ส�ำ นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น
แบง่ โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน ออกเปน็ 4 งาน และ
1 ศนู ย์ ดงั น้ี
1. งานบรหิ ารทว่ั ไปและส่งเสรมิ วิชาการ ประกอบดว้ ย
1.1 หน่วยธรุ การและสารบรรณ
1.2 หน่วยประชมุ และเลขานุการ
1.3 หน่วยแผนงาน งบประมาณการเงนิ
1.4 หน่วยพัสดุ
1.5 หน่วยพัฒนาอาจารย์และส่งเสรมิ วชิ าการ
1.6 หน่วยประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา/
หน่วยการจดั การความรู้ (KM)
1.7 หน่วยบรหิ ารความเส่ยี งและควบคมุ ภายใน (สำ�นัก)
2. งานหลกั สูตรและทะเบยี นนักศกึ ษา ประกอบดว้ ย
2.1 หน่วยหลกั สูตรและมาตรฐานการศกึ ษา
2.2 หน่วยทะเบยี นนักศกึ ษา
2.3 หน่วยการจดั การเรยี นการสอน
2.4 หน่วยประมวลผล
2.5 หน่วยระบบฐานขอ้ มลู และระบบสารสนเทศ
2.6 หน่วยรบั ติดต่อบรกิ าร
2.7 หน่วยศกึ ษาทว่ั ไป (GE)
2.8 หน่วยรบั เขา้ นักศกึ ษา
3. งานมาตรฐานและประกนั คณุ ภาพ (มหาวทิ ยาลยั ) ประกอบดว้ ย
3.1 หน่วยประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
3.2 หน่วยบรหิ ารความเส่ยี งและควบคมุ ภายใน
3.3 หน่วยการจดั การความรู้ (KM)
3.4 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลงานของมหาวิทยาลัยในต�ำ แหน่งอธกิ ารบดี คณบดแี ละ
ผ้อู �ำ นวยการ
4. งานบณั ฑติ ศกึ ษา ประกอบดว้ ย
4.1 หน่วยหลกั สูตรและมาตรฐานการศกึ ษา
4.2 หน่วยทะเบยี นนักศกึ ษา
4.3 หน่วยการจดั การเรยี นการสอน
4.4 หน่วยประมวลผล
5. ศนู ย์สหกจิ ศกึ ษา
5.1 หน่วยจดั การศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
48
กองพัฒนานักศึกษา สงั กดั ส�ำ นักงานอธกิ ารบดี มสี �ำ นักงานต้งั อย่ทู อ่ี าคารกองพัฒนานักศกึ ษา
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา กองพัฒนานักศกึ ษา มหี น้าทส่ี ่งเสรมิ ดแู ลรบั ผดิ ชอบงานตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
การท�ำ กจิ กรรมของนักศกึ ษา การใหบ้ รกิ ารและสวัสดกิ ารของมหาวิทยาลยั แกน่ ักศกึ ษา เปน็ การส่งเสรมิ
เตมิ เตม็ และสนับสนุนใหง้ านวชิ าการด�ำ เนินไปจนบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือชว่ ยเหลอื และพัฒนานักศกึ ษาใหเ้ ปน็
บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพ
กองพัฒนานักศกึ ษาจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รเพื่อพัฒนานักศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตาม คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ
ท่ีพึงประสงค์ และอตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลัย โดยอาศัยอ�ำ นาจตามขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560 หมวด 10 ขอ้ 35.5 นักศึกษาต้องผ่านการเตรยี ม
ความพรอ้ มและการท�ำ กจิ กรรมครบถว้ นตามทม่ี หาวิทยาลยั ก�ำ หนด
การบรกิ ารและสวัสดิการ
กองพัฒนานักศกึ ษา ไดจ้ ดั การบรกิ ารและสวสั ดกิ ารแกน่ ักศกึ ษาในมหาวิทยาลยั ในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1. กองทุนเงนิ ให้ก้ยู มื เพื่อการศกึ ษา (กยศ.)
1.1 ประเภทผกู้ ้ยู ืม
ผ้กู ยู้ ืมทเ่ี ปน็ นักศกึ ษาใหม่ รหสั 64 แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี
1) ผ้กู รู้ ายใหม่ เปน็ ผ้ทู ไ่ี มเ่ คยกยู้ ืมเงนิ กองทนุ มากอ่ น ใหล้ งทะเบยี นขอรหสั ผ่าน (Pre-register) ทาง
www.studentloan.or.th
2) ผู้กรู้ ายเกา่ (ย้ายสถานศกึ ษา) เปน็ ผ้ทู เ่ี คยกยู้ ืมเงินกองทนุ จากสถานศกึ ษาเดมิ และประสงคจ์ ะกยู้ ืม
เงนิ กองทนุ ในสถานศกึ ษาใหม่
49
1.2 คณุ สมบตั ขิ องผ้กู ้ยู ืม ดังน้ี
1) เปน็ ผ้มู สี ญั ชาตไิ ทย
2) เปน็ ผ้ขู าดแคลนทนุ ทรพั ย์ ทม่ี รี ายไดค้ รอบครวั
ไมเ่ กนิ 360,000 บาทตอ่ ปี
3) เปน็ ผ้มู ผี ลการเรยี นดี
4) เปน็ ผ้ทู ม่ี คี วามประพฤติดี ไมฝ่ ่าฝนื ระเบยี บ
ขอ้ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลาขน้ั รา้ ยแรง หรอื ไมเ่ ปน็ ผ้มู คี วามประพฤติเส่อื มเสยี
5) เปน็ นักศกึ ษาภาคปกติ ทมี่ คี ณุ สมบตั คิ รบถว้ นตามระเบยี บหรอื ประกาศการสอบคดั เลือกบคุ คล
เขา้ ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
6) ไมเ่ คยเปน็ ผ้สู ำ�เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรใี นสาขาใด ๆ มากอ่ น
7) สามารถกยู้ ืมเงินไดต้ ามระยะเวลาของหลกั สตู รทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนดเทา่ น้ัน
8) ไมเ่ ปน็ ผ้ทู ท่ี �ำ งานประจ�ำ ในระหวา่ งศกึ ษา
9) ไมเ่ ปน็ บคุ คลล้มละลาย
10) ไมเ่ ปน็ หรอื เคยไดร้ บั โทษจ�ำ คกุ โดยค�ำ พิพากษาถงึ ทส่ี ุดใหจ้ �ำ คกุ เว้นแตเ่ ปน็ โทษสำ�หรบั ความผดิ
ทไ่ี ดก้ ระท�ำ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ
11) ตอ้ งมอี ายใุ นขณะทข่ี อกู้ โดยเมอื่ นับรวมกบั ระยะเวลาปลอดหน้ี 2 ปี และระยะเวลาผอ่ นช�ำ ระอกี 15 ปี
รวมกนั แล้วต้องไมเ่ กนิ 60 ปี
12) ท�ำ กจิ กรรมจติ อาสาครบจ�ำ นวน 18 ชว่ั โมงต่อหนึ่งภาคการศกึ ษาตามทก่ี องทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ ืมเพ่ือ
การศกึ ษาก�ำ หนด
1.3 ลกั ษณะของผกู้ ้ยู ืม
กองทนุ ใหก้ ยู้ ืมเพ่ือการศกึ ษาไดก้ �ำ หนดคณุ สมบตั ขิ องผ้กู ยู้ ืมแบง่ เปน็ 4 ลักษณะ ดงั น้ี
ลักษณะท่ี 1 นักเรยี นหรอื นักศกึ ษาทข่ี าดแคลนทนุ ทรพั ย์
ลักษณะท่ี 2 นักเรยี นหรอื นักศกึ ษาทศ่ี กึ ษาในสาขาวิชาทเ่ี ปน็ ความต้องการหลกั ซงึ่ มคี วามชดั เจน
ของการผลติ ก�ำ ลงั คนและมคี วามจ�ำ เปน็ ต่อ การพัฒนาประเทศ
ลกั ษณะท่ี 3 นักเรยี นหรอื นักศกึ ษาทศ่ี กึ ษาในสาขาวชิ าขาดแคลน หรอื ทก่ี องทนุ มงุ่ สง่ เสรมิ เปน็ พิเศษ
ลักษณะที่ 4 นักเรยี นหรอื นักศกึ ษาทเ่ี รยี นดเี พื่อสรา้ งความเปน็ เลิศ โดยใหก้ ใู้ นระดบั ปรญิ ญาโท
ในปกี ารศกึ ษา 2564 กองทนุ จะใหก้ ยู้ ืมดว้ ยระบบกองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ ืมเพื่อการศกึ ษาแบบดจิ ทิ ลั
(Digital Student Loan Fund System : DSL) นักศกึ ษาทป่ี ระสงคจ์ ะกยู้ ืมต้องดาวโหลดแอปพลิเคชนั กยศ.
