The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Portfolio นางสาวอีฟนาณี หมุดหวัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by afnanee.2629, 2022-10-14 12:42:52

Portfolio นางสาวอีฟนาณี หมุดหวัน

Portfolio นางสาวอีฟนาณี หมุดหวัน

PORTFOLIO

เเฟ้มสะสมผลงงาน

นางสาวอัฟนาณี หมุดหวัน

นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4

สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ณ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

คำนำ

ข้าพเจ้า นางสาวอัฟนาณี หมุดหวัน ได้จัดทำแฟ้มสะสมผลงาน ( Portfolio) ฉบับ ขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนใน
การนำเสนอ ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการฝึกปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษา ในด้านการบริหารงาน การปฏิบัติงาน และ
การจัดการเรียนการสอน ข้อมูลต่าง ๆ ของสถานศึกษา กิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายและได้มีการรวบรวม
ข้อมูลและชิ้นงานต่าง ๆ เพื่อเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญ ที่บ่งบอกถึงความต้ังใจในการทำงาน ความรับผิดชอบที่ได้รับ
มอบหมาย และความสนใจในทุกงานที่ตนเองได้ปฏิบัติมาท้ังหมดตลอดระยะเวลาฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
เปน็ เวลา 1 ภาคการเรียน ซ่ึงเป็นรายวิชาปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา 4 ประจำปีการศกึ ษา 2565

ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แฟ้มสะสมผลงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจ หรือเป็นแนวทางในการ
จดั ทำแฟ้มสะสมผลงานสำหรบั นักศึกษารนุ่ ต่อไป ในการพฒั นาแฟม้ สะสมผลงานให้มีประสิทธภิ าพย่ิงข้ึนในอนาคต
และขอขอบคณุ ครูพีเ่ ล้ียง คณะครโู รงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จังหวัดยะลา อาจารยน์ เิ ทศ และอาจารยท์ กุ ๆ ท่านท่ี
ไดม้ อบวิชาความรู้และประสบการณ์ท่ีมคี ่าท่ยี งิ่ ใหญ่ให้กับข้าพเจา้

นางสาวอัฟนาณี หมุดหวัน
นักศกึ ษาฝกึ ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

ส า ร บั ญ ป ร ะ วั ติ ส่ ว น

ป ร ะ วั ติ ส ถ า น ศึ ก ษ า

ตารางสอน

ประมวลการสอน

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้

บันทึกประสบการณ์รายเดือน

บันทึกความคิดเห็นการเข้า
ปฐมนิเทศ

บันทึกความคิดเห็นการเข้าสัมมนา
ระหว่างฝึกปฏิบัติการสอน

บันทึกงานที่ได้รับมอบหมายจาก
สถานศึกษา

คำสั่งโรงเรียน

รวมเเผนการจัดการเรียนรู็

ประมวลภาพ

ประวัตินักศึกษาปฏิบัติการสอน

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี

นางสาวอัฟนาณี หมุดหวัน

เลขรหัสประจำตัว 6220114124

นักศึกษาสาขา วิทยาศาสตร์ทั่วไป

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์สุพรรษา สุวรรณชาตรี

อาจารย์นิเทศก์ อาจารย์มัฮดี แวดราแม

ครูพี่เลี้ยง ครูซูไบด๊ะ แซะเด็ง

สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 85/1 หมู่ที่ 8 ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์

จังหวัดปัตตานี 94180

โทรศัพท์ : 0622303155

E-mail : [email protected]

ชื่อ-ที่อยู่สถานศึกษาปฏิบัติการสอน :

โรงเรียนคณะราษฏรบำรุง จังหวัดยะลา

125 ถนนพิพิธภักดี ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 95000

บุคคลที่จะติดต่อได้ (ในกรณีเร่งด่วน) นายมูฮำมะนาแส หมุดหวัน

โทรศัพท์ : 0625782132

ประวัติ
สถานศึกษา

โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จงั หวัดยะลา

ประวตั โิ รงเรยี น

โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา โรงเรียนที่เกา่ แก่ที่สุดของจังหวัดยะลา แรกเริ่มโรงเรียนน้ีต้งั อยทู่ ่ี
หมู่ที่ 3 บ้านลิมุดตำบลท่าสาป เมื่อ พ.ศ. 2452 เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมีอาคารเรียนเป็นอาคารโรง
จาก ฝาไม้ไผ่ และขยายชั้นเรียนในปีต่อๆ มาจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมี รองอำมาตย์ตรี สด สุขหุต เป็น
ครูใหญ่คนแรก ประมาณ พ.ศ. 2455 พระยาณรงค์ฤทธิ์ศรีประเทศเศษวังษา เจ้าเมืองยะลาในสมัยนั้น ได้มอบเงิน
จำนวนหนึ่งให้สร้างโรงเรียนใหม่ทีฝ่ ั่งขวาของแม่น้ำปัตตานี ซึ่งเป็นฝั่งเดียวกับที่ตั้งศาลากลาง จังหวัดยะลา ในสมัย
นั้น คือ หมู่บ้านสะเตง และย้าย โรงเรียนมาจาก บ้านลิมุด ในปี พ.ศ. 2456 และ ขนานนามโรงเรียนว่า "โรงเรียน
ณรงค์ฤทธิ์ยะลาราษฎร์บำรุง" และขยายชั้นเรียนเพ่ิมขึ้นทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2456 ถึง พ.ศ. 2478 จัดสอนเป็น 2
ระดับคือ ระดับประถมศึกษา มีชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษามีช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4

ปี พ.ศ. 2479 โรงเรียนมีชั้นเรียน 8 ชั้น เป็นชั้นประถมศึกษา 4 ชั้น คือชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 และช้นั มัธยมศกึ ษา 4 ชัน้ คอื ช้นั มธั ยมศึกษาปีที 1 ถึงชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวนนักเรียนมี
มากจนสถานที่เรียนไม่เพียงพอ และคับแคบ เมื่อได้รับงบประมาณแผ่นดิน จำนวน 6,000 บาท และเงินสบทบ
ของ"สาขาสมาคมคณะราษฎร์จังหวัดยะลา" อีก 2,000 บาท จึงมาสร้างโรงเรียนใหม่ที่หมู่บ้านนิบง ตำบลสะเตง

อำเภอเมืองยะลา คือ ที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบัน สร้างอาคารเรียนถาวรเปน็ อาคารไม้ 2 ชั้น มี 6 ห้องเรียน และห้องมขุ
ขนาดใหญ่ใช้เป็นห้องเรียนได้อีก 2 ห้อง สิ้นเงินงบก่อนสร้าง 8,000 บาท แล้วได้ย้ายโรงเรียนมาใน ปี พ.ศ. 2480
ทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียน เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2480 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ว่า "โรงเรียนคณะราษฎร
บำรุง " เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 249 6
กรมวิสามัญศึกษา ได้ประกาศปรับปรุงชื่อโรงเรียนเสียใหม่ทั่วประเทศ เพื่อความเหมาะสม จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น
"โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวดั ยะลา"

สัญลักษณ์
รปู เชิงเทียนพญานาคสองเศียร มเี ทียนปักอยตู่ รงกลาง เปลวไฟกำลังเปลง่ แสงสวา่ งโชตชิ ่วงเปลวไฟที่กำลัง

ส่องสวา่ ง เปน็ สัญลักษณ์บอกให้ทราบวา่ “โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา เป็นสถาบนั ที่ใหค้ วามสว่างทาง
ปัญญาแก่นักเรียนให้ออกไปเป็นพลเมอื งท่ีมีคณุ ภาพของประเทศชาติต่อไปในอนาคต”
วิสยั ทัศน์ประจำโรงเรียน

จัดการเรียนร้คู คู่ ณุ ธรรม ดำรงตนอยา่ งมีความสขุ ในประชาคมโลก
สีประจำโรงเรียน

“สเี ขียว-สเี หลอื ง”
สเี ขียว หมายถึง ความรกั ความผูกพนั ระหว่างกันของบคุ ลากรคณะราษฎร์
สเี หลือง หมายถึง ความรุง่ โรจนข์ องสถาบนั อันเน่ืองมาจากความมคี ุณภาพ

อักษรยอ่
ค.บ.

