The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา

แผนพัฒนาการบริหารจดั การ
เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา

คำนำ

เอกสารแผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพ้นื ท่ี ของ นางบรรเจิด อุ่นมณรี ัตน์ ตำแหนง่

รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ในการประเมนิ สัมฤทธิผล
ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
ตามข้อตกลงในการปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ที่ ในระยะเวลา 1 ปี มวี ตั ถุประสงค์ เพื่อแสดงทศิ ทางในการบริหาร
จดั การศึกษาของสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 และการขบั เคล่อื นการใช้แผน
เป็นเคร่ืองมอื ในการพัฒนาการบริหารจดั การเขตพ้นื ท่ี เนอ้ื หาของเล่ม ประกอบด้วย

ตอนท่ี 1 ข้อมลู พนื้ ฐานและสารสนเทศ
ตอนท่ี 2 การวเิ คราะหน์ โยบายสภาพแวดลอ้ มขององค์การ
ตอนท่ี 3 วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์
ตอนที่ 4 แนวทางการบริหารสู่ความสำเรจ็
ตอนท่ี 5 การกำกบั ตดิ ตาม และประเมินผล และภาคผนวก
ขอบพระคณุ นายประวชิ ยะรนิ ทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2
ท่ีมสี ว่ นสนับสนุนใหค้ ำปรกึ ษา คำแนะนำ กำลงั ใจ ท่ีสำคัญใหโ้ อกาสในการพฒั นางาน พัฒนาตน พัฒนาองค์การ
อกี ท้งั นายประสงค์ แย้มศริ ิ รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 และ
นายวฒุ ชิ ัย บญุ หล่ำ รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 และทมี งานทกุ คน
ทมี่ สี ่วนรว่ มในการดำเนนิ งานจนสำเร็จ

บรรเจิด อุน่ มณรี ตั น์
รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2



[ชื่อผเู้ ขียน]

สารบญั หน้า

คำนำ ข
สารบัญ 1
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานและสารสนเทศ 18
ตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์นโยบายสภาพแวดลอ้ มขององคก์ าร 22
ตอนที่ 3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ 35
ตอนที่ 4 แนวทางการบริหารสู่ความสำเรจ็ 41
ตอนที่ 5 การกำกบั ติดตาม และประเมินผล และภาคผนวก
ภาคผนวก 75

คำสั่งแต่งต้ังคณะทำงาน



[ชื่อผเู้ ขียน]

ตอนท่ี ๑

ขอ้ มลู พนื้ ฐานและสารสนเทศ

ที่ตง้ั และอาณาเขต

สำนักงาน เขตพื้ นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุ รี เขต 2 ต้ังอยู่เลขที่ 5 6 หมู่ที่ 4
ถนนโพธาราม – บ้านเลือก ตำบลบ้านเลือก อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรีมีพื้นที่ครอบคลุม 4 อำเภอ
ประกอบด้วยอำเภอบ้านโป่ง อำเภอโพธาราม อำเภอดำเนินสะดวก และอำเภอบางแพ พื้นที่ทั้งหมด
ประมาณ 1,166.436 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 52 ตำบล 509 หมู่บ้าน เทศบาลเมือง 3 แห่ง
เทศบาลตำบล 19 แหง่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล 34 แหง่

มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั จงั หวัดใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั อำเภอกำแพงแสน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
ทิศใต้ ติดต่อกบั อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกบั อำเภอบา้ นแพ้ว จังหวดั สมทุ รสาคร อำเภอเมอื งนครปฐม จังหวัดนครปฐม
ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับอำเภอจอมบงึ จังหวัดราชบรุ ี

ตดิ ตอ่ กับอำเภอท่าม่วง อำเภอท่ามะกา อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบุรี

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ

เป็นเขตที่มีพ้ืนที่เป็นท้ังท่ีราบลุ่ม เป็นแหล่งท่ีอยอู่ าศัยและทำมาหากินของประชาชนและมี บาง
พ้ืนที่เป็นภูเขา ป่าไม้ ซ่ึงมีประชาชนอาศัยอยู่น้อย โดยส่วนใหญ่ลักษณะพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มอุดม
สมบรู ณ์ เน่ืองจากมีแม่น้ำแม่กลองไหลผ่าน ความสูงประมาณ 1- 20 เมตร เหนือระดบั นำ้ ทะเลปานกลาง
สำหรับพื้นท่ีมีประชากรอยู่หนาแน่น จะอยูฝ่ ั่งตะวันตกของแม่นำ้ การคมนาคมสะดวก และมีความพร้อม
ด้านสาธารณูปโภค สว่ นฝงั่ ตะวันออกประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม

ลักษณะภูมิอากาศไมร่ ้อนจัดและไม่หนาวจัด อุณหภูมเิ ฉลยี่ 28.7 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนเรมิ่ ต้น
ตง้ั แตเ่ ดือนกมุ ภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ฤดฝู นเรมิ่ ตั้งแต่เดอื นพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดหู นาวเร่ิมตั้งแต่
เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ในฤดูฝนจะมฝี นตกชกุ ในเดือนกนั ยายน

การคมนาคม มเี สน้ ทางคมนาคมได้ 3 ทาง คือ
1. ทางเรือ ใชใ้ นท้องทตี่ ิดแมน่ ำ้ แมก่ ลอง
2. ทางรถยนต์
3. ทางรถไฟ

แหล่งวัฒนธรรม/แหลง่ เรียนรู้

ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี มีหลากหลายเชื้อชาติ และยังคงธำรงรักษาไว้
 อำเภอบ้านโป่ง ได้แก่ สระน้ำโกสินารายณ์วัดม่วง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดม่วง บึงกระจับ

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพนื้ ที่การศกึ ษา 1

 อำเภอโพธาราม ได้แก่ วัดขนอนหนังใหญ่ ค่ายหลวงบ้านไร่ จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม
ค้างคาววัดเขาช่องพราน วัดถ้ำน้ำ วนอุทยานเขาน้อย ถ้ำสาลิกา ตลาดเก่า 119 ปี เจ็ดเสมียน

 อำเภอดำเนินสะดวก ได้แก่ ตลาดน้ำดำเนินสะดวก ตลาดน้ำดำเนินฯ เก่า (คลองลัดพลี)
ศาลวิหารหลวงพ่อบ้านแหลม หลวงพ่อเขาตะเครา ศูนย์วัฒนธรรม 8 ชนเผ่า วัดหลวงพ่อสดธรรมกา
ยาราม บ้านไทยทรงดำ ตลาดน้ำวัดประสาทสิทธ์ิ

 อำเภอบางแพ ได้แก่ อุทยานหุ่นข้ีผึ้งสยาม ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว
ภาษา ภาษาสว่ นใหญใ่ ช้ภาษาไทยและภาษาอ่นื ๆ เล็กน้อย เชน่ ลาว มอญ จนี
ศาสนา ประชาชนส่วนใหญน่ ับถือศาสนาพุทธ และมีนับถอื ศาสนาครสิ ต์ เลก็ นอ้ ย

แผนทจ่ี ังหวัดราชบุรี

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 2

ขอ้ มลู ทางการศกึ ษา

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีสถานศึกษา บุคลากรและนักเรียน
ในความรับผิดชอบ ครอบคลุมพื้นท่ี 4 อำเภอ ประกอบด้วยอำเภอบ้านโป่ง อำเภอโพธาราม อำเภอบาง

แพ และอำเภอดำเนนิ สะดวก ดงั นี้
ตารางท่ี 1 จำนวนสถานศึกษาจำแนกตามอำเภอ

อำเภอ โรงเรยี น ผูบ้ ริหาร ครู/ครผู ู้ชว่ ย พนกั งาน นกั เรยี น ครู:นักเรยี น
ราชการ
บ้านโป่ง 47 31 384 6,721 17.28
413 5 7,404 17.71
โพธาราม 51 47 258 5 5,123 19.55
133 4 2,664 19.73
ดำเนนิ สะดวก 25 21 1,188 2 21,921 18.21
16 ข้อมูล 18 กรกฎาคม 2563
บางแพ 24 14

รวม 147 113

ตารางที่ 2 จำนวนสถานศึกษาในสังกดั จำแนกตามขนาด

อำเภอ จำนวนสถานศึกษาจำแนกตามขนาด รวม

120 คนลงมา 121 - 600 คน 601 - 1,50๐ คน 1,500 คนข้ึนไป

บ้านโปง่ 25 22 - - 47
โพธาราม 22 28 1 - 51
ดำเนนิ สะดวก 13 10 2 - 25
บางแพ 19 5 - - 24
79 65 3 - 147
รวม
ข้อมลู 18 กรกฎาคม 2563

ตารางท่ี 3 จำนวนนักเรยี น หอ้ งเรยี น ปีการศึกษา 2563 ระดับอนุบาล – มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
จำแนกระดับชั้น และ จำแนกรายอำเภอ

อำเภอ ก่อนประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา มัธยมศึกตอนตน้ รวม

บ้านโป่ง หอ้ ง นักเรียน หอ้ ง นักเรยี น ห้อง นกั เรยี น ห้อง นักเรียน
โพธาราม
ดำเนนิ สะดวก 113 1,404 295 4,254 50 1,063 458 6,721
บางแพ
119 1,676 320 4,968 42 760 481 7,404
รวม
66 1,095 187 3,597 26 431 279 5,123

52 635 154 1,953 6 76 212 2,664

350 4,947 956 14,215 124 2,450 1,430 21,912

ข้อมูล 18 กรกฎาคม 2563

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 3

ตารางท่ี 4 จำนวนนกั เรยี น จำแนกตามช้นั เรียนและเพศ ปีการศึกษา 2563

ระดบั ชนั้ จำนวนนกั เรยี น

อนุบาล1 ชาย หญงิ รวม
อนบุ าล 2
อนบุ าล 3 253 194 447
รวมระดับกอ่ นประถม 1,082
ประถมศึกษาปีที่ 1 1,160 1,014 2,096
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2
ประถมศึกษาปีท่ี 3 2,495 1,107 2,267
ประถมศึกษาปีที่ 4
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 1,265 2,315 4,810
ประถมศึกษาปีท่ี 6 1,317
รวมระดับประถมศึกษา 1,296 1,160 2,425
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 1,197
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 1,285 1,202 2,519
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 1,318
รวมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1,167 2,463
รวมทัง้ สน้ิ 7,678
466 1,151 2,348
467
428 1,174 2,459

1,361 1,240 2,558

11,534 7,094 14,772

290 756

354 821

325 753

969 2,330

10,378 21,912

ข้อมูล 18 กรกฎาคม 2563

แผนพัฒนาการบริหารจดั การเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา 4

ตารางท่ี 5 จำนวนข้าราชการครแู ละบุคลากรตามโครงสร้างท่ีปฏบิ ัตงิ าน ในสำนกั งานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 จำนวนตามกลุ่มและระดบั การศกึ ษา

ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร

กลุ่มตามโครงสร้าง ทางการศึกษา ระดบั การศึกษา

ทปี่ ฏิบตั ิงานใน สพป.รบ.2

ตามมาตรา ตามมาตรา รวม ต่ำกว่า ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม

38 ข (3), (4) 38 ค ป.ตรี

(1),(2)

1. ผอ.สพท. - - - - ----

2. รอง ผอ.สพท. 3 - 3 - -3-3

3. กลมุ่ อำนวยการ - 6 6 - 42 -6

4. กล่มุ บริหารงานบุคคล - 9 9 - 72 -9

5. กลมุ่ นโยบายและแผน - 6 6 - 42 -6

6. กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา - 6 6 1 32 -6

7.กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและ - 13 13 1 - 12 - 13

ประเมินผลการจดั การศึกษา

8. กลมุ่ บรหิ ารงานการเงินและ - 8 8 2 6 - - 8

สินทรพั ย์

9. กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกล - 1 1 - 1- -1

เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สอ่ื สาร

10. กลุ่มพัฒนาบุคลากรทาง - 1 1 - 1- -1

การศกึ ษา

11. หน่วยตรวจสอบภายใน - 3 3 - 3- -3

12. กล่มุ กฎหมายและคดี - - - ----

รวม 3 53 56 4 29 23 - 56

ขอ้ มูลตาม จ. 18 ณ 18 กรกฎาคม 2563

แผนพัฒนาการบริหารจดั การเขตพืน้ ที่การศกึ ษา 5

ตารางที่ 6 บุคลากรในสถานศกึ ษาสงั กัด สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2

เฉพาะมตี วั

บคุ ลากรในสถานศกึ ษา จำนวน

ขา้ ราชการครู

- ผู้อำนวยการโรงเรียน 113

- ครูสายผู้สอน 1,188

ลกู จา้ งประจำ

- ช่างปนู ระดับ ช.3 1

- ช่างปูน ระดบั ช.4 9

- ช่างไม้ ระดับ ช.4 31

- ช่างไม้ ระดับ ช.3 1

- ช่างสี ระดับ ช.4 1

- พนกั งานธุรการ ระดับ 4 2

ลูกจ้างชวั่ คราว

- ครูอัตราจ้างฯ 49

- อัตราจ้างภารโรง 57

- อัตราจ้างธรุ การโรงเรียน 142

พนกั งานราชการ (สายผ้สู อน) 16

รวมบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 1,610

ข้อมูลตาม จ. 18 ณ 18 กรกฎาคม 2563

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพน้ื ที่การศึกษา 6

แผนภมู ิโครงสรา้ งการบริหารงานสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒

ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา

คณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบประเมนิ ผล
และนเิ ทศการศึกษา

รองผู้อำนวยการสำนกั งาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม กลุ่มบริหารงานการเงนิ กลุ่มนโยบาย กลุ่มบรหิ ารงาน
และประเมนิ ผล และสินทรพั ย์ และแผน บุคคล
การจัดการศกึ ษา

หน่วย กลมุ่ พัฒนาครู กล่มุ สง่ เสริม กลมุ่ อำนวยการ กลุ่มสง่ เสรมิ การศึกษา กลมุ่
ตรวจสอบ และบคุ ลากร การจดั การ ทางไกลเทคโนโลยี กฎหมาย
ภายใน ทางการศึกษา สารสนเทศและการ
ศึกษา สื่อสาร และคดี

สถานศึกษา คณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 7

ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ได้ดำเนินงานโครงการตามนโยบาย

เป้าประสงค์ ตัวช้ีวัด ของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และบริบท
ของสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาและสถานศกึ ษาในสังกดั ปรากฏผลดงั นี้

ด้านคณุ ภาพการจดั การศึกษา

1. ผลการประเมินระดับชาติ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ของนักเรยี นระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีรายละเอยี ดดังนี้

ตารางท่ี 7 เปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน
(O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561 กับปีการศกึ ษา 2562

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คา่ เฉลย่ี ปี 2561 คา่ เฉลย่ี ปี 2562 + เพ่มิ - ลด
ภาษาไทย 55.72 48.16 -7.56
คณติ ศาสตร์ 34.45 30.42 -4.03
วิทยาศาสตร์ 38.85 33.50 -5.35
ภาษาองั กฤษ 36.21 29.45 -6.76

เฉลยี่ 41.31 35.38 -5.93

จากตารางท่ี 7 ปกี ารศึกษา 2562 มคี ่าเฉล่ยี ร้อยละ ลดลงจากปกี ารศกึ ษา 2561
ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้

แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2561 กับปีการศึกษา 2562

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา 8

ตารางที่ 8 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน

(O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 เปรียบเทยี บกับระดับสังกดั และ
ระดับประเทศ

กลุ่มสาระ ระดบั เขต ระดับสงั กัด ระดบั ประเทศ ผลต่าง ผลตา่ ง
การเรยี นรู้ พื้นท่ี ระดับสงั กัด ระดบั ประเทศ

ภาษาไทย 48.16 47.95 49.07 0.21 -0.91
คณติ ศาสตร์ 30.42 31.60 32.90 -1.18 -2.48
วิทยาศาสตร์ 33.50 34.30 35.55 -0.80 -2.05
ภาษาองั กฤษ 29.45 30.86 34.42 -1.41 -4.97
35.38 36.18 37.99 -0.80 -2.60
เฉล่ีย

จากตารางท่ี 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่มี ีคะแนนเฉลีย่ มากกว่าระดบั สงั กดั จำนวน 1 กลุม่ สาระการ

เรียนรู้ คือกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) มคี ะแนนเฉล่ียตำ่ กวา่ ระดบั สังกัด
และทุกกลุ่มสาระการเรียนรูม้ ีคะแนนเฉล่ยี ต่ำกว่าระดบั ประเทศ

50 48.16 47.9549.07

45

40 30.4321.6032.90 33.5034.3305.55 34.42
35 29.4350.86
30 ระดบั เขตฯ
ระดบั สังกัด
25 ระดบั ประเทศ

20

15

10

5

0

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

แผนภูมิท่ี 2 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2562 กับคา่ เฉลย่ี ระดบั สงั กัด และระดบั ประเทศ

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา 9

ตารางที่ 9 เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน
(O-NET) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2561 กับปีการศึกษา 2562

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คา่ เฉล่ยี ปี ๒๕61 คา่ เฉล่ยี ปี ๒๕62 + เพ่ิม
- ลด
ภาษาไทย 51.93 52.89 0.96
คณิตศาสตร์ 25.77 22.26 -3.51
วทิ ยาศาสตร์ 33.78 28.93 -4.85
ภาษาอังกฤษ 25.97 28.97 3.00
34.36 33.26 -1.10
รวมเฉลย่ี

จากตารางท่ี 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉล่ียเพิ่มข้ึนจากปีการศึกษา 2561 จำนวน 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

(ภาษาอังกฤษ) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ย
รอ้ ยละลดลงจากปีการศึกษา 2561

แผนภูมิท่ี 3 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ช้ันมัธยมศึกษา ปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2561 กบั ปีการศึกษา 2562

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 10

ตารางที่ 10 เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน

(O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 เปรียบเทียบกับระดับสังกัด
และระดับประเทศ

กลุ่มสาระ ระดบั เขต ระดบั สังกัด ระดับประเทศ ผลตา่ งระดบั ผลต่าง
การเรียนรู้ พนื้ ท่ี สังกัด ระดับประเทศ
ภาษาไทย 52.89 55.91 55.14 -3.02
คณิตศาสตร์ 22.26 26.98 26.73 -4.72 -2.25
วทิ ยาศาสตร์ 28.93 30.22 30.07 -1.29 -4.47
ภาษาอังกฤษ 28.97 32.98 33.25 -4.01 -1.14
33.26 36.52 36.30 -3.26 -4.28
เฉลย่ี -3.04

จากตารางที่ 10 ระดับเขตพ้ืนที่ มีคะแนนเฉล่ียต่ำกว่าระดับสังกัด และระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้

60 55.91 55.14
52.89

50

40 32.98 33.25
28.97
30 31.60 32.90 33.5034.3030.07 ระดบั เขตฯ
ระดบั สังกดั
22.26 ระดับประเทศ

20

10

0

แผนภูมิท่ี 4 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 กบั ค่าเฉลย่ี ระดับสังกดั และระดับประเทศ

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา 11

2. ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียน ระดับชาติ (National Test : NT)

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562
ตารางที่ 11 เปรยี บเทียบผลค่าเฉลี่ยร้อยละ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผ้เู รยี น
ระดับชาติ (National Test : NT) ปีการศกึ ษา 2561 กบั ปกี ารศึกษา 2562

ด้าน คะแนนร้อยละจำแนกตามปกี ารศกึ ษา

ด้านภาษา/ภาษาไทย 2561 2562 + เพิ่ม - ลด
ดา้ นคำนวณ/คณิตศาสตร์
ดา้ นเหตผุ ล 51.18 43.93 - 7.25
รวมความสามารถทั้ง 2 ดา้ น
44.27 40.30 - 3.97

46.77 - -

47.41 42.11 - 5.62

จากตารางที่ 11 คะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา
2561 ท้งั 2 ด้าน คือ ดา้ นภาษา ด้านคำนวณ

60 51.18 ปีการศึกษา 2561
50 43.93 44.2740.30 ปีการศกึ ษา 2562
40

30

20

10

0
ด้านภาษา ด้านคานวณ

แผนภูมิท่ี 5 เปรยี บเทียบผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National
Test : NT) ปกี ารศึกษา 2561 กับปีการศึกษา 2562

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพืน้ ที่การศึกษา 12

ตารางท่ี 12 เปรียบเทยี บค่าเฉล่ยี ร้อยละ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผ้เู รยี น

ระดับชาติ (National Test : NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2562
ระดับเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา กับระดบั จังหวัด ระดบั ภาค ระดับสังกดั และ
ระดับประเทศ

ความสามารถ เขต จังหวดั ผลตา่ ง ภาค ผลตา่ ง สังกดั ผลต่าง ประเทศ ผลตา่ ง

พ้ืนท่ี เขต- เขต- เขต- เขต-

จังหวดั ภาค สงั กดั ประเทศ

ดา้ นภาษา/ 3.93 7.54 3.61 9.15 5.22 6.00 2.07 6.46 -2.53

ภาษาไทย

ดา้ นคำนวณ/ 0.30 4.83 4.53 7.54 7.24 5.64 5.34 44.94 -4.64

คณิตศาสตร์

ด้านเหตุผล - - - - - - - - -

รวมเฉลี่ย 2.11 6.13 -4.07 8.35 6.23 5.82 3.71 45.70 -3.59

จากตาราง 12 พบว่าค่าเฉลี่ยในการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ

(National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยต่ำ
กวา่ ระดบั จังหวัด ระดับภาค ระดับสังกดั และระดับประเทศ ทง้ั 2 ด้าน คือ ความสามารถดา้ น ภาษาไทย
และความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 13

แผนภูมิที่ 6 เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ

(National Test : NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ของเขตพื้นท่ีการศึกษา กับระดับ
จังหวดั ระดบั ภาคระดบั สงั กดั และระดบั ประเทศ

ด้านประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ

1. การติดตาม ประเมินผล การบริหารและจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสำนักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษา ตามตัวช้ีวัดแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

ผลการดำเนินงานตามระดับคณุ ภาพ

สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีผลการดำเนนิ งานตามระดับคณุ ภาพดังนี้
นโยบายท่ี 1 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ 2 ตัวชี้วัด ระดับ

คุณภาพ ดเี ยยี่ ม
นโยบายท่ี 2 ด้านการจัดการจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

ไมป่ ระเมนิ

นโยบายที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ 5 ตัวชี้วัด ระดับ
คุณภาพ ดี แต่ยังมีตัวช้ีวัดที่ 11 ระดับคุณภาพพอใช้ ตัวชี้วัดท่ี 12 ระดับคุณภาพปรับปรุง และตัวช้ีวัด

ย่อยที่ 13.1 ระดับคณุ ภาพปรบั ปรงุ
นโยบายท่ี 4 การสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและการลด

ความเหลอื่ มลำ้ ทางการศึกษา 3 ตัวชี้วดั ระดับคุณภาพ ดเี ยย่ี ม

นโยบายท่ี 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม 1 ตัวช้ีวัด
ระดับคณุ ภาพ ดีเย่ียม

นโยบายที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา 2 ตัวช้ีวัด ระดับ
คณุ ภาพ ดีมาก แตย่ งั มีตวั ชว้ี ัดท่ี 42 ระดับคณุ ภาพพอใช้

ผลการดำเนินงานเทยี บคา่ เปา้ หมายตวั ชวี้ ดั

นโยบายที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ ตัวช้ีวัดที่ 3
ผลการดำเนนิ งาน บรรลุคา่ เป้าหมาย

นโยบายท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ ตัวช้ีวัดที่ 17
ผลการดำเนนิ งาน บรรลคุ า่ เป้าหมาย

นโยบายท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ตัวชี้วัดที่ 34

ผลการดำเนินงาน บรรลคุ ่าเป้าหมาย
2. การประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำนวน 3 องคป์ ระกอบ และรายงานผลการดำเนินงาน ผ่านระบบ
รายงานผลตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (KRS : KPI Resport
System)

โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้ตรวจสอบและประเมินผลการรายงานการ
ดำเนินงานตามตัวชี้วัด ตามมาตรฐานการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปี

งบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา ตามหลักเกณฑก์ ารประเมินของ

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 14

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) ผลการประเมิน สำนักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 อยู่ในระดับมาตรฐานขั้นสูง จำแนกตามองคป์ ระกอบ
๓. การติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพ้ืนที่

การศกึ ษาตามมาตรฐานสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา พ.ศ. 2561 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

สำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ได้ดำเนินการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สรปุ ผลดงั นี้
มาตรฐานที่ 1 การบริหารและการจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ 3 ตัวบ่งช้ี 8 ประเด็น สรุป

ภาพรวมมาตรฐานที่ 1 ระดับคุณภาพ ดมี าก แตย่ งั มปี ระเดน็ พจิ ารณาท่ี 3 ระดับคุณภาพพอใช้

มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ 5 ตัวบ่งชี้ 5 ประเด็น สรุป
ภาพรวมมาตรฐานท่ี 2 ระดับคณุ ภาพ ดี แตย่ งั มปี ระเด็นพิจารณาท่ี 1 ตวั บง่ ชท้ี ่ี 5 ระดบั คณุ ภาพพอใช้

มาตรฐานท่ี 3 สัมฤทธิผลของการบริหารและการจัดการศึกษา 6 ตัวบ่งช้ี 7 ประเด็น สรุป
ภาพรวมมาตรฐานท่ี 3 ระดับคุณภาพ ดีมาก แต่ยังมีตัวบ่งช้ีที่ 1 ระดับคุณภาพปรับปรุง ตัวบ่งช้ีที่ 3
ประเด็นพจิ ารณาท่ี 2 ระดบั คุณภาพปรับปรุง และตัวบง่ ช้ที ี่ 5 ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ

คะแนนรวมของภาพรวม (3 มาตรฐาน) ระดบั คุณภาพ ดมี าก

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา 15

การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมของสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ภายนอก (SWOT ANALYSIS) ของสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยใช้ทฤษฎี 2S4M และผลการบริหารจัดการศึกษาของปีที่ผ่าน
มา เพ่ือนำมากำหนดเป็นกลยุทธ์เชงิ รุก กลยุทธเ์ ชิงแก้ไข กลยุทธ์เชงิ ปอ้ งกนั และกลยุทธ์เชงิ รับต่อไป การ

วิเคราะห์ 2S4M คือ S (Structure and policy) โครงสร้าง/นโยบาย, S (Service and products)
บริการ, M (Man) บุคลากร, M (Money) การเงิน, M (Material) วัสดุอุปกรณ์, M (Management)
การบริหารจดั การ ปรากฏผลดังน้ี

จดุ แขง็ (STRENGTH) จดุ อ่อน (WEAKNESS)

1. สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาให้ความสำคัญกบั 1. การจดั สรรงบประมาณสนับสนนุ การจัดการ

นโยบายด้านการพฒั นาครูและบคุ ลากร โดยมีแนว ศกึ ษายังไมเ่ พียงพอต่อการพฒั นา

ทางการดำเนินงานท่ีชัดเจนเปน็ รูปธรรม 2. บคุ ลากรในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาไมค่ รบ

2. มกี ารจดั สรรอตั รากำลงั ผสู้ นับสนนุ การปฏิบตั ิงาน ตามกรอบอตั รากำลัง บุคลากรทีจ่ ะขบั เคล่ือน

ในโรงเรยี นเพิม่ ขนึ้ วชิ าการของเขตพน้ื ทีม่ ไี ม่เพยี งพอ

3. ครู ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารการศกึ ษา และ 3. ทักษะกระบวนการจัดการเรยี นการสอนของครูยงั

บุคลากร พร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง กล้าคิด กล้าทำ ไมส่ ง่ เสรมิ ผเู้ รยี นให้มีทักษะในศตวรรษท่ี 21

นโยบายใหม่ๆ 4. ครูบางสว่ นไม่นำเทคโนโลยีมาใชเ้ พื่อจดั การเรียน

4. มสี ถานที่พร้อมในการพัฒนา การจดั กจิ กรรม การสอน

5. มกี ารพฒั นาระบบเทคโนโลยที ีท่ นั สมัย บุคลากร 5. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ

ดา้ นเทคโนโลยีมีความพร้อม และมปี ระสบการณ์ คะแนนเฉลีย่ ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย

6. ช่องทางการสื่อสารเพอ่ื การศึกษาและการเรยี นรู้ 6. นโยบายการบรหิ ารอตั รากำลังของข้าราชการครู

มีหลากหลาย ผู้เรยี นสามารถเข้าถงึ การบริการ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา นำไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิไดย้ าก

7. มีบุคลากรปฏบิ ตั ิหน้าท่ี เปน็ กลไกการขบั เคลอื่ น 7. การเช่ือมโยงในการใช้แผนเป็นเครอ่ื งมือในการ

นโยบายและแผนส่กู ารปฏิบัติ และประสานงานการ บรหิ ารและจัดการศึกษายังไมบ่ รรลุเปา้ หมาย

บรหิ ารการจัดการศกึ ษาแบบมีส่วนร่วม 8. การส่งเสรมิ สนบั สนนุ สร้างแรงจงู ใจใหบ้ ุคลากร

8. เครือขา่ ยมีความเขม้ แข็ง พร้อมให้ความร่วมมือ ในสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา มผี ลงานทแี่ สดง

9. โครงสรา้ งการบริหารงาน การสัง่ การของเขต ความสำเรจ็ และเปน็ แบบอยา่ งได้ ยงั ไมเ่ พยี งพอ

พนื้ ท่ีมคี วามชดั เจน 9 ระบบประกนั คณุ ภาพภายในยังไมส่ ะทอ้ นคุณภาพ

10. กระบวนการนเิ ทศเป็นระบบ ทงั้ ภายใน และ การศึกษาทแี่ ทจ้ รงิ

ภายนอก 10. ระบบและอุปกรณด์ ้านเทคโนโลยีไม่ทนั สมัย

11. เขตพื้นที่การศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียน 11. การส่งเสริม สนบั สนุน สรา้ งแรงจงู ใจให้

คณุ ภาพของชุมชน อย่างเปน็ ระบบ และตอ่ เนือ่ ง บคุ ลากรในสถานศกึ ษา มีผลงานทแี่ สดงความสำเรจ็

โรงเรยี นมีแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตามบริบท และเปน็ แบบอยา่ งได้ ยงั ไมเ่ พียงพอ

ของโรงเรียน

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 16

จุดแข็ง (STRENGTH) จุดอ่อน (WEAKNESS)