Connect หรอื ชอ่ งทางเวบ็ ไซต์ https://www.studentloan.or.th หรอื QR code ดา้ นลา่ ง
50
1.4 วิธกี ารขอก้ยู ืมเงนิ ผ่านระบบระบบกองทนุ เงนิ ให้
ก้ยู ืมเพื่อการศกึ ษาแบบดจิ ทิ ัล
(Digital Student Loan Fund System : DSL)
1.5 หลักเกณฑ์การช�ำ ระหนี้
1) เม่ือผู้กู้ยืมเงินสำ�เรจ็ การศึกษา หรอื เลิกการศึกษาเป็นระยะเวลา 2 ปี ถือว่าผู้กู้ยืมเป็นผู้ครบกำ�หนด
ช�ำ ระหนี้ ผ้กู ยู้ ืมเงนิ มหี น้าทต่ี ้องช�ำ ระเงนิ กยู้ ืมคนื ใหก้ บั กองทนุ ฯ
2) ผ้กู ยู้ ืมทก่ี �ำ ลงั ศกึ ษาอย่แู ละไมไ่ ดก้ ยู้ ืมตดิ ต่อกนั เปน็ เวลา 2 ปี และไมไ่ ดแ้ จง้ สถานภาพการเปน็
นักเรยี นหรอื นักศกึ ษาใหธ้ นาคารทราบ ถอื วา่ เปน็ ผ้คู รบก�ำ หนดช�ำ ระหน้ี
3) กอ่ นวนั ท่ี 5 กรกฎาคมของปที ค่ี รบก�ำ หนดช�ำ ระหน้ี ผกู้ ยู้ มื ทค่ี รบก�ำ หนดช�ำ ระหน้ีงวดแรก จะไดร้ บั
หนังสือจากธนาคาร เพ่ือแจง้ เงินต้นทง้ั หมด จ�ำ นวนเงินทต่ี ้องช�ำ ระงวดแรก คา่ ธรรมเนียมการช�ำ ระหน้ี
รวมทง้ั ตารางการช�ำ ระหน้ีของแต่ละปี
4) ผู้กยู้ ืมทค่ี รบก�ำ หนดช�ำ ระหน้ีจะต้องช�ำ ระหนี้งวดแรกภายในวนั ท่ี 5 กรกฏาคม ของปที ค่ี รบก�ำ หนด
ช�ำ ระหนี้
51
5) ผ้กู ยู้ ืมจะต้องเสยี ดอกเบย้ี รอ้ ยละ 1 ตอ่ ปขี อง
เงนิ ต้นคงคา้ งของปที ี่ 1 เปน็ ต้นไป โดยจะต้องช�ำ ระหนี้
ภายในวันที่ 5 กรกฎาคมของทกุ ปี และจะต้องช�ำ ระหน้ี
ใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในระยะเวลา 15 ปี นับจากวันครบก�ำ หนด
ช�ำ ระหนี้งวดแรก
6) ในกรณีทผ่ี ้กู ยู้ ืมเงนิ ไมส่ ามารถช�ำ ระหน้ีเงนิ กคู้ นื ไดภ้ ายในระยะเวลาทกี่ �ำ หนด คอื ภายในวนั ท่ี
5 กรกฎาคม ของทกุ ปี ถอื ว่าผ้กู ผู้ ิดนัดช�ำ ระหนี้ ซง่ึ ผ้กู ยู้ ืมจะต้องเสยี เบยี้ ปรบั ในอตั รารอ้ ยละ 12 ตอ่ ปี ของ
เงนิ ต้นทค่ี า้ งช�ำ ระในงวดน้ัน กรณีคา้ งช�ำ ระไมเ่ กนิ 12 เดอื น และจะต้องเสยี เบย้ี ปรบั ในอตั รารอ้ ยละ 18 ตอ่ ปี
ของเงินต้นงวดทค่ี า้ งช�ำ ระทง้ั หมด กรณีคา้ งช�ำ ระเกนิ 12 เดอื น
2. ประกันอบุ ัตเิ หตุ
มหาวิทยาลยั ก�ำ หนดใหน้ ักศกึ ษาใหมท่ กุ คนท�ำ ประกนั อบุ ตั เิ หตุตลอดหลกั สูตร เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาไดร้ บั
การคมุ้ ครองการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ
52
3. แนะแนวการศึกษาและอาชพี
หน่วยแนะแนวการศกึ ษาและอาชพี เปน็ หน่วยงานทีจ่ ดั
บรกิ ารเพ่ือชว่ ยใหน้ ักศกึ ษาไดเ้ ขา้ ใจตนเองและส่งิ แวดล้อม
และชว่ ยสรา้ งเสรมิ ใหน้ ักศกึ ษามคี ณุ ภาพเหมาะสมตาม
ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล คน้ พบและพัฒนาศกั ยภาพ
ของตน มที กั ษะการด�ำ เนินชวี ติ มวี ุฒิภาวะทางอารมณ์ ศลี ธรรม จรยิ ธรรม รจู้ กั การเรยี นรใู้ นเชงิ พหปุ ญั ญา
รจู้ กั คดิ ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในชว่ งวกิ ฤติ วางแผนการศกึ ษาต่อ ประกอบอาชพี และสามารถปรบั ตัวไดอ้ ย่าง
มคี วามสุขในชวี ติ ได
ลักษณะการบรกิ าร
1. อบรม สัมมนา โครงการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นท�ำ งานและการพัฒนาบคุ ลิกภาพ
2. ใหก้ ารปรกึ ษาในเรอ่ื งต่าง ๆ เชน่ ปญั หาดา้ นการเรยี น ปญั หาดา้ นอาชพี ปญั หาดา้ นสว่ นตัวและ
สงั คม เปน็ ต้น
3. บรกิ ารแบบทดสอบทางดา้ นจติ วทิ ยาผา่ นทาง Web-site และผา่ นทางแบบทดสอบ (PencilTest)
และแปลความหมายเพ่ือนำ�ไปส่กู ระบวนการการใหก้ ารปรกึ ษาต่อไป
4. บรกิ ารขอ้ มลู ต�ำ แหน่งงานวา่ งทง้ั งานประจ�ำ และงานระหว่างเรยี น
5. บรกิ ารเกย่ี วกบั ระบบอาจารย์ทป่ี รกึ ษา ระบบการดแู ลของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา
6. บรกิ ารจดั สรรทนุ การศกึ ษาทงั้ ภาครฐั และเอกชน ใหก้ บั นักศกึ ษาทป่ี ระสงคข์ อรบั ทนุ การศกึ ษา
7. มอี าจารย์ทป่ี รกึ ษาประจ�ำ กลมุ่ เรยี นทกุ หลกั สูตร และก�ำ หนดใหว้ นั พฤหสั บดี คาบท่ี 5-6 เปน็ ชว่ั โมง
Home room เพื่อใหน้ ักศกึ ษาพบอาจารย์ทป่ี รกึ ษา ตลอดจนมชี อ่ งทางทอ่ี าจารย์ ทป่ี รกึ ษาและนักศกึ ษา
ก�ำ หนดไว้สำ�หรบั การปรกึ ษาทง้ั แบบกลมุ่ และรายบคุ คล
8. มเี จา้ หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบดแู ลงานแนะแนวการศกึ ษาและอาชพี ของกองพัฒนานักศกึ ษา พรอ้ มทจ่ี ะ
ใหแ้ นวคดิ และค�ำ ปรกึ ษาเพ่ือชว่ ยเหลือนักศกึ ษา
มหาวิทยาลยั ได้กำ�หนดให้วันพฤหสั บดี เวลา 13.00 - 17.00 น. ทกุ สปั ดาห์เปน็ คาบโฮมรมู เพื่อให้
นักศกึ ษาได้เจอกับอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา จะได้ปรกึ ษาปญั หาอาจารย์ทปี่ รกึ ษาดูแล และรบั ผดิ ชอบนักศกึ ษา
ทไี่ ด้รบั มอบหมาย เพื่อให้การชว่ ยเหลอื และสนับสนุนให้นักศึกษาประสบความสำ�เรจ็ ในการศึกษา
53
4. ทนุ การศึกษา
กองพัฒนานักศกึ ษามกี ารจดั บรกิ ารดา้ นทนุ การศกึ ษา
ซงึ่ จะประกาศใหท้ ราบผา่ นชอ่ งทางต่าง ๆ ซง่ึ นักศกึ ษา
ทป่ี ระสงคจ์ ะรบั ทนุ การศกึ ษาสามารถเขา้ กรอกขอ้ มลู
ในระบบทนุ การศกึ ษา ดงั น้ี
5. สง่ เสรมิ สุขภาพนักศกึ ษา
หน่วยพยาบาลมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลาไดด้ �ำ เนินการจดั ต้งั เปน็ ศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชน(พิเศษ)
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา โดยความรว่ มมอื กบั โรงพยาบาลสงขลา เพ่ือบรกิ ารแกผ่ ู้เขา้ รบั บรกิ ารอย่างทว่ั ถงึ
และมมี าตรฐาน
5.1 การบรกิ ารของงานพยาบาล
1) ตรวจรกั ษาโดยแพทย์จากโรงพยาบาลสงขลา โดยใหบ้ รกิ ารตรวจเดอื นละ 1 ครง้ั
2) ใหบ้ รกิ ารโดยพยาบาลวชิ าชพี จากโรงพยาบาลสงขลา จ�ำ นวน 2 คน และพยาบาลวชิ าชพี
ประจ�ำ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา 1 คน
3) การบรกิ ารดา้ นการรกั ษาพยาบาลเบอ้ื งต้น ไดแ้ ก่
3.1) การใหบ้ รกิ ารปฐมพยาบาลและรกั ษาตามอาการเบอ้ื งต้น
3.2) คลนิ ิกโรคเรอ้ื รงั (ความดนั โลหติ สงู เบาหวาน และอน่ื ๆ)
3.3) ท�ำ แผลและฉีดยา
3.4) สง่ ต่อไปพบแพทย์ ณ โรงพยาบาลสงขลา
3.5) ใหบ้ รกิ ารชงั่ น้ำ�หนัก วัดส่วนสงู วดั ชพี จร ความดนั โลหติ และระดบั น้ำ�ตาลในเลือด
54
4) บรกิ ารใหค้ �ำ ปรกึ ษาเรอ่ื งสุขภาพ เพศ และ Save Sex
(บรกิ ารถงุ ยางอนามยั )
5) บรกิ ารยืม-คนื กระเปา๋ ปฐมพยาบาล
6) คลนิ ิกเลกิ บหุ ร่ี
7) บรกิ ารขน้ึ ทะเบยี นบตั รประกนั สุขภาพถว้ นหน้า
(บตั ร 30 บาท) ของโรงพยาบาลสงขลาใหค้ �ำ ปรกึ ษาดา้ นการใชส้ ิทธติ า่ ง ๆ
8) บรกิ ารทรายก�ำ จดั ลูกน้ำ�
9) หน่วยปฐมพยาบาลนอกสถานท่ี (ปฏบิ ตั งิ านโดยพยาบาลวชิ าชพี ประจ�ำ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
และนักศกึ ษาแกนนำ�สขุ ภาพ)
5.2 ขนั้ ตอนการให้บรกิ าร
5.1) นักศกึ ษาแสดงบตั รประชาชนเพ่ือตรวจสอบสิทธกิ ารรกั ษาพยาบาล
5.2) กรอกประวตั ิ
5.3) ตรวจรกั ษา/ปฐมพยาบาล/ท�ำ แผล/ฉีดยา
5.4) รบั ยา/รบั ค�ำ แนะนำ�การดแู ลสขุ ภาพ
- การใหบ้ รกิ ารทง้ั หมด ไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยใด ๆ
- ศนู ย์สุขภาพชมุ ชน (พิเศษ) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา เปดิ บรกิ ารทกุ วัน ยกเว้นวันหยดุ
นักขตั ฤกษ์ ต้งั แต่เวลา 8.30-16.30 น.