ทต่ี ้ังของโรงเรยี น
125 ถนนพพิ ิธภกั ดี ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จงั หวดั ยะลา 95000

โทรศัพท์: 073 222 801
แฟกซ์ : 0-7321-3753
อเี มล : [email protected]
เว็บไซต์ : http://www.kbyala.ac.th

เว็บไซต์โรงเรยี น

คณะผู้บรหิ าร

กล่มุ บรหิ าร
กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ
กลุ่มบริหารงานท่วั ไป
กลุ่มบริหารงานงบประมาณ
กลุม่ บริหารงานบุคคล

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ 526
ภาษาไทย 676
คณิตศาสตร์ 1202
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 424
ภาษาตา่ งประเทศ 750
การงานอาชีพ 1174
สุขศึกษาและพลศกึ ษา
ศิลปะ 950
1426
ห้องเรยี นพเิ ศษ 2376
โครงการ EP
โครงการ IEP
โครงการ SMA
โครงการ SMT / SMTE
โครงการ SMART

ตารางแสดงจำนวนนักเรียนจำแนกตามชนั้ เพศ
รวม ม.ต้นชาย
รวม ม.ต้นหญงิ
รวม ม.ตน้ ทั้งหมด

รวม ม.ปลายชาย
รวม ม.ปลายหญงิ
รวม ม.ปลาย ทง้ั หมด

รวมนักเรียนชาย
รวมนักเรยี นหญงิ
รวมนักเรียนทง้ั หมด

ตารางสอน

ตารางปฏิบัติการสอน นักศกึ ษาฝกึ ประส

ของ นางสาวอัฟนาณี หมุดห

สาขาวชิ าวิทยาศาสตรท์ ่ัวไป มหาวิทยา

ชอื่ ครูพ่ีเลยี้ ง นางสา

ช่วั โมงท่ี 1 2 34 5
เวลา
08.30-09.20 09.20-10.10 10.10-11.00 11.00-11.50 11.50-12.4
จันทร์
ว 22101 ว 22101 ว 22101
2/2 2/2
1747 1747 2/5

1747

อังคาร

พุธ งานฝ่าย ง

พฤหัสฯ งานฝา่ ย เวรโรงอาหาร

ศกุ ร์ PLC ว 22101 ว 22101
วิทย์ 2/2 2/10
1747 1747

สบการณว์ ิชาชีพครู ภาคเรียนที่ 1/2565 9 10
หวัน เบอร์โทร 0622303155 15.10-16.00 16.00-16.50
าลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี
าว ซไู บด๊ะ แซะเดง็ ชมุ นุม PLC
นศ.ฝึกสอน
6 78 กจิ กรรม
บำเพญ็ ประโยชน์ 1126
40 12.40-13.30 13.30-14.20 14.20-15.10 Home room

PLC 3/1
ครู
ม.2

ว 22101 ว 22101
2/5 2/5
1747 1747

งานฝ่าย

ว 22101 ว 22101
2/10 2/10
1747 1747

ศำสนำ

ประมวลการสอน

ประมวลรายวชิ า (Course Syllabus)
รหัสวิชา ว 22101 รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 3

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

ผสู้ อน
นางสาวอฟั นาณี หมดุ หวัน

โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา ยะลา

ประมวลการสอนรายวิชา : วทิ ยาศาสตร์ 3

รหสั วิชา : ว 22101

โรงเรยี น : คณะราษฎรบำรงุ จังหวดั ยะลา

ระดับการศกึ ษา : ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2

ผสู้ อน : นางสาวอฟั นาณี หมุดหวนั

อาจารย์พ่เี ลี้ยง : นางสาวซูไบดะ๊ แซะเดง็

___________________________________________________________________________

1.ข้อมลู ทวั่ ไป

1.1 ประเภทวชิ า : สาระการเรยี นรพู้ ื้นฐาน

1.2 จำนวนหนว่ ยกิต : 1.5 หน่วยการเรียน

1.3 เวลาเรยี น : 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน

1.4 ภาคเรยี นทเ่ี ปดิ สอน : ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

2. คำอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาเกี่ยวกับชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร ความดันที่มี

ต่อสภาพละลายได้ของสาร ปริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อ

ปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร ยกตัวอย่างการใช้สารละลายในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและ

ปลอดภัย

ศึกษาเกี่ยวกับอวัยวะที่เกี่ยวข้องในระบบหายใจ กลไกการหายใจเข้าและออก กระบวนการ

แลกเปลี่ยนแก๊ส แนวทางในการดแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทางานเป็นปกติ อวัยวะในระบบขับถ่ายใน

การกำจดของเสียทางไต แนวทางในการปฏิบัติตนที่ช่วยให้ระบบขับถ่ายทางานไดอย่างปกติ โครงสร้างและ

หน้าที่ของหัวใจ หลอดเลือด และเลือด การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด เปรียบเทียบอัตราการเต้นของ
หัวใจ ขณะปกติและหลงทำกิจกรรม แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือดให้ทำงานเป็น
ปกติ อวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการควบคมุ การทำงานต่าง ๆ ของรา่ งกาย แนวทางในการดูแลรกั ษา
รวมถึงการป้องกันการกระทบกระเทือนและอันตรายตอสมองและไขสนหลัง อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศ
ชายและเพศหญิง ฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคมการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว
การเปล่ียนแปลงของร่างกายเม่ือเข้าสู่วัยหนุม่ สาวโดยการดูแลรักษารา่ งกายและจติ ใจของตนเองในช่วงท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลง การตกไข่ การมีประจำเดือน การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเป็นทารก วิธีการ
คมุ กำเนดิ ท่ีเหมาะสม ผลกระทบของการตง้ั ครรภ์กอ่ นวัยอันควรโดยการประพฤตติ นให้เหมาะสม

ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นผลของแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงทกระทำต่อวัตถุใน
แนวเดียวกัน แผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงทกระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกัน ปัจจัยมี
ผลตอ่ ความดันของของเหลว แรงพยุงและการจม การลอยของวตั ถใุ นของเหลว แผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทำต่อ
วัตถุในของเหลว แรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์ ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน แผนภาพ
แสดงแรงเสียดทานและแรงอื่น ๆ ที่กระทำต่อวัตถุ ประโยชน์ของความรู้เรื่องแรงเสียดทานโดยวิเคราะห์
สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เป็นประโยชน์ต่อการทำกิจกรรมใน
ชีวิตประจำวัน โมเมนต์ของแรงเมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุน แหล่งของสนามแม่เหลก สนามไฟฟ้า
และสนามโน้มถ่วง ทิศทางของแรงทกระทำต่อวัตถุที่อยู่ในแต่ละสนาม แผนภาพแสดงแรงแม่เหลก แรงไฟฟ้า
และแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุ ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงแม่เหลก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงท่ี
กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในสนามนั้น ๆ กับระยะห่างจากแหล่งของสนามถึงวัตถุ โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การทดลอง การอภิปราย การสร้างความคิด
รวบยอด การฝึกปฏิบัติการทำงานกลุ่ม การเสริมสร้างค่านิยม การสื่อความ การนำเสนอผลงาน และการตั้ง
คำถามเพื่อให้รักการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกิดความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจ มีจิตวิทยาศาสตร์ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถตัดสินใจ ทักษะในการดำรงชีวิต และนำความรู้
วิทยาศาสตรเ์ ปน็ เครอ่ื งมือในการเรยี นรูว้ ิชาอน่ื และนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม

3. ตวั ชว้ี ดั ระบุอวัยวะและบรรยายหนา้ ทขี่ องอวัยวะที่เกยี่ วขอ้ งในระบบหายใจ
ว 1.2 ม.2/1 อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกโดยใช้แบบจำลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการ
ว 1.2 ม.2/2 แลกเปล่ยี นแก๊ส
ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหายใจโดยการบอกแนวทางและปฏิบัติตนในการ
ว 1.2 ม.2/3 ดแู ลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทำงานเป็นปกติ

ว 1.2 ม.2/4 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่ายในการกำจัดของเสียทาง
ว 1.2 ม.2/5 ไต
ว 1.2 ม.2/6 ตระหนกั ถึงความสำคัญของระบบขับถ่าย โดยการบอกแนวทางและปฏบิ ัติตนในการ
ว 1.2 ม.2/7 ดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบขบั ถา่ ยใหท้ ำงานปกติ
ว 1.2 ม.2/8 บรรยายโครงสร้างและหน้าทข่ี องหวั ใจ หลอดเลือด และเลือด
ว 1.2 ม.2/9 อธิบายการทำงานของระบบหมุนเวยี นเลือด โดยใชแ้ บบจำลอง
ว 1.2 ม.2/10 ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทยี บอัตราการเตน้ ของหัวใจขณะพัก
ว 1.2 ม.2/11 และหลังทำกจิ กรรม
ว 1.2 ม.2/12 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหมุนเวียนเลือด โดยการบอกแนวทางในการดูแล
ว 1.2 ม.2/13 รักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือดให้ทำงานปกติ
ว 1.2 ม.2/14 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าทีข่ องอวยั วะในระบบประสาทส่วนกลาง ในการควบคุม
ว 1.2 ม.2/15 การทำงานตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย
ว 1.2 ม.2/16 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบประสาทโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา
ว 1.2 ม.2/17 รวมถงึ การป้องกันการกระทบกระเทอื นและอนั ตรายต่อสมองและไขสนั หลงั
ว 2.1 ม.2/4 ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะในระบบสืบพนั ธขุ์ องเพศชายและเพศหญิง
โดยใชร้ ะบบจำลอง
ว 2.1 ม.2/5 อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
เม่ือเขา้ สู่วัยหนุ่มสาว
ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยการประพฤติตนให้
เหมาะสม
อธิบายการตกไข่ การมีประจำเดือน การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกต จน
คลอดเป็นทารก
เลอื กวธิ คี มุ กำเนิดทีเ่ หมาะสมกับสถานการณท์ ก่ี ำหนด
ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยการประพฤติตนให้
เหมาะสม
ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำ
ละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายของสาร รวมทั้งอธิบายผลของความดันที่มีต่อ
สภาพละลายของสารโดยใช้สารสนเทศ
ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละปริมาตรต่อ
ปรมิ าตร มวลต่อมวล และมวลต่อปรมิ าตร

ว 2.1 ม.2/6 ตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้เรื่อง ความเข้มข้นของสารไปใช้ โดย
ว 2.2 ม.2/1 ยกตวั อย่างการใชส้ ารละลายในชวี ิตประจำวนั
ว 2.2 ม.2/2 พยากรณ์การเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุท่เี ปน็ ผลของแรงลัพธท์ ีเ่ กดิ จากแรงหลายแรงท่ีกระทำ
ว 2.2 ม.2/3 ตอ่ วตั ถุในระนาบเดยี วกันจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ว 2.2 ม.2/4 เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทำต่อวัตถุใน
ว 2.2 ม.2/5 ระนาบเดียวกนั
ว 2.2 ม.2/6 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอภิปรายปัจจัยที่มีผลต่อ
ว 2.2 ม.2/7 ความดนั ของของเหลว
ว 2.2 ม.2/8 วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อแรงพยุงของของเหลวและการจม การลอยของวัตถุใน
ว 2.2 ม.2/9 ของเหลวจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำตอ่ วัตถใุ นของเหลว
ว 2.2 ม.2/10 อธิบายแรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสียดทานจลนจ์ ากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ว 2.2 ม.2/11 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยท่ี มีผลต่อ
ว 2.2 ม.2/12 ขนาดของแรงเสียดทาน
ว 2.2 ม.2/13 เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอนื่ ๆ ท่กี ระทำตอ่ วัตถุ
ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรู้เรือ่ งแรงเสียดทาน โดยวเิ คราะหส์ ถานการณ์ปญั หา
ว 2.2 ม.2/14 และเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เป็นประโยชน์ต่อการทำกิจกรรมใน
ว 2.2 ม.2/15 ชวี ิตประจำวัน
ออกแบบการทดลอง และทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายโมเมนต์ของแรง
เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลการหมุน และคำนวณโดยใชส้ มการ =
เปรยี บเทียบแหล่งของสนามแม่เหล็กสนามไฟฟา้ และสนามโน้มถ่วงและทิศทางของ
แรงท่กี ระทำตอ่ วตั ถทุ อ่ี ย่ใู นแตล่ ะสนามจากขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้
เขียนแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถว่ งที่กระทำต่อวตั ถุ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงท่ี
กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในสนามนั้น ๆ กับระยะห่างจากแหล่งของสนามถึงวัตถุจาก
ข้อมูลท่รี วบรวมได้
อธิบายและคำนวณอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยใช้สมการ
V = s และ ⃑V = s จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์

tt

เขียนแผนภาพแสดงการกระจดั และความเรว็

กำหนดการสอน
ภาคเรียนที่ .......1....... ปีการศึกษา ......2565.......
วชิ า ........วิทยาศาสตร์ 3.......... ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ .........2.........
จำนวนหน่วยกติ .......1.5.... จำนวน .........60............. ชวั่ โมง

อตั ราส่วนคะแนน 70 : 30

ที่ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ เวลา (ชว่ั โมง) น้ำหนกั คะแนนปลาย
ปกติ ออนไลน์ คะแนนเก็บ ภาค
1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ 3- 3
และจิตวทิ ยาศาสตร์ 5
12 2 8
2 สารละลาย 16 5 16 9
3 รา่ งกายมนษุ ย์ 17 5 24 10
4 การเคลื่อนที่และแรง 48 12 25 30
70
รวมตลอดภาคเรยี น

ลงช่ือ………………………………………………..
( ปส.อฟั นาณี หมดุ หวัน )
ครูผู้สอน

ลงชอื่ .………………………………………………..
(ครซู ูไบด๊ะ แซะเด็ง)
ครพู ีเ่ ลีย้ ง

หมายเหตุ : เวลาทีใ่ ชใ้ นการสอนใหก้ ำหนดเป็นออนไลน์ 80%

และสอนปกติในช้นั เรยี น 20% ของเวลาเรียนทง้ั หมด

รหัสวชิ า ว 22101 รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 3 โครงสรา้ ง
ระดับ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทย
ครูผสู้ อน นางสาวอฟั นาณี หมดุ หวัน
เวลา 3 คาบ/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1

