The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา

2.2 พัฒนาโรงเรียนเพือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษา

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 2 ตัวช้ีวัดที่ 3

จดุ เน้น ขอ้ ที่ 5

ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นายศุภกร มรกต และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพอ่ื ส่งเสริมการบริหารจัดการใหเ้ กิดการร่วมกันพฒั นาคุณภาพโรงเรยี นทงั้ ระบบ

(Whole School Approach) โดยการเปลย่ี นแปลงโรงเรยี นเชิงระบบด้วยนวัตกรรม จิตศึกษา PBL และ

PLC และสร้างการเรยี นรู้ร่วมกนั ระหวา่ งโรงเรียน เพอ่ื ให้สามารถยกระดับการพัฒนาขน้ึ ไป

2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนสามารถกำหนด School Goal และ ออกแบบ

แผนการพฒั นาโรงเรยี นแบบทา้ ทายได้

3. เพื่อร่วมกันเสรมิ สร้าง Empower ผอู้ ำนวยการและครูในโครงการ พฒั นาใหเ้ กิดพ้ืนท่ี

แหง่ การเรียนรรู้ ่วมกนั ท้ัง Online Platform และ On Ground รวมทัง้ ถอดบทเรยี นเพ่ือการขยายผล

ตอ่ ไป

กิจกรรมสำคญั

กจิ กรรมที่ 1 คดั เลือกโรงเรยี นเข้ารว่ มโครงการ

กจิ กรรมที่ 2 ร่วมอบรมเปดิ บา้ นโรงเรยี นวัดโคกทอง

กิจกรรมท่ี 3 อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการหลักสูตร “Collective Trainer”

กิจกรรมที่ 4 อบรมหลกั สูตร TRUE LEADER โครงการสนับสนุนการพฒั นาครูและ

โรงเรยี นเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ 5 นิเทศ ติดตามการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเลก็ โครงการสง่ เสริม

ความรว่ มมือภาคประชาสังคมเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

กิจกรรมที่ 6 นิเทศ ตดิ ตามผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในโครงการ

ร่นุ ที่ 1, 2

กิจกรรมที่ 7 จัดแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ถอดบทเรียนของโรงเรียนในสังกดั 4 โรงเรียน

กิจกรรมที่ 8 คัดเลอื กผลงานที่เปน็ แบบอยา่ งได้

การประเมนิ ผล (ดัชนีชวี้ ดั ความสำเรจ็ )

1. โรงเรยี น จำนวน ๔ โรงเรียน มีการบริหารจัดการพัฒนาคณุ ภาพโรงเรยี นท้งั ระบบ

(Whole School Approach) โดยใชน้ วัตกรรมจิตศึกษา PBL และ PLC ได้

2. รอ้ ยละ 60 ของครสู ามารถออกแบบกิจกรรมและหน่วยการเรยี นรู้ PBL ไดอ้ ย่าง

เหมาะสมกับบริบทและนำมาใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

3. ร้อยละ 60 ของผอู้ ำนวยการและครใู นโครงการและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันเสรมิ สร้าง

Empower พัฒนาใหเ้ กดิ พื้นทแ่ี หง่ การเรียนรู้ร่วมกันทงั้ Online Platform และ On Ground รวมท้ังถอด

บทเรียนเพือ่ การขยายผลได้

4. โรงเรียนมผี ลงานทเี่ ปน็ แบบอย่างได้ในด้านการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ เพ่ือ

เสริมสร้างสมรรถนะนักเรยี น โรงเรียนละ 5 ช้ิน

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพ้ืนที่การศึกษา 48

2.3 คัดลายมอื สื่อคุณธรรม

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 2,3 ตวั ช้วี ัดที่ ๒

จุดเนน้ ขอ้ ท่ี 2

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกรรณกิ าร์ บุญถนอม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อพฒั นาและขยายผลใหก้ บั ผู้บริหาร ครแู ละนักเรียนในโรงเรียนทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการทุกคน

สามารถคัดลายมอื ตามแบบ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ถกู ตอ้ ง สวยงาม

๒. เพ่อื พัฒนาสือ่ ประกอบการพฒั นาคดั ลายมอื ตามแบบกระทรวงศึกษาธกิ าร

3. เพือ่ นเิ ทศ ติดตามผลการพฒั นาผู้บริหาร ครูและนกั เรียนในโรงเรียนท่ีเข้ารว่ มโครงการทุกคน

4. เพอ่ื ปลูกฝังคุณลักษณะทีด่ ีในการคัดลายมือตามแบบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กจิ กรรมสำคญั

กิจกรรมท่ี 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปล่ียนเรียนรู้การฝึกคัดลายมือของทีมวิทยากร

คณะกรรมการ และผทู้ ีเ่ กยี่ วข้อง

กจิ กรรมท่ี 2 ขยายผลโรงเรียนเข้าร่วมโครงการคัดลายมือ สื่อคณุ ธรรม เพม่ิ เติม คัดเลือก

โรงเรยี น

เข้าร่วมโครงการคดั ลายมอื ส่ือคณุ ธรรม

กิจกรรมที่ 3 จัดฝึกอบรมพัฒนาการคัดลายมือตามแบบกระทรวงศึกษาธิการให้แก่

ผูบ้ ริหาร ครูในโรงเรยี นทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ

กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลการคัดลายมือตามแบบของกระทรวงศึกษาธิการของผู้บริหาร

ครแู ละนักเรียน พร้อมมอบโลแ่ ละป้ายประกาศรางวัล

การประเมินผล (ดชั นีชว้ี ดั ความสำเร็จ)

1. ผู้บรหิ ารและคณะครูในโรงเรียนที่เขา้ โครงการ ร้อยละ 100 สามารถคัดลายมอื ตาม

แบบของกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ถูกต้อง สวยงาม

2. นักเรียนในโรงเรียนที่เข้าโครงการ ร้อยละ 8๐ สามารถคัดลายมือตามแบบของ

กระทรวงศึกษาธิการไดถ้ ูกต้อง สวยงาม

3. มีการขยายผลโรงเรียนต้นแบบการคัดลายมือ ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต ๒ เพม่ิ ขน้ึ จำนวน 10 โรงเรียน

2.๔ การประเมินผลสมั ฤทธิก์ ารศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

สนองนโยบาย นโยบายที่ 2 ตวั ชวี้ ัดท่ี 1

จดุ เน้น ขอ้ ท่ี ๓

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นายเสถยี ร แพนทิศ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือจดั สอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี

3 ทกุ คน

2. เพ่อื กำกับ ติดตามและควบคมุ คณุ ภาพการศึกษาของ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถม

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา 49

ศกึ ษาราชบุรี เขต ๒ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้เกดิ การพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการ

ประกนั คุณภาพภายในระดับสถานศกึ ษา

3. เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับสำหรบั ใชใ้ นกระบวนการตัดสินใจ

กจิ กรรมสำคญั

กิจกรรมท่ี 1 ประชมุ ช้ีแจงคณะกรรมการระดับสนามสอบ กรรมการตรวจเย่ียมสนาม

สอบ หวั หน้าสนามสอบ ตัวแทนศนู ย์สอบ ผ้ปู ระสานงาน กรรมการรบั สง่ ข้อสอบและเก็บรักษาขอ้ สอบ

กิจกรรมท่ี 2 ดำเนินการจัดสอบ

กิจกรรมท่ี 3 สรุปผลภาพรวม พมิ พ์ผลการประเมินเผยแพร่

การประเมนิ ผล (ดชั นชี ว้ี ดั ความสำเร็จ)

1. รอ้ ยละ 100 ของนกั เรยี นได้รบั การประเมนิ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น

2. รอ้ ยละ 10๐ ของโรงเรียนและหน่วยงานนำผลการประเมนิ ไปใช้ในการบริหารจัด

การศกึ ษา

2.๕ การประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) และประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของ

ผู้เรียน (RT) ปีการศกึ ษา 2563

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 2 ตัวชีว้ ัดที่ 1

จุดเน้น ขอ้ ท่ี 2,๓

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวชูขวญั อนิ ทรชัย และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือสือ่ สารสร้างความเข้าใจการดำเนินงาน การทดสอบเพื่อการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา

2563

2. เพื่อส่อื สารสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกับการใชร้ ะบบการบรหิ ารจัดการสอบ (NT Access) ในการ

จดั ทำฐานข้อมูลผู้เรียน และสนามสอบ ในการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 และ

ประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น (RT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2563 ระดบั สนามสอบ

3. เพอื่ การประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และประเมนิ ความสามารถด้าน

การอ่าน (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

4. เพื่อกำกับ ติดตามและควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 และชั้น

ประถมศึกษาปีท่ี 1 ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๒ ให้เกิดการพัฒนาอย่าง

ตอ่ เนอื่ ง

5. เพื่อให้เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษามีข้อมูลผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)

ชน้ั ประถม ศึกษาปีที่ 3 และประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศึกษา

2563 ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 50

กิจกรรมสำคัญ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชแ้ี จงคณะกรรมการทเ่ี กย่ี วข้อง

กจิ กรรมท่ี 2 ดำเนินการจดั สอบ

กิจกรรมที่ 3 วิเคราะห์ผลการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา จัดทำสรุปและรายงาน

ผลเพื่อเผยแพร่

กิจกรรมท่ี ๔ จัดทำแนวทาง/แผนยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ

การประเมนิ ผล (ดชั นีชว้ี ดั ความสำเร็จ)

1. ร้อยละ 100 ของผ้เู รียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ได้รบั การประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT)

2. รอ้ ยละ 85 ของสถานศกึ ษามีคะแนนเฉล่ยี ผลการประเมินสงู กว่าปีการศึกษาท่ีผ่านมาร้อยละ 3

3. ร้อยละ 100 ของผ้เู รียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ไดร้ บั การประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT)

4. รอ้ ยละ 85 ของสถานศกึ ษามีคะแนนเฉลีย่ ผลการประเมนิ สูงกว่าปีการศกึ ษาที่ผ่านมาร้อยละ 3

5. สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษาร้อยละ 100 มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน

(NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 และผลประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปี

การศึกษา 2563 ในการวางแผนพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น

2.6 การพัฒนาอจั ฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ประจำปีการศึกษา

2563

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 2 ตวั ช้ีวัดที่ 1, 6, 8

จุดเน้น ขอ้ ที่ ๓,4

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางสาวอจั ฉรียา สระทองเขียว และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อสรรหาและสง่ เสริมนักเรียนที่มคี วามสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์

2. เพอ่ื สร้างบรรยากาศให้นักเรียนสนใจการเรยี นวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

3. เพ่ือพัฒนาและขยายผลการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร สำหรับนกั เรียนท่มี ี

ความสามารถพเิ ศษทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์

กิจกรรมสำคญั

จดั สอบโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ประจำปีการศึกษา

2563

การประเมนิ ผล (ดชั นชี ว้ี ดั ความสำเรจ็ )

1. จำนวนนกั เรยี นทีส่ มคั รสอบ ผ่านการคัดเลือกโครงการพฒั นาอัจฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตร์

และคณติ ศาสตร์ เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 60

2. จำนวนนกั เรยี นไดร้ ับการพัฒนาและสง่ เสรมิ เพอ่ื เปน็ ฐานการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์

คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี สู่ประเทศไทย 4.0 เพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 60

นโยบายท่ี 3 การสง่ เสรมิ พฒั นาผู้บรหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

มีโครงการทีจ่ ัดทำขน้ึ เพ่ือตอบสนองนโยบาย จำนวน 10 โครงการ ได้แก่

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา 51

3.1 ส่งเสรมิ และพฒั นาหลักสูตรการศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกับการจัดการเรียนรู้ ใน

ศตวรรษท่ี 21

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 3 ตวั ช้วี ัดท่ี 2

จุดเน้น ข้อท่ี 1, 4, 7

ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางสาวกรรณกิ าร์ บญุ ถนอม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อใหค้ รูผู้สอนเขา้ ใจหลกั การของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และสามารถพฒั นา ปรับปรงุ หลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) และหลักสตู ร

สถานศกึ ษาปฐมวัยได้ถูกตอ้ งตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560

2. เพ่ือพัฒนากรอบหลักสูตรท้องถ่ิน และหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษาให้สอดคลอ้ ง

กับสภาพปจั จบุ ันและผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

3. เพอื่ ให้ครูผู้สอนสามารถจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช

2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) และหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั ได้ถกู ต้องตามหลักสูตรการศึกษา

ปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 โดยใช้การสอนตามแนว Active learning ได้

4. เพอื่ ใหค้ รูผู้สอนสามารถเลอื กหรือสรา้ งเครอื่ งมือประเมินนักเรยี นได้สอดคล้องกบั หลกั สูตร

แกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) และหลักสูตร

สถานศึกษาปฐมวัยไดถ้ กู ตอ้ งตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

กิจกรรมสำคญั

กิจกรรมท่ี 1 อบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กบั ผู้บริหารและครูปฐมวยั ในการปรับปรุง

หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั

กจิ กรรมที่ 2 วางแผน สร้างเครอื่ งมือและช้ีแจงคณะกรรมการในการดำเนินการนเิ ทศ

เพื่อประเมินมาตรฐานหลกั สตู รแกนกลางและหลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับ

ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

กิจกรรมท่ี 3 นเิ ทศเพ่ือประเมินมาตรฐานหลกั สตู รแกนกลางและหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั

พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ของสถานศึกษา

กจิ กรรมท่ี 4 พฒั นาการจัดประสบการณ์ตามแนว Active learning และส่งเสริมการใช้

สอื่ แหลง่ เรยี นรู้

กิจกรรมท่ี 5 การใชก้ รอบหลักสตู รระดบั ท้องถิ่นและหลักสตู รสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง

โดยเชือ่ มโยงทักษะการใช้ชวี ติ และอาชีพ

กิจกรรมที่ 6 ส่งเสรมิ การประเมนิ พัฒนาการตามสภาพจริง

กิจกรรมท่ี 7 นิเทศ เพอื่ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจในหลกั สูตรฐานสมรรถนะ สรุป

ประเมนิ ผล

การประเมนิ ผล (ดัชนีชวี้ ัดความสำเร็จ)

1. ครูผู้สอนรอ้ ยละ 80 เข้าใจหลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และสามารถ

พฒั นา ปรับปรุง หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.

2560) และหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา 52

2. โรงเรยี นพฒั นากรอบหลกั สตู รท้องถ่ิน และหลกั สตู รฐานสมรรถนะของสถานศึกษาให้

สอดคลอ้ งกบั สภาพปจั จบุ นั และผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรยี นในสังกัด

3. ครผู ู้สอน รอ้ ยละ 70 สามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย

พทุ ธศักราช 2560 โดยใช้การสอนตามแนว Active learning ได้

๔. ร้อยละ 80 ของครูผู้สอนปฐมวัย สามารถเลอื กหรอื สร้างเคร่ืองมือประเมนิ นักเรียน ได้

สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

และหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ไดถ้ กู ต้องตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

3.2 พฒั นาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนเชงิ รุก (Active Learning) ของครสู ู่

ในศตวรรษ ที่ 21

สนองนโยบาย นโยบายที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 2

จดุ เนน้ ขอ้ ที่ 1, 3, 4, 7

ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นายธีรวฒั น์ ดวงใจดี และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือพัฒนาสมรรถนะของครูในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning และ

ทักษะอาชีพ ให้สอดคลอ้ งกับการจดั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทง้ั 5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้

2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรู้และทกั ษะอาชพี ในการจดั การเรยี นการสอน

แบบ Active Learning

3. เพอ่ื ยกระดบั ผลคะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบ O-NET, NT และ RT ของโรงเรียนใน

สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2

4. เพ่อื ให้ครูผู้สอนสามารถเลอื กหรือสรา้ งเครือ่ งมือประเมนิ นักเรียน ได้สอดคลอ้ งกับ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) และหลักสูตร

สถานศึกษาปฐมวยั ได้ถกู ตอ้ งตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

กจิ กรรมสำคัญ

กิจกรรมท่ี 1 พฒั นาความสามารถของครูผู้สอนให้มีสมรรถนะในการจดั การเรยี นการ

สอนแบบ Active Learning และทกั ษะอาชพี ท่ีสอดคลอ้ งกบั ทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ทั้ง 5

กลุ่มสาระการเรียนรู้

กิจกรรมที่ 2 นเิ ทศตามรปู แบบการนิเทศการให้ความร้เู พ่อื พัฒนาครูผสู้ อนใหม้ ีสมรรถนะ

ในการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ทีส่ อดคลอ้ งกบั ทกั ษะการจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี

21 ท้งั 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ อำเภอละ 5 โรงเรียน เปน็ 20 โรงเรียน

กจิ กรรมท่ี 3 การประกวดเพ่ือประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้และกิจกรรมการจัดการ

เรียนรู้ของครูผู้สอน ทัง้ 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ท่สี ามารถเป็นแบบอย่างในการจดั การเรียนการสอนแบบ

Active Learning และทักษะอาชพี ในศตวรรษที่ 21 ทเ่ี หมาะสม เพ่ือเปน็ การแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละ

สร้างแรงจงู ใจให้แกค่ รู

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพื้นท่ีการศึกษา 53

การประเมินผล (ดัชนีชวี้ ดั ความสำเรจ็ )

1. รอ้ ยละ 80 ของครูผู้สอนที่ไดร้ ับการนเิ ทศความรคู้ วามเข้าใจและมีสมรรถนะในการ

จดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning และทกั ษะอาชีพ ท่สี อดคลอ้ งในศตวรรษท่ี 21 ทงั้ 5 กลุ่ม

สาระการเรยี นรู้

2. รอ้ ยละ 30 ของครผู ู้สอนที่ได้รับการนิเทศมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรู้ในการจดั การ

เรียนการสอนแบบ Active Learning และทักษะอาชพี ท่ีสอดคล้องในศตวรรษท่ี 21 ทั้ง 5 กลุ่มสาระการ

เรยี นรู้สูงขน้ึ

3.3 ส่งเสริมผูบ้ รหิ าร ครูและผเู้ รยี นสู่สงั คมเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาในศตวรรษท่ี 21

สนองนโยบาย นโยบายที่ 3 ตัวชี้วัดท่ี 2

จุดเน้น ข้อที่ 5, 6, 7

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางจติ ตมิ า เนียมกัน และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื สง่ เสริมสนบั สนนุ การผลิต จัดหา พัฒนาและใชส้ ื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

ในการจัดการเรียนการสอน และการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) และการจัดการศึกษา

ทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ให้มีประสทิ ธิภาพ

2. เพื่อนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผ่าน

ดาวเทยี มของโรงเรียนขนาดเลก็ การผลติ จัดหา พัฒนาและใช้ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

ของสถานศึกษาในสังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2

3. เพื่อสร้างเครือข่ายประสานความร่วมมือให้แก่สถานศึกษาในสังกัดด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสม

ตามบริบทของสถานศึกษา โดยจัดให้มีเวทีแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ด้วยกระบวนการ PLC มีการประกวด Best

Practice ให้กับสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอน โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมประสบ

ผลสำเร็จดเี ยี่ยม

4. เพ่ือพัฒนาครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการ

เรยี นรวู้ ิทยาการคำนวณ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

5. เพ่ือวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของ

โรงเรยี นขนาดเลก็ ในสงั กัด

6. เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ

กจิ กรรมสำคัญ

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารส่งเสริมผู้บรหิ าร ครูและผเู้ รยี นสสู่ งั คมเทคโนโลยีเพอ่ื

การศกึ ษา

กิจกรรมท่ี 2 จัดทำรายงานการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้การศึกษา

ทางไกลผ่านดาวเทยี มของโรงเรยี นขนาดเลก็ และโรงเรยี นขยายโอกาสในสังกดั

กจิ กรรมที่ 3 อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาด้วยการศึกษาทางไกลผ่าน

ดาวเทยี ม (DLTV) โรงเรยี นขนาดเลก็ จำนวน 79 โรงเรียน

กจิ กรรมท่ี 4 จัดทำรายงานการวจิ ยั เพื่อพัฒนาการจดั การเรียนการสอนโดยใชก้ ารศึกษา