6. นักศึกษาวชิ าทหาร
ระเบยี บกรมการรกั ษาดนิ แดน ว่าดว้ ยการฝึกวิชาทหาร (นศท.) และการขอผ่อนผันการตรวจเลือก
ทหาร ตามระเบยี บกรมการรกั ษาดนิ แดน วา่ ดว้ ยการฝกึ วชิ าทหาร พ.ศ. 2516 ก�ำ หนดใหบ้ คุ คลซง่ึ ก�ำ ลงั ศกึ ษา
อย่ใู นสถานศกึ ษาแหง่ ใดแหง่ หนึ่งไดเ้ ขา้ รบั การฝึกและศกึ ษากจิ การทหาร รวมทง้ั การด�ำ เนินการทางธรุ กจิ อน่ื ๆ
ท่ีเก่ียวขอ้ งเพื่อไว้เป็นกำ�ลังสำ�รองของชาติ ผู้ประสงค์จะสมัครเขา้ รบั การฝึกวิชาทหาร ต้องมีคุณลักษณะและ
คณุ สมบตั ิ ดงั นี้
6.1 ลักษณะคุณสมบตั ิ
1) เปน็ ชายมสี ัญชาติไทย
2) อายุต้งั แต่ 15 ปี จนถงึ 22 ปบี รบิ รู ณ์
3) ไมเ่ ปน็ ทหารประจ�ำ การ กองประจ�ำ การ หรอื ถกู ก�ำ หนดตวั เขา้ กองประจ�ำ การแล้ว
4) ก�ำ ลงั ศกึ ษาอย่ใู นสถานศกึ ษาทท่ี �ำ การฝึกสอนวิชาทหารในปแี รกของการศกึ ษา
5) มผี ลการสอบชน้ั มธั ยมศกึ ษา ต้งั แต่ 1.0 ขนึ้ ไป
6.2 การสมคั ร
ผ้ปู ระสงคจ์ ะสมคั รเปน็ นักศกึ ษาวิชาทหาร (นศท.) สมคั รไดท้ ก่ี องพัฒนานักศกึ ษา ทม่ี แี ผนการศกึ ษา
วิชาทหาร หรอื สมคั รไดท้ แ่ี ผนกวชิ าทหารของสถานศกึ ษาน้ัน ๆ ในระหวา่ งเดอื นกรกฎาคมของทกุ ปี
55
6.3 สิทธแิ ละการขอรบั สิทธติ ่าง ๆ
1) ในระหวา่ งทเ่ี ขา้ รบั การฝึกอบรมวิชาทหารอยู่
จะไดร้ บั การยกเว้นการเรยี กมาตรวจเลือกเขา้ เปน็ ทหาร
กองประจ�ำ การในยามปกตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการรบั
ราชการทหาร
2) หากส�ำ เรจ็ ตามหลักสตู ร จะไดร้ บั สิทธดิ งั นี้
2.1) ส�ำ เรจ็ การฝึกวิชาทหารชน้ั ปที ่ี 1 รบั ราชการทหารกองประจ�ำ การ 1 ปี 6 เดอื น ถา้ รอ้ งขอ
เขา้ รบั ราชการกองประจ�ำ การจะไดร้ บั สทิ ธริ บั ราชการเพียง 1 ปี
2.2) สำ�เรจ็ ชน้ั ปที ่ี 2 รบั ราชการทหารกองประจ�ำ การ 1 ปี แต่ถา้ รอ้ งขอเขา้ รบั ราชการกอง
ประจ�ำ การจะไดร้ บั สิทธริ บั ราชการเพียง 6 เดอื น
2.3) ส�ำ เรจ็ ชน้ั ปที ่ี 3 ใหข้ นึ้ ทะเบยี นกองประจ�ำ การแล้วปลดเปน็ ทหารกองหนุน โดยมติ ้องเขา้
รบั ราชการในกองประจ�ำ การ
3) สทิ ธกิ ารแตง่ ต้งั ยศ
3.1) ส�ำ เรจ็ การฝึกชน้ั ปที ่ี 2 เมอื่ สมคั รเขา้ รบั ราชการทหารกองประจ�ำ การจะไดร้ บั ยศเปน็ สิบตรี
3.2) สำ�เรจ็ การฝึกชน้ั ปที ่ี 3 เมอื่ ขน้ึ ทะเบยี นกองประจ�ำ การ และปลดเปน็ กองหนุน แล้วจะได้
รบั ยศเปน็ สิบโท
3.3) สำ�เรจ็ การฝึกชน้ั ปที ่ี 4 จะไดร้ บั แตง่ ต้งั ยศเปน็ สบิ เอก
3.4) สำ�เรจ็ การฝึกชน้ั ปที ่ี 5 จะไดร้ บั แตง่ ต้งั ยศเปน็ ว่าทรี่ อ้ ยตรี
7. การขอผ่อนผันการตรวจเลือกทหาร
ส�ำ หรบั นักศกึ ษาทไ่ี มไ่ ดเ้ รยี นวชิ าทหาร หรอื บคุ คลชายโดยทว่ั ไปมอี ายคุ รบ 20 ปี บรบิ รู ณ์ จะต้อง
เขา้ รบั การตรวจเลอื กทหารกองประจ�ำ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการรบั ราชการทหาร แตถ่ า้ ก�ำ ลังศกึ ษาอยู่
ในสถานศกึ ษาใดสถานศกึ ษาหน่ึง และมคี วามประสงคจ์ ะขอผอ่ นผนั การตรวจเลือกคดั เลือกทหารกส็ ามารถ
กระท�ำ ได้ แตเ่ มอื่ พ้นสภาพการเปน็ นักศกึ ษาแล้วต้องไปตรวจเลือกทหารทนั ที
ขนั้ ตอนการขอผอ่ นผนั การตรวจเลือกทหาร
1. นำ� สด.9 มาย่ืนความจ�ำ นงขอผ่อนผนั ต่อเจา้ หน้าทแ่ี ผนกวิชาทหารของมหาวิทยาลัยดว้ ยตนเอง
ตามวันเวลาทม่ี หาวทิ ยาลัยประกาศไว้ ซงึ่ จะท�ำ เรอ่ื งขอผอ่ นผนั ใหใ้ นระหวา่ งเดอื นพฤศจกิ ายนและธนั วาคม
ของทกุ ปี
2. เมอ่ื กระทรวงกลาโหมอนุญาตผอ่ นผันการตรวจเลือกแล้ว มหาวทิ ยาลัยจะประกาศใหท้ ราบทนั ที
3. ผู้ไดร้ บั การผ่อนผันแล้ว ต้องไปรบั หมายเรยี กและต้องไปขานชอื่ แสดงตนในวันตรวจเลอื กแต่ไมต่ ้อง
ตรวจเลือก หากไมไ่ ปจะถอื วา่ มคี วามผดิ กฎหมายวา่ ดว้ ยการรบั ราชการทหาร
4. มหาวิทยาลัยจะขอผ่อนผันการตรวจเลือกทหารใหก้ บั ผ้มู าแสดงความจ�ำ นง เพ่ือขอผ่อนผันเทา่ น้ัน
ส�ำ หรบั ผ้ไู มป่ ระสงคจ์ ะขอผอ่ นผนั ต้องไปตรวจเลือกเปน็ ทหารประจ�ำ การ ต้องเขา้ ประจ�ำ การในวนั เวลาทก่ี รม
กองน้นั เรยี กทนั ที จะอา้ งสทิ ธกิ �ำ ลงั ศกึ ษาอยไู่ มไ่ ด้ เมอ่ื ปลดจากทหารประจ�ำ การแลว้ จงึ กลบั มาศกึ ษาตอ่ ตามปกติ
56
5. การขอถอนการผ่อนผัน มหาวิทยาลัยจะขอถอนการ
ผอ่ นผันการตรวจเลือกทหารใหก้ บั นักศกึ ษาทส่ี �ำ เรจ็
การศกึ ษาจากสถานศกึ ษา ภายหลงั จากหมดสภาพเปน็
นักศกึ ษาแล้ว
ความผดิ ฐานไม่ไปแสดงตนรบั หมายเรยี กตามก�ำ หนด
จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ 3 เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ 300 บาท หรอื ทงั้ จ�ำ ทง้ั ปรบั ดงั นั้นชายไทยทกุ คนมหี น้าทเ่ี ขา้ รบั
การตรวจเลือกรบั ราชการทหาร และจะต้องไปแสดงตนในวนั ตรวจเลือก ณ ทวี่ า่ การอ�ำ เภอทม่ี ภี มู ลิ ำ�เนาทหารอยู่
8. หอพัก
จดุ ประสงคข์ องการสรา้ งหอพักสำ�หรบั นักศกึ ษาน้ัน นอกจากจะเปน็ ทพ่ี ักอาศยั ใหค้ วามสะดวกสบาย
ไมต่ อ้ งเดนิ ทางไกล ใหค้ วามพรอ้ มทางดา้ นอปุ กรณ์ในการศกึ ษาเลา่ เรยี นแลว้ จดุ ประสงคท์ ส่ี �ำ คญั อกี ประการหน่ึง
คอื การเปดิ โอกาสใหน้ ักศกึ ษาไดเ้ รยี นรกู้ ารอย่รู ว่ มกนั ในสงั คม ไดร้ บั การอบรมสง่ เสรมิ จรยิ ธรรม เพ่ือให้
นักศกึ ษาเปน็ บณั ฑติ ทส่ี มบรู ณ์ มหาวิทยาลยั จงึ ไดเ้ ลง็ เหน็ ความส�ำ คญั โดยจดั หอพักในมหาวิทยาลยั เพื่อเปน็
สวสั ดกิ ารชว่ ยเหลือนักศกึ ษาทม่ี คี วามจ�ำ เปน็ ในดา้ นทพ่ี ัก รวมถงึ ต้องการใหห้ อพักเปน็ สถานทเ่ี พ่ิมพูนความรู้
และชว่ ยพัฒนาบคุ คลใหม้ ากทส่ี ุดด�ำ เนินการดแู ลโดยกองพัฒนานักศกึ ษา
8.1 หอพักนักศกึ ษา มอี าคารหอพักบรกิ ารนักศึกษาหญงิ จ�ำ นวน 2 หลงั ดงั น้ี
1) อาคารหอพักสบนั งา เปน็ อาคาร 5 ชน้ั รบั นักศกึ ษาไดจ้ �ำ นวน 156 คน
2) อาคารหอพักปารฉิ ัตร เปน็ อาคาร 4 ชน้ั รบั นักศกึ ษาไดจ้ �ำ นวน 102 คน
8.2 สงิ่ อ�ำ นวยความสะดวกพื้นฐาน
สงิ่ อ�ำ นวยความสะดวกทจี่ ัดให้นักศกึ ษา มดี งั นี้
1) ภายในหอ้ งพัก มเี ตยี ง ตู้เส้อื ผ้า โต๊ะอา่ นหนังสอื สำ�หรบั ทกุ คน
2) ภายนอกหอ้ งพัก เปน็ ของใชส้ ว่ นรวม ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ ตู้น้ำ�รอ้ น ตู้น้ำ�เย็น เครอื่ งกรองน้ำ�
โทรศพั ทส์ ่วนกลางประจ�ำ ชน้ั โทรทศั น์ตอ่ เขา้ ระบบเคเบล้ิ ทวี ี และจานดาวเทยี ม หอ้ งน้ำ� ส่อื ส่งิ พิมพ์
ไดแ้ ก่ หนังสอื พิมพ์รายวนั รายสปั ดาห์ รายเดอื น วารสาร นิตยสาร เปน็ ต้น
3) ใชร้ ะบบคยี ์การด์ บนั ทกึ การเขา้ ออก
4) ใหบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตไรส้ าย (ใชช้ อ่ื สญั ญาณ SKRU-Wifi)
5) เจา้ หน้าทร่ี กั ษาความสะอาดของอาคาร
8.3 อตั ราคา่ ห้องพัก ขนึ้ อยู่กบั ประกาศมหาวิทยาลยั
8.4 การสมัครหอพัก
57
8.5 การรายงานตวั เขา้ หอพัก
ใหน้ ักศกึ ษาหอพักรายงานตวั เพ่ือเขา้ หอพักตาม
แบบฟอรม์ ทก่ี องพัฒนานักศกึ ษาก�ำ หนดในวนั
เวลา และสถานท่ี ทม่ี หาวิทยาลยั ก�ำ หนด
การตดิ ต่อหน่วยงานกองพัฒนานักศกึ ษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา
ทอี่ ยู่ อาคารกองพัฒนานักศึกษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา
เบอรโ์ ทรศพั ทภ์ ายใน
58
59
หอ้ งสมดุ เปน็ หน่วยงานหน่ึงของส�ำ นักวทิ ยบรกิ าร
และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
ใหบ้ รกิ ารทรพั ยากรสารสนเทศทกุ รปู แบบ เชน่ หนังสอื ,
วารสาร, ซดี ,ี ดวี ีด,ี ฐานขอ้ มลู ออนไลน์, ขอ้ มลู ทอ้ งถน่ิ
หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์, วารสารอเิ ล็กทรอนิกส์ เปน็ ต้น
พื้นทกี่ ารให้บรกิ าร
มพี ้ืนทใ่ี หบ้ รกิ ารทสี่ ะดวกสบาย เชน่ พ้ืนทอ่ี า่ นหนังสือ, หอ้ งคอมพิวเตอรส์ ำ�หรบั ศกึ ษาคน้ คว้า, หอ้ งประชมุ
กลุม่ ย่อย, หอ้ งบรกิ ารมลั ติมเี ดยี , หอ้ งสารนิเทศพิเศษ, หอ้ งหนังสือธรรมะ, มมุ ผ่อนคลาย และหอ้ งสมดุ มี
2 อาคาร คอื อาคารบรรณราชนครนิ ทร์ (อาคาร 6 ชน้ั ) และอาคารวิทยบรกิ าร (อาคาร 2 ชน้ั ) ดงั นี้