12. ผลการประเมนิ มาตรฐานสำนกั งานเขตพนื้ ที่ 12. มีโรงเรยี นขนาดเลก็ ในสังกัดคดิ เปน็ รอ้ ยละ
การศึกษาภาพรวมอย่ใู นระดับดมี าก 53.00 ส่งผลให้การบรหิ ารงานท้งั 4 ด้านไมเ่ ตม็
ประสทิ ธภิ าพ
13. โรงเรียนยงั ไม่มีการนำข้อมลู สารสนเทศ ผลการ
ดำเนนิ งานในปที ผ่ี ่านมา มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
อยา่ งจริงจงั

โอกาส (OPPORTUNITY) อุปสรรค (THREAT)

1. นโยบายรฐั บาล นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร 1. นโยบายการศึกษา มีการเปล่ยี นแปลงบ่อย ขาด

นโยบาย สพฐ. สง่ เสรมิ หนว่ ยงานภายนอกเข้ามามี ความต่อเนื่อง

ส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา ชุมชนในทอ้ งถนิ่ ให้ 2. งบประมาณมีจำนวนจำกัด ส่งผลกระทบตอ่ การ

การสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมโรงเรียน บรหิ ารจดั การของสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา

2. นโยบายสง่ เสรมิ การเช่อื มโยงเครอื ข่ายและการใช้ โรงเรยี นขาดส่อื อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน

เทคโนโลยีดิจิทัล เพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ าร 4. โรงเรยี นมภี าระงานท่ีซำ้ ซ้อน จากหน่วยงาน

จัดการการบรกิ าร และการเรียนรู้ ภายนอก เชน่ จงั หวดั สาธารณสุข พฒั นาชมุ ชน

3. นโยบายพัฒนาทกั ษะผู้เรยี นท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 5. ผู้ปกครอง ไม่มเี วลาดแู ล อบรมบุตรหลาน ทำให้

21 ขาดภูมคิ ุ้มกนั ท่ีดี ส่งผลต่อนกั เรียนในทกุ ดา้ น

4. โรงเรียนตัง้ อยใู่ กล้แหล่งวทิ ยากรท่มี ีความรู้ 6. เทคโนโลยีดา้ นการสือ่ สารท่เี ปลย่ี นแปลงอย่าง

ความสามารถ รวดเรว็ มผี ลกระทบตอ่ การปลกู ฝงั และเสริมสรา้ ง

5. โรงเรยี นในสังกัดสว่ นใหญ่อยู่ในพน้ื ทเี่ ศรษฐกิจดี คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

6. โรงเรยี นได้รบั การสนับสนนุ จากองค์กร เครอื ข่าย 7. การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา

ความรว่ มมือ เขา้ มารว่ มจัด สง่ เสรมิ สนบั สนุน 2019 (COVID-2019) และโรคอบุ ัตใิ หม่อืน่ ๆ

การศึกษา เป็นปญั หาต่อการจดั การเรยี นการสอนและการ

7. ผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรียนการสอน บริหารจัดการของโรงเรียน

มากย่งิ ขึน้

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา 17

ตอนที่ ๒

การวิเคราะห์นโยบาย
สภาพแวดลอ้ มขององคก์ ร

ในการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มขององค์กร ข้าพเจ้าได้ศกึ ษาวเิ คราะห์ทศิ ทางการพัฒนา โดยน้อม

นำศาสตร์พระราชา พระบรมราโชบายการศึกษาในรัชการท่ี ๑๐ ระเบียบ กฎหมาย แผนปฏิบัติการ
นโยบายท่เี กี่ยวขอ้ งดังนี้

ศาสตร์พระราชา

คนไทยทุกหมู่เหล่า องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา คือ การศึกษาและสุขภาพ การเพิ่มผลิต
ภาพการผลิต การค้นคว้าวิจัยการบริหารความเสยี่ ง การอนุรักษ์ธรรมชาติ และปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

แตล่ ะองคป์ ระกอบล้วนมสี ว่ นชว่ ยยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของทุกผูท้ ุกคน โดยเฉพาะ คนจนผู้ยากไร้
หลกั การทำงาน ตามศาสตรพ์ ระราชา
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เป็นวิธีการแห่งศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน ที่พระบาทสมเด็จ

พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงใชเ้ ป็นวธิ ีการทรงงานมาตลอดรัชสมยั
ศาสตร์พระราชา มีนัยยะกว้างขวางมาก ศาสตร์แปลว่า ความรู้ท่ีเป็นระบบ เช่ือถือได้ ผ่านการ

พิสูจน์มาแล้ว ความรู้ของพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นี้ มีทั้งด้านที่เป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มีทั้ง
วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ มีทั้งสังคมศาสตร์ มที ง้ั มานษุ ยวิทยา มนุษยศาสตร์ คอื มีทุกมิติ ถา้ เราติดตาม/ดงู าน
ท่ีพระองค์ท่านทรงงานมามากว่า 70 ปี พระองค์ทรงทำเป็นตัวอย่างมาให้ดู ทั้งหมด 1,500 กว่าแห่ง

มีทุกศาสตร์ มีท้ังจริยธรรมศาสตร์ ศาสนา มที ุกมิติ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นศาสตร์ว่าด้วยการพัฒนามนุษย์ท่ีสำเร็จที่สุดในโลก มีศาสตร์ว่า

ด้วยการเกษตร ศาสตร์ว่าด้วยเร่ืองดิน ศาสตร์เรื่องน้ำ เรื่องดินพระองคท์ ่านทรงมีความเชี่ยวชาญ จนท่ัว
โลกยกย่อง ให้วันเกิดพระองค์ท่าน คือวนั ที่ 5 ธันวาคม เป็น “วันดินโลก” หรือแม้แต่น้ำ ศาสตร์ว่าด้วย
เร่ืองน้ำ“ฝนหลวง” ที่ทรงศึกษาวิจัยในการให้เมฆรวมตัวกันเป็นก้อนโต แล้วทำให้เป็นฝนตกลงมาได้

พระองค์ทรงทำสำเร็จจนได้รางวัล การสร้างเขื่อน ฝายชะลอน้ำ ศาสตร์เร่ืองป่าไม้ ท่ีเป็น “พื้นท่ีต้นน้ำ”
ช่วยสร้างความชุ่มช่ืน ศาสตร์เรื่องการจัดการดิน การป้องกันชะล้างหน้าดิน เก็บความสมบูรณ์ของดิน

บนเขา บนพื้นที่ลาดชันด้วย “หญ้าแฝก ที่เปรียบเสมือนกำแพงท่ีมีชีวิต” พระองค์เข้าใจเรื่องการใช้หญ้า
แฝก อย่างลึกซึ้ง ในการป้องกันความเส่ือมโทรมของดิน เก็บน้ำและความอุดมสมบูรณ์ ให้คงอยตู่ ลอดไป
แมแ้ ตน่ ้ำทไ่ี หลบ่าท่วมบ้านเรือน ทรงคดิ วิธีกกั เก็บด้วยโครงการ “แก้มลิง” การบำบัดน้ำเสยี ด้วยเครื่องกล

เติมอากาศ “กังหันชัยพัฒนา” ทรงทำงานวิจัยท้ังในวังและในไร่นาเกษตรกร ทรงคิดค้น “ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง” และ“เกษตรทฤษฎีใหม่” ท่ีมีการปรับใช้ท้ังในพื้นท่รี าบลุ่มและบนพนื้ ที่สงู ชัน บางคน

ก็เรียก ศาสตร์พระราชาศาสตร์ วา่ เป็นศาสตร์แห่งการพัฒนา ท่ีย่ิงใหญ่ ทรงให้ความสำคัญกับทุกปัญหา
ทกุ ความทกุ ขข์ องพสกนิกร จนเกิดศาสตรพ์ ระราชามากกว่า 4,500 กรณศี กึ ษา

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา 18

พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาในหลวงรชั กาลที่ 10

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพื้นที่การศกึ ษา 19

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี พ.ศ.2561 - พ.ศ.2580 แผนแมบ่ ท

ภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนปฏิรปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่สี บิ สอง พ.ศ.2560
- 2564 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคง
แห่งชาติ (พ.ศ. 2562-2565) นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) แผนปฏิบตั ิราชการระยะ

3 ปี (พ.ศ. 2563-2565) ของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2564 ความ
สอดคล้องกับแผน 3 ระดับ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.

2564-2565 จากการศึกษาวิเคราะห์เอกสารข้างต้นประกอบกับการศึกษาวิเคราะห์การดำเนินงาน
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ข้าพเจ้าได้ร่วมวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษา ราชบุรี เขต ๒ ปรากฏผลดังน้ี

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ภายนอก (SWOT ANALYSIS) ของสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยใช้ทฤษฎี 2S4M และผลการบริหารจัดการศึกษาของปีที่ผ่าน

มา เพือ่ นำมากำหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรุก กลยทุ ธเ์ ชิงแกไ้ ข กลยุทธ์เชิงปอ้ งกนั และกลยทุ ธ์เชงิ รับต่อไป การ
วิเคราะห์ 2S4M คือ S (Structure and policy) โครงสร้าง/นโยบาย, S (Service and products)
บริการ, M (Man) บุคลากร, M (Money) การเงิน, M (Material) วัสดุอุปกรณ์, M (Management)

การบรหิ ารจดั การ ปรากฏผลดังนี้

จุดแขง็ (STRENGTH) จดุ อ่อน (WEAKNESS)

1. สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาให้ความสำคญั กับ 1. การจัดสรรงบประมาณสนบั สนุน การจัดการ

นโยบายดา้ นการพัฒนาครแู ละบคุ ลากร โดยมีแนว ศกึ ษายงั ไม่เพียงพอต่อการพฒั นา

ทางการดำเนินงานทีช่ ัดเจนเปน็ รูปธรรม 2. บคุ ลากรในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไม่ครบ

2. มกี ารจดั สรรอัตรากำลงั ผู้สนับสนนุ การปฏิบัติงาน ตามกรอบอตั รากำลัง บุคลากรทจ่ี ะขับเคลอ่ื น

ในโรงเรียนเพิ่มขนึ้ วชิ าการของเขตพื้นทมี่ ีไมเ่ พียงพอ

3. ครู ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ผู้บรหิ ารการศึกษา และ 3. ทกั ษะกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครยู งั

บคุ ลากร พรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลง กล้าคดิ กลา้ ทำ ไมส่ ่งเสรมิ ผูเ้ รยี นให้มีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21

นโยบายใหม่ๆ 4. ครบู างส่วนไม่นำเทคโนโลยีมาใช้เพือ่ จัดการเรยี น

4. มีสถานทีพ่ ร้อมในการพฒั นา การจัดกิจกรรม การสอน

5. มกี ารพัฒนาระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัย บคุ ลากร 5. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ

ด้านเทคโนโลยมี ีความพรอ้ ม และมีประสบการณ์ คะแนนเฉลยี่ ไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย

6. ช่องทางการสอ่ื สารเพอ่ื การศกึ ษาและการเรียนรู้ 6. นโยบายการบรหิ ารอตั รากำลงั ของขา้ ราชการครู

มีหลากหลาย ผู้เรียนสามารถเขา้ ถึงการบริการ และบคุ ลากรทางการศึกษา นำไปส่กู ารปฏิบัติไดย้ าก

7. มีบุคลากรปฏิบัตหิ น้าที่ เปน็ กลไกการขบั เคล่อื น 7. การเชื่อมโยงในการใช้แผนเป็นเคร่ืองมอื ในการ

นโยบายและแผนสูก่ ารปฏิบัติ และประสานงานการ บริหารและจดั การศกึ ษายังไมบ่ รรลุเป้าหมาย

บริหารการจดั การศกึ ษาแบบมสี ่วนร่วม 8. การส่งเสรมิ สนับสนุน สร้างแรงจูงใจให้บุคลากร

8. เครอื ข่ายมีความเขม้ แขง็ พรอ้ มให้ความรว่ มมือ ในสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา มผี ลงานท่ีแสดง

9. โครงสรา้ งการบริหารงาน การส่ังการของเขต ความสำเรจ็ และเปน็ แบบอยา่ งได้ ยังไมเ่ พยี งพอ

พ้ืนท่ีมีความชัดเจน

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 20

จุดแข็ง (STRENGTH) จดุ อ่อน (WEAKNESS)

10. กระบวนการนเิ ทศเปน็ ระบบ ทั้งภายใน และ 9 ระบบประกนั คุณภาพภายในยงั ไมส่ ะท้อนคุณภาพ

ภายนอก การศึกษาท่ีแท้จรงิ

11. เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามแี ผนบริหารจดั การโรงเรยี น 10. ระบบและอปุ กรณด์ ้านเทคโนโลยีไมท่ ันสมัย

คุณภาพของชุมชน อย่างเป็นระบบ และตอ่ เนือ่ ง 11. การส่งเสรมิ สนบั สนุน สร้างแรงจงู ใจให้

โรงเรียนมีแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตามบริบท บุคลากรในสถานศึกษา มผี ลงานท่ีแสดงความสำเร็จ

ของโรงเรียน และเปน็ แบบอย่างได้ ยังไม่เพียงพอ

12. ผลการประเมนิ มาตรฐานสำนกั งานเขตพน้ื ท่ี 12. มโี รงเรยี นขนาดเล็กในสงั กัดคดิ เป็นร้อยละ

การศึกษาภาพรวมอยู่ในระดบั ดมี าก 53.00 ส่งผลใหก้ ารบรหิ ารงานท้ัง 4 ด้านไมเ่ ต็ม

ประสิทธิภาพ

13. โรงเรียนยงั ไม่มีการนำข้อมูลสารสนเทศ ผลการ

ดำเนินงานในปที ผ่ี ่านมา มาใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพ

อย่างจรงิ จัง

โอกาส (OPPORTUNITY) อุปสรรค (THREAT)

1. นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. นโยบายการศึกษา มกี ารเปลย่ี นแปลงบอ่ ย ขาด

นโยบาย สพฐ. ส่งเสริมหน่วยงานภายนอกเข้ามามี ความต่อเนอ่ื ง

สว่ นร่วมในการพฒั นาการศกึ ษา ชมุ ชนในท้องถิน่ ให้ 2. งบประมาณมจี ำนวนจำกดั สง่ ผลกระทบตอ่ การ

การสนับสนุนและสง่ เสรมิ กิจกรรมโรงเรยี น บรหิ ารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

2. นโยบายส่งเสริมการเชือ่ มโยงเครือข่ายและการใช้ โรงเรยี นขาดส่ือ อปุ กรณ์การเรียนการสอน

เทคโนโลยีดิจทิ ัล เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหาร 4. โรงเรียนมภี าระงานที่ซ้ำซ้อน จากหน่วยงาน

จดั การการบริการ และการเรียนรู้ ภายนอก เช่น จังหวดั สาธารณสุข พฒั นาชมุ ชน

3. นโยบายพัฒนาทักษะผเู้ รียนท่จี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 5. ผู้ปกครอง ไมม่ เี วลาดแู ล อบรมบุตรหลาน ทำให้

21 ขาดภูมคิ มุ้ กนั ทดี่ ี สง่ ผลต่อนักเรียนในทกุ ด้าน

4. โรงเรยี นตงั้ อยใู่ กล้แหลง่ วิทยากรท่ีมคี วามรู้ 6. เทคโนโลยีดา้ นการสื่อสารทเี่ ปล่ียนแปลงอยา่ ง