ทางไกลผา่ นดาวเทยี มของโรงเรยี นขนาดเล็กและโรงเรียนขยายโอกาสในสังกดั

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพ้ืนที่การศกึ ษา 54

กิจกรรมท่ี 5 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาการจดั การเรียนรู้วิทยาการคำนวณสำหรบั ครู

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-3

กิจกรรมที่ 6 จัดทำรายงานการวิจยั การพัฒนาการจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคำนวณสำหรบั

ครูชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1-3

การประเมินผล (ดัชนชี วี้ ัดความสำเร็จ)

1. รอ้ ยละ 80 ของผู้บริหารสถานศกึ ษา ครูมกี ารผลติ จดั หา พฒั นาและใช้สื่อ นวตั กรรม

และเทคโนโลยีทางการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

2. ร้อยละ 80 ของสถานศกึ ษาได้รับการนเิ ทศติดตามและประเมินผลการผลิต จัดหา

พฒั นาและใช้ส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

3. ร้อยละ 100 ของครทู ีเ่ ข้าอบรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดว้ ยการศกึ ษาทางไกล

ผ่านดาวเทยี ม (DLTV) โรงเรยี นขนาดเล็ก จำนวน 79 โรงเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและสามารถจัด

การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (NEW DLTV)

4. รอ้ ยละ 100 ของครูอบรมการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี

สารสนเทศ (DLIT) โรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 36 โรงเรียน มีความรใู้ นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

ทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ไดต้ ามมาตรฐานของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้น

พนื้ ฐาน

5. รอ้ ยละ 100 ของครูที่เขา้ รับการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้

วิทยาการคำนวณสำหรับครูชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 มศี ักยภาพในการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ และ

การออกแบบเทคโนโลยีสูงขึ้น

3.4 พฒั นาการจัดประสบการณ์การเรยี นการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2564

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 3 ตวั ชี้วัดที่ 2

จดุ เนน้ ขอ้ ท่ี 1

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวกรรณิการ์ บญุ ถนอม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถุประสงค์

เพอ่ื ประเมินพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญาของนักเรียนที่

จบหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563

กิจกรรมสำคัญ

กิจกรรมที่ 1 ประเมนิ พฒั นาการนักเรยี นที่จบหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช

2560 ปกี ารศึกษา 2563

การประเมินผล (ดชั นีชีว้ ัดความสำเร็จ)

1. ร้อยละ 100 ของนกั เรียนท่ีจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปี

การศกึ ษา 2563 ได้รบั การประเมนิ พัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา 55

3.5 บ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ระดบั ปฐมวัย ปีงบประมาณ 2564

สนองนโยบาย นโยบายที่ 3 ตัวชวี้ ัดท่ี 2

จุดเน้น ข้อท่ี 1, 5, 7

ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางสาวกรรณกิ าร์ บุญถนอม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

1. พฒั นาครปู ฐมวัยให้สามารถจดั ถ่ายทอดความรู้ และทกั ษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง

2. ส่งเสริมและเปดิ โอกาสให้เด็กปฐมวยั ได้เรียนรู้และมปี ระสบการณ์ในการรู้

วิทยาศาสตร์

3. โรงเรยี นทเี่ ขา้ รบั การประเมินผลงาน เพือ่ ขอรับตราพระราชทานบ้านนกั วิทยาศาสตร์

น้อย ประเทศไทย ผ่านการประเมนิ และได้รับตราพระราชทานฯ

4. เพ่อื นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย

กิจกรรมสำคญั

กจิ กรรมท่ี 1 อบรมเชิงปฏิบัติการข้นั พื้นฐาน เร่อื งนำ้ และอากาศ และการทำโครงงาน

บ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย

กิจกรรมท่ี 2 ประเมินผลงานโรงเรยี นเพอ่ื รับตราพระราชทาน “บา้ นนักวทิ ยาศาสตร์

นอ้ ย ประเทศไทย” ประจำปีการศึกษา 2563

กจิ กรรมที่ 3 นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศ

ไทย

การประเมนิ ผล (ดชั นีชีว้ ดั ความสำเร็จ)

1. รอ้ ยละ 100 ของครูปฐมวัยที่ได้รับการพัฒนา สามารถจดั ถ่ายทอดความรู้ และ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

2. รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียนทเี่ ขา้ รบั การประเมิน ผ่านการประเมินผลงานและรบั ตรา

พระราชทาน บ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย

3.6 พัฒนาศกั ยภาพของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

สนองนโยบาย นโยบายที่ 3 ตัวช้วี ัดที่ 2

จดุ เน้น ข้อที่ 8

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสมบรู ณ์ สุขทวี และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพอ่ื สร้างขวญั และกำลังใจ ความสามัคคี และความสัมพันธอ์ ันดีต่อกันของบุคลากร

2. เพื่อยกยอ่ ง เชดิ ชูเกยี รตใิ หก้ ับครูท่ีผลการปฏิบตั งิ านดเี ดน่ เป็นแบบอย่างได้

3. เพอ่ื สง่ เสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองทั้งในดา้ นการปฏิบัตงิ าน และด้านคณุ ธรรม

จริยธรรม อย่างตอ่ เนอ่ื งและเป็นระบบ มีความก้าวหน้าในวิชาชพี

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา 56

กิจกรรมสำคัญ

กจิ กรรมที่ 1 ศกึ ษา วเิ คราะห์สภาพการปฏบิ ัติงานของผบู้ รหิ ารการศกึ ษา ผู้บริหาร

สถานศกึ ษา ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

กจิ กรรมท่ี 2 จดั กจิ กรรมนำเสนอผลงานและจัดนิทรรศการแลกเปลีย่ นเรียนรู้

การประเมนิ ผล (ดัชนชี ี้วดั ความสำเรจ็ )

ร้อยละ 100 ของผ้บู รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่เี ข้ารว่ มกิจกรรมแลกเปลี่ยน

เรียนรู้มีความพึงพอใจ

3.7 การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

สายงานบริหารสถานศกึ ษา

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 3 ตัวชวี้ ัดที่ 1

จุดเนน้ ขอ้ ที่ 8, 9

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสนุ ีย์นาฏ เรืองรัตนส์ นุ ทร และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ให้ผู้บริหารสถานศึกษา ไดร้ ับการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานอย่างต่อเนอ่ื ง เป็น

ระบบและ มีคณุ ภาพ

2. เพอื่ สง่ เสรมิ การประเมินผลการปฏบิ ัติงานไดค้ รบทกุ โรงเรยี น

3. เพื่อสง่ เสรมิ พัฒนา ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ให้ทำงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ประสบ

ความสำเร็จในการทำงาน และพัฒนาวิชาชีพ

กจิ กรรมสำคญั

กิจกรรมที่ 1 ดำเนนิ การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน

กิจกรรมที่ 2 สรุป รายงานผล

การประเมินผล (ดัชนีชีว้ ัดความสำเร็จ)

ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานบริหาร

สถานศกึ ษา ครั้งที่ 1 (1 เมษายน 2564) และครั้งท่ี 2 (1 ตลุ าคม 2564) ตามระบบคุณธรรม โปร่งใส

และสามารถตรวจสอบได้ ร้อยละ 100

3.8 ประเมินสมั ฤทธผ์ิ ลการปฏิบัติงานในหน้าที่ เพือ่ พฒั นาการศกึ ษาของผบู้ รหิ าร

สถานศึกษา ในระยะเวลา 1 ปี

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 3 ตวั ชวี้ ัดท่ี 1, 2

จดุ เน้น ข้อที่ 8, 9

ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวนวลวรรณ เอกรกั ษา และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถุประสงค์

เพอ่ื พฒั นาผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาให้มีสมรรถนะ และศกั ยภาพในการบรหิ ารจดั การ

สถานศึกษา

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา 57

กิจกรรมสำคญั

กิจกรรมที่ 1 คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา/พี่เลี้ยง นเิ ทศติดตาม ให้คำปรกึ ษา

กจิ กรรมที่ 2 คณะกรรมการประเมินสัมฤทธิ์ผลฯ ประเมนิ สมั ฤทธิ์ผล การปฏบิ ัตงิ านใน

หน้าทเ่ี พอื่ พฒั นาการศึกษาของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

การประเมนิ ผล (ดัชนชี ี้วดั ความสำเร็จ)

รอ้ ยละ 100 ของผู้บรหิ ารสถานศึกษามีสมรรถนะ และศักยภาพในการบรหิ ารจดั การ

สถานศกึ ษา

3.9 พัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศกึ ษาและทกั ษะชวี ิต ในโรงเรียนเพ่อื

เพมิ่ ศกั ยภาพครผู ู้สอน

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 3 ตัวช้วี ัดที่ 2

จดุ เน้น ขอ้ ท่ี 3, 7

ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ นางสวุ ภัทร จิตรเ์ พง่ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถปุ ระสงค์

เพ่อื เพิม่ ศักยภาพครผู ู้สอนในการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active learning เรือ่ ง เพศวิถี

ศึกษาและทกั ษะชีวติ ในโรงเรยี นขยายโอกาสให้สอดคล้องตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี

กิจกรรมสำคญั

กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมวางแผนชแี้ จงคณะกรรมการในการดำเนนิ การนเิ ทศการจัดการ

เรยี นรขู้ องครผู สู้ อน เรื่อง เพศวถิ ศี ึกษาและทักษะชีวิต ในโรงเรียนให้สอดคล้องตามบริบทของพ้นื ท่ี

กจิ กรรมท่ี 2 นเิ ทศครผู ู้สอนในการจัดการเรียนร้เู พศวถิ ีศึกษาและทักษะชีวติ ในลกั ษณะ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning ในโรงเรียนขยายโอกาส ตามแผนการนิเทศ

กิจกรรมท่ี 3 ประเมินแผนการจดั การเรียนรขู้ องครผู ู้สอน เร่อื งเพศวิถศี กึ ษาและทกั ษะ

ชวี ติ ในลกั ษณะการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active learning ในโรงเรยี นขยายโอกาส ท่ีสามารถ

