98
สมดุ บันทกึ ขอ้ มูลการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ (ส่งครั้งท่ี ๑)
๑. ข้อมูลทั่วไป
๑.๑ ช่ือนิสติ นางสาวปรียากมล แมลงภู่
สาขาวชิ า ธรุ กจิ และคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา
๑.๒ ชื่อโรงเรียนฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพศึกษาศาสตร์ โรงเรียนหอวงั
๑.๓ ระดบั ชั้นที่ทำการสอน มธั ยมศึกษาปที ี่ 1
๑.๔ วชิ าทีส่ อน ว21202 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ1 จำนวน 5 คาบ/สัปดาห์
๑.๕ ชือ่ อาจารยพ์ เ่ี ล้ียง ครปู ิตพุ งศ์ ฤทธิห์ มุน
๑.๖ ช่อื อาจารย์นิเทศก์ รศ.ดร.นงลักษณ์ มโนวลยั เลา
๑.๗ งานมอบหมายนอกเหนือจากงานสอน
1. เปล่ียนชื่ออีเมลนักเรยี นชน้ั ม.1,2,4 ใหเ้ ปน็ รหสั ประจำตวั นกั เรยี น
2. ทำเกยี รตบิ ัตร
3. กรอกข้อมลู นักเรียนใหม่ ม.1 และ ม.4 ลงในระบบ
4. สร้าง Google form และสรปุ ผล แบบสำรวจความพร้อมในการเรยี นออนไลน์ของนกั เรยี น
99
๓. การรายงานตวั ตอ่ สถานศึกษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพศกึ ษาศาสตร์
(วันทรี่ ายงานตวั 2/มิ.ย./2564)
ประสบการณ์ของนิสติ ในชว่ งสัปดาห์แรกของการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพศึกษาศาสตร์
ในสปั ดาหแ์ รกต้องมีการปรบั ตวั ในหลาย ๆ อย่าง การทำงานร่วมกับผู้อืน่ ทั้งเพ่ือนและครูพเ่ี ลยี้ ง
ปรบั ตวั กับบทบาทหน้าทใี่ หม่ท่ีตอ้ งทำหนา้ ที่ในการสอนเองจริง ๆ ทั้งคาบ ในคาบแรก ๆ จะเจอกบั สถานการณ์
ท่ีคาดไม่ถึงจึงตอ้ งมีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าบ่อย ๆ ในชว่ งแรกยงั ไม่ลื่นไหลนัก เม่ือไดร้ ับการแนะนำจากครพู ี่
เลีย้ งก็จะสามารถนำไปใชป้ รับปรงุ ในการสอนคาบต่อไปได้ดีมากย่งิ ข้นึ
สะทอ้ นความคิดของนิสิตจากประสบการณ์จรงิ เม่ือเปรียบเทยี บกับความคาดหวัง
จากทคี่ ิดคอื ตอ้ งได้สังเกตวธิ กี ารจัดการเรียนการสอนของครูพี่เลย้ี งก่อน แต่ในความจรงิ คอื ไดเ้ ร่ิมสอน
เองตั้งแตส่ ปั ดาหแ์ รก ทำใหม้ ีบางอยา่ งติดขัดไปบา้ ง แต่ก็อาศยั การปรับตวั และรีบแก้ไขข้อผิดพลาด ครูพ่เี ลีย้ งมี
คำแนะนำท่ีดี ทำให้ได้คดิ ในมุมมองของนกั เรยี นในด้านความเหมาะสมของเนื้อหา ท่ีต้องปรบั เพราะเป็นการ
เรียนการสอนออนไลน์จึงจำเปน็ ต้องคำนึงในดา้ นต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น เช่น ความพรอ้ มของอปุ กรณ์ของนักเรยี น
ความสามารถในการใชง้ านอุปกรณ์ ตอ้ งค่อย ๆ แนะนำการใชง้ าน ประสบการณ์ในระหว่างการสอน ไดร้ บั
ความร่วมมอื จากนักเรียนซึ่งตรงตามที่คาดหวังเอาไว้ แต่บางห้องมเี รยี นในคาบบ่ายซ่ึงผา่ นการเรียนมาหลาย
วชิ าแล้วในวนั น้นั ก็อาจจะทำให้นกั เรียนเกิดความเหนอ่ื ยล้าจึงไมค่ วรไปบงั คับหรือกดดนั ให้นกั เรยี นทำตาม
ควรที่จะค่อย ๆ พูด อธิบาย หรอื ขอความร่วมมือ
๔. การประชุมอภปิ รายปัญหา (Conference) คร้งั ท่ี ๑ 100
(วันที่16/ก.ค./2564)
ใหน้ สิ ิตระบหุ ัวข้อบรรยายและสรุปความรู้สำคัญท่ไี ดร้ ับ
การบรรยาย “กลเม็ดการจดั การชนั้ เรยี นออนไลน์ จากกูรูถงึ ครูมือใหม่” โดย ผศ.ดร.สุทธิดา จำรสั
10 Tips Trick & Hacks
1. แอปดมี ชี ัยไปกวา่ คร่ึง การใช้ google sheet ในการทำงานร่วมกนั การใช้เว็ปสมุ่ เพื่อสร้างความ
ต่นื เต้นและน่าสนใจ การใช้ AR มาเปน็ สว่ นหน่งึ ในการสอน ช่วยสร้างประสบการณ์เสมือนจริงใหก้ บั
นักเรียน
2. ตงั้ ใจสอดแทรก lift skills เชน่ การจดั การเวลา การแกป้ ญั หา การทำงานร่วมกบั ผู้อื่น เน่ืองจากเป็น
ทักษะที่มีความสำคัญและจำเป็นในปจั จุบัน
3. ใช้ cloud เพื่อติดตามการเรียนรู้ของผูเ้ รียนและการทำงานแบบ real time เชน่ การใช้
canva,google sheet,google slide