หน่วยท่ี ช่ือหน่วย เรอื่ ง ตัวชว้ี ัด สาระสำคัญ
1 การเรียนรู้ -
ธรรมชาติ - ธรรมชาติของ - วิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพา
ของ วทิ ยาศาสตร์ ศาสตร์แขนงอื่น ๆ โดยธรรมช
วทิ ยาศาสต - จิตวิทยาศาสตร์ จะให้ความสำคัญกับการมอง
รแ์ ละ วิทยาศาสตร์ที่ว่า เราสามา
จติ วทิ ยา ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้โดยอา
ศาสตร์ หลักฐาน ลงความคิดเห็น ผส
สร้างสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ ในก
คำอธบิ ายทางวิทยาศาสตร์ที่มีค
- การสืบเสาะหาความรู้ทางวิท
สำคัญอีกส่วนหนึ่งของธรรมชา
กระบวนการทีม่ นุษย์

งรายวชิ า
ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ
ปกี ารศกึ ษา 2565

ญ เวลา น้ำหนัก ภาระงาน
คะแนน

าะตัวที่แตกต่างจาก 3 3 -องคค์ วามรโู้ ครงสรา้ งอะตอมและ

ชาติของวิทยาศาสตร์ การศึกษาวิจยั ใบหน้าของหญิง

งโลกในมุมมองแบบ โบราณปลายยุคก่อนประวัติศาสตร์

ารถทำความเข้าใจ -กล่องปริศนา

าศัยกระบวนการหา

สมผสานกับความคิด

การสร้างแนวคดิ และ

ความนา่ เชือ่ ถือ

ทยาศาสตร์เป็นส่วน

าติวิทยาศาสตร์ เป็น

ใช้แสวงหาคำตอบ สร้างแนว

เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ

(theory) และอธิบายความส

ของส่ิงต่าง ๆ ในปรากฏการณ์

- ลักษณะนิสัยของบุคคลที่เกี่ย

นึกคิดทางวิทยาศาสตร์ เรียก

ซงึ่ แสดงออกไดห้ ลายแนวทาง

2 สารละลาย บทท่ี 1 ว 2.1 - สารละลายประกอบด้วยต

องคป์ ระกอบของ ม.2/4 ละลาย สารละลายมีสถานะ

สารละลายและ ของเหลว และแกส๊

ปัจจยั ที่มผี ลตอ่

สภาพละลายได้

- องค์ประกอบ

ของสารละลาย

- ละลายได้และ

ปัจจัยที่มีผลต่อ

สภาพละลายได้

- ความเข้มข้นของสารละล

บทที่ 2 ความ ม.2/5, ละลายในสารละลาย หรอื

เข้มข้นของ ม.2/6

สารละลาย

วคิดและคำบรรยาย 13 -ใบงานองค์ประกอบของสารละลาย
ๆ ที่เรียกว่า ทฤษฎี - กจิ กรรมการทดลอง
สัมพันธ์หรือรูปแบบ -แบบรายงานผลการทดลอง
ท่เี รียกวา่ กฎ (law -ผงั มโนทัศน์
ยวข้องกับความรู้สึก
กว่า จิตวิทยาศาสตร์

ตัวทำละลายและตัว 14
ะเป็นได้ทั้งของแข็ง

ลายเป็นปริมาณตัว

- ความเข้มข้นของ ในตัวทำละลาย หน่วยความเ

สารละลาย นิยมระบุหน่วยเป็นร้อยละ

ปรมิ าตร โดยมวลต่อมวลและโ

3 ร่างกาย บทที่ 1 ระบบ ว 1.2 -ระบบหายใจมีอวัยวะต่าง ๆ

มนุษย์ อวยั วะในร่างกาย ม.2/1, จมกู ท่อลม ปอด กะบังลม แล

ของเรา ม.2/2, - มนุษย์หายใจเข้า เพื่อนำแ

- ระบบหายใจ ม.2/3, ร่างกายเพื่อนำไป ใช้ในเซลล์

กำจัดแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดอ์

- ระบบขับถ่าย -ระบบอวัยวะขับถ่ายมีอวัยวะ
ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท
ทำหน้าที่กำจัดของเสีย เช่น ยูเ
ม.2/4, ยูริก รวมทั้งสารที่ร่างกายไม่ต้อ
ม.2/5, และควบคุมสารที่มีมากหรือน
โดยขับออกมาในรปู ของปสั สาว

-ระบบหมุนเวียนเลือดประกอ
เลอื ด และเลอื ด
-หัวใจของมนุษย์แบ่งเป็น 4 ห
บน 2 ห้องและห้องล่าง 2 ห้อ
บนและหวั ใจ ห้องลา่ งมีลนิ้ หัวใ

เข้มข้นมีหลายหน่วย 21 17 - กจิ กรรมการทดลอง
ะ โดยปริมาตรต่อ - แบบรายงานผลการทดลอง
โดยมวลตอ่ ปริมาตร -แบบ
ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ทดสอบ
ละกระดกู ซโี่ ครง
แก๊สออกซิเจนเข้าสู่
และหายใจออกเพื่อ
ออกจากรา่ งกาย

ะที่เกี่ยวข้อง คือ ไต
ท่อปัสสาวะ โดยมีไต
เรีย แอมโมเนีย กรด
องการออกจากเลือด
น้อยเกินไป เช่น น้ำ
วะ

อบด้วยหัวใจ หลอด

ห้อง ได้แก่ หัวใจห้อง
อง ระหว่างหัวใจห้อง
ใจกัน้

- ระบบหมุนเวียน ม.2/6, -ระบบประสาทส่วนกลางประ
เลือด ม.2/7, ไขสันหลัง จะทำหน้าที่ร่วมกับ
ระบบประสาทรอบนอกในกา
ม.2/8, อวัยวะต่าง ๆ รวมถึงการแสดง
ม.2/9, ตอบสนองต่อส่ิงเร้า

- ระบบประสาท ม.2/10, -ระบบสืบพันธ์ุประกอบด้วย
ม.2/11, หน้าที่เฉพาะ โดยเพศหญิงมีร
เซลล์ไข่ส่วนเพศชายมีอัณฑะท
อสุจิ

- ระบบสืบพันธุ์ ม.2/12,
ม.2/13,
ม.2/14,
ม.2/15,

ะกอบ ด้วยสมองและ
บเส้นประสาท ซึ่งเป็น
รควบคุมการทำงาน
งพฤติกรรม เพื่อการ

อวัยวะต่าง ๆ ที่ทำ
รังไข่ท่ีทำหน้าที่ผลิต
ที่ทำหน้าที่สร้างเซลล์

ม.2/16,

ม.2/17

4 การ หน่วยท่ี 4 การ ว 2.2 -แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อ

เคล่ือนท่ี เคลือ่ นทแ่ี ละแรง ม.2/1, กระทำต่อวัตถุ แล้วแรงลัพธ์ท

และแรง - แรงลัพธ์ ม.2/2, เป็นศูนย์ วัตถุจะไม่เปลี่ยนแป

ถา้ แรงลัพธ์ท่กี ระทำตอ่ วัตถมุ คี

เปล่ียนแปลงการเคลอ่ื นที่

- แรงและความ ม.2/3, -เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลวจะมีแร
ดนั ของของเหลว ต่อวัตถุในทุกทิศทาง โดยแรงท
ฉากกับผิววัตถุต่อหนึ่งหน่วยพ
ดันของของเหลว