เป็นแบบอย่างในการจดั การเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมและสังเกตการจัดการเรียนรู้

กจิ กรรมที่ 4 ประชมุ คณะกรรมการเพ่อื สรุปผลและรายงานผลการนิเทศในการจัดการ

เรียนรูข้ องครผู สู้ อน เรอ่ื งเพศวถิ ีศึกษาและทักษะชวี ิตในโรงเรียน

กิจกรรมท่ี 5 จดั ทำรูปเล่มเอกสารสรปุ และรายงานผลความสำเรจ็ ปัญหา และแนวทาง

แก้ไขในการดำเนนิ การตามโครงการในครั้งตอ่ ไป

การประเมินผล (ดัชนีชว้ี ัดความสำเร็จ)

1. รอ้ ยละ 100 ของครใู นโรงเรียนขยายโอกาสมกี ารจัดการเรยี นรเู้ รอ่ื ง เพศวถิ ีศึกษา

และทกั ษะชีวติ ในโรงเรยี นได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

3.10 ขับเคลอ่ื นการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 3 ตัวชวี้ ัดท่ี 2

จุดเนน้ ข้อที่ 5, 7

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นายเสถียร แพนทิศ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นท่ีการศึกษา 58

วตั ถุประสงค์

1. เพอื่ พัฒนาครูผ้สู อนใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจ และสามารถจดั การเรยี นรูว้ ิทยาการ

คำนวณ และการออกแบบเทคโนโลยี ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา

ราชบุรี เขต 2 2. เพือ่ นิเทศ ติดตามและให้คำปรึกษาดา้ นการจัดการเรียนรู้ ใหม้ ศี ักยภาพใน

การจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ

กจิ กรรมสำคัญ

กจิ กรรมท่ี 1 ออกแบบสำรวจความต้องการในการเข้ารับการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการ

จดั การเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณสำหรับครูผู้สอนวิทยาการคำนวณในแต่ละช่วงช้นั ผา่ นระบบ

google form

กิจกรรมที่ 2 จดั อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการหลักสูตร C4T ระดับปฐมวัย/ระดับประถมตน้

และประถมปลายและมัธยมศึกษาตอนตน้

กจิ กรรมท่ี 3 นเิ ทศ ตดิ ตาม การจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณและการออกแบบ

เทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 4 การนเิ ทศ ติดตาม การจัดการเรยี นรวู้ ทิ ยาการคำนวณและการออกแบบ

เทคโนโลยี สรปุ รายงานผลการดำเนินงานโครงการ จัดทำรายงานการวิจยั

การประเมินผล (ดัชนีช้ีวดั ความสำเร็จ)

1. ร้อยละ 100 ของครูที่เขา้ อบรมทกุ คนจดั การเรียนรวู้ ิทยาการคำนวณ และการ

ออกแบบเทคโนโลยีในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 มีศกั ยภาพ

ในการจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณและการออกแบบเทคโนโลยีสูงขึ้น

นโยบายท่ี 4 การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งท่วั ถึงและเท่าเทยี ม

มีโครงการทจ่ี ัดทำข้ึนเพอ่ื ตอบสนองนโยบาย จำนวน 2 โครงการ ได้แก่

4.1 การขบั เคลอ่ื นการบริหารจัดการโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 4 ตัวชว้ี ัดท่ี 1, 2, 3

จุดเนน้ ข้อที่ 3, 5

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางวรรณวภิ า สุนันธรรม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถุประสงค์

เพอ่ื วางแผนการดำเนินการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน ให้นักเรยี นไดร้ บั การจดั การ

เรียนสอนอย่างมีคุณภาพ มีผลสัมฤทธ์ิสูงข้ึนและมีรูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสม สอดคล้องต่อ

นโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

กิจกรรมสำคัญ

กจิ กรรมที่ 1 ประชุมเพอ่ื วางแผนดำเนนิ การบรหิ ารจดั การโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน

กจิ กรรมที่ 2 ดำเนนิ การจัดทำแผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน

กจิ กรรมท่ี 3 สรปุ ประเมินผลและรายงาน

ผลการประเมนิ ผล (ดชั นชี ีว้ ัดความสำเร็จ)

1. ร้อยละ 80 ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง มีความรู้

ความเข้าใจในการบรหิ ารการจดั การโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา 59

2. ร้อยละ 100 ของโรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

ได้รบั การพฒั นาและมีรูปแบบการจัดการศึกษาท่เี หมาะสม สอดคล้องกับบริบทของโรงเรยี นและสามารถ

บริหารจัดการโรงเรยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

4.2 สง่ เสรมิ พัฒนาโรงเรียนและเครือข่าย ในการขยายโอกาสทางการศึกษา อยา่ ง

เปน็ ระบบใหท้ ัว่ ถงึ และลดความเหลือ่ มล้ำ ผ้เู รียนได้รับโอกาสในการพฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพ

สนองนโยบาย นโยบายที่ 4 ตัวชว้ี ัดที่ 1

จุดเนน้ ขอ้ ท่ี 3

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวจนั ทนา ไตรรงค์วจิ ติ ร์ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพอื่ ให้เด็กวัยการศกึ ษาภาคบงั คบั ทกุ คน ไดร้ บั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานอยา่ งทั่วถึงเทา่ เทยี มกนั

2. ส่งเสรมิ ให้เดก็ วยั การศกึ ษาภาคบังคบั ได้พัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ

3. เด็กท่ีจบการศกึ ษาภาคบงั คับ ๙ ปี เรียนต่ออกี 3 ปี รวมเป็นไดร้ ับการศึกษาอย่างน้อย 12 ปี

กจิ กรรมสำคญั

กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานการรบั นกั เรียน ปกี ารศกึ ษา 2564

กจิ กรรมที่ 2 สำรวจสำมะโนประชากรวยั เรยี น ท่ีเกิดปี 2557 เข้าเรยี นช้นั ป.1 ปี

การศกึ ษา 2564

กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะกรรมการรับนักเรียน เพ่ือประเมินความพร้อมโรงเรียนที่ขอ

อนุญาตเปิดรับนักเรยี น ช้ัน อนบุ าล 1 (๓ ปบี รบิ รู ณ์)

ผลการประเมนิ ผล (ดัชนีชี้วัดความสำเรจ็ )

1. ร้อยละ 100 ของประชากรในกลุ่มอายุยา่ งเข้าปที ่ี 7 – 16 ปี ไดร้ บั การศึกษาภาคบงั คบั

2. นักเรยี นทอี่ อกกลางคัน ไดเ้ ข้าเรยี นตามเป้าหมายเพมิ่ ขึ้น รอ้ ยละ 2

3. นักเรยี นทจี่ บการศกึ ษาภาคบงั คบั ไดเ้ รียนตอ่ ในระดับทีส่ ูงขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 2

นโยบายท่ี 5 การจัดการศึกษา เพ่อื สรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

มโี ครงการที่จดั ทำขน้ึ เพอื่ ตอบสนองนโยบาย จำนวน 2 โครงการ ได้แก่

5.1 พัฒนาอาคารสถานท่ี สิ่งแวดลอ้ ม และส่งเสรมิ สขุ ภาวะของบคุ ลากร

สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

สนองนโยบาย นโยบายที่ 5 ตวั ชว้ี ัดท่ี 1, 4

จุดเนน้ ขอ้ ท่ี 3, 5

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวพมิ พ์วภิ า บำรงุ ทรัพย์ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือพฒั นาอาคารสถานที่ และปรบั ปรุงภูมิทัศน์ สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ให้มีความม่ันคง เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย สวยงาม สะดวก สำหรับบุคลากร

ผูป้ ฏบิ ตั ิงาน และผู้ทม่ี าติดต่อราชการ

2. เพอ่ื ใหข้ ้าราชการครู บุคลากร และนักเรยี น มคี วามร้ทู ่ถี กู ต้องในการป้องกนั โรค และจัดการสุขภาพทดี่ ี

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพ้นื ที่การศึกษา 60

กิจกรรมสำคัญ

กจิ กรรมท่ี 1 พฒั นาอาคารสถานท่ี ปรับปรุงภูมิทศั น์

กจิ กรรมท่ี 2 ออกกำลังกาย

กิจกรรมท่ี 3 มาตรการลดความเส่ยี ง เฝา้ ระวังการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ (จดั ตง้ั ศนู ย์

เฝา้ ระวัง ของ สพป.ราชบรุ ี เขต 2/กำหนดมาตรการ)

ผลการประเมินผล (ดชั นชี ้ีวดั ความสำเรจ็ )

1. ร้อยละ100 ของบคุ ลากรมคี วามสขุ ในการทำงาน ผูม้ าตดิ ตอ่ ราชการพึงพอใจใน

อาคารสถานทแ่ี ละการให้บรกิ าร

2. ร้อยละ 100 ของบคุ ลากรในสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

มคี วามรู้ ความเข้าใจ มสี ุขภาวะทด่ี ี และมีส่วนรว่ มในการดำเนนิ กิจกรรม

5.2 สรา้ งจติ สำนกึ และความรใู้ นการผลิตและบริโภคทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

สนองนโยบาย นโยบายที่ 5 ตวั ชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4

จดุ เนน้ ขอ้ ที่ 3

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นายเสถยี ร แพนทิศ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วตั ถุประสงค์

เพอื่ ให้บุคลากรในสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ผบู้ ริหาร ครู

นกั เรยี น ประชาชน สถานศึกษา เกิดจิตสำนกึ และมคี วามร้ใู นการผลิตและบริโภคที่เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม

กิจกรรมสำคัญ

กิจกรรมท่ี 1 ให้ความรู้ครู บุคลากรในสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี

เขต 2 เปน็ แผ่นพับ ส่งทางระบบ AMSS ไลน์กลุ่ม

กิจกรรมที่ 2 ประกวดกจิ กรรมโครงการ สร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลิตและบริโภค

ทีเ่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม ระดับเขตพน้ื ที่ สง่ ประกวดในระดบั ภาค/ประเทศ

ผลการประเมนิ ผล (ดัชนชี ี้วัดความสำเรจ็ )