4. ใชแ้ หล่งเรยี นร้ทู ี่ไม่มคี า่ ใช้จาน
5. ใช้บรกิ าร video streaming ให้คุ้มคา่
6. ใช้ youtube ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ
7. ช่ือย่อ URL จำง่ายใช้ได้ตลอด
8. E book แจกฟรี เช่น ค่มู ือการใชง้ านหลักสตู ร คลังความรู้ตา่ ง ๆ
9. ใชอ้ ุปกรณ์ทม่ี ีใหเ้ ต็มประสิทธิภาพดว้ ยเทคนคิ ต่าง ๆ เช่น การสืบค้นแหล่งเรยี นรู้ การเตรียมสือ่ การ
เรยี นรู้
10. Active Learning 4D การเรียนร้เู ชงิ รกุ
การบรรยาย “ประสบการณ์ในชนั้ เรียนออนไลน์ จากกูรูถึงครมู ือใหม”่ โดย ผศ.กฤษดา สงวนสนิ
1. การเปิดกล้อง ชว่ ยสร้างปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งครูและนักเรียน ครไู ดเ้ หน็ reaction ของนักเรียนระหวา่ ง
สอน
2. การตรวจงานต้องมกี ารให้ feedback เพ่ือท่ีนักเรยี นจะสามารถนำคำแนะนำไปปรบั ปรุงการทำงานได้
101
3. การเตรยี มตวั ให้พรอ้ มต่อการเปล่ยี นแปลงวธิ ีการสอนเสมอ ท้งั แบบแบง่ กลุ่มมาโรงเรียนและออนไลน์
4. ความเหมาะสมของสือ่ การสอน วิดโี อทน่ี ำมาใช้ประกอบการสอน ให้เหมาะกบั ช่วงวยั และมคี วาม
น่าสนใจ
5. ปญั หาตา่ ง ๆ ในชนั้ เรยี น เช่น ปิดไมค์เพื่อน/ครู เตะเพ่ือนออกจากห้อง
สะทอ้ นข้อคดิ และประโยชน์ทไ่ี ด้รับ
ไดว้ ิธีการจัดการเรยี นการสอน สอ่ื การสอน และกิจกรรมทสี่ รา้ งความนา่ สนใจให้กบั นกั เรียน ซึ่ง
สามารถนำไปปรับใช้ในการจัดการเรยี นการสอนได้ และได้รบั ประสบการณ์ตรงจากผสู้ อนท่มี ีประสบการณใ์ น
การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนและวธิ ีการในการแก้ปัญหาในชั้นเรยี นจากเพ่ือน ๆ ต่างสาขา ซ่ึงสามารถนำ
วธิ ีการต่าง ๆ ทไี่ ดร้ บั คำแนะนำไปใช้ในการแก้ปัญหาในชน้ั เรียนได้
จากการอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย (ชว่ งบา่ ย) ใหน้ สิ ติ ระบุสิ่งท่ไี ด้เรียนรแู้ ละปัญหาอุปสรรคท่ีพบ
ในการฝีกประสบการณ์วชิ าชีพ
จากการได้ฟังความคดิ เห็นของเพ่อื น ๆ รว่ มสาขา ปัญหาท่ีพบและการแกไ้ ข คือ อปุ กรณ์ของนักเรยี น
ไม่พร้อมในการเรยี นออนไลน์และการใชโ้ ปรแกรมตา่ ง ๆ ท่ีทำได้ยาก เนื่องจากความไม่พร้อมและความ
แตกตา่ งระหว่างอุปกรณ์แต่ละชนิด/ยห่ี อ้ การแกป้ ญั หาคอื หาชอ่ งทางอืน่ ๆ ทจี่ ะใช้งานโปรแกรมไดไ้ มต่ อ้ ง
โหลดโปรแกรมแตใ่ ช้งานในเว็ปไซตแ์ ทน นกั เรียนไมเ่ ปิดกล้องหรอื ไมส่ ามารถเปิดกลอ้ งได้เนอ่ื งจากอุปกรณ์ไม่
พรอ้ ม ทำใหค้ รูไม่ทราบวา่ นักเรยี นยังอยูใ่ นชั้นเรยี นหรือไม่ การไมส่ ่งงาน การแก้ปญั หาคือมอบหมายให้
นักเรียนทำงานในคาบเรยี นไม่สงั่ เป็นการบา้ นจะทำให้จำนวนการสง่ งานมากขน้ึ
สรุปขอ้ คิดหรือแนวปฏบิ ัติท่ีดที ีไ่ ด้รับจากการอภปิ รายกลุ่มย่อย
ได้ทราบปญั หาของเพื่อน ๆ คนอ่ืน ๆ หากมปี ัญหาแบบเดียวกันเกิดข้ึน ก็จะไดส้ ามารถนำวธิ กี าร
แก้ปญั หานนั้ ไปปรับใช้ได้ และยังได้รบั คำแนะนำตา่ ง ๆ จากอาจารยป์ ระจำสาขาทไี่ ด้ให้ขอ้ คิดและมุมมองที่
เปน็ ประโยชน์ ได้รว่ มแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟังความคิดเห็นทแ่ี ตกตา่ งกนั ในประเดน็ ต่าง ๆ ทต่ี งั้ ขนึ้ ทำให้
ไดป้ ระโยชนส์ ามารถนำไปปรับใชไ้ ดใ้ นการจัดการเรยี นรขู้ องตนเอง
102
๖. การนเิ ทศการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ศึกษาศาสตรข์ องอาจารย์พี่เลย้ี ง
คร้งั ที่ ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วันท่ี 30/มิ.ย./2564)
สรปุ ขอ้ เสนอแนะของอาจารยพ์ เ่ี ลย้ี งด้านการเรียนการสอน
1.มีการนำกิจกรรมมาใชด้ ึงดูดความสนใจของผูเ้ รียน แตบ่ างคนไม่ไดม้ ีส่วนรว่ มในการทำกิจกรรม
2.บางครัง้ ปลอ่ ยใหห้ อ้ งเรียนเงยี บเกินไประหว่างสอน