- แ ร งพย ุ งข อง ม.2/4, - เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลว จะ
ของเหลวกระทำต่อวตั ถุ โดยมีท
ของเหลว ม.2/5, จมหรือการลอยของวัตถุขึ้นก
และแรงพยุง

-แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดข
ของวัตถุเพื่อต้านการเคลื่อนท
ออกแรงกระทำต่อวัตถุที่อ

อมีแรงหลาย ๆ แรง 22 17 -แบบรายงานผลการทดลอง
ที่กระทำต่อวัตถุมีค่า -แบบ
ปลงการเคลื่อนที่ แต่ ทดสอบ
ค่าไมเ่ ป็นศนู ย์ วัตถุจะ

รงที่ของเหลวกระทำ
ที่ของเหลวกระทำตัง้
พื้นที่ เรียกว่า ความ

ะมีแรงพยุงเนื่องจาก
ทิศขน้ึ ในแนวดง่ิ การ
กับน้ำหนักของวัตถุ

ขึ้นระหว่างผิวสัมผัส
ที่ของวัตถุนั้น โดยถ้า
อ ย ู ่ น ิ ่ ง บ น พ ื ้ น ผ ิ ว ใ ห้

- แรงเสียดทาน ม.2/6, เคลื่อนที่ แรงเสียดทานก็จะต
ม.2/7, วตั ถุ
ม.2/8,
ม.2/9, -เมื่อมีแรงที่กระทำต่อวัตถุโด
มวลของวัตถุจะเกิดโมเมนต์
- โมเมนตข์ องแรง ม.2/10, หมนุ รอบศูนย์กลางมวลของวตั
-วัตถุที่มีมวลจะมีสนามโน้มถ
- แรงและสนาม ม.2/11, โน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ใ
ทิศพ่งุ เข้าหาวัตถุท่ีเปน็ แหลง่ ขอ
ของแรง ม.2/12,
-การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการ
ม.2/13, วัตถุเทียบกับตำแหน่งอ้างอ
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ซึ่งม
และปรมิ าณเวกเตอร์ เช่น ระย
อัตราเร็ว การกระจัด ความเ
เป็นปริมาณ ที่มีขนาด เช่น ร
ปริมาณเวกเตอร์เป็นปริมาณ
ทิศทาง เช่น การกระจดั ความ

- ตำแหนง่ ของวัตถุ ม.2/14,
ระยะทางและการ ม.2/15
กระจัด

้านการเคลื่อนที่ของ

ดยไม่ผ่านศูนย์กลาง
ของแรง ทำให้วัตถุ
ตถนุ ้นั
ถ่วงอยู่โดยรอบ แรง
ในสนามโน้มถ่วงจะมี
องสนามโนม้ ถว่ ง

รเปลี่ยนตำแหน่งของ
อิง โดยมีปริมาณที่
มีทั้งปริมาณสเกลาร์
ยะทาง
เร็ว ปริมาณสเกลาร์
ระยะทาง อัตราเร็ว
ณ ที่มีทั้งขนาดและ
มเรว็

- อัตราเร็วและ
ความเรว็

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
คะแนนเกบ็ 50 คะแนน
การประเมนิ ผลจากการสอบประมวลความรกู้ ลางภาคเรยี น 20 คะแนน
การประเมินผลจากการสอบประมวลความรู้ปลายภาคเรียน 30 คะแนน
รวม 100 คะแนน



ตัวอยา่ งแผน
การจัดการเรียนรู้

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 18

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 ร่างกายมนุษย์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 3 รหัสวชิ า ว 22101

เรอ่ื ง ระบบหายใจ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรียน 2 คาบ

ผู้สอน ปส.อัฟนาณี หมดุ หวนั อาจารยพ์ ่เี ล้ียง นางสาวซูไบดะ๊ แซะเดง็

โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จังหวัดยะลา สพม.ยะลา

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมชี ีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออก

จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้

ประโยชน์

2. ตวั ชวี้ ัด

ว 1.2 ม.2/1 ระบุอวัยวะและบรรยายหนา้ ทีเ่ ก่ยี วข้องในระบบหายใจ
ว 1.2 ม.2/2 อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจำลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการ
แลกเปลีย่ นแกส๊
ว 1.2 ม.2/3 ตระหนักถงึ ความสำคัญองระบบหายใจโดยการบอกแนวทางในการดแู ลรกั ษาอวยั วะใน
ระบบหายใจใหท้ ำงานเป็นปกติ
3. จุดเนน้ (สพม. ,โรงเรยี น)
3.1 มงุ่ มน่ั ในการศึกษาและการทำงาน
4. สาระสำคัญ
ระบบหายใจประกอบด้วยจมูก ท่อลม และปอด ทำหน้าที่นำแกส๊ ออกซิเจนจากการหายใจเข้า เพ่ือ

ทำปฏิกิริยากับสารอาหารก่อให้เกิดพลังงาน และกำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายโดยการ

หายใจออกอากาศจะเคลื่อนเข้าสู่ร่างกายทางจมูก ท่อลม หลอดลม หลอดลมฝอย และถุงลมภายในปอด

กระบวนการหายใจเข้าและออกเกิดจากการทำงานที่ประสานกันของกะบังลมและกระดูกซี่โครง การ

แลกเปลีย่ นแก๊สออกซเิ จนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ กิดข้นึ 2 บริเวณ คอื ทีบ่ รเิ วณถงุ ลมในปอดกบั หลอด

เลือดฝอย และระหวา่ งหลอดเลือดฝอยกับเซลล์

5. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ด้านความรู้ความสามารถ
K1 ความเข้าใจ : - นักเรียนสามารถระบุอวัยวะและอธิบายหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
ในระบบหายใจได้
K2 ความเข้าใจ : - นักเรียนสามารถอธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกโดยใช้
แบบจำลองได้
- นักเรยี นสามารถยกตวั อย่างโรคทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ระบบหายใจได้
ด้านทักษะกระบวนการ
P 1 การรบั รู้ : - นกั เรยี นมที กั ษะการสงั เกต จำแนกประเภทไดอ้ ย่างเหมาะสม
ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
A 3 การเห็นคุณค่า : ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหายใจโดยการบอกแนวทางใน
การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทำงานเป็นปกต6. สาระ
การเรียนรู้

6. สาระการเรียนรู้
6.1 ระบบหายใจมีอวัยวะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ จมูก ท่อลม ปอด กะบังลม และกระดูก

ซโี่ ครง
6.2 มนุษย์หายใจเข้าพร้อมกับนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพื่อนำไปใช้ในเซลล์ และหายใจ

ออกเพื่อกำจดั แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากร่างกาย
6.3 อากาศเขา้ และออกจากปอดได้ เนอื่ งจากการเปลีย่ นแปลงปรมิ าตรและความดนั ของอากาศ

ภายในชอ่ งอกซึง่ เกย่ี วกบั ทำงานของกะบังลม และกระดกู ซี่โครง
6.4 การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ในรา่ งกาย เกิดข้ึนบริเวณถุงลมใน

ปอดกบั หลอดเลือดฝอยท่ีถงุ ลม และระหว่างหลอดเลอื ดฝอยกบั เนือ้ เย่อื
6.5 การสูบบุหรี่ การสูดอากาศที่มีสารปนเปื้อน และการเป็นโรคเกี่ยวกับระบบหายใจบางโรค

