The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เป็นหนังสือรวบรวมประวัติของนิโคลา เทสลา นักวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by olinpoo, 2021-04-01 22:30:28

ประวัตินิโคลา เทสลา (Nikola Tesla)

เป็นหนังสือรวบรวมประวัติของนิโคลา เทสลา นักวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์

Keywords: นิโคลา เทสลา,เทสลา,ขดลวดเทสลา

ประวตั ิ

นิโคลา เทสลา (Nikola Tesla)

จดั ทาโดย น.ส.นฤวรรณ ภัทรพงศ์ดลิ ก
รหสั นักศกึ ษา 61312131

0

สารบัญ

1. ประวัติ หน้า
2. ชีวิตสว่ นตวั 2
3.เสียชีวิต 3
4. ผลงานเดน่ 4
5. ชือ่ ของเทสล่าท่ถี ูกนาไปต้ังชื่อบรษิ ทั 5
อา้ งอิง 5
7

1

1. ประวตั ิ

นิ โ ค ล า เ ท ส ล า (เ ซ อ ร์ เ บี ย : Никола Тесла; อั ง ก ฤ ษ : Nikola Tesla) เ กิ ด เ ม่ือ 10
กรกฎาคม พ.ศ. 2399 - ถึงแก่กรรม 7 มกราคม พ.ศ. 2486 (86 ปี) เป็น นักประดษิ ฐ์ นักฟิสกิ ส์ วศิ วกร
เครอ่ื งกล วศิ วกรไฟฟ้า และ นกั ทานายอนาคต ชาวเซอรเ์ บยี - อเมรกิ นั เขาเกดิ ท่ี Smiljan ในอดตี ออสเตรยี
- ฮงั การี ซง่ึ ปัจจบุ นั คอื สาธารณรฐั โครเอเชยี ภายหลงั เขาไดร้ บั สญั ชาตเิ ป็นพลเมอื งอเมรกิ นั

รปู ที่ 1 นโิ คลา เทสลา
เทสลามปี ัญหาทางประสาทในวยั เดก็ ทเ่ี ขาตอ้ งทุกขท์ รมาน จาก โรคยา้ คดิ ย้าทา เขาไดง้ านแรกใน
บูดาเปสต์โดยทางานท่บี รษิ ทั โทรศพั ท์ เทสล่าได้ประดษิ ฐ์ลาโพงสาหรบั โทรศพั ท์ระหว่างท่ที างานอย่ทู ่นี ่ี
ก่อนทจ่ี ะเดนิ ทางเร่ร่อนไปอเมรกิ าในปี 2427 เพ่อื ท่จี ะไปทางานกบั โทมสั เอดสิ นั แต่ในไม่นาน เขาก็เรม่ิ
ก่อตงั้ ห้องปฏบิ ตั ิการ/บรษิ ทั พฒั นาอุปกรณ์ไฟฟ้า ของตวั เองโดยมผี ู้สนับสนุนด้านการเงนิ ให้ สทิ ธบิ ตั ร
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั แบบเหน่ียวนา และ หม้อแปลงไฟฟ้า ได้รบั การจดทะเบยี นโดย จอรจ์ เวสติง
เฮา้ ส์ ซง่ึ เป็นผวู้ า่ จา้ งใหเ้ ทสลาเป็นทป่ี รกึ ษาและพฒั นาระบบไฟฟ้ากระแสสลบั ดว้ ย
ผลงานของเทสลาทท่ี าใหเ้ ขาเป็นทส่ี นใจในสมยั นัน้ อาทเิ ช่น การทดลองเก่ยี วกบั คล่นื ความถ่สี งู และ
แรงดนั ไฟฟ้าแรงสูง ใน นิวยอรก์ และ โคโลราโด สปรงิ ซ์ สทิ ธบิ ตั รของอุปกรณ์และทฤษฎที ใ่ี ชใ้ นการสรา้ ง
วทิ ยุส่อื สาร การทดลอง X-ray ของเขา เขายงั เป็นผู้คิดค้นตวั กาเนิดสญั ญาณ (oscillator) หลากหลาย

2

รูปแบบอกี ด้วย และ โครงการ Wardenclyffe Tower ซ่งึ เป็นความพยายามในการส่งสญั ญาณไรส้ ายข้าม
ทวปี แต่โชครา้ ยทโ่ี ครงการน้ไี มป่ ระสบความสาเรจ็