3.ควรปรบั เน้อื หาให้เหมาะสมกบั วยั นักเรียน ไม่หนักเกินไปและไม่มากเกินไป
ผลจากการปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะของอาจารย์พ่ีเลยี้ งด้านการเรียนการสอน
นักเรียนไดม้ ีสว่ นร่วมในชั้นเรียนมากขนึ้ ปรับกิจกรรมให้เหมาะสมและน่าสนใจมากข้ึน เม่อื ทำการ
ปรับเนอื้ หาทำใหน้ กั เรยี นมีช่วงเวลาท่ีไดพ้ ักและเหลอื เวลาท่ีจะใชท้ ำใบงาน ทำให้ไมต่ กเป็นการบ้านลดจำนวน
นกั เรยี นไม่สง่ งานลง ชวนนกั เรยี นคยุ มากขึ้นเพ่ือทำให้บรรยากาศในห้องเรียนไม่เงียบเกินไป และช่วยสรา้ ง
ความไวว้ างใจพูดคุยเร่ืองอืน่ ๆ กับนกั เรยี นได้ ทำใหน้ ักเรยี นกลา้ ที่จะถามและกล้าทีจ่ ะตอบโดยท่คี รูไมไ่ ป
ตดั สินความคดิ เหน็ น้นั ของนักเรียน
103
๗. การนิเทศการฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ศกึ ษาศาสตร์ของอาจารยน์ ิเทศก์
คร้งั ที่ ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วันท่ี 30/มิ.ย./2564)
สรุปข้อเสนอแนะของอาจารย์นิเทศก์ ดา้ นการเรียนการสอน
1.การใหเ้ วลานักเรยี นในการตอบคำถาม ควรให้เวลาให้มากข้ึน
2.มีกิจกรรมทใ่ี ห้นักเรียนไดม้ ีส่วนร่วม
3.แสงสะทอ้ นจากหนา้ ต่าง ทำให้นักเรยี นมองไม่ค่อยเห็นหนา้ ครูและรบกวนการมองของนกั เรยี น
ผลจากการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของอาจารย์นเิ ทศก์ ด้านการเรียนการสอน
ทำใหน้ กั เรียนไดม้ เี วลาคดิ ในคำถามที่ครูถามมากขน้ึ ใหเ้ วลาในการหาคำตอบ นักเรยี นสบายใจทจี่ ะ
ตอบคำถามมากขึ้น รบั ฟังนักเรียนทำให้นกั เรียนกลา้ ทจี่ ะแสดงความคิดเห็น ปิดผา้ ม่านระหวา่ งสอนลดแสงที่
เข้ามาทำใหร้ บกวน
104
สมุดบนั ทกึ ข้อมลู การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ (ส่งคร้ังท่ี ๒)
๔. การประชมุ อภปิ รายปัญหา (Conference) ครงั้ ที่ ๒
(วนั ท่ี 19/ส.ค./2564)
ให้นสิ ติ ระบุหัวข้อบรรยายและสรุปความรสู้ ำคัญท่ีไดร้ ับ
ช่วงท่ี 1 การบรรยายเรื่อง “อนุทินของครูกับการวจิ ัยในชัน้ เรียน” โดย รศ.ดร.ชาตรี ฝา่ ยคำตา
เน้ือหาและความรทู้ ่ีไดร้ บั
-การวิจัยคือกระบวนการท่เี ร่ิมจากการสงั เกต สบื เสาะ ต้ังคำถาม รวบรวมข้อมลู ที่มีความหลากหลาย
นำมาวิเคราะห์โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ทต่ี ัง้ ขนึ้ จากนน้ั นำมาทำการสรปุ ผลและนำไปอภิปลายต่อไป ซ่ึงการทำวิจยั
น้นั มคี วามแตกต่างจากการแก้ปัญหาทว่ั ไปคอื มีการใช้หลกั การ นำศาสตร์และทฤษฎีตา่ ง ๆ มาใชเ้ พ่อื แก้ปัญหา
หรือพฒั นา เปน็ กระบวนการสบื เสาะหาคำตอบเพอ่ื ให้ได้ข้อสรปุ หรือแนวทางที่จะนำไปใช้ในการแกไขปญั หา
ในชั้นเรียน เรม่ิ จากการวเิ คราะห์หาปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ และวิเคราะห์สาเหตุของปญั หาจากนั้นตงั้ คำถามที่อยากรู้
เพ่ือกำหนดตวั แปรต่อไป ซึ่งตัวแปรใหม่ ๆ เชน่ การคดิ สรา้ งสรรค์ การแก้ปัญหา การโตแ้ ยง้ ทกั ษะในศตวรรษ
ท2่ี 1 เปน็ ตน้
-การเขยี นอนุทิน หรือบนั ทึกหลังการสอน เป็นตัวชว่ ยทช่ี ่วยในการสะท้อนความคิด มีการเขยี นถงึ
ข้นั ตอนตา่ ง ๆ ในการจดั การเรียนการสอนว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคอย่างไรบา้ ง นักเรียนและครทู ำอะไร
กจิ กรรมเปน็ อยา่ งไร พฤตกิ รรมของนกั เรยี น การตอบคำถามและอืน่ ๆ ทำใหเ้ ม่ือกลับมาอ่านจะจำไดว้ า่ ในคาบ
น้นั เกิดอะไรข้ึน เห็นภาพชัดเจน สามารถนำมาใช้ในการตง้ั หัวข้อการวิจยั ในชน้ั เรียนได้
105
ช่วงท่ี 2 การเสวนาเรอื่ ง “Cool!! คร.ู . การจดั การเรียนรู้ออนไลนอ์ ย่างเขา้ ใจผู้เรียน” โดย ครวู นี สั
ตา แกว้ โท และ ครธู นพงษ์ คุณชัยเกษม
(ครวู ีนัสตา แกว้ โท)
เนือ้ หาและความรูท้ ่ีได้รบั
-การเตรยี มตัวก่อนการสอน