อาคารบรรณราชนครนิ ทร์ (อาคาร 6 ชนั้ ) ประกอบดว้ ย
ชนั้ ท่ี 1 ของอาคารบรรณราชนครนิ ท์ จะใหบ้ รกิ ารวารสารและส่งิ พิมพ์ตอ่ เนื่อง เชน่ วารสาร,
นิตยสาร, หนังสือพิมพ์ เปน็ ต้น ซงึ่ จะมที ง้ั ฉบบั ปจั จบุ นั และฉบบั ลว่ งเวลา, มมุ หนังสือ miniTCDC, มพี ้ืนทส่ี �ำ หรบั
อา่ นวารสารทส่ี ะดวกสบาย และมเี คาน์เตอรป์ ระชาสมั พันธส์ �ำ หรบั บรกิ ารตดิ ต่อสอบถาม
ชนั้ ที่ 2 ของอาคารบรรณราชนครนิ ท์ จะใหบ้ รกิ ารหนังสือหมวด 000 - 369, มมุ เยาวชน,
มมุ หนังสอื SET CORNER, หอ้ งศกึ ษาคน้ คว้าส�ำ หรบั อาจารย์, พ้ืนทส่ี �ำ หรบั อา่ นหนังสอื , เคาน์เตอรบ์ รกิ าร
ยืม-คนื หนังสือ
60
ชนั้ ท่ี 3 ของอาคารบรรณราชนครนิ ท์ จะใหบ้ รกิ ารหนังสอื
หมวด 370 - 639, หอ้ งหนังสอื ธรรมะ, มมุ หนังสอื คณุ ธรรม,
หอ้ ง Smart Classroom, หอ้ งศกึ ษาคน้ คว้าสำ�หรบั อาจารย์,
พ้ืนทส่ี �ำ หรบั อา่ นหนังสือ
ชนั้ ที่ 4 ของอาคารบรรณราชนครนิ ท์ จะใหบ้ รกิ ารหนังสอื หมวด 640 - 999, หอ้ งเรยี น,
หอ้ งศกึ ษาคน้ คว้าสำ�หรบั อาจารย์, พ้ืนทส่ี �ำ หรบั อา่ นหนังสอื
ชนั้ ที่ 5 ของอาคารบรรณราชนครนิ ท์ จะใหบ้ รกิ ารหนังสือภาษาองั กฤษหมวด 000 - 999,
หนังสอื วิจยั , วทิ ยานิพนธ,์ หอ้ งสารนิเทศพิเศษ, พ้ืนทส่ี �ำ หรบั อา่ นหนังสอื
61
ชนั้ ที่ 6 ของอาคารบรรณราชนครนิ ท์ จะใหบ้ รกิ าร
มลั ตมิ เี ดยี มมี มุ ส�ำ หรบั ชมโสตทศั นวัสดเุ ปน็ รายบคุ คล
และรายกลุ่ม, หอ้ งมลั ตมิ เี ดยี ส�ำ หรบั ชมโสตทศั นวสั ดรุ ายกลุม่
ประชมุ อบรม สมั มนา จดั กจิ กรรม, หอ้ งประชมุ ปารฉิ ัตร,
เคาน์เตอรบ์ รกิ ารมลั ติมเี ดยี
อาคารวทิ ยบรกิ าร (อาคาร 2 ชนั้ ) ประกอบดว้ ย
ชนั้ ที่ 1 ของอาคารวิทยบรกิ าร จะใหบ้ รกิ ารคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการศกึ ษาคน้ คว้า
ชนั้ ที่ 2 ของอาคารวิทยบรกิ าร จะใหบ้ รกิ ารหนังสอื อา้ งองิ ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ นวนิยาย
เรอ่ื งส้นั ปกออ่ น, หอ้ งประชมุ กลุม่ ย่อย, พ้ืนทอ่ี า่ นหนังสือ, มมุ ผ่อนคลาย และลานจดั กจิ กรรม
62
ทรพั ยากรสารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. ทรพั ยากรสารสนเทศทอ่ี นุญาตให้ยืม ไดแ้ ก่
- หนังสือทว่ั ไป
- นวนิยายและเรอ่ื งส้นั
- หนังสือสำ�หรบั เยาวชน
- แบบเรยี นและหลกั สูตร - หนังสือปกออ่ น
- ผลงานวจิ ยั และวทิ ยานิพนธ์ - หนังสอื มมุ คณุ ธรรม
- หนังสอื ธรรมะ - ซดี รี อมประกอบหนังสอื
- นิตยสาร วารสาร
2. ทรพั ยากรสารสนเทศทไ่ี มอ่ นุญาตให้ยืมออกนอกส�ำ นักวิทยบรกิ ารฯ ได้แก่
- หนังสอื อา้ งองิ (Reference Books) - หนังสือผลงานอาจารย์
- หนังสอื สารนิเทศพิเศษ - ส่อื ส่งิ พิมพ์และส่อื โสตทศั น์อนื่ ๆทส่ี �ำ นักวิทยบรกิ ารฯก�ำ หนด
จ�ำ นวนและระยะเวลายืมหนังสอื สงิ่ พิมพ์และสอื่ โสตทศั น์ทยี่ ืมออกนอกส�ำ นักวิทยบรกิ ารฯ
ความรบั ผดิ ชอบของผ้ยู ืมหนังสอื สงิ่ พิมพ์และสอื่ โสตทศั น์
1. ผู้ยืมต้องรบั ผิดชอบตอ่ หนังสอื ส่งิ พิมพ์และส่อื โสตทศั น์ทยี่ ืมหากช�ำ รดุ เสยี หาย หรอื สูญหาย ดงั น้ัน
เปน็ หน้าทข่ี องผ้ยู ืมทจ่ี ะต้องตรวจหนังสือสิ่งพิมพ์และส่อื โสตทศั น์กอ่ นออกจากสำ�นักวทิ ยบรกิ ารฯ
2. เมอ่ื มกี ารช�ำ รดุ เกดิ ขน้ึ ผ้ยู ืมต้องชดใชค้ า่ เสียหายเพื่อทดแทนตามจ�ำ นวนเงนิ ทท่ี างส�ำ นักวิทยบรกิ ารฯ
3. เมอ่ื มกี ารสญู หายเกดิ ขน้ึ ผ้ยู ืมต้องชดใชค้ า่ เสียหายเพ่ือทดแทนตามจ�ำ นวนเงนิ ทก่ี �ำ หนดดงั นี้
กรณีส่ือโสตทัศน์ คิดค่าส่ือโสตทัศน์ (ราคาปัจจุบัน) บวกค่าดำ�เนินการอกี รอ้ ยละ 50 ของราคาส่ือ
โสตทศั น์และหนังสอื ประกอบบวกคา่ ปรบั กรณีเกนิ ก�ำ หนดสง่
63
4. เมอ่ื มกี ารสญู หายเกดิ ขนึ้ ผ้ยู ืมต้องชดใชเ้ ปน็ เงนิ
จ�ำ นวน 2 เทา่ และกรณีผ้ยู ืมสามารถนำ�หนังสือ ส่งิ พิมพ์
หรอื ส่อื โสตทศั น์ทเี่ หมอื นกนั มาชดใช(้ หากเกนิ ก�ำ หนดส่ง
ต้องช�ำ ระคา่ ปรบั ตามจ�ำ นวนวนั )
5. ถา้ หนังสอื ส่งิ พิมพ์หรอื ส่อื โสตทศั น์ทหี่ าย
ไมส่ ามารถหาซอ้ื ได้ ไมท่ ราบราคาและผ้ยู ืมไมส่ ามารถหามาทดแทนได้ ผ้ยู ืมจะต้องชดใชเ้ งินตามจ�ำ นวน
ทผ่ี ้ไู ดร้ บั มอบอ�ำ นาจมหาวิทยาลัยก�ำ หนด
6. ถา้ ผยู้ มื ไมส่ ง่ หนังสอื สง่ิ พิมพ์ หรอื สอ่ื โสตทศั น์ตรงตามเวลาทไ่ี ดก้ �ำ หนดไว้ และมไิ ดน้ �ำ มาตอ่ อายุ
ภายในเวลาก�ำ หนด ผ้ยู ืมจะต้องช�ำ ระเงินคา่ ปรบั เกนิ เวลาตามประเภทดงั ตอ่ ไปน้ี
6.1 หนังสอื สง่ิ พิมพ์และสอ่ื โสตทศั น์ ทย่ี มื ผยู้ มื จะตอ้ งเสยี คา่ ปรบั เกนิ เวลา วนั ละ 5 บาท : 1 รายการ
6.2 หนังสอื จองประจ�ำ วชิ า ผ้ยู ืมจะต้องเสียคา่ ปรบั ดงั น้ี หนังสือจองทย่ี ืมได้ 1 วนั คา่ ปรบั
วันละ 5 บาท : 1 รายการ
การตอ่ อายกุ ารยมื หนังสอื สงิ่ พิมพ์และสอื่ โสตทัศน์
1. ผ้ยู ืมจะต้องนำ�หนังสือ ส่งิ พิมพ์และส่อื โสตทศั น์ ทตี่ ้องการยืมต่อพรอ้ มดว้ ยบตั รสมาชกิ มาแสดง
ตอ่ เจา้ หน้าท่ี การยืมต่อสามารถยืมตอ่ ไดไ้ มเ่ กนิ 2 ครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ยกเว้นกรณีการจองหนังสือ ส่งิ พิมพ์และ
ส่อื โสตทศั น์นั้น จะใหส้ ทิ ธผิ ้จู องกอ่ น
2. การยืมต่อผ่านระบบ WebOPAC สามารถยืมต่อได้ไม่เกิน 1 ครง้ั ติดต่อกัน ยกเว้นกรณีมีการจอง
หนังสอื ส่งิ พิมพ์และส่อื โสตทศั น์นั้น จะใหส้ ทิ ธแิ กผ่ ้จู องกอ่ น
การขอใชบ้ รกิ ารต่างๆ ต้องจ่ายคา่ ดำ�เนินการ ดงั น้ี
64
ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใชส้ �ำ นักวิทยบรกิ ารฯ
1. ผ้ใู ชบ้ รกิ ารต้องใชบ้ ตั รสมาชกิ สแกนรหสั บารโ์ คด้ ทกุ ครงั้ กอ่ นเขา้ ใชส้ ำ�นักวิทยบรกิ ารฯ
2. ผ้ใู ชบ้ รกิ ารต้องแตง่ กายใหเ้ รยี บรอ้ ย สำ�รวมกริ ยิ า วาจา และปฏบิ ตั ติ นมใิ หเ้ ปน็ ทรี่ บกวนผ้อู น่ื
3. หา้ มนำ�อาหารหรอื เครอ่ื งดม่ื เขา้ มาในบรเิ วณสำ�นักวิทยบรกิ ารฯ
4. หา้ มสบู บหุ รภี่ ายในสำ�นักวทิ ยบรกิ ารฯ
5. การตัด ฉีกหนังสือ วารสาร หรอื ส่งิ พิมพ์ของส�ำ นักวทิ ยบรกิ ารฯ ถอื ว่าเปน็ การท�ำ ลายทรพั ย์สนิ
ของมหาวิทยาลัย ผ้กู ระท�ำ จกั ต้องไดร้ บั การพิจารณาโทษทางวินัย ตามขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยวนิ ัยนักศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา หรอื ตามกฎหมายแล้วแตก่ รณี
6. ผ้ใู ชบ้ รกิ ารต้องไมน่ ำ�หนังสือ ส่งิ พิมพ์และส่อื โสตทศั น์ออกนอกสำ�นักวิทยบรกิ ารฯ โดยมไิ ดย้ ืม
ตามระเบยี บ ผู้ใดฝ่าฝนื จะต้องไดร้ บั การพิจารณาโทษทางวินัย ตามขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยวนิ ัยนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัย
ราชภฏั สงขลา หรอื ตามกฎหมายแล้วแตก่ รณี
7. ผใู้ ชจ้ ะตอ้ งแสดงหนังสอื สง่ิ พิมพ์ สอ่ื โสตทศั น์และสงิ่ ของตอ่ เจา้ หนา้ ทก่ี อ่ นออกจากส�ำ นักวทิ ยบรกิ ารฯ
ทกุ ครงั้
การช�ำ ระคา่ บ�ำ รงุ
1. บคุ คลทว่ั ไปประสงคจ์ ะเขา้ มาใชบ้ รกิ ารส�ำ นักวิทยบรกิ ารฯ ใหเ้ กบ็ เปน็ รายวัน วนั ละ 10 บาท
โดยการซอ้ื คปู อง (คปู องใชไ้ ดเ้ ฉพาะคน เฉพาะวนั ทร่ี ะบุ เกบ็ คปู องไว้แสดงเมอื่ เขา้ - ออกส�ำ นักวิทยบรกิ ารฯ)
2. นักเรยี นในเครอ่ื งแบบ (ระดบั มธั ยม 6 ลงมา) เขา้ มาใชส้ ำ�นักวทิ ยบรกิ ารฯ ไดโ้ ดยไมต่ ้องช�ำ ระคา่
บ�ำ รงุ ส�ำ นักวทิ ยบรกิ ารฯ
65
ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา จดั ต้งั ขนึ้
เม่ือปี พ.ศ. 2540 โดยได้รบั ครภุ ัณฑ์ และงบประมาณสนับสนุนการ
ด�ำ เนินงานจาก งบประมาณแผน่ ดนิ และจากงบประมาณของหาวทิ ยาลยั
งบประมาณแผน่ ดนิ ทีไ่ ดร้ บั เปน็ คา่ ครภุ ณั ฑค์ อมพิวเตอรแ์ ละระบบ
เครอื ขา่ ย 1,054,253 บาท ไดม้ กี ารจดั ท�ำ หอ้ งฝกึ อบรม 1 หอ้ งคอื หอ้ ง
11-101 อาคารสงขลาพาเลซ มคี อมพิวเตอรจ์ �ำ นวน 40 เครอื่ งเพ่ือให้
นักศกึ ษาไดเ้ ขา้ ใชท้ �ำ งานตามความต้องการของแต่ละบคุ คลและเปดิ
