด้านการ
บริหารจัดการงานภายใน และแก้ไขปัญหาทเี่ กิดข้ึน แนะนำให้สหกรณ์เรียนรู้ระเบียบข้อบังคับ และกฎหมายท่ี
เก่ียวข้องเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์เป็นเพียงผู้ช้ีแนะแนวทางเท่านั้น ส่วนการแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ
ดำเนินการ เจ้าหน้าที่ ของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและดำเนินงานด้วยความ
ซือ่ สตั ย์ เพอ่ื มใิ หเ้ กดิ การทจุ ริตข้นึ ในสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแกน่ ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณก์ ารเกษตรเปอื ยน้อย จำกดั
สหกรณ์การเกษตรเปือยน้อย จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเป็นสหกรณ์ระดับ
อำเภอตามโครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 ธันวาคม
256๑ จำนวน ๒,๙๕๐ ราย ดำเนินธุรกิจ 5 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจเงินรับฝาก ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้า
มาจำหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิต และธุรกิจบริการ และโดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ ผลผลิต
การเกษตรหลักของสหกรณ์ คือ “ขา้ วเปลอื กและมนั สำปะหลงั ”
ผลการดำเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรเปือยน้อย จำกัด เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่
มีการรวบรวมข้าวเปลือก และจำหน่ายปุ๋ย สหกรณ์มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น
ประชุมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการไทยนิยม ยั่งยืน รวมถึงสหกรณ์เข้าไปมีส่วน
รว่ มในงานตามนโยบายต่างๆ ของรัฐ
อำเภ อ เปื อย น้ อย มี ศู น ย์ เรีย น รู้การเพ่ิ ม ป ระสิ ท ธิภ าพ การผ ลิ ต สิ น ค้ าเกษ ต รท่ี ต ำบ ล เปื อย น้ อ ย
โดยสหกรณ์เข้าไปมีส่วนร่วมในการให้ความรู้เร่ืองสหกรณ์ เพื่อให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์และ
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 92
เกษตรกรท่ัวไปที่มีความสนใจในการรวมกลุ่ม เพ่ือให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถพัฒนาอาชีพเป็นการ
เพิม่ ผลผลิต การลดต้นทนุ การผลติ การพัฒนาคุณภาพและการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมการผลติ ตลอดจนยึดหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีการขับเคล่ือนนโยบายของรัฐในโครงการไทยนิยมยั่งยืน เพื่อรับทราบปัญหา
และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาของประชาชนในตำบลวังม่วง ตำบลขามปอ้ ม อ.เปอื ยนอ้ ย จ.ขอนแก่น
ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ (เพ่ือเป็นกรณีศึกษาตวั อยา่ งที่ดีหรอื แนวทางในการสง่ เสริม)
1. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นท่ีพึ่งที่
ปรึกษาได้
2. เจา้ หนา้ ทีส่ ่งเสริมสหกรณเ์ ขา้ รว่ มประชุมคณะกรรรมการดำเนินงานเป็นประจำ
3. เจา้ หน้าที่สง่ เสรมิ สหกรณร์ ่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลมุ่ เกษตรกร
5. เจา้ หน้าทสี่ ง่ เสริมสหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเยยี่ ม การดำเนินงานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรเป็นประจำ
การขบั เคล่ือนนโยบายของรฐั ในโครงการไทยนิยมยั่งยนื เพื่อรับทราบปัญหาและหาแนวทางการแก้ไขปัญหา
ของประชาชนในตำบลวงั ม่วงตำบลขามป้อม ตำบลสระแก้ว อำเภอเปอื ยน้อย จังหวดั ขอนแก่น
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 93
อำเภอโคกโพธ์ไิ ชย
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ ๓ แหง่ สมาชกิ ๒,๒๐๙ คน กลมุ่ เกษตรกร ๕ แหง่ สมาชกิ ๖๙๙ คน
⚫ ผลการเข้าแนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ได้แนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด้วยระบบ CPS โดยมีการ
วิเคราะห์สถานะและศักยภาพของสหกรณ์ในแต่ละแห่ง เพ่ือแนะนำ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาและแก้ไขปัญหา
ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในสหกรณ์ได้อย่างตรงตามบริบทของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทำให้สหกรณ์และ
กลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การพฒั นาและมคี วามกา้ วหน้าขน้ึ
⚫ ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
1. ควรให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ในเร่ืองหลักการ อุดมการณ์ วิธีการ
สหกรณ์ ข้ันตอนการจดั ต้ังสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพ่ิมน้อย เน่ืองจากขาด ความเข้าใจ และความความ
รว่ มมือในการทำงานรว่ มกนั ระหว่างเจ้าหนา้ ที่ส่งเสรมิ สหกรณก์ ับสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
3. ขาดความเขม้ แขง็ ในการดำเนินงานของคณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการ สมาชิกขาดความ
เช่ือม่ันในการดำเนินงานสหกรณ์
4. สมาชิกไม่มาชำระหนี้ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ทำให้สหกรณ์ไม่มเี งินในการหมุนเวียน ขาดทนุ สะสม
ทำใหส้ หกรณห์ ยุดดำเนนิ งาน
5. ผลการดำเนนิ งานท่โี ดดเดน่ ของสหกรณ์ -
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
การแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในสหกรณ์ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมให้ความรู้กับคณะกรรมการดำเนินการด้านการ
บริหารจัดการภายใน และแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น แนะนำให้สหกรณ์เรียนรู้ระเบียบข้อบังคับและกฎหมายที่
เก่ียวข้องเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เป็นเพียงผู้ช้ีแนะแนวทางเท่าน้ัน ส่วนการแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ
ดำเนินการ เจ้าหน้าท่ี ของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและดำเนินงานด้วยความ
ซื่อสัตย์ เพื่อมใิ ห้เกิดการทุจริตขึ้นในสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแกน่ ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณก์ ารเกษตรโคกโพธ์ไิ ชย จำกัด
สหกรณ์การเกษตรโคกโพธิ์ไชย จำกัด ปัจจุบันอยู่ในสถานะฟ้ืนฟูกิจการ แต่จากการแนะนำ ส่งเสริม
และสนับสนุนการแก้ไขปัญหาโดยเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อให้สหกรณ์สามารถฟ้ืนฟูกิจการได้อีกครั้ง
ส่งผลให้สหกรณ์เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น เข้าร่วมโครงการส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)
ซ่ึงอำเภอโคกโพธ์ิไชยมีศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรท่ีตำบลโพธ์ิไชย โดยสหกรณ์เข้า
ไปมีส่วนร่วมในการให้ความรู้ในเรอ่ื งสหกรณ์ เพื่อให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทั่วไปที่มี
ความสนใจในการรวมกลุ่ม เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถพัฒนาอาชีพเป็นการเพิ่มผลผลิต
การลดต้นทุนการผลิต การพัฒนาคุณภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิต ตลอดจนยึดหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง โดยโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ของอำเภอโคกโพธ์ิไชยจังหวัดขอนแก่น
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 94
มีแปลงใหญ่ข้าวหอมมะลิ จำนวน ๓ กลุ่ม เจ้าหน้าที่ส่งเสริมแนะนำการจัดทำแผนธุรกิจเพ่ือเตรียมการเข้าร่วม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำแผนธุรกิจ เพื่อให้เกษตรกรได้เรียนรู้ถึงจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค ในการ
บริหารจดั การกบั ผลผลติ ของตนเองเพ่ือนำไปจำหนา่ ยในรูปแบบบรรจุภณั ฑ์ต่อไป
ปจั จยั แหง่ ความสำเรจ็ (เพอื่ เปน็ กรณีศกึ ษาตวั อยา่ งทดี่ หี รือแนวทางในการส่งเสริม)
1. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นที่พ่ึงท่ี
ปรกึ ษาได้
2. เจา้ หน้าท่ีส่งเสรมิ สหกรณเ์ ข้าร่วมประชมุ คณะกรรรมการดำเนนิ งานเป็นประจำ
3. เจา้ หน้าทสี่ ่งเสรมิ สหกรณ์ร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร
5. เจ้าหนา้ ท่สี ่งเสรมิ สหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเยยี่ ม การดำเนินงานสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรเป็นประจำ
การจัดทำแผนธุรกจิ เพอื่ เตรียมการเข้ารว่ มประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร การทำแผนธรุ กิจ
สหกรณ์การเกษตรโคกโพธิไ์ ชย จำกัด
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 95
อำเภอชุมแพ
ประกอบด้วย สหกรณ์ 17 แห่ง สมาชิก 3,488 คน กลุม่ เกษตรกร 4 แหง่ สมาชิก 572 คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ ๕ ได้เข้าแนะนำส่งเสรมิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรตามระบบการส่งเสรมิ สหกรณ์
ในประเด็นตา่ งๆ โดยสรปุ ผลการดำเนนิ งานได้ ดังน้ี
ดา้ นระเบียบข้อบงั คบั
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคับให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของสหกรณ์ ตลอดจนการกำหนดระเบียบขึ้นใช้ใหม่ เน่ืองจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมิได้กำหนด
ระเบียบข้ึนถือใช้ให้ครอบคลุมการดำเนินงาน จึงควรมีการปรับเปล่ียนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
และสอดคล้องการสถานการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงค์ให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกรอบการปฏิบัติท่ีชัดเจน เป็นไปตามกฎหมายและส่งผลให้การดำเนินงานเป็นไป
ดว้ ยความยุติธรรม
ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ได้แนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณแ์ กไ้ ขขอ้ บงั คับ จำนวน ๑๒ แห่ง
ดา้ นการบรหิ ารเงินทุน
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนเงนิ ทุนในการดำเนินงาน
จากแหลง่ ทุนภายนอกอนื่ ๆ และจากแหลง่ เงินทุนของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ดงั น้ี
1. สหกรณ์ท่ีได้กู้ยืมเงินจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน ๓ แห่ง ได้แก่
๑) สหกรณ์การเกษตรชุมแพ จำกัด ๒) สหกรณ์ไม้ผลขอนแก่น จำกัด และ ๓) สหกรณ์การเกษตรตำบล
นาหนองทมุ่ จำกดั
2. กลุ่มเกษตรกรที่ได้กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์กลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน ๓ แห่ง
ได้แก่ ๑) กลุ่มเกษตรกรเล้ียงสัตว์ตำบลนาเพียง ๒) กลุ่มเกษตรกรเล้ียงสัตว์หนองเสาเล้า และ ๓) กลุ่มเกษตรกร
พัฒนาถน่ิ อดุ ม
ดา้ นการบริหารธุรกจิ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ด้านต่างๆ ประกอบด้วย ธุรกิจเงินรับฝาก จำนวน 9 แห่ง ธุรกิจสินเชื่อ จำนวน ๑4 แห่ง ธุรกิจจัดหาสินค้า/
อุปกรณม์ าจำหน่าย จำนวน 3 แห่ง ธุรกจิ รวบรวมและแปรรูป จำนวน ๑ แห่ง
ดา้ นผลการดำเนนิ งาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 แนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้ได้รับการตรวจสอบและ
รบั รองงบการเงินจากผ้สู อบบัญชีสหกรณ์ จำนวน 13 แหง่ มผี ลการดำเนินงาน ดังน้ี
1) สหกรณท์ ี่ผลการดำเนินงานมกี ำไรสทุ ธิ จำนวน ๑๑ แห่ง กลุ่มเกษตรกรมีกำไรสทุ ธิ จำนวน ๔ แห่ง
2) สหกรณท์ ี่มผี ลการดำเนินงาน ขาดทุนสุทธิ จำนวน ๑ แหง่ กล่มุ เกษตรกรขาดทนุ สุทธิ จำนวน - แห่ง
3) สหกรณ์ท่อี ยู่ในสถานะหยดุ ดำเนินงาน จำนวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกรท่ีอยู่ในสถานะหยุดดำเนินงาน
จำนวน - แหง่
4) สหกรณ์ที่อยู่ในสถานะชำระบัญชี จำนวน 4 แห่ง กลุ่มเกษตรกรท่ีอยู่ในสถานะชำระบัญชี
จำนวน - แห่ง
5) สหกรณ์ที่อยู่ในสถานะจัดต้งั ใหม่ ยังไมเ่ ริม่ ดำเนนิ การ จำนวน - แหง่
สหกรณ์ที่มผี ลการดำเนนิ งานขาดทนุ สทุ ธิเนอ่ื งจากสาเหตดุ ังนี้
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 96
1) สหกรณ์บริการบ้านมั่นคงอำเภอชุมแพ จำกัด สาเหตุ สหกรณ์ไม่สามารถเรียกเก็บหน้ีจากลูกหนี้ได้
จึงถูกตัง้ คา่ เผือ่ หนี้สงสยั จะสูญไว้เตม็ จำนวน
ด้านขอ้ สังเกตของผู้สอบบญั ชี
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อสังเกต
ของผู้สอบบัญชี แยกเป็นประเด็นหลัก ๆ ดงั น้ี
1) กรณีการถือเงนิ สดเกนิ กวา่ ที่ระเบียบกำหนด ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ถือปฏิบตั ติ าม
ระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินสดโดยเคร่งครัด หากระเบียบที่กำหนดขึ้นถือใช้น้ันไม่สอดคล้องกับการ
ดำเนนิ งานในปจั จุบัน ใหพ้ ิจารณากำหนดระเบียบข้นึ ถือใชใ้ หม่เพ่ือใหส้ อดคล้องกับฐานะกจิ การของตน
2) กรณผี ู้ตรวจสอบกิจการไม่ปฏิบัตหิ น้าที่ตามข้อบังคับ ได้แนะนำใหผ้ ู้ตรวจสอบกจิ การทราบบทบาท
หน้าท่ีและถือปฏิบัติ โดยการเข้าตรวจสอบกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงาน
ผลการตรวจสอบให้ท่ีประชุมคณะกรรมการทราบทกุ เดือน กรณที ่ีผู้ตรวจสอบกจิ การไม่สามารถเข้าร่วมประชุม
ไดใ้ ห้สรุปผลการตรวจการแจ้งทีป่ ระชุมทราบ
3) กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร มกี ารตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงนิ กูใ้ ห้ครบถว้ นถูกต้องและใหผ้ ู้มอี ำนาจลงนาม
ลงนามใหค้ รบถว้ น เนอื่ งจากเป็นเอกสารสำคัญทมี่ ภี าระผกู พนั ตามกฎหมาย
4) กรณีการรับฝากเงินจากบุคคลภายนอก ได้แนะนำใหส้ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบตั ิตามระเบยี บว่า
ด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกโดยเคร่งครัด และให้บุคคลภายนอกที่มีคุณสมบัติครบถ้วนมาสมัครเป็นสมาชิก
เพือ่ ใหถ้ กู ตอ้ งตามข้อบงั คบั และสามารถรว่ มดำเนินธรุ กจิ กับสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรได้
5) กรณีการกำหนดแผนงาน งบประมาณ ไม่ครอบคลุมการดำเนินธุรกิจ และการใช้จ่ายงบประมาณ
บางแผนงานสูงกวา่ ทีก่ ำหนดไว้ ไดแ้ นะนำให้สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร วางแผนการดำเนินงานให้รอบคอบ รัดกุม
และครอบคลุมการดำเนินงานในทุกธุรกิจรวมถึงประมาณการรายจ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน เพ่ือให้
สามารถกำหนดแผนการปฏิบัติงานประจำปีให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง รวมถึงการปฏิบัติงานตาม
แผนงาน งบประมาณโดยเคร่งครัด
6) กรณกี ารปฏบิ ัตทิ ไ่ี ม่เป็นไปตามหลกั การควบคุมภายในที่ดี เช่น ผู้จัดทำบญั ชีเปน็ บคุ คลเดยี วกนั กบั ผู้
เก็บรักษาเงินสด ได้แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบ่งแยกหน้าที่การมอบหมายงานให้ชัดเจน ตามหลักการ