1.เตรยี มความรู้ เน้ือหาสาระของรายวชิ า กลยทุ ธ์ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการสอน กจิ กรรมและสื่อการเรยี นรู้
2.เตรียมความพร้อม ทงั้ ด้านอุปกรณ์ โปรแกรมต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในการสอน แอปพลิเคชนั ทนี่ ำมาช่วยสนบั สนุนการ
สอนให้มีความน่าสนใจมากยิง่ ขึ้น
3.เตรยี มความกล้า
4.เตรียมร่างกายและจติ ใจ
(ครูธนพงษ์ คุณชยั เกษม)
เนอ้ื หาและความรทู้ ่ีได้รบั
-การประเมินผล เนน้ ประเมนิ เพื่อพฒั นา โดยมีเกณฑ์ท่ชี ัดเจน มีการเกบ็ ร่องรอยจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ
เชน่ การทำใบงาน การแสดงความคดิ เห็น ตอบคำถามใน menti เป็นต้น
-ตวั อยา่ งการใช้แอปพลิเคชันและเวป็ ไซต์ในการสรา้ งส่ือการเรียนรู้
1.thinklink 2.code.org 3.nearpod
-แหล่งดาวน์โหลดรปู ภาพ วิดโี อ เสียง เพอ่ื นำมาใช้ในการสรา้ งส่อื
1.pexels 2.undraw 3.youtube studio 4.google fonts
-เครื่องมือ/โปรแกรมเสริมทชี่ ่วยในการสอน
1.zoomit 2.quick,draw 3.picker wheel
106
สะทอ้ นข้อคิดและประโยชน์ที่ได้รบั
-สามารถนำไปใชใ้ นการทำวจิ ัยในอนาคตได้ เป็นการทบทวนวิธกี ารและขั้นตอนในการทำวิจยั ในชั้นเรียน ได้
ลองคดิ ปัญหาในช้ันเรยี นของตนเองและฝกึ ตั้งคำถาม
-ไดเ้ ครื่องมือทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในการทำวิจัยในช้นั เรียน มตี ัวอย่างของการเขยี นอนุทนิ ที่ชัดเจน เข้าใจง่ายถึง
วิธีการเขยี น และเป็นเครื่องมือทที่ ำใหเ้ ราบันทึกพัฒนาการและปญั หาของตวั เองเพือ่ นำไปสกู่ ารแก้ไขได้อีกด้วย
-ไดร้ ับประสบการณ์และคำแนะนำดี ๆ จากรนุ่ พี่ ท่มี าบอกเลา่ วิธกี ารในการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ใหม้ ี
ความน่าสนใจ
-มเี ครอ่ื งมอื แอปพลเิ คชันต่าง ๆ ท่สี ามารถนำไปปรบั ใช้ในการจัดการเรียนการสอนของตนเองได้
-ได้รบั พลังบวกดี ๆ จากการใหก้ ำลังใจ
จากการอภิปรายกลมุ่ ย่อย (ช่วงบ่าย) ให้นิสิตระบุสิง่ ทไ่ี ด้เรยี นรู้และปัญหาอุปสรรคที่พบ
ในการฝีกประสบการณว์ ิชาชีพ
-นักเรียนปิดไมคเ์ พื่อน/ครู การแก้ปัญหาคือไปตั้งค่าในโปรแกรม
-ปญั หานักเรียนไม่ส่งงาน จงึ ให้นกั เรียนทำงานในคาบเรียนแทนที่จะสง่ั เป็นการบา้ น ผลการแกป้ ญั หา นกั เรียน
ส่งงาน 100% แต่บางโรงเรยี นไมส่ ามารถนำไปใช้แก้ปัญหาได้ เพราะนักเรยี นอยากทำเป็นการบ้านมากกว่า
-นกั เรียนตามเน้ือหาไมท่ ัน โรงเรียนลดเวลาเรียน อุปกรณ์ไม่พร้อม พิมพช์ ้า การแก้ปัญหา อดั คลปิ วิดโี อ
ยอ้ นหลงั
-นักเรียนไม่กระตือรือรน้ ในคาบเชา้ และหลงั พักเท่ียง การแกป้ ญั หา เล่นเกมดงึ ดดู ความสนใจเช็คช่อื จากเกม
ผลคือเข้าเรยี นเรว็ ขึน้
-zoom จำกดั เวลาในการใชง้ าน การแก้ปัญหา ครูนดั กบั นักเรยี นก่อนวา่ 40 นาทีแรกจะเป็นการสอนเนื้อหา
อกี 40 นาทหี ลังจะปล่อยใหน้ ักเรียนทำงาน โดยถ้านักเรียนเข้าห้องกจ็ ะสามารถสอบถามครูไดเ้ ลยทันที
-นักเรยี นอปุ กรณไ์ ม่พร้อม หรืออุปกรณ์ที่นักเรยี นใช้ไม่รองรับการทำงานของโปรแกรมทคี่ รูสอน การแกป้ ัญหา
ในการทำงานส่งให้นกั เรยี นใชโ้ ปรแกรมท่นี ักเรียนสะดวก ปรับไปใช้แอปพลิเคชันหรือโปรแกรมอน่ื ๆ แทน
107
สรุปขอ้ คิดหรือแนวปฏิบัติท่ีดที ่ีไดร้ ับจากการอภิปรายกลุ่มย่อย
ได้รู้ถงึ ปัญหาและอุปสรรคของเพอ่ื นคนอ่นื ๆ ทอ่ี ยู่ต่างโรงเรยี น วธิ กี ารต่าง ๆ ที่นำไปใชใ้ นการ
แกป้ ัญหา เม่ือพบเจอปญั หาเดียวกนั ก็จะไดส้ ามารถนำวิธกี ารนั้นไปทดลองแก้ปญั หาท่เี กิดขนึ้ ได้ ได้คำแนะนำที่
ดีจากอาจารย์ถงึ วธิ ีการตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็นการแก้ปัญหา การใหข้ อ้ คิดในมุมมองอื่น ๆ ทำให้มองเหน็ ปัญหาได้