ความสามารถ รวดเร็วมีผลกระทบตอ่ การปลูกฝงั และเสรมิ สร้าง

5. โรงเรียนในสังกัดส่วนใหญอ่ ยใู่ นพนื้ ท่ีเศรษฐกจิ ดี คุณธรรมจริยธรรม

6. โรงเรยี นได้รับการสนับสนุนจากองค์กร เครือขา่ ย 7. การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา

ความร่วมมอื เขา้ มารว่ มจัด ส่งเสรมิ สนับสนนุ 2019 (COVID-2019) และโรคอบุ ตั ใิ หมอ่ ่นื ๆ

การศกึ ษา เปน็ ปญั หาตอ่ การจัดการเรียนการสอนและการ

7. ผูป้ กครองมสี ว่ นร่วมในการจดั การเรยี นการสอน บรหิ ารจัดการของโรงเรยี น

มากยิง่ ขึ้น

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา 21

ตอนท่ี 3

วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์
เปา้ หมาย หลักการบริหารการศกึ ษา

จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒
ได้รว่ มกนั กำหนดนโยบายสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจำปีงบประมาณ
๒๕๖๔ ดังน้ี

นโยบายสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ได้กำหนดทิศทางการพัฒนาการศึกษา
ข้ันพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากผลการวิเคราะห์สถานภาพของเขตพน้ื ที่การศึกษา ดังน้ี

วสิ ัยทัศน์

ภายในปี ๒๕๖5 สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ เปน็ องค์กรช้ันนำ ชีวิต
วถิ ใี หม่ ก้าวข้ามกบั ดักคณุ ภาพการศึกษา พัฒนาทุกมิติ ด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี ภายใต้ศาสตร์พระราชา
สร้างศรัทธาด้วยหลักธรรมาภบิ าล เพ่ือใหผ้ เู้ รียน เปน็ คนดี เกง่ มคี ุณภาพ มที ักษะชีวติ ในศตวรรษที่ ๒๑

อัตลกั ษณ์

จัดการศึกษาได้มาตรฐานมุ่งบริการดว้ ยหัวใจ

พันธกิจ

๑. จัดการศกึ ษาปฐมวยั และการศึกษาภาคบังคบั เพ่อื วางรากฐานความมนั่ คง เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ
๒. เสรมิ สรา้ งและพัฒนาผเู้ รยี นเตม็ ตามศกั ยภาพให้มที กั ษะสูง
๓. พัฒนาผเู้ รยี นทุกมิติให้มสี มรรถนะตามหลักสูตรและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
๔. สรา้ งความเทา่ เทยี มดา้ นโอกาส ลดความเลือ่ มลำ้ ทางการศกึ ษา ผู้เรียนได้รับบริการทว่ั ถงึ
๕ จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม ด้วยชีวิตวิถีใหม่(New Normal)
๖. พัฒนาครู ผู้บริหาร และบคุ ลากรทางการศกึ ษา หลุดพ้นกับดักคุณภาพการศกึ ษา ด้วยมิตใิ หม่
๗. พฒั นาระบบบริหารโดยยึดหลักธรรมาภิบาลและศาสตรพ์ ระราชา ดว้ ยนวัตกรรม เทคโนโลยดี ิจิทัล

เปา้ ประสงค์

๑. ผู้เรยี นปฐมวัยทกุ คน มีพัฒนาการทกุ ดา้ นเหมาะสมกับวยั มที ศั นคติทถี่ กู ต้องและเรียนรู้อยา่ งมี
ความสขุ

๒. ผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับทุกคน มีคุณภาพมาตรฐานตามหลักสูตร และทักษะผู้เรียน
ในศตวรรษท่ี ๒๑ มีพ้ืนฐานของคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยวิถีใหม่ (New Normal)
รกั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม น้อมนำศาสตรพ์ ระราชา “เป็นหลักในการดำเนนิ ชวี ิต” เรียนรู้เต็มตามศกั ยภาพ

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา 22

๓. ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มีคุณภาพ และ

ประสิทธิภาพหลุดพ้นกับดักคุณภาพการศึกษา มีทักษะวิชาชีพขั้นสูงมีความเช่ียวชาญสู่ความเป็นเลิศ
๔. ผู้เรียนทุกคนไดร้ บั โอกาสในการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพ ทว่ั ถึง เท่าเทียม และลดความเหลอื่ มล้ำทาง

การศึกษา

๕. สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา สถานศึกษาในสังกัด มีหลักธรรมาภิบาล นวัตกรรม วจิ ัย โดยใช้
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ ขบั เคล่ือนคณุ ภาพการศกึ ษา กา้ วพ้นกับดกั สู่ความเปน็ เลศิ

นโยบาย

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ มนี โยบายในการดำเนนิ งาน 6 ด้าน ดังนี้

นโยบายดา้ นที่ ๑ การจดั การศกึ ษาเพ่ือความม่ันคง

กลยุทธ์
1. ส่งเสริมความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
2. น้อมนำศาสตร์พระราชา และพระบรมราโชบายด้านการศึกษา มาใช้ในการจัดกระบวนการ

เรียนรอู้ ย่างยัง่ ยนื

๓. ส่งเสรมิ ผเู้ รียนใหม้ ีความพรอ้ ม รจู้ ักป้องกนั ตนเอง และสามารถรบั มอื กับภยั คกุ คามทกุ รปู แบบ
เปา้ ประสงค์

๑. ผเู้ รียนทุกคนมคี วามรกั ในสถาบันหลักของชาติ และยึดมนั่ การปกครองระบบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง เป็นพลเมืองดีของชาติ และเป็น
พลเมืองโลกท่ดี ี (Global Citizen)

๒. ผ้เู รียนทุกคนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสังคม
และผู้อน่ื

๓. ผู้เรยี นทุกคนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และมคี วามพร้อมสามารถรบั มือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบท่ี
มีผลกระทบต่อความม่ันคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
อาชญากรรม ไซเบอร์และภัยพบิ ตั ิตา่ ง ๆ เป็นต้น

ตวั ช้ีวัด
๑. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ มที ัศนคตทิ ่ีถูกต้องต่อบ้านเมอื ง เป็นพลเมืองดีของชาติ และเป็นพลเมือง
โลกท่ดี ี (Global Citizen) ร้อยละ ๑๐๐

๒. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและ

ผู้อื่น ระดับดีขนึ้ ไป เพิ่มข้นึ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 3
๓. ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อม สามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบท่ีมี

ผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์ สิน
อาชญากรรมไซเบอร์และภยั พิบัตติ ่างๆ รอ้ ยละ ๑๐๐

4. ค่าเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐานในวิชาหลัก (O-NET) เพิ่มข้ึน

รอ้ ยละ 3

แผนพัฒนาการบริหารจดั การเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา 23

แนวทางการดำเนินการ

๑. ผู้เรียนทุกคนมคี วามรักในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง เป็นพลเมืองดีของชาติ และเป็น
พลเมืองโลกทด่ี ี (Global Citizen)

๑.๑ ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม และประเมินสถานศึกษาในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน โดยนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี

ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ ัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการ
จดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามท่ีกำหนด

๑.๒ จัดบรรยากาศสิง่ แวดล้อม และจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้ผ้เู รยี นแสดงออกถงึ ความรัก

ในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มที ัศนคตทิ ดี่ ตี ่อบา้ นเมอื ง มีหลักคิดท่ถี ูกตอ้ ง เปน็ พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี

๒. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน
จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยม ท่ีพึง
ประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและ

ประเทศชาตซิ อื่ สตั ย์ สจุ ริต มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ัย และรกั ษาศลี ธรรม
๓. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบท่ีมี

ผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวติ และทรพั ย์สินอาชญากรรม
ไซเบอร์และภยั พิบัตติ ่าง ๆ เป็นตน้

๓.๑ ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม และประเมินสถานศึกษาในการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับภัยคุกคามที่มีผลกระทบต่อความม่ันคง ภัยจากยาเสพติด
ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติและภาวะ

ฉุกเฉิน และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ตลอดจนรู้จักวิธีการป้องกัน และแก้ไขหากได้รับผลกระทบจากภัย
ดังกลา่ ว

๓.๒ มมี าตรการและแนวทางการปอ้ งกนั ยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน

๓.๓ จดั สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาให้มีความมั่นคงปลอดภยั
๓.๔ มีระบบการดูแล ติดตาม และช่วยเหลือผู้เรียน ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้รับ

คำปรกึ ษาชแ้ี นะและความชว่ ยเหลืออยา่ งทนั การณ์ ทันเวลา
๓.๕ ยกย่อง เชิดชูเกยี รติสถานศึกษาที่สามารถดำเนินการ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และ

เกดิ ประสทิ ธผิ ล

นโยบายด้านที่ ๒ ยกระดับคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และขีดความสามารถในการแขง่ ขัน

กลยทุ ธ์
๑. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนระดับปฐมวัย และการศึกษาภาคบังคับ มีทกั ษะในการดำรงชวี ิต มีความรู้
ความสามารถในการปฏิบัติงานเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ

๒. ส่งเสริมการวิจัยและพฒั นาเพือ่ สร้างองค์ความรแู้ ละนวตั กรรม
๓. ส่งเสรมิ ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาให้เขม้ แข็ง

๔. สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพอื่ การศกึ ษา

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา 24

๕. ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนได้รับโอกาสเขา้ สูเ่ วทีการแข่งขนั ทุกระดับ

6. ปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรูส้ ู่ความเปน็ เลศิ
เป้าประสงค์
๑. ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพ ในแต่ละช่วงวัยอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่

จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะส่ือสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
๒. ใชก้ ระบวนการวจิ ัยและพัฒนาเพอื่ สร้างองคค์ วามรู้และนวัตกรรม

๓. พัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน เพอ่ื รองรบั การประเมินภายนอก
๔. ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ การจดั การศกึ ษา
๕. ผู้เรียนไดร้ ับการสนับสนุนใหม้ โี อกาสเขา้ สู่เวทีการแข่งขนั ทกุ ระดับ

6. ปรับปรุงหลักสูตรสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ม่งุ สง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรสู้ คู่ วามเป็นเลศิ
ตัวช้ีวัด

๑. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จำเป็นใน
ศตวรรษที่ ๒๑ รอ้ ยละ 80

๒. ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านวชิ าการ มีทักษะส่ือสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ มีนิสัยรกั การ

เรยี นรู้และการพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต และมีทักษะอาชีพตามความต้องการและความถนัด
ร้อยละ ๘๐

๓ . สถานศึกษาใชก้ ระบวนการวิจัยและพัฒนาเพอ่ื สร้างองคค์ วามรูแ้ ละนวัตกรรม ร้อยละ 80
๔ . สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพ่ือรองรับการประเมินภายนอก
รอ้ ยละ 80

๕. ใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื การจดั การศกึ ษา รอ้ ยละ ๑๐๐
๖. ผู้เรยี นได้รับการสนับสนุนใหม้ โี อกาสเข้าสู่เวทีการแขง่ ขนั ทุกระดบั รอ้ ยละ ๑๐๐

7. นกั เรยี นทผ่ี า่ นการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรระดบั ดีขนึ้ ไป ร้อยละ 80
8. จำนวนสถานศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาความสามารถด้านวิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ เพ่ิมขนึ้ 80

9. สถานศึกษาท่ีสอนในระดับ ม.ต้น ที่ได้รับการเตรียมความพร้อม ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์
และวทิ ยาศาสตร์ ในการประเมนิ ระดบั นานาชาติตามโครงการ PISA รอ้ ยละ 80

10. สถานศกึ ษาทจ่ี ัดการเรยี นการสอนทส่ี ร้างสมดุลทกุ ดา้ นและมกี ารจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาพหุ
ปัญญารายบคุ คล รอ้ ยละ –

11. นกั เรียนท่ไี ด้รบั การคัดกรองเพอ่ื พัฒนาพหุปญั ญารายบุคคลเพ่มิ ขึ้น ร้อยละ –

12. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ สมรรถนะ หรือทักษะอาชีพในด้านต่าง ๆ เพ่ือการ
ประกอบอาชพี การดำรงชีวติ อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสอดคล้อง ตามสภาพความต้องการ และบรบิ ทของ

แตล่ ะพ้นื ท่ี ตลอดจนความทา้ ทายที่เป็นพลวัตรของโลกในศตวรรษที่ 21 ร้อยละ 80
แนวทางการดำเนนิ งาน
๑ . ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างมีคุณภาพ มีทักษะท่ี

จำเปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ มคี วามเป็นเลศิ ทางด้านวชิ าการ มที กั ษะสื่อสารภาษาไทย ภาษาองั กฤษ มีนิสัยรัก
การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต และมีทกั ษะอาชีพตามความต้องการและความถนัด

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา 25

๑.๑ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดการศึกษาพัฒนาผูเ้ รียน ให้มพี ัฒนาการทีส่ มวัย

ในทกุ ด้านทั้งทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา ใหม้ ีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๑.๒ จัดทำเครือ่ งมือประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย และ

ประเมนิ ผลตามมาตรฐาน และตัวช้ีวดั ตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

๑.๓ ส่งเสริมสนับสนุน ให้สถานศึกษา ดำเนินการวัดแววความถนัดทางการเรียนของ
นกั เรียน จัดกิจกรรมแนะแนวให้ผู้เรียนค้นหาตนเอง นำไปสู่การพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีความพร้อมทจ่ี ะพัฒนา

ต่อยอดไปสคู่ วามเป็นเลิศด้านทักษะอาชพี ที่ตรงตามความตอ้ งการและความถนัดของผ้เู รยี น
๑.๔ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดทำแผนงานโครงการและกจิ กรรม เพิ่มศักยภาพ

ผู้เรยี นตามความถนดั ความสนใจ และความต้องการพัฒนา ทั้งด้านวชิ าการ ด้านอาชีพ และกิจกรรมเสริม

หลกั สตู ร ต้ังแตร่ ะดับสถานศึกษา เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา จังหวัด ภมู ภิ าค และระดับประเทศ
๑.๕ พัฒนาผู้เรียนทุกระดับให้มีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ใน

ศตวรรษที่ ๒๑ (3R8C)
๑.๖ พัฒนาผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ให้มีคะแนนผลการทดสอบความสามารถ

พืน้ ฐานระดบั ชาติ (NT) ผ่านเกณฑ์ทกี่ ำหนด

๑.๗ พัฒนาผู้เรียน ให้มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน
(O-NET) เพิม่ ขนึ้ จากปกี ารศกึ ษาทผ่ี า่ นมา

๑.๘ ส่งเสริมผู้เรียนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ให้มี
ทกั ษะการเรียนรู้ทเี่ ชื่อมโยงสูอ่ าชีพและการมีงานทำ ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง

๑.๙ จัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนใหม้ ที ักษะพน้ื ฐานในการดำรงชีวิต สามารถดำรงชวี ิตอย่ใู น

สังคมได้อย่างมีความสุข มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ภายใต้สังคมที่
เปน็ พหุวฒั นธรรม

๑.๑๐ พัฒนาผู้เรียน ให้มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี
สามารถดำรงชีวิตอย่างมคี วามสุขทั้งดา้ นร่างกายและจิตใจ