1. จำนวนโครงการสรา้ งจติ สำนึกและความร้ใู นการผลิตและบริโภคท่เี ป็นมติ รกับ

สง่ิ แวดลอ้ มทปี่ ระสบความสำเร็จ

2. จำนวนโรงเรยี นไดร้ ับการคดั เลอื กเป็นโรงเรยี นสร้างจิตสำนกึ และความรใู้ นการผลิต

และบรโิ ภคที่เปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อมที่ประสบความสำเร็จ ดเี ดน่

นโยบายท่ี 6 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา

มีโครงการที่จัดทำข้ึนเพอ่ื ตอบสนองนโยบาย จำนวน 11 โครงการ ได้แก่

6.1 การบริหารจดั การงบประมาณอย่างมีประสิทธภิ าพ

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 6 ตัวชว้ี ัดท่ี 1, 3

จดุ เนน้ ขอ้ ท่ี 9, 10

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรรณวิภา สนุ ันธรรม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564

แผนพัฒนาการบริหารจดั การเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา 61

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อใหก้ ารดำเนนิ งานด้านการบริหารงบประมาณ ของสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาเป็นไปอยา่ งเป็น

ระบบ และอยใู่ นกรอบแนวทางทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานกำหนด ภายใต้ กฎหมาย

ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ทว่ี างไว้

2. เพ่ือให้สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา สามารถสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศกึ ษาของ

สถานศกึ ษาไดอ้ ย่างมีคุณภาพ บรรลุเป้าหมายของการปฏิรปู การศกึ ษา

กจิ กรรมสำคัญ

กิจกรรมท่ี 1 จัดทำประมาณการใชจ้ ่ายงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กิจกรรมที่ 2 ประชมุ คณะกรรมการจัดสรรงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา

กจิ กรรมท่ี 3 จดั ทำแผนจดั ต้ังงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนกั งานเขต

พน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2

กจิ กรรมท่ี 4 จัดสรร เร่งรดั กำกับ ติดตามการดำเนินงาน สรปุ ผลการดำเนินงาน

ผลการประเมนิ ผล (ดชั นีชี้วดั ความสำเร็จ)

๑. ร้อยละ 100 ของการใช้จ่ายงบประมาณเปน็ ไปอยา่ งคุม้ คา่ เกิดประโยชน์สูงสุด

โปรง่ ใส ตรวจสอบได้

2. ร้อยละ 95 ของการเบกิ จ่ายงบประมาณเป็นไปตามเปา้ หมาย

6.2 ประชมุ ผบู้ ริหารการศึกษา ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ขา้ ราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2

สนองนโยบาย นโยบายที่ 6 ตวั ช้วี ัดที่ 1, 2, 3

จดุ เน้น ขอ้ ท่ี 8, 9, 10

ผูร้ ับผิดชอบโครงการ นางกันยา เลาห์ประเสริฐสิทธิ์ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ผู้บริหารการศกึ ษา ผอ.กลุ่ม/หนว่ ย ประธานกลมุ่

โรงเรยี นเครอื ข่าย

ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ได้รับทราบนโยบายในการจัดการศกึ ษา และนำ

นโยบายสู่ การปฏิบัตอิ ย่างมีประสิทธภิ าพ

2. เพื่อช้ีแจงแนวทางการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนนิ งานของสำนกั งานเขต

พืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2

๓. เพ่ือรบั ฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ แลกเปล่ียนและหาแนวทางแกไ้ ขรว่ มกัน

กิจกรรมสำคัญ

กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมผ้บู รหิ ารการศึกษา ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา และบุคลากรทางการ

ศึกษา

กจิ กรรมที่ 2 ประชมุ ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา ผอ.กลมุ่ /หนว่ ย/ศกึ ษานเิ ทศก์ ทุกวนั พุธของ

สปั ดาห์

กิจกรรมท่ี 3 ประชุมบคุ ลากรทางการศึกษาและลูกจ้างประจำ ในสงั กดั

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 62

กิจกรรมที่ 4 ประชุมผู้บรหิ ารการศึกษา ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ข้าราชการครู บุคลากร

ทางการศึกษา ลกู จา้ งประจำ และลกู จ้างชว่ั คราวผูป้ ฏบิ ัติงานให้ราชการ

ผลการประเมินผล (ดชั นีชวี้ ดั ความสำเร็จ)

1. ร้อยละ 100 ของผเู้ ข้าร่วมประชมุ ไดร้ ับความรู้ และรับทราบแนวปฏบิ ตั ิ รวมถึง

นโยบายตา่ งๆ นำไปปฏบิ ัตพิ ฒั นางานทางวิชาการและบริการบรหิ ารจัดการ

2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาดำเนินงานตามนโยบายและแนวทางการดำเนนิ งาน ท่ี

ได้รบั ทราบในท่ีประชุม

6.3 จัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ี

การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 6 ตวั ช้วี ัดที่ 1, 2, 3

จุดเนน้ ข้อท่ี 8, 9, 10

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสจุ ติ รา วงศร์ ส และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถุประสงค์

๑. เพอ่ื วเิ คราะห์ผลการดำเนินงานปที ผ่ี า่ นมา ของสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

ประถมศึกษา

ราชบุรี เขต 2

2. จัดทำนโยบายของสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 เพื่อใช้

เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความ

ตอ้ งการและสนองนโยบาย เปา้ หมาย กิจกรรม และงบประมาณทกี่ ำหนด

3. เพือ่ ให้ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กดั ทราบถึงกลยุทธ์

ในการบริหารจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 และใชเ้ ปน็ กรอบ

แนวทางในการบริหารจัดการศกึ ษาให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั

กิจกรรมสำคญั

กจิ กรรมที่ 1 ประชมุ คณะทำงานจดั ทำร่างแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ.

๒๕๖๓ – ๒๕๖๕

กจิ กรรมที่ 2 ประชุมเชงิ ปฏิบัติการจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖4

กิจกรรมท่ี 3 ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการกลัน่ กรองวเิ คราะห์โครงการ/งบประมาณ

กจิ กรรมที่ 4 - จัดทำรปู เลม่ แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖4

- จดั ทำรปู เลม่ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2563-2565

- ประชาสัมพนั ธ์สถานศกึ ษา/บคุ คลที่เกีย่ วข้องขับเคลื่อนนโยบายตาม

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖4

กิจกรรมท่ี 5 การตดิ ตามและประเมินผล

ผลการประเมินผล (ดัชนชี ีว้ ดั ความสำเรจ็ )

๑. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงานและสถานศกึ ษาทใี่ ช้แผนเปน็ เครือ่ งมือในการบริหาร

จัดการ

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา 63

๒. ร้อยละ 100 ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใน

สงั กดั ทราบถึงกลยทุ ธ์ในการบริหารจดั การศกึ ษา ของ สพป.รบ. 2

6.4 การจัดต้ังงบประมาณ งบลงทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

สนองนโยบาย นโยบายที่ 6 ตวั ชว้ี ัดท่ี 2, 3

จุดเนน้ ขอ้ ที่ 9, 10

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางวรรณวภิ า สุนันธรรม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ให้การจดั สรรงบประมาณ เปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ ง ยตุ ิธรรม โปรง่ ใส สามารถ

ตรวจสอบได้

2. เพ่ือตรวจสภาพจรงิ สถานศกึ ษาทปี่ ระสงคข์ อต้ังงบประมาณ รายการ ค่ากอ่ สร้าง

ปรบั ปรุงซอ่ มแซม

กจิ กรรมสำคญั

กิจกรรมท่ี 1 การจดั ต้ังงบประมาณ รายการคา่ ครภุ ัณฑ์ ทด่ี นิ และสิ่งกอ่ สรา้ ง

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

กิจกรรมที่ 2 การจดั ตง้ั งบประมาณสำหรับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.

2565

กิจกรรมที่ 3 การจดั ตัง้ งบประมาณ รายการปรบั ปรงุ ซ่อมแซมไฟฟ้า-ประปา

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ผลการประเมินผล (ดัชนีชีว้ ัดความสำเรจ็ )

1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษา ท่ีขอจัดตง้ั งบประมาณไดร้ บั การตรวจสอบข้อมลู และ

สถานท่ีจริง

2. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษา ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณตรงตามความตอ้ งการ จำเป็น

ขาดแคลน

3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษา มีสถานที่จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ให้นักเรยี นอย่าง

เพียงพอ และมีสภาพแวดล้อมเออื้ ตอ่ การเรยี นรู้

6.5 การติดตามประเมินผลการบรหิ ารจดั การศึกษา

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 6 ตัวช้วี ัดที่ 1, 2, 3, 4

จดุ เน้น ขอ้ ที่ 9, 10

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวศมน ขำมาลัย และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อติดตามความกา้ วหน้า ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานโครงการ และการบริหารจัดการ

ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

๒. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการบริหารจัดการภายใต้รูปแบบการติดตาม รายงานผลการ

ดำเนนิ งานและการบรหิ ารจดั การเมื่อเสร็จสน้ิ ปงี บประมาณ

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา 64

3. เพ่อื ตดิ ตามความก้าวหน้า ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ และติดตามตรวจสอบ

ผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ให้มี

ประสทิ ธภิ าพ

กิจกรรมสำคญั

กิจกรรมท่ี 1 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการตรวจสอบ ประเมินผลแผนปฏบิ ัติการประจำปี

งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของโรงเรยี นในสงั กัด

กิจกรรมที่ 2 กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผลและรายงานการขับเคล่ือนการบรหิ าร

งบประมาณ

กิจกรรมที่ 3 สรปุ ผลการดำเนินงาน โครงการ ตดิ ตาม ประเมินผลและการจดั ทำรายงาน

ผลการจัดการศกึ ษา

กิจกรรมท่ี 4 ตดิ ตามผลการดำเนินงานตามนโยบาย สพฐ. และการตรวจราชการของ

ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ

กิจกรรมท่ี 5 การรายงานผลการดำเนนิ งานแผนงาน/โครงการในระบบติดตามและ

ประเมนิ ผลแหง่ ชาติ (eMENSCR)

ผลการประเมินผล (ดัชนีช้วี ดั ความสำเร็จ)