หลายด้านมากยงิ่ ขึ้น เพราะบางปญั หาไม่ไดเ้ กิดจากนักเรยี นฝ่ายเดยี ว แตอ่ าจจะเกดิ จากครกู ็ได้ สามารถนำ
ความรู้ และวิธีการต่าง ๆ ท่ีท้ังเพ่อื น ๆ และอาจารย์ ได้แชร์มามาใช้ในการแกป้ ัญหาและจดั การชัน้ เรียนของ
ตัวเองได้
108
๖. การนิเทศการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ศกึ ษาศาสตร์ของอาจารย์พี่เลย้ี ง
ครั้งที่ ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วนั ที่ 23/ส.ค./2564)
สรปุ ข้อเสนอแนะของอาจารย์พเี่ ลย้ี งด้านการเรียนการสอน
1. นกั เรยี นบางคนทอี่ ุปกรณ์ไม่พรอ้ มไม่ค่อยใหค้ วามร่วมมอื
2. บางคร้งั พูดเร็วเกินไป สาธิตข้ันตอนในการใช้งานเรว็ เกินไป
3. เนือ้ หาทนี่ ำมาสอนเยอะเกนิ ไป
ผลจากการปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะของอาจารย์พี่เลยี้ งด้านการเรียนการสอน
1. ค้นหาแอปพลิเคชันหรือวิธกี ารต่าง ๆ ท่จี ะทำให้นักเรยี นท่อี ุปกรณ์ไม่รองรบั การใช้งานสามารถใช้งาน
ทดแทนได้
2. ปรบั การพูดให้ช้าลง ทบทวนขนั้ ตอนวธิ กี ารต่าง ๆ ให้นกั เรียนฟังหลาย ๆ คร้งั
3. ปรับจำนวนเน้ือหาท่ีนำมาสอนใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ระยะเวลา ความพรอ้ มของอุปกรณ์ และ
ความสามารถของนกั เรียนท่จี ะเรียนรกู้ ารใช้โปรแกรม SketchUp ผ่านการเรยี นในรปู แบบออนไลน์
109
แบบบนั ทกึ การนเิ ทศก์ของครูพ่เี ล้ียง คร้งั ท่ี 2
110
๗. การนิเทศการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ศึกษาศาสตรข์ องอาจารยน์ ิเทศก์
ครง้ั ท่ี ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วนั ท่ี 23/ส.ค./2564)
สรปุ ข้อเสนอแนะของอาจารย์นิเทศก์ ดา้ นการเรียนการสอน
1. ส่งวิดโี อบนั ทกึ การสอนชา้ เกินระยะเวลาท่ีอาจารย์ได้นัดหมายไว้
2. แผนการเรยี นรู้เรยี บรอ้ ยครบถว้ น การสอนมีการทบทวนความรู้ และมีกจิ กรรมที่ให้นกั เรียนรว่ มกัน
วเิ คราะห์ความแตกต่างของช้ินงาน
3. ควรมกี ารนำเครื่องมือในการทำงานมาเทยี บเคียงกัน เน่อื งจากนกั เรยี นที่อุปกรณ์ไม่พร้อมต้องใชแ้ อป
พลเิ คชันอ่นื ทดแทน SketchUp
ผลจากการปฏบิ ัตติ ามข้อเสนอแนะของอาจารยน์ ิเทศก์ ด้านการเรียนการสอน
1. ปรบั ปรงุ ตัวในเรือ่ งการส่งงาน ต้องมีความรอบคอบและวางแผนเวลาในการส่งวิดีโอบันทึกการสอนใน
แต่ละครงั้ มากข้ึน
2. ทำการปรับและเช่ือมโยงให้เน้ือหาทนี่ ำมาสอนหรือนำเสนอนกั เรียนมีความเช่ือมโยงกบั ตัวชว้ี ดั มาก
ยิง่ ขึน้
111
แบบบนั ทึกการนิเทศก์ของอาจารยน์ ิเทศก์ คร้ังท่ี 2
112
สมดุ บันทกึ ข้อมูลการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ (ส่งครงั้ ท่ี ๓)
๖. การนิเทศการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ศึกษาศาสตร์ของอาจารย์พีเ่ ล้ยี ง
คร้ังที่ ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วันที่ 19 /ก.ย./2564)
สรุปข้อเสนอแนะของอาจารยพ์ ่ีเลีย้ งดา้ นการเรยี นการสอน
-นกั เรียนมีความสนใจในโปรแกรมที่จะไดเ้ รียนดี
-อธิบายวธิ กี ารใช้งานเครือ่ งมือต่าง ๆ ไปพร้อม ๆ กับใหน้ กั เรียนไดท้ ดลองทำ
-ขนั้ สรปุ ยังสรปุ ไดไ้ มค่ ่อยชดั เจน
-ปัญหาคือนักเรยี นใช้โปรแกรมเป็นครง้ั แรก เนอื้ หาทีใ่ หม่ บางคนเลยยังตามไม่ค่อยทัน
-นกั เรียนหลายคนไม่มคี วามพร้อมดา้ นอุปกรณ์
ผลจากการปฏบิ ัติตามข้อเสนอแนะของอาจารยพ์ เี่ ลย้ี งด้านการเรียนการสอน
-คอ่ ย ๆ อธิบายวธิ ีการใช้เคร่ืองมือหลาย ๆ รอบ เพ่ือใหน้ กั เรยี นได้ลองใชง้ านและฝึกฝน
-ถ้านกั เรียนไม่สามารถใชโ้ ปรแกรมได้ใหน้ กั เรยี นไปใช้แอปพลิเคชันทม่ี ีความคลา้ ยคลึงกันแทน
-มีการอัดคลปิ วิดโี อยอ้ นหลงั เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถทบทวนหลงั จากเลิกเรยี นได้