ควบคุมภายในท่ีดี และให้คณะกรรมการมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ได้รับมอบหมายเป็นประจำและ
ต่อเนือ่ ง
ด้านข้อบกพร่อง
ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561ไมม่ สี หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่มี ขี ้อบกพรอ่ งในการดำเนนิ งาน
ดา้ นการปิดบญั ชภี ายใน 30 วัน
การปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันท่ี
1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 โดยที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีจัดทำงบการเงินแล้วเสร็จและ
ส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชี จำนวน 20 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95.23
โดยมีรายละเอยี ดดังนี้
1) สหกรณ์ จำนวน 17 แห่ง
1.1) ปดิ บญั ชีได้ภายใน 30 วนั ฯ จำนวน 12 แห่ง (๕๗.15%)
1.2) หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน - แห่ง
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 97
1.3) เลิกสหกรณ์ จำนวน 4 แหง่ (19.04%)
1.4) จดั ต้งั ใหม่ จำนวน - แห่ง
2) กลมุ่ เกษตรกร จำนวน ๔ แหง่
2.1) ปิดบญั ชีไดภ้ ายใน 30 วนั ฯ จำนวน ๔ แห่ง (19.๐4%)
2.2) หยุดดำเนินงาน จำนวน - แห่ง
2.3) เลิกกลมุ่ ฯ จำนวน - แหง่
ด้านมาตรฐานสหกรณ์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 มีสหกรณน์ ำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 11 แหง่ ไมน่ ำมาจัดมาตรฐาน
จำนวน 6 แหง่ กลมุ่ เกษตรกรนำมาจดั มาตรฐาน จำนวน ๔ แหง่ ไม่นำมาจัดมาตรฐาน - แหง่ ดังนี้
สหกรณ์ท่ผี า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๑1 แหง่ (100%)
สหกรณ์ท่ไี ม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน - แหง่
กลมุ่ เกษตรกรท่ผี า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๔ แหง่ (100%)
กลมุ่ เกษตรกรท่ีไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แหง่
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มปี ัญหา/อุปสรรคท่ีสำคัญ ในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ดงั นี้
1. ด้านบคุ คลากร
1.1 สมาชกิ
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ สิทธิและหน้าท่ีของตนไม่คำนึงถึง
ผลประโยชนส์ ่วนรวม ขาดความเสยี สละ ไมศ่ รทั ธาต่อองค์กร
1.2 คณะกรรมการ
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของตน ระเบียบ
ขอ้ บังคับและหลักการบริหารงานองคก์ ร
- ขาดความซอื่ สตั ยส์ ุจรติ มกี ารแสวงหาผลประโยชนจ์ ากตำแหนง่
- ขาดความสนใจ ไมก่ ระตอื รือรน้ ในการปฏิบัตหิ น้าท่ี
1.3 ฝา่ ยจดั การ
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ ระเบียบข้อบังคับ ความเชี่ยวชาญ
ในงาน ไมศ่ ึกษาหาความรู้เพม่ิ เติม
- ขาดความใสใ่ จ ไมก่ ระตอื รอื ร้นในการปฏิบตั งิ าน
- เจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงาน ส่วนหนึ่งมาจากระบบอุปถัมภ์ ทำให้เกิดปัญหาการบริหารจัดการ
ไมส่ ามารถสั่งการได้ตามขนั้ ตอนการดำเนินงานปกติ
- วุฒิการศึกษาของเจ้าหน้าท่ีไม่ตรงกับหน้าท่ีท่ีปฏิบัติ ส่งผลให้บุคคลากรมีความรู้
ความสามารถไมต่ รงตามความตอ้ งการ อาจทำให้เกดิ ความผดิ พลาดในการปฏิบัตงิ าน
1.4 ผู้ตรวจสอบกิจการ
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ บทบาทหน้าท่ีของตน ระเบียบ
ข้อบังคบั
- ไม่เข้าร่วมประชุม ไม่ปฏิบัติหน้าที่โดยเคร่งครัด และไม่จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ
กิจการเสนอทีป่ ระชมุ ฯ
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 98
2. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
- การบริหารงานไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั ธรรมภบิ าลและขาดการควบคุมภายในการบริหารจัดการองค์กร
ทีด่ ี ส่งผลใหก้ ารดำเนนิ งานไมโ่ ปร่งใส สามารถตรวจสอบไดย้ ากมีโอกาสเส่ยี งท่จี ะเกิดการทุจรติ ในองค์กร
- การไมป่ ฏิบัตหิ น้าท่ีตามบทบาท หนา้ ที่ของตน ท้งั คณะกรรมการและฝ่ายจดั การ
3. ดา้ นอน่ื ๆ
- สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับข้ึนถือใช้ตามกรอบของกรมส่งเสริม
สหกรณ์ แต่ไม่มีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของแต่ละองค์กร และละเลย ไม่ปฏิบัติตาม
ข้อกำหนดในระเบยี บ ข้อบังคับท่ีมอี ยู่ มกี ารดำเนนิ งานนอกกรอบวตั ถปุ ระสงค์
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
กำกับแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอย่างใกล้ชิด แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้อง และใช้หลักการควบคุมภายในท่ีดี หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์กร เพ่ือให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีการติดตามผลการดำเนินงานในการประชุม
คณะกรรมการทกุ คร้ัง โดยแนะนำสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ดงั น้ี
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานประจำปีที่ได้รับอนุมัติจากท่ี
ประชมุ ใหญ่ ทัง้ แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนประมาณการรายจ่าย
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กระจายแผนปฏิบัติงานประจำปีเป็นรายเดือน มีการมอบหมาย
ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน มีผรู้ ับผิดชอบในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
- แนะนำให้คณะกรรมการมีการติดตามผลการปฏิบัติงานรายเดือน งบทดลอง รายการรับ -จ่าย
ประจำเดือน ในท่ีประชุมทุกคร้งั
- แนะนำให้คณะกรรมการให้มีการพิจารณาผลการดำเนินงานในแต่ละธุรกิจ เพ่ือรับทราบปัญหา/
อุปสรรค และหาทางแก้ไข
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแก่น ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณก์ ารเกษตรชมุ แพ จำกดั
สหกรณ์การเกษตรชุมแพ จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเป็นสหกรณ์หลักระดับ
อำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 2561 จำนวน ๑,๙34 ราย ดำเนินธุรกิจ 4 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจ
รับฝากเงิน ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจรวบรวมและแปรรูป โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์
คอื ธรุ กิจสินเชอื่ ผลผลติ การเกษตรหลกั ของสหกรณ์ คือ “ขา้ วและเมลด็ พนั ธุ์ดี” .
สหกรณ์การเกษตรชุมแพ จำกัด มีผลการดำเนินงานท่ีโดดเด่น ได้แก่ การจัดโครงการระดมทุนด้วย
ทนุ เรือนหุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิกเพื่อจัดหาแหลง่ เงินทุนภายในของสหกรณ์ การเข้าร่วมโครงการส่งเสริม
การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่เกษตรกรในสถาบันเกษตรกร (พันธุ์ข้าวเหนียว กข.๖) เพื่อรวบรวม
ข้าวเปลือกเมล็ดพันธุ์ดีท่ีได้มาตรฐานจากสมาชิกจำหน่ายให้แก่สมาชิกและบุคคลทั่วไป และเข้าร่วมโครงการ
เพ่ือสนองนโยบายภาครัฐในการช่วยเหลือสมาชิกที่ประสบภัยแล้ง รวมท้ังมีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตาม
นโยบายตา่ งๆ ของรฐั บาล
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 99
ปัจจัยแห่งความสำเรจ็ (เพ่ือเปน็ กรณีศกึ ษาตวั อย่างท่ีดีหรือแนวทางในการสง่ เสริม)
1. เจา้ หน้าท่สี ง่ เสรมิ สหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรใหค้ วามรูส้ ึกว่าเป็นทีพ่ งึ่ ทป่ี รึกษาได้
2. เจา้ หน้าที่สง่ เสรมิ สหกรณ์เข้าร่วมประชมุ คณะกรรรมการดำเนินงานเปน็ ประจำ
3. เจา้ หน้าทสี่ ง่ เสริมสหกรณ์ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริมเสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลมุ่ เกษตรกร
5. เจา้ หน้าท่สี ่งเสรมิ สหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเย่ียม การดำเนนิ งานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรเป็นประจำ
โครงการสง่ เสรมิ การผลติ และกระจายเมลด็ พนั ธุด์ แี กเ่ กษตรกรในสถาบนั เกษตรกรปี 2561/2562
สหกรณ์ไดจ้ ัดทำโครงการสง่ เสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธ์ุดีโดยการให้สมาชิกท่ีมีความสนใจเข้า
ร่วมโครงการเพ่ือดำเนินการผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวเหนียว กข.6 (นาปี) ให้แก่สหกรณ์ โดยสหกรณ์เป็นผู้จัดหา
ปจั จัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธ์ุดี, ปยุ๋ ฯลฯ เพ่ือเป็นการลดตน้ ทุนการผลิตให้แกส่ มาชิกและสมาชกิ ไดร้ ับสนิ ค้าที่
มีคุณภาพ และสหกรณ์ยังมีเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรดูแลให้คำแนะนำต้ังแต่ก่อนการผลิตโดยการจัดอบรม
วิธกี ารจดั ทำแปลงเพ่อื เพมิ่ ผลผลติ ให้เต็มประสทิ ธภิ าพจากเจา้ หนา้ ท่ีกรมการข้าว
อบรมสมาชิกสหกรณ์
โครงการส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่เกษตรกรในสถาบันเกษตรกรปี 2561/2562
โครงการระดมทนุ ด้วยทนุ เรอื นหนุ้ และเงินรับฝากจากสมาชกิ สหกรณ์
โครงการระดมทุนเป็นกิจกรรมท่ีจัดทำข้ึนเพื่อเป็นการส่งเสริมให้สมาชิกมี ส่วนร่วมและเพื่อเป็นการ
ลดการพ่ึงพาเงินทุนภายนอกให้น้อยท่ีสุด สหกรณ์จึงเห็นความสำคัญในการจัดโครงการระดมทุนด้วยทุนเรือน
หุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิก เพ่ือส่งเสริมให้สมาชิกรูจ้ ักการออมมากย่ิงข้ึนภายใต้ภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันโดย
สหกรณ์มจี ดุ แขง็ ในดา้ นผลตอบแทนในส่วนของดอกเบ้ียเงินรบั ฝากท่ีสงู กวา่ ธนาคารพาณิชย์ในพื้นที่ สำหรับเงิน
ปนั ผลมีผลตอบแทนสงู เชน่ เดยี วกนั
ครบรอบ 42 ปี สหกรณก์ ารเกษตรชุมแพ จำกดั
กบั โครงการระดมทุนดว้ ยทนุ เรอื นหุน้ และเงินรับฝากจากสมาชกิ สหกรณ์
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 100
อำเภอสีชมพู
ประกอบด้วย สหกรณ์ ๖ แหง่ สมาชิก 5,076 คน กลมุ่ เกษตรกร ๑ แหง่ สมาชกิ 152 คน
⚫ ผลการเข้าแนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ ๕ ได้เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์
(CPS) ตามประเดน็ ต่างๆ โดยสรุปผลการดำเนนิ งานได้ ดงั นี้
ด้านระเบียบข้อบงั คับ
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคับให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของสหกรณ์ ตลอดจนการกำหนดระเบียบข้ึนใช้ใหม่ เน่ืองจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมิได้กำหนด
ระเบียบข้ึนถือใช้ให้ครอบคลุมการดำเนินงาน จึงควรมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
และสอดคล้องการสถานการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงค์ให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกรอบการปฏิบัติท่ีชัดเจน เป็นไปตามกฎหมายและส่งผลให้การดำเนินงานเป็นไป
ดว้ ยความยุตธิ รรม
ทง้ั นี้ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะนำส่งเสริมใหส้ หกรณแ์ ก้ไขข้อบงั คับ จำนวน 3 แห่ง
ด้านการบริหารเงนิ ทุน
ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561 มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนเงินทุนในการดำเนินงาน
จากแหลง่ ทนุ ภายนอกอ่ืนๆ และจากแหลง่ เงนิ ทนุ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดงั น้ี
1) สหกรณ์ที่ได้กูย้ ืมเงนิ จากกองทุนพฒั นาสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน ๑ แหง่ ได้แก่
๑.1) สหกรณ์การเกษตรสีชมพูธนศิริ จำกัด
2) กลุ่มเกษตรกรท่ีได้กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์กลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน ๑ แห่ง
ได้แก่
2.1) กลุม่ เกษตรกรทำสวนยางพาราอำเภอสีชมพู
ดา้ นการบรหิ ารธุรกจิ
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ด้านต่างๆ ประกอบด้วย ธุรกิจเงินรับฝาก จำนวน ๒ แห่ง ธุรกิจสินเชื่อ จำนวน ๔ แห่ง ธุรกิจจัดหาสินค้า/
อุปกรณ์มาจำหน่าย จำนวน 1 แห่ง ธุรกิจรวบรวมและแปรรูป จำนวน - แห่ง และธุรกิจให้บริการและอ่ืนๆ
จำนวน 1 แห่ง
ด้านผลการดำเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้ไดร้ ับการตรวจสอบและ
รบั รองงบการเงนิ จากผ้สู อบบญั ชีสหกรณ์ จำนวน ๕ แห่ง มีผลการดำเนินงาน ดงั นี้
1) สหกรณ์ท่ผี ลการดำเนินงาน มกี ำไรสทุ ธิ จำนวน ๒ แห่ง กล่มุ เกษตรกรมีกำไรสทุ ธิ จำนวน ๑ แหง่
2) สหกรณท์ ี่มผี ลการดำเนนิ งาน ขาดทนุ สุทธิ จำนวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกรขาดทนุ สุทธิ จำนวน - แหง่
3) สหกรณท์ ี่อยู่ในสถานะหยุดดำเนนิ งาน จำนวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกรท่ีอยู่ในสถานะหยดุ ดำเนนิ งาน
จำนวน - แห่ง
4) สหกรณ์ท่ีอยู่ในสถานะชำระบัญชี จำนวน ๒ แห่ง กลุ่มเกษตรกรท่ีอยู่ในสถานะชำระบัญชี
จำนวน - แหง่
5) สหกรณ์ทอี่ ยู่ในสถานะจัดต้งั ใหม่ ยงั ไมเ่ รม่ิ ดำเนนิ การ จำนวน - แหง่
สหกรณ์ที่มีผลการดำเนินงานขาดทนุ สทุ ธเิ นื่องจากสาเหตุดังน้ี
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 101
1) สหกรณ์รวมมิตรชาวไร่อ้อยจังหวัดขอนแก่น จำกัด สาเหตุ สหกรณ์ไม่สามารถเรียกเก็บหน้ีจาก
ลกู หนี้ไดแ้ ละรายได้ส่วนใหญ่เป็นรายได้ทไี่ ด้รับการสนับสนนุ จากสมาคมชาวไรอ่ ้อยซง่ึ ยังไม่ได้รับ
2) สหกรณ์สีชมพูรักสันติ จำกัด สาเหตุ สหกรณ์มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานมากกวา่ รายได้ซึ่งได้จาก
ธรุ กิจสนิ เช่ือเพียงอย่างเดียว
ด้านขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อสังเกต
ของผ้สู อบบญั ชี แยกเปน็ ประเด็นหลักๆ ดังนี้
1) กรณีการถือเงินสดเกนิ กว่าทร่ี ะเบียบกำหนด ไดแ้ นะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ถือปฏิบัตติ าม
ระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินสดโดยเคร่งครัดหากระเบียบท่ีกำหนดขึ้นถือใช้น้ันไม่สอดคล้องกับการ
ดำเนนิ งานในปัจจบุ นั ใหพ้ ิจารณากำหนดระเบียบขึ้นถือใช้ใหมเ่ พื่อให้สอดคล้องกับฐานะกจิ การของตน
2) กรณีผู้ตรวจสอบกิจการไมป่ ฏบิ ัตหิ น้าที่ตามข้อบังคับ ได้แนะนำให้ผู้ตรวจสอบกิจการทราบบทบาท
หน้าที่และถือปฏิบัติ โดยการเข้าตรวจสอบกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงาน
ผลการตรวจสอบให้ทีป่ ระชุมคณะกรรมการทราบทุกเดือน กรณที ี่ผู้ตรวจสอบกิจการไม่สามารถเข้าร่วมประชุม
ไดใ้ หส้ รปุ ผลการตรวจการแจง้ ท่ีประชุมทราบ
3) กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร มีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ให้ครบถ้วน ถูกต้องและให้ผู้มีอำนาจ
ลงนาม ลงนามใหค้ รบถว้ น เนอ่ื งจากเป็นเอกสารสำคัญท่ีมีภาระผกู พนั ตามกฎหมาย