1. ร้อยละ 100 ของโครงการ/กจิ กรรม ดำเนนิ การได้บรรลุเป้าหมายตามระยะเวลาและ

ตวั ชวี้ ัดท่กี ำหนด

๒. รอ้ ยละ 100 ของโครงการ/กจิ กรรมท่ีไดร้ ับอนมุ ัติสามารถสรปุ ผลการดำเนนิ งานได้

สมบรู ณ์

3. รายงานผลการจัดการศึกษาได้ทันกำหนดเวลา ร้อยละ 100

6.6 ประเมนิ ความพร้อมและตรวจเยี่ยมโรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี

การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ช่วงเปิดภาคเรยี นโดยทมี นิเทศการศึกษาและศึกษานิเทศก์

สนองนโยบาย นโยบายที่ 6 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2

จดุ เนน้ ขอ้ ท่ี 8, 9

ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวลกั ขณา โตงาม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

เพอื่ ให้โรงเรียนไดร้ บั การนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการศกึ ษาได้อยา่ งท่ัวถึง ต่อเน่ือง

เปน็ ระบบและมีคณุ ภาพ

กิจกรรมสำคัญ

กิจกรรมท่ี 1 ประเมนิ ความพรอ้ มและตรวจเยีย่ มโรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ชว่ งเปิดภาคเรียนโดยทีมนิเทศการศึกษาและศกึ ษานเิ ทศก์

กจิ กรรมที่ 2 การสงั เคราะห์ผลการนเิ ทศ สรปุ ผลการนิเทศและรายงานผล

ผลการประเมินผล (ดชั นีชวี้ ดั ความสำเร็จ)

รอ้ ยละ 100 ของโรงเรยี นได้รับการนิเทศ ติดตามอย่างน้อยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 65

6.7 พฒั นาการนเิ ทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา

สนองนโยบาย นโยบายที่ 6 ตวั ช้ีวัดที่ 1, 2

จุดเน้น ขอ้ ท่ี 5, 8, 9

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางสาวลกั ขณา โตงาม และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื ใหโ้ รงเรียนไดร้ บั การนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งท่วั ถึง ตอ่ เน่ือง เปน็ ระบบ

และมคี ุณภาพ

2. เพอื่ สง่ เสริมการนเิ ทศภายในสถานศึกษาให้ทั่วถึงทุกโรงเรยี น

3. เพอ่ื นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามการดำเนนิ งานตามโครงการ ตามนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการ

การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน/สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา

4. เพ่ือสง่ เสรมิ พัฒนา ศกึ ษานเิ ทศก์ และบุคลากรทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การนิเทศใหม้ กี ารนิเทศที่มรี ะบบถูกต้อง

มีคณุ ภาพ

กจิ กรรมสำคัญ

กจิ กรรมที่ 1 ศกึ ษาดูงาน และประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารจัดทำแผนนเิ ทศและจดั ทำเครอื่ งมอื

ในการนิเทศ

กจิ กรรมที่ 2 ประเมินความพร้อมและตรวจเยีย่ มโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ี

การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ชว่ งเปดิ ภาคเรยี นโดยทีมนิเทศการศึกษาและศึกษานิเทศก์

กจิ กรรมที่ 3 นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษาเพือ่ สร้างความ

เขม้ แข็งให้กับการนิเทศภายใน

กจิ กรรมที่ 4 การสงั เคราะห์ผลการนเิ ทศ สรปุ และรายงานผล

ผลการประเมินผล (ดัชนีชวี้ ดั ความสำเร็จ)

1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนไดร้ บั การนเิ ทศ ตดิ ตามอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครัง้

2. รอ้ ยละ 100 ของโรงเรยี นมีการนิเทศภายในอย่างเขม้ แขง็ เปน็ ระบบ

6.8 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 6 ตัวช้ีวัดท่ี 4

จุดเนน้ ข้อท่ี 9

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางสาววลัญช์จุฑา ณ บางช้าง และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื พฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศในการบรหิ ารจัดการ

2. เพื่อให้สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และโรงเรียนจัดเก็บข้อมูลด้านระบบสารสนเทศทาง

การศึกษา ได้อย่างแม่นยำ รวดเร็ว ถกู ต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการ ได้อย่างมี

ประสทิ ธภิ าพครอบคลุมภาระงานของโรงเรยี นที่ตอ้ งดำเนนิ การ

3. เพื่อให้สามารถจดั การเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ ได้อยา่ งเหมาะสม

4. เพ่ือให้สถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจการใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างปลอดภัยรักษาความ

พรอ้ มใช้ของข้อมูลระบบเพ่ือพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสงู ของสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา 66

5. เพื่อซ่อมบำรุงและพัฒนาเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สูงของสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

กจิ กรรมสำคญั

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาเครือข่ายภายในสำนักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี

เขต 2 ปรับปรุงระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ภายในทั้งหมดของสำนกั งาน

กจิ กรรมท่ี 2 จดั ทำคู่มอื การใช้โปรแกรมขอ้ มูลนักเรยี นรายบุคคล (Data Management

Center : DMC) และระบบสารสนเทศเพ่ือบริหารการศึกษา (Education Management Information

System : EMIS)

กจิ กรรมท่ี 3 จดั ทำเลม่ สรปุ ข้อมูลนักเรียนรายบคุ คล (ข้อมูล 10 มิ.ย.และข้อมูล 10

พ.ย.)

ผลการประเมนิ ผล (ดชั นีชีว้ ดั ความสำเรจ็ )

1. สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีระบบเครือข่ายทม่ี ีความเร็ว

สามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. ร้อยละ 100 ของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ

จัดการบริหารงานขอ้ มลู ของ สำนักงานเขตพน้ื การทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ไดอ้ ย่างมี

ประสิทธภิ าพ

6.9 เสริมสรา้ งการดำเนนิ งานคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ

นิเทศการศกึ ษา ปีงบประมาณ 2564

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 6 ตวั ช้วี ัดที่ 1, 2

จดุ เน้น ข้อที่ 8, 9

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวนันทดิ า เฟื่องไกรศรี และคณะ

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื เสริมสร้างการดำเนินงานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการนเิ ทศ

การศึกษาใหเ้ ป็นไปตามภารกจิ บทบาทหน้าที่

2. เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษาในสงั กัดมีการบรหิ ารจัดการอย่างมคี ุณภาพ สู่มาตรฐานการศกึ ษาและ

บรหิ ารจดั การศึกษาตามนโยบายกลยุทธ์ของสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา และสำนกั งานคณะกรรมการ

การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

กิจกรรมสำคญั

กิจกรรมที่ 1 ประชมุ คณะกรรมการฯ

กิจกรรมที่ 2 ประชมุ คณะอนุกรรมการฯ

กจิ กรรมท่ี 3 นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

กจิ กรรมที่ 4 สรปุ ผลการดำเนินงาน

ผลการประเมินผล (ดัชนชี ี้วัดความสำเรจ็ )

๑. ร้อยละ 100 ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการนเิ ทศการศึกษา

เป็นไปตามภารกิจบทบาทหนา้ ท่ี

๒. ร้อยละ 100 ของผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา

ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีการบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียน ให้เป็นโรงเรียนทม่ี ีคณุ ภาพตาม

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 67

มาตรฐานการศึกษาและตามนโยบายกลยุทธ์ของสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ เี ขต 2

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน และสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ

6.10 การบริหารจัดการงบประมาณของสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธิภาพ

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 6 ตวั ชีว้ ัดที่ 1, 2

จุดเน้น ข้อที่ 9

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวศิริรัตน์ เนียมทรพั ย์ และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

วัตถุประสงค์

1. เพือ่ ให้การปฏบิ ัติงานดา้ นงบประมาณของสถานศกึ ษา เปน็ ไปตามระเบียบ กฎหมาย

ข้อบงั คับ มติคณะรัฐมนตรแี ละนโยบายทีก่ ำหนด

2. เพื่อสง่ เสรมิ และพฒั นาผปู้ ฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั การบริหารงบประมาณในสถานศึกษาใหม้ ี

ความรู้

ความเข้าใจ กระบวนการท่เี กย่ี วข้อง และสามารถนำความรูท้ ไี่ ดร้ ับมาปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ เปน็ ได้ด้วยความถกู ต้อง เหมาะสม ชอบด้วยระเบยี บ ขอ้ บงั คับ มติคณะรัฐมนตรี กฎหมาย

หลกั เกณฑ์และแนวทางปฏิบัตทิ ่เี ก่ียวขอ้ ง

3. เพอ่ื เสนอแนะแนวทางการปรบั ปรุง แก้ไข และให้คำปรกึ ษาการปฏิบัตงิ านด้าน

งบประมาณของสถานศกึ ษา ใหม้ คี วามถูกต้องและเกดิ ประสทิ ธิผล

4. เพื่อเปน็ การสรา้ งขวญั และกำลังใจตอ่ ผปู้ ฏิบตั หิ น้าทที่ ่ีได้รบั แต่งตง้ั ให้ปฏิบัติงาน

เกี่ยวกับการบรหิ ารงบประมาณของสถานศึกษา

กิจกรรมสำคญั

กจิ กรรมท่ี 1 ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษา

- การบริหารจดั การทางการเงนิ การบญั ชี และการจดั ซอ้ื จัดจ้าง เงินอุดหนุน

อาหารกลางวนั และเงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา จำนวน 68 โรงเรยี น

- การดำเนนิ งานตามนโยบายการสนับสนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษาขน้ั

พื้นฐาน (เรียนฟรี 15 ปี) จำนวน 5 โรงเรียน

กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการผู้ปฏบิ ัตงิ านด้านพัสดุในสถานศึกษา

กิจกรรมที่ 3 การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารผู้ปฏบิ ตั งิ านดา้ นการเงนิ และบญั ชใี นสถานศึกษา

ผลการประเมนิ ผล (ดชั นีชว้ี ดั ความสำเร็จ)

1. สถานศกึ ษาตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสอบ ติดตามและประเมนิ ผล

สถานศึกษา

2. เอกสารหลักฐานในการบรหิ ารจัดการด้านงบประมาณของสถานศึกษา ถูกต้องเปน็ ไป

ตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั มตคิ ณะรัฐมนตรี และนโยบายที่กำหนด ร้อยละ 100