๒. สถานศกึ ษาใช้กระบวนการวจิ ยั และพฒั นาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม

๒.๑ สถานศึกษาใช้กระบวนการวิจยั และพัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือการ
เรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสม

๒.๒ พัฒนาครูให้มีทักษะการสอน สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมโดยใช้ชุมชนแห่งการ
เรยี นรู้

๓. สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และพร้อมรับการประเมินคุณภาพ

ภายนอก
- ส่งเสริม กำกับ ติดตาม ให้สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และ

พรอ้ มรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก
๔. สถานศกึ ษาใช้ เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ การจัดการศึกษา
๔.๑ ส่งเสรมิ สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียน

เรยี นรดู้ ว้ ยตนเองผ่านการเรยี นรผู้ า่ นระบบดิจทิ ลั ผา่ นสอ่ื Digital Platform

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพ้นื ที่การศึกษา 26

๔.๒ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการเรียนรู้
ผา่ นระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform)

๕. ผูเ้ รียนได้รับการสนบั สนุนให้มีโอกาสเข้าส่เู วทีการแข่งขนั ทุกระดับ
๕.๑ พัฒนาขีดความสามารถของผู้เรียนตามศักยภาพ และความถนัดโดยจัดการเรียนรู้

ผา่ นกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) เช่น การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ ๕ ขั้นตอนหรือ
บันได ๕ ข้ัน (Independent Study : IS) การเรียนรู้เชิงบูรณาการแบบสหวิทยาการ เช่น สะเต็มศึกษา
(Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) แ ล ะ
วิทยาการคำนวณ (Coding) โดยส่งเสริมใหค้ รูจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนเรยี นรู้ด้วย
ตนเองผา่ นระบบดิจทิ ัล (Digital Learning Platform)

๕.๒ ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา ให้มุ่งเน้นการจดั การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความ
เป็นเลิศทางวิชาการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน และจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนา
สุขพลานามัย ใหเ้ ปน็ คนท่ีสมบูรณ์แข็งแรงท้ังร่างกายและจิตใจ

๕.๓ สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรและการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ผ้เู รียนใหม้ ีความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการตามความสนใจ และความถนดั เต็มตามศักยภาพ

๕.๔ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาเพ่ือ
ปรับเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ตามความต้องการ และความถนดั ของผเู้ รียน

๕.๕ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีทักษะสื่อสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ
ภาษาท่ี ๓ เพ่มิ เติมอย่างนอ้ ย ๑ ภาษา

๕.๖ ปรบั เปลี่ยนวธิ ีการวัด ประเมิน ผลการเรียนของผู้เรยี น โดยมุ่งเน้นการวัดประเมิน
ตามสมรรถนะรายบุคคล โดยการจดั ให้มกี ารวัดประเมินจากสว่ นกลางในชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓

นโยบายดา้ นที่ ๓ การสง่ เสรมิ พัฒนาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

กลยทุ ธ์
1. ส่งเสรมิ พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
2. ส่งเสริม พัฒนาครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะตรงตามสายงาน และ
มีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์
3. สง่ เสริม พัฒนาครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาด้านส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยดี ิจทิ ัล
เป้าประสงค์
๑. สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามรี ะบบบรหิ ารงานบุคคลท่ีมีประสทิ ธิภาพ
๒. ครู ผู้บรหิ ารและบุคลากรทางการศกึ ษา เป็นบุคคลท่มี ีคณุ ภาพ มีประสิทธิภาพ เปน็ มืออาชีพ
และมีความสามารถในการปฏิบตั งิ านตามสมรรถนะ
ตัวชี้วัด
๑. สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามรี ะบบบริหารงานบคุ คลทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
๒. ครู ผู้บรหิ ารและบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพ มีประสิทธภิ าพ เป็นมืออาชีพ
และมีความสามารถในการปฏบิ ัติงานตามสมรรถนะ ร้อยละ ๘๐

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา 27

3. ครูสอนภาษาอังกฤษในระดับช้ันประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้รับการพัฒนาและยกระดับ

ความร้ภู าษาอังกฤษโดยใชร้ ะดับการพฒั นาทางดา้ นภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 70
แนวทางการดำเนนิ งาน
๑. สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามรี ะบบบริหารงานบุคคลที่มปี ระสทิ ธภิ าพ

๑.๑ พัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
๑.๒ ส่งเสริมให้มีระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและ

บคุ ลากรทางการศึกษา
๑.๓ สนับสนุนส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาตนเองตาม

ความต้องการและตามศักยภาพโดยประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือ

หน่วยงานอ่ืน ๆ จัดทำหลักสูตรการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ตรงตามความต้องการและ
ความขาดแคลน

๑.๔ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริมให้มีขวัญและกำลังใจในการ
ปฏิบตั งิ าน มีความเจรญิ ก้าวหนา้ ในวิชาชีพ

๑.๕ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสรมิ สนบั สนุนใหค้ รู ศึกษาวเิ คราะห์ ความตอ้ งการ

จำเปน็ ในการพัฒนาตนเอง (Need Assessment) เพอื่ วางแผนการพัฒนาอยา่ งเปน็ ระบบและครบวงจร
๑.๖ สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาวางแผนและเข้ารับการพัฒนาตาม

หลกั สตู รทกี่ ำหนดท่เี ชอื่ มโยงความก้าวหน้าในวิชาชพี (Career Path)
๑.๗ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ทักษะด้านการรู้ดิจิทัล (Digital

Literacy)การสอนดิจิทัล (Digital Pedagogy) ทักษะสอื่ สารภาษาอังกฤษ สอดคล้องกับภารกจิ และหน้าที่

ของตน
๑.๘ ส่งเสริมพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษของครู ท่ีสอนภาษาอังกฤษโดยใช้

ระดับการพัฒนาทางด้านภาษา (Common European Framework of Reference for Languages :
CEFR) ตามเกณฑท์ ีก่ ำหนด

๑.๙ สง่ เสรมิ และพัฒนาครูให้สามารถออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรยี นรใู้ ห้สอดคลอ้ ง

กับการวัดประเมินผลท่ีเน้นทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking) ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง
(Active Learning)

๑.๑๐ ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะ ในการสร้างเคร่ืองมือการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการคิดขนั้ สูง (Higher Order Thinking)

๑.๑๑ ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้มีความรู้ความสามารถจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาด

เล็กได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๑.๑๒ ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรยี นรสู้ ำหรับผู้เรียน ท่ีมีความตอ้ งการจำเป็น

พเิ ศษตามศกั ยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล และตามสภาพและประเภทของความพิการ
๑.๑๓ ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาพัฒนาตนเองผ่านระบบ

Online และแบบ Face - to - Face Training

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา 28

๑.๑๔ ส่งเสริมการศึกษาปรับปรุงระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ
และประเมินประสิทธิผลครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับความมุ่งหมาย และหลักการจัด
การศึกษาขอ้ กำหนดดา้ นคณุ ภาพ และแผนการศึกษาแหง่ ชาติ

๑.๑๕ ส่งเสรมิ การศึกษานำเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Technology) มาเปน็ เคร่ืองมือใน
การบริหารจัดการครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ตั้งแต่การจัดทำฐานข้อมูลครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา จนถึงการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาโดยมีแนวทางการดำเนินการ ดงั นี้

๑) พัฒนารูปแบบการพัฒนาครผู ่านระบบดิจิทัล เพ่ือใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร
ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภทท้ังระบบ

๒) พัฒนาหลักสูตร เนือ้ หาดิจิทัล (Digital Content) ในสาขาที่ขาดแคลน เช่น
การพัฒนาทักษะการคิดข้ันสูง การจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ และผู้เรียนท่ีมี
ความแตกตา่ ง เป็นต้น

๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท
พัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่องผา่ นระบบดิจทิ ัล

๔) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลระบบบริหารจัดการผู้บริหาร ครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษาทกุ ประเภททง้ั ระบบ

๕) พฒั นาครใู หม้ ีความชำนาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพวิ เตอร์
(Coding)

๒. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีประสทิ ธิภาพ เป็นมืออาชีพ
และมีความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านตามสมรรถนะ

๒.๑ ครู มีการเปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “ Coach” ผู้ให้คำปรึกษา
ขอ้ เสนอแนะการเรียนรู้หรอื ผูอ้ ำนวยการการเรยี นรู้

๒.๒ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สามารถนำความร้ไู ปพฒั นางานทีต่ นเองรบั ผิดชอบ
๒.๓ ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ โดยใช้
กระบวนการชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) เพอ่ื สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพผ้เู รียน
๒.๔ ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะ ในการจัดการเรียนรู้สำหรับผเู้ รียนที่มี
ความแตกตา่ ง (Differentiated Instruction)

นโยบายด้านท่ี ๔ การสรา้ งโอกาสทางการศึกษาอย่างท่วั ถงึ และเท่าเทียม

กลยุทธ์
1. ให้บริการการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
อยา่ งเทา่ เทียม
2. จดั บริการทางการศึกษาทม่ี ีความเชอื่ มโยงในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือการศึกษาต่อเนอื่ งตลอดชีวิต
3. ส่งเสรมิ ยกระดบั โรงเรยี นใหเ้ ป็นโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน
เป้าประสงค์
๑. ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงการบริการการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเสมอภาค เท่าเทียมกัน
และลดความเหล่ือมล้ำดา้ นการศึกษา

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพื้นทกี่ ารศึกษา 29

๒. สถานศึกษากับองค์กรปกครองท้องถ่ิน ภาคเอกชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในระดับพื้นที่

รว่ มมือในการจดั การศกึ ษา
3.พฒั นาโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชนใหม้ คี วามพร้อมในดา้ นตา่ ง ๆ
ตวั ชี้วัด

๑. ประชากรวัยเรียน เข้าถึงการบริการการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน และ
ลดความเหลอื่ มลำ้ ด้านการศึกษา ร้อยละ ๑๐๐

๒. สถานศึกษาร่วมกับองค์กรปกครองท้องถิ่น ภาคเอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับ
พ้ืนทรี่ ่วมมอื ในการจัดการศกึ ษา รอ้ ยละ ๑๐๐

3. มีโรงเรียนคุณภาพของชุมชนอย่างน้อย 1 โรงเรียน ในปีการศึกษา 2565

4. นักเรียนที่ได้รบั เงนิ อุดหนนุ ปจั จัยพ้นื ฐานสำหรับนกั เรียนยากจน ร้อยละ 100
แนวทางการดำเนินงาน

1. ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงการบริการการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
และลดความเหลือ่ มลำ้ ดา้ นการศกึ ษา

๑.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับจัดสรรงบประมาณอุดหนุนอย่างเพียงพอ และเหมาะสม

สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง โดยคำนึงถึงความจำเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ
และท่ตี ัง้ ขอสถานศกึ ษา และความต้องการจำเปน็ พเิ ศษสำหรบั ผพู้ กิ าร

1.๒ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device)
เพ่ือใช้เป็นเครือ่ งมอื ในการเรียนรูอ้ ย่างเหมาะสม เพยี งพอ

1.๓ สถานศึกษาได้รับการสนบั สนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอปุ กรณ์ดิจิทลั (Digital Device)

เพือ่ ใช้เป็นเคร่อื งมอื ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้แก่ผู้เรยี น
1.๔ สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐาน อย่างเหมาะสมตามบริบทด้านประเภท

ขนาด และพนื้ ท่ี
1.๕ สถานศึกษานำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้เป็นเครื่องมือในการ

จดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้แกผ่ ู้เรยี นได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

1.๖ สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียน และการแนะแนวที่มี
ประสิทธิภาพ

1.๗ สถานศึกษาท่ีมีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน และสามารถนำมาใช้ในการ
วางแผนจัดการเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

1.8 สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาสง่ เสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน

สถานศึกษาในทุกมิติ
1.9 สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาส่งเสริม สนับสนุน กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน

โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน
2. สถานศึกษากับองค์กรปกครองท้องถ่ิน ภาคเอกชนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในระดับพื้นท่ี

รว่ มมอื ในการจัดการศกึ ษา

2.1 ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน เอกชน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ระดับพื้นที่ จัดทำแผนการรับนกั เรยี นทกุ ระดบั ต้ังแต่ระดบั ปฐมวยั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพน้ื ที่การศกึ ษา 30

นโยบายดา้ นที่ ๕ การจัดการศึกษาเพ่อื สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

กลยทุ ธ์
1. ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม

2. สง่ เสริมผเู้ รยี นให้มคี วามพรอ้ ม รู้จักปอ้ งกนั ตนเองและสามารรถรบั มอื กับโรคอบุ ัตใิ หม่
เป้าประสงค์

๑. ผ้เู รียนมจี ติ สำนึก และมีพฤตกิ รรมในการอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อม
2. สถานศึกษามภี มู ทิ ัศน์และแหลง่ เรียนรู้ทเี่ อือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นการสอน
๓. สถานศึกษามนี วัตกรรมตน้ แบบในการนำ 3RS มาประยุกต์ใชใ้ นการผลติ และบรโิ ภคท่ีเป็น

มิตรกับสง่ิ แวดล้อม
4. ผเู้ รยี นมคี วามพร้อม รู้จักปอ้ งกนั ตนเองและสามารรถรบั มอื กับโรคอุบตั ิใหม่ และอุบตั ซิ ำ้

ตวั ชี้วัด
๑. ผู้เรยี นมจี ติ สำนกึ และมีพฤตกิ รรมในการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม ร้อยละ ๑๐๐
๒. สถานศึกษามภี มู ทิ ศั น์และแหล่งเรยี นรู้ทเี่ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นการสอน รอ้ ยละ ๑๐๐

๓. สถานศึกษามีนวัตกรรมในการนำ 3RS มาประยุกต์ใช้ในการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดล้อม รอ้ ยละ ๑๐๐

4. ผเู้ รียนมคี วามพรอ้ ม ร้จู กั ปอ้ งกันตนเองและสามารถรับมือกับโรคอบุ ตั ใิ หม่ รอ้ ยละ 100
แนวทางการดำเนนิ งาน
๑. ผูเ้ รียนมจี ิตสำนกึ และมพี ฤติกรรมในการอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม

๑.1 สถานศึกษาในสังกัดจดั กจิ กรรมให้ความรู้ ทถ่ี ูกต้องและสรา้ งจิตสำนึกด้านการผลิต
และบริโภคท่ีเป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อมนำไปปฏิบัติใชท้ ่ีบ้านและชุมชน เช่น การส่งเสริมอาชีพท่เี ป็นมิตรกับ

สง่ิ แวดลอ้ ม การลดใชส้ ารเคมีจากปุย๋ และยาฆา่ แมลง ฯลฯ
1.๒ สถานศึกษาบูรณาการเรื่องการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม และการนำขยะมาใช้

ประโยชน์รวมทง้ั สอดแทรกในสาระการเรยี นรู้ท่เี กีย่ วข้อง

1.๓ นักเรียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรียนรู้ นักเรียน โรงเรียน
ชุมชน เรียนรู้ด้านการลดใช้พลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมเพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ และ

ตวั อย่างรูปแบบผลิตภณั ฑ์ทีเ่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ โรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว ฯลฯ
1.๔ ครู มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาส่ือ นวตั กรรม สร้างจิตสำนึกด้านการผลิต

และบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและชุมชนได้

ตามแนวทาง Thailand ๔.๐
๒. สถานศึกษามภี มู ิทัศน์และแหล่งเรียนรู้ที่เออื้ ต่อการจดั การเรียนการสอน

2.๑ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากรและ
สถานที่ให้เป็นสำนักงานสเี ขียวต้นแบบ มีนโยบายการจัดซ้อื จัดจ้างที่เป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม ทเี่ อ้อื ตอ่ การ
เรียนรูข้ องนักเรยี นและชมุ ชน

๓. สถานศึกษามีนวัตกรรมต้นแบบในการนำ 3RS มาประยุกต์ใช้ในการผลิตและบริโภคท่ีเป็น
มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา 31

3.๑ จัดทำคู่มือและพัฒนาส่ือนวัตกรรมในรูปแบบ QR CODE และสื่อระบบ Multimedia

และอนื่ ๆ
3.๒ สถานศึกษามีการนำขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปผลิตภัณฑ์และพลังงาน เพ่ือลดปริมาณขยะ

และมีการส่งเสรมิ การคดั แยกขยะในชมุ ชนเพื่อลดปริมาณคาร์บอนทีโ่ รงเรียนและชุมชน

3.๓ สถานศึกษานำแนวคิด 3RS มาประยุกต์ใช้ในการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ้ ม

นโยบายด้านท่ี ๖ การพฒั นาระบบบริหารจัดการศกึ ษา

กลยทุ ธ์

1. พฒั นาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าลสู่ความเป็นเลิศ
2. ส่งเสริมสถานศึกษาและเขตพื้นท่ีการศึกษาให้มีการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง
๓. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาและ

สถานศกึ ษา

เปา้ ประสงค์
๑. สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทุกระดับมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติ

มิชอบ บริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล
๒. สถานศึกษา มีความพร้อมในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ด้านการบรหิ ารวิชาการ

ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบคุ คล และด้านการบรหิ ารงานทว่ั ไป

3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา บริหารจัดการด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัลท่ี
ทนั สมยั

ตวั ช้ีวัด

๑. สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทุกระดับมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติ
มชิ อบ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล รอ้ ยละ ๑๐๐

๒. สถานศึกษา มีความพร้อมในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ด้านการบริหารวิชาการ
ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล และด้านการบรหิ ารงานทวั่ ไป ร้อยละ ๑๐๐

3. สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา มีการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ร้อยละ 100
4. สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาและสถานศกึ ษา บริหารจัดการดว้ ยระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลท่ีทนั สมัย

5. นกั เรียนในสงั กดั มีพฤตกิ รรมท่ียึดม่นั ความซ่ือสัตย์สุจริต รอ้ ยละ 85
แนวทางการดำเนนิ งาน
๑. สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษา มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติ

มชิ อบ บริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล
1.๑. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต

และประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพื้นที่การศกึ ษา 32

1.๒ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษา ผ่านการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)

๒. สถานศึกษา มีความพร้อมในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ด้านการบริหารวิชาการ
ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทว่ั ไป

2.๑ สถานศึกษาได้รับการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาอยา่ งเปน็ อิสระ
2.๒ สถานศึกษา ได้รบั การพฒั นาใหเ้ ป็นหนว่ ยงานทม่ี ีความทันสมยั ยืดหยุน่ คล่องตัวสูง
พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพครอบคลุมทุกตำบล
๓. สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษา บรหิ ารจัดการดว้ ยระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลท่ีทันสมัย
3.๑ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาทุกแห่งมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่
สามารถใชใ้ นการวางแผนการจัดการศึกษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
3.๒ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา นำนวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจัดการและตดั สนิ ใจ ทัง้ ระบบ
3.๓ สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลท่ีสามารถเช่ือมโยงกับข้อมูลต่าง ๆ
นำไปสู่การวิเคราะห์เพ่ือวางแผนการจัดการ เรียนรู้สู่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Big Data
Technology)
3.๔ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital
Platform)เพ่อื สนบั สนุนภารกิจดา้ นบรหิ ารจัดการศกึ ษา
4. ปรับกระบวนทัศนก์ ารบริหารจัดการแบบมสี ว่ นร่วม น้อมนำศาสตร์พระราชาและหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน และใช้เทคโนโลยแี ละดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการ
พฒั นางานท้งั ระบบ เน้นการเรียนรู้ จัดประสบการณ์ และการบรหิ ารจดั การ
5. สร้างต้นแบบนวัตกรรมท่ีสามารถนำองค์กรและสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ด้วยวัฒนธรรม
องค์กรคณุ ภาพ ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชพี

จดุ เน้นของสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๒ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4-2565

1. เด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับการพัฒนาทางรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญาเหมาะสม
กบั วัย มที ศั นคติทถี่ ูกตอ้ ง

๒. นักเรียนชัน้ ป.๑ ทุกคน อา่ นออก เขยี นได้ คิดเลขเป็น
๓. ผู้เรียนทุกคน เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข มีความพร้อมสามารถ
รับมือกบั ภยั คุกคามทุกรูปแบบที่มีผลกระทบ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เรียนร้เู ตม็ ศักยภาพ
และมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้นึ
4. ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาสมรรถนะและทักษะ ให้
สอดคลอ้ งคุณลักษณะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี ๒๑
5. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการสนับสนุน ให้เข้าถึงสื่อ นวัตกรรม และ
เทคโนโลยีดจิ ิทลั อย่างเหมาะสม รเู้ ทา่ ทัน และเพยี งพอ
6. พฒั นาดจิ ิทัลแพลตฟอรม์ เพือ่ ช่วยบริหารจัดการทง้ั ระบบ

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา 33

7. พัฒนาครูใหเ้ ป็นครูยุคใหม่ ปรับบทบาทจาก “ครูผสู้ อน” เป็น “Coach” หรือ “ผอู้ ำนวยการ
การเรยี นร”ู้ โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ

8. สรา้ งขวญั กำลงั ใจใหผ้ ูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ งเหมาะสม
9. จัดระบบ กระบวนการ และข้ันตอนการดำเนินงานให้ทันสมัย โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
บริหารจดั การส่คู วามเป็นองค์กรช้ันนำชวี ิตวถิ ใี หม(่ New Normal)
10. นอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งภายใต้ศาสตร์พระราชามาใชใ้ นการบริหารจดั การ

ผลลพั ธ์และภาพความสำเรจ็ (Outcome)

๑. ผู้เรยี นทุกคนเป็นคนดี เกง่ และมีคุณภาพ มีความพรอ้ มทั้งกาย ใจ สตปิ ญั ญา มีพัฒนาการท่ีดี
รอบดา้ น และสุขภาวะที่ดี มีทัศนคตทิ ี่ถูกตอ้ งต่อบ้านเมอื ง มีพื้นฐานในการดำรงชีวติ อย่างเหมาะสมม่นั คง
มีคณุ ธรรม และมีทกั ษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑

๒. ผูเ้ รยี นทกุ คนได้รับโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๓. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ทักษะ ความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ปัญญาประดิษฐ์ มีความก้าวหนา้ ทางวิชาชีพ และผลงานไดร้ ับการยอมรับในระดับดเี ยี่ยม
๔. สถานศกึ ษาทุกแห่งมีคุณภาพมาตรฐาน บริหารจัดการสู่ความเป็นสถานศึกษาชั้นนำชีวิตวิถีใหม่
๕. สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา เป็นสำนกั งานที่เปน็ เลศิ ในดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษาชน้ั นำวถิ ี
ใหม่ (New Normal) ภายใต้ศาสตร์พระราชา มีศรัทธาด้วยหลักธรรมาภิบาล และผู้รับบริการ เกิดความ
พึงพอใจ

แผนพัฒนาการบริหารจดั การเขตพื้นที่การศกึ ษา 34

ตอนท่ี 4

แนวทางการบริหารสคู่ วามสำเรจ็

ข้าพเจ้า นางบรรเจิด อุ่นมณีรัตน์ ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ได้รับมอบอำนาจจากนายประวิช ยะรินทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ตามคำส่ังท่ี 551/2563 ให้รักษาราชการแทนผู้อำนวยการ
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ลำดบั ท่ี 3 และไดร้ ับมอบหมายงานในหน้าท่ตี าม
คำสั่งท่ี 552/2563 เรื่องมอบอำนาจให้รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ปฏิบัติราชการแทน ดังน้ี 1. กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา 2. กลุ่มบริหารงาน
การเงินและสินทรพั ย์ 3. ศูนย์รบั รายงานข้อมูลสารสนเทศ (Information Report Center) 4. โรงเรียน
ในกลุ่มโรงเรียน เครือข่ายอำเภอบ้านโป่ง จำนวน 4 เครือข่าย และ 5.งานอ่ืน ๆ ตามท่ีผู้บังคับบัญชา
มอบหมาย

ข้าพเจ้ามีวิสัยทศั นแ์ ละแนวทางในการพฒั นาสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ดงั นี้

วสิ ยั ทัศน์ (Vision)

“สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีคุณภาพ มีนวัตกรรม ได้มาตรฐาน เพ่ิมพลังอำนาจการทำงาน
บริหารงานตามหลักธรรมาภบิ าล ดว้ ยศาสตรพ์ ระราชา”

พันธกจิ (Mission)

๑. จัดการศึกษาปฐมวยั และการศกึ ษาภาคบงั คบั เพอ่ื วางรากฐานความมน่ั คง เป็นพลเมอื งดขี องชาติ
๒. เสริมสร้างและพัฒนาผู้เรียนทุกมิติให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
3. เพ่มิ พลงั อำนาจในการทำงานของครู ผูบ้ รหิ ารและบุคลากรทางการศึกษาสคู่ วามเปน็ มืออาชีพ
4. พัฒนาระบบการบริหารจดั การโดยยดึ หลักธรรมาภิบาลและศาสตรพ์ ระราชา

เปา้ ประสงค์ (Goals)

๑. ผู้เรยี นปฐมวัยทกุ คน มพี ัฒนาการทุกด้านเหมาะสมกับวัย มีทัศนคติทีถ่ ูกตอ้ งและเรียนรู้อย่าง
มคี วามสุข

๒. ผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับทุกคน มีคุณภาพมาตรฐานตามหลักสูตร และทักษะผู้เรียนใน
ศตวรรษท่ี ๒๑ มีพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยวิถีใหม่ (New Normal) รักษ์
สง่ิ แวดล้อม นอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชา “เปน็ หลกั ในการดำเนินชีวติ ” เรียนรูเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

๓. ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มีคุณภาพ และ
มีพลงั อำนาจในการทำงานอยา่ งไร้ขีดจำกัด

4. สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษา ยึดหลักธรรมาภิบาลและศาสตร์พระราชาในการ
บรหิ ารจดั การและขบั เคลือ่ นคณุ ภาพการศึกษา

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา 35

กลยุทธ์ (Strategies)

1. พัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพให้เขม้ แข็ง
2. ส่งเสริมชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สคู่ วามเป็นองค์กรคณุ ภาพ

3. พัฒนาครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่ง
ผลสมั ฤทธอิ์ ยา่ งไร้ขีดจำกัด

4. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการการศกึ ษาโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลและศาสตรพ์ ระราชา
กำหนดแนวทางขับเคลื่อนเพ่ือไปสู่ภาพความสำเรจ็ ในอนาคตไว้ 3 สว่ นดังน้ี ได้แก่ 1. นักเรียน
เป็นคนดี มีความพอเพียง และมีคุณภาพ 2. โรงเรียนมีคุณภาพมีนวัตกรรม ได้มาตรฐาน เป็นโรงเรียน

แห่งความดี มีความพอเพียง และมีพลังอำนาจในการทำงาน และ 3. สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามี
คณุ ภาพ มีนวตั กรรม ได้มาตรฐาน บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลมีความพอเพียง และมีพลังอำนาจ

ในการทำงาน โดยคำนึงถึง 3 ประเด็นหลกั คือ 1. ด้านโอกาสทางการศึกษา 2. ด้านการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษา และ 3. ด้านประสิทธิภาพการจัดการศึกษา เพื่อให้บรรลุตามวสิ ัยทัศน์ท่ีได้กำหนดไว้ ข้าพเจ้า
ได้ทำการสังเคราะห์รูปแบบการบรหิ ารจัดการจนกระทั้งเป็นรูปแบบในการบริหารของข้าพเจ้า ต้ังชื่อว่า

รปู แบบ Q-SET-POI Model มีรายละเอยี ดดงั น้ี

1. Quality Assurance of Education ให้ความสำคัญกับระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาเพื่อนำส่มู าตรฐานของงาน โดยกำหนดให้การประกนั คุณภาพการศึกษาเปน็ กลไกสำคัญในการ
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระดับสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาให้มีการประเมินตนเองตาม
มาตรฐานเขตพ้ืนที่การศึกษา ในระดับโรงเรียนส่งเสริมให้โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา 36

ท่ีมีประสิทธิภาพ และถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นงานสำคัญของการบริหารและจัดการศึกษา

เปน็ งานของทกุ คน ใหเ้ นน้ การมีสว่ นรว่ มของผทู้ ี่มีส่วนเกย่ี วข้อง และต้องทำอยา่ งตอ่ เน่อื ง
2. Sufficiency Economy น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้

ในการบริหารจัดการและการใชช้ ีวิตประจำวนั โดยให้ความสำคัญกบั พัฒนาคน พัฒนาทีมงานให้มีความรู้

มคี ุณธรรม คิดอย่างมีเหตผุ ลทำงานและใช้ชีวิตด้วยความพอประมาณเหมาะสมกับบรบิ ทของตนเองและ
องค์กร ใชก้ ารบรหิ ารความเสี่ยงเพ่ือสรา้ งภูมิคุ้มกัน เพื่อให้บุคลากรใช้ชีวิตและทำงานอย่างพอเพียง และ

องค์กรประสบความสำเร็จ
3. Empowerment ใหค้ วามสำคัญกับการเพมิ่ พลังอำนาจในการทำงานให้กับบคุ ลากร

ในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผู้รับบริการทั้งผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครองตลอดจน

ผู้เก่ียวข้อง เพราะการที่องค์กรจะประสบความสำเร็จและก้าวไปสู่เป้าหมายที่ต้ังไว้ได้ ต้องอาศัยความ
รว่ มมอื ร่วมใจของทกุ คน ซึ่งจะเป็นเช่นนนั้ ได้ก็ต่อเมื่อคนมีอิสระท่ีจะคิดและทำส่ิงต่าง ๆ ได้ ต้องกระจาย

อำนาจในการตัดสินใจให้แก่ผู้อำนวยการกลุ่มหรือเจ้าของงานหรือโรงเรียน เพ่ือสร้างความรสู้ ึกมีอำนาจ
และเป็นเจา้ ของงานทแ่ี ท้จริง นอกจากน้ี ผู้บริหารต้องมีความเชอ่ื มั่นและทุกคนสามารถพดู คุย ไดร้ ับทราบ
ข้อมูล รับฟังความคิดเห็นหรือแม้กระท่ังได้มีโอกาสทดลองและประดิษฐ์คิดค้นส่ิงใหม่ๆ โดยถือว่าการ

ผิดพลาดในงานที่ไดใ้ สใ่ จทำเปน็ การเรยี นรู้
4. Teamwork & Network ให้ความสำคัญในการสร้างทีมงาน และสร้างเครือข่าย