แมเ้ ทสลาจะเป็นผคู้ ดิ คน้ สญั ญาณวทิ ยุ การคน้ พบหลกั การสนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า แต่ผลงานทท่ี าใหเ้ ขา
เป็นทร่ี จู้ กั กนั ดคี อื การคน้ ควา้ พฒั นาไฟฟ้ากระแสสลบั ซง่ึ ในขณะนนั้ มกี ารแขง่ ขนั กบั ไฟฟ้ากระแสตรงทถ่ี ูก
พฒั นาขน้ึ มา โทมสั เอดสิ นั แต่ในทส่ี ุดไฟฟ้ากระแสสลบั กไ็ ด้รบั ความนิยมมากกว่า เพราะเกดิ การสูญเสยี
น้อยกวา่ ในการสง่ กระแสไฟฟ้าในระยะทางไกล

เทสลาประสบความสาเรจ็ เป็นท่ีรจู้ กั และทาใหผ้ คู้ นเหน็ ถงึ ความสามารถของเขาจากโชวส์ งิ่ ประดษิ ฐท์ ่ี
ดนู ่าอศั จรรยท์ งั้ หลาย ถงึ แมว้ ่าเขาจะไดเ้ งนิ จากสทิ ธบิ ตั รต่าง ๆ แต่เขากไ็ ดท้ าการทดลองอย่างมากมายดว้ ย
เช่นกนั ทาให้ในช่วงบนั้ ปลายชวี ติ ของเขาต้องเป็นหน้ี และ มปี ัญหาด้านการเงนิ ต้องอาศยั อยู่อย่างโดษ
เดย่ี วในหอ้ งพกั หมายเลข 3327 ทโ่ี รงแรม New Yorker ดว้ ยลกั ษณะและธรรมชาตใิ นการทางานของเทสลา
ทาใหเ้ ขาถูกขนานนามวา่ เป็น "นกั วทิ ยาศาสตรเ์ พย้ี น"

เทสลาถูกพบว่าเสียชีวิตในห้องพกั หมายเลข 3327 ท่โี รงแรม New Yorker เม่อื วนั ท่ี 7 มกราคม
2486

หลงั จากการตายของเขางานของเทสล่ากไ็ ดเ้ งยี บหายไป แต่ในปี 2533 เขากเ็ รมิ่ กลบั มาเป็นทร่ี จู้ กั อกี
ครงั้ ในปี 2548 เขาถูกเสนอช่อื ใหเ้ ป็นตวั แทน 1 ใน 100 คนในรายการโทรทศั น์ "The Greatest American"
โดยการสารวจความนิยมโดย AOLกบั ช่อง Discovery

การทางานและสงิ่ ประดษิ ฐท์ ่มี ชี ่อื เสยี งของเขายงั เป็นจุดกาเนิดของทฤษฎสี มคบคดิ จานวนมาก และ
ยงั ไดน้ าไปใชส้ นบั สนุนวทิ ยาศาสตรเ์ ทยี ม ทฤษฎยี เู อฟโอ และ ไสยศาสตรย์ คุ ใหม่

ในปี 2503 หน่วยสาหรบั วดั ความหนาแน่นของเสน้ แรงแมเ่ หลก็ หรอื การเหน่ยี วนาดว้ ยพลงั แม่เหลก็
(ทร่ี จู้ กั กนั ทวั่ ไปวา่ เป็นสนามแมเ่ หลก็ B) ถูกตงั้ ชอ่ื วา่ เทสลา เพ่อื เป็นเกยี รตแิ ก่เขา

นอกจากน้ี เทสลายังถือเป็ นวิศวกรท่ีสร้างนวัตกรรมล้ายุคท่ีย่ิงใหญ่ท่ีสุดคนหน่ึงในปลาย
ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 และตน้ ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 สทิ ธบิ ตั รของเทสลาและผลงานเชงิ ทฤษฎขี องเขากลายเป็น
พน้ื ฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลบั ไดแ้ ก่ ระบบจา่ ยกาลงั หลายเฟส และมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ซง่ึ เขามี
ส่วนผลกั ดนั เป็นอยา่ งมากในชว่ งปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมครงั้ ทส่ี อง