อาจทำให้เกดิ โรคถงุ ลมโปง่ พอง ซึ่งมีผลใหค้ วามจุอากาศของปอดลดลง ดังนั้นจึงควรดูแลรักษาระบบหายใจ
ให้ทำหนา้ ทป่ี กติ
7. สมรรถนะของผเู้ รยี น

7.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
7.2 ความสามารถในการคดิ
7.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
8. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
8.1 มวี ินัย
8.2 ใฝ่เรยี นรู้

8.3 มุง่ มน่ั ในการทำงาน

9. หลักฐานการจดั การเรยี นรู้ (ชิน้ งาน/ภาระงาน)
9.1 แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) เร่อื ง ระบบในรา่ งกายมนุษย์
9.2 กิจกรรม “ภารกจิ พชิ ิตระบบหายใจ”
9.3 ใบกจิ กรรม เร่ือง ภารกิจพิชิตระบบหายใจ
9.4 แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) เร่อื ง ระบบในรา่ งกายมนุษย์

10. กระบวนการจดั การเรียนรู้
10.1 ขนั้ เตรยี มความพรอ้ ม (Prompt) เวลา 15 นาที
10.1.1 กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยการให้นักเรียนนั่งสมาธิ ฝึกการหายเข้าและออก
อยา่ งชา้ ๆ
10.1.2 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) (10 นาที) เกี่ยวกับ ระบบในร่างกายของ
เรา ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท
10.2 ขัน้ การเรยี นรู้ (Learn) เวลา 15 นาที
10.2.1 นกั เรียนจบั ลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน หรอื จบั ตามกลุ่มเดมิ จากคาบที่แลว้
10.2.2 นักเรียนศึกษาและทำความเข้าใจเนื้อหา เกี่ยวกับระบบหายใจ จากสื่อนวัตกรรมการสอนและ

สไลด์ประกอบการสอน เรื่องระบบหายใจ ซึ่งประกอบไปด้วย อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบ
หายใจ กลไกการหายใจเข้าและหายใจออกโดยใช้แบบจำลอง กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส โรคทางระบบหายใจ
และการดแู ลรกั ษาอวยั วะที่เกยี่ วขอ้ งกับระบบหายใจ

10.3 ขั้นการร่วมเรียนรอู้ ย่างสนกุ สนาน (Enjoy) เวลา 40 นาที
10.3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มรับชุดภารกิจ กลุ่มละ 1 ชุด ประกอบไปด้วย กติกาการเล่น ใบ

ภารกิจ แบบจำลองการทำงานของปอด และวัสดุอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการทำกิจกรรม “ภารกิจพิชิต
ระบบหายใจ”

10.3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษากติกาการเล่นกิจกรรม “ภารกิจพิชิตระบบหายใจ” ซึ่งมี
ทง้ั หมด 4 ภารกิจโดยมกี ตกิ าดงั น้ี ( เวลา 35 นาท)ี

- ภารกจิ ที่ 1
1) จบั คบู่ ัตรคำอวยั วะและหนา้ ท่ขี องอวัยวะท่เี ก่ียวข้องกบั ระบบหายใจ
2) นำ 1) มาแลกเป็นธนบตั รบัตรคำอวัยวะ
3) นำ 2) มาแปะลงในใบภารกิจท่ี 1 ตามหมายท่ีระบใุ หถ้ กู ตอ้ ง

\

- ภารกิจท่ี 2
1) เรียงลำดับอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของอากาศเข้าและ

ออกจากร่างกายเมื่อมีการหายใจ โดยการแปะบัตรชื่ออวัยวะลงในช่องว่างของใบ
ภารกิจท่ี 2

- ภารกจิ ที่ 3 และภารกจิ ท่ี 4
1) รบั แบบจำลองการทำงานของปอด
2) สังเกตกลไกการทำงานของการหายใจเข้าและการหายออก โดยใช้

แบบจำลองการทำงานของปอดมาใชใ้ นการอธิบายลงใบภารกิจที่ 3

10.4 ข้นั การถามเพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจจากการเรียนรู้ (Ask) เวลา 10 นาที
10.4.1 นักเรียนรว่ มกันสรปุ โดยการนำเสนอเกีย่ วกับการทำกิจกรรม “ภารกิจพิชติ ระบบ

หายใจ” โดยได้ขอ้ สรุปดงั น้ี
ระบบหายใจมีอวัยวะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ จมูก ท่อลม ปอด กะบัง

ลม และกระดูกซี่โครง มนุษย์หายใจเข้าพร้อมกับนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย
เพื่อนำไปใช้ในเซลล์ และหายใจออกเพื่อกำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จาก
ร่างกาย อากาศเข้าและออกจากปอดได้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและ
ความดันของอากาศ ภายในช่องอกซึ่งเกี่ยวกับทำงานของกะบังลม และกระดูก
ซี่โครง การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในร่างกาย
เกิดขึ้นบริเวณถุงลมในปอดกับหลอดเลือดฝอยที่ถุงลม และระหว่างหลอดเลือด
ฝอยกับเนื้อเยื่อ การสูดอากาศที่มีสารปนเปื้อน และการเป็นโรคเกี่ยวกับระบบ
หายใจบางโรค อาจทำให้เกิดโรคถุงลมโป่งพอง ซึ่งมีผลให้ความจุอากาศของปอด
ลดลง ดังนั้นจึงควรดูแลรักษาระบบหายใจใหท้ ำหน้าที่ปกติ
10.4.2 นักเรียนร่วมกันถามตอบหลังจากการทำกิจกรรม “ภารกิจพิชิตระบบหายใจ”
โดยมีตวั อย่างคำถามดงั นี้

• จากกิจกรรมนกั เรยี นได้ทำภารกจิ อะไรบ้าง ?
(แนวคำตอบ อวัยวะทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับระบบหายใจ การเดินทางของอากาศ
กระบวนการแลกเปล่ียนแก๊ส ตัวอยา่ งโรคท่ีเกย่ี วขอ้ งกับระบบหายใจ )