113
แบบบันทกึ การนิเทศของครูพ่ีเล้ียง คร้งั ท่ี 3
114
การนิเทศการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ศึกษาศาสตร์ของอาจารยพ์ ีเ่ ล้ียง
ครั้งท่ี ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วนั ท่ี 19 /ต.ค./2564)
สรุปขอ้ เสนอแนะของอาจารยพ์ ่ีเล้ยี งด้านการเรียนการสอน
-มีการอธิบายตัวอย่างชน้ิ งานที่จะไดท้ ำให้นักเรยี นก่อนท่จี ะเรม่ิ เรียน
-อธิบายวิธกี ารใช้งานเครือ่ งมือตา่ ง ๆ ไปพร้อม ๆ กับให้นักเรยี นไดท้ ดลองทำ และทำไปพรอ้ ม ๆ กับ
นกั เรียนทลี ะขัน้ ตอน
-เน้ือหาบางสว่ นยาก นักเรยี นบางคนเลยยังตามไม่ค่อยทัน
-มกี ารกำหนดหวั ข้อใหน้ ักเรียนไดท้ ำชน้ิ งาน
-ตอ้ งมีการสอนซำ้ หลายรอบเน้อื งจากนักเรยี นไมม่ คี อมพิวเตอร์ จงึ ต้องใช้แอปพลเิ คชัน Onshape
ผลจากการปฏบิ ตั ิตามข้อเสนอแนะของอาจารย์พ่เี ลีย้ งด้านการเรียนการสอน
-ปรบั เนอื้ หาให้มีความเหมาะสมมากข้ึน และคำนงึ ถงึ ความพรอ้ มของนักเรียนทมี่ ีไม่เทา่ กันในการเรยี น
ออนไลน์
-มีการอดั คลิปวิดโี อย้อนหลงั เพือ่ ให้นักเรยี นสามารถทบทวนหลงั จากเลกิ เรียนได้ ท้ัง SketchUp และ
Onshape
115
แบบบันทกึ การนิเทศของครูพ่ีเล้ียง คร้งั ท่ี 4
116
๗. การนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ศึกษาศาสตรข์ องอาจารยน์ ิเทศก์
คร้ังที่ ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วนั ที่ 14 /ก.ย./2564)
สรุปขอ้ เสนอแนะของอาจารยน์ เิ ทศก์ ด้านการเรยี นการสอน
-กิจกรรมน่าสนใจ
-สือ่ การสอนสวยงาม
-วัตถปุ ระสงคก์ ับวธิ ีการในการประเมนิ ผลยงั ไม่สอดคลอ้ งกัน ควรปรับใหม้ คี วามสอดคล้องกนั มากข้ึน
-นกั เรียนสามารถดัดแปลงผลงานท่ที ำมาใหม้ ีความแตกต่างจากท่สี อน
ผลจากการปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะของอาจารย์นิเทศก์ ดา้ นการเรยี นการสอน
-ปรับปรงุ การเขียนวัตถปุ ระสงค์ หากจิ กรรม และวิธีการในการประเมนิ ผล ทำใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกบั
วตั ถปุ ระสงค์มากขนึ้
117
แบบบนั ทกึ การนเิ ทศของอาจารยน์ ิเทศก์ คร้งั ท่ี 3
118
คร้งั ที่ ๑ / ๒ / ๓ / ๔ (วันที่ 14/ต.ค./2564)
สรุปข้อเสนอแนะของอาจารยน์ ิเทศก์ ดา้ นการเรียนการสอน
-คำถามมคี วามน่าสนใจ ทำให้นักเรยี นได้คิดย้อนกลับ
-ควรเพม่ิ ในส่วนการนำไปใชจ้ รงิ วา่ จะสามารถนำไปใชอ้ ะไรไดบ้ า้ งในชวี ิตประจำวัน
-ส่ือการสอน เนื้อหา บุคลิกภาพ และการใชน้ ้ำเสยี งมีความเหมาะสม
ผลจากการปฏิบตั ติ ามข้อเสนอแนะของอาจารย์นิเทศก์ ด้านการเรยี นการสอน
-เป็นแนวทางในการจัดทำแผนการสอนและจดั การเรยี นการสอนในคร้งั ต่อ ๆ ไปใหไ้ ดด้ ยี ิ่งขึน้
-ทำใหเ้ กดิ ความม่นั ใจในการสอนมากยิง่ ข้นึ
119
แบบบนั ทกึ การนเิ ทศของอาจารยน์ ิเทศก์ คร้งั ท่ี 4
120
๘. กิจกรรมท่สี ถานศึกษามอบหมายให้ปฏิบัตริ ะหว่างฝึกประสบการณว์ ิชาชีพศึกษาศาสตร์
ระบุช่ือกจิ กรรมและลักษณะของแต่ละกิจกรรมที่นักเรยี นปฏบิ ัติ
1. เปล่ยี นช่ืออีเมลนกั เรยี นชั้น ม.1,2,4 โดยเปล่ยี นจากชอื่ ช่วั คราวให้เป็นอีเมลท่ีข้ึนตน้ ด้วยรหัส
ประจำตวั นกั เรียน
2. ทำเกยี รติบัตรการอบรมออนไลน์ของหอ้ งสมุด นำข้อมลู ในรปู แบบไฟล์ Microsoft excel มา
ทำการ Merge กบั Microsoft Word
3. กรอกขอ้ มูลนักเรียนใหม่ ม.1 และ ม.4 ลงในระบบ นำข้อมลู ของนกั เรยี นใหม่โรงเรียนหอวังที่
กรอกในกระดาษ มากรอกขอ้ มูลลงในระบบบนอนิ เทอร์เน็ต
4. ทำเกยี รติบัตรเพชรหอวงั ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 นำข้อมูลในรปู แบบไฟล์ Microsoft
excel มาทำการ Merge กับ Microsoft Word