2. ชีวิตส่วนตวั

เทสลาถงึ แมจ้ ะเป็นคนท่สี ุภาพและมผี ู้หญงิ หลายคนพยายามแข่งขนั กนั เพ่อื เอาชนะใจเขา แต่เท
สลากลบั ไมเ่ คยแต่งงานหรอื พบว่ามคี วามสมั พนั ธใ์ ดๆ โดยเทสลากลา่ วว่าการถอื พรหมจรรยข์ องเขานัน้ ช่วย
ไดม้ ากในเรอ่ื งทางวทิ ยาศาสตร์ อยา่ งไรกต็ าม ในชว่ งปัน้ ปลายชวี ติ เขากล่าววา่ "บางทกี ารทเ่ี ขาเลอื กทจ่ี ะไม่
แต่งงานอาจเป็นการเสยี สละทย่ี ง่ิ ใหญ่เกนิ ไปสาหรบั งาน(ทางวทิ ยาศาสตร)์ ของเขา"

เทสล่าค่อนขา้ งเป็นคนสนั โดษและปลกี ตวั จากสงั คมเพ่อื งานทางวทิ ยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม เม่อื
ตอ้ งเขา้ สงั คม ผคู้ นรอบขา้ งต่างพูดถงึ ในเชงิ บวกและชมเชยเขา Robert Underwood Johnson บรรยายถงึ

3

ลกั ษณะเฉพาะตวั ของเทสล่าว่า "เป็นคนอ่อนหวาน จรงิ ใจ ถ่อมตวั เรยี บรอ้ ย มคี วามกรณุ า และน่าเช่อื ถอื "
Dorothy Skerrit เลขาส่วนตวั ของเทสลากล่าวว่า "ความมไี มตรแี ละบุคลกิ ส่วนตวั ทด่ี ูสูงส่งและสง่าผ่าเผย
แสดงถงึ ความเป็นสุภาพบุรษุ ทฝ่ี ังลกึ อยใู่ นจติ วญิ ญาณของเขา" Julian Hawthorne เพ่อื นของเทสลากลา่ วว่า
"หายากมากท่ีคุณจะพบนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรท่ีเป็ นทัง้ กวี นักปรัชญา ผู้ท่ีช่ืนชอบดน ตรีดีๆ
นกั ภาษาศาสตร์ และผทู้ เ่ี ชย่ี วชาญทงั้ เรอ่ื งอาหารและเครอ่ื งดม่ื "

3.เสียชีวิต

วนั ท่ี 7 มกราคม ค.ศ. 1943 รา่ งของนโิ คลา เทสลาถูกพบเสยี ชวี ติ ทห่ี อ้ ง 3327 โรงแรม New Yorker
Hotel ในเมอื งนิวยอรก์ โดยผพู้ บศพเป็นคนแรกคอื พนักงานทาความสะอาดช่อื อลซิ โมนารค์ ฮนั ทเ่ี ธอถอื
วสิ าสะเปิดประตูห้องของเทสลาเขา้ ไปโดยไม่สนใจป้ายห้ามรบกวนทเ่ี ทสลาแขวนไวท้ ป่ี ระตูหอ้ งเม่อื 2 วนั
ก่อน แพทยว์ นิ ิจฉัยว่าเทสลาเสยี ชวี ติ ด้วยอาการหวั ใจล้มเหลว สริ ริ วมอายุได้ 86 ปี ซง่ึ ไม่สามารถระบุวนั
เวลาทแ่ี น่นอนของการเสยี ชวี ติ ได้ แต่มกี ารคาดว่าน่าจะอยู่ระหว่างช่วงบ่ายของวนั ท่ี 5 มกราคม ถงึ ช่วงเชา้
ของวนั ท่ี 7 มกราคม ค.ศ. 1943

หลงั จากทน่ี ิโคลาเสยี ชวี ติ ลง ผอู้ านวยการ FBI เจ. เอดการ์ ฮูเวอร์ (J. Edgar Hoover) ไดส้ ่งบนั ทกึ
ไปยงั เจา้ หน้าทท่ี เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งน้ีว่า เรอ่ื งราวทุกอย่างทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั นิโคลา เทสลา ต้องถูกจดั การอย่าง
ลบั ทส่ี ดุ และทกุ ฝ่ายตอ้ งรกั ษาความลบั ของสงิ่ ประดษิ ฐข์ องเขาใหเ้ ป็นความลบั ตลอดไป

รปู ที่ 2 ภาพสุดทา้ ยของเทสลาก่อนเสยี ชวี ติ

4

4. ผลงานเด่น

- ผปู้ ระดษิ ฐข์ ดลวดเทสลา (Tesla coil) และคน้ พบวธิ กี ารเปลย่ี นสนามแมเ่ หลก็ เป็นสนามไฟฟ้า จงึ
เป็นทม่ี าของหน่วยวดั สนามแมเ่ หลก็ เทสลา

- ผคู้ น้ พบวธิ กี ารสอ่ื สารแบบไรส้ าย (Wireless communication)
- ผปู้ ระดษิ ฐห์ ลอดไฟแบบใชก้ ๊าซใหแ้ สงสวา่ ง หรอื หลอดฟลอู อเรสเซนต์
- ผคู้ ดิ ทฤษฎขี องเครอ่ื งเรดาร์
- ผคู้ ดิ รโี มตคอนโทรล

รปู ที่ 3 Tesla coil

5. ชื่อของเทสลาท่ีถกู นาไปตงั้ ช่ือบริษทั

Tesla เม่อื ไดย้ นิ ช่อื น้ี ทุกคนคงนึกถงึ บรษิ ทั ผลติ รถยนตข์ บั เคล่อื นดว้ ยไฟฟ้า และหากพูดถงึ บรษิ ทั
Tesla บุคคลแรกทเ่ี รานึกถงึ คงเป็น Elon Musk แต่รหู้ รอื ไมว่ ่า Tesla เป็นช่อื ของบุคคลคนหน่ึง ก่อนจะถูก
นามาใชต้ งั้ ช่อื บรษิ ทั และรหู้ รอื ไมว่ ่า Elon Musk ไม่ใช่ผกู้ ่อตงั้ คนแรกของบรษิ ทั Tesla บรษิ ทั Tesla ก่อตงั้
เม่อื ปี 2003 โดยผชู้ าย 2 คน คนแรกคอื ช่อื Martin Eberhard อกี คนช่อื Marc Tarpenning ซง่ึ Martin และ
Marc พบกนั ตงั้ แต่ปี 1990 และสนใจในเทคโนโลยแี บตเตอรเ่ี หมอื นกนั Martin มองว่าเทคโนโลยแี บตเตอร่ี
จะพัฒนาข้นึ เร่อื ยๆ แม้ว่าจะไม่เร็วเหมือนกับเทคโนโลยี software แต่เขาน่าจะหาประโยชน์จากการ
เปลย่ี นแปลงน้ไี ด้ สนิ คา้ อะไรทจ่ี ะไดป้ ระโยชน์จากการพฒั นาของแบตเตอร่?ี ในตอนแรก มารต์ นิ และ มารค์
ไม่ไดน้ ึกถงึ รถยนต์ แต่นึกถงึ E-Book ทงั้ ค่จู งึ ตงั้ บรษิ ทั ผลติ อุปกรณ์สาหรบั อ่าน E-Book และขายบรษิ ทั ไป
ในปี 2000 มารต์ นิ มคี วามเช่อื ว่ารถยนต์ไฟฟ้า ไม่จาเป็นต้องวง่ิ ช้าแบบรถกอล์ฟ เขาจงึ คดิ ว่าในอนาคต
รถยนต์ไฟฟ้าน่าจะได้ประโยชน์จากการพฒั นาของเทคโนโลยแี บตเตอร่ี ในปี 2003 มารต์ ิน และ มาร์ค
ตดั สนิ ใจก่อตงั้ บรษิ ทั รถยนตไ์ ฟฟ้า แมว้ า่ ทงั้ คจู่ ะไมม่ ปี ระสบการณ์ดา้ นการผลติ รถยนตม์ าก่อน ทาไมจงึ ใชช้ ่อื

5

ว่า Tesla? มารต์ นิ ใชเ้ วลาคดิ ช่อื บรษิ ทั รถยนต์ไฟฟ้าอยหู่ ลายเดอื น สุดทา้ ยเขาคดิ ว่าควรตงั้ ช่อื ทใ่ี หเ้ ครดติ
กบั ผพู้ ฒั นาเทคโนโลยมี อเตอรไ์ ฟฟ้า และไฟฟ้ากระแสสลบั (AC)

รปู ท่ี 4 บุคคลสาคญั ของบรษิ ทั เทสลา

6

อ้างอิง

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%
E0%B8%B2_%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B2

https://www.longtunman.com/16722
https://rarehistoricalphotos.com/nikola-tesla-1943/

7


Click to View FlipBook Version