ความร่วมมือกับทกุ ภาคสว่ น เพือ่ ใหเ้ กดิ การมสี ่วนร่วมและเป็นภาคีเครอื ข่าย ซึ่งเปน็ ปัจจยั สำคัญท่จี ะทำให้
สำนักเขตพื้นท่ีการศึกษามีความเข้มแข็งมีพลงั ในขับเคล่ือนนโยบายของ สพฐ. และขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ นอกจากนต้ี ้องให้ความสำคัญในการจัดกิจกรรม PLC (Professional

Learning Community) อย่างต่อเน่ืองเพ่ือรวมตัว รวมใจ ร่วมพลัง ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้ร่วมกัน บน
พื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร ที่มีวิสัยทัศน์ เป้าหมายและพันธกิจร่วมกัน สร้างทีม

สคู่ ุณภาพการทำงานและความสขุ ทเี่ กิดจากการทำงานร่วมกนั
5. Performance Management System ประยุกต์ใช้ระบบการบริหารผลการ

ปฏิบตั ิงานเพื่อใหง้ านมคี ุณภาพดว้ ยการบริหารจดั การผลการดำเนินงานขององค์กรและผลการปฏิบัติงาน

ของบุคคลให้สอดคล้องและเป็นไปในทางเดียวกัน บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกคนต้องรู้เป้าหมายและ
มาตรฐานของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาให้ความสำคัญกับการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์

และเป้าหมายขององค์กรที่ชัดเจนมีตัวช้ีวัดท่ีสามารถวัดติดตามความก้าวหน้าและผลการปฏิบัติงาน
มกี ิจกรรมท่สี ำคัญ 3 ประการ ได้แก่ 5.1 การวางแผนผลการดำเนินงาน (Planning performance)
5.2 การบริหารผลการดำเนินงาน (Managing performance) และ 5.3 การประเมินผลการปฏิบัติงาน

(Appraising performance)
6. Organization Culture สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เข้มแข็ง มีจิตบริการ ร่วมกัน

สร้างคา่ นิยมของสำนักงานเพอ่ื ให้บุคลากรยึดถอื ในการปฏบิ ัติงานและอยู่รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข เปดิ ใจรับ
วัฒนธรรมการประเมินเชิงบวกเพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงาน และช่วยให้บุคลากรมีความผูกพันกับ
สำนกั งานมากข้นึ จะทำให้บุคลากรปฏบิ ัติงานอย่างเต็มศักยภาพ เกดิ ความกระตือรอื ร้นในการทำงานและ

การใหบ้ ริการ มอี ุดมการณ์ร่วมกนั ในการทำงานที่สรา้ งสรรค์ เพือ่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา 37

7. Innovation สร้างนวตั กรรม โดยใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ งานหรอื โรงเรยี นได้พัฒนาสร้างสรรค์
นวตั กรรม และนำเทคโนโลยีมาใช้เพ่ือพัฒนาการศึกษา เป็นการขับเคลื่อนการศึกษาไทยสู่ยุค Thailand
4.0 ที่คนและองค์กร ต้องพรอ้ มที่จะเปล่ยี นแปลง โดยปรับเปล่ยี นจากการทำงานรูปแบบเดิมท่ีคนุ้ เคย มา
ทำงานโดยใช้นวัตกรรม

วิธีการนำการปฏิบัติ

กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ระดับแผนงาน ตวั ช้วี ัดความสำเร็จ
1.พัฒนาระบบการ
1.พฒั นาระบบการประกัน 1.สถานศึกษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ประกันคุณภาพ
ใหเ้ ขม้ แขง็ คุณภาพการศกึ ษาสู่ความ ปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานตามระบบ

เข้มแข็ง ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาอยใู่ นระดับดี

ขึ้นไป รอ้ ยละ 80

2.สถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การ

ศกึ ษาไดร้ ับการช่วยเหลือ แนะนำ นเิ ทศ ตดิ ตาม

ตรวจสอบคุณภาพตามระบบประกันคุณภาพภายใน

โดยหนว่ ยงานตน้ สงั กัดรอ้ ยละ 100

3.ผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้เสีย ไมน่ ้อยกวา่

รอ้ ยละ 80 มคี วามพงึ พอใจในภาพรวมตั้งแตร่ ะดับ
มากข้ึนไป

4.ผเู้ รยี นมคี ุณภาพและมคี ุณลักษณะอนั พึง

ประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

5.จำนวนเด็กปฐมวยั ทีม่ ผี ลการประเมิน

พฒั นาการผา่ นเกณฑม์ าตรฐานแต่ละด้าน
ร้อยละ 90 ขนึ้ ไป

กลยุทธ์ กลยุทธ์ระดับแผนงาน ตวั ชี้วัดความสำเรจ็

2.ส่งเสริมชุมชน 1.การประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ 1.นกั เรียนในระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6และ
การเรยี นร้ทู าง การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ทกุ คนได้รบั การประเมินผล
วิชาชีพสู่ความ สมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามวิชาท่ีสถาบันทดสอบทาง
เปน็ องค์กร คณุ ภาพ การศกึ ษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) กำหนด

2.นกั เรียนระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานมีคณุ ภาพ
ตามหลกั สตู รกำหนด

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา 38

กลยุทธ์ กลยทุ ธร์ ะดบั แผนงาน ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็

2.พฒั นาโรงเรียนเพือ่ ยก สถานศกึ ษาจำนวน 5 โรงเรยี น ได้รับการพัฒนา
ระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ให้เกิดสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21
3.พัฒนาสมรรถนะการ
จดั การเรยี นการสอนเชิง 1.ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นรแู้ ละทกั ษะ
เชงิ รกุ ของครสู ใู่ นศตวรรษ อาชพี ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active
ที่ 21 Learning

2.ยกระดบั ผลคะแนนเฉลยี่ ของการทดสอบ
O-NET , NT และ RT ของสถานศกึ ษาในสังกัด

กลยุทธ์ กลยทุ ธร์ ะดบั แผนงาน ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ

3.พฒั นาครู ผ้บู รหิ าร 1.พัฒนาสมรรถนะการ ครผู ูส้ อนทไ่ี ดร้ ับการนิเทศมีผลสมั ฤทธใิ์ นการจัด

และบคุ ลากรทางการ จัดการเรียนการสอนเชิง การเรียนรูแ้ บบ Active Learning สอดคล้องใน
ศกึ ษาใหม้ วี ฒั นธรรม
การทำงานท่มี งุ่ เชงิ รกุ ของครสู ใู่ น ศตวรรษท่ี 21 สงู ขนึ้ ท้ัง 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้
ผลสมั ฤทธิ์อยา่ งไร้
ขีดจำกดั ศตวรรษที่ 21

2.ส่งเสรมิ ผบู้ ริหาร ครู 1.ผ้บู ริหาร ครูผู้สอนและผ้เู รียนใช้สื่อ นวัตกรรม

และผ้เู รยี นสู่สงั คม และเทคโนโลยีทางการศึกษาอย่างมีประสิทธภิ าพ

เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา เปน็ แบบอยา่ งได้

2.ผ้บู ริหาร ครูผู้สอนและผู้เรียนมีเคร่อื งมอื ในการ

เรียนรูส้ ง่ ผลใหม้ ีความสขุ ในการทำงานและการเรียน

รดู้ ว้ ยตนเอง ตามสมรรถนะแห่งศตวรรษที่ 21

3. ส่งเสรมิ และพัฒนา 1.ผูบ้ ริหาร ครูผู้สอน มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั

หลกั สตู รการศึกษาที่ หลกั สตู รสถานศกึ ษาทสี่ อดคล้องกบั การเรยี นร้ใู น

สอดคล้องกบั การเรยี นรู้ ศตวรรษที่ 21

ในศตวรรษท่ี 21 2. สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรท้องถ่ินท่ีมีความ

สอดคล้องกับการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21

4.พัฒนาศกั ยภาพ 1.ศกึ ษานิเทศกท์ กุ คนมคี วามรคู้ วามสามารถและ

ศกึ ษานเิ ทศก์ ทกั ษะการนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัด
(E-Coaching) การศกึ ษา

2.การนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัด
การศกึ ษาบรรลเุ ป้าหมายอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นท่กี ารศึกษา 39

กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ระดับแผนงาน ตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็
1.พฒั นาการบริหาร 1.สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา
4.พัฒนาระบบ ระบบงานกลมุ่ บรหิ าร ราชบุรี เขต 2 รายงานผลการปฏบิ ัติงานดา้ นการ
บรหิ ารจัดการศึกษา งานการเงนิ และ บญั ชภี าครฐั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ครบถว้ น
โดยยึดหลกั สินทรัพย์ ตามระยะเวลาท่ีกำหนด
ธรรมาภิบาล 2.สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา
และศาสตร์พระราชา 2.เสรมิ สรา้ งการดำเนนิ ราชบุรี เขต 2 มีการพัฒนากลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ
งานคณะกรรมการ และสนิ ทรพั ย์ให้ดำเนินงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ รวดเรว็ คมุ้ คา่
ประเมนิ ผลและนเิ ทศ 1.โรงเรยี นมีการบรหิ ารจดั การศึกษาตามหลัก
การศึกษา ธรรมาภบิ าล ได้มาตรฐานการศกึ ษา
ปงี บประมาณ 2564
3.ขบั เคล่ือนหลักความ 1.สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ี
พอเพยี งสู่สถานศกึ ษา การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรีเขต 2 ได้รบั การ
อยา่ งย่งั ยืน นิเทศตดิ ตาม และประเมนิ ผลการขบั เคลื่อนหลัก
ความพอเพยี งสู่ สถานศึกษาอยา่ งย่ังยืน
4.สง่ เสริมโรงเรียน
คณุ ธรรมตามนโยบาย 2.ครแู ละผ้บู ริหารสถานศกึ ษามคี วามรู้ ความ
สพฐ. เข้าใจและแนวทางในการขับเคลือ่ นหลกั ความ
พอเพยี งสูก่ ารบรหิ ารจัดการศกึ ษา

1.สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 มกี าร
ขบั เคล่อื นคณุ ธรรม ตามนโยบาย สพฐ.

2. ครแู ละผ้บู รหิ ารสถานศึกษามีความรู้ ความ
เขา้ ใจและแนวทางในการสร้างนวัตกรรมมาใชใ้ น
การบรหิ ารจดั การศึกษา

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา 40

ตอนที่ 5

การกำกับ ตดิ ตาม และประเมินผล

ขา้ พเจ้ามีวธิ ีการดำเนนิ งานในการพัฒนาสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2

โดยมีแผนงานเป็นตัวขับเคล่ือนอย่างต่อเน่ือง ประการสำคัญท่ีเป็นตัวเสริมให้การขับเคลื่อนคุณภาพ
ประสบความสำเร็จ น่ันคือ การใช้นวัตกรรม Q-SET-POI และใช้วงจรการบริหารแบบ PIE Cycle

นอกจากนข้ี ้าพเจ้ายงั ใช้เทคนคิ การบริหารงานอย่างหลากหลายบรู ณาการกนั เพือ่ ให้งานสำเรจ็ หวั ใจสำคัญ
ของเทคนิคนั้น คือ การส่ือสาร นับเป็นเคร่ืองมือท่ีสำคัญอย่างย่ิงในการนำไปสู่ความสำเร็จเนื่องจาก
ศักยภาพในการสื่อสาร คือ ปัจจัยสำคัญในการกำหนดทิศทาง ผลลัพธ์ ของสถานการณ์ต่าง ๆ มีอิทธิพล

ต่อทัศนคติ มุมมอง และการตัดสินใจของคนที่ตดิ ต่อสื่อสารดว้ ย รวมถึงผลักดันให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
สุดทา้ ยคือ การนำ digital transformation มาประยุกตใ์ ชใ้ นการขับเคล่ือนดงั นี้

1. การมกี ลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยนทีช่ ัดเจน
2. เมือ่ มีกลยทุ ธ์ทีช่ ดั เจนจึงนำไปสู่การเลือกเทคโนโลยที ี่เหมาะสมมาใช้
3. เมื่อต้องใช้เทคโนโลยใี หม่ วิธกี ารและกระบวนการทำงานต้องเปลี่ยนตามไปโดยต้อง

เน้นทคี่ วามตอ้ งการของผ้รู ับบรกิ ารเปน็ หลกั และบคุ ลากรทีต่ ้องปฏบิ ัติงาน
4. ผู้ปฏิบัติงานสำคัญที่สุด สร้างการเปลี่ยนแปลงแนวคิดของคนท้ังองค์กรคือการสร้าง

วฒั นธรรมองค์กรแบบใหม่ท่ีสอดคล้องกับการทำ digital transformation นันคือ การสร้างวฒั นธรรม
ใหม่มักประกอบด้วยการเปลยี่ น mind-set ในเรือ่ งเหล่านี้

1. การทำงานตอ้ งสอดประสานกนั (collaboration)

2. การทำงานทุกคนตอ้ งคดิ แบบม่งุ เนน้ ผบู้ ริการ
3. การทำงานต้องมีการส่ือสารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพจะเป็น face-to-face หรอื

digital communication โดยปกติคนในองค์กรเลยแต่ย้ำที่ต้องมีการสื่อสาร เพราะการทำงานแบบ
collaboration ถา้ ไมส่ อ่ื สารกนั ก็เกิดไม่ได้

4. องค์กรต้องใหอ้ ำนาจพนกั งาน (empowerment) ในการตัดสนิ ใจและการ

ตัดสินใจสามารถเปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลาเพ่อื ให้ทนั กับความต้องการของลูกค้าท่ีเปลย่ี นไป
๕. องคก์ รตอ้ งสร้างวฒั นธรรมท่ยี อมรบั ความผดิ พลาดได้

ขอนำเสนอภาระงานที่ได้รบั มอบหมายให้ชว่ ยบรหิ ารจัดการศกึ ษา 2 กลุม่ งานดงั น้ี 1. กลมุ่ นิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา มีขอบข่ายงานดังนี้ 1.1 งานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ัน
พื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้ 1.2 งานวัดและประเมินผลการศึกษา 1.3 งานส่งเสริมและพัฒนาสื่อ

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.4 งานนิเทศ ติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัด
การศึกษา 1.5 งานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา 1.6 งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ

ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา 2.กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ มีขอบข่าย
งานดังน้ี 2.1 งานบริหารการเงิน 2.2 งานบริหารงานบัญชี 2.3 งานบริหารงานพั สดุ 2.4 งาน
บริหารงานสินทรัพย์ 2.5 ให้คำปรึกษากับสถานศึกษาเก่ียวกับการบริหารงานการเงิน งานบัญชี งานพัสดุ

และงานบริหารงานสินทรัพย์ 2.6 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ๆ
ท่ไี ดร้ บั มอบหมายหรือเกีย่ วขอ้ ง

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพืน้ ที่การศกึ ษา 41

ขอนำเสนอภาพรวมของการมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารจดั การโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณ ๒๕๖๔ ดงั นี้

โครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 งบประมาณบริหารสำนกั งาน

ท่ี ช่ือโครงการ งบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ

นโยบายดา้ นท่ี 1 การจัดการศึกษาเพือ่ ความมั่นคง

๑ ขบั เคลอื่ นหลักความพอเพียงส่สู ถานศึกษาอย่างย่ังยืน 46,200 สภุ คั แซเ่ ฮง้

๒ ส่งเสริมโรงเรียนคุณธรรม ตามนโยบาย สพฐ. 26,000 ธีรวฒั น์ ดวงใจดี

นโยบายด้านที่ 2 ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา และขดี ความสามารถในการแข่งขนั

๓ พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาสูค่ วาม 96,500 สุภัค แซ่เฮ้ง
เข้มแขง็ 38,640 ศภุ กร มรกต

๔ พฒั นาโรงเรยี นเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษา

๕ คดั ลายมอื สอื่ คณุ ธรรม 130,100 กรรณกิ าร์ บุญถนอม

นโยบายด้านที่ 3 การสง่ เสรมิ พฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

๖ ส่งเสริมและพฒั นาหลักสตู รการศึกษาที่สอดคล้องกับ 82,620 กรรณกิ าร์ บญุ ถนอม
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 43,390 ธรี วฒั น์ ดวงใจดี
120,200 จิตติมา เนยี มกนั
๗ พัฒนาสมรรถนะการจดั การเรียนการสอนเชิงรุก 131,600 ลักขณา โตงาม
Active Learning)ของครสู ู่ในศตวรรษที่ 21

๘ ส่งเสริมผบู้ ริหาร ครูและผู้เรยี นสู่สงั คมเทคโนโลยเี พื่อ
การศึกษา

๙ พฒั นาศักยภาพศึกษานเิ ทศก์ (E-Coaching)

๑๐ ขบั เคล่อื นโรงเรียนจดั การเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM) - เสถยี ร แพนทิศ

๑๑ พัฒนาการบริหารระบบงานกลุม่ บรหิ ารงานการเงนิ 58,800 ชนิศา นาคใหม่
และสนิ ทรัพย์

นโยบายด้านที่ 4 การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถึงและเทา่ เทียม

๑๒ การขบั เคล่อื นการบรหิ ารจดั การโรงเรียนคุณภาพของ 62,000 วรรณวภิ า สุนนั ธรรม
ชมุ ชน เสถียร แพนทศิ

นโยบายด้านที่ 5 การจดั การศึกษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม

๑๓ สร้างจิตสำนึกและความรู้ในการผลิตและบริโภคท่ีเป็น - เสถียร แพนทิศ

มิตรกับสิ่งแวดล้อม

ท่ี ชื่อโครงการ งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ

นโยบายด้านที่ 6 การพฒั นาระบบบริหารจัดการศกึ ษา

แผนพัฒนาการบริหารจดั การเขตพืน้ ที่การศึกษา 42

๑4 ประเมินความพรอ้ มและตรวจเยย่ี มโรงเรียนในสังกดั 61,080 ลักขณา โตงาม
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต
2 ชว่ งเปิดภาคเรยี นโดยทมี นเิ ทศการศึกษาและ 396,160 ลักขณา โตงาม
ศกึ ษานิเทศก์ 66,080 นันทิดา เฟื่องไกรศรี
๑,๓๕๙,๓๗๐
๑๕ พฒั นาการนเิ ทศติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา

๑๖ เสรมิ สร้างการดำเนินงานคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา
ปงี บประมาณ 2564

รวมงบบริหารสำนักงาน

งบประมาณจาก สพฐ. และหน่วยงานอ่นื

ท่ี ช่อื โครงการ งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ

นโยบายดา้ นท่ี 2 ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และขีดความสามารถในการแขง่ ขนั

๑ การประเมนิ ผลสัมฤทธิก์ ารศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 391,000 เสถียร แพนทศิ

นโยบายดา้ นที่ 3 การสง่ เสรมิ พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

2 พฒั นาแนวทางการจดั การเรยี นรู้เพศวถิ ศี ึกษาและ 4,890 สุวภทั ร จิตรเ์ พ่ง
ทักษะชวี ิตในโรงเรยี นเพื่อเพม่ิ ศักยภาพครผู ู้สอน 733,360 เสถยี ร แพนทิศ

3 ขบั เคลอื่ นการจัดการเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ

รวมงบจัดตรงจาก สพฐ. ๑,๑๒๙,๒๕๐

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา 43

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 เป็นหน่วยงานทาง

การศึก ษ าท่ีอยู่ภ ายใต้ก ารก ำกั บดูแลขอ งสำนั กงาน คณ ะก รรมการก ารศึก ษาข้ัน พ้ื น ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ัน ในการบริหารการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงต้องสนองต่อนโยบายส่วน

ราชการต้นสงั กัด และสอดคล้องพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ

ท่ี 2) พ.ศ. 2545 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2575 นโยบายของรัฐบาล นโยบาย

กระทรวงศึกษาธิการ แนวทางการขับเคล่ือนกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

และบริบทของเขตพ้ืนที่การศึกษา จึงกำหนดนโยบายการดำเนินงานเพื่อหน่วยงานและสถานศึกษาใน

สงั กัด ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการดำเนินงานให้บรรลผุ ลอย่างมีประสิทธิภาพ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี

เขต ๒ ไดด้ ำเนินโครงการ กจิ กรรม ทีส่ อดรบั กบั วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วัด ครอบคลุมภารกิจ

๔ ด้านคือ 1) ด้านวิชาการ 2) ด้านงบประมาณ 3) ด้านบริหารงานบุคคล 4) ด้านบริหารท่ัวไป จำนวน

35 โครงการ จำแนกตามนโยบาย ดงั น้ี

นโยบายที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพ่ือความม่นั คง

มโี ครงการทจ่ี ัดทำขน้ึ เพือ่ ตอบสนองนโยบาย จำนวน ๔ โครงการ ไดแ้ ก่

1.1 รำลึกวันสำคญั ลูกเสือไทย

สนองนโยบาย นโยบายที่ 1 ตวั ชี้วัดที่ 1,2

จุดเน้น ขอ้ ที่ 3

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางละลดิ า สาลวี ัฒนผล และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน พฤศจิกายน 2563 - กันยายน 2564

วตั ถุประสงค์

1. เพอื่ น้อมรำลกึ และดษุ ฎีพระเกียรติคณุ แด่องค์พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระผู้

พระราชทานกำเนดิ ลกู เสอื ไทย

๒. เพื่อให้ลูกเสือ เนตรนารี รู้จักบำเพญ็ ตนเพอื่ สาธารณประโยชน์เนือ่ งในโอกาส “วนั พระมหาธีร

ราชเจ้า”

กิจกรรมสำคญั

กิจกรรมท่ี 1 การจดั งาน “วันสมเดจ็ พระมหาธีรราชเจ้า”

1.1 ประชุมคณะกรรมการจดั งาน “วันสมเด็จพระมหาธีรราชเจา้ ”

1.๒ จดั งาน “วันสมเดจ็ พระมหาธรี ราชเจ้า” ประจำปี ๒๕๖๓

1.๓ สรปุ และรายงานผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 2 การจดั งาน “วนั คลา้ ยวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาต”ิ

2.1 ประชุมคณะกรรมการจดั งาน “วนั คลา้ ยวนั สถาปนาคณะลกู เสือ”

2.๒ จัดงาน “วันคลา้ ยวนั สถาปนาคณะลูกเสอื ” ประจำปี ๒๕๖๓

2.๓ สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

แผนพัฒนาการบริหารจดั การเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา 44

การประเมนิ ผล (ดชั นชี ีว้ ัดความสำเร็จ)

1. รอ้ ยละ ๘๐ ของลูกเสือ เนตรนารี ผู้บังคบั บัญชาให้ความสนใจเข้ารว่ มโครงการ

2. ร้อยละ ๘๐ ของลกู เสือ เนตรนารี และผู้บงั คับบัญชาได้รับประโยชน์จากการเข้ารว่ ม

พธิ ีทบทวนคำปฏิญาณสวนสนามและนอ้ มรำลกึ พระมหากรุณาธิคุณฯ

1.2 ขบั เคลอ่ื นหลักความพอเพียงส่สู ถานศกึ ษาอยา่ งย่ังยนื

สนองนโยบาย นโยบายที่ 1,3 ตวั ช้ีวดั ที่ 1,2

จุดเนน้ ขอ้ ท่ี 3

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสภุ ัค แซ่เฮง้ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถขับเคล่ือนหลักความพอเพียงสู่การบริหารจัดการ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและการปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

2. เพ่ือนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานขับเคล่ือนหลักความพอเพียงของสถานศึกษาใน

สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

กิจกรรมสำคัญ

กิจกรรมท่ี 1 อบรมปฏิบัติการสืบสานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา

อยา่ งย่ังยืน

กจิ กรรมที่ 2 นเิ ทศตดิ ตามการดำเนนิ งานของสถานศึกษา

2.1 สถานศึกษาพอเพียง

2.2 ศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา

2.3 สถานศึกษาทเี่ ตรยี มพร้อมรับการประเมินฯ

กิจกรรมที่ 3 ประกวดคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบ Best Practice ขับเคลื่อนหลักความ

พอเพียงสู่สถานศึกษา เพ่ือมอบประกาศเกียรติคุณ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนความสำเร็จ

เผยแพรผ่ ลงาน

การประเมนิ ผล (ดัชนีชีว้ ัดความสำเรจ็ )

1. ร้อยละ 80 ของครูผ้สู อนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

2. สถานศึกษาในสังกัดฯ ร้อยละ 80 มีโครงการ/กิจกรรมการขับเคล่ือนหลักความ

พอเพยี งอย่างเป็นรูปธรรม

1.3 สง่ เสริมโรงเรียนคุณธรรมตามนโยบาย สพฐ.

สนองนโยบาย นโยบายที่ 1 ตวั ช้ีวดั ที่ 2

จดุ เน้น ข้อที่ 3

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นายธีรวัฒน์ ดวงใจดี และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา 45

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือให้ผู้บริหาร ครู และนักเรียน ตระหนักรู้ เข้าใจ และมีกระบวนการคิด อย่างมี

เหตุผล ซึมซับคุณค่าแหง่ คุณธรรมความดีอย่างเป็นธรรมชาติสร้างความร้สู ึกผดิ ชอบช่ัวดี และภูมิใจในการ

ทำความดี

2. เพื่อให้ผู้บริหาร ครู และนักเรียนสร้างเครือข่ายชุมชนองค์กรแห่งคุณธรรม โดยขอ

ความร่วมมือจากหน่วยงาน และองค์กรท่ีทำงานด้านคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน และมีความ

ต่อเนอื่ ง

กจิ กรรมสำคัญ

กิจกรรมที่ 1 การดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.

1.1 นิเทศในการดำเนินการนิเทศตามกิจกรรมโครงงานตามโครงการโรงเรียน

คณุ ธรรม สพฐ.

1.2 ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมโครงงานตามโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.

สรปุ ผลและรายงานผลการนิเทศการจดั กจิ กรรมโครงงานตามโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.

1.3 จดั ทำรูปเล่มเอกสารสรปุ และรายงานผลความสำเรจ็ ปัญหาและแนว

ทางแกไ้ ขในการดำเนนิ การตามโครงการในครง้ั ต่อไป

กิจกรรมท่ี 2 การดำเนนิ กิจกรรมโรงเรยี นวถิ ีพุทธ

- แจ้งโรงเรียนส่งผลงานเข้าประกวดตามแนวทางโรงเรียนวถิ ีพุทธระดับ

เขตพื้นทปี่ ระกาศรางวัลยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติโรงเรียนวิถพี ุทธ

การประเมินผล (ดัชนชี ี้วัดความสำเร็จ)

ร้อยละ 80 ของผู้บริหาร ครู และนักเรียน โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ตระหนักรู้

เข้าใจและ มีกระบวนการคิด อย่างมีเหตุผล ซึมซับคุณค่าแห่งคุณธรรมความดีอย่างเป็นธรรมชาติสร้าง

ความร้สู กึ ผิดชอบช่ัวดี และภูมิใจในการทำความดีผา่ นกจิ กรรมตามโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. และ

โรงเรียนวถิ ีพทุ ธ

1.4 รณรงค์ เฝ้าระวังและส่งเสริมสร้างสรรค์วันวาเลนไทน์ ประจำปี 2564

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 1 ตวั ชี้วดั ท่ี 3

จุดเน้น ข้อที่ 3

ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวขวัญพิรัลพัชร ฉายไสว และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน กุมภาพนั ธ์ 2564 - กันยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวัง และสง่ เสรมิ สรา้ งสรรค์วันวาเลนไทน์

ประจำปี 2564 ภายใตม้ าตรการการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-

19) ในสถานศึกษาของ สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 อยา่ งมีคุณภาพและ

ความสร้างสรรค์

กิจกรรมสำคัญ

กจิ กรรมที่ 1 การประกวดกิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวัง และส่งเสริมสร้างสรรค์วันวาเลน

ไทน์ ประจำปี 2564 ภายใตม้ าตรการการปอ้ งกันการของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา 46

การประเมนิ ผล (ดชั นีชวี้ ัดความสำเรจ็ )

ร้อยละ 70 ของสถานศึกษา ดำเนนิ งานเฝ้าระวัง และส่งเสริมสร้างสรรคว์ ันวาเลนไทน์

ประจำปี 2564 ภายใต้มาตรการการป้องกันการของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อย่าง

มคี ณุ ภาพและสรา้ งสรรค์

นโยบายที่ 2 ยกระดบั คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และขีดความสามารถในการแข่งขัน

มีโครงการที่จัดทำข้ึนเพือ่ ตอบสนองนโยบาย จำนวน 6 โครงการ ได้แก่

2.1 พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาสคู่ วามเขม้ แขง็

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 2 ตัวชีว้ ัดท่ี ๔

จุดเน้น ขอ้ ที่ 9

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวสุภัค แซ่เฮง้ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ของสถานศกึ ษาให้

มปี ระสิทธิภาพและเข้มแข็ง

๒. เพือ่ ส่งเสริมสถานศกึ ษาให้พรอ้ มรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก

3. เพ่อื นิเทศติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ในสงั กัดสำนกั งานเขต

พื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

กจิ กรรมสำคญั

กจิ กรรมท่ี 1 สงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

1.1 ตรวจสอบ กลนั่ กรอง สงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของ

สถานศกึ ษา (SAR)

1.๒ คัดเลือกรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ท่เี ป็น

แบบอย่างได้

1.๓ มอบประกาศเกียรติคณุ แกส่ ถานศึกษา

กจิ กรรมที่ 2 จดั ทำมาตรฐานการศึกษาของสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาฯ

2.1 จัดทำมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้นื ท่ีการศึกษา

2.๒ เสนอขออนุมัติมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศกึ ษา

2.๓ ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาฯ

กจิ กรรมที่ 3 ขบั เคลื่อนการดำเนินงานของสถานศกึ ษา

3.1 จัดอบรมปฏิบัตกิ ารพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาสู่

ความเข้มแขง็

การประเมนิ ผล (ดชั นชี ว้ี ดั ความสำเร็จ)

1. สถานศกึ ษาในสงั กดั ฯ รอ้ ยละ ๘๐ มีการดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพภายในท่ี

เข้มแขง็

2. สถานศกึ ษาในสงั กดั ฯ รอ้ ยละ 10๐ จัดส่งรายงานผลการประเมนิ ตนเองใหแ้ ก่

สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาภายในระยะเวลาทีก่ ำหนด

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา 47


Click to View FlipBook Version