5. ทำรูปเล่มเพชรหอวงั ประจำปีการศึกษา 2563 นำข้อมูลในรปู แบบไฟล์ Microsoft excel
มาสรปุ ออกแบบและจัดวางองค์ประกอบของรปู เล่ม แล้วนำข้อมูลมาแยกตามประเภทของ
นักเรยี นทไ่ี ดร้ บั เกยี รติบัตร
ขอ้ คดิ /ประโยชน์ท่นี ิสติ ไดร้ ับจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดังกล่าว
ทำใหเ้ กดิ กระบวนการทำงานเปน็ กลมุ่ เกิดการร่วมมือ เน่ืองจากภาระงานคอ่ นขา้ งเยอะทำใหต้ ้องมี
การแบ่งงานกันและช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกนั รวมถึงช่วยกันคิดวิธกี ารในการแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนจากการ
ทำงาน ไดฝ้ ึกทักษะการบรหิ ารจดั การเวลา แบ่งเวลาในการทำงานประจำซึ่งคืองานสอนและเวลาในการทำงาน
อืน่ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย เพ่ือใหเ้ สรจ็ ทันเวลาท่กี ำหนด
121
๙. การดำเนนิ การโครงการพเิ ศษ (ตามสาขา)
ลักษณะของโครงการพิเศษ และผลการดำเนนิ การโครงการพิเศษ
โครงการอบรมคอมพิวเตอร์เพอ่ื การออกแบบในหัวข้อ "การสร้าง Filter Instagram หรอื Facebook"
ดว้ ย
โปรแกรม Spark AR Studio เป็นโครงการทจ่ี ัดขน้ึ เพ่ือให้นักเรยี นได้เกดิ การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมที่
หลากหลาย
ในการออกแบบผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ ซ่งึ สามารถเสรมิ สร้างทักษะการคดิ เชิงออกแบบให้แก่นกั เรียน และ
เพอื่ ให้นกั เรียนไดเ้ ห็นถงึ ความสำคญั ของการเลือกใช้งานโปรแกรมที่หลากหลายมากข้นึ ในการออกแบบ
ผลงาน
ของตนเอง ตลอดจนการวางแผนการดำเนินงาน วธิ ีแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดขึ้น และการสร้างทางเลือกทีเ่ หมาะสม
ทสี่ ุดในการสร้างสรรค์ผลงาน ซ่งึ ผลการดำเนินโครงการออกมาในระดบั ดี นกั เรยี นสามารถประยุกตใ์ ช้
โปรแกรม
อน่ื รว่ มกับ Spark AR Studio ออกมาเป็น Filter Instagram หรือ Facebook ท่นี ักเรยี นสรา้ งด้วยตนเอง
ข้อคิด/ประโยชน์ทน่ี ิสติ ได้รบั จากการดำเนินโครงการดงั กล่าว
ได้เรยี นรกู้ ารทำโครงการ การบรหิ ารจัดการเวลา และการแกป้ ญั หาเฉพาะหน้า เน่ืองจากเป็น
โครงการรูปแบบออนไลน์ ปญั หาทีเ่ กดิ ขึ้นส่วนใหญ่เป็นเรือ่ งของอุปกรณ์ และสัญญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ทำให้
ตอ้ งมีการแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า และยังไดร้ ับประสบการณท์ ่ีดีในการทำโครงการ จากทงั้ เพื่อน ๆ และ
นกั เรยี นทมี่ าเข้าร่วมโครงการ
122
๑๐. การสมั มนาหลังฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพศกึ ษาศาสตร์
(วันที่18/ต.ค./2564)
ให้นสิ ิตระบหุ ัวข้อสมั มนา และสรปุ ความรูส้ ำคัญท่ีไดร้ ับ
การบรรยายเร่ือง การวจิ ยั ปฏิบัติการในชัน้ เรียน จากทฤษฎีสู่ปฏิบตั ิ โดย รศ.ดร.ชาตรี ฝ่ายคำตา
ความรทู้ ี่ได้รบั
-การวิจัยในชั้นเรียน คือ การสืบเสาะหาความจริงเพื่อทำความเขา้ ใจปรากฎการณ์ทีส่ นใจอย่างเป็นระบบ
โดยเร่ิมจากการต้ังคำถาม หาขอ้ มลู หลักฐาน วิเคราะห์ตีความ สรุป และอภิปลาย
-ตัวแปรต่าง ๆ ทคี่ นุ้ เคย และตวั แปรใหม่ ๆ ที่มีความนา่ สนใจ
-วธิ ีการตั้งคำถามวิจัย มีการสอนว่าต้องวิเคราะห์อย่างไร
-กระบวนการวจิ ัย ประกอบด้วย PAOR : Plan Act Observe Reflect
-แหลง่ สืบคน้ ขอ้ มลู เช่น Google Scholar thaijo thailis วารสารศกึ ษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ
สะท้อนขอ้ คิดและประโยชน์ทไี่ ดร้ บั จากการสัมมนา
ได้รบั ความรู้ที่เปน็ ประโยชน์ต่อการนำไปทำวจิ ยั ในอนาคต ทำให้เข้าใจกระบวนการในการวิจัยในชั้น
เรยี นมากยิ่งข้นึ และจากการได้รวมกล่มุ ทำให้ได้ทราบปัญหาของเพ่ือน ๆ ตา่ งสาขา ตา่ งโรงเรยี น ซึ่งทำให้ได้