3. ร้อยละ 100 ของผู้ปฏิบัติงานด้านงบประมาณในสถานศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจ

สามารถปฏิบัติงานได้ถกู ต้องตามกฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และแนวทางการปฏบิ ัตงิ านท่กี ำหนด

แผนพฒั นาการบริหารจัดการเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา 68

6.11 ตดิ ตามการใช้จ่ายงบประมาณของโรงเรียนท่ไี ดร้ ับจัดสรรเงนิ ดอกผลกองทนุ

เพ่ือโครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรยี นประถมศึกษา ประจำปี 2563

สนองนโยบาย นโยบายท่ี 6 ตวั ชีว้ ัดท่ี 1, 2

จดุ เนน้ ขอ้ ที่ 9

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางแสงเดือน สำเภา และคณะ

ระยะเวลาการดำเนินงาน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อกำกับ ติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณของโรงเรยี น ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบ

คณะกรรมการ บรหิ ารกองทนุ เพือ่ โครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียนประถมศึกษา วา่ ดว้ ยการรบั เงนิ การ

จ่ายเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ การจัดหาผลประโยชน์ และการจัดทำบัญชีกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน

ในโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ. 2563

๒. เพ่อื สนับสนุนให้โรงเรียนดำเนนิ งานตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมสำคญั

กิจกรรมที่ 1 ประชมุ คณะกรรมการตดิ ตามการใช้จ่ายงบประมาณ ของโรงเรียนท่ไี ดร้ บั

การจดั สรรเงนิ ดอกผลกองทนุ เพ่ือโครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียนประถมศกึ ษา ประจำปี 2563

กจิ กรรมท่ี 2 ออกติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งาน

ผลการประเมนิ ผล (ดชั นชี วี้ ดั ความสำเร็จ)

๑. ร้อยละ 80 ของโรงเรียนในสงั กดั มี การดำเนินงานโครงการอาหารกลางวนั ทม่ี ี

คณุ ภาพ สามารถแก้ไขปัญหาภาวะทพุ โภชนาการ และสง่ เสรมิ ภาวะโภชนาการในโรงเรียนใหน้ กั เรยี น

ได้รับประทานอาหารทีม่ คี ุณค่าทางโภชนาการอย่างครบถ้วน

2. รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียนทสี่ ามารถจดั กจิ กรรมลดอตั รา ภาวะทพุ โภชนาการได้

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา 69

แนวคดิ การระดมทรัพยากรทางการศึกษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และแก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 เป็นกฎหมายแม่บทในนโยบายแห่งรัฐด้านการศึกษา ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมและการกีฬาของประเทศ และเป็นฐานหลักในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ การนำ

บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตนิ ี้ไปสกู่ ารปฏิบัติอย่างได้ผลต่อการศึกษาจึงเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งในมาตรา 10
ระบุไวว้ ่า “บคุ คลย่อมมสี ิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาข้นั พื้นฐาน ไม่น้อยกวา่ สบิ สองปีที่รฐั จะต้องจัดให้

อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” การจัดการศึกษาดังกล่าว จะต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเอกชน เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ให้ประชาชนมี
สว่ นร่วม มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หลักการสำคัญดังกล่าว ตรงกับแนวคิดหลักในการจัดการศึกษาเพื่อ

ทุกคน ทุกฝ่าย (Education for All) และทุกคนทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (All for
Education) อันเป็นทีย่ อมรับกันทัว่ โลก นอกจากน้ี ในมาตรา 60 ได้ระบุถึงบทบาทหน้าทข่ี องรัฐว่า “ให้

รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา ในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนาท่ียั่งยืนของ
ประเทศ” โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณเพ่ือการศึกษา ดังนี้ 1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่าย
รายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน การศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรฐั และเอกชนให้

เท่าเทียมกนั 2) จัดสรร ทนุ การศกึ ษาในรปู ของกองทุนกู้ยมื ให้แกผ่ เู้ รียน ที่มาจากครอบครัวท่ีมีรายไดน้ อ้ ย
ตามความเหมาะสม และความจำเป็น 3) จัดสรรงบประมาณและทรพั ยากรทางการศึกษาอืน่ เป็นพิเศษให้

เหมาะสม และสอดคล้องกับความจำเป็นในการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการเป็นพิเศษ
โดยคำนึง ถงึ ความเสมอภาคในโอกาสทางการศกึ ษาและความเป็นธรรม ท้ังนี้ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละ
วิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง 4) จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินการ และงบลงทุนให้

สถานศึกษาของรัฐตามนโยบาย แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาตแิ ละภารกิจของสถานศึกษา โดยให้มี อิสระ
ในการบริหารงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งน้ี ให้คำนึงถึงคุณภาพและความเสมอภาคใน

โอกาสทางการศกึ ษา 5) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนท่ัวไปให้สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา
ของรัฐที่เป็นนิติบุคคล และเป็นสถานศึกษาในกำกับของรัฐหรือองค์การมหาชน 6) จัดสรรกองทุนกู้ยืม
ดอกเบี้ยต่ำให้สถานศึกษาเอกชน เพ่ือให้พึ่งตนเองได้ 7) จัดต้ังกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐและ

เอกชน
แม้วา่ รฐั บาลจะมีการจดั สรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนการศึกษา ให้แกส่ ำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพิ่มข้ึนทุกปีก็ตาม แต่ปัญหาเรื่องความเสมอภาค คุณภาพ และประสิทธิภาพของ
การศึกษากลายเป็นประเด็นหลักของการปฏิรูปการศึกษา โดยผ่านการพัฒนารูปแบบงบประมาณทาง
การศกึ ษาของประเทศไทย โดยได้มีการเสนอใหม้ ีการระดมเงนิ จากแหล่งอื่นๆ นอกเหนือจากงบประมาณ

แผ่นดินมาใช้ในการจัดการศึกษาให้มากขึ้น ด้วยเหตุปัจจัยที่รัฐไม่สามารถจัดสรรทรัพยากรในการบริหาร
จัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่ัวถึงและเท่าเทียมน้ัน สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานยังพอจะมีทางออก

สำหรับ การดำเนินการระดมทรัพยากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถจัดการศึกษา
ต่อไป ได้อย่างมีคุณภาพตามความสามารถและศักยภาพ นั่นคือ การพัฒนาแนวปฏิบัติและวธิ ีการระดม
ทรัพยากรเพือ่ การบรหิ ารจดั การศึกษา ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

การระดมทรัพยากรเพื่อการบริหารจัดการศึกษา เป็นนโยบายพ้ืนฐานทางด้านการศึกษาตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2)

พ.ศ.2545 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 โดยเป็นกฎหมายแม่บทเพ่ือเป็นฐานหลักใน

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา 70

นโยบายแห่งรัฐดา้ นการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและการกีฬาของประเทศ และเป็นฐานหลักในการ

ปฏิรูปการศึกษาของประเทศ การนำบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ีไปสู่การปฏิบัติอย่างได้ผลต่อ
การศึกษา จึงเป็นส่ิงสำคัญ ดังเช่น มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุน ด้านงบประมาณ
การเงินและทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน

เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และ
ต่างประเทศมาใช้จัดการศึกษา ดังน้ี 1) ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดมทรัพยากรเพ่ือ

การศึกษาโดยอาจจัดเกบ็ ภาษีเพื่อการศึกษาได้ตามความเหมาะสม ท้ังนี้ให้เป็นไปตามท่ีกฎหมายกำหนด
2) ให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ สถาบันสังคมอื่น ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเป็นผู้จัดและมีส่วนร่วมในการจัด

การศึกษา บริจาคทรัพย์สินและทรัพยากรให้แก่สถานศึกษา และมีส่วนร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายทางการ
ศึกษาตามความเหมาะสมและความจำเป็น ท้ังน้ีให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ส่งเสริมและให้

แรงจูงใจในการระดมทรัพยากรดังกล่าว โดยการสนับสนุน การอุดหนุนและใช้มาตรการลดหย่อนหรือ
ยกเว้นภาษีตามความเหมาะสมและความจำเป็น ทัง้ น้ี ให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด และมาตรา 59 ให้
สถานศกึ ษาของรัฐท่เี ป็นนิติบุคคล มอี ำนาจในการ ปกครองดูแล บำรุงรักษาใชแ้ ละจัดหาผลประโยชนจ์ าก

ทรัพย์สินของสถานศึกษา ท้ังที่เป็นท่ีราชพัสดุ ตามกฎหมายว่าด้วยท่ีราชพัสดุและท่ีเป็นทรัพย์สินอ่ืน
รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา และเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ

นโยบาย วัตถุประสงค์และภารกิจหลักของสถานศึกษา บรรดาอสังหาริมทรัพยท์ ี่สถานศึกษาของรัฐทเ่ี ป็น
นิติบุคคลได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือ โดยการซื้อหรือแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษาไม่ถือเป็นท่ีราช
พัสดแุ ละให้เปน็ กรรมสิทธิ์ของ สถานศกึ ษา บรรดารายไดแ้ ละผลประโยชนข์ องสถานศกึ ษาของรัฐทเี่ ปน็ นิติ

บุคคลรวมทั้งผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ราชพัสดุ เบ้ียปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรบั ที่
เกิดจากการผิดสัญญาการซ้ือทรัพยส์ ินหรอื จ้างทำของที่ดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณ ไม่เป็นรายได้ท่ี

ต้องนำสง่ กระทรวงการคลงั ตามกฎหมายว่าด้วยเงนิ คงคลัง และกฎหมายวา่ ด้วยวธิ ีการงบประมาณ บรรดา
รายได้ และผลประโยชน์ของสถานศกึ ษาของรฐั ที่ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล รวมท้งั ผลประโยชน์ท่ีเกดิ จากที่ราชพัสดุ
เบ้ียปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบ้ียปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาซ้ือทรัพย์สินหรือ จ้างทำ

ของที่ดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณให้สถานศึกษา สามารถจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษานั้นๆ ได้ตามระเบียบทก่ี ระทรวงการคลังกำหนด การใหส้ ถานศึกษามอี สิ ระและคลอ่ งตัวใน

การบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษา เพื่อสนองตอบความต้องการของผู้เรียนตามแนวทางการ
บริหารจดั การท่ีใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน จากแนวนโยบายด้านการศึกษาของรฐั จะพบวา่ ให้ความสำคัญต่อการ
มสี ว่ นรว่ ม และการระดมทรพั ยากรจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการบริหารจดั การศกึ ษา ซง่ึ ถือเป็นหน้าทห่ี ลัก

ของ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ตอ้ งนำสู่การปฏบิ ัตใิ ห้เป็นรูปธรรมในหน่วยงาน
อย่างไรกต็ าม ในทางปฏิบัติพบว่า การระดมทรัพยากรเป็นไปอย่างหลากหลาย แตกต่างกันตาม

บริบทของสถานศึกษานั้น ๆ ระหว่างสถานศึกษาของรัฐ เอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งที่อยู่
ในเมืองและชนบท หรือแม้แต่ขนาดของสถานศึกษา ทั้งด้านตัวเงิน ภูมิปัญญา ความรู้ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมท่ีมีการแลกเปลี่ยนกันระหวา่ งสถานศึกษา วัสดุครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ และสื่อการเรยี นรู้ เป็น

ต้น ซึ่งข้ึนกับบรบิ ทสังคมและวฒั นธรรมของท้องถิ่นและโรงเรียน โดยเฉพาะความสามารถของผู้นำหรือ
ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีสร้างการยอมรับก็จะได้รับการสนับสนุนจากภาคส่วนต่าง ๆ รวมท้ังความสามารถ

ขององค์กรที่เกี่ยวข้องของโรงเรียน เช่น สมาคมครูผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน หรือ

แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา 71

องค์กร เอกชน มลู นธิ ิ และสถานประกอบการ เป็นต้น จึงพบว่าบางโรงเรียนได้รบั การสนับสนุนทรัพยากร

สูงมาก ขณะทบี่ างโรงเรยี นอยู่ในชุมชนคอ่ นขา้ งขาดแคลน การได้รบั การสนับสนนุ ทรัพยากรก็จะนอ้ ยตาม
ไปด้วย แต่หากผู้นำมีความสามารถก็จะได้รับการสนับสนุนจากองค์กรหรือหน่วยงานนอกพื้นท่ีด้วย
อยา่ งไรกต็ ามการระดมทรัพยากรดงั กลา่ วก็ยังไมเ่ ปน็ ระบบและไมม่ ีรูปแบบทชี่ ดั เจน ในระดับนโยบายของ

ประเทศ แม้ว่าจะมีกฎหมายที่เอื้อต่อการระดมทรัพยากรตามท่ีกล่าวมา แต่ก็ยังไม่สามารถขจัดความ
เหล่อื มล้ำ และสร้างความเสมอภาคในโอกาสของผู้เรยี น ท่จี ะไดร้ ับการสนับสนนุ ทรัพยากรให้เกดิ ความเท่า

เทยี มในโอกาส การไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพไดต้ ามทศิ ทางทีค่ วรจะเป็น
จากแนวคิดดงั กลา่ ว และจากนโยบายพ้ืนฐานทางด้านการศึกษา ตามบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมาย

ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และแกไ้ ข

เพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จึงไดก้ ำหนด
นโยบายในการระดมทรพั ยากรเพื่อจัดการศึกษา ดังน้ี

1. การระดมทรัพยากรเพ่อื ลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศกึ ษา
2. การระดมทรพั ยากรเพอ่ื เพมิ่ โอกาสการเข้าถงึ การศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพ
3. การระดมทรพั ยากรเพ่ือพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ

วธิ ีการระดมทรัพยากรทางการศกึ ษา
รฐั บาลไดจ้ ัดสรรเงนิ คา่ ใช้จ่ายใหก้ ับหนว่ ยงาน และจัดสรรเงนิ อุดหนนุ ให้กับสถานศกึ ษา ในสังกดั

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน เปน็ ค่าใช้จ่าย ดังนี้
1. รายจา่ ยงบบุคลากร ให้ใช้จ่ายเป็นค่าจา้ งชวั่ คราว เช่น จ้างครูอัตราจา้ ง ยาม เจ้าหน้าท่ีรกั ษา

ความสะอาด คนขบั รถ นกั การภารโรง ธรุ การโรงเรียน

2. รายจ่ายงบดำเนนิ งาน ให้ใช้จา่ ยเปน็ คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ เช่น วัสดกุ ารศกึ ษา
ค่าตอบแทนวทิ ยากร ค่าพาหนะ ท่ีพกั และเบี้ยเล้ียง และค่าสาธารณูปโภค เชน่ ค่าน้ำ คา่ ไฟฟา้ คา่

โทรศพั ท์ ค่าเช่าบรกิ ารอนิ เทอร์เน็ต ค่าจา้ งเหมาบริการ
3. รายจ่ายงบลงทุน ให้ใช้จ่ายเป็นค่าครุภณั ฑ์ เช่น จดั ซอ้ื ครภุ ัณฑก์ ารศกึ ษา ครุภณั ฑ์สำนักงาน

ครภุ ัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ และค่าทดี่ นิ และสิ่งก่อสร้าง คา่ ปรบั ปรุงซ่อมแซม

4. รายจ่ายงบเงนิ อุดหนุน ให้จา่ ยเป็นค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เช่น คา่ จัดการ
เรยี นการสอน คา่ หนังสือเรียน ค่าอปุ กรณ์การเรยี น ค่าเครอ่ื งแบบนักเรยี น คา่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ

ผเู้ รียน
สภาพปัญหาค่าใช้จ่ายของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาพบว่า การจัดสรร

งบประมาณสำหรับการบรหิ ารจัดการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียน

ในสงั กัด และเงินอุดหนุนรายหวั ไมพ่ อเพียง สำหรับการบริหารจัดการ ทำใหค้ ุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาจะไมบ่ รรลุวตั ถุประสงค์ของการจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ดังนั้น หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด จงึ จำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมียุทธศาสตร์ในการพัฒนา
การศึกษาโดยมีภาคี เครือข่าย มีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณการเงิน
และทรัพย์สินท้ังจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน เอกชน องค์กรวิชาชีพ

สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และจากผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มาใช้ในการ
จัดการศึกษา การบริจาคทรัพย์สิน หรือทรพั ยากรอ่ืนให้แก่หน่วยงานและสถานศึกษา และมีส่วนร่วมใน

การรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษา ตามความเหมาะสมและความจำเป็น ทั้งน้ีเพ่ือให้หน่วยงานและ

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 72

สถานศึกษา สามารถท่ีจะบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ ส่งผลถึงคุณภาพของ

นักเรียนต่อไป
ทรัพยากรทางการบรหิ ารการศกึ ษานนั้ มอี ย่างนอ้ ยทีส่ ดุ 4 แหล่งใหญ่ ดว้ ยกันคือ
1. งบประมาณแผ่นดิน ถือว่าเป็น แหล่งทรัพยากรแหล่งใหญ่ที่สุด โดยเฉพาะอย่างย่ิง

ทรัพยากรทางการเงิน โดยรวมเงินไว้ทุกหมวด ต้ังแต่หมวดเงินเดือน ค่าจ้างจนถึงหมวดท่ีดินและ
สงิ่ ก่อสรา้ ง

2. เงินนอกงบประมาณ นอกจากเงินรายได้แผ่นดินแล้ว บางสถาบันการศึกษายังมี
รายได้ของตนเองโดยเฉพาะ เช่น เงินอ่ืน ๆ ซ่ึงเงินเหล่านี้เป็นเงินท่ี สถานศึกษาน้ัน สามารถจัดหามาได้
และสามารถจดั ทำโครงการ เพือ่ ใช้ในกิจกรรมของโรงเรยี นได้

3. เงินจากการลงทุน สถาบันการศึกษาท่ีเป็นเอกชน แหล่งเงินรายได้ส่วนใหญ่มาจาก
การลงทนุ ของเจา้ ของกจิ การ ซึ่งอาจจะเปน็ เอกชน มูลนิธสิ มาคม

4. ทรัพยากรจากชมุ ชน ชมุ ชนเปน็ แหลง่ ทรพั ยากรทม่ี ีความสำคัญมาก
สถาบันการศึกษา จะได้รับการสนับสนุนทรพั ยากรแทบทุกประเภทจากชุมชน แหลง่ ทรพั ยากรของชุมชน
ประกอบดว้ ย บุคคล องคก์ รตา่ ง ๆ เชน่ สมาคม มูลนธิ ิองคก์ ารกุศลต่าง ๆ

จะเหน็ ไดว้ า่ แหลง่ ทรพั ยากรทางการศึกษาส่วนใหญค่ ือเงนิ ท้ังที่ไดม้ าจากรฐั บาลและ
จากการระดมทนุ ดงั น้ันผู้บรหิ ารหน่วยงานและสถานศกึ ษาต้องนำเงินที่ได้ ไปใชส้ ำหรับการจดั หา

ทรัพยากรทีส่ ำคัญต่อไป จงึ มคี วามจำเปน็ อย่างย่งิ ที่ผู้บริหาร ต้องศึกษาถงึ ขอ้ กำหนดในการบริหารเงิน
งบประมาณ ซ่ึงในเรอื่ งน้ตี ้องมกี ารนำหลักธรรมาภิบาลเข้ามาใช้ น่นั คอื ตอ้ งมีวินัยในการนำเงินไปใชเ้ พอื่ จัด
การศึกษา มคี วามซือ่ สัตย์ในการใช้จ่ายเงนิ การเบิกจ่าย การจดั ซื้อจัดจา้ ง ตอ้ งเป็นไปตามระเบียบ

ข้อกำหนด มเี อกสารยืนยันการทำงานทุกขัน้ ตอน และสามารถตรวจสอบได้ เปิดโอกาสให้ผ้มู สี ่วน
เก่ียวข้องได้รว่ มแสดงความเห็นและจัดการบริหารทรัพยากร และทส่ี ำคัญกค็ อื ทรพั ยากรทีจ่ ัดหามานัน้

ต้องมคี วามเหมาะสมกับหนว่ ยงานและสถานศึกษา ของตน และตอ้ งไดร้ บั ประโยชