The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SKRU_คู่มือสำหรับนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ruethaiporn Suwanmanee, 2022-06-14 04:56:59

SKRU_คู่มือสำหรับนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565

SKRU_คู่มือสำหรับนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565

1

คำ�นำ�

ขอต้อนรบั นักศกึ ษาทกุ ทา่ นเขา้ ส่รู ว้ั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ในปกี ารศกึ ษา 2565
ซงึ่ จะเปน็ ปที เ่ี ขา้ สู่การเรยี นการสอนในรปู แบบปกติ หลงั จาก 2 ปที ผ่ี ่านมาเปน็ การเรยี นในรปู แบบ
ออนไลน์ ซง่ึ มคี วามแตกต่างกบั รปู แบบปกตทิ นี่ ักศกึ ษาต้องมาเรยี นทม่ี หาวทิ ยาลัย ท�ำ ใหน้ ักศกึ ษา
ต้องปรบั ตวั กบั วิธกี ารเรยี นเปน็ อย่างมาก การกลับมาเรยี นในรปู แบบปกตนิ ้ันท�ำ ใหน้ ักศกึ ษาบาง
ชน้ั ปอี าจจะต้องปรบั ตัวเน่ืองจากยังไมม่ โี อกาสไดเ้ ขา้ มาเรยี นในมหาวิทยาลัยเลยต้งั แต่เปน็ นักศกึ ษา
หรอื อาจกล่าวไดว้ า่ เปน็ น้องใหมใ่ นรว้ั มหาวทิ ยาลยั เชน่ เดยี วกบั นักศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 1 (รหสั 65)
เพราะฉะนั้นคมู่ อื เล่มนี้จะมปี ระโยชน์อย่างยิ่งกบั นักศกึ ษาทกุ คน โดยในคมู่ อื จะประกอบไปดว้ ย
รายละเอยี ดของผ้บู รหิ ารมหาวิทยาลยั คณะ แผนทม่ี หาวิทยาลยั รวมถงึ ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวก
ทส่ี นับสนุนการเรยี นการของนักศกึ ษา หากนักศกึ ษาไดศ้ กึ ษาคมู่ อื เลม่ น้ีจะท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจภาพรวม
ของมหาวิทยาลัยเปน็ อย่างดี ในปนี ี้มหาวทิ ยาลัยต้งั เปา้ ทจี่ ะเปน็ มหาวทิ ยาลัยสเี ขยี วอย่างเต็มรปู แบบ
ผ้จู ดั ท�ำ จงึ ไดจ้ ดั ท�ำ คมู่ อื นักศกึ ษาเปน็ แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในรปู แบบของไฟล์ PDF เพ่ือลดการใช้
กระดาษ ลดการท�ำ ลายส่งิ แวดล้อม โดยนักศกึ ษาสามารถดาวน์โหลดคมู่ อื เลม่ น้ีผา่ นทางหน้า
เวบ็ ไซตข์ องสำ�นักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น https://regis.skru.ac.th/ ซง่ึ เปน็ เวบ็ ไซต์
ท่ีนักศึกษาจะต้องเขา้ ใชง้ านเพ่ือการลงทะเบียนต่างๆ รวมถึงศึกษาขอ้ มูลเก่ียวกับการเรยี นของ
นักศกึ ษา
ผ้จู ดั ท�ำ หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่าคมู่ อื นักศกึ ษาเลม่ น้ีจะท�ำ ใหน้ ักศกึ ษารจู้ กั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
สงขลามากขนึ้ และสามารถสนับสนุนการเรยี นการสอนของนักศกึ ษาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ขอใหน้ ักศกึ ษา
ทกุ คนใชช้ วี ติ อย่างมคี วามสุขและประสบความสำ�เรจ็ ในการเรยี น ไดร้ บั ปรญิ ญาตามทต่ี ัวเองหวัง
และนำ�ความรไู้ ปประกอบอาชพี ต่อไปในอนาคต

สำ�นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียน
เมษายน 2565

2

สารบญั
หน้า
หน่วยงานในมหาวิทยาลยั 1
คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัย 2
ประวัตมิ หาวิทยาลยั 3-6
ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พันธกจิ ปณิธาน 7-9
ตราสัญลกั ษณ์ ดอกไม้ ต้นไม้ มหาวิทยาลยั 10-11
คณะครศุ าสตร์ 12-15
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 16-19
คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 20-23
คณะวิทยาการจัดการ 24-27
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร 28-30
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 31-33
คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 34-37
วิทยาลยั นวัตกรรมและการจัดการ 38-43
ส�ำ นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น 44-48
กองพัฒนานักศึกษา 49-58
สำ�นักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 59-65
ศูนย์คอมพิวเตอร์ ศูนย์ภาษา 66-71
งานการศึกษาพิเศษ 72-79
สวัสดิการ 80-83

3

1

2

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นสถาบันอดุ มศึกษาท่ีเก่าแก่ท่ีสุดแหง่ หน่ึง
ของภาคใต้ และเปน็ สถาบนั ทม่ี พี ัฒนาการอย่างตอ่ เน่ืองตลอดมา ต้ังแต่
ยังมีฐานะเป็นเพียงโรงเรยี นฝึกหัดครมู ณฑล จนกระท่ังเป็นมหาวิทยาลัย
ราชภฏั สงขลา ดงั เชน่ ปจั จบุ นั
ประวัตศิ าสตรข์ องมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลาเรม่ิ ต้นขน้ึ ในปี
พ.ศ. 2462 เมอ่ื ธรรมการมณฑลนครศรธี รรมราชซง่ึ ขณะน้ันอย่ทู จ่ี งั หวดั
สงขลา และธรรมการจงั หวัดสงขลาไดค้ ดิ ผลติ ครมู ณฑลขนึ้ เพื่อให้ไป
ทำ�หน้าท่ีสอนในระดับประถมศึกษาจึงได้จัดต้ังโรงเรยี นฝึกหัดครมู ณฑลขน้ึ โดยให้เรยี นรว่ มกับโรงเรยี นประจำ�
มณฑลนครศรธี รรมราช (คอื โรงเรยี นมหาวชริ าวุธซงึ่ ขณะน้ันต้งั อย่ทู บ่ี รเิ วณโรงเรยี นวิเชยี รชมในปัจจุบัน)
รบั นักเรยี น จบชน้ั ประถมบรบิ ูรณ์ (ประถมปีท่ี 3) เขา้ เรยี นตามหลักสูตรป.4, ป.5 และป.6 โดยเพ่ิมวิชาครเู ป็นพิเศษ
ผู้สำ�เรจ็ การศึกษาตามหลักสูตรดังกล่าวเรยี กว่าครปู ระกาศนียบัตรมณฑล
ต่อมาได้มีพระราชบัญญัติว่าด้วยการบรหิ ารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 ให้เลิกการแบ่งเขต
การปกครองเปน็ มณฑล โรงเรยี นฝึกหดั ครมู ลู ประจ�ำ มณฑลนครศรธี รรมราชทท่ี า่ ชะมวง จงึ ไดเ้ ปล่ยี นเปน็ โรงเรยี น
ฝึกหัดครปู ระกาศนียบัตรจังหวัด เม่ือปี พ.ศ. 2477 โดยรบั นักเรยี นท่ีเรยี นป.6 หรอื ม.2 (ตามแผน การศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2475) เขา้ เรยี นมีกำ�หนด 2 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2482 จึงได้เปลี่ยนมาเป็นรบั นักเรยี น ม.3 เขา้ เรยี น
มีกำ�หนด 2 ปี ผู้สำ�เรจ็ การศึกษาจะได้ประกาศนียบัตรจังหวัด (ว.)
นอกจากน้ีโรงเรยี นฝึกหัดครปู ระกาศนียบัตรจังหวัด ยังรบั นักเรยี นที่เตรยี มไว้เพ่ือบรรจุเป็นครปู ระชาบาล
ซง่ึ ทางจังหวัดต่าง ๆ ได้คัดเลือกนักเรยี นที่จบ ป.4 จากตำ�บลทุรกันดารในจังหวัดน้ัน ๆ มาเขา้ เรยี น มีกำ�หนด 3 ปี
เม่ือสำ�เรจ็ การศึกษาแล้ว จะได้ประโยคครปู ระชาบาล (ป.บ.) และกลับไปเป็นครใู นตำ�บลท่ีตนมีภูมิลำ�เนาอยู่
ปี พ.ศ. 2482 โรงเรยี นฝึกหัดครปู ระกาศนียบัตรจังหวัดสงขลา ได้ย้ายจากท่าชะมวงมาเรยี นท่ีตำ�บลคอหงส์
อ�ำ เภอหาดใหญ่ และในปี พ.ศ.2490 เปล่ียนฐานะจากโรงเรยี นฝึกหัดครปู ระกาศนียบัตรจังหวัดเป็นโรงเรยี น
ฝึกหัดครมู ูลและมีการปรบั ปรงุ หลักสูตรใหม่ โดยรบั นักเรยี นท่ีจบชนั้ มัธยมปีท่ี 6 หรอื ประโยคประกาศนียบัตรครมู ูล (ว.)
เขา้ เรยี นต่ออกี 1 ปี สำ�เรจ็ แล้วจะได้รบั ประกาศนียบัตรครมู ูล (ป.)

3

ตอ่ มาใน พ.ศ.2498 กไ็ ดเ้ ปดิ สอนหลักสูตรประกาศนีย
-บตั รวิชาการศึกษา โดยรบั นักเรยี นที่จบ ม.6 เขา้ เรยี น 2 ปี
ผู้สำ�เรจ็ การศึกษาจะได้รบั ประกาศนียบัตร วิชาการศึกษา
(ป.กศ.) และโรงเรยี นฝึกหัดครมู ูลสงขลาก็เปล่ียนเป็นโรงเรยี น
ฝึกหัดครสู งขลา จนกระท่ังเม่ือวันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2499
จึงได้ย้ายมาตั้งอยู่ ณ บรเิ วณ บ้านเขารปู ชา้ ง อ�ำ เภอเมือง
จงั หวัดสงขลา อนั เปน็ สถานทต่ี ้งั ในปจั จบุ นั และไดย้ กฐานะ
เป็นวิทยาลัยครสู งขลา เม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504
อกี ทงั้ ไดข้ ยายชน้ั เรยี นไปจนถงึ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าการศกึ ษาชนั้ สงู (ป.กศ.สงู ) ในปเี ดยี วกนั น้ันเอง
ครนั้ เมอ่ื ถงึ ปี พ.ศ. 2518 รฐั บาลไดป้ ระกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิวทิ ยาลยั ครู พ.ศ. 2518 ท�ำ ใหว้ ิทยาลยั
ครสู งขลาเปดิ สอนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี ในสาขาครศุ าสตร์ โดยรบั นักศกึ ษาทเ่ี รยี นจบ ป.กศ.สงู หรอื ครปู ระจ�ำ การ
ทไ่ี ดร้ บั วฒุ ิ พ.ม. เขา้ ศกึ ษาต่อ 2 ปี ผ้สู ำ�เรจ็ การศกึ ษาจะไดร้ บั วฒุ ิครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) และในปี พ.ศ. 2522
กไ็ ดเ้ ปดิ โครงการอบรมครปู ระจ�ำ การและบคุ ลากรทางการศกึ ษา (อ.ค.ป.) ในระดบั ป.กศ.ชน้ั สูงและระดบั ปรญิ ญาตรี (ค.บ.)
หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2524 ก็ได้รว่ มมือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เปิดสอนหลักสูตรการโรงแรมและ
การทอ่ งเทยี่ ว กบั หลักสูตรการเพาะเล้ยี งสัตวน์ ้ำ�โดยเรยี กโครงการน้ีวา่ วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา
ต่อมาในปี พ.ศ. 2527 รฐั บาลไดป้ ระกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั วิ ิทยาลยั ครู พ.ศ. 2527 ใหว้ ทิ ยาลยั ครทู �ำ หน้าท่ี
ผลติ ครแู ละเปดิ สอนวชิ าชพี ตามความต้องการและความจ�ำ เปน็ ของทอ้ งถน่ิ วทิ ยาลัยครสู งขลาจงึ ไดผ้ ลติ ครรู ะดบั
ปรญิ ญาตรี ครศุ าสตรบณั ฑติ และบณั ฑติ หรอื ประกาศนียบตั รวชิ าชพี อน่ื ๆ ตามความต้องการและความจ�ำ เปน็
ของทอ้ งถน่ิ ต้งั แต่บดั นั้นเปน็ ต้นมา และในปพี .ศ. 2529 ไดเ้ ปดิ การศกึ ษาสำ�หรบั บคุ ลากรประจ�ำ การ (กศ.บป.) ในระดบั
อนุปรญิ ญาและระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาครศุ าสตร์ ซงึ่ ต่อมากไ็ ดข้ ยายไปสสู่ าขาอน่ื ๆ คอื ศลิ ปศาสตร์ และ
วทิ ยาศาสตร์ ดงั ทเี่ ปน็ อย่ใู นปจั จบุ นั

และเมอื่ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว รชั กาลท่ี 9 ทรงพระกรณุ า
โปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม "ราชภัฏ" แทนชอ่ื วิทยาลัยครทู ว่ั ประเทศ ท�ำ ใหว้ ิทยาลยั ครสู งขลา เปล่ยี นชอ่ื เปน็
"สถาบันราชภัฏสงขลา" ต้ังแต่บัดน้ัน เป็นต้นมา สถาบันราชภัฏสงขลาได้มีความเจรญิ ก้าวหน้ามาเป็นลำ�ดับ
จนสามารถเปดิ สอนถงึ ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาไดใ้ นปี พ.ศ. 2544 และเมอ่ื วนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2547 จงึ ไดร้ บั การ
ยกฐานะเปน็ "มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา"

4

5

มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา วิทยาเขตจังหวัดสตูล

จงั หวัดสตูลเปน็ จงั หวดั ทม่ี คี วามต้องการทางดา้ น
การศกึ ษาของเยาวชนมจี �ำ นวนมาก โดยเฉพาะในระดบั
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน และมแี นวโน้มทน่ี ักเรยี นเขา้ ศกึ ษาตอ่
ในระดบั อดุ มศกึ ษาคอ่ นขา้ งสูง ทง้ั น้ีสถติ ทิ ผ่ี ่านมานักเรยี น
ทจ่ี บการศกึ ษาต่อในระดบั อดุ มศกึ ษากวา่ รอ้ ยละ 60 ในขณะท่ี
จงั หวัดสตูลน้ันยังไมม่ สี ถานศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษาซง่ึ
หากไดม้ กี ารสนับสนุนใหจ้ ดั ต้งั สถานศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา
จงั หวัดสตูลน้ัน กจ็ ะเปน็ การยกระดบั มาตรฐานการศกึ ษาของเยาวชน และสรา้ งคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนตาม
ยุทธศาสตรจ์ งั หวัดชายแดนภาคใต้ทจ่ี ะส่งผลใหเ้ กดิ ความมนั่ คงของประเทศอย่างยั่งยืนประกอบกบั ทางองคก์ าร
บรหิ ารสว่ นจงั หวดั สตูลมแี นวนโยบายในการสง่ เสรมิ การศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา ซงึ่ สอดคล้องกบั ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
ของจงั หวัดสตูล ทต่ี ้องการเพิ่มขดี ความสามารถของบคุ ลากรและเปา้ ประสงคท์ ต่ี ้องการเพิ่มรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว
และพัฒนาคณุ ภาพของสินคา้ และบรกิ าร
สตูลไดร้ บั การพัฒนาโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ใหเ้ ปน็ เขตเศรษฐกจิ พิเศษตามยุทธศาสตรจ์ งั หวดั ชายแดนใต้
และเปน็ ประตูสเู่ วทอี าเซยี น ทง้ั น้ีเพ่ือรองรบั การพัฒนาดา้ นตา่ งๆ จงึ ควรมสี ถาบนั อดุ มศกึ ษาในการพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษย์อย่างมคี ณุ ภาพอย่างแทจ้ รงิ ท�ำ ใหม้ โี ครงการจดั ต้งั มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลาวทิ ยาเขต
จังหวัดสตูลด้วยการผลักดันของทุกภาคส่วนในจังหวัดสตูลและประชาชนในพ้ืนท่ี เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ินอย่างย่ังยืน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ดำ�เนินโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาวิทยาเขตจังหวัดสตูล
โดยไดร้ บั อนุมตั จิ ากสภามหาวทิ ยาลยั เมอ่ื วนั ท่ี 24 มกราคม 2552 เพ่ือรองรบั การพัฒนาจงั หวดั ใหส้ อดคลอ้ งตาม
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั ชายแดนใต้ โดยใหป้ ระสานงบประมาณการด�ำ เนินงานจากทกุ ภาคส่วนทง้ั ในระดบั ชาติ
และระดับจังหวัด ท้ังน้ีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้ดำ�เนินการเพื่อขอถอนสถานภาพและดำ�เนินการเพื่อขอใช้
พ้ืนทต่ี ามหนังสอื ส�ำ คญั สำ�หรบั ทห่ี ลวง ฉบบั ท่ี 4036/2515 (ทงุ่ ใหญส่ าธารณประโยชน์) ไดเ้ น้ือท่ี 346 ไร่
93 ตารางวา ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธปี ฏิบัติการถอนสภาพการขน้ึ ทะเบียนและการจัดหา
ผลประโยชน์ในท่ีดินของรฐั ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. 2551 ณ พ้ืนท่ีสาธารณประโยชน์ทุ่งใหญ่สารภี
ตำ�บลละงู อ�ำ เภอละงู จงั หวดั สตูล
ดงั น้ัน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา จงั หวัดสตูล จงึ ไดต้ ้งั เจตนารมณ์ทแี่ น่วแน่และพันธะสัญญาทใ่ี หไ้ ว้กบั
ประชาชนในท้องถ่ิน เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จะขยายโอกาสทาง
การศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน โดยการพัฒนาหลักสูตรเปิดสาขาท่ีตอบสนองและสอดคล้องกับความต้องการ
ของประชาชนในจงั หวัดชายแดนใต้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์กบั ทอ้ งถน่ิ เพื่อการพัฒนาประเทศชาติอย่างย่ังยืนสบื ตอ่ ไป

6

ปรชั ญา
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา :
สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาทอ้ งถน่ิ
วิสยั ทศั น์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นมหาวิทยาลัยชน้ั นำ�เพื่อ
พัฒนาทอ้ งถน่ิ ภาคใต้สสู่ ากล
พันธกจิ
1. จดั การศกึ ษาทหี่ ลากหลาย ผลิตบณั ฑติ และพัฒนา
บคุ ลากรในทอ้ งถน่ิ ใหม้ คี ณุ ภาพและคณุ ธรรม
2. บรกิ ารวชิ าการ และการถา่ ยทอดเทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ขม้ แขง็ บนฐานของการมสี ว่ นรว่ ม
3. ผลติ พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม้ คี ณุ ภาพสอดคล้องกบั มาตรฐานของวิชาชพี ครู
4. ส่งเสรมิ และสืบสานโครงการอนั เน่ืองมาจากแนวพระราชด�ำ ริ
5. วจิ ยั และพัฒนาเพ่ือสรา้ งสมองคค์ วามรู้ ใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรขู้ องทอ้ งถน่ิ
6. ส่งเสรมิ สืบสาน และสรา้ งสรรค์ ศลิ ปะและวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ และของชาติ
7. เพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั เพื่อเขา้ สกู่ ารเปน็ ประชาคมอาเซยี น
8. สรา้ งสนั ติสขุ ในเขตพัฒนาเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

เปา้ หมายหลัก (Goal Strategies)

1. ผลติ และพัฒนาก�ำ ลังคนเพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ และเพิ่มความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
2. วจิ ยั เพื่อสรา้ งสมองคค์ วามรู้ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ เศรษฐกจิ ชายแดนภาคใต้
3. บรกิ ารวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี น้อมนำ�พระบรมราโชบายและแนวพระราชดำ�ริ เสรมิ สรา้ งความ
เขม้ แขง็ เศรษฐกจิ ชายแดนใต้
4. ทะนุบ�ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม อนุรกั ษ์ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ
5. องคก์ รสูค่ วามเปน็ เลศิ

7

วัตถุประสงค์

1. เพื่อผลติ ครแู ละพัฒนาบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ใหม้ คี ณุ ภาพ มคี วามเขม้ แขง็ ในวิชาชพี ครู และเปน็ ผ้นู ำ�
ในการปฏริ ปู การศกึ ษา
2. เพื่อผลติ บณั ฑติ และพัฒนาบคุ ลากรในทอ้ งถน่ิ
อย่างต่อเน่ืองใหเ้ ปน็ ผ้ทู ม่ี คี วามรู้ มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
และมขี ดี ความสามารถทส่ี อดคล้องกบั ทศิ ทางการ
พัฒนาประเทศ
3. เพื่อส่งั สมองคค์ วามรจู้ ากการวิจยั และเชอ่ื ม
ศาสตรส์ สู่ ากลใหเ้ กดิ เปน็ แหลง่ เรยี นรแู้ ละถา่ ยทอดเทคโนโลยเี พ่ือการแกไ้ ขปญั หาและพัฒนาทอ้ งถน่ิ อยา่ งยง่ั ยนื
4. เพื่อบรกิ ารวชิ าการและถา่ ยทอดเทคโนโลยีจากฐานการวิจยั ตามแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงในการ
สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชน
5. เพ่ือส่งเสรมิ สืบสาน สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ และสรา้ งสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของท้องถ่ินและของชาติ
เพ่ือใหเ้ กดิ ความส�ำ นึก ความภมู ใิ จ รกั และผกู พันในทอ้ งถน่ิ และประเทศชาติ
6. เพื่อสง่ เสรมิ และสบื สานพระบรมราโชบายและโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำ ริ
7. เพ่ือพัฒนาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การของมหาวทิ ยาลยั ใหส้ ามารถด�ำ เนินภารกจิ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ

คติพจน์ ปัญญา นรานํ รตนํ - ปัญญาเปน็ ดวงแก้วของนรชน

สี ตรา และคตพิ จน์ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลาจงึ เน้นวา่ นักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลาทกุ คน
พึงแสวงหาวชิ าความรเู้ พ่ือพัฒนาตนและ สงั คม มปี ญั ญา วจิ ารณญาณ กลา้ คดิ กลา้ ท�ำ ในสง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ ง ดงี าม

ปณิธานดว้ ยความบรสิ ุทธใิ์ จ

ปญั ญาญาณของท้องถน่ิ พลงั แผน่ ดนิ แหง่ สยาม
สนองพระราชปิตคุ าม งดงามอยา่ งยั่งยนื

8

ค่านิยมองค์กร
S = Skill
K = Knowledge
R = Responsibility
U = Unity

ประเด็นยุทธศาสตร์

1. ยกระดบั การผลติ บณั ฑติ พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม้ คี ณุ ภาพเหนือมาตรฐานวชิ าชพี ครู
2. ผลติ บณั ฑติ และพัฒนาก�ำ ลงั คนเพ่ือเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพตลอดชว่ งชวี ิต
3. เสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ สงั คมเพ่ือการพัฒนาทอ้ งถน่ิ อย่างย่ังยืน
4. พัฒนามหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา วทิ ยาเขตสตูลใหเ้ ปน็ วทิ ยาเขตในก�ำ กบั
5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

1. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนามหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนยทุ ธ
ศาสตรก์ ารพัฒนามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565)
2. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) แผนปฏบิ ตั ิ
ราชการ 4 ปี มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา พ.ศ. 2561 - 2564 ฉบบั ทบทวนประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 และ
แผนปฏบิ ตั ริ าชการ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
3. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) ฉบบั ทบทวน
ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
4. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) ฉบบั ทบทวน
ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
5. แผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) ฉบบั ทบทวน
ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และแผนปฏบิ ตั ิราชการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา ประจ�ำ ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ระยะครง่ึ แผน)
6. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) ฉบบั ทบทวน
ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

9

10

11

12

พ.ศ. 2462 มฐี านะเปน็ หมวดวชิ าการศกึ ษาของ
โรงเรยี นฝึกหดั ครมู ลฑลนครศรธี รรมราช
(ต้งั อยู่ ณ จงั หวดั สงขลา)
พ.ศ. 2482 เปล่ยี นเปน็ โรงเรยี นฝึกหดั ครู
ประกาศนียบตั รจงั หวดั (ว.) และไดย้ ้ายมาเรยี นทตี่ ำ�บล
คอหงส์ อ�ำ เภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลาในปี พ.ศ. 2490 และไดเ้ ปล่ยี นฐานะจากโรงเรยี นฝึกหดั ครปู ระกาศนียบตั ร
จงั หวดั เปน็ โรงเรยี น ฝึกหดั ครู
พ.ศ. 2499 โรงเรยี นฝึกหดั ครมู ลู สงขลา ไดย้ ้ายมาอย่ทู ห่ี มทู่ ่ี 4 ตำ�บลเขารปู ชา้ ง อ�ำ เภอเมอื ง
จงั หวดั สงขลา ในวนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2499
พ.ศ. 2504 ยกฐานะเปน็ วทิ ยาลยั ครสู งขลาเมอ่ื วันท่ี 1 พฤษภาคม 2504 ขยายชน้ั เรยี นในระดบั
ป.กศ.สงู และรวมกจิ การโรงเรยี นสตรฝี ึกหดั ครเู ขา้ มาไว้ดว้ ยกนั ในวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2510
พ.ศ. 2518 ยกฐานะเปน็ คณะวิชาครศุ าสตร์ หน่วยงานระดบั คณะวชิ าของวทิ ยาลยั ครสู งขลา
จดั การศกึ ษาถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี
พ.ศ. 2538 ยกเลกิ ค�ำ ว่า "คณะวชิ า" เปน็ "คณะ" และเปล่ยี นผ้บู รหิ ารคณะ จาก "หวั หน้าคณะวชิ า"
เปน็ "คณบด"ี เมอ่ื วนั ท่ี 24 ตุลาคม 2538
ปัจจุบัน คณะครศุ าสตรม์ ีภารกิจหลักคือผลิตบัณฑิตพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการ ศึกษาวิจัยทางการศึกษา
บรกิ ารวิชาการแกส่ ังคม และสบื สานศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย นอกจากนี้ยังมหี น่วยงานอนื่ ๆ ทใ่ี ชเ้ ปน็ สถานทฝี่ ึก
ประสบการณ์วิชาชพี ครขู องนักศกึ ษาไดแ้ กบ่ า้ นสาธติ เดก็ ปฐมวยั โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา และ
งานการศกึ ษาพิเศษ

13

ปรชั ญา

เสรมิ สรา้ งปญั ญาและจรยิ ธรรม นำ�พัฒนาวชิ าชพี

ปณิธาน

คณะครศุ าสตรม์ งุ่ มนั่ ในการผลติ บณั ฑติ พัฒนาครแู ละบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานวชิ าชพี และสอดคล้องกบั
ความต้องการของทอ้ งถน่ิ

วิสยั ทัศน์

เปน็ สถาบนั ชนั้ นำ�ระดบั ประเทศ ทม่ี คี วามเปน็ เลศิ ในการผลิต
พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทอ้ งถน่ิ

พันธกิจ

ดว้ ยความรว่ มมอื ของเครอื ขา่ ยทางการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมทยี่ ่ังยืน คณะครศุ าสตรจ์ งึ ไดก้ �ำ หนดพันธกจิ
4 ขอ้ ดงั น้ี

1. ผลิตและพัฒนาวิชาชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
2. บรกิ ารวิชาการและพัฒนาทอ้ งถน่ิ
3. ส่งเสรมิ และพัฒนาการวจิ ยั ทางการศกึ ษา
4. การท�ำ นุบ�ำ รงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม

อตั ลักษณ์บัณฑิตครศุ าสตร์

อตั ลักษณ์ของบณั ฑติ ครศุ าสตร์ คอื เปน็ คนดี มที กั ษะชวี ิต มจี ติ สาธารณะ

คุณลกั ษณะบัณฑิตครศุ าสตร์

คณุ ลักษณะของบณั ฑติ คณะครศุ าสตร์ คอื รอบรู้ จดั การเรยี นรดู้ ี มคี ณุ ธรรมและจรรยาบรรณ มงุ่ มนั่ พัฒนา

14

หลกั สตู รทเ่ี ปิดสอน

ระดับปรญิ ญาตรี
หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต
• สาขาวิชาภาษาไทย
• สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ
• สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย
• สาขาวิชาคณิตศาสตร์
• สาขาวิชาการศกึ ษาพิเศษ-ภาษาไทย
• สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป
• สาขาวิชาพลศกึ ษา
ระดับประกาศนียบตั ร
หลักสูตรประกาศนียบตั รบัณฑิต
• สาขาวชิ าชพี ครู
ระดับปรญิ ญาโท
หลักสูตรมหาบัณฑิต
• สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
• สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา

15

16

จดั ต้งั ขนึ้ ตามพ.ร.บ.วิทยาลัยครพู .ศ.2518 โดยปรบั เปล่ยี น
การบรหิ ารจากเดมิ ทแ่ี ยกเปน็ หมวดวิชาตา่ ง ๆ ในสาขา
ภาษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ สาขาดนตรี นาฎศลิ ปแ์ ละ
บรรณารกั ษศ์ าสตร์ รวมเขา้ เปน็ คณะเดยี วกนั และแยกการ
บรหิ ารออกเปน็ ภาควชิ าตา่ ง ๆ โดยมหี วั หน้าภาควิชาเปน็
ผ้บู รหิ าร ในปพี .ศ. 2520 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

ประกอบด้วยภาควิชาต่าง ๆ 11 ภาควิชาได้แก่
1. ภาควชิ าภาษาไทย 7. ภาควชิ าปรชั ญาและศาสนา
2. ภาควิชาบรรณารกั ษศาสตร ์ 8. ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์
3. ภาควิชาประวตั ิศาสตร ์ 9. ภาควชิ าสังคมวทิ ยา
4. ภาควชิ ารฐั ศาสตรแ์ ละนิติศาสตร ์ 10. ภาควิชานาฎศลิ ป์
5. ภาควชิ าดนตร ี 11. ภาควิชาศลิ ปศกึ ษา
6. ภาควชิ าภาษาตา่ งประเทศ
พ.ศ.2535 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกล้าฯพระราชทานนามใหมแ่ ก่
วิทยาลัยครเปน็ สถาบนั ราชภฏั เมอื่ วนั ท่ี 14 กมุ ภาพันธ์ 2535 โดยใหต้ อ่ ทา้ ยชอ่ื ดว้ ยชอ่ื เดมิ ของมหาวทิ ยาลัยครู
แต่ละแหง่ วทิ ยาลยั ครสู งขลาจงึ เปล่ยี นชอ่ื เปน็ "สถาบนั ราชภฏั สงขลา"
พ.ศ.2539 สถาบนั ราชภฏั สงขลา ไดม้ โี ครงการจดั ต้งั คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ โดยใหแ้ ยกภาควิชา
ท่ีสังกัดคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตรไ์ ปสังกัดโครงการจัดต้ังคณะศิลปกรรมศาสตร์ 3 ภาควิชา คือ
1. ภาควชิ าดนตรี
2. ภาควิชานาฏศลิ ป์
3. ภาควิชาศลิ ปศกึ ษา
พ.ศ. 2547 สถาบนั ราชภฏั ทกุ แหง่ เปล่ยี นสถานะเปน็ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ตามพระราชบญั ญตั ิ
มหาวิทยาลัย ราชภฏั พุทธศกั ราช 2547 ท�ำ ใหส้ ถาบนั ราชภฏั สงขลาเปล่ยี นเปน็ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
พ.ศ. 2553 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้ปรบั โครงสรา้ ง
การบรหิ ารงานจาก "สาขาวิชา" เปน็ "โปรแกรมวชิ า" และตอ่ มาไดย้ กเลิก "โปรแกรมวิชา" ในปพี .ศ.2561

17

ปรชั ญา

คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรผ์ ลิตบณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพ
และคณุ ธรรมเพื่อรว่ มพัฒนาทอ้ งถน่ิ

ปณิธาน

คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตรเ์ ปน็ คณะชนั้ นำ�ในภาคใต้
ดา้ นการผลิตบณั ฑติ และการวิจยั เพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ สู่สากล

พันธกจิ

1. จดั การศกึ ษาดา้ นมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
เสรมิ สรา้ งบณั ฑติ ใหม้ จี ติ สาธารณะเพ่ือตอบสนองความต้องการ
ของทอ้ งถน่ิ
2. ส่งเสรมิ และสนับสนุนการท�ำ วิจยั ดา้ นมนุษย์ศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ เพ่ือรว่ มพัฒนาทอ้ งถน่ิ
3. ถา่ ยทอดองคค์ วามรแู้ ละใหบ้ รกิ ารวิชาการแกส่ งั คม เพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ขม้ เขง็ บนฐานการมสี ่วนรว่ ม
4. ส่งเสรมิ สืบสาน และรว่ มอนุรกั ษ์ศิลปวัฒนธรรมของท้องถ่ินและประเทศ และโครงการเศรษฐกิจ
พอเพียงอนั เนื่องมาจากแนวทางพระราชด�ำ ริ
5. สรา้ งความรว่ มมอื เพ่ือแลกเปล่ยี นเรยี นรทู้ างวชิ าการ เพ่ือเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขน้ั สู่
ประชาคมอาเซยี่ น
6. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหม้ คี ณุ ภาพ

18

หลกั สูตรทเ่ี ปิดสอน

ระดับปรญิ ญาตรี / นักศึกษาภาคปกติ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
• สาขาวชิ าภาษาไทย
• สาขาวชิ าการพัฒนาชมุ ชน
• สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ
• สาขาวิชาภาษาองั กฤษเพื่องานบรกิ าร
หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต
• สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
• สาขาวิชาภมู สิ ารสนเทศ
หลักสูตรครศุ าสตรบ์ ณั ฑิต
• สาขาวิชาภาษาจนี
นักศกึ ษาภาคพิเศษ (กศ.บป.)
หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
• สาขาวิชาการพัฒนาชมุ ชน
หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต
• สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์

19

20

คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบนั ราชภฏั

สงขลา เปน็ หน่วยงานทจ่ี ดั ต้งั ขน้ึ ตามการแบง่ สว่ นราชการ
ของวทิ ยาลยั ครู เมอ่ื มกี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิ
วทิ ยาลยั ครู พุทธศกั ราช 2518 มกี ารเปล่ยี นแปลงการ
เรยี กชอ่ื หน่วยงานตามลำ�ดบั ดงั น้ี

พ.ศ. 2518 มพี ระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู พุทธศกั ราช

2518 ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการในวิทยาลัยครเู รยี กว่า คณะวิชา จัดตั้งเป็น
คณะวิทยาศาสตรม์ หี น่วยงานสังกดั ประกอบดว้ ย
• หมวดวชิ าพลานามยั • หมวดวชิ าคณิตศาสตร ์ • หมวดวชิ าคหกรรมศาสตร์
• หมวดเกษตรกรรม • หมวดวชิ าวทิ ยาศาสตร ์ • หมวดวิชาหตั ถศกึ ษาและอตุ สาหกรรมศลิ ป์

พ.ศ. 2519 เปล่ยี นชอ่ื หมวดวชิ าพลานามยั เปน็ หมวดวิชาพลศกึ ษาและนันทนาการต้งั ภาค

วชิ าสุขศกึ ษา สังกดั คณะวิทยาศาสตร์

พ.ศ. 2527 มกี ารแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ พระราชบญั ญตั ิวิทยาลยั ครู พุทธศกั ราช 2518 เปล่ยี นชอ่ื เปน็

คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปล่ยี นชอ่ื หน่วยงานในสังกดั เปน็ ภาควิชา เปล่ยี นสังกดั ภาควชิ าพลศกึ ษาและ
นันทนาการเปน็ สังกดั คณะครศุ าสตร์

พ.ศ. 2530 แยกภาควิชาเกษตรศาสตรจ์ ดั ต้งั เปน็ คณะเกษตรและอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2535

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าพระราชทานนามสถาบนั ราชภฏั แทนวทิ ยาลยั ครู
เมอ่ื วนั ท่ี 14 กมุ ภาพันธ์ 2535 มหี น่วยงานสงั กดั ประกอบดว้ ย ภาควชิ าเคมี ภาควชิ าชวี วิทยา ภาควชิ า
คอมพิวเตอร์ ภาควชิ าคหกรรมศาสตร์ ภาควชิ าเทคโนโลยีการยาง ภาควชิ าอตุ สาหกรรมศลิ ป์ ภาควิชา
วิทยาศาสตรแ์ ละสุขภาพ ภาควิชาคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตรท์ ั่วไป ภาควิชา
วิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดล้อม

พ.ศ. 2538 เปล่ยี นชอ่ื คณะเปน็ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พ.ศ. 2540 แยกภาควชิ าอตุ สาหกรรมศลิ ปจ์ ดั ต้งั เปน็ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมพ.ศ. 2541

เปล่ยี นระบบบรหิ ารจาก ภาควชิ า เปน็ โปรแกรมวชิ า

พ.ศ. 2547 สถาบนั ราชภฏั สงขลาไดร้ บั การยกฐานะเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลาตาม

พระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พ.ศ. 2547 เมอ่ื วันท่ี 14 มถิ นุ ายน 2547

พ.ศ. 2559 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไดป้ รบั โครงสรา้ งจากโปรแกรมวิชา เปน็

หลกั สตู รสาขาวชิ า และไดเ้ ปดิ ท�ำ การเรยี นการสอน ในสาขาวิชา "วิทยาศาสตรส์ ุขภาพและสปา"

21

ปรชั ญา

ปรชั ญา เน้นคณุ ธรรม นำ�วทิ ยาศาสตรก์ า้ วหน้า
พัฒนาทอ้ งถน่ิ

ปณิธาน

คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปน็ คณะชน้ั นำ�ทผ่ี ลิต
บณั ฑติ มคี ณุ ภาพและคณุ ธรรม เพื่อพัฒนาทอ้ งถน่ิ สสู่ ากล

พันธกจิ

1. จดั การศกึ ษาเพ่ือผลติ บณั ฑติ และพัฒนา
บคุ ลากรดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2. ส่งเสรมิ การผลติ และพัฒนาครดู า้ นวิทยาศาสตร์
3. ศกึ ษา วจิ ยั สรา้ งองคค์ วามรู้ พัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
4. บรกิ ารวิชาการ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีสทู่ อ้ งถน่ิ
5. ท�ำ นุบ�ำ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม
6. สง่ เสรมิ และสบื สานโครงการอนั เน่ืองมาจากแนวพระราชด�ำ ริ

22

หลักสตู รทเี่ ปดิ สอน

ระดับปรญิ ญาตรี /
นักศกึ ษาภาคปกติ
หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต

• สาขาวชิ าวิทยาศาสตรป์ ระยุกต์เชงิ อตุ สาหกรรม
(ฟสิ ิกส์ประยกุ ต์และวชิ าเอกเทคโนโลยียางและพอลิเมอร)์
• สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์
• สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดจิ ทิ ลั
• สาขาวชิ าชวี วิทยา • สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ (อาหารและโภชนาการ)
• สาขาวชิ าเทคโนโลยีชวี ภาพ • สาขาวชิ าคณิตศาสตร์
• สาขาวชิ าเคม ี • สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ่งิ แวดล้อม
• สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพและสปา

หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต

• สาขาวิชา สาธารณสขุ ชมุ ชน

เทคโนโลยบี ณั ฑิต (ผลิตรว่ มกับวทิ ยาลัยนวตั กรรมและการจัดการ)

• สาขาวิชานวตั กรรมการเกษตรเพ่ือความยั่งยืน

หลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑิต (ผลติ รว่ มกับคณะครศุ าสตร)์

• สาขาวชิ าคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา
• สาขาวชิ าฟสิ ิกส์
• สาขาวชิ าเคมี

นักศึกษาภาคพิเศษ (กศบป.)
หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต

• สาขาวิชา สาธารณสขุ ชมุ ชน

23

24

คณะวิทยาการจัดการ เรม่ิ จากโปรแกรมสหกรณ์

สงั กดั คณะวทิ ยาศาสตร์ จนกระทง่ั เมอ่ื วนั ท่ี 25 มกราคม
พ.ศ. 2528 ไดแ้ ยกตวั มาจดั ต้งั เปน็ คณะวทิ ยาการจดั การ
เปดิ สอนในสาขาวิชาการสหกรณ์ และสาขาวชิ าการจดั การ
ทว่ั ไป ซงึ่ ตอ่ มาภายหลงั ไดป้ รบั เปล่ยี นจากสาขาวชิ าการ
สหกรณ์ เปน็ เศรษฐศาสตรส์ หกรณ์
การบรหิ ารคณะวทิ ยาการจดั การ ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2528 -2529 ไดเ้ ปดิ สอนหลกั สูตรศลิ ปศาสตร์
ระดบั อนุปรญิ ญา ระดบั ปรญิ ญาตรี และปรญิ ญาตรี (หลังอนุปรญิ ญา) บรหิ ารในรปู แบบของภาควิชา

ซงึ่ ในขณะน้ันมี 5 ภาควชิ า คอื

1. ภาควชิ าการเงิน และการบญั ชี
2. ภาควชิ าการตลาด
3. ภาควชิ าการส่อื สาร และการประชาสัมพันธ์
4. ภาควิชาบรหิ ารธรุ กจิ และสหกรณ์
5. ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ รปู แบบการบรหิ ารในสถาบนั ราชภฏั สงขลาเปน็ โปรแกรมวิชา
และมกี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู รของสถาบนั ราชภฏั ในปี พ.ศ. 2543 คณะวทิ ยาการจดั การ มโี ปรแกรมวชิ า ดงั น้ี
1. โปรแกรมวิชาการบรหิ ารธรุ กจิ หลกั สูตรสาขาวิชาการบรหิ ารธรุ กจิ ระดบั ปรญิ ญาตรี
ระดบั ปรญิ ญาตรี (หลังอนุปรญิ ญา) โดยมแี ขนงตา่ งๆ ดงั น้ี แขนงการตลาด แขนงการบญั ชี แขนงการ
บรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์
2. โปรแกรมวิชาการจดั การทว่ั ไป หลกั สตู รสาขาวิชาการบรหิ ารธรุ กจิ ระดบั อนุปรญิ ญา
ระดบั ปรญิ ญาตรี ระดบั ปรญิ ญาตร(ี หลังอนุปรญิ ญา)
3. โปรแกรมวชิ าวารสารศาสตร์ และการประชาสมั พันธ์ หลักสตู รสาขาวิชาศลิ ปศาสตร์
ระดบั อนุปรญิ ญา
4. โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ หลักสตู รสาขาวชิ าศลิ ปศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญาตรี
5. โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ หลกั สตู รสาขาวิชาการบรหิ ารธรุ กจิ ระดบั ปรญิ ญาตรี
เนื่องจากการเปดิ รบั นักศกึ ษาเพ่ิมมากขน้ึ ตลอดจนต้องการรกั ษาคณุ ภาพการบรหิ ารการเรยี น
การสอนในคณะให้ดีขนึ้ เพราะต้องมีการประกันคุณภาพ และมาตรฐานโปรแกรม ในปัจจุบันได้มีการปรบั
เปล่ยี นการบรหิ ารงานใหอ้ ย่ใู นรปู แบบโปรแกรมวชิ า

25

ปรชั ญา

สรา้ งคนดี มคี ณุ คา่ เสรมิ ปญั ญา พัฒนาทอ้ งถน่ิ

วิสยั ทศั น์

"SMART MGT เขม้ แขง็ การจดั การทนั สมยั เปน็ ศนู ย์กลาง
การศกึ ษา เชอ่ื มโยงทอ้ งถน่ิ สสู่ ากล"คณะวิทยาการจดั การ
มแี นวคดิ หลักในการท�ำ งานทเ่ี รยี กว่า SMART MGT มาใช้
ในการผลิตบณั ฑติ ผลิตงานวจิ ยั ใหบ้ รกิ ารวชิ าการ
ท�ำ นุบ�ำ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรมและอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม และ
การบรหิ ารจดั การ เพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
ใหก้ บั บณั ฑติ และเชอ่ื มโยงทอ้ งถน่ิ สสู่ ากล โดยประกอบดว้ ย
S (Strength) : องค์กรเขม้ แขง็
M (Management) : การจดั การทันสมัย
A (Academic center) : ศูนย์กลางทางการศึกษา
R (Relationship) : เชอื่ มสัมพันธท์ ้องถนิ่ สูส่ ากล
T (Technology) : เทคโนโลยที นั สมยั

พันธกิจ

1. พัฒนาหลักสตู รการเรยี นการสอนใหม้ มี าตรฐานและมคี วามสอดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน
2. พัฒนาความเขม้ แขง็ ของบุคลากรในสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนให้มีมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
และการปฏบิ ตั ิงานอย่างเขม้ แขง็
3. ยกระดับคุณภาพงานวิจัย สรา้ งองค์ความรใู้ หม่เพื่อบูรณาการด้านการเรยี นการสอน และเชอ่ื มโยงสู่ ท้องถ่ิน
4. ให้บรกิ ารวิชาการและวิชาชพี บนฐานความต้องการของชมุ ชนเพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั แก่ชมุ ชน
และทอ้ งถน่ิ
5. สนับสนุนการท�ำ นุบ�ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณีและส่งิ แวดล้อมของทอ้ งถน่ิ
6. เน้นระบบการบรหิ ารจดั การสมยั ใหมใ่ หเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลภายใต้หลักธรรมาภบิ าล

ยุทธศาสตร์

1. พัฒนาความเขม้ แขง็ ของบคุ ลากรและพัฒนาหลกั สตู รการเรยี นการสอนใหม้ มี าตรฐานและมคี วามสอดคลอ้ งกบั
ความต้องการของ ตลาดแรงงาน
2. ยกระดบั ความเปน็ เลศิ ทางดา้ นการผลิตบณั ฑติ ดา้ นอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วและบรกิ าร โดยการบรู ณาการ
ศาสตร์ บรหิ ารธรุ กจิ เศรษฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์
3. ยกระดบั คณุ ภาพงานวิจยั ใหบ้ รกิ ารวิชาการและวิชาชพี บนฐานความต้องการของชมุ ชน เพื่อเพ่ิมขดี
ความสามารถในการแขง่ ขนั ใหแ้ กช่ มุ ชนทอ้ งถน่ิ
4. ส่งเสรมิ สืบสาน โครงการอนั เน่ืองมาจากแนวพระราชด�ำ ริ ท�ำ นุบ�ำ รงุ และเผยแพรศ่ ลิ ปวฒั นธรรม
5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การและหน่วยงานใหไ้ ดม้ าตรฐานดว้ ยหลกั ธรรมาภบิ าล

26

หลักสตู รทเี่ ปดิ สอน
ระดบั ปรญิ ญาตรี /
นักศึกษาภาคปกติ
หลักสตู รบญั ชบี ัณฑิต

• สาขาวิชาการบญั ชี

หลกั สูตรธรุ กจิ บัณฑิต

• สาขาวิชาการตลาด
• สาขาวชิ าการจดั การ
• สาขาวิชาการบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์
• โปรแกรมวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว
• โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ
• สาขาวชิ าการจดั การนวตั กรรมการคา้

หลกั สูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต

• สาขาวิชาส่อื สารมวลชน

หลักสตู รเศรษฐศาสตรบณั ฑิต

• สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ (พัฒนาธรุ กจิ )

27

28

คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร เปน็ คณะหน่ึงใน -

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา พัฒนามาจากภาควิชา
เกษตรศาสตร์ คณะวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมหี น้า
ทผ่ี ลติ นักศกึ ษาครวู ชิ าเอกเกษตรกรรม ระดบั ป.กศ.สูง
ในระยะแรก ต่อมาจงึ เปดิ สอนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรสี าขา

พ.ศ. 2528 วิชาการศกึ ษาวชิ าเอกเกษตรกรรม (ค.บ.)

กรมการฝึกหดั ครู ไดจ้ ดั ท�ำ หลักสตู รเทคนิคอาชพี ขน้ึ โดยเปดิ สอนสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์ และสาขาวชิ าศลิ ปศาสตรห์ ลายวชิ าเอก ระดบั อนุปรญิ ญาภาควชิ าเกษตรศาสตร์ จงึ เปดิ สอน

พ.ศ 2530ในระดบั อนุปรญิ ญาวทิ ยาศาสตร์ (อ.วท.) วิชาเอกเทคนิคอาชพี กสกิ รรมและวชิ าเอกเทคนิคอาชพี สัตวบาล
ภาควชิ าเกษตรศาสตร์ ไดแ้ ยกตวั ออกจากคณะวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
จัดตั้งเป็นคณะวิชาเกษตรและอตุ สาหกรรม ผู้บรหิ ารสูงสุดขณะน้ันมีตำ�แหน่งเป็นหัวหน้าคณะวิชา ในชว่ งน้ี
กรมการฝกึ หดั ครไู ดม้ กี ารพัฒนาหลกั สตู รวทิ ยาลยั ครู พุทธศกั ราช 2530 ขนึ้ ใหม่ ประกอบดว้ ย 3 สาขาวชิ า
คือ สาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และสาขาวิชาศิลปศาสตร์ มีนโยบายในการเพ่ิมการผลิต
ก�ำ ลังคนสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรใ์ หม้ ากขนึ้ คณะวิชาเกษตรและอตุ สาหกรรม จงึ ท�ำ การผลิตก�ำ ลังคนเฉพาะ
ในสาขาวิชาวิทยาศาสตรท์ ง้ั ในระดบั อนุปรญิ ญาปรญิ ญาตรี 4 ปี และปรญิ ญาตรี 2 ปี (หลงั อนุปรญิ ญา)

พ.ศ. 2535ในวิชาเอกเทคโนโลยีการเกษตร เกษตรศาสตร์ พืชศาสตร์ และการเพาะเล้ยี งสตั วน์ ้ำ�
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม
วทิ ยาลยั ครใู หมเ่ ปน็ สถาบนั ราชภฏั ท�ำ ใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งการบรหิ ารใหม่ มผี ลใหค้ ณะวชิ าเกษตร
และอตุ สาหกรรมเปล่ียนเป็นคณะเกษตรและอตุ สาหกรรม มีคณบดีเป็นผู้บรหิ ารสูงสุด และมีการเปิดสอนวิชาเอก
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหารเพิ่มขน้ึ

คณะเกษตรและอตุ สาหกรรม ไดเ้ ปล่ยี นชอ่ื เปน็ คณะเทคโนโลยีการเกษตร เมอ่ื วันท่ี 12 ตุลาคม 2542
มกี ารบรหิ ารงานวชิ าการแบบโปรแกรมวชิ า ต้งั แต่ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2543 -ปจั จบุ นั

29

ปรชั ญา

ความรคู้ คู่ ณุ ธรรมนำ�วิชาชพี สกู่ ารพัฒนาทอ้ งถน่ิ

วิสัยทัศน์

คณะเทคโนโลยีการเกษตรเปน็ องคก์ รการศกึ ษาชน้ั นำ�
ดา้ นเกษตรและอาหาร เพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ ของภาคใต้
ในปี 2565

พันธกิจ

1. จดั การศกึ ษาเพ่ือผลติ บณั ฑติ ทางการเกษตร
และอาหาร
2. วจิ ยั และพัฒนาองคค์ วามรทู้ างการเกษตร
และอาหาร
3. บรกิ ารวิชาการเพ่ือการพัฒนาทอ้ งถน่ิ
4. อนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทางการเกษตร
5. สืบสานโครงการอนั เน่ืองมาจากแนวพระราชด�ำ รแิ ละพระบรมราโชบาย

หลกั สตู รทเ่ี ปดิ สอน
ระดับปรญิ ญาตรี /
นักศึกษาภาคปกติ
หลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต(ทล.บ.)
หลักส ูตรวิท ยาศา สตร บ์ ัณฑ ิต(วท. บ.) •• สาขาวชิ าเทคโนโลยีการเกษตร
สาขาวชิ าเทคโนโลยีการจดั การผลติ ภณั ฑ์
• สาขา วิชาเท คโนโล ยีการเ กษตร อาหาร
แ ละอาห าร • สาขาวชิ าเทคโนโลยีการเกษตร
• สาขา วชิ าเก ษตรศ าสตร์ • สาขาวชิ าเทคโนโลยีการจดั การผลิตภณั ฑ์
• สาขา วชิ าก ารเพา ะเล้ยี งส ตั ว์น้ำ � อาหาร
• สาขา วิชาว ิทยาศา ตรแ์ ล ะเทคโน โลยี • สาขาวชิ าการผลิตและการจดั การผลติ ภณั ฑ ์
ก ารอา หาร อาหาร

30

31

คณะศิลปกรรมศาสตร์ เดมิ เปน็ "โครงการจดั ต้งั
คพณ.ะศศลิ .ป2กร5รม3ศ8าสตโดรย"์ การนำ�ภาควชิ าศลิ ปะ ภาควชิ า

ดนตรี และภาควิชานาฏศลิ ปจ์ ากสังกดั คณะมนุษยศาสตร์
และสงั คมศาสตรม์ ารว่ มกนั สรา้ งศกั ยภาพใหม้ บี ทบาท
พัฒนาการศกึ ษาศลิ ปกรรมศาสตรร์ ะดบั อดุ มศกึ ษาดา้ น
พ.ศ. 2547วชิ าการและวชิ าชพี เพ่ือเปน็ รากฐานวชิ าชพี แขนงทศั นศลิ ป์ ประยกุ ตศ์ ลิ ป์ ดนตรี และศลิ ปะการแสดง
สถาบนั ราชภฏั สงขลาเปลย่ี นฐานะเปน็ "มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา" สง่ ผลให้
พ.ศ.2548"โครงการจดั ตง้ั คณะศลิ ปกรรมศาสตร"์ ไดย้ กฐานะเปน็ "คณะศลิ ปกรรมศาสตร"์ ตามโครงสรา้ งของ
มหาวิทยาลัยเมอ่ื เดอื นมนี าคม ตลอดระยะเวลากวา่ ทศวรรษ คณะศลิ ปกรรมศาสตรย์ ังคง
มงุ่ มน่ั พัฒนาการเรยี นการสอน และผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพมากมาย สรา้ งสรรคผ์ ลงานทางดา้ นศลิ ปกรรม
สง่ เสรมิ ใหบ้ ณั ฑติ เหล่าน้ีไดส้ บื สาน เผยแพรง่ านดา้ นศลิ ปกรรมใหค้ งอย่สู บื ไป

ปรชั ญา
"ศาสตรศ์ ลิ ปกรรมนำ�ทอ้ งถน่ิ สพู่ ัฒนา"
วิสัยทศั น์
คณะศลิ ปกรรมศาสตรเ์ ปน็ องคก์ รชน้ั นำ�

บรู ณาการศาสตรศ์ ลิ ปกรรม เพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ
พ ันธก ิจ ภาคใต้สูส่ ากล

1. ผลติ บณั ฑติ ทมี่ คี วามหลากหลายและพัฒนาบคุ ลากรในทอ้ งถน่ิ ดา้ นศลิ ปกรรมศาสตร์ ใหม้ คี ณุ ภาพ
และคณุ ธรรม
2. บรกิ ารวิชาการและถา่ ยทอดเทคโนโลยีดา้ นศลิ ปกรรมศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ บนพื้นฐานของ
การมสี ่วนรว่ ม
3. พัฒนาและสนับสนุนบณั ฑติ ใหม้ คี ณุ ภาพสอดคล้องกบั หลักสูตรวชิ าชพี ครู และบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษาดา้ นศลิ ปกรรมศาสตร์
4. อนุรกั ษ์ส่งเสรมิ เผยแพรศ่ ลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ และสบื สานโครงการอนั เน่ืองมาจาก
แนวพระราชด�ำ ริ
5. วิจยั และพัฒนาเพ่ือสรา้ งสมองคค์ วามรใู้ หเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นศลิ ปกรรมศาสตรข์ องทอ้ งถน่ิ
6. ส่งเสรมิ สบื สาน และสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะและวฒั นธรรม ทอ้ งถน่ิ ของชาติ
7. เพ่ิมขดี ความสามารถทางดา้ นศลิ ปรรมศาสตรใ์ นการแขง่ ขนั เพ่ือเขา้ สู่ การเปน็ ประชาคมอาเซยี น
8. นำ�องคค์ วามรทู้ างดา้ นศลิ ปกรรมศาสตรส์ รา้ งสันตสิ ุขในเขตพัฒนาเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนใต้

32

นโยบาย ขน้ั ตอนการพัฒนาคณะศลิ ปกรรมศาสตร์

ในระยะเวลา 4 ปี (2564-2568)
1.จดั การศกึ ษาและพัฒนาหลกั สูตรใหม้ คี วาม
หลากหลายเพ่ือตอบสนองความต้องการของทอ้ งถน่ิ และ
ไดม้ าตรฐานตามเกณฑข์ องสกอ.
2. สง่ เสรมิ และผลักดนั การวิจยั การจดั กจิ กรรม
ทางวชิ าการ บรกิ ารวชิ าการ ท�ำ นุบ�ำ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรม
3.สนับสนุนการจดั กจิ กรรมทต่ี อบสนองโครงการ
พระราชด�ำ รแิ ละนโยบายของมหาวิทยาลยั
4. พัฒนากรบคุ ลากรอย่างทว่ั ถงึ และเปน็ ธรรม
5. สนับสนุนการจดั กจิ กรรมนักศกึ ษาโดยบรู ณาการ
ศาสตรศ์ ลิ ปกรรมทกุ แขนงเพื่อสรา้ งความสามคั คี
6. สรา้ งเครอื ขา่ ยทางวิชาการกบั มหาวทิ ยาลยั ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ ด�ำ เนินกจิ กรรมอย่าง
เปน็ รปู ธรรมและต่อเน่ือง
7. บรหิ ารจดั การโดยการยึดหลกั ธรรมภบิ าล

หลักสตู รทเ่ี ปดิ สอน

ระดับปรญิ ญาตรี /
นักศกึ ษาภาคปกติ
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบณั ฑิต
(ศป.บ.)

• สาขาวิชาดนตรไี ทย
• สาขาวิชาดรุ ยิ างคศลิ ปต์ ะวนั ตก
• สาขาวิชานาฏศลิ ปแ์ ละการแสดง
• สาขาวชิ าศลิ ปกรรม
• สาขาวิชาการออกแบบ

33

34

คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั
ราชภฏั สงขลา เดมิ เปน็ หมวดวิชาหตั ถศกึ ษาและอตุ สาห-
กรรมศลิ ป์ ท�ำ การเปดิ สอนวชิ าเลอื กระดบั ป.กศ. และ
ป.กศ.สูง ในปี พ.ศ. 2519 ไดร้ บั การจดั ต้งั เปน็ ภาควชิ า
สังกดั คณะวิชาวิทยาศาสตร์ เปดิ สอนสาขาการศกึ ษาระดบั
อนุปรญิ ญา วชิ าเอกหตั ถศกึ ษาและอตุ สาหกรรมศลิ ป์
จนกระทงั่ ปี พ.ศ. 2531 ไดเ้ ปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สูตร 4 ปี วิชาเอกหตั ถศกึ ษาและอตุ สาหกรรมศลิ ป์
ในแผนพัฒนาการศึกษาระยะท่ี 7 (2535-2539) กรมการฝึกหัดครไู ด้เล็งเห็นความจำ�เป็นในการ
ผลติ บคุ ลากรดา้ นเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ใหเ้ พียงพอกบั การขยายตวั ของอตุ สาหกรรมในประเทศ จงึ ไดบ้ รรจุ
แผนการจดั ต้งั คณะวชิ าอตุ สาหกรรมศกึ ษาขน้ึ ในวทิ ยาลัยครู 7 แหง่ ดงั น้ี
1. วทิ ยาลยั ครเู พชรบรุ ี 2. วิทยาลัยครฉู ะเชงิ เทรา
3. วทิ ยาลยั ครเู ชยี งราย 4. วิทยาลัยครกู �ำ แพงเพชร
5. วิทยาลัยครสู ุรนิ ทร์ 6. วทิ ยาลยั ครเู ลย
7. วทิ ยาลยั ครสู งขลา
ต่อมาได้มวี ิทยาลยั ครไู ด้ขอเขา้ รว่ มโครงการอกี 2 แห่ง คอื
1. วิทยาลยั ครเู พชรบรุ พี ิทยาลงกรณ์ 2. วทิ ยาลัยครพู ระนคร
รวมเปน็ 9 แหง่ และไดม้ กี ารตกลงเปล่ยี นชอ่ื มาเปน็ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม เมอ่ื วันท่ี 24 มกราคม 2538
ไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 วทิ ยาลยั ครทู กุ แหง่ จงึ ไดเ้ ปล่ยี นมาเปน็ สถาบนั
วิทยาลัยครสู งขลาจงึ เปล่ยี นมาเปน็ สถาบนั ราชภฏั สงขลา ต้งั แต่บดั นั้นเปน็ ต้นมา สถาบนั ราชภฏั สงขลาไดม้ ี
ความเจรญิ กา้ วหน้ามาเปน็ ล�ำ ดบั จนสามารถเปดิ สอนถงึ ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาไดใ้ นปี พ.ศ. 2544 และเมอ่ื วันท่ี
15 มถิ นุ ายนพ.ศ. 2547 กไ็ ดร้ บั การยกฐานะเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ในทส่ี ุด

พ.ศ. 2540 ภาควชิ าอตุ สาหกรรมศลิ ป์ ไดแ้ ยกจากคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยจดั ต้งั
เปน็ "โครงการจดั ต้งั คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม"

วันท่ี 12 ตุลาคม 2542 ไดม้ ปี ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารแบง่ ส่วนราชการจดั ต้งั
คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมขนึ้ ในสถาบนั ราชภฏั สงขลา มผี ลบงั คบั ใชต้ ้ังแตว่ ันที่ 13 ตุลาคม 2542

ปีการศึกษา 2542 คณะได้มีการเปิดสอน 2 โปรแกรมวิชา คือ โปรแกรมวิชาไฟฟ้า
และโปรแกรมวิชาโลหะซงึ่ เปน็ ระดบั อนุปรญิ ญา

ปีการศึกษา 2545 คณะได้มีการเปิดสอนเพ่ิมขน้ึ อกี 2 โปรแกรมวิชา คือ โปรแกรมวิชา
เทคโนโลยีไฟฟา้ อตุ สาหกรรม และโปรแกรมวชิ าเทคโนโลยีการจดั การอตุ สาหกรรมเปน็ หลักสูตร 2 ปตี ่อเน่ือง
ระดบั ปรญิ ญาตรี

35

ป ีการ ศึกษ า 25 52 คณะไดม้ กี าร

ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ระดบั ปรญิ ญาตรี จากหลักสูตรวิทยา
ศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (2 ปี
ต่อเน่ือง) ปรบั ปรงุ เปน็ หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขา
วชิ าเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (ต่อเน่ือง) (หลกั สตู รปรบั ปรงุ
พ.ศ.2553)

ปีการศึกษา 2553 ไดม้ กี ารเปดิ หลักสูตรใหม่ คอื หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ

สาขาวิชาวศิ วกรรมการจดั การ ปกี ารศกึ ษา 2554 เปดิ หลกั สูตร ระดบั ปรญิ ญาตรี จ�ำ นวน 2 หลักสตู ร
1. หลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (ตอ่ เน่ือง) 4 สาขาวิชาเอก

1.1 วิชาเอกเทคโนโลยีไฟฟา้ อตุ สาหกรรม
1.2 วชิ าเอกเทคโนโลยีคอมพิวเตอรอ์ ตุ สาหกรรม
1.3 วิชาเอกเทคโนโลยีการจดั การอตุ สาหกรรม
1.4 วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิต
2. หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการจดั การ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2553

ปกี ารศกึ ษา 2555 คณะฯ ไดม้ กี ารเปดิ หลกั สตู รใหมแ่ ละเปดิ รบั นักศกึ ษาอกี 1 หลกั สตู ร

คือ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2555และมีการปรบั
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานระดบั โปรแกรมวชิ าจากเดมิ 4 โปรแกรมวิชา เปน็ 2 โปรแกรมวิชา คอื

1. โปรแกรมวิชาอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี
2. โปรแกรมวิชาวิศวกรรมและการจดั การ

ปกี ารศกึ ษา 2556 คณะไดม้ กี ารเปล่ยี นชอ่ื โปรแกรมวชิ า จากเดมิ โปรแกรมวิชาวศิ วกรรม

และการจดั การ เปล่ยี นเปน็ โปรแกรมวชิ าวศิ วกรรมศาสตร์

ปกี ารศกึ ษา 2557 คณะฯ ไดม้ กี ารเปดิ หลกั สูตรใหมแ่ ละเปดิ รบั นักศกึ ษาอกี 1 หลกั สูตร

คอื หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2557

ปกี ารศกึ ษา 2558 คณะฯ ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู ร จ�ำ นวน 2 หลักสตู ร คอื หลักสูตร

เทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (ต่อเน่ือง) หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2558 และ หลักสูตร
วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมการจดั การและระบบการผลติ หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2558

ปกี ารศกึ ษา 2559 คณะฯ ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู ร หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ

สาขาวิศวกรรมโลจสิ ตกิ ส์

36

ปรชั ญา

สรา้ งปญั ญา พัฒนาเทคโนโลยี สรา้ งคนดี
พัฒนาสังคม

วิสยั ทศั น์

คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมเปน็ คณะชน้ั นำ�ดา้ นเทคโนโลยี
อตุ สาหกรรมและวศิ วกรรมเพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ ภาคใต้
สู่สากล

พันธกิจ

1. จดั การศกึ ษาเพ่ือผลิตบณั ฑติ บคุ ลากร และอบรมวิชาชพี
ทางดา้ นเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและวศิ วกรรมใหม้ คี ณุ ภาพ
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
2. สง่ เสรมิ และสนับสนุนงานวจิ ยั หรอื สง่ิ ประดษิ ฐ์ทางดา้ น
เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมและวศิ วกรรม
3. บรกิ ารวิชาการ วิชาชพี แกช่ มุ ชนและสงั คมในทอ้ งถน่ิ
4. ท�ำ นุบ�ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
5. ส่งเสรมิ และสนับสนุนงานสนองพระราชด�ำ ริ

หลักสตู รทเี่ ปิดสอน นักศึกษาภาคพิเศษ (กศ.บป.)
ระดับปรญิ ญาตรี / นักศึกษาภาคปกติ หลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบ์ ัณฑิต • สาขาเทคโนโลยีไฟฟา้ อตุ สาหกรรม
• สาขาวศิ วกรรมโลจสิ ติกส์
หลักสูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบ์ ณั ฑิต (2ปี ตอ่ เน่ือง)
• สาขาเทคโนโลยีการผลิต • สาขาเทคโนโลยีการจดั การ
• สาขาเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละดจิ ทิ ลั อตุ สาหกรรม (2 ปี ตอ่ เน่ือง)
(จดั การศกึ ษารว่ มกบั สถานประกอบการ)
หลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต
• สาขาเทคโนโลยีไฟฟา้ อตุ สาหกรรม (2ปี ตอ่ เน่ือง)
• สาขาเทคโนโลยีการจดั การอตุ สาหกรรม (2ปี ตอ่ เน่ือง)
• สาขาเทคโนโลยีอตุ สาหการ (4 ป)ี

37

38

วิทยาลยั นวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัย

ราชภฏั สงขลา ไดร้ บั อนุมตั ิจากสภามหาวิทยาลยั เมอ่ื วันท่ี
24 มกราคม พ.ศ. 2552 เดมิ ใชช้ อ่ื วา่ โครงการจดั ต้งั
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา วิทยาเขตสตูล เพื่อรองรบั
การพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องตามประเด็นยุทธศาสตร์
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยใหม้ กี ารประสานงบประมาณ
การด�ำ เนินงานจากทกุ ภาคสว่ นทง้ั ในระดบั ชาติ และระดบั จงั หวัดซงึ่ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา ไดด้ �ำ เนินการ
ขอใชพ้ ้ืนทต่ี ามหนังสอื ส�ำ คญั ส�ำ หรบั ทห่ี ลวงฉบบั ท่ี 4036/2515 (ทงุ่ ใหญส่ าธารณประโยชน์) ได้ เน้ือทท่ี ง้ั หมด
346 ไร่ 93 ตารางวา ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยวิธปี ฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั การถอนสภาพการขนึ้ ทะเบยี น
และการจดั หาผลประโยชน์ในทด่ี นิ ของรฐั ตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. 2551 ณ พ้ืนทส่ี าธารณประโยชน์
ทงุ่ ใหญส่ ารภี ต�ำ บลละงู อ�ำ เภอละงู จงั หวัดสตูล ในการกอ่ สรา้ งและพัฒนาโครงการจดั ต้งั มหาวิทยาลัย
ราชภฏั สงขลา วทิ ยาเขตสตูล ใหแ้ ล้วเสรจ็ ตามจดุ มงุ่ หมาย
ต่อมาเมอ่ื วันท่ี 26 ธนั วาคม 2558 สภามหาวิทยาลยั อนุมตั ิใหโ้ ครงการจดั ต้งั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
สงขลา วทิ ยาเขตสตูล ด�ำ เนินงานเทยี บเทา่ หน่วยงานระดบั คณะโดยมชี อ่ื วา่ วิทยาลัยนวตั กรรมและการจดั การ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ดว้ ยเจตนารมณ์ทแ่ี น่วแน่ และพันธกจิ ทใ่ี หไ้ ว้กบั ประชาชนในทอ้ งถน่ิ กล่าวคอื
รว่ มสรา้ งประเทศไทยใหน้ ่าอยู่ พัฒนาวิชาการเพ่ือรบั ใชส้ ังคม สรา้ งกระบวนการทาใหเ้ กดิ การยอมรบั ในวงการ
วิชาการทงั้ ในและต่างประเทศ ส่งเสรมิ ใหน้ ักศกึ ษาใหม้ อี ดุ มการณ์ มคี วามเปน็ พลเมอื งทม่ี สี ว่ นรว่ ม และมบี ทบาท
ในการพัฒนาชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เพื่อรองรบั การพัฒนาใหส้ อดคลอ้ งตามประเดน็ ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั ชายแดนภาคใต้
เปน็ มหาวทิ ยาลัยเพ่ือการพัฒนาทอ้ งถน่ิ และขยายโอกาสทางการศกึ ษา โดยมวี สิ ัยทศั น์เพ่ือมงุ่ พัฒนา
นวตั กรรม องคก์ รนาการจดั การ มพี ันธกจิ เพ่ือผลิตบณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพมคี วามสามารถสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม
เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ และสงั คม วจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ สรา้ งนวตั กรรม ถา่ ยทอดเทคโนโลยี
เพ่ือการพัฒนาภาคใต้ฝ่งั อนั ดามนั และภาคใต้ตอนลา่ ง ภายใต้การสง่ เสรมิ สงั คมพหวุ ฒั นธรรม

ส�ำ นักงานวิทยาลัยนวัตกรรมและการจดั การ

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา วิทยาเขตสตูล ต�ำ บลละงู อ�ำ เภอละงู จงั หวัดสตูล 91110
ติดต่อสำ�นักงาน : โทรศพั ท์ : 074-260200 ต่อ 8100

39

ปรชั ญา

สรา้ งสรรคน์ วัตกรรมทางภมู ปิ ญั ญาเพ่ือประโยชน์
แกท่ อ้ งถน่ิ

วิสยั ทศั น์

สถาบนั การศกึ ษาชน้ั นำ�ของประเทศดา้ นนวตั กรรมและ
การจดั การ บนฐานสังคมพหวุ ัฒนธรรม เพ่ือยกระดบั
วิชาการทางการศกึ ษา และพัฒนาทอ้ งถน่ิ สสู่ ากล

พันธกจิ

1. ผลิตบณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพสามารถสรา้ งสรรค์
นวตั กรรม เพ่ือตอบสนองความต้องการของทอ้ งถน่ิ และ
สังคม
2. สรา้ งผลงานวจิ ยั และนวัตกรรม เพ่ือสนับสนุนการผลิตบณั ฑติ และการพัฒนาทอ้ งถน่ิ
3. ใหบ้ รกิ ารวชิ าการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรม เพ่ือพัฒนาทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ขม้ แขง็ บนฐาน
ของการมสี ่วนรว่ ม
4. ส่งเสรมิ เผยแพร่ อนุรกั ษ์ สืบสาน และสรา้ งสรรค์ ศลิ ปะและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ และของชาติ และ
สืบสานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระบรมราโชบายและแนวพระราชด�ำ ริ
5. ส่งเสรมิ สังคมพหวุ ฒั นธรรมและสรา้ งสนั ติสขุ ในพ้ืนทภ่ี าคใต้ตอนลา่ ง
6. ส่งเสรมิ สนับสนุน เพ่ือพัฒนาพ้ืนทอ่ี ทุ ยานธรณีโลกจงั หวัดสตูล
7. พัฒนาขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั เพ่ือเขา้ สสู่ ากล
8. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การและสรา้ งภาพลกั ษณ์องคก์ ร

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือจดั การศกึ ษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ ผลติ บณั ฑติ ทต่ี อบสนองตามความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ
และตลาดแรงงาน
2. ด�ำ เนินการจดั การศกึ ษาทห่ี ลากหลาย ทง้ั ระบบปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑติ ศกึ ษา
เน้นผเู้ รยี นใหส้ รา้ งสรรคน์ วตั กรรม
3. มงุ่ เน้นพัฒนาการวจิ ยั และนวตั กรรม เพ่ือสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชนและสงั คม โดยใชฐ้ าน
องคค์ วามรชู้ มุ ชนและการวจิ ยั เพ่ือชมุ ชน เพ่ือใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
4. สนับสนุนและสง่ เสรมิ การท�ำ นุบ�ำ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม และวถิ ชี วี ติ ในบรบิ ท
ของชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และอตั ลกั ษณ์ของพ้ืนทจ่ี งั หวดั สตลู และจงั หวดั ชายแดนใต้
5. เพ่ือสง่ เสรมิ การบรกิ ารวชิ าการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมแกช่ มุ ชนและสงั คม โดยรว่ มมอื
กบั ผปู้ ระกอบการ กลมุ่ อตุ สาหกรรม และหน่วยงานในพ้ืนท่ี

40

ประเด็นยทุ ธศาสตร์

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ผลิตบณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพเปน็ ทตี่ ้องการ

ของตลาดแรงงานและสงั คม
เปา้ ประสงค์
1.1 วิทยาลัยฯ มีหลักสูตรท่ีมีความโดดเด่น หลากหลาย
มรี ะบบการเรยี นการสอนและกจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ/หลักสูตร
ทเ่ี น้นนวัตกรรมและทกั ษะดา้ นภาษาองั กฤษ
1.2 บณั ฑติ มคี ณุ ลักษณะตามอตั ลักษณ์มหาวิทยาลัย และ
มที กั ษะทพ่ี ึงประสงคต์ อ่ การพัฒนาทอ้ งถน่ิ และประเทศ
1.3 อาจารย์และบคุ ลากรไดร้ บั การยกระดบั ขดี ความสามารถ
ในการแขง่ ขนั

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 เสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ สังคมภายใต้สงั คมพหวุ ัฒนธรรมเพ่ือการ

พัฒนาทอ้ งถน่ิ อย่างยั่งยืน เพื่อสนองพระบรมราโชบายรชั กาลท่ี 10
เป้าประสงค์
2.1 สรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรบู้ นฐานองคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั และนวัตกรรม
2.2 ชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ และเกดิ ชมุ ชนต้นแบบทส่ี อดคล้องกบั ชมุ ชนพหวุ ัฒนธรรมทสี่ นองต่อพระบรม
ราชโชบาย ร.10
2.3 วิทยาลยั ฯ มสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาศกั ยภาพเชงิ พ้ืนท่ี จงั หวัดภาคใต้ตอนล่าง ดว้ ยการบรู ณาการ
งานวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ
2.4 วิทยาลยั ฯ สรา้ งความโดดเดน่ ในดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมทส่ี อดคล้องกบั สังคมพหวุ ัฒนธรรม

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 สรา้ งความโดดเดน่ ดา้ นภาษาตา่ งประเทศ เพ่ือรองรบั การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น

และพัฒนาส่คู วามเปน็ สากล
เป้าประสงค์
3.1 บคุ ลากรและนักศกึ ษาของวทิ ยาลยั สามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3.2 หลักสูตร การเรยี นการสอน บคุ ลากร และนักศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาสคู่ วามสากล
3.3 วิทยาลัยฯ มคี วามรว่ มมอื กบั องคก์ รตา่ งประเทศ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ

เปา้ ประสงค์
4.1 วิทยาลัยมกี ารบรหิ ารจดั การทด่ี ี มมี าตรฐานดว้ ยหลักธรรมาภบิ าลและการมสี ว่ นรว่ ม
4.2 วทิ ยาลัยมสี ภาพแวดล้อมทด่ี เี ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นการสอนและใหบ้ รกิ ารดว้ ยนโยบาย Green
and Clean University
4.3 วทิ ยาลยั มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบรหิ ารจดั การทท่ี นั สมยั

41

หลกั สตู รทเี่ ปิดสอน

ระดบั ปรญิ ญาตรี
หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑิต

• สาขาวชิ าการทอ่ งเทยี่ ว (Bachelor of Arts
Program in Tourism)

จดั การเรยี นการสอน แบบชนั้ เรยี น และเรยี นรว่ มกบั สถานประกอบการ โดยเฉพาะกจิ กรรมฝึกปฏบิ ตั ิ
มงุ่ เน้นการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของผเู้ รยี นทห่ี ลากหลายภายใตก้ ารพัฒนา
ทส่ี รา้ งใหผ้ เู้ รยี นใชศ้ กั ยภาพภายในตวั ตนบนฐานความสขุ และการคน้ พบขดี ความสามารถภายในเพ่ือน�ำ ไปสู่
ความเปน็ เลิศ

จุดเด่นของหลักสูตร

1. มกี ารฝึกภาคปฏบิ ตั ิ ทกุ วิชา
2. มกี ารฝึกปฏบิ ตั ิในสถานประกอบการ 2 ครง้ั ฝึกงานกอ่ นจบ ไมน่ ้อยกว่า 3 เดอื น
3. มกี ารจดั การรปู แบบการฝึกงาน 2 ทางเลอื ก คอื การฝึกงานปกติ กบั การฝึกงานในรปู แบบสหกจิ ฯ
4. มกี ลไกการเรยี นการสอนทช่ี ว่ ยนักศกึ ษาสามารถคน้ หาความเหมาะสมในการเลอื กอาชพี เมอ่ื
สำ�เรจ็ การศกึ ษา
5. มีกลไกการเรยี นการสอนท่ีชว่ ยสรา้ งความสมดุลใน มิติ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการจดั การ
6. มโี ครงการความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ ในเครอื ขา่ ยอทุ ยานธรณีโลกทว่ั โลก เพื่อเสรมิ ทกั ษะทาง
ดา้ นภาษาและการประสบการณ์การนำ�เทย่ี ว
7. มคี วามรว่ มมอื ระหวา่ งเครอื ขา่ ยภาคธรุ กจิ โรงแรมและการทอ่ งเทย่ี วนพ้ืนทภ่ี ายในประเทศ
และตา่ งประเทศ
8. มอี าจารย์ทส่ี ำ�เรจ็ การศกึ ษาจากตา่ งประเทศและในประเทศ มผี ลงานทางวิชาการ งานวจิ ยั และ
เครอื ขา่ ยการทอ่ งเทย่ี ว
9. มหี อพักใหบ้ รกิ ารแกน่ ักศกึ ษาและมศี นู ย์ฝึกประสบการณ์งานโรงแรมทไ่ี ดม้ าตรฐาน

42

หลักสูตรทเี่ ปิดสอน

ระดบั ปรญิ ญาตรี
หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต

• สาขาวิชานวตั กรรมการจดั การ (Bachelor of
Business Administration Program in
Innovative Management)

เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นการเรยี นสอนด้านการบรหิ ารจัดการ การบัญชี การตลาด การทำ�ธรุ กิจออนไลน์ และ
สรา้ งผู้ประกอบการท่ีมีความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ในการสรา้ งธรุ กิจใหม่ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงในโลก
ยคุ ดจิ ทิ ลั โดยมงุ่ เน้นการศกึ ษาเพ่ือส่งเสรมิ ใหบ้ ณั ฑติ มคี วามรทู้ ง้ั ทางทฤษฏภี าคปฏบิ ตั ิและประสบการณ์จาก
การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ในดา้ นนวัตกรรมการจดั การไปประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือการประกอบอาชพี และสามารถ
เปน็ ผ้ปู ระกอบการรนุ่ ใหม่ (Entrepreneurs) ทม่ี คี วามสามารถในการพัฒนานวัตกรรมไดเ้ ปน็ อย่างดี
จดุ เด่นของหลักสตู ร
1. เน้นการฝึกภาคปฏบิ ตั ิ มากกว่าการเรยี นทฤษฏเี พ่ือใหผ้ ้เู รยี นสามารถนำ�ความรไู้ ปใชไ้ ดจ้ รงิ
2. เน้นสรา้ งรายไดร้ ะหว่างเรยี นจากการฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ
3. ผ้เู รยี นจะไดฝ้ ึกปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในรปู แบบของการฝึกงาน/รปู แบบสหกจิ ศกึ ษา
4. สรา้ งนวัตกรตัวน้อย เพื่อไปเปน็ ผู้ประกอบการมอื อาชพี
5. เน้นผลิตบณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มเี จตคติทด่ี ี และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
6. เน้นผลิตบณั ฑติ ทมี่ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มคี วามใฝ่รู้ มวี จิ ารณญาณในการตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาและ
ปรบั ตัวใหท้ นั ตอ่ สถานการณ์ทเ่ี ปล่ยี นแปลงในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ได้

43

44

ส�ำ นักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น

เปน็ หน่วยงานสนับสนุนและอ�ำ นวยความสะดวกในการ
จดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรแี ละระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา
และใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารทางดา้ นวชิ าการ โดย
ประสานงานกบั คณะหรอื หน่วยงานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อย่ภู ายใต้
การก�ำ กบั ดแู ลของรองอธกิ ารบดฝี ่ายวชิ าการและประกนั
คณุ ภาพการศกึ ษา เน้นการบรหิ ารงานโดยยึดหลักการสง่ เสรมิ วชิ าการใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั
อดุ มศกึ ษา มกี ารใหบ้ รกิ ารทป่ี ระทบั ใจ และใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทที่ นั สมยั เพ่ือการบรกิ ารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
ภายใต้การบรหิ ารงานทส่ี อดคล้องกบั การบรหิ ารงานการจดั การศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั
ประวตั ิความเปน็ มาและสภาพปจั จบุ นั

สำ�นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลาไดก้ อ่ ต้งั ขน้ึ เมอื่

พ.ศ. 2523 ตามโครงสรา้ งของพระราชบัญญัติวิทยาลัยครโู ดยมีชอ่ื ว่าฝ่ายทะเบียนและวัดผล ขน้ึ ตรงกับ
รองอธกิ ารบดฝี ่ายวชิ าการ ต่อมามภี ารกจิ เพ่ิมขนึ้ จงึ ไดจ้ ดั ต้งั เปน็ สำ�นักส่งเสรมิ วิชาการ ตามพระราชบญั ญตั ิ
วิทยาลัยครู (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2527 ตามมาตรา 7 โดยมีอาจารย์กล่ิน รสิตานนท์ เป็นผู้อ�ำ นวยการคนแรก
ต่อมาเมอื่ มพี ระราชบญั ญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 และประกาศสำ�นักงานสภาสถาบนั ราชภฏั เรอ่ื ง
หลักเกณฑก์ ารแบง่ ส่วนราชการสถาบนั ราชภฏั ประกาศ ณ วันท่ี 25 ตุลาคม พ.ศ.2538 สถาบนั ราชภฏั สงขลา
จงึ ไดแ้ บง่ ส่วนราชการเปน็ สำ�นักสง่ เสรมิ วิชาการ และในปกี ารศกึ ษา 2542 ผศ.อรณุ ี กาญจนสุวรรณ
ดำ�รงตำ�แหน่งผู้อ�ำ นวยการสำ�นักส่งเสรมิ วิชาการ ได้มีการแบ่งหน่วยงานภายในสำ�นักส่งเสรมิ วิชาการ
ออกเป็น 5 ฝ่าย คือ ฝ่ายเลขานุการ ฝ่ายทะเบียนนักศึกษา ฝ่ายประมวลผล ฝ่ายหลักสูตรและแผนการเรยี น
และฝ่ายระบบขอ้ มูล และในปีการศึกษา 2546 ผศ.ออ้ ยทิพย์ พลศรี ดำ�รงตำ�แหน่งผู้อ�ำ นวยการสำ�นักส่งเสรมิ
วิชาการและงานทะเบยี น
ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2548 ไดย้ กระดบั ฐานะจากสถาบนั ราชภฏั สงขลาเปน็ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
จงึ มกี ารแบง่ ส่วนราชการใหมเ่ ปน็ ส�ำ นักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ตามกฎกระทรวงจดั ต้งั ส่วนราชการ
ในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548 ณ วันท่ี 1 มนี าคม พ.ศ. 2548 ซง่ึ ปรากฏ
ในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 122 ตอนท่ี 20 ก วันท่ี 8 มนี าคม 2548 และมกี ารแบง่ สว่ นราชการเปน็ ไปตามประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง การแบง่ ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา พ.ศ.2549 โดยใหแ้ บง่ สว่ น
ราชการเปน็ ส�ำ นักงานผอู้ �ำ นวยการ ประกาศ ณ วนั ท่ี 23 มถิ นุ ายน พ.ศ.2549 ปรากฏในราชกจิ จานุเบกษา
เล่ม 123 ตอนท่ี 74 ง วันท่ี 3 สิงหาคม 2549 ซง่ึ มี ดร.พิพัฒน์ ลิมปนะพิทยาธร เป็นผู้อ�ำ นวยการสำ�นัก
ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น และมกี ารขยายการท�ำ งานเพ่ิมขนึ้ คอื งานประชาสมั พันธส์ ำ�นักฯ และ
งานรบั ตดิ ต่อและบรกิ ารนักศกึ ษา

45

ตอ่ มาในปกี ารศกึ ษา 2551 มคี �ำ ส่งั สภามหาวิทยาลัย
ราชภฏั สงขลา แตง่ ต้งั ผศ.ขวญั กมล ขนุ พิทกั ษ
เปน็ ผ้อู �ำ นวยการสำ�นักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น
และไดม้ กี ารปรบั โครงสรา้ งการบรหิ ารงานอย่างชดั เจน
ตามความเหน็ ชอบของสภามหาวทิ ยาลยั โดยมกี าร
ด�ำ เนินงานตามกลุม่ งาน มกี ารประสานการท�ำ งาน
อย่างเปน็ ระบบ มกี ารจดั ประชมุ สมั มนาเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจในการท�ำ งานรว่ มกนั เพ่ือใหม้ กี ารกระจาย
การท�ำ งาน มกี ารสรา้ งสรรคก์ ารท�ำ งานใหม่ ๆ โดยแบง่ กลมุ่ งานออกเปน็ 4 กล่มุ งาน คอื งานธรุ การ
งานรบั เขา้ นักศกึ ษา งานบรกิ ารการศกึ ษา และงานสง่ เสรมิ วชิ าการ จนครบวาระ เมอ่ื วนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2559
ในปกี ารศกึ ษา 2559 มคี �ำ ส่งั สภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา แต่งต้งั ดร.ฐปนพัฒน์ ปรชั ญาเมธธี รรม
ดำ�รงตำ�แหน่งผู้อ�ำ นวยการสำ�นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียน ต้ังแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 และ
ไดป้ รบั โครงสรา้ งการบรหิ ารงานอย่างชดั เจน ตามความเหน็ ชอบของสภามหาวิทยาลยั ครง้ั ท่ี 4/2560
เมอ่ื วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2560 และใหแ้ บง่ สว่ นราชการเปน็ 3 งาน คอื
1. งานบรหิ ารงานทว่ั ไปและสง่ เสรมิ วชิ าการ
2. งานหลกั สูตรและงานทะเบยี น
3. งานมาตรฐานและประกนั คณุ ภาพ
และสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ในคราวประชมุ ครง้ั ท่ี 4/2561 เมอ่ื วนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน 2561 มมี ติ
เหน็ ชอบใหอ้ อกขอ้ บงั คบั หมวด 1 ระบบการบรหิ ารงานใหง้ านบณั ฑติ ศกึ ษา เปน็ ส่วนงานในสำ�นักสง่ เสรมิ
วชิ าการและงานทะเบยี น จนถงึ ปจั จบุ นั
ในวันที่ 8 ตุลาคม 2562 ดร.ฐปนพัฒน์ ปรชั ญาเมธธี รรม ไดล้ าออกจากตำ�แหน่งผ้อู �ำ นวยการ
สำ�นักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น สภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ในคราวประชมุ ครง้ั ท่ี 8/2562
วนั ท่ี 14 ธนั วาคม 2562 จงึ มมี ตเิ หน็ ชอบเลือกและแตง่ ต้งั นายวนั ฉัตร จารวุ รรณโน ใหด้ �ำ รงต�ำ แหน่ง
ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ซง่ึ ปจั จบุ นั ส�ำ นักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น
มนี โยบายการบรหิ ารงาน ดงั น้ี
1. พัฒนาและบรหิ ารงานทย่ี ึดหลกั ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลดว้ ยธรรมาภบิ าล
2. มกี ารขบั เคล่อื นการด�ำ เนินงานสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี นของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
3. การเปดิ รบั แนวคดิ ใหม่ การมสี ว่ นรว่ มและการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีทท่ี นั สมยั
4. เพ่ือใหก้ ารด�ำ เนินงานวชิ าการของมหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลาสามารถยืนหยัดอย่างมน่ั คง
5. การรบั มอื กระแสการเปล่ยี นแปลงทรี่ วดเรว็ ของการอดุ มศกึ ษาไทย

46

ปรชั ญา

สง่ เสรมิ วชิ าการ สมู่ าตรฐานการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีท่ี
ทนั สมยั และใสใ่ จบรกิ าร

วิสยั ทัศน์

"ส�ำ นักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี นเปน็ หน่วยงาน
สง่ เสรมิ ดา้ นวชิ าการตามมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนา
ระบบบรกิ ารบนฐานเทคโนโลยี ภายใต้การบรหิ ารงาน
ตามหลกั ธรรมาภบิ าล"



พันธกจิ

1. บรหิ ารจดั การดา้ นหลักสูตรและงานทะเบยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
2. สง่ เสรมิ ใหอ้ าจารย์ไดร้ บั การพัฒนาทางดา้ นวิชาการ
3. พัฒนาและสง่ เสรมิ ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน
4. สนับสนุนและส่งเสรมิ การจดั การสหกจิ ศกึ ษาบรู ณาการกบั การท�ำ งานบนพ้ืนฐานสมรรถนะ
นักศกึ ษาทพ่ี ึงประสงค์
5. บรหิ ารจดั การสำ�นักงานใหเ้ ปน็ ไปตามโครงการส�ำ นักงานสีเขยี ว (Green Office)

ค่านิยม R E G I S

R = Reliability (ความน่าเชอื่ ถอื )
E = Educational management (การจัดการศกึ ษา)
G = Good governance (ธรรมาภบิ าล)
I = Information (สารสนเทศ)
S = Service Mind (จิตบรกิ าร)

ประเด็นยทุ ธศาสตร์

1. สง่ เสรมิ การใหบ้ รกิ ารดา้ นงานทะเบยี นและการรบั เขา้ นักศกึ ษาใหม่
2. สง่ เสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรใหม้ คี วามทนั สมยั และเปน็ ไปตามมาตรฐานหลกั สตู ร
3. พัฒนาคณุ ภาพองคก์ รใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั
4. พัฒนาการจดั สหกจิ ศกึ ษาบรู ณาการกบั การท�ำ งานใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน
5. สง่ เสรมิ การด�ำ เนินงานโดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

47


Click to View FlipBook Version