• จากภารกิจท่ี 1 อวัยวะท่ีเก่ยี วข้องกับระบบหายใจมอี ะไรบ้าง ?
(แนวคำตอบ จมูก โพรงจมูก ท่อลม หลอดลม ปอด ถุงลม กะบังลม
และกระดกู ซโ่ี ครง)
• จากภารกิจที่ 2 การเดินทางของอากาศผ่านอวัยวะใดบ้าง และการ
หายใจเข้าและออกคือแก๊สอะไร ?
(แนวคำตอบ รูจมูก โพรงจมูก ท่อลม ปอด ถุงลม การหายใจเข้าจะนำ
แกส๊ ออกซเิ จนและจะกำจัดออกแก๊สคาร์โบไฮโดรเจน )
• จากภารกจิ ท่ี 3 ทำให้นกั เรยี นรเู้ ก่ยี วกบั อะไรบา้ ง ?
(แนวคำตอบ เกย่ี วกับกลไกการหายใจเขา้ และการหายออก )
10.5 ข้ันการตอบสนองการเรียนรู้ (Response) เวลา 10 นาที
10.5.1 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหา เกี่ยวกับระบบหายใจ จากสื่อนวัตกรรมการ
สอน ซึ่งประกอบไปด้วย อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจ กลไกการหายใจ
เข้าและหายใจออกโดยใช้แบบจำลอง กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส โรคทางระบบหายใจและการ
ดแู ลรกั ษาอวยั วะท่ีเก่ียวข้องกบั ระบบหายใจ
10.6 ขั้นการให้ข้อสังเกตหรือการชี้แนะอย่างสร้างสรรค์หลังได้รับความรู้ (Notice) เวลา 10
นาที
10.6.1 นักเรยี นสงั เกตการใสห่ น้ากากอนามัยของเพ่ือนรอบขา้ ง
10.6.2 นักเรยี นชว่ ยกนั วิเคราะหว์ ่า การใส่หนา้ กากอนามยั สำคญั อย่างไร แล้วสง่ ผลต่อระบบ
ในรา่ งกายเราอยา่ งไร
(แนวคำตอบ การใส่หน้ากากอนามัยสามารถลดการแพร่กระจ่ายของอณูเล็ก ๆ ที่มีเช้ือ
โรคปนเปื้อนได้ ดังนั้นการใส่หน้ากากอนามัยจะช่วยป้องกันเชื้อโรคและฝุ่นละอองใน
อากาศหน้ากากอนามัยมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์การใช้งาน หากไม่มีการสวม
หน้ากาก อาจทำให้เกิดโรคทางเดนิ หายใจได้ )
10.6.3 นกั เรยี นลองยกตวั อยา่ ง โรคทเ่ี กีย่ วกบั ระบบหายใจว่ามีโรคอะไรบ้าง ?
(แนวคำตอบ มะเรง็ ปอด วณั โรค ปอดติดเชอื้ ถงุ ลมโป่งพอง)
10.6.4 นักเรียนพิจารณาสังคมปัจจุบัน ว่าระบบหายใจสำคัญอย่างไรและสิ่งใดที่ทำให้เกิดโรค
ทางระบบหายใจ
(แนวคำตอบ ระบบหายใจเป็นระบบหนึ่งที่สำคัญ ซึ่งช่วยในการแลกเปลี่ยนแก๊สใน
ร่างกาย เนื่องจากในปจั จุบันอากาศที่หายใจเข้าไป นอกจากจะมปี ริมาณมลพิษทางอากาศ
เพิ่มมาเรื่อย ๆ แล้ว ยังมีเชื้อโรคออีกหลายชนิด ที่สามารถเป็นที่ทำให้เกิดโรคทางเกิด
หายใจหรือระบบหายใจได้ )

11. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

11.1 หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เลม่ 1

11.2 เอกสารประกอบสอน เรอื่ ง ระบบหายใจ

11.3 ส่ือนวัตกรรมการสอน เรือ่ ง ระบบหายใจ

11.4 แบบจำลองการทำงานของปอด

12. การวดั และประเมนิ ผล

•ดา้ นความรูค้ วามสามารถ

เครื่องมอื วธิ ีการวัด เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ใบกจิ กรรม เรื่อง ภารกจิ 1. ตรวจจากใบกิจกรรม เรื่อง 1. นักเรียนสามารถทำใบ

พิชิตระบบหายใจ ภารกิจพชิ ติ ระบบหายใจ กิจกรรม เรื่อง ภารกิจพิชิต

2. แบบสงั เกตการตอบคำถาม 2. สังเกตพฤติกรรมการตอบ ระบบหายใจได้อยู่ในระดับดี

ระหว่างทำกิจกรรม “ภารกิจ คำถามระหว่างทำกิจกรรม ขึ้นไป มีคะแนนอยู่ระหว่าง 9-

พิชิตระบบหายใจ” “ภารกิจพิชิตระบบหายใจ” 12 ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

2. นักเรียนมีพฤติกรรมการ

ตอบคำถามโดยรวมอยู่ในใน

ระดับดีขึน้ ไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

•ด้านทกั ษะกระบวนการ

เครื่องมอื วธิ ีการวัด เกณฑ์การประเมิน

1. แบบสังเกตการตอบคำถาม 1. สังเกตพฤติกรรมการตอบ 1. นักเรียนมีพฤติกรรมการ

ระหว่างทำกิจกรรม “ภารกิจ คำถามระหว่างทำกิจกรรม ตอบคำถามโดยรวมอยู่ในใน

พิชติ ระบบหายใจ” “ภารกจิ พิชติ ระบบหายใจ” ระดบั ดีข้ึนไป ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

2. แบบสังเกตพฤติกรรมของ 2. ส ั ง เ ก ต พ ฤ ต ิก รร ม ของ 2. นักเรียนมีพฤติกรรมจาก

นักเรียนจากการทำกิจกรรม นักเรียนจากการทำกิจกรรม การทำกิจกรรม“ภารกิจพิชิต

“ภารกิจพิชติ ระบบหายใจ” “ภารกิจพชิ ิตระบบหายใจ” ระบบหายใจ”อยู่ในเกณฑ์ 6

คะแนนข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

•ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เคร่ืองมือ วิธีการวดั เกณฑ์การประเมนิ

แบบสังเกตพฤติกรรมของ สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียน นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมจากการ

นักเรียนจากการทำกิจกรรม จากการทำกิจกรรม “ภารกจิ ทำกจิ กรรม“ภารกจิ พชิ ติ

“ภารกิจพชิ ติ ระบบหายใจ” พชิ ิตระบบหายใจ” ระบบหายใจ”อยใู่ นเกณฑ์ 6

คะแนนขน้ึ ไป ถือว่าผา่ น

เกณฑ์

บันทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้

ประเดน็ ม.2/2 ม.2/5 ม.2/10
1. ดา้ นความรู้
นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 % นกั เรยี นรอ้ ยละ 70 % นักเรยี นรอ้ ยละ 68 %
2. ดา้ นทักษะ
กระบวนการ สามารถระบอุ วัยวะและ สามารถระบุอวัยวะและ สามารถระบุอวัยวะและ

3. ดา้ น อธิบายหนา้ ทข่ี องอวยั วะท่ี อธิบายหน้าทขี่ องอวยั วะที่ อธิบายหน้าท่ขี องอวัยวะท่ี
คณุ ลักษณะอนั
พงึ ประสงค์ เกี่ยวขอ้ งในระบบหายใจ เก่ยี วขอ้ งในระบบหายใจ เกี่ยวขอ้ งในระบบหายใจ

4. ปญั หา และสามารถอธบิ ายกลไก และสามารถอธบิ ายกลไก และสามารถอธบิ ายกลไก
อุปสรรค
การหายใจเข้าและออก การหายใจเข้าและออก การหายใจเข้าและออก

โดยใชแ้ บบจำลองจาก โดยใชแ้ บบจำลองจาก โดยใช้แบบจำลองจาก

กิจกรรม เร่ือง ภารกิจ กจิ กรรม เร่ือง ภารกจิ กิจกรรม เร่ือง ภารกจิ

พิชติ ระบบหายใจได้ใน พชิ ติ ระบบหายใจได้ใน พชิ ิตระบบหายใจได้ใน

ระดับดี ระดบั ดี ระดบั ดี

นกั เรยี นรอ้ ยละ 81 % มี นกั เรยี นรอ้ ยละ 75 % มี นกั เรยี นรอ้ ยละ 60 % มี

ทักษะการสงั เกต และการ ทกั ษะการสังเกต และการ ทักษะการสงั เกต และการ

จำแนกโดยการวเิ คราะห์ จำแนกโดยการวเิ คราะห์ จำแนกโดยการวเิ คราะห์

จากทำกิจกรรม “ภารกจิ จากทำกจิ กรรม “ภารกิจ จากทำกจิ กรรม “ภารกิจ

พิชิตระบบหายใจ” พชิ ิตระบบหายใจ” พิชติ ระบบหายใจ”