เหน็ แนวทางหรอื สง่ิ ตา่ ง ๆ ที่มคี วามหลากหลาย และสามารถทจ่ี ะนำไปประยกุ ตต์ ่อได้
123
จากการอภิปรายกลุม่ ยอ่ ย ให้นิสิตระบสุ ิง่ ท่ไี ดเ้ รียนร้แู ละปัญหาอุปสรรคทพ่ี บในการฝึกประสบการณ์
วิชาชพี
1. ยงั แม่นเนื้อหาไมม่ ากเท่าที่ควร ทำให้เมื่อสอนยกตวั อยา่ งไมค่ รอบคลุม ต้องมีการไปหาความรรู้ อบตัว
เพื่อท่ีจะมา
ตอบคำถามของนักเรยี น
2.สอนใช้ Powerpoint 365 มีปญั หาเร่ืองการใช้ฟอ้ นต์ นักเรยี นทใี่ ชไ้ อแพดจะมีปัญหาในการจัดวาง
องคป์ ระกอบ
การสง่ งานใหส้ ่งเป็นลงิ กท์ า้ ยคาบ ถ้านกั เรยี นยังไม่เสร็จภายในคาบให้กลบั ไปทำตอ่ แต่บางคนยงั ไปเพิ่มมาไม่
ครบ
4.วยั ของนกั เรียนทำให้การทำงานยังไมเ่ ปน็ ลำดับ การแก้ปัญหาคือปรบั การสือ่ สารใหน้ ักเรยี นชี้ใหเ้ ห็นขอ้ ดขี อง
การ
ทำงานเป็นลำดับ
5.ยงั มกี ารอธิบายไม่ชดั เจน ว่ามกี ารเชือ่ มโยงกนั ยังไง แตเ่ ป็นออนไลนน์ กั เรยี นอาจยงั ไมเ่ หน็ ภาพการทำงาน
หรือ
การสรา้ งท่ชี ัดเจน ทำใหน้ ักเรียนส่งงานนอ้ ย
6. ในหนงั สือเขียนค่อนข้างงงทำให้ตอ้ งไปศึกษาเพ่ิมเติมเพื่อนำมาสอน และต้องติดตั้งโปรแกรมก่อนเพอื่
อปั โหลด
ไฟลข์ ึ้น การแก้ไขคือสอบถามคนที่มปี ระสบการณ์ หาอยา่ งอืน่ มาใชท้ ดแทน
7.นักเรียนลมื เนื้อหาท่ีเคยเรียนมาแล้ว ทำให้ต้องยอ้ นทบทวน ส่งผลให้จำนวนขอ้ ท่ีใชว้ ัดประเมินผลลดลง
เน่ืองจาก
นกั เรียนต้องสลับจอ
124
สรุปขอ้ คิดหรือแนวปฏบิ ตั ิท่ีดีทไ่ี ดจ้ ากการอภิปรายกลมุ่ ย่อย
-ได้แนวทางในการแกป้ ญั หาจากเพ่ือน ๆ ได้รบั คำแนะนำและกำลงั ใจจากอาจารย์ รวมถึงแนวทางใน
การจัดการเรียนรู้ในเทอมต่อไป
-ไดฟ้ ังความคิดเหน็ ในมุมมองตา่ ง ๆ ของเพ่ือน ๆ ในการออกฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพในภาคเรียนท่ี 1
วา่ มคี วามรสู้ ึกอย่างไร ความประทับใจต่อสง่ิ ตา่ ง ๆ และสงิ่ ที่แต่ละคนได้พฒั นาหรือมีทักษะทเ่ี พมิ่ มากขึน้
๑๑. สง่ิ ทน่ี ิสติ เรียนรู้จากประสบการณ์และการสะท้อนการเปล่ียนแปลงภายใน ตนเองตลอดระยะเวลาการ
ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพศกึ ษาศาสตร์
ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงของตัวเอง ท้ังในดา้ นบุคลกิ ภาพ การพดู จา ความคิด ทัศนคติ มีความรบั ผดิ ชอบ
มากขน้ึ รับผิดชอบต่องานสอน งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย มกี ารปรับตัวใหเ้ ข้ากับผู้อน่ื กบั เพ่ือนนสิ ติ ครพู ี่เลยี้ งและ
ปรับตัวให้เขา้ กับนักเรยี น ปรับเปลีย่ นบทบาทจากการเปน็ นสิ ติ ไปเปน็ ครทู ี่ต้องมีการวางตวั ที่ดี เป็นตวั อย่างที่
เหมาะสม รู้จกั ขอโทษและให้อภัย ยอมรับความแตกต่าง มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ นื่ และอกี สิง่ ที่ได้เรยี นรู้ คือ
การรบั ผลของการกระทำของตวั เอง ทำใหต้ ้องคิดอยู่เสมอเวลาทีท่ ำอะไรต้องมีความรอบคอบ ละเอยี ด เพื่อ
ไมใ่ ห้เกิดปัญหาและข้อผิดพลาดทีจ่ ะตามมาในภายหลัง
๑๒. จากประสบการณส์ อนทผ่ี ่านมา ให้นิสิตระบุปญั หาหรือประเด็นทน่ี ่าสนใจเพ่อื พัฒนาไปสกู่ ารทำวจิ ยั
ในชนั้ เรยี น
เน่ืองจากออนไลน์ในภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี นในหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เหลือน้อย นักเรยี นจงึ ยังไมไ่ ด้ลงมอื สรา้ งผลงานโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จึงคดิ วา่ จะนำ
เน้ือหากระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมมารวมกบั การเรียน SketchUp ด้วยเพ่ือใหเ้ กิดการสรา้ งช้นิ งานโดย
ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพ่ือให้นกั เรยี นไดเ้ กิดการทำงานอย่างเป็นขั้นตอน
125
126