4) กรณีการรับฝากเงินจากบุคคลภายนอก ได้แนะนำให้สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ปฏิบตั ิตามระเบยี บว่า
ด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกโดยเคร่งครัด และให้บุคคลภายนอกท่ีมีคุณสมบัติครบถ้วนมาสมัครเป็นสมาชิก
เพอื่ ให้ถูกตอ้ งตามข้อบงั คบั และสามารถรว่ มดำเนนิ ธุรกิจกับสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรได้
5) กรณีการกำหนดแผนงาน งบประมาณ ไม่ครอบคลุมการดำเนินธุรกิจ และการใช้จ่ายงบประมาณ
บางแผนงานสูงกว่าทก่ี ำหนดไว้ ไดแ้ นะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วางแผนการดำเนินงานใหร้ อบคอบ รดั กุม
และครอบคลุมการดำเนินงานในทุกธุรกิจรวมถึงประมาณการรายจ่ายท่ีอาจเกิดข้ึนจากการดำเนินงาน เพื่อให้
สามารถกำหนดแผนการปฏิบัติงานประจำปีให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง รวมถึงการปฏิบัติงานตาม
แผนงาน งบประมาณโดยเคร่งครัด
6) กรณกี ารปฏิบัตทิ ่ไี มเ่ ป็นไปตามหลกั การควบคุมภายในทีด่ ี เชน่ ผู้จัดทำบัญชเี ปน็ บุคคลเดยี วกนั กับผู้
เก็บรักษาเงินสด ได้แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบ่งแยกหน้าที่การมอบหมายงานให้ชัดเจน ตามหลักการ
ควบคุมภายในที่ดี และให้คณะกรรมการมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ได้รับมอบหมายเป็นประจำและ
ตอ่ เนอื่ ง
ด้านขอ้ บกพร่อง
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ทำให้เกิดข้อบกพร่อง จำนวน ๑ แห่ง
ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรบ้านใหม่ จำกัด สาเหตุคือเกิดการทุจริตเงินรับฝากของสมาชิกสหกรณ์ ผู้ที่ทำให้
สหกรณเ์ กดิ ความเสียหายคือพนักงานของสหกรณ์
ดา้ นการปดิ บัญชีภายใน 30 วนั
การปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันที่
1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 โดยท่ีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดทำงบการเงินแล้วเสร็จและ
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 102
ส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชี จำนวน ๕ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๔๓
โดยมีรายละเอียดดังน้ี
1) สหกรณ์ จำนวน ๔ แห่ง
1.1) ปิดบัญชไี ด้ภายใน 30 วนั ฯ จำนวน 4 แห่ง (100%)
1.2) หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน - แหง่
1.3) เลิกสหกรณ์ จำนวน - แหง่
1.4) จัดตั้งใหม่ จำนวน - แหง่
2) กลุม่ เกษตรกร จำนวน ๑ แหง่
2.1) ปิดบัญชีไดภ้ ายใน 30 วันฯ จำนวน ๑ แหง่ (๑๐๐%)
2.2) หยดุ ดำเนินงาน จำนวน - แหง่
2.3) เลิกกลุ่มฯ จำนวน - แห่ง
ดา้ นมาตรฐานสหกรณ์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1มสี หกรณน์ ำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง ไม่นำมาจดั มาตรฐาน
จำนวน 4 แห่ง กลมุ่ เกษตรกรนำมาจดั มาตรฐาน จำนวน ๑ แห่ง ไม่นำมาจดั มาตรฐาน - แห่ง ดงั น้ี
สหกรณ์ทผี่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒ แห่ง (100%)
สหกรณ์ทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แห่ง
กลมุ่ เกษตรกรทีผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๑ แหง่ (100%)
กลมุ่ เกษตรกรที่ไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แห่ง
⚫ ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร
ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561 มีปัญหา/อุปสรรคที่สำคัญ ในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ดงั นี้
1. ดา้ นบุคคลากร
1.1 สมาชิก
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ สิทธิและหน้าท่ีของตน ไม่คำนึงถึง
ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ขาดความเสยี สละ ไม่ศรทั ธาต่อองคก์ ร
1.2 คณะกรรมการ
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ บทบาทหน้าท่ีของตน ระเบียบ
ข้อบังคบั และหลกั การบริหารงานองคก์ ร
- ขาดความซ่ือสัตย์สุจรติ มีการแสวงหาผลประโยชน์จากตำแหน่ง
- ขาดความสนใจ ไมก่ ระตอื รือรน้ ในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี
1.3 ฝ่ายจัดการ
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ ระเบียบข้อบังคับ ความเช่ียวชาญ
ในงาน ไมศ่ กึ ษาหาความรูเ้ พ่มิ เติม
- ขาดความใสใ่ จ ไม่กระตอื รอื รน้ ในการปฏิบตั งิ าน
- เจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงาน ส่วนหน่ึงมาจากระบบอุปถัมภ์ ทำให้เกิดปัญหาการบริหารจัดการ
ไมส่ ามารถสงั่ การได้ตามขั้นตอนการดำเนนิ งานปกติ
- วุฒิการศึกษาของเจ้าหน้าท่ีไม่ตรงกับหน้าท่ีท่ีปฏิบัติ ส่งผลให้บุคคลากรมีความรู้
ความสามารถไมต่ รงตามความตอ้ งการ อาจทำใหเ้ กิดความผิดพลาดในการปฏิบตั งิ าน
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 103
1.4 ผ้ตู รวจสอบกจิ การ
- ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของตน ระเบียบ
ขอ้ บังคับ
- ไม่เข้าร่วมประชุม ไม่ปฏิบัติหน้าท่ีโดยเคร่งครัด และไม่จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ
กจิ การเสนอทีป่ ระชมุ ฯ
2. ดา้ นการบริหารจดั การ
- การบรหิ ารงานไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั ธรรมภบิ าลและขาดการควบคมุ ภายในการบริหารจัดการองค์กร
ทดี่ ี ส่งผลให้การดำเนินงานไมโ่ ปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ยากมโี อกาสเส่ียงทีจ่ ะเกิดการทุจรติ ในองค์กร
- การไม่ปฏิบัตหิ นา้ ทต่ี ามบทบาท หนา้ ท่ีของตน ทั้งคณะกรรมการและฝ่ายจดั การ
3. ดา้ นอื่นๆ
- สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับข้ึนถือใช้ตามกรอบของกรมส่งเสริม
สหกรณ์ แต่ไม่มีการปรับปรุงเพ่ือให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของแต่ละองค์กร และละเลยไม่ปฏิบัติตาม
ขอ้ กำหนดในระเบียบ ขอ้ บงั คบั ที่มอี ยู่ มกี ารดำเนนิ งานนอกกรอบวัตถปุ ระสงค์
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา
กำกับแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอย่างใกล้ชิด แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้อง และใช้หลักการควบคุมภายในที่ดี หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์กร เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีการติดตามผลการดำเนินงานในการประชุม
คณะกรรมการทุกครง้ั โดยแนะนำสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ดงั นี้
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานประจำปีท่ีได้รับอนุมัติจาก
ที่ประชมุ ใหญ่ ท้ังแผนปฏบิ ตั งิ านและแผนประมาณการรายจา่ ย
- แนะนำให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร กระจายแผนปฏบิ ตั งิ านประจำปีเป็นรายเดือน มีการมอบหมาย
ผ้ปู ฏิบตั งิ าน มีผรู้ ับผิดชอบในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
- แนะนำให้คณะกรรมการมีการติดตามผลการปฏิบัติงานรายเดือน งบทดลอง รายการรับ-จ่าย
ประจำเดือน ในท่ีประชมุ ทกุ คร้งั
- แนะนำให้คณะกรรมการให้มีการพิจารณาผลการดำเนินงานในแต่ละธุรกิจ เพ่ือรับทราบปัญหา/
อุปสรรค และหาทางแก้ไข
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแก่น ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณ์การเกษตรสชี มพธู นศริ ิ จำกัด
สหกรณ์การเกษตรสีชมพูธนศิริ จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเป็นสหกรณ์หลัก
ระดับอำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จำนวน 3,00๙ ราย ดำเนินธุรกิจ 4 ประเภท ได้แก่
ธุรกิจรบั ฝากเงิน ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจบริการและอื่นๆ โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์
คือ ธรุ กิจสินเช่อื
สหกรณ์มีผลการดำเนินงานท่ีโดดเด่นคือการดำเนินธุรกิจที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ
สมาชิกได้เพิ่มขึ้นจากเดิม คือ ธรุ กิจสนิ เช่ือใหส้ มาชกิ กยู้ ืมเพื่อเป็นทุนในการทำไม้กวาดและจดั หาวัตถุดบิ ในการ
ประกอบอาชีพทำไม้กวาด (แขม) เพื่อนำมาจำหน่ายให้กับสมาชิก สหกรณ์มีบทบาทของสหกรณ์ในการ
ขบั เคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน พร้อมท้ังช่วยต่อยอด
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 104
นโยบายของรัฐบาลในการดูแลและส่งเสริมความรู้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยแก่เกษตรกร การบริหารจัดการสินค้า
เกษตร ต้ังแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ โดยใชห้ ลกั การตลาดนำการผลติ
ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ (เพ่อื เป็นกรณศี ึกษาตวั อย่างท่ีดีหรือแนวทางในการสง่ เสรมิ )
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นที่พ่ึงท่ี
ปรึกษาได้
2. เจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมสหกรณ์เขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรรมการดำเนินงานเปน็ ประจำ
3. เจ้าหนา้ ทสี่ ง่ เสริมสหกรณ์ร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลมุ่ เกษตรกร
5. เจา้ หน้าที่ส่งเสรมิ สหกรณต์ รวจสอบ ตรวจเยีย่ ม การดำเนินงานสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรเป็นประจำ
โครงการสินเชื่อเพ่อื เปน็ ทุนในการทำไม้กวาด
ปัจจุบันมีสมาชิกท่ีทำไม้กวาดเป็นอาชีพเสริมอยู่ประมาณ 40 คน และมีความชำนาญมากเนื่องจาก
ทำเป็นอาชีพเสริมมาตลอดกว่าสิบปีแล้ว สมาชิกดังกล่าวจึงได้รวบรวมรายชื่อเสนอคณะกรรมการดำเนินการ
เพ่ือขอรับเงินทุนอุดหนุนในการซื้ออุปกรณ์ในการทำไม้กวาด จึงถือได้ว่าเป็นความต้องการของสมาชิก
อย่างแท้จริงท่ีจะให้สหกรณ์ให้ความช่วยเหลือในด้านเงินทุนสนับสนุน ผลสะท้อนท่ีตามมาคือสหกรณ์สามารถ
ขยายการดำเนินธรุ กิจสินเชื่อเพ่ือสนองตอบความตอ้ งการของสมาชกิ ทำให้ต้นทุนการผลิตไม้กวาดของสมาชิก
ลดลง เกิดการรวมกันซื้อ รวมกันขาย และพัฒนาคณุ ภาพสินค้าได้ให้มาตรฐาน ซ่ึงเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของ
การจัดตง้ั สหกรณ์อยา่ งแท้จรงิ
ติดตามการใชเ้ งนิ กเู้ พอ่ื ให้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ในการกยู้ ืมเพ่ือทำไม้กวาดของสมาชิกสหกรณ์
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 105
การขับเคล่อื นนโยบายการพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรให้เปน็ องค์กรหลักในระดบั อำเภอ
เพื่อผลักดันให้สหกรณ์เป็นองค์กรหลักระดับอำเภอ ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของ
ชุมชน พรอ้ มท้ังช่วยต่อยอดนโยบายของรัฐบาลในการดูแลและสง่ เสริมความรู้เทคโนโลยีท่ที ันสมัยแก่เกษตรกร
การบริหารจดั การสนิ ค้าเกษตร ต้งั แต่ตน้ นำ้ กลางนำ้ และปลายนำ้ โดยใชห้ ลกั การตลาดนำการผลติ
20 กันยายน 2561 ดำเนนิ การจัดประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ
การขบั เคล่ือนนโยบายการพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรใหเ้ ป็นองค์กรหลักในระดับอำเภอ
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 106
อำเภอภผู าม่าน
ประกอบด้วย สหกรณ์ ๑ แห่ง สมาชกิ - คน กลุม่ เกษตรกร 5 แหง่ สมาชิก 718 คน
⚫ ผลการเข้าแนะนำ สง่ เสริมสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร
กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์ ๕ ได้เข้าแนะนำสง่ เสรมิ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์
(CPS) ตามประเดน็ ตา่ งๆ โดยสรปุ ผลการดำเนินงานได้ ดังนี้
ดา้ นระเบียบข้อบงั คบั
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคับให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของสหกรณ์ ตลอดจนการกำหนดระเบียบขึ้นใช้ใหม่ เนื่องจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมิได้กำหนด
ระเบียบขึ้นถือใช้ให้ครอบคลุมการดำเนินงาน จึงควรมีการปรับเปล่ียนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
และสอดคล้องการสถานการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงค์ให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกรอบการปฏิบัติท่ีชัดเจน เป็นไปตามกฎหมายและส่งผลให้การดำเนินงานเป็นไป
ดว้ ยความยุตธิ รรม
ด้านการบริหารเงินทนุ
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 มีสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรไดร้ ับการสนับสนุนเงินทุนในการดำเนนิ งาน
จากแหลง่ ทุนภายนอกอนื่ ๆ และจากแหล่งเงนิ ทุนของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ดังน้ี
1) สหกรณ์ทไ่ี ด้กยู้ มื เงนิ จากกองทนุ พฒั นาสหกรณ์ กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ จำนวน - แห่ง
2) กลมุ่ เกษตรกรทีไ่ ดก้ ู้ยืมเงนิ กองทุนสงเคราะหก์ ลุ่มเกษตรกร กรมสง่ เสริมสหกรณ์ จำนวน ๒ แห่ง
ไดแ้ ก่ ๑) กลุ่มเกษตรกรทำนานาฝาย และ ๒) กลมุ่ เกษตรกรทำนาโนนคอม
ด้านการบรหิ ารธุรกิจ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ด้านต่างๆ ประกอบด้วย ธุรกิจเงินรับฝาก จำนวน - แห่ง ธุรกิจสินเช่ือ จำนวน ๔ แห่ง ธุรกิจจัดหาสินค้า/
อุปกรณ์มาจำหน่าย จำนวน - แห่ง ธุรกิจรวบรวมและแปรรูป จำนวน - แห่ง และธุรกิจให้บริการและอื่นๆ
จำนวน - แหง่
ด้านผลการดำเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้ได้รับการตรวจสอบ
และรับรองงบการเงนิ จากผู้สอบบญั ชีสหกรณ์ จำนวน 4 แหง่ มผี ลการดำเนนิ งาน ดังนี้
1) สหกรณท์ ีผ่ ลการดำเนินงาน มีกำไรสทุ ธิ จำนวน - แห่ง กลุม่ เกษตรกรมกี ำไรสทุ ธิ จำนวน ๔ แห่ง
2) สหกรณท์ ่ีมีผลการดำเนนิ งาน ขาดทุนสทุ ธิ จำนวน - แหง่ กลุ่มเกษตรกรขาดทุนสุทธิ จำนวน - แห่ง
3) สหกรณ์ท่อี ยู่ในสถานะหยดุ ดำเนินงาน จำนวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะหยุดดำเนนิ งาน
จำนวน - แห่ง
4) สหกรณ์ท่ีอยู่ในสถานะชำระบัญชี จำนวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะชำระบัญชี จำนวน
๒ แหง่
5) สหกรณท์ อ่ี ยู่ในสถานะจดั ตง้ั ใหม่ ยงั ไมเ่ ร่มิ ดำเนินการ จำนวน - แห่ง
ดา้ นข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อสังเกต
ของผู้สอบบญั ชี แยกเปน็ ประเด็นหลกั ๆ ดังน้ี
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 107
1) กรณีการถือเงินสดเกินกว่าท่ีระเบียบกำหนด ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ถอื ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินสดโดยเคร่งครัด หากระเบียบท่ีกำหนดข้ึนถือใช้นั้นไม่สอดคล้อง
กับการดำเนินงานในปัจจุบัน ให้พจิ ารณากำหนดระเบียบขนึ้ ถือใช้ใหมเ่ พอ่ื ให้สอดคล้องกับฐานะกิจการของตน