โดยรวมแลว้ อยใู่ นระดับดี โดยรวมแล้วอยใู่ นระดบั ดี โดยรวมแล้วอยใู่ นระดบั ดี

นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 % มี นกั เรยี นรอ้ ยละ 70 % มี นกั เรยี นรอ้ ยละ 60 % มี

ความตงั้ ใจและสนใจใน ความตง้ั ใจและสนใจใน ความตั้งใจและสนใจใน

การเรยี นรจู้ ากการทำ การเรียนรู้จากการทำ การเรยี นรจู้ ากการทำ

กิจกรรมทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย กจิ กรรมทไี่ ดร้ บั มอบหมาย กิจกรรมทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อสรปุ และมี เพื่อใหไ้ ด้ข้อสรปุ และมี เพ่อื ให้ไดข้ อ้ สรุป และมี

การทำงานกล่มุ อยา่ งเป็น การทำงานกลมุ่ อยา่ งเปน็ การทำงานกลุ่มอย่างเปน็

ระบบ ระบบ ระบบ

เนอื่ งจากส่ือทใ่ี ช้ เนอ่ื งจากส่ือที่ใช้ เน่อื งจากส่อื ทใ่ี ช้

ประกอบการสอนคอ่ นขา้ ง ประกอบการสอนคอ่ นขา้ ง ประกอบการสอนค่อนข้าง

เลก็ ทำใหเ้ สยี เวลาในการ เล็ก ทำให้เสยี เวลาในการ เล็ก ทำให้เสียเวลาในการ

เรียนรู้ และไมค่ อ่ ยเห็น เรียนรู้ และไม่คอ่ ยเหน็ เรยี นรู้ และไม่ค่อยเหน็

ภาพได้ชดั เจน ภาพได้ชัดเจน ภาพได้ชัดเจน

มีนกั เรียน 3- 4 ไมส่ นใจ

ในการเรยี นและการ

ทำงานเป็นกลุ่ม

5. ข้อเสนอแนะ/ ใช้ภาพประกอบเพ่ิมเตมิ ใช้ภาพประกอบเพ่ิมเติม ใชภ้ าพประกอบเพิ่มเติม

แนวทางแกไ้ ข ลงในสไลด์การสอน พรอ้ ม ลงในสไลด์การสอน พร้อม ลงในสไลด์การสอน พร้อม

ท้ังขยายใหใ้ หญแ่ ละ ทง้ั ขยายให้ใหญแ่ ละ ทั้งขยายใหใ้ หญ่และ

ชดั เจนกวา่ เดิม ชดั เจนกวา่ เดมิ ชดั เจนกว่าเดิม

ครแู ละเพอ่ื น ๆ ภายใน

กลมุ่ ควรแนะนำการ

ทำงานและเรียกช่ือ

นกั เรยี นทไ่ี มค่ อ่ ยสนใจ

บอ่ ย ๆ เพอ่ื กระตุ้นการ

เรียนร้ขู อนักเรยี นให้มาก

ยิ่งข้นึ

ลงชือ่ ………………………………………………..
( ปส.อฟั นาณี หมดุ หวัน )
ครผู ู้สอน

ความเห็นของครูพเี่ ลย้ี ง
ขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ .………………………………………………..
(ครูซูไบด๊ะ แซะเดง็ )

ครูพ่ีเล้ียง

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นจากการตอบคำถ

คำชแ้ี จง ให้ทำเคร่ืองหมาย ✓ ในชอ่ งทต่ี รงกับความเปน็ จรงิ

กล่มุ ที่ ชือ่ – นามสกลุ ความถกู ตอ้ งการตอ
432

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ระดับคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน

ดมี าก 10 - 12

ดี 7 – 9

ปานกลาง 4–6

ปรบั ปรุง 1-3

เกณฑ์ผ่านการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพดขี น้ึ ไป หรอื มชี ่วงคะแนนระหวา่ ง 7- 9 คะแน

ถามระหวา่ งทำกจิ กรรม “ภารกจิ พิชิตระบบหายใจ”

พฤติกรรมของนกั เรยี น รวม
อบ การใชภ้ าษาในการ การมสี ว่ นร่วมในการ

ส่อื สาร ตอบคำถาม
143214321

นนขน้ึ ไป



ลงชอื่ ............................................ผปู้ ระเมนิ
(............................................................)
........../........../..........

เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการตอบคำถามระหว่างทำกิจกรรม

“ภารกิจพชิ ิตระบบหายใจ”

เกณฑก์ ารประเมนิ

รายการประเมิน 4 3 2 1

ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

1. ความถกู ต้อง เน้อื หาในการตอบ เนื้อหาในการตอบ เน้อื หาในการตอบ เน้ือหาในการตอบ

ของคำตอบ คำถามมีความ คำถามมคี วาม คำถามมีความ คำถามไม่ถกู ตอ้ ง

ถกู ต้อง สอดคลอ้ ง ถูกต้อง และ ถูกตอ้ งบางสว่ น

และมีรายละเอยี ด สอดคล้อง

ทค่ี รอบคลุม

2. การใช้ภาษาใน มีการใช้ภาษาท่ี มีการใชภ้ าษาท่ี มีการใช้ภาษาที่ ใชภ้ าษาที่ค่อนขา้ ง

การสื่อสาร ถูกต้อง เข้าใจงา่ ย ถูกตอ้ ง เข้าใจงา่ ย ถกู ต้อง และเขา้ ใจ เขา้ ใจยากและ

สอดคล้องกับ และมีการใชภ้ าษา ง่าย สอื่ สารไม่ชัดเจน

เน้ือหา และมีการ อย่างสรา้ งสรรค์

ใช้ภาษาอย่าง

สร้างสรรค์

3. การมสี ว่ นรว่ ม มสี ว่ นรว่ มในการ มสี ่วนร่วมในการ มสี ว่ นร่วมในการ มีส่วนร่วมในการ

ในการตอบคำถาม ตอบคำถามอย่าง ตอบคำถามอย่าง ตอบคำถามอย่าง ตอบคำถามและ

กระตือรอื ร้น และ กระตอื รือรน้ และ กระตือรือร้น และ ตอบคำถามได้ไม่

ตอบคำถามได้ ตอบคำถามได้ ตอบคำถามได้ ครอบคลุม

ถกู ตอ้ งครบถ้วน บางสว่ น

เกณฑก์ ารให้คะแนนระดับคุณภาพ
10 - 12 คะแนน : ดีมาก
7 – 9 คะแนน : ดี
4 - 6 คะแนน : ปานกลาง
1 - 3 คะแนน : ปรับปรงุ

หมายเหตุ : นักเรียนที่มีระดับคะแนนของแบบบันทึกผลการประเมินพฤติกรรมการตอบคำถามระหว่างทำ
กิจกรรม “ภารกิจพิชิตระบบหายใจ” ในระดับดีขึ้นไป โดยมีคะแนน 7 – 9 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน

แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนจากการตอบคำถ

คำช้แี จง ให้ทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องทต่ี รงกับความเป็นจรงิ

กลุ่มที่ ชือ่ – นามสกลุ ความถูกต้องการตอบ ความตร
คำถาม

432143

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ระดับคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน

ดมี าก 13 - 16

ดี 9 – 12

ปานกลาง 6–8

ปรับปรงุ 1-5

เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพดขี ึ้นไป หรอื มชี ่วงคะแนนระหว่าง 9-12 คะแ


Click to View FlipBook Version