ฝึกอบรมใหก้ บั บคุ ลากร ทง้ั ภายในและนอกมหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา มเี จา้ หน้าท่ี ดแู ลการใหบ้ รกิ ารตามระเบยี บ
ทจ่ี ดั ท�ำ ขน้ึ ในสว่ นของหอ้ งควบคมุ เครอื ขา่ ยประจ�ำ ส.2 จดั ท�ำ เปน็ ทท่ี �ำ การศนู ย์ เปน็ ทต่ี ดิ ตง้ั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์
แมข่ า่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต และมเี ครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ส�ำ หรบั เจา้ หน้าท่ี 3 เครอื่ ง
พ.ศ. 2542 ไดม้ กี ารติดต้งั คสู่ ายโทรศพั ทเ์ พ่ือใชเ้ รยี กจากภายนอกเขา้ สูแ่ มข่ า่ ยของสถาบนั 12 คสู่ าย
พ.ศ. 2544 ไดร้ บั งบประมาณ 2,684,000 บาท ศนู ย์ฯไดเ้ ปล่ยี นเครอื่ งคอมพิวเตอรใ์ หมท่ ง้ั หมดจ�ำ นวน
40 เครอื่ ง เปล่ยี นการเชอื่ มตอ่ ระบบอนิ เทอรเ์ น็ตจากความเรว็ ท่ี 256 Kbps เปน็ 2 Mbps ของเครอื ขา่ ย Uninet
พ.ศ. 2545 ไดซ้ อ้ื เครอื่ งแมข่ า่ ยใหมแ่ ทนเครอ่ื งเกา่ ทชี่ �ำ รดุ จ�ำ นวน 1 เครอ่ื งระเบยี บการใชบ้ รกิ าร
66
1. ดแู ลระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรภ์ ายใน
มหาวิทยาลัย
1.1 ตดิ ต้งั โปรแกรม VM virtual box ในการบรหิ ารจดั การ
1.2 พัฒนาระบบ Firewall
1.3 ติดต้งั ระบบโทรศพั ทภ์ ายใน VoIP (Voice Internet
Protocol)
1.4 ระบบ ยืนยันตวั ตน (Authentication) 1.5 ระบบบรกิ ารโควตา Print server
1.6 ระบบ e-mail ของนักศกึ ษา อาจารย์ และเจา้ หน้าท่ี
1.7 ขยายสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ตไปยงั อาคารชดุ ๙๐ ปี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลาโดยการยงิ สญั ญาณ
จากส�ำ นักกจิ การนักศกึ ษา
1.8 ขยายสญั ญาณของระบบวิทยใุ หร้ บั ฟงั ไดผ้ ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต
1.9 จดั ซอ้ื ระบบ Storage Area Network หรอื SAN เพ่ือใชจ้ ดั เกบ็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่
1.10 ไดด้ �ำ เนินการขยายสญั ญาณเครอื ขา่ ยไรส้ ายไปยังบา้ นพักอาจารย์ฝ่งั เกษตร และบา้ นพักอาจารย์
ฝ่งั โรงเรยี นสาธติ โดยใชช้ อ่ื SKRUHOME-WIFI
1.11 ขยายสญั ญาณ SKRU-WIFI ใหค้ รอบคลุมทงั้ มหาวทิ ยาลัยโดยการ ยืนยันตัวบคุ คล อาจารย์
/เจา้ หน้าทส่ี ามารถขอชอื่
1.12 ผ้ใู ช้ และรหสั ผา่ นไดท้ อ่ี าคารศนู ย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ ชน้ั 2 หอ้ งปฏบิ ตั ิการระบบเครอื ขา่ ย
โทรศพั ท์ 31
1.13 ขยายสญั ญาณเครอื ขา่ ยไรส้ ายไปยังบา้ นพักคนงานอย่รู ะหว่างด�ำ เนินการ
2. พัฒนาระบบสารสนเทศให้กบั หน่วยงานภายในมหาวิทยาลยั
2.1 เวบ็ ไซตร์ ะบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การงานเอกสาร
2.2 เวบ็ ไซตร์ ะบบคน้ หาหมายเลขโทรศพั ท์
2.3 เว็บไซตร์ ะบบเกบ็ ขอ้ มลู ทะเบยี นเบกิ เชค็
2.4 เว็บไซตง์ านสง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมอดุ มศกึ ษา ครงั้ ท่ี 13
2.5 ระบบประเมนิ ออนไลน์เกยี่ วกบั การก�ำ หนด อตั ลกั ษณ์ เอกลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
2.6 ระบบประเมนิ ความพึงพอใจเกยี่ วกบั การด�ำ เนินงานทส่ี อดคล้องกบั อตั ลักษณ์ และ จดุ เน้น จดุ เดน่
(เอกลกั ษณ์) ของมหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
2.7 ระบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชฐ้ านขอ้ มลู งานประชมุ และพิธกี าร สำ�นักงานอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา
2.8 ระบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชร้ ะบบสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
2.9 ระบบสำ�รวจความพึงพอใจคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารดา้ นกายภาพ ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
2.10 เว็บไซตง์ านคลัง มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
2.11 ระบบประเมนิ ผลสมั ฤทธข์ิ องงานและพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิราชการของบคุ ลากรมหาวิทยาลยั ราชภฎั
สงขลา ส�ำ หรบั บคุ ลากรสายวิชาการ (E-MOU)
67
2.12 ระบบแบบสอบถามออนไลน์ ส�ำ หรบั นักศกึ ษา
และบคุ ลากร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
2.13 เว็บไซต์โครงการอนุรกั ษ์พันธกุ รรมพืชอนั เน่ือง
มาจากพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.) : อนุรกั ษ์ต้นจ�ำ ปาดะ
2.14 เว็บไซตศ์ นู ย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ธรุ กจิ "สงขลาพาเลซ"
2.15 เว็บไซต์สถานีวิทยเุ พื่อการศกึ ษา มรภ.สงขลา
3. พัฒนาระบบสารสนเทศให้กบั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.1 เวบ็ ไซตง์ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2 เว็บไซต์ระบบฝึกอบรมออนไลน์
3.3 เวบ็ ไซตร์ ะบบแจง้ ซอ่ มคอมพิวเตอรอ์ อนไลน์
3.4 เว็บไซตร์ ะบบจองหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์
3.5 เว็บไซต์ระบบจดั การการใชบ้ รกิ ารเครอื่ งคอมพิวเตอรส์ ำ�หรบั นักศกึ ษา
3.6 ระบบตรวจสอบรหสั ปรนิ้ เอกสาร ส�ำ หรบั นักศกึ ษา
4. ดแู ลรกั ษาและซอ่ มบำ�รงุ คอมพิวเตอรใ์ ห้กบั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและหน่วยงาน
ภายในมหาวทิ ยาลัย
4.1 ดแู ลรกั ษาและซอ่ มบ�ำ รงุ คอมพิวเตอรใ์ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอรข์ องงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.2 ดแู ลรกั ษาและซอ่ มบ�ำ รงุ คอมพิวเตอรใ์ หก้ บั หน่วยงานในมหาวิทยาลยั
4.3 ดแู ล ควบคมุ อปุ กรณ์ทางดา้ นโสตทศั นูปกรณ์ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอรแ์ ละหอ้ งประชมุ
4.4 ใหค้ �ำ ปรกึ ษาเกย่ี วกบั การแกไ้ ขปญั หาคอมพิวเตอรแ์ กอ่ าจารย์ เจา้ หน้าท่ี และนักศกึ ษาภายใน
มหาวิทยาลยั
5. บรกิ ารฝกึ อบรมคอมพิวเตอรใ์ ห้กับหน่วยงานภายในและภายนอก
• จดั ท�ำ โครงการบรกิ ารวชิ าการ
• จดั ท�ำ โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการส่งเสรมิ และพัฒนาการใช้ ICT นอกเวลา
ราชการ
• บรกิ ารฝึกอบรมคอมพิวเตอรใ์ หก้ บั อาจารย์ เจา้ หน้าท่ี นักศกึ ษาและบคุ คลทว่ั ไป โดยมหี ลักสูตร
การฝึกอบรมคอมพิวเตอรท์ ผ่ี ่านมาดงั นี้
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอื่ ง "เพิ่มประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ"
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอื่ ง "การผลติ ส่อื การเรยี นการสอนแบบมลั ตมิ เี ดยี "
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เรอื่ ง "การบรหิ ารจดั การหอ้ งเรยี นเสมอื น"
- โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการสงเสรมิ พัฒนาการใช้ ICT (นอกเวลาราชการ)
ภาคเรยี นที่ 2 ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2554
68
- โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการ
สง่ เสรมิ พัฒนาการใช้ ICT (นอกเวลาราชการ) ภาคเรยี นท่ี 3
ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2554
- โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการ
ส่งเสรมิ พัฒนาการใช้ ICT (นอกเวลาราชการ) ภาคเรยี นท่ี 1
ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2555
บรกิ าร Wireless LAN
Wireless LAN คอื บรกิ ารเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บบไรส้ าย ซง่ึ ทางมหาวทิ ยาลยั มอบให้ งานเทค -
โนโลยีสารสนเทศ สำ�นักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ ผ้ใู หบ้ รกิ าร เพ่ือชว่ ยอ�ำ นวยความสะดวก
ในการใชง้ านเพื่อการศกึ ษา คน้ คว้า และวจิ ยั ใหแ้ กบ่ คุ ลากร อาจารย์ เจา้ หน้าท่ี และนักศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั
สามารถเชอื่ ต่อดว้ ยอปุ กรณ์ได้ ไมว่ า่ จะเปน็ Notebook ,Mobile, iPhone,iPad,Tablet ได้ เปน็ ต้น
วธิ กี ารยืนยันตัวตน (Authentication) ชอื่ สัญญาณ (SSID) SKRU-WIFI แยกตาม
กล่มุ ผ้ใู ช้
1. อาจารย์ สามารถใช้ Username และ Password เดยี วกบั ส�ำ นักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น
2. นักศกึ ษา สามารถใช้ Username และ Password เดยี วกบั ทใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบผลการเรยี นกบั
ส�ำ นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น
3. เจ้าหน้าท่ีสายสนับสนุนวิชาการ สามารถขอ Username และ Password เพ่ือใชบ้ รกิ ารเครอื ขา่ ย
ไรส้ ายไดท้ ง่ี านระบบเครอื ขา่ ย ชน้ั 2 อาคารศนู ย์ภาษาและคอมพิวเตอร์
4. สำ�หรบั อาจารย์ใหม่ เจา้ หน้าทใ่ี หม่ ตดิ ต่อขอใชบ้ รกิ ารเครอื ขา่ ยไรส้ ายได้ โดยขอรบั user และ
password ในวันจนั ทร-์ ศกุ ร์ เวลา 08.30 - 19.30 น. และวนั เสาร-์ อาทติ ย์ เวลา 08.30 - 16.30 น. ไดท้ ่ี
อาคารศนู ย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ ชน้ั 2 หอ้ งระบบเครอื ขา่ ย หรอื โทรศพั ทเ์ บอรภ์ ายใน : 310,311 ,โทรศพั ท์
Voip : 3000
ศูนย์ภาษา
วสิ ยั ทศั น์ ศนู ย์กลางการเรยี นรดู้ า้ นภาษาของมหาวิทยาลัยและทอ้ งถน่ิ
พันธกิจ
1. จดั ทดสอบภาษาองั กฤษใหแ้ กน่ ักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
2. จดั ฝึกอบรมทกั ษะภาษาองั กฤษและภาษาตา่ งประเทศอน่ื ๆใหแ้ กน่ ักศกึ ษา อาจารย์ บคุ ลากร ทงั้
ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย รวมทง้ั บคุ คลทว่ั ไป
3. บรกิ ารหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษาและหอ้ งศนู ย์การเรยี นรภู้ าษาดว้ ยตนเอง
4. บรกิ ารทดสอบวดั ความรภู้ าษาองั กฤษแกบ่ คุ ลากรภายในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลาและบคุ ลากร
ทว่ั ไป
5. บรกิ ารทรพั ยากรสารนิเทศดา้ นภาษา
69
บรกิ ารจัดอบรมภาษาตา่ งประเทศ
1. ภาษาองั กฤษ บรกิ ารจดั อบรมภาษาต่างประเทศ
2. ภาษาจนี
3. ภาษาญป่ี นุ่
4. ภาษามลายู
5. ภาษาอนิ โดนีเซยี
บรกิ ารห้องปฏิบตั กิ ารทางด้านภาษา
Language lab 1
บรกิ ารโปรแกรม Ellis, Insight English, speexx, English For You แกน่ ักศกึ ษา บคุ ลากรของ
มหาวทิ ยาลยั และบคุ คลทว่ั ไปบรกิ ารอบรมภาษาตา่ งประเทศแกน่ ักศกึ ษา บคุ ลากรของมหาวิทยาลยั และ
บคุ คลทว่ั ไป
อปุ กรณ์
จ�ำ นวนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ จ�ำ นวน 35 เครอ่ื ง เครอื่ งเสยี งครบชดุ (เครอ่ื งขยายเสียง, ล�ำ โพง
ตดิ เพดาน 2 ตวั ) ไมคโ์ ครโฟนไรส้ าย 2 ตัว Projector, จอรบั ภาพเครอ่ื งฉายภาพทบึ แสง (Visualizer)
Language lab 2
บรกิ ารโปรแกรม Ellis, Insight English, speexx, English For You แกน่ ักศกึ ษา บคุ ลากรของ
มหาวทิ ยาลยั และบคุ คลทว่ั ไปบรกิ ารอบรมภาษาต่างประเทศแกน่ ักศกึ ษา บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัยและ
บคุ คลทว่ั ไป
อปุ กรณ์
จ�ำ นวนเครอื่ งคอมพิวเตอร์ จ�ำ นวน 35 เครอ่ื ง เครอื่ งเสียงครบชดุ (เครอ่ื งขยายเสียง, ล�ำ โพง
ติดเพดาน 2 ตวั ไมคโ์ ครโฟนไรส้ าย 2 ตวั Projector, จอรบั ภาพ
Language lab 3
บรกิ ารโปรแกรม Ellis, Insight English, speexx, English For You แกน่ ักศกึ ษา บคุ ลากรของ
มหาวิทยาลัยและบคุ คลทว่ั ไปบรกิ ารอบรมภาษาตา่ งประเทศแกน่ ักศกึ ษา บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั และ
บคุ คลทว่ั ไป
อปุ กรณ์
จ�ำ นวนเครอื่ งคอมพิวเตอร์ จ�ำ นวน 35 เครอ่ื ง เครอื่ งเสยี งครบชดุ (เครอ่ื งขยายเสยี ง, ลำ�โพง
ติดเพดาน 2 ตัว) ไมคโ์ ครโฟนไรส้ าย 2 ตัว Projector, จอรบั ภาพ
70
71
ตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2543
มจี ดุ มงุ่ หมายเพื่อสง่ เสรมิ สมรรถภาพ หรอื เสรมิ สรา้ งความสามารถ
ของคนพิการใหม้ สี ภาพทด่ี ขี น้ึ โดยอาศยั วธิ ที างการแพทย์ การศกึ ษา
ทางสังคม และการฝึกอาชพี เพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทำ�งาน หรอื
ด�ำ รงชวี ติ ในสงั คมทดั เทยี มกบั คนปกติ ในมาตรา 15 ขอ้ 2 ใหค้ นพิการไดร้ บั การสงเคราะหด์ า้ นการศกึ ษา
ตามกฎหมายว่าด้วยการศกึ ษาภาคบงั คบั หรอื การศกึ ษาสายอาชพี หรอื อดุ มศกึ ษา ตามแผนการศกึ ษาชาติ
อย่างเหมาะสม และตามแผนการศกึ ษาชาตริ ะยะท่ี 7 (พ.ศ. 2535 - 2539) เน้นการขยายโอกาสและการสรา้ ง
ความเปน็ ธรรมแกผ่ ้ดู อ้ ยโอกาสใหไ้ ดร้ บั บรกิ ารทางการศกึ ษาพิเศษดงั กล่าวน้ี สอดคล้องกับเป้าหมายการ
พัฒนาการศึกษาของกรมการฝึกหัดครู จึงได้เรง่ รดั การพัฒนาการศึกษาพิเศษเพิ่มขนึ้ จากทท่ี �ำ อยแู่ ลว้ ใน
วทิ ยาลยั ครสู ว่ นกลาง คอื วทิ ยาลยั ครสู วนดสุ ติ เพ่ือผลติ บณั ฑติ ใหเ้ พียงพอกบั การบรกิ ารดา้ นการศกึ ษา
พิเศษ และจดั บรกิ ารดา้ นการศกึ ษาพิเศษแกช่ มุ ชน โดยขยายโครงการพัฒนาการศกึ ษาพิเศษในวทิ ยาลัยครู
สว่ นภมู ภิ าค 5 แหง่ คอื วิทยาลยั ครเู ชยี งใหม่ พิบลู สงคราม มหาสารคาม นครราชสมี า และสงขลา
ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2534
72
ปรชั ญา
การศกึ ษาพัฒนาบคุ คลทม่ี คี วามต้องการพิเศษเพ่ือพัฒนา
ตนเองและสังคม
วิสัยทศั น์
มงุ่ เน้นบรกิ ารทางการศกึ ษาพิเศษทม่ี มี าตรฐาน
บนพื้นฐานความรว่ มมอื ของครอบครวั และชมุ ชน
พันธกจิ
1. บรกิ ารวิชาการดา้ นการศกึ ษาพิเศษแกช่ มุ ชน
2. วจิ ยั และพัฒนาองคค์ วามรทู้ างการศกึ ษาพิเศษ
3. สนับสนุนการผลิตบณั ฑติ ทางการศกึ ษาพิเศษ
4. ส่งเสรมิ และพัฒนาบคุ ลากรในการท�ำ งานรว่ มกบั สหวชิ าชพี
5. สรา้ งเครอื ขา่ ย ความรว่ มมอื ดา้ นการศกึ ษาพิเศษกบั หน่วยงานทง้ั ในและตา่ งประเทศ
73
ความเขา้ ใจเกย่ี วกับนักศึกษาพิการ
นักศกึ ษาพิการทศี่ กึ ษาอย่ใู นสถาบนั ตา่ ง ๆ เปน็ ผ้ทู ม่ี คี วามรู้ ความสามารถ และมรี ะดบั สติปญั ญา
สามารถเรยี นรแู้ ละเขา้ รว่ มกิจกรรมได้ เชน่ เดียวกับนักศึกษาท่ัวไป แต่เน่ืองจากมีสภาวะความบกพรอ่ งทาง
รา่ งกาย หรอื ทางการรบั รู้ เชน่ ทางการเหน็ หรอื ทางการไดย้ ิน ท�ำ ใหจ้ �ำ เปน็ ต้องไดร้ บั การชว่ ยเหลอื สนับสนุน
และบรกิ ารทางการศกึ ษาทง้ั รปู แบบการเรยี น ส่อื อปุ กรณ์ มกี ารขยายเวลาในการสอบและจดั หอ้ งสอบเฉพาะ
ทเ่ี หมาะสม เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาสามารถบรรลุวตั ถปุ ระสงคท์ างการศกึ ษาไดต้ ามหลกั สตู รทกี่ �ำ หนดไว้ ดงั น้ัน
อาจารย์ผ้สู อนจงึ ควรมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ลกั ษณะและประเภทของนักศกึ ษาพิการทเ่ี ขา้ เรยี นระดบั อดุ มศกึ ษา
มดี งั น้ี
1. นักศึกษาพิการทางการเห็น
นักศกึ ษาพิการทางการเหน็ จะมปี ญั หาดา้ นการรบั รทู้ างสายตา ซง่ึ มที ง้ั มองเหน็ เลอื นราง และ
ตาบอดสนิท นักศกึ ษากลุ่มน้ีจ�ำ เปน็ ต้องไดร้ บั การชว่ ยเหลือดา้ นส่อื อปุ กรณ์สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เชน่ นักศกึ ษา
ทม่ี สี ายตาเลอื นรางจะใชอ้ ปุ กรณ์ขยายตวั หนังสอื หรอื รปู ภาพใหใ้ หญข่ น้ึ เพ่ือสามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจน
ส�ำ หรบั นักศกึ ษาทต่ี าบอดสนิทจะต้องศกึ ษาจากหนังสอื ทเ่ี ปน็ อกั ษรเบรลล์หรอื หนังสือเสียง เปน็ ต้น
2. นักศึกษาพิการทางการได้ยนิ
นักศกึ ษาพิการทางการไดย้ ินจะมปี ญั หาคอื ไมส่ ามารถรบั ฟงั เสยี งตา่ ง ๆ ได้ (หหู นวก) ดงั น้ัน
ในการเรยี นจงึ จ�ำ เปน็ ต้องมี ลา่ มภาษามอื เพ่ือแปลค�ำ บรรยายของอาจารย์ผ้สู อนเปน็ ภาษามอื เพ่ือให้
นักศกึ ษาเขา้ ใจและจดค�ำ บรรยายไดถ้ กู ต้อง ส�ำ หรบั นักศกึ ษาทม่ี กี ารไดย้ ินระดบั หตู งึ จ�ำ เปน็ ต้องใสเ่ ครอื่ งชว่ ยฟงั
เพ่ือขยายเสยี งใหไ้ ดย้ นิ ชดั เจน ในการเรยี นการสอนผสู้ อนสามารถบรรยายโดยใชน้ ้ำ�เสยี งปกติ แตค่ วรจะมี
การเขยี นประกอบการบรรยายขนึ้ ดว้ ย และอกี ทง้ั จดั ทน่ี ่ังใหน้ ักศกึ ษามองเหน็ ผ้สู อนไดช้ ดั เจน
3. นักศกึ ษาพิการทางรา่ งกายและการเคลอื่ นไหว
นักศึกษาพิการทางรา่ งกายและการเคล่ือนไหวส่วนใหญ่จะมีปัญหาด้านการเดินทาง โดยเฉพาะ
เมอ่ื เขา้ มาศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา จงึ ควรมกี ารปรบั สภาพแวดล้อมทง้ั บรเิ วณมหาวทิ ยาลัย และภายใน
หอ้ งเรยี นใหเ้ กดิ ความสะดวกในการเดนิ ทาง เชน่ จดั ทางลาด จดั ลิฟต์ และจดั โต๊ะทเ่ี หมาะสมในการน่ังเรยี น
สำ�หรบั นักศกึ ษากลมุ่ น้ี
74
สถาบันพัฒนาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบการบรหิ าร
จัดการด้านการศึกษาพิเศษ ซงึ่ ประกอบด้วยการจัดการเรยี นรเู้ พ่ือกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการ
พิเศษระดับก่อนวัยเรยี น การให้คำ�ปรกึ ษาแก่ผู้ปกครอง การพัฒนาบุคลากรในชมุ ชน การผลิตบัณฑิตทาง
การศึกษาพิเศษ และการให้บรกิ ารชว่ ยเหลือแก่นักศึกษาพิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้จัดการศึกษา
สำ�หรบั นักศึกษาพิการระดับอดุ มศึกษาตามพระราชบัญญัติฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 ต้ังแต่
ปีการศึกษา 2540 ต่อมาเม่ือมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซงึ่ เปิดโอกาสให้ทุกคนมีสิทธิ
เท่าเทียมกันในการเขา้ รบั การศึกษามากขนึ้ ต้ังแต่ระดับก่อนวัยเรยี นเป็นต้นไป สำ�นักงานคณะกรรมการ
การอดุ มศึกษาจึงมีนโยบายส่งเสรมิ การจัดการศึกษาสำ�หรบั นักศึกษาพิการ โดยมีการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์
มาตรการและแผนงานโครงการต่าง ๆ เพ่ือรองรบั นักศึกษาท่ีจะเขา้ มาศึกษาในสถานศึกษาระดับอดุ มศึกษา
ท่ัวประเทศ ท้ังในระบบการสอบคัดเลือกและระบบการคัดเลือกตรงจากโรงเรยี นการศึกษาพิเศษ ซง่ึ ยุทธศาสตร์
ดังกล่าวมีจำ�นวน 4 ด้าน ดังน้ี
1. ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สรา้ งโอกาสทางการศึกษา
2. ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องนักศึกษาพิการ
3. ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 พัฒนาองค์ความรู้
4. ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ส่งเสรมิ การมีงานทำ�ของผู้พิการ
จากแผนยทุ ธศาสตรด์ งั กลา่ ว ทางสถาบนั พัฒนาการศกึ ษาพิเศษ ไดต้ อบสนองโดยการจดั ต้งั หน่วย
งานรองรบั ท่ีเรยี กว่า หน่วยงานบรกิ ารสนับสนุนนักศึกษาพิการ (Disability Support Services : DSS)
ขน้ึ โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการให้การชว่ ยเหลือบรกิ ารสนับสนุนแก่นักศึกษาพิการท่ีกำ�ลังศึกษาอยู่ใน
มหาวิทยาลัย ซงึ่ ในระยะแรกมีเฉพาะนักศึกษาพิการด้านความบกพรอ่ งทางการเห็น ต่อมาในปีการศึกษา 2550
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีนโยบายในการรบั นักศึกษาพิการด้านความบกพรอ่ งทางการได้ยินเขา้ ศึกษาต่อ
โดยใชร้ ะบบการคดั เลือกตรงจากโรงเรยี นโสตศกึ ษาเขตภาคใต้ เขา้ มาศกึ ษาในคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ อกี ทง้ั
ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากสำ�นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาด้านบุคลากร จำ�นวน 2 อตั รา
75สำ�หรบั งบประมาณด้านอน่ื ๆ ได้รบั การจัดสรรจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ปรชั ญา
เราเชอ่ื วา่ เดก็ ทกุ คน มศี กั ยภาพ สามารถพัฒนาไดภ้ ายใต้
ความรว่ มมอื ของผู้ปกครอง
คำ�ขวัญ
พัฒนาการดี กายใจสดใส พรอ้ มกา้ วไป...สูก่ ารสง่ ต่อ
ภารกจิ
การจดั การศกึ ษาเพ่ือสนองความต้องการของเดก็ ทม่ี ี
ความต้องการพิเศษ เปน็ ภารกจิ ของหน่วยบรกิ ารชว่ ยเหลอื
ระยะแรกเรม่ิ สำ�หรบั เดก็ ทม่ี คี วามต้องการพิเศษ
งานบรกิ าร
1. ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ทม่ี คี วามต้องการพิเศษ
2. คดั กรองพัฒนาการเดก็ กล่มุ เส่ยี งระดบั ปฐมวัย
3. การฝึกพูดเดก็ ทมี่ คี วามต้องการพิเศษ
4. เตรยี มความพรอ้ มส�ำ หรบั เดก็ ทม่ี คี วามต้องการพิเศษกอ่ นเขา้ โรงเรยี นเรยี นรว่ ม
5. กระตุ้นพัฒนาการทกั ษะดา้ นต่างๆ ดงั น้ี
5.1 ทกั ษะดา้ นการเคล่อื นไหว
5.2 ทกั ษะดา้ นการใชก้ ล้ามเน้ือมดั เล็กและสติปญั ญา
5.3 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจภาษา
5.4 ทกั ษะดา้ นการใชภ้ าษา
5.5 ทกั ษะดา้ นการชว่ ยเหลอื ตนเองและสงั คม
5.6 ทกั ษะดา้ นการใชก้ ล้ามเน้ือมดั เลก็ และสตปิ ญั ญา
งานบรกิ ารสนับสนุนนักศึกษาพิการ
งานบรกิ ารสนับสนุนนักศกึ ษาพิการ (Disability Support Services : DSS) เปน็ หน่วยงานซงึ่ ท�ำ
หน้าทใ่ี หบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื ทางการศกึ ษาแกน่ ักศกึ ษาพิการทก่ี �ำ ลงั ศกึ ษาอย่ใู นสถาบนั ทางการศกึ ษาระดบั
อดุ มศกึ ษา ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ระบบการเรยี นการสอนไดอ้ ย่างเทา่ เทยี มกบั นักศกึ ษาทว่ั ไป ด�ำ เนินการทจ่ี ะท�ำ ให้
เกดิ ประสิทธภิ าพในการเรยี นการสอนและลดอปุ สรรคตา่ ง ๆ อนั เกดิ จากความพิการ โดยจดั ใหบ้ รกิ ารสนับสนุน
เพ่ือชว่ ยใหน้ ักศกึ ษาหรอื บคุ คลพิการสามารถบรรลเุ ปา้ หมายของการศกึ ษาไดต้ ามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล
76
วัตถปุ ระสงค์
งานบรกิ ารและสนับสนุนบคุ คลพิการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
สงขลา ไดด้ �ำ เนินงานตามบทบาทหน้าทโ่ี ดยค�ำ นึงถงึ สิทธิ
และโอกาสทางการศกึ ษาของนักศกึ ษาพิการทกุ คนทจี่ ะต้อง
มเี ทา่ เทยี มกบั นักศกึ ษาทว่ั ไป อกี ทง้ั ยึดหลักตามแนวยทุ ธ-
ศาสตรท์ ส่ี �ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาอดุ มศกึ ษาโดยนำ�มาก�ำ หนดเปน็ วัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี
1. เพื่อเปน็ หน่วยงานทใ่ี หบ้ รกิ ารแกน่ ักศกึ ษาพิการ และบคุ คลพิการทว่ั ไปในดา้ นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่
1.1 ดา้ นการใหค้ �ำ ปรกึ ษา
1.2 ดา้ นการใหบ้ รกิ ารส่อื และส่งิ อ�ำ นวยความสะดวก
1.3 ดา้ นลา่ มภาษามอื
2. เพื่อผลติ ส่อื ส่งิ พิมพ์ เอกสารประกอบการศกึ ษาของนักศกึ ษาพิการ
3. เพื่อเปน็ แหลง่ เรยี นรแู้ ละฝึกประสบการณ์ของนักศกึ ษาสาขาการศกึ ษาพิเศษและบคุ ลากรทว่ั ไปใน
ดา้ นการบรกิ ารและสนับสนุนบคุ คลพิการ
4. เพื่อจดั ต้งั และพัฒนางานการจดั บรกิ ารอปุ กรณ์ ส่อื ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวก ระบบขอ้ มลู สารสนเทศ
และบรกิ ารอาสาสมคั รชว่ ยเหลือนักศกึ ษาพิการทง้ั ในและนอกมหาวิทยาลัย
5. เพื่อสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื แลกเปล่ยี นเรยี นรใู้ นการพัฒนางานบรกิ ารและสนับสนุนนักศกึ ษา
พิการของแต่ละสถาบนั การศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพดยี ิ่งขนึ้
เปา้ หมาย
งานบรกิ ารสนับสนุนนักศกึ ษาพิการ และบคุ คลพิการ เปน็ งานทม่ี คี วามส�ำ คญั ย่ิงต่อการจดั การศกึ ษา
ใหแ้ กน่ ักศกึ ษาพิการในระดบั อดุ มศกึ ษาและการใหค้ วามชว่ ยเหลอื บคุ คลพิการทว่ั ไป เพราะความบกพรอ่ ง
ทางดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ทางรา่ งกาย ทางการเหน็ และทางการไดย้ ิน อนั เปน็ อปุ สรรคตอ่ การเรยี นรู้ ดงั น้ันการจดั
หน่วยบรกิ ารและสนับสนุนบคุ คลพิการจงึ มเี ปา้ หมายดงั น้ี
1. นักศกึ ษาพิการของมหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลาและบคุ คลพิการทว่ั ไป ใหไ้ ดร้ บั การบรกิ ารและ
สนับสนุนเปน็ อย่างดที ง้ั ในดา้ นการใหค้ �ำ ปรกึ ษา ส่อื ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวก และล่ามภาษามอื
2. เอกสาร ตำ�รา สื่อการเรยี นรมู้ ีเพียงพอ และมีความเหมาะสมสำ�หรบั นักศึกษาพิการของมหาวิทยาลัย
ราชภฏั สงขลา
3. ระบบขอ้ มลู สารสนเทศ ส่อื ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวก อปุ กรณ์ในการผลิตส่อื การเรยี นรสู้ ำ�หรบั นักศกึ ษา
พิการมเี พียงพอและมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. นักศกึ ษาสาขาการศกึ ษาพิเศษและบคุ ลากรทว่ั ไปไดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งการชว่ ยเหลอื
การใหบ้ รกิ ารสนับสนุนนักศกึ ษาพิการเปน็ อย่างดี
5. งานบรกิ ารสนับสนุนนักศึกษาพิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีเครอื ขา่ ยกับสถาบันการศึกษา
ระดบั ตา่ งๆ ในการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละสรา้ งความรว่ มมอื เพ่ือพัฒนางานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
77
บทบาทหน้าทข่ี องงานบรกิ าร
สนับสนุนนักศึกษาพิการ
งานบรกิ ารสนับสนุนนักศกึ ษาพิการจะมี
เปา้ หมายหลักในการชว่ ยเหลอื บรกิ าร และสนับสนุน
การจดั การเรยี นรสู้ ำ�หรบั นักศกึ ษาพิการในระดบั
อดุ มศกึ ษา ฉะน้ันบทบาทหน้าทจ่ี งึ มดี งั น้ี
1. เปน็ หน่วยงานทด่ี �ำ เนินการใหค้ วามชว่ ยเหลือ
ส่งเสรมิ สนับสนุนนักศกึ ษาพิการระดบั อดุ มศกึ ษา นักเรยี นทม่ี คี วามต้องการพิเศษ และบคุ คลพิการทว่ั ไปใน
ดา้ นการใหค้ �ำ ปรกึ ษา การใหบ้ รกิ ารยืมส่อื ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวก และการใหบ้ รกิ ารอนื่ ๆ ตามความจ�ำ เปน็
2. เปน็ แหล่งขอ้ มลู เกย่ี วกบั นักศกึ ษาพิการของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
3. เปน็ แหล่งรวมเอกสาร ตำ�ราทจ่ี �ำ เปน็ สำ�หรบั นักศกึ ษาพิการ และนักศกึ ษาสาขาการศกึ ษาพิเศษ
4. ด�ำ เนินการใหน้ ักศกึ ษาพิการสามารถเขา้ ถงึ การเรยี นการสอน โดยไดร้ บั ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวกทจี่ �ำ เปน็
5. ผลิตและจดั ท�ำ ส่อื ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวกใหเ้ พียงพอและเหมาะสมกบั ความต้องการของนักศกึ ษาพิการ
6. เปน็ เครอื ขา่ ยกบั สถาบนั ทางการศกึ ษาทกุ ระดบั ในการจดั การศกึ ษาสำ�หรบั บคุ คลพิการ
7. ประสานงานกบั สถาบนั การศกึ ษา หน่วยงาน องคก์ รทง้ั ภาครฐั และเอกชนในการใหค้ วามชว่ ย
เหลอื บคุ คลพิการในดา้ นการศกึ ษา สุขภาพ และทนุ การศกึ ษา
8. อ�ำ นวยความสะดวกในการจดั ทพ่ี ักอาศยั ของนักศกึ ษาพิการ
9. อบรมภาษามอื และการอา่ น การเขยี นอกั ษรเบรลล์ใหแ้ กน่ ักศกึ ษาและผ้สู นใจทว่ั ไป
ชนิดของการบรกิ าร
1. ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวกสำ�หรบั นักศกึ ษาพิการ
1.1 นักศกึ ษาพิการทางเหน็ ไดแ้ ก่ หนังสอื เบรลล์ หนังสือเสียง เอกสาร และขอ้ สอบทเ่ี ปน็ อกั ษรเบรลล์
เครอ่ื งบนั ทกึ เสียง โปรแกรมคอมพิวเตอรอ์ า่ นจอภาพ เครอ่ื งขยายตัวอกั ษร และราวจบั บรเิ วณภายในอาคาร
และหอ้ งน้ำ�
1.2 นักศกึ ษาพิการทางการไดย้ ิน ไดแ้ ก่ ลา่ มภาษามอื การสอนซอ่ มเสรมิ บทเรยี น ค�ำ บรรยาย
เครอ่ื งชว่ ยฟงั และผ้ชู ว่ ยจดค�ำ บรรยาย
1.3 นักศกึ ษาพิการทางรา่ งกาย ไดแ้ ก่ ทางลาด ราวจบั ในหอ้ งน้ำ� ลฟิ ท์ และรถเขน็
2. อปุ กรณ์สนับสนุนการเรยี นรู้
2.1 เครอ่ื งคอมพิวเตอรใ์ นการสืบคน้
2.2 เครอ่ื งพิมพ์อกั ษรเบรลล์
2.3 เครอ่ื ง สแกนเนอร์
2.4 เครอ่ื งตรวจวดั การไดย้ ิน
2.5 เครอ่ื งฝึกพูด
78
ชนิดของการบรกิ าร(ต่อ)
3. การใหบ้ รกิ ารสนับสนุนอนื่ ๆการใหบ้ รกิ ารสนับสนุนอนื่ ๆ
นอกเหนือจากทก่ี ลา่ วมาเพื่อชว่ ยเหลือนักศกึ ษาพิการของ
มหาวิทยาลัยดงั นี้
3.1 การจดั ส่อื ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวก เชน่ จดั ท�ำ ขอ้ สอบ
ทเ่ี หมาะสมกบั ความพิการ จดั สถานทส่ี อบแยกเฉพาะจาก
นักศกึ ษาทว่ั ไป
3.2 การใหค้ �ำ ปรกึ ษาเปน็ รายบคุ คล
3.3 หอ้ งสง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละท�ำ กจิ กรรมทางวิชาการ
3.4 หอ้ งผลิตส่อื เบรลล์และหอ้ งอา่ นหนังสือเสียง
ขนั้ ตอนการขอรบั บรกิ ารของนักศึกษา
1. ลงทะเบยี นเพ่ือขอรบั บรกิ าร
2. มอบเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การขอรบั บรกิ าร ไดแ้ ก่
2.1 ประวตั ิส่วนตวั โดยละเอยี ด
2.2 สำ�เนาบตั รนักศกึ ษา
2.3 ตารางเรยี น
3. ปรกึ ษา พูดคยุ กบั เจา้ หน้าท่ี DSS เพื่อบอกถงึ ความต้องการในการชว่ ยเหลอื
4. กรอกและยื่นแบบขอรบั บรกิ าร
5. เจา้ หน้าทด่ี �ำ เนินการจดั บรกิ ารตามทน่ี ักศกึ ษาแจง้ ความจ�ำ นงในแบบขอรบั บรกิ าร
79
ห้องพยาบาล
เปิดบรกิ ารทุกวัน (ยกเว้นวันหยุดนักขตั ฤกษ์) ต้ังแต่เวลา 8.30 น. - 16.30 น. มีพยาบาลประจำ�คอย
ใหบ้ รกิ ารอย่างรวดเรว็ เปน็ กนั เอง พรอ้ มทง้ั มแี พทย์จากโรงพยาบาลสงขลามาคอย ตรวจใหบ้ รกิ ารทกุ วันจนั ทร์
เวลาบา่ ยโมงตรง
การบรกิ าร
ใหบ้ รกิ ารแกน่ ักศกึ ษา อาจารย์ เจา้ หน้าท่ี มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา และบคุ คลทว่ั ไป(ทม่ี บี ตั รทอง
หรอื บตั รประกนั สงั คมของโรงพยาบาลสงขลา)
สถานที่
มหี อ้ งท�ำ แผล หอ้ งสงั เกตการณ์ แยกชาย หญงิ จ�ำ นวน 8 เตยี ง ตวั อาคารต้งั อย่ตู รงขา้ มอาคาร 9
(ตกึ บณั ฑติ วทิ ยาลยั )
ภาระหน้าท่ี
1. รกั ษาโรคเบอ้ื งต้น เรอื้ รงั เชน่ ความดนั เบาหวาน ไขมนั
2. ปฐมพยาบาลเคล่อื นท่ี
3. ใหค้ วามรู้ ค�ำ ปรกึ ษา ดา้ นสุขภาพ
4. จดั กจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ รณรงคต์ ้านยากเสพติด , กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาพ , กจิ กรรมต้านภยั ไขเ้ ลือดออก
กจิ กรรมการปอ้ งกนั ควบคมุ โรค
80
สถานท่ีออกกำ�ลังกาย
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา จดั ใหบ้ รกิ ารสนามกฬี าและ
อปุ กรณ์ออกก�ำ ลงั กายเพ่ือรองรบั การจดั การเรยี นการสอน
วิชาพลศกึ ษา รวมทง้ั ใหบ้ รกิ ารแกน่ ักศกึ ษา อาจารย์
บคุ ลากรและประชาชนทว่ั ไป บรเิ วณทศิ ใต้ของมหาวทิ ยาลยั
(ดา้ นตดิ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ) ไดแ้ ก่ สนามฟุตบอลพรอ้ มอฒั จนั ทร์ สนามบาสเกตบอล สนามเทนนิส สนาม -
เอนกประสงค์ อาคารโรงยิมเนเซยี่ ม สวนสขุ ภาพ หอ้ งฝึกสมรรถภาพทางกาย (ฟติ เนส)
ส�ำ หรบั หอ้ งฟติ เนสเปดิ ใหบ้ รกิ ารเวลา 16.30 - 20.00 น. ส�ำ หรบั บคุ ลกรภายใน นักศกึ ษาคดิ คา่ บรกิ าร
ครง้ั ละ 2 บาท ประชาชนทว่ั ไปคดิ คา่ บรกิ ารครง้ั ละ 10 บาท
81
รา้ นสหกรณ์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา จ�ำ หน่ายสนิ คา้ ประเภทตา่ ง ๆ
อาทิ สนิ คา้ อปุ โภค บรโิ ภค เครอ่ื งเขยี น เครอื่ งใชส้ �ำ นักงาน
เครอ่ื งแต่งกาย เนคไท เขม็ ขดั กระดมุ และอน่ื ๆ
เปดิ รบั สมคั รสมาชกิ ตลอดทงั้ ปี คา่ สมคั รเปน็ สมาชกิ สหกรณ์
หนุ้ ละ 20 บาท เวลาทำ�การ ทุกวันตงั้ แต่เวลา 7.30 - 16.30 น.
ห้องละหมาด
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา จดั หอ้ งละหมาดไว้บรกิ ารส�ำ หรบั นักศกึ ษา อาจารย์ และบคุ ลากรทน่ี ับถอื
ศาสนาอสิ ลาม โดยแยกเปน็ อาคารเดย่ี ว ตัวอาคารแบง่ เปน็ 2 หอ้ ง คอื หอ้ งละหมาดชาย และหอ้ งละหมาดหญงิ
พรอ้ มทอ่ี าบน้ำ�ละหมาด ตวั อาคารต้งั อย่หู ลงั อาคารกองพัฒนานักศกึ ษา ใกล้กบั โรงอาหารใหม่
82
SEVEN-ELEVEN เปน็ รา้ นสะดวกซอื้ มผี ลติ ภณั ฑ์
สนิ คา้ อปุ โภคและบรโิ ภค เชน่ กาแฟ แซนดว์ ชิ อาหาร
สำ�เรจ็ รปู แกโซลีน ผลิตภณั ฑน์ ม เครอ่ื งดม่ื ต่าง ๆ และ
มนั ฝรงั่ ทอด
การบรกิ าร
ใหบ้ รกิ ารแกน่ ักศกึ ษา อาจารย์ เจา้ หน้าท่ี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา และบคุ คลทว่ั ไป เปดิ บรกิ ารทกุ วัน
(ยกเว้นวนั หยุดนักขตั ฤกษ์) ต้งั แตเ่ วลา 8.30 น. - 16.30 น. ตัวอาคารต้งั อย่ชู น้ั 1 อาคาร 2 ทางเขา้ ประตู 1
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา
83
84