2) กรณีผู้ตรวจสอบกิจการไมป่ ฏบิ ัตหิ น้าที่ตามข้อบังคับ ได้แนะนำให้ผู้ตรวจสอบกิจการทราบบทบาท
หน้าท่ีและถือปฏิบัติ โดยการเข้าตรวจสอบกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงาน
ผลการตรวจสอบให้ท่ีประชุมคณะกรรมการทราบทุกเดือน กรณที ี่ผู้ตรวจสอบกิจการไม่สามารถเข้าร่วมประชุม
ไดใ้ หส้ รุปผลการตรวจการแจง้ ท่ปี ระชมุ ทราบ
3) กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร มีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ให้ครบถ้วน ถูกต้องและให้ผู้มีอำนาจ
ลงนาม ลงนามให้ครบถว้ น เนอ่ื งจากเป็นเอกสารสำคัญทม่ี ีภาระผกู พนั ตามกฎหมาย
4) กรณกี ารปฏบิ ัตทิ ไี่ มเ่ ป็นไปตามหลักการควบคมุ ภายในที่ดี เชน่ ผจู้ ัดทำบญั ชีเป็นบุคคลเดียวกันกับผู้
เก็บรักษาเงินสด ได้แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบ่งแยกหน้าท่ีการมอบหมายงานให้ชัดเจน ตามหลักการ
ควบคุมภายในที่ดี และให้คณะกรรมการมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ได้รับมอบหมายเป็นประจำและ
ต่อเนื่อง
ด้านขอ้ บกพร่อง
ในปงี บประมาณ พ.ศ.2560 ไมม่ สี หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีขอ้ บกพร่องในการดำเนินงาน
ด้านการปดิ บญั ชภี ายใน 30 วนั
การปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันท่ี
1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 โดยที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดทำงบการเงินแล้วเสร็จและ
ส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชี จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๙๔
โดยมรี ายละเอียดดังน้ี
1) สหกรณ์ จำนวน - แหง่
2) กลมุ่ เกษตรกร จำนวน 4 แหง่
2.1) ปดิ บัญชีได้ภายใน 30 วันฯ จำนวน ๔ แห่ง (66.67%)
2.2) หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน - แห่ง
2.3) เลิกกล่มุ ฯ จำนวน 2 แห่ง (33.33%)
ด้านมาตรฐานสหกรณ์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖1มีสหกรณ์นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน - แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน
จำนวน ๑ แหง่ กล่มุ เกษตรกรนำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง ไมน่ ำมาจัดมาตรฐาน ๒ แหง่ ดงั น้ี
สหกรณ์ท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แห่ง
สหกรณท์ ่ไี มผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แห่ง
กลุ่มเกษตรกรทผ่ี า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง (100%)
กลมุ่ เกษตรกรที่ไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แหง่
⚫ ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561 มีปัญหา/อุปสรรคท่ีสำคัญ ในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ดงั นี้
1. ดา้ นบคุ คลากร
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 108
1.1 สมาชกิ
ขาดความร้คู วามเข้าใจในเรือ่ ง สิทธแิ ละหน้าท่ีของตน ไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม ขาด
ความเสียสละ ไมศ่ รัทธาตอ่ องค์กร
1.2 คณะกรรมการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง หน้าที่ของตน ระเบียบข้อบังคับและหลักการบริหารงาน
องคก์ ร
1.3 ฝ่ายจัดการ
-ไม่ม-ี
1.4 ผู้ตรวจสอบกิจการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง บทบาทหน้าที่ของตน ระเบียบข้อบังคับ ไม่เข้าร่วมประชุม
ไม่ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีโดยเครง่ ครัด และไมจ่ ดั ทำรายงานผลการตรวจสอบกจิ การเสนอทป่ี ระชมุ ฯ
2. ดา้ นการบริหารจัดการ
การบรหิ ารงานไม่เป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาลและขาดการควบคุมภายในการบริหารจัดการองคก์ ร
ท่ดี ี สง่ ผลให้การดำเนินงานไม่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ยาก มีโอกาสเส่ยี งท่จี ะเกดิ การทุจรติ ในองคก์ ร
การไมป่ ฏิบัตหิ น้าทตี่ ามบทบาท หนา้ ทีข่ องตน ทง้ั คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ
3. ดา้ นอนื่ ๆ
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับข้ึนถือใช้ตามกรอบของกรมส่งเสริมสหกรณ์
แต่ไม่มีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของแต่ละองค์กร และละเลย ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนด
ในระเบยี บ ข้อบงั คบั ทม่ี ีอยู่ มีการดำเนนิ งานนอกกรอบวัตถุประสงค์
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา
กำกับ แ น ะน ำ ส ห กร ณ์ /กลุ่ ม เกษ ต ร กรอ ย่ างใก ล้ ชิ ด แ น ะน ำให้ ส ห กรณ์ /ก ลุ่ มเกษ ต รกร ป ฏิ บั ติ ต า ม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และใช้หลักการควบคุมภายในที่ดี หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์กร เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีการติดตามผลการดำเนินงานในการประชุม
คณะกรรมการทุกคร้งั โดยแนะนำสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ดงั น้ี
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานประจำปีที่ได้รับอนุมัติจากที่
ประชุมใหญ่ ทั้งแผนปฏบิ ตั ิงานและแผนประมาณการรายจา่ ย
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กระจายแผนปฏิบัติงานประจำปีเป็นรายเดือน มีการมอบหมาย
ผูป้ ฏบิ ัติงาน มีผูร้ ับผิดชอบในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
- แนะนำให้คณะกรรมการมีการติดตามผลการปฏิบัติงานรายเดือน งบทดลอง รายการรับ-จ่าย
ประจำเดอื น ในท่ีประชุมทกุ ครงั้
- แนะนำให้คณะกรรมการให้มีการพิจารณาผลการดำเนินงานในแต่ละธุรกิจ เพื่อรับทราบปัญหา/
อุปสรรค และหาทางแกไ้ ข
⚫สหกรณก์ ารเกษตรระดบั อำเภอ
- ไม่มี
⚫สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรท่มี ผี ลการดำเนินงานเดน่
- ไม่มี
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 109
ดำเนินการจดั ต้งั สหกรณ์หลักระดับอำเภอ โดยผ้อู ำนวยการกลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 5 พร้อมคณะรว่ ม
ประชมุ กบั สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผกั ปลอดภยั นานำ้ ซำ ม.5 ต.ภผู าม่าน อ.ภูผาม่าน จ.ขอนแกน่
ช้แี จงและทำความเข้าใจการจัดต้งั สหกรณ์ให้สมาชิกได้รับทราบ สำหรบั ใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจว่า
จะจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มฯเป็นสหกรณ์หรือไม่
ดำเนินการประชุมชีแ้ จงโครงการเกษตรแปลงใหญ่ เพอื่ จัดทำแผนการดำเนินธรุ กิจ
ณ ศพก.ภผู าม่าน ม.5 บ้านนานำ้ ซำ ต.ภผู ามา่ น อ.ภูผาม่าน จ.ขอนแก่น
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 110
อำเภอพล
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 1๐ แห่ง สมาชิก ๙,๓๔๒ คน กลุม่ เกษตรกร ๓ แหง่ สมาชกิ ๕๑ คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสริมสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 6 ได้เขา้ แนะนำส่งเสรมิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์
(CPS) ตามประเด็นต่างๆ โดยสรปุ ผลการดำเนนิ งานได้ ดังนี้
ด้านระเบียบข้อบงั คับ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคับให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของสหกรณ์ ตลอดจนการกำหนดระเบียบข้ึนใช้ใหม่ เน่ืองจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมิได้กำหนด
ระเบียบขึ้นถือใช้ให้ครอบคลุมการดำเนินงาน จึงควรมีการปรับเปล่ียนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
และสอดคล้องการสถานการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงค์ให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกรอบการปฏิบัติท่ีชัดเจน เป็นไปตามกฎหมายและส่งผลให้การดำเนินงานเป็นไป
ดว้ ยความยุติธรรม
ด้านการบรหิ ารเงนิ ทุน
ในปีงบประมาณ พ.ศ.256๑ มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนบั สนุนเงนิ ทุนในการดำเนินงาน
จากแหลง่ ทุนภายนอกอ่นื ๆ และจากแหลง่ เงนิ ทุนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดังนี้
1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการ
สนับสนุนเงินทุนเพ่ือสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร จำนวน 1 แห่ง (9%) โดยมี
วัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือจดั หาแหล่งนำ้ ให้สมาชกิ ใช้ในการเพาะปลูก
ด้านการบริหารธุรกจิ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ มีการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ด้านต่างๆ ประกอบด้วย ธุรกิจเงินรับฝาก จำนวน ๓ แห่ง ธุรกิจสินเชื่อ จำนวน 5 แห่ง ธุรกิจจัดหาสินค้า/
อุปกรณม์ าจำหน่าย จำนวน 2 แหง่ ธุรกิจรวบรวมฯ จำนวน ๒ แห่ง และธรุ กิจใหบ้ ริการ/อน่ื ๆ จำนวน ๒ แหง่
ด้านผลการดำเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ แนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร ใหไ้ ด้รบั การตรวจสอบ
และรับรองงบการเงนิ จากผู้สอบบัญชสี หกรณ์ จำนวน ๖ แหง่ มีผลการดำเนินงาน ดังน้ี
1. สหกรณท์ ผี่ ลการดำเนนิ งาน มกี ำไรสุทธิ จำนวน 5 แห่ง กลมุ่ เกษตรกรมีกำไรสทุ ธิ จำนวน ๑ แหง่
2. สหกรณท์ ี่มผี ลการดำเนนิ งาน ขาดทุนสทุ ธิ จำนวน แห่ง กล่มุ เกษตรกรขาดทุนสุทธิ จำนวน - แหง่
3. สหกรณ์ท่อี ยู่ในสถานะหยุดดำเนนิ งาน จำนวน ๓ แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะหยดุ
ดำเนินงาน จำนวน - แห่ง
4. สหกรณท์ ่ีอย่ใู นสถานะชำระบญั ชี จำนวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยใู่ นสถานะชำระบัญชี จำนวน
๓ แห่ง
5. สหกรณท์ ่ีอยูใ่ นสถานะจดั ตงั้ ใหม่ ยงั ไมเ่ รม่ิ ดำเนินการ จำนวน - แห่ง
ด้านขอ้ สงั เกตของผู้สอบบญั ชี
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อสังเกต
ของผู้สอบบัญชี แยกเป็นประเดน็ หลกั ๆ ดงั นี้
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 111
1. กรณีการถือเงินสดเกินกว่าที่ระเบียบกำหนด ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ถือปฏิบัติ
ตามระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินสดโดยเคร่งครัด หากระเบียบท่ีกำหนดขึ้นถือใช้น้ันไม่สอดคล้องกับการ
ดำเนนิ งานในปัจจุบัน ใหพ้ ิจารณากำหนดระเบียบขน้ึ ถือใช้ใหม่เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั ฐานะกิจการของตน
2. กรณีผู้ตรวจสอบกิจการไมป่ ฏิบัติหนา้ ที่ตามข้อบงั คบั ไดแ้ นะนำให้ผู้ตรวจสอบกิจการทราบบทบาท
หน้าที่และถือปฏิบัติ โดยการเข้าตรวจสอบกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงาน
ผลการตรวจสอบให้ทีป่ ระชุมคณะกรรมการทราบทกุ เดือน กรณที ี่ผู้ตรวจสอบกิจการไม่สามารถเข้าร่วมประชุม
ได้ ให้สรุปผลการตรวจการแจ้งที่ประชุมทราบ
3. กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร มีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และให้ผู้มีอำนาจลง
นาม ลงนามใหค้ รบถว้ น เนอื่ งจากเป็นเอกสารสำคัญที่มภี าระผูกพันตามกฎหมาย
๔. กรณีการกำหนดแผนงาน งบประมาณ ไม่ครอบคลุมการดำเนินธุรกิจ และการใช้จ่ายงบประมาณ
บางแผนงานสูงกวา่ ทกี่ ำหนดไว้ ได้แนะนำให้สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร วางแผนการดำเนนิ งานให้รอบคอบ รดั กุม
และครอบคลุมการดำเนินงานในทุกธุรกิจรวมถึงประมาณการรายจ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน เพ่ือให้
สามารถกำหนดแผนการปฏิบัติงานประจำปีให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง รวมถึงการปฏิบัติงานตาม
แผนงาน งบประมาณโดยเคร่งครดั
๕. กรณีการปฏบิ ัติทไ่ี ม่เป็นไปตามหลกั การควบคุมภายในทดี่ ี เชน่ ผู้จัดทำบัญชเี ปน็ บุคคลเดียวกันกบั ผู้
เก็บรักษาเงินสด ได้แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบ่งแยกหน้าที่การมอบหมายงานให้ชัดเจน ตามหลักการ
ควบคุมภายในที่ดี และให้คณะกรรมการมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ได้รับมอบหมายเป็นประจำและ
ต่อเนอ่ื ง
ดา้ นขอ้ บกพร่อง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ไมม่ ีสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรทมี่ ีข้อบกพรอ่ งในการดำเนินงาน
ด้านการปิดบัญชีภายใน 30 วัน
การปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันที่
1 ตุลาคม 25๖๐ ถึงวนั ที่ 30 กันยายน 25๖๑ โดยท่ีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จดั ทำงบการเงินแล้วเสร็จและ
ส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชี จำนวน ๖ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๕๔
โดยมีรายละเอียด ดังน้ี
1) สหกรณ์ จำนวน 1๐ แหง่
1.1) ปิดบัญชไี ดภ้ ายใน 30 วนั ฯ จำนวน ๕ แหง่ (5๐%)
1.2) หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน ๓ แหง่ (๓๐%)
1.3) เลิกสหกรณ์ จำนวน ๑ แห่ง (๑๐%)
1.4) บดิ บญั ชไี มไ่ ด้ภายใน ๓๐ วนั จำนวน 1 แห่ง (๑๐%)
2) กลุ่มเกษตรกร จำนวน 3 แห่ง
2.1) ปิดบัญชไี ดภ้ ายใน 30 วนั ฯ จำนวน 1 แห่ง (33%)
2.2) หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน - แห่ง
2.3) เลิกกล่มุ ฯ จำนวน ๒ แหง่ (๖๖%)
ด้านมาตรฐานสหกรณ์
ในปีงบประมาณ พ.ศ.25๖๐ มีสหกรณ์นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน ๖ แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน
จำนวน ๔ แห่ง กลุ่มเกษตรกรนำมาจัดมาตรฐาน จำนวน ๑ แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน ๒ แหง่ ดงั นี้
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 112
สหกรณ์ท่ีผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๖ แหง่ (100%)
สหกรณท์ ่ีไม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน - แห่ง
กล่มุ เกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๑ แหง่ (๑๐๐%)
กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แหง่
⚫ ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ มีปัญหา/อปุ สรรคที่สำคญั ในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
ดงั น้ี
1. ด้านบคุ คลากร
1.1 สมาชิก
ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ สิทธิและหน้าที่ของตน ไม่คำนึงถึง
ผลประโยชน์ส่วนรวม ขาดความเสยี สละ ไมศ่ รัทธาตอ่ องค์กร
1.2 คณะกรรมการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ บทบาทหน้าท่ีของตน ระเบียบ
ขอ้ บงั คับและหลกั การบรหิ ารงานองค์กร
ขาดความซอ่ื สัตยส์ ุจริต มกี ารแสวงหาผลประโยชน์จากตำแหนง่
ขาดความสนใจ ไมก่ ระตอื รือรน้ ในการปฏิบัติหน้าท่ี
1.3 ฝา่ ยจัดการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ ระเบียบข้อบังคับ ความเช่ียวชาญ
ในงาน ไมศ่ กึ ษาหาความรูเ้ พิ่มเติม
ขาดความใส่ใจ ไมก่ ระตือรือร้นในการปฏบิ ตั งิ าน
เจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงาน ส่วนหนึ่งมาจากระบบอุปถัมภ์ ทำให้เกิดปัญหาการบริหารจัดการ
ไม่สามารถส่ังการได้ตามข้ันตอนการดำเนนิ งานปกติ
วุฒิการศึกษาของเจา้ หนา้ ทไ่ี ม่ตรงกบั หน้าที่ทปี่ ฏิบตั ิ สง่ ผลใหบ้ ุคคลากรมีความรคู้ วามสามารถ
ไมต่ รงตามความตอ้ งการ อาจทำให้เกดิ ความผดิ พลาดในการปฏบิ ตั งิ าน
1.4 ผู้ตรวจสอบกิจการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ความรู้เก่ียวกับการเงิน การบัญชีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่
ของตน ระเบยี บข้อบังคบั สหกรณ์
ไม่เข้าร่วมประชุม ไมป่ ฏิบตั ิหน้าที่โดยเคร่งครดั และไม่จัดทำรายงานผลการตรวจสอบกิจการ
เสนอทปี่ ระชมุ ฯ
2. ดา้ นการบริหารจดั การ
การบรหิ ารงานไม่เป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาลและขาดการควบคุมภายในการบริหารจัดการองค์กร
ท่ดี ี ส่งผลใหก้ ารดำเนนิ งานไมโ่ ปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ยากมโี อกาสเส่ยี งทจี่ ะเกิดการทุจรติ ในองคก์ ร
การไมป่ ฏิบตั ิหนา้ ที่ตามบทบาท หน้าทข่ี องตน ทงั้ คณะกรรมการและฝา่ ยจดั การ
3. ดา้ นอน่ื ๆ
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับขึ้นถือใช้ตามกรอบของกรมส่งเสริมสหกรณ์
แต่ไม่มีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของแต่ละองค์กร และละเลย ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนด
ในระเบยี บ ข้อบงั คบั ท่ีมอี ยู่ มีการดำเนนิ งานนอกกรอบวัตถปุ ระสงค์
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 113
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
กำกับแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอย่างใกล้ชิด แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และใช้หลักการควบคุมภายในท่ีดี หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์กร เพ่ือให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีการติดตามผลการดำเนินงานในการประชุม
คณะกรรมการทุกครง้ั โดยแนะนำสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ดงั นี้
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานประจำปีท่ีได้รับอนุมัติจาก
ทป่ี ระชุมใหญ่ ทั้งแผนปฏิบัตงิ านและแผนประมาณการรายจ่าย
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กระจายแผนปฏิบัติงานประจำปีเป็นรายเดือน มีการมอบหมาย
ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน มีผู้รบั ผดิ ชอบในการติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน
- แนะนำให้คณะกรรมการมีการติดตามผลการปฏิบัติงานรายเดือน งบทดลอง รายการรับ -จ่าย
ประจำเดอื น ในท่ปี ระชมุ ทกุ คร้ัง
- แนะนำให้คณะกรรมการให้มีการพิจารณาผลการดำเนินงานในแต่ละธุรกิจ เพ่ือรับทราบปัญหา/
อปุ สรรค และหาทางแก้ไข
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแก่น ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณ์การเกษตรเมอื งพล จำกัด
สหกรณ์การเกษตรเมืองพล จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเป็นสหกรณ์หลักระดับ
อำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 256๑ จำนวน ๗,๘๔๓ ราย ดำเนินธุรกิจ 5 ประเภท ได้แก่
ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจรวบรวม และธุรกิจบริการอื่นๆ โดยธุรกิจ
หลักของสหกรณ์ คอื ธรุ กิจสินเช่ือ ผลผลติ การเกษตรหลกั ของสหกรณ์ คือ “ขา้ ว”
ผลการดำเนินงานท่ีโดดเด่นของสหกรณ์ คือ การส่งเสริมการระดมทุนภายในของสหกรณ์ การมี
บทบาทในการขบั เคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ สหกรณ์สง่ เสริมการดำเนินงานโครงการพัฒนาศูนยเ์ รียนร้กู าร
เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) โดยจัดวิทยากรให้ความรู้แก่สมาชิกในด้านสหกรณ์
เป็นแนวทางให้สมาชิก ศพก. จดั ต้งั กลมุ่ ฯเพือ่ สรา้ งความเขม้ แข็งตอ่ ไป
สหกรณ์การเกษตรเมืองพล จำกัด ได้รับงบประมาณสนับสนุน โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐาน
รวบรวมและจดั เกบ็ ข้าวเปลือกคณุ ภาพของสหกรณ์ จำนวน ๓ รายการ ประกอบด้วย
1) ฉางขนาด ๕๐๐ ตัน รัฐบาลอุดหนุน ๑,๖๘๘,๔๐๐ บาท สหกรณ์สมทบ ๗๕๒,๑๐๐ บาท วงเงิน
รวม ๒,๔๔๐,๕๐๐ บาท
2) ลานตาก ๑,๖๐๐ ตรม. รัฐบาลอุดหนุน ๖๓๗,๑๐๐ บาท สหกรณ์สมทบ ๔๗๔,๙๐๐ บาท วงเงิน
รวม ๑,๑๔๙,๐๐๐ บาท
3) โรงคลุมพร้อมเครื่องช่ังไม่ต่ำกว่า๕๐ ตัน รัฐบาลอุดหนุน ๖๒๖,๐๘๐ บาท สหกรณ์สมทบ
๒๖๘,๓๒๐ บาท วงเงินรวม ๘๙๔,๔๐๐ บาท
ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ (เพอื่ เป็นกรณศี กึ ษาตัวอย่างท่ดี หี รอื แนวทางในการสง่ เสรมิ )
สหกรณ์การเกษตรเมืองพล จำกัด มีผู้บริหารและฝ่ายจัดการสหกรณ์ท่ีมีความเข้มแข็ง มีสมาชิก
สหกรณ์ที่มีความเข้าใจและรับรู้ถึงบทบาทหน้าท่ีของการเป็นสมาชิก ทำให้สหกรณ์เกิดความเข้มแข็งในการ
บริหารจัดการสหกรณ์ ซึง่ สหกรณ์มีความเข้มแข็งทางด้านเการบริหารเงนิ ทุนภายในของสหกรณ์ โดยการระดม
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 114
ทุนถือหุ้นของสมาชิก การจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีเป็นทุนสำรอง และจากการรับฝากเงินจากสมาชิก ทำให้
สหกรณ์มีทุนภายในสำหรับดำเนินงานถึงร้อยละ 56.93 ของทุนดำเนินงานท้ังหมด และสหกรณ์ได้จัดทำ
แผนพัฒนาสหกรณ์ตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นสหกรณ์หลักระดับอำเภอ มีการกำหนด
เป้าหมายในการพัฒนาความเข้มแข็งภายในสหกรณ์โดยอีก 15 ปี สหกรณ์จะไม่ใช้เงนิ กู้จากแหล่งทุนภายนอก
มาเปน็ ทุนในการดำเนนิ งานของสหกรณ์
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 115
อำเภอหนองสองหอ้ ง
ประกอบด้วย สหกรณ์ 4 แหง่ สมาชิก ๗,๗0๗ คน กลมุ่ เกษตรกร ๓ แหง่ สมาชิก 27๒ คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ ส่งเสริมสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร
กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 ได้เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์
(CPS) ตามประเด็นต่างๆ โดยสรุปผลการดำเนินงานได้ ดงั น้ี
ดา้ นระเบียบข้อบังคบั
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 256๑ ไดแ้ นะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคบั ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของสหกรณ์ ตลอดจนการกำหนดระเบียบข้ึนใชใ้ หม่ เนื่องจากสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรบางแหง่ มิได้กำหนด
ระเบียบข้ึนถอื ใชใ้ ห้ครอบคลมุ การดำเนินงาน จึงควรมีการปรบั เปลี่ยนเพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั
และสอดคลอ้ งการสถานการดำเนนิ งานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงคใ์ ห้
สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรมกี รอบการปฏิบตั ิทช่ี ดั เจน เป็นไปตามกฎหมายและสง่ ผลใหก้ ารดำเนนิ งานเปน็ ไป
ดว้ ยความยตุ ิธรรม
ท้ังนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ ได้แนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณแ์ ก้ไขขอ้ บังคบั จำนวน - แหง่ และ
กลมุ่ เกษตรกร จำนวน - แหง่
ด้านการบรหิ ารเงินทุน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนบั สนุนเงินทุนในการดำเนินงาน
จากแหล่งทุนภายนอกอืน่ ๆ และจากแหลง่ เงนิ ทุนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดังน้ี
1. สหกรณ์ ได้รับการสนับสนุนเงินทุนภายนอกจากสถาบันการเงินประจำอำเภอ และชุมนุมสหกรณ์
เพื่อนำเงินทุนมาใชใ้ นการดำเนินงาน ตามความตอ้ งการของสมาชกิ
2. กลุ่มเกษตรกร มีกลุ่มเกษตรกรที่ขอรับการสนับสนุนสินเช่ือจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนากลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 แห่ง (33%) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
การผลติ ข้าวของสมาชกิ นอกจากนนั้ ยังได้รบั การสนบั สนนุ เงนิ ทนุ จากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นท้องถน่ิ ในท้องที่นัน้ ๆ
ด้านการบรหิ ารธุรกิจ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ มีการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ด้านต่างๆ ประกอบด้วย ธุรกิจเงินรับฝาก จำนวน 4 แห่ง ธุรกิจสินเช่ือ จำนวน 6 แห่ง ธุรกิจจัดหาสินค้า/
อปุ กรณ์มาจำหนา่ ย จำนวน ๒ แหง่ ธรุ กิจรวบรวมฯ จำนวน ๑ แห่ง และธรุ กจิ ให้บริการ/อืน่ ๆ จำนวน ๔ แห่ง
ด้านผลการดำเนนิ งาน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 256๑แนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร ใหไ้ ดร้ ับการตรวจสอบและ
รบั รองงบการเงินจากผ้สู อบบัญชสี หกรณ์ จำนวน๖ แห่ง มผี ลการดำเนินงาน ดงั น้ี
1. สหกรณท์ ีผ่ ลการดำเนนิ งาน มกี ำไรสุทธิ จำนวน 4 แหง่ กลมุ่ เกษตรกรมีกำไรสทุ ธิ จำนวน ๑ แห่ง
2. สหกรณท์ ่มี ีผลการดำเนนิ งาน ขาดทุนสุทธิ จำนวน แหง่ กลุม่ เกษตรกรขาดทนุ สทุ ธิ จำนวน ๑ แหง่
3. สหกรณท์ ีอ่ ย่ใู นสถานะหยุดดำเนนิ งาน จำนวน - แหง่ กลุม่ เกษตรกรทีอ่ ยู่ในสถานะหยดุ ดำเนินงาน
จำนวน - แหง่
4. สหกรณ์ทอ่ี ยใู่ นสถานะชำระบญั ชี จำนวน 1 แหง่ กลุ่มเกษตรกรทอี่ ยู่ในสถานะชำระบญั ชี จำนวน
1 แหง่
ดา้ นข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อสังเกต
ของผสู้ อบบัญชี แยกเป็นประเด็นหลกั ๆ ดังนี้
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 116
1. กรณีการถอื เงนิ สดเกินกว่าทร่ี ะเบยี บกำหนด ได้แนะนำให้สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ถอื ปฏบิ ัตติ าม
ระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินสดโดยเคร่งครัด หากระเบียบท่ีกำหนดข้ึนถือใช้น้ันไม่สอดคล้องกับการ
ดำเนนิ งานในปัจจุบนั ใหพ้ จิ ารณากำหนดระเบียบขึน้ ถือใช้ใหม่เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับฐานะกจิ การของตน
2. กรณีผู้ตรวจสอบกจิ การไมป่ ฏิบัติหนา้ ที่ตามข้อบังคับ ไดแ้ นะนำใหผ้ ู้ตรวจสอบกจิ การทราบบทบาท
หน้าท่ีและถือปฏิบัติ โดยการเข้าตรวจสอบกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงาน
ผลการตรวจสอบให้ที่ประชุมคณะกรรมการทราบทกุ เดือน กรณีท่ีผู้ตรวจสอบกจิ การไม่สามารถเข้าร่วมประชุม
ได้ ใหส้ รปุ ผลการตรวจการแจ้งทปี่ ระชมุ ทราบ
3. กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร มีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และให้ผู้มีอำนาจ
ลงนาม ลงนามใหค้ รบถ้วน เนือ่ งจากเปน็ เอกสารสำคัญท่มี ีภาระผูกพนั ตามกฎหมาย
4. กรณีการรบั ฝากเงินจากบุคคลภายนอก ไดแ้ นะนำใหส้ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏบิ ัติตามระเบียบว่า
ด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกโดยเคร่งครัด และให้บุคคลภายนอกท่ีมีคุณสมบัติครบถ้วนมาสมัครเป็นสมาชิก
เพือ่ ให้ถกู ตอ้ งตามข้อบงั คบั และสามารถร่วมดำเนนิ ธุรกิจกับสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรได้
5. กรณีการกำหนดแผนงาน งบประมาณ ไม่ครอบคลุมการดำเนินธุรกิจ และการใช้จ่ายงบประมาณ
บางแผนงานสูงกวา่ ทีก่ ำหนดไว้ ไดแ้ นะนำให้สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร วางแผนการดำเนินงานให้รอบคอบ รัดกุม
และครอบคลุมการดำเนินงานในทุกธุรกิจรวมถึงประมาณการรายจ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน เพ่ือให้
สามารถกำหนดแผนการปฏิบัติงานประจำปีให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง รวมถึงการปฏิบัติงานตาม
แผนงาน งบประมาณโดยเครง่ ครดั
6. กรณีการปฏิบัติท่ีไม่เป็นไปตามหลักการควบคุมภายในที่ดี เช่น ผู้จัดทำบัญชีเป็นบุคคลเดียวกันกับ
ผู้เก็บรักษาเงินสด ได้แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบ่งแยกหน้าที่การมอบหมายงานให้ชัดเจน ตามหลักการ
ควบคุมภายในท่ีดี และให้คณะกรรมการมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ได้รับมอบหมายเป็นประจำและ
ต่อเน่ือง
ดา้ นขอ้ บกพร่อง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ไม่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีข้อบกพร่องในการดำเนินงานแต่ได้
ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ท่ีเกิดข้ึนก่อนการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ จำนวน
๑ แหง่ (๒๕%)
ดา้ นการปดิ บญั ชภี ายใน 30 วัน
การปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันที่ 1
ตลุ าคม 25๖๑ถงึ วันท่ี 30 กันยายน 256๑โดยท่ีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่จี ัดทำงบการเงินแล้วเสร็จและส่งให้
ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชี จำนวน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 75 โดยมี
รายละเอียดดงั น้ี
1) สหกรณ์ จำนวน ๔ แหง่
1.1) ปดิ บญั ชไี ดภ้ ายใน 30 วนั ฯ จำนวน 4 แห่ง (๑๐0%)
1.2) หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน - แหง่
1.3) เลกิ สหกรณ์ จำนวน - แหง่
2) กลุม่ เกษตรกร จำนวน 3 แห่ง
2.1) ปิดบัญชไี ดภ้ ายใน 30 วันฯ จำนวน 2 แหง่ (66.67%)
2.2) หยดุ ดำเนินงาน จำนวน - แห่ง
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 117
2.3) เลิกกลมุ่ ฯ จำนวน 1 แหง่ (33.33%)
ดา้ นมาตรฐานสหกรณ์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ มีสหกรณ์นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 4 แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน
จำนวน - แหง่ กลุม่ เกษตรกรนำมาจดั มาตรฐาน จำนวน 2 แหง่ ไม่นำมาจัดมาตรฐาน 1 แหง่ ดังนี้
สหกรณท์ ผ่ี า่ นเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน 4 แหง่ (100%)
สหกรณ์ทไ่ี ม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน - แห่ง
กลุ่มเกษตรกรทผ่ี า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๑ แห่ง (๕0%)
กลุม่ เกษตรกรที่ไม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน ๑ แหง่ (๕0%)
⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ มีปญั หา/อุปสรรคท่ีสำคัญ ในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
ดังน้ี
1. ดา้ นบุคคลากร
1.1 สมาชกิ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความรู้เกี่ยวกบั สหกรณ์ สิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องตน ไม่คำนงึ ถงึ
ผลประโยชน์สว่ นรวม ขาดความเสยี สละ ไม่ศรัทธาตอ่ องค์กร
1.2 คณะกรรมการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื ง ความรเู้ กยี่ วกับสหกรณ์ บทบาทหน้าท่ีของตน ระเบยี บ
ขอ้ บังคับและหลักการบริหารงานองค์กร
ขาดความซื่อสัตย์สุจรติ มีการแสวงหาผลประโยชน์จากตำแหนง่
ขาดความสนใจ ไม่กระตือรือร้นในการปฏบิ ัตหิ น้าที่
1.3 ฝา่ ยจดั การ
ขาดความรู้ความเขา้ ใจในเร่ือง ความร้เู กย่ี วกับสหกรณ์ ระเบยี บขอ้ บังคับ ความเชย่ี วชาญใน
งาน ไมศ่ ึกษาหาความรเู้ พ่ิมเติม
ขาดความใส่ใจ ไม่กระตือรือร้นในการปฏบิ ัติงาน
เจ้าหนา้ ทีท่ ่ีปฏบิ ตั งิ าน ส่วนหน่งึ มาจากระบบอปุ ถมั ภ์ ทำให้เกิดปญั หาการบรหิ ารจดั การ ไม่
สามารถสง่ั การได้ตามข้ันตอนการดำเนนิ งานปกติ
วุฒกิ ารศึกษาของเจ้าหนา้ ที่ไม่ตรงกบั หน้าที่ท่ปี ฏิบตั ิ สง่ ผลใหบ้ คุ คลากรมีความรคู้ วามสามารถ
ไมต่ รงตามความต้องการ อาจทำให้เกดิ ความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน
1.4 ผู้ตรวจสอบกิจการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื ง ความรู้เก่ียวกบั สหกรณ์ บทบาทหนา้ ที่ของตน ระเบยี บ
ขอ้ บังคับ
ไม่เข้ารว่ มประชมุ ไมป่ ฏบิ ัติหน้าท่โี ดยเคร่งครดั และไม่จดั ทำรายงานผลการตรวจสอบกจิ การ
เสนอทปี่ ระชมุ ฯ
2. ด้านการบริหารจัดการ
การบรหิ ารงานไม่เป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาลและขาดการควบคมุ ภายในการบริหารจัดการองคก์ ร
ทด่ี ี ส่งผลใหก้ ารดำเนนิ งานไม่โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได้ยาก มโี อกาสเสี่ยงทจ่ี ะเกดิ การทจุ ริตในองคก์ ร
การไมป่ ฏิบัติหน้าทีต่ ามบทบาท หนา้ ทีข่ องตน ทัง้ คณะกรรมการและฝ่ายจดั การ
3. ดา้ นอน่ื ๆ
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 118
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร มีการกำหนดระเบยี บขอ้ บงั คับขนึ้ ถือใชต้ ามกรอบของกรมสง่ เสริมสหกรณ์
แตไ่ ม่มกี ารปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกบั การดำเนินงานของแตล่ ะองค์กร และละเลย ไม่ปฏบิ ตั ิตามขอ้ กำหนด
ในระเบียบ ข้อบังคับทม่ี ีอยู่ มีการดำเนนิ งานนอกกรอบวัตถุประสงค์
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา
กำกับแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอย่างใกล้ชิด แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง และใช้หลักการควบคุมภายในที่ดี หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์กร เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีการติดตามผลการดำเนินงานในการประชุม
คณะกรรมการทกุ ครัง้ โดยแนะนำสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ดงั น้ี
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานประจำปีที่ได้รับอนุมัติจากที่
ประชุมใหญ่ ท้งั แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนประมาณการรายจา่ ย
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กระจายแผนปฏิบัติงานประจำปีเป็นรายเดือน มีการมอบหมาย
ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน มีผูร้ ับผิดชอบในการติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน
- แนะนำให้คณะกรรมการมีการติดตามผลการปฏิบัติงานรายเดือน งบทดลอง รายการรับ-จ่าย
ประจำเดือน ในทปี่ ระชมุ ทุกคร้งั
- แนะนำให้คณะกรรมการให้มีการพิจารณาผลการดำเนินงานในแต่ละธุรกิจ เพื่อรับทราบปัญหา/
อุปสรรค และหาทางแกไ้ ข
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแก่น ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณ์เครดติ ยเู นย่ี นหนองสองหอ้ ง จำกัด
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองสองห้อง จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์เครดิตยูเน่ียน มีสมาชิก
สหกรณ์ ณ 30 มิถุนายน 256๑ จำนวน 2,361 ราย ดำเนินธุรกิจ 5 ประเภท ได้แก่ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจ
รับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิตและแปรรูป ธุรกิจบริการ โดยธุรกิจหลักของ
สหกรณ์ คอื ธรุ กจิ สินเชอื่ ผลผลิตการเกษตรหลกั ของสหกรณ์ คือ “ขา้ ว”
สหกรณม์ ีบทบาทในการขับเคล่ือนงานตามนโยบายของรฐั โดยส่งเสรมิ การดำเนินงาน โครงการพัฒนา
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) จัดวิทยากรให้ความรู้แก่สมาชิกในด้านสหกรณ์
เปน็ แนวทางใหส้ มาชิก ศพก. จัดตั้งกลมุ่ ฯเพ่อื สร้างความเข้มแข็งตอ่ ไป
ปัจจัยแห่งความสำเรจ็ (เพอื่ เปน็ กรณีศกึ ษาตัวอยา่ งทดี่ หี รือแนวทางในการส่งเสรมิ )
สหกรณ์เครดิตยูเน่ียนหนองสองห้อง จำกัด เป็นสหกรณ์ท่ีมีฝ่ายบริหารท่ีมีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีฝ่าย
จัดการท่ีมีศักยภาพและมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีสมาชิกสหกรณ์ที่ประกอบอาชีพทำนาเป็น
อาชีพหลัก จึงมีแนวทางในการส่งเสริม พัฒนาและบริหารจดั การผลผลิตทางการเกษตร (ข้าว) ของสมาชิกให้มี
คุณภาพ โดยการรวบรวมและแปรรูปผลผลิตจากผลิต (ข้าว) ของสมาชิก ซ่ึงสหกรณ์ยังได้มีการพัฒนาอาชีพ
พฒั นามาตรฐานผลผลิตทางการเกษตร “ข้าว” ของสหกรณ์สู่มาตรฐานอินทรยี ์ โดยได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ข้าวสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และเป็นสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการรูปแบบบริหาร
จัดการข้าวปลอดสารเคมีแบบแม่นยำสูงและครบวงจร ร่วมกับสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 119
สหกรณไ์ ดเ้ ขา้ ร่วมโครงการส่งเสริมการปลกู งาดำหลงั นาร่วมกับศนู ย์เรียนรแู้ ละพฒั นาเขา้ อุตสาหกรรม
ครัวเรือนแบบยั่งยืน กบั มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี และภาควชิ าพืชไร่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อีกด้วย
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 120
อำเภอแวงน้อย
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 7 แห่ง สมาชกิ ๓,๗๙๒ คน กล่มุ เกษตรกร ๖ แหง่ สมาชิก ๓๖๘ คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 6 ได้เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสรมิ สหกรณ์
(CPS) ตามประเดน็ ตา่ งๆ โดยสรปุ ผลการดำเนนิ งานได้ ดังน้ี
ดา้ นระเบยี บข้อบงั คบั
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคับให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของสหกรณ์ ตลอดจนการกำหนดระเบียบขึ้นใช้ใหม่ เน่ืองจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมิได้กำหนด
ระเบียบขึ้นถือใช้ให้ครอบคลุมการดำเนินงาน จึงควรมีการปรับเปล่ียนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
และสอดคล้องการสถานการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงค์ให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกรอบการปฏิบัติท่ีชัดเจน เป็นไปตามกฎหมายและส่งผลให้การดำเนินงานเป็นไป
ด้วยความยตุ ธิ รรม
ท้ังน้ี ในปงี บประมาณ พ.ศ. 256๑ไดแ้ นะนำสง่ เสรมิ ใหส้ หกรณแ์ กไ้ ขข้อบงั คับ จำนวน 1 แห่ง และ
กลุ่มเกษตรกร จำนวน - แห่ง
ดา้ นการบรหิ ารเงนิ ทุน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนเงนิ ทุนในการดำเนินงาน
จากแหลง่ ทนุ ภายนอกอืน่ ๆ และจากแหลง่ เงินทนุ ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ดังน้ี
1. สหกรณ์ ไม่ได้กู้เงินจากแหล่งทุนภายนอกอ่ืนๆ และกรมส่งเสริมสหกรณ์ เนื่องจากมีเงินทุน
หมุนเวียนเพียงพอจากการกู้เงินจากธนาคารรฐั วิสาหกจิ ท่รี ฐั บาลสนับสนุนเงินทุนให้สหกรณ์กู้
2. กลุ่มเกษตรกร มีกลุ่มเกษตรกรที่ขอรับการสนับสนุนสินเชื่อจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพอ่ื พฒั นากลุ่มเกษตรกร จำนวน ๒แหง่ (๓๓.๓๓%) โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ให้สมาชิก
กู้ไปประกอบอาชีพทำนาของสมาชิก
ดา้ นการบรหิ ารธุรกจิ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ มีการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ด้านต่างๆ ประกอบด้วย ธุรกิจเงินรับฝาก จำนวน 1 แห่ง ธุรกิจสินเช่ือ จำนวน 3 แห่ง ธุรกิจจัดหาสินค้า/
อปุ กรณ์มาจำหน่าย จำนวน 1 แห่ง ธุรกิจรวบรวมฯ จำนวน - แห่ง และธรุ กิจใหบ้ รกิ าร/อ่ืนๆ จำนวน 1 แห่ง
ด้านผลการดำเนนิ งาน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 256๑แนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ให้ไดร้ ับการตรวจสอบและ
รับรองงบการเงนิ จากผู้สอบบัญชีสหกรณ์ จำนวน 1๓ แห่ง มีผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้
1. สหกรณท์ ผ่ี ลการดำเนินงาน มีกำไรสุทธิ จำนวน 1 แห่ง กลมุ่ เกษตรกรมีกำไรสุทธิ จำนวน 2 แห่ง
2. สหกรณท์ มี่ ผี ลการดำเนินงาน ขาดทุนสทุ ธิ จำนวน –แหง่ กลมุ่ เกษตรกรขาดทนุ สุทธิ จำนวน - แห่ง
3. สหกรณ์ที่อยู่ในสถานะหยุดดำเนินงาน จำนวน ๔ แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะหยุด
ดำเนินงาน จำนวน ๓ แหง่
4. สหกรณท์ ่ีอยูใ่ นสถานะชำระบัญชี จำนวน 2 แห่ง กลุม่ เกษตรกรท่ีอยู่ในสถานะชำระบัญชี จำนวน
๑ แห่ง
ด้านข้อสงั เกตของผู้สอบบญั ชี
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อสังเกต
ของผสู้ อบบญั ชี แยกเป็นประเด็นหลักๆ ดังน้ี
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 121
1. กรณีการถือเงนิ สดเกินกว่าที่ระเบยี บกำหนด ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ถือปฏบิ ัตติ าม
ระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินสดโดยเคร่งครัด หากระเบียบที่กำหนดขึ้นถือใช้นั้นไม่สอดคล้องกับการ
ดำเนินงานในปัจจบุ นั ใหพ้ ิจารณากำหนดระเบียบข้ึนถอื ใชใ้ หมเ่ พื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั ฐานะกิจการของตน
2. กรณีผู้ตรวจสอบกิจการไมป่ ฏิบตั ิหน้าท่ีตามข้อบงั คับ ได้แนะนำให้ผู้ตรวจสอบกจิ การทราบบทบาท
หน้าที่และถือปฏิบัติ โดยการเข้าตรวจสอบกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงาน
ผลการตรวจสอบให้ท่ีประชุมคณะกรรมการทราบทุกเดือน กรณที ่ีผู้ตรวจสอบกจิ การไม่สามารถเข้าร่วมประชุม
ได้ ให้สรุปผลการตรวจการแจ้งทปี่ ระชุมทราบ
3. กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกร มีการตรวจสอบการจดั ทำรายละเอียดในสัญญาเงินกูใ้ หค้ รบถ้วน ถูกต้อง และใหผ้ ูม้ ีอำนาจลงนาม ลง
นามใหค้ รบถว้ น เนอื่ งจากเปน็ เอกสารสำคัญทม่ี ีภาระผูกพนั ตามกฎหมาย
4. กรณีการรบั ฝากเงินจากบุคคลภายนอก ไดแ้ นะนำให้สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ปฏิบัตติ ามระเบยี บว่า
ด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกโดยเคร่งครัด และให้บุคคลภายนอกท่ีมีคุณสมบัติครบถ้วนมาสมัครเป็นสมาชิก
เพ่ือให้ถูกตอ้ งตามขอ้ บังคับและสามารถรว่ มดำเนินธรุ กิจกับสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรได้
5. กรณีการกำหนดแผนงาน งบประมาณ ไม่ครอบคลุมการดำเนินธุรกิจ และการใช้จ่ายงบประมาณ
บางแผนงานสูงกว่าที่กำหนดไว้ ได้แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วางแผนการดำเนินงานใหร้ อบคอบ รดั กุม
และครอบคลุมการดำเนินงานในทุกธุรกิจรวมถึงประมาณการรายจ่ายท่ีอาจเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน เพ่ือให้
สามารถกำหนดแผนการปฏิบัติงานประจำปีให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง รวมถึงการปฏิบัติงานตาม
แผนงาน งบประมาณโดยเครง่ ครดั
6. กรณีการปฏิบตั ทิ ี่ไม่เปน็ ไปตามหลักการควบคุมภายในทดี่ ี เช่น ผู้จัดทำบัญชเี ป็นบคุ คลเดยี วกันกับผู้
เก็บรักษาเงินสด ได้แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบ่งแยกหน้าที่การมอบหมายงานให้ชัดเจน ตามหลักการ
ควบคุมภายในท่ีดี และให้คณะกรรมการมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ได้รับมอบหมายเป็นประจำและ
ตอ่ เนื่อง
ด้านขอ้ บกพรอ่ ง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ไม่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีข้อบกพรอ่ งในการดำเนินงานแต่ได้ดำเนินการ
แก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ที่เกิดข้ึนก่อนการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ จำนวน ๑ แห่ง
(๑๔.๒๘%)
ดา้ นการปดิ บญั ชีภายใน 30 วนั
การปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันท่ี
1 ตุลาคม 25๖๐ ถึงวันที่ 30 กันยายน 256๑ โดยท่ีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีจัดทำงบการเงินแล้วเสร็จและ
ส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี จำนวน ๓ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๐๗
โดยมีรายละเอียดดงั นี้
1) สหกรณ์ จำนวน 7 แหง่
1.1) ปดิ บัญชไี ด้ภายใน 30 วันฯ จำนวน 1 แหง่ (๓๒.๗๑%)
1.2) หยดุ ดำเนินงาน จำนวน 4 แหง่ (57.14%)
1.3) เลกิ สหกรณ์ จำนวน 2 แหง่ (28.57%)
2) กลมุ่ เกษตรกร จำนวน ๖ แหง่
2.1) ปิดบญั ชไี ด้ภายใน 30 วนั ฯ จำนวน ๒ แหง่ (๓๓.๓๓%)
2.2) หยดุ ดำเนินงาน จำนวน ๓ แหง่ (๕0%)
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 122
2.3) เลิกกลุ่มฯ จำนวน ๑ แหง่ (๑๖.๖๖%)
ด้านมาตรฐานสหกรณ์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ มีสหกรณ์นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 1 แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน
จำนวน 6 แห่ง กลุม่ เกษตรกรนำมาจัดมาตรฐาน จำนวน ๒ แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน ๔ แห่ง ดังนี้
สหกรณท์ ี่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แหง่ (100%)
สหกรณ์ทไี่ ม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน - แห่ง
กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง (๑๐๐0%)
กลุ่มเกษตรกรท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แหง่
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑มปี ญั หา/อปุ สรรคทสี่ ำคัญ ในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
ดงั นี้
1. ดา้ นบคุ คลากร
1.1 สมาชิก
ขาดความรู้ความเขา้ ใจในเรอื่ ง ความรเู้ กี่ยวกบั สหกรณ์ สิทธิและหน้าท่ขี องตน ไม่คำนึงถึง
ผลประโยชน์สว่ นรวม ขาดความเสยี สละ ไม่ศรทั ธาต่อองค์กร
1.2 คณะกรรมการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื ง ความรเู้ กี่ยวกับสหกรณ์ บทบาทหน้าท่ีของตน ระเบยี บ
ข้อบังคบั และหลักการบรหิ ารงานองค์กร
ขาดความซ่ือสัตยส์ จุ ริต มกี ารแสวงหาผลประโยชน์จากตำแหน่ง
ขาดความสนใจ ไมก่ ระตือรอื ร้นในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี
1.3 ฝ่ายจัดการ
ขาดความรู้ความเขา้ ใจในเรอ่ื ง ความรู้เก่ยี วกับสหกรณ์ ระเบยี บข้อบงั คับ ความเชี่ยวชาญใน
งาน ไม่ศึกษาหาความรูเ้ พมิ่ เติม
ขาดความใส่ใจ ไม่กระตือรอื ร้นในการปฏบิ ัตงิ าน
เจ้าหน้าทีท่ ีป่ ฏิบัติงาน ส่วนหนึง่ มาจากระบบอปุ ถัมภ์ ทำใหเ้ กดิ ปัญหาการบรหิ ารจดั การ ไม่
สามารถสงั่ การได้ตามข้ันตอนการดำเนนิ งานปกติ
วุฒกิ ารศกึ ษาของเจา้ หน้าที่ไม่ตรงกบั หน้าที่ที่ปฏิบตั ิ ส่งผลให้บคุ คลากรมีความรู้ความสามารถ
ไมต่ รงตามความต้องการ อาจทำใหเ้ กิดความผิดพลาดในการปฏิบตั ิงาน
1.4 ผตู้ รวจสอบกิจการ
ขาดความรู้ความเขา้ ใจในเรือ่ ง ความรูเ้ กย่ี วกบั สหกรณ์ บทบาทหน้าทข่ี องตน ระเบียบ
ขอ้ บังคับ
ไม่เข้าร่วมประชุม ไมป่ ฏบิ ตั ิหนา้ ทโ่ี ดยเคร่งครดั และไม่จดั ทำรายงานผลการตรวจสอบกิจการ
เสนอทีป่ ระชุมฯ
2. ด้านการบริหารจัดการ
การบรหิ ารงานไมเ่ ป็นไปตามหลักธรรมภิบาลและขาดการควบคุมภายในการบรหิ ารจัดการองค์กรท่ี
ดี ส่งผลใหก้ ารดำเนินงานไมโ่ ปรง่ ใส สามารถตรวจสอบไดย้ ากมโี อกาสเส่ยี งทจ่ี ะเกิดการทุจริตในองค์กร
การไม่ปฏิบัตหิ น้าทีต่ ามบทบาท หนา้ ทีข่ องตน ท้ังคณะกรรมการและฝา่ ยจัดการ
3. ดา้ นอื่นๆ
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 123
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับข้ึนถือใช้ตามกรอบของกรมส่งเสริมสหกรณ์
แต่ไม่มีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของแต่ละองค์กร และละเลย ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนด
ในระเบียบ ข้อบงั คับทมี่ อี ยู่ มีการดำเนินงานนอกกรอบวัตถุประสงค์
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
กำกับแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอย่างใกล้ชิด แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้อง และใช้หลักการควบคุมภายในที่ดี หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์กร เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีการติดตามผลการดำเนินงานในการประชุม
คณะกรรมการทุกคร้งั โดยแนะนำสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ดงั น้ี
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานประจำปีที่ได้รับอนุมัติจากที่
ประชุมใหญ่ ทัง้ แผนปฏบิ ัติงานและแผนประมาณการรายจ่าย
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กระจายแผนปฏิบัติงานประจำปีเป็นรายเดือน มีการมอบหมาย
ผปู้ ฏิบัติงาน มีผู้รบั ผดิ ชอบในการติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน
- แนะนำให้คณะกรรมการมีการติดตามผลการปฏิบัติงานรายเดือน งบทดลอง รายการรับ -จ่าย
ประจำเดอื น ในทปี่ ระชุมทุกครงั้
- แนะนำให้คณะกรรมการให้มีการพิจารณาผลการดำเนินงานในแต่ละธุรกิจ เพ่ือรับทราบปัญหา/
อปุ สรรค และหาทางแก้ไข
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแกน่ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณ์การเกษตรแวงนอ้ ย จำกัด
สหกรณ์การเกษตรแวงน้อย จำกัด เปน็ สหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเปน็ สหกรณ์หลักระดับ
อำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 256๑ จำนวน 2,๓๕1 ราย ดำเนินธุรกิจ 4 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจ
สินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจบริการ โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจ
สนิ เชื่อ ผลผลติ การเกษตรหลักของสหกรณ์ คอื “ขา้ ว”
ผลการดำเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ คือ การส่งเสริมการระดมทุนภายในของสหกรณ์ และการมี
บทบาทในการขบั เคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ สหกรณ์สง่ เสริมการดำเนินงานตามโครงการพฒั นาศนู ย์เรยี นรู้
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) โดยจัดวิทยากรให้ความรู้แก่สมาชิกในด้านสหกรณ์
เป็นแนวทางให้สมาชิก ศพก. จดั ตัง้ กลุ่มฯเพ่อื สร้างความเขม้ แขง็ ต่อไป
ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ (เพ่อื เป็นกรณศี กึ ษาตวั อยา่ งท่ดี ีหรือแนวทางในการส่งเสรมิ )
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นท่ีพ่ึงที่
ปรึกษาได้
2. เจา้ หนา้ ท่ีส่งเสรมิ สหกรณเ์ ข้ารว่ มประชมุ คณะกรรรมการดำเนินงานเป็นประจำ
3. เจา้ หนา้ ทสี่ ง่ เสริมสหกรณ์รว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร
5. เจา้ หน้าที่ส่งเสริมสหกรณต์ รวจสอบ ตรวจเย่ียม การดำเนนิ งานสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรเปน็ ประจำ
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 124
อำเภอแวงใหญ่
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 4 แหง่ สมาชกิ 3,๓๘๓ คน กลุม่ เกษตรกร 6 แห่ง สมาชกิ 1,5๑๔ คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสรมิ สหกรณ์ (CPS)
กลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 6 ได้เข้าแนะนำส่งเสรมิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรตามระบบการส่งเสรมิ สหกรณ์
(CPS) ตามประเด็นต่างๆ โดยสรปุ ผลการดำเนนิ งานได้ ดงั น้ี
ดา้ นระเบียบขอ้ บังคับ
ในปีงบประมาณ พ.ศ.25๖๑ ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคับให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของสหกรณ์ ตลอดจนการกำหนดระเบียบขึ้นใช้ใหม่ เนื่องจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมิได้กำหนด
ระเบียบข้ึนถือใช้ให้ครอบคลุมการดำเนินงาน จึงควรมีการปรับเปลี่ยนเพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
และสอดคล้องการสถานการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงค์ให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกรอบการปฏิบัติท่ีชัดเจน เป็นไปตามกฎหมายและส่งผลให้การดำเนินงานเป็นไป
ดว้ ยความยตุ ิธรรม
ท้งั น้ี ในปงี บประมาณ พ.ศ.256๑ ได้แนะนำส่งเสรมิ ใหส้ หกรณ์แกไ้ ขข้อบังคับ จำนวน ๑ แห่ง และ
กลมุ่ เกษตรกร จำนวน - แหง่
ดา้ นการบริหารเงนิ ทนุ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนบั สนุนเงนิ ทุนในการดำเนินงาน
จากแหลง่ ทุนภายนอกอ่ืนๆ และจากแหล่งเงินทนุ ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ดงั นี้
1.สหกรณ์ ไม่ได้กู้เงินจากแหล่งทุนภายนอกอ่ืนๆ และกรมส่งเสริมสหกรณ์ เน่ืองจากมีเงินทุน
หมนุ เวียนเพยี งพอจากการกเู้ งนิ จากธนาคารรัฐวิสาหกจิ ทรี่ ฐั บาลสนับสนุนเงนิ ทนุ ให้สหกรณ์กู้
2. กลุ่มเกษตรกร มีกลุ่มเกษตรกรท่ีขอรับการสนับสนุนสินเช่ือจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการสนับสนุนสินเช่ือเพ่ือพัฒนากลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 แห่ง (16.67%) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริม
การผลติ ข้าวของสมาชิก
ดา้ นการบริหารธุรกจิ
ในปีงบประมาณ พ.ศ.256๑ มีการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ด้านต่างๆ ประกอบด้วย ธุรกิจเงินรับฝาก จำนวน 2 แห่ง ธุรกิจสินเชื่อ จำนวน 7 แห่ง ธุรกิจจัดหาสินค้า/
อปุ กรณ์มาจำหนา่ ย จำนวน 2 แห่ง ธุรกิจรวบรวมฯ จำนวน ๑ แหง่ และธุรกจิ ใหบ้ รกิ าร/อนื่ ๆ จำนวน ๓ แห่ง
ดา้ นผลการดำเนนิ งาน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 256๑แนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร ใหไ้ ดร้ บั การตรวจสอบและ
รับรองงบการเงนิ จากผู้สอบบัญชสี หกรณ์ จำนวน ๙ แหง่ มีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี
1. สหกรณท์ ่ีผลการดำเนนิ งาน มกี ำไรสทุ ธิ จำนวน 3 แห่ง กลุม่ เกษตรกรมีกำไรสุทธิ จำนวน 5 แห่ง
2. สหกรณ์ทม่ี ีผลการดำเนนิ งานขาดทุนสุทธิ จำนวน –แหง่ กลมุ่ เกษตรกรขาดทนุ สุทธิ จำนวน 1 แห่ง
3. สหกรณท์ อี่ ยู่ในสถานะหยุดดำเนินงาน จำนวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะหยดุ ดำเนินงาน
จำนวน ๑ แห่ง
4. สหกรณ์ทอ่ี ยู่ในสถานะชำระบัญชี จำนวน ๑ แห่ง กล่มุ เกษตรกรทีอ่ ยู่ในสถานะชำระบัญชี จำนวน -
แหง่
ด้านขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อสังเกต
ของผูส้ อบบญั ชี แยกเปน็ ประเดน็ หลกั ๆ ดงั นี้
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 125
1. กรณีการถือเงินสดเกินกว่าท่ีระเบียบกำหนด ไดแ้ นะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ถอื ปฏบิ ัตติ าม
ระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินสดโดยเคร่งครัด หากระเบียบที่กำหนดข้ึนถือใช้นั้นไม่สอดคล้องกับการ
ดำเนนิ งานในปจั จุบนั ให้พิจารณากำหนดระเบียบขนึ้ ถือใชใ้ หมเ่ พื่อให้สอดคลอ้ งกับฐานะกจิ การของตน
2. กรณีผู้ตรวจสอบกิจการไม่ปฏิบัติหน้าท่ีตามข้อบงั คบั ไดแ้ นะนำใหผ้ ู้ตรวจสอบกิจการทราบบทบาท
หน้าที่และถือปฏิบัติ โดยการเข้าตรวจสอบกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงาน
ผลการตรวจสอบให้ทีป่ ระชุมคณะกรรมการทราบทกุ เดือน กรณที ี่ผู้ตรวจสอบกจิ การไม่สามารถเข้าร่วมประชุม
ได้ ให้สรุปผลการตรวจการแจ้งท่ีประชุมทราบ
3. กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร มีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และให้ผู้มีอำนาจ
ลงนาม ลงนามให้ครบถ้วน เน่ืองจากเปน็ เอกสารสำคัญทีม่ ภี าระผกู พันตามกฎหมาย
4. กรณีการรบั ฝากเงินจากบุคคลภายนอก ได้แนะนำใหส้ หกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ปฏิบัตติ ามระเบียบว่า
ด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกโดยเคร่งครัด และให้บุคคลภายนอกท่ีมีคุณสมบัติครบถ้วนมาสมัครเป็นสมาชิก
เพ่ือให้ถูกตอ้ งตามข้อบงั คบั และสามารถรว่ มดำเนินธุรกจิ กบั สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรได้
5. กรณีการกำหนดแผนงาน งบประมาณ ไม่ครอบคลุมการดำเนินธุรกิจ และการใช้จ่ายงบประมาณ
บางแผนงานสูงกวา่ ท่กี ำหนดไว้ ได้แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วางแผนการดำเนนิ งานใหร้ อบคอบ รดั กุม
และครอบคลุมการดำเนินงานในทุกธุรกิจรวมถึงประมาณการรายจ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน เพ่ือให้
สามารถกำหนดแผนการปฏิบัติงานประจำปีให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง รวมถึงการปฏิบัติงานตาม
แผนงาน งบประมาณโดยเครง่ ครดั
6. กรณีการปฏิบตั ทิ ีไ่ ม่เปน็ ไปตามหลักการควบคุมภายในทีด่ ี เช่น ผ้จู ัดทำบญั ชีเปน็ บคุ คลเดียวกันกบั ผู้
เก็บรักษาเงินสด ได้แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบ่งแยกหน้าที่การมอบหมายงานให้ชัดเจน ตามหลักการ
ควบคุมภายในท่ีดี และให้คณะกรรมการมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ได้รับมอบหมายเป็นประจำและ
ตอ่ เนอ่ื ง
ดา้ นขอ้ บกพร่อง
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ไมม่ ีสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรท่ีมีข้อบกพร่องในการดำเนินงาน
ด้านการปดิ บัญชภี ายใน 30 วัน
การปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันที่
1 ตุลาคม 25๖๐ ถึงวันท่ี 30 กันยายน 256๑ โดยท่ีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีจัดทำงบการเงินแล้วเสร็จและ
ส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี จำนวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 90 โดยมี
รายละเอยี ดดงั นี้
1) สหกรณ์ จำนวน ๔ แห่ง
1.1) ปดิ บญั ชไี ดภ้ ายใน 30 วนั ฯ จำนวน 3 แหง่ (75%)
1.2) หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน - แหง่
1.3) เลิกสหกรณ์ จำนวน ๑ แหง่ (๒๕%)
2) กลุม่ เกษตรกร จำนวน 6 แหง่
2.1) ปิดบัญชไี ดภ้ ายใน 30 วนั ฯ จำนวน 6 แหง่ (100%)
2.2) หยุดดำเนนิ งาน จำนวน - แห่ง
2.3) เลิกกลมุ่ ฯ จำนวน - แห่ง
ดา้ นมาตรฐานสหกรณ์
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 126
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑มีสหกรณ์นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน
จำนวน 1 แห่ง กลมุ่ เกษตรกรนำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 6 แหง่ ไม่นำมาจัดมาตรฐาน - แห่ง ดงั น้ี
สหกรณ์ท่ผี า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๓ แหง่ (๑๐๐%)
สหกรณท์ ่ไี ม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน - แห่ง
กลุม่ เกษตรกรทผ่ี า่ นเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน 5 แห่ง (83%)
กล่มุ เกษตรกรท่ีไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แหง่ (17%)
⚫ ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑มปี ัญหา/อุปสรรคที่สำคัญ ในการดำเนนิ งานของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
ดงั นี้
1. ดา้ นบคุ คลากร
1.1 สมาชกิ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเรือ่ ง ความรู้เกยี่ วกับสหกรณ์ สทิ ธแิ ละหนา้ ทีข่ องตน ไม่คำนึงถึง
ผลประโยชนส์ ่วนรวม ขาดความเสียสละ ไม่ศรัทธาตอ่ องค์กร
1.2 คณะกรรมการ
ขาดความรู้ความเขา้ ใจในเรอื่ ง ความรู้เกี่ยวกบั สหกรณ์ บทบาทหนา้ ท่ขี องตน ระเบยี บ
ขอ้ บังคบั และหลักการบรหิ ารงานองค์กร
ขาดความซื่อสัตยส์ จุ ริต มกี ารแสวงหาผลประโยชนจ์ ากตำแหนง่
ขาดความสนใจ ไม่กระตือรือร้นในการปฏิบัติหนา้ ที่
1.3 ฝา่ ยจัดการ
ขาดความรู้ความเขา้ ใจในเรอื่ ง ความร้เู ก่ยี วกบั สหกรณ์ ระเบียบข้อบังคับ ความเชีย่ วชาญใน
งาน ไม่ศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติม
ขาดความใส่ใจ ไม่กระตือรอื ร้นในการปฏิบัตงิ าน
เจ้าหน้าทท่ี ีป่ ฏิบัตงิ าน ส่วนหนึ่งมาจากระบบอุปถมั ภ์ ทำให้เกิดปัญหาการบริหารจัดการ ไม่
สามารถสัง่ การได้ตามขนั้ ตอนการดำเนินงานปกติ
วฒุ กิ ารศกึ ษาของเจา้ หนา้ ท่ีไม่ตรงกบั หน้าท่ีท่ีปฏิบตั ิ สง่ ผลใหบ้ ุคคลากรมีความร้คู วามสามารถ
ไมต่ รงตามความตอ้ งการ อาจทำใหเ้ กิดความผดิ พลาดในการปฏิบตั ิงาน
1.4 ผตู้ รวจสอบกิจการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ บทบาทหน้าท่ีของตน ระเบียบ
ขอ้ บังคับ
ไม่เขา้ ร่วมประชมุ ไมป่ ฏิบตั ิหน้าท่ีโดยเคร่งครัด และไมจ่ ัดทำรายงานผลการตรวจสอบกิจการ
เสนอทป่ี ระชุมฯ
2. ดา้ นการบริหารจัดการ
การบริหารงานไม่เป็นไปตามหลักธรรมภิบาลและขาดการควบคุมภายในการบริหารจัดการองค์กร
ทด่ี ี สง่ ผลให้การดำเนนิ งานไม่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ยาก มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกดิ การทจุ ริตในองค์กร
การไมป่ ฏบิ ัตหิ นา้ ทตี่ ามบทบาท หน้าที่ของตน ท้งั คณะกรรมการและฝา่ ยจัดการ
3. ดา้ นอน่ื ๆ
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 127
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร มกี ารกำหนดระเบยี บขอ้ บังคับขึน้ ถือใชต้ ามกรอบของกรมส่งเสริมสหกรณ์
แตไ่ ม่มกี ารปรับปรุงเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับการดำเนินงานของแตล่ ะองคก์ ร และละเลย ไม่ปฏบิ ัตติ ามขอ้ กำหนด
ในระเบียบ ข้อบังคับที่มีอยู่ มีการดำเนนิ งานนอกกรอบวัตถุประสงค์
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา
กำกับแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอย่างใกล้ชิด แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้อง และใช้หลักการควบคุมภายในที่ดี หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์กร เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีการติดตามผลการดำเนินงานในการประชุม
คณะกรรมการทกุ ครงั้ โดยแนะนำสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ดังน้ี
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานประจำปีท่ีได้รับอนุมัติจากท่ี
ประชุมใหญ่ ทัง้ แผนปฏิบตั ิงานและแผนประมาณการรายจา่ ย
- แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กระจายแผนปฏิบัติงานประจำปีเป็นรายเดือน มีการมอบหมาย
ผปู้ ฏิบัติงาน มีผรู้ บั ผดิ ชอบในการติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน
- แนะนำให้คณะกรรมการมีการติดตามผลการปฏิบัติงานรายเดือน งบทดลอง รายการรับ-จ่าย
ประจำเดือน ในที่ประชุมทกุ คร้ัง
- แนะนำให้คณะกรรมการให้มีการพิจารณาผลการดำเนินงานในแต่ละธุรกิจ เพ่ือรับทราบปัญหา/
อปุ สรรค และหาทางแก้ไข
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแกน่ ในปงี บประมาณ พ.ศ.2561
สหกรณก์ ารเกษตรแวงใหญ่ จำกดั
สหกรณ์การเกษตรแวงใหญ่ จำกัด เป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์การเกษตรและเปน็ สหกรณ์หลักระดับ
อำเภอ มีสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 256๑ จำนวน 1,689 ราย ดำเนินธรุ กิจ 5 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจ
สินเช่ือ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจบริการ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต โดยธุรกิจหลักของ
สหกรณ์ คอื ธรุ กิจสินเช่อื ผลผลิตการเกษตรหลกั ของสหกรณ์ คือ “ข้าว”
ผลการดำเนินงานท่ีโดดเด่นของสหกรณ์ คือ การส่งเสริมการระดมทุนภายในของสหกรณ์ และการมี
บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ สหกรณ์ส่งเสริมการดำเนินงานตามโครงการ
พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) โดยจัดวิทยากรให้ความรู้แก่สมาชิกใน
ดา้ นสหกรณ์ เปน็ แนวทางใหส้ มาชิก ศพก. จัดตงั้ กล่มุ ฯเพ่ือสรา้ งความเขม้ แข็งต่อไป
ปจั จยั แห่งความสำเร็จ (เพ่ือเป็นกรณศี ึกษาตวั อยา่ งท่ีดหี รอื แนวทางในการสง่ เสริม)
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นท่ีพึ่งท่ี
ปรึกษาได้
2. เจา้ หนา้ ที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้ารว่ มประชมุ คณะกรรรมการดำเนินงานเปน็ ประจำ
3. เจ้าหน้าทีส่ ง่ เสริมสหกรณ์ร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร
5. เจ้าหน้าทีส่ ่งเสริมสหกรณต์ รวจสอบ ตรวจเยี่ยม การดำเนินงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นประจำ
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 128
นคิ มสหกรณ์ดงมลู (เขตพนื้ ทอ่ี ำเภอกระนวน)
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชกิ 7,711 คน กลมุ่ เกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 265 คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และผู้อำนวยการนิคมสหกรณ์ดงมูล ได้ปฏิบัติงานตามภารกิจหน้าที่ท่ีได้รับ
มอบหมาย และแผนงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ในการเข้าให้คำแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์/
กลมุ่ เกษตรกร รวมท้งั การตรวจการสหกรณต์ ามการคมุ้ ครองระบบสหกรณ์
⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
สมาชิกสหกรณ์ ในสถานะภาพปัจจบุ นั เข้าสังกัดหลายองค์กร ซึง่ ในแต่ละองคก์ รกม็ ีระเบยี บ วิธปี ฏิบตั ิ
ท่ีแตกต่างกัน ทำให้เกิดมีข้อเปรียบเทียบระหว่างกัน ประกอบกับการขับเคล่ือนนโยบายต่างๆ ของภาครัฐ
มีหลากหลายโครงการ ทำให้วิธีการอย่างสหกรณ์สมาชิกอาจมองว่าไม่สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและการ
ดำรงชีพในปจั จุบัน
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
นิคมสหกรณ์ดงมูล จังหวัดขอนแก่น ได้มอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์รับผิดชอบเข้าแนะนำ
ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร คนละ 3 แห่ง ผู้อำนวยการนิคมฯ ทำหน้าท่ีตรวจการสหกรณ์ และเข้าให้
คำแนะนำปรกึ ษาเป็นคร้ังคราว
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ขอนแก่น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
สหกรณ์นิคมดงมูลหน่งึ จำกัด
ผลงาน/ความสำเรจ็ ของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
สหกรณ์ฯ มีปัญหาข้อบกพร่องเก่ียวกับการเงิน การบญั ชีและมีผลการดำเนินงานขาดทนุ ติดต่อกันสอง
ปบี ัญชี (ปีบัญชี 2559 และ 2560 ขาดทุนสะสมจำนวน 2,511,519.35 บาท) สหกรณ์ฯ มีมติให้ผู้จัดการ
ออกและหัวหน้าฝ่ายบัญชี (ภรรยา ผจก.) ขอลาออกด้วย สหกรณ์ฯ ได้นำแผนงานประจำปีทบทวนและ
ปรับปรุงการดำเนินงาน เมื่อสิ้นปีบัญชี 31 มีนาคม 2561 ผลการดำเนินงานมีกำไรสุทธิประจำปี จำนวน
958,371.06 บาท
ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ (เพ่ือเปน็ กรณีศกึ ษาตวั อยา่ งทีด่ หี รือแนวทางในการส่งเสริม)
1. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นที่พึ่งท่ี
ปรกึ ษาได้
2. เจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมสหกรณ์เขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรรมการดำเนนิ งานเปน็ ประจำ
3. เจ้าหนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ สหกรณ์รว่ มกิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร
5. เจา้ หนา้ ที่สง่ เสรมิ สหกรณต์ รวจสอบ ตรวจเยยี่ ม การดำเนินงานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรเปน็ ประจำ
รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 129
สหกรณน์ ิคมดงมูลสอง จำกัด
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์ฯ มีผลการดำเนินงานมีผลกำไรสุทธิประจำปีบัญชีมาโดยตลอด –ปีบัญชีล่าสุด 31 มีนาคม
2561 มีกำไรสทุ ธิจำนวน 3,243,932.87 บาท สหกรณฯ์ จัดสรรเป็นทุนสำรอง รอ้ ยละ 16.47 เปน็ เงินปัน
ผลตามหุ้น ร้อยละ 4 เป็นเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจ (ตามส่วนขายยางก้อนถ้วย ตันละ 120 บาท ตามส่วน
ดอกเบี้ยเงินกู้ ร้อยละ 3 และตามการซ้ือปุ๋ย กระสอบละ 6 บาท) และจัดสรรเป็นทุนสะสมอ่ืนๆ รวมร้อยละ
25.19 ในปี 2559 สหกรณ์ฯ ได้รับอนมุ ัตงิ บประมาณ สร้างโรงงาน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (เพอื่ เป็นกรณศี กึ ษาตัวอยา่ งท่ีดหี รือแนวทางในการสง่ เสริม)
1. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นที่พ่ึงท่ี
ปรกึ ษาได้
2. เจ้าหน้าทส่ี ่งเสริมสหกรณ์เขา้ รว่ มประชุมคณะกรรรมการดำเนนิ งานเปน็ ประจำ
3. เจ้าหนา้ ทสี่ ่งเสรมิ สหกรณร์ ว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร
5. เจ้าหน้าทีส่ ่งเสริมสหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเยย่ี ม การดำเนนิ งานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นประจำ
สหกรณ์โคนมกระนวนสามคั คี จำกดั
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร
สหกรณ์ฯ มีผลการดำเนินงานมีผลกำไรสุทธิประจำปีบัญชีมาโดยตลอด – ปีบัญชีล่าสุด 31 ธันวาคม
2561 มีกำไรสุทธิจำนวน 2,976,609.53 บาท สหกรณ์ฯ จัดสรรเป็นทุนสำรอง ร้อยละ 10.00 เป็นเงิน
ปันผลตามหุ้น ร้อยละ 5 เป็นเงินเฉล่ียคืนตามส่วนธุรกิจ (ร้อยละ 2.40) คิดเป็นร้อยละ 58.38 และจัดสรร
เปน็ ทนุ สะสมอนื่ ๆ รวมร้อยละ 17.25
ปจั จัยแหง่ ความสำเรจ็ (เพ่ือเป็นกรณศี ึกษาตวั อยา่ งทีด่ หี รือแนวทางในการส่งเสรมิ )
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นที่พึ่งที่
ปรกึ ษาได้
2. เจา้ หน้าท่ีสง่ เสรมิ สหกรณเ์ ข้าร่วมประชุมคณะกรรรมการดำเนินงานเป็นประจำ
3. เจา้ หนา้ ท่สี ่งเสริมสหกรณ์รว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กล่มุ เกษตรกร
5. เจา้ หนา้ ทส่ี ่งเสริมสหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเยีย่ ม การดำเนินงานสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรเปน็ ประจำ
สหกรณ์กองทุนสวนยางขอนแก่น จำกดั
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
สหกรณ์ฯ มีผลการดำเนินงานบางปีบัญชีมีผลกำไรสุทธิประจำปี บางบัญชีขาดทุน ซ่ึงโดยรวมสหกรณ์
มีขาดทนุ สะสม จำนวน 1,112,812.12 บาท สหกรณ์ฯ ได้ปรับปรุงแผนงานการรวบรวมยางก้อนถ้วยโดยให้
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561 (Annual Report) | 130
พ่อค้าคนกลางมาประมูลซ้ือ สามารถลดค่าใช้จ่ายของสหกรณ์ เม่ือส้ินปีบัญชี 31 มีนาคม 2561 มีผลการ
ดำเนินงานมกี ำไรสทุ ธปิ ระจำปี จำนวน 240,955.13 บาท นำมาโอนชดเชยขาดทุนสะสม
ปจั จยั แหง่ ความสำเรจ็ (เพอ่ื เป็นกรณศี ึกษาตวั อย่างทดี่ หี รอื แนวทางในการส่งเสรมิ )
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นท่ีพ่ึงท่ี
ปรกึ ษาได้
2. เจ้าหน้าท่สี ง่ เสริมสหกรณ์เข้ารว่ มประชมุ คณะกรรรมการดำเนินงานเป็นประจำ
3. เจา้ หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ สหกรณ์รว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลมุ่ เกษตรกร
5. เจ้าหน้าทีส่ ่งเสรมิ สหกรณ์ตรวจสอบ ตรวจเยยี่ ม การดำเนินงานสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรเป็นประจำ
สหกรณ์แปรรูปผลติ ภัณฑ์ยางพาราขอนแกน่ จำกัด
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร
สหกรณ์ฯ จัดต้ังเม่ือปี พ.ศ. 2559 มีปีทางบัญชีสิ้นสุด 30 มิถุนายน ของทุกปี แต่สหกรณ์ไม่ดำเนิน
ธุรกิจและไม่สามารถปิดบัญชีตามตามระเบียบท่ีนายทะเบียนสหกรณ์กำหนดได้ นิคมฯ ได้ให้คำแนะนำในการ
ปิดบัญชี เรียกประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพื่อพิจารณาสถานภาพของสหกรณ์ และเรียกประชุมใหญ่เพื่อ
นำเสนอแผนปรับปรุงกิจการ หรือพิจารณาเลิกสหกรณ์ ทั้งนี้ นิคมฯ ได้รายงานเสนอนายทะเบียนสหกรณ์เพ่ือ
พิจารณาสง่ั การ
ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ (เพ่อื เป็นกรณศี กึ ษาตัวอย่างทด่ี ีหรอื แนวทางในการสง่ เสริม)
1. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ทำตัวเป็นกันเองกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สึกว่าเป็นที่พึ่งท่ี
ปรกึ ษาได้
2. เจา้ หนา้ ที่ส่งเสรมิ สหกรณเ์ ข้ารว่ มประชมุ คณะกรรรมการดำเนนิ งานเปน็ ประจำ
3. เจา้ หนา้ ทีส่ ่งเสรมิ สหกรณ์ร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
4. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริม เสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร
5. เจา้ หน้าท่ีส่งเสริมสหกรณต์ รวจสอบ ตรวจเย่ียม การดำเนินงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปน็ ประจำ
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561(Annual Report) | 131
ผลการปฏิบตั ิงาน/โครงการตามแผนปฏบิ ัติงานและงบประมาณรายจ่าย
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2561
งาน/โครงการตามภารกิจ
◼ การจัดตง้ั สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ.2561
1. การดำเนินการจดั ตงั้ สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร
กระบวนการจัดตงั้ สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร 6 ขั้นตอน ประกอบดว้ ย
1) ข้ันเตรียมการ เป็นการประสานงาน พูดคุย ทำความเข้าใจแก่คณะบุคคลท่ีจะขอจัดตั้ง ในเรื่อง
ความพรอ้ ม อาชีพ เพอื่ ที่จะกำหนดประเภท บุคคลท่ีจะเป็นสมาชกิ จะต้องบรรลุนิภาวะตามกฎหมาย สัญชาติ
ไทย สามารถจัดหาพนักงานบัญชี หากเป็นสหกรณ์ประเภทการเกษตร จะต้องสง่ รายช่ือเพ่ือตรวจความซ้ำซ้อน
กบั สหกรณ์ประเภทเดียวกันที่มอี ยู่แลว้
2) การประชุมผู้ซ่ึงประสงค์จะเป็นสมาชิก เพ่ือทำความเข้าใจให้ความรู้เก่ียวกับสหกรณ์ อย่างน้อย 6
ชว่ั โมง เลอื กคณะผจู้ ัดตง้ั กำหนดช่ือสหกรณ์ อยา่ งนอ้ ย 3 ชอ่ื ซึง่ ในวันประชุมจะต้องบนั ทกึ รายงานการประชุม
ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานดว้ ย
3) ดำเนนิ การจองชื่อ โดยคณะผู้จดั ต้งั ยืน่ เอกสาร เพอ่ื ขอจองชอื่
4) คณะผู้จัดต้ัง ดำเนินการประชุม เพื่อกำหนดแผนการดำเนินงาน แผนธุรกิจ โครงสร้างอัตรากำลัง
การจดั ทำบัญชีรายชอื่ ผทู้ จ่ี ะเปน็ สมาชกิ และยกร่างข้อบังคบั
5) ประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิก ตามบัญชีรายช่ือผู้ท่ีจะเป็นสมาชิก เพื่อพิจารณาแผนและข้อบังคับ
ซง่ึ ในวันประชมุ จะตอ้ งบนั ทกึ รายงานการประชมุ ไวเ้ ป็นหลักฐานดว้ ย
6) รวบรวมเอกสารทัง้ หมด เพื่อย่นื ขอจดทะเบยี น
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น ตรวจสอบเอกสาร ความเป็นไปได้แผนการดำเนินงานและแผน
ธุรกจิ ข้อบังคับไม่ขัดกฎหมาย และนำเสนอนายทะเบยี น เพอ่ื รับจะทะเบยี น
2. รายช่ือสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรที่ดำเนนิ การจดั ตง้ั ใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
1) สหกรณก์ ารเกษตรวิถพี อเพยี ง จำกัด จดทะเบียนเมอ่ื วันท่ี 20 มิถนุ ายน 2561
2) สหกรณ์โคขนุ ขอนแก่นพรเี ม่ียมฟี จำกดั จดทะเบียนเมื่อวันท่ี 11 กรกฎาคม 2561
3) กลุ่มเกษตรกรผปู้ ลูกยางพาราตำบลดอนชา้ ง จดทะเบยี นเมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2561
3. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมท่ีสามารถสื่อสาร เผยแพร่ หรือแสดงผลการดำเนินกิจกรรม
ได้ชดั เจน และสามารถนำไปเผยแพรต่ ่อสาธารณะได้
รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2561(Annual Report) | 132
การประชุมผู้ซงึ่ ประสงค์จะเป็นสมาชิกของกลุม่ เกษตรกร และการเลือกต้ังคณะผู้ก่อการกลุ่มเกษตรกร
เพือ่ เป็นตัวแทนสมาชกิ ในการดำเนินขอจดทะเบียนจัดต้ังกลมุ่ เกษตรกร
ต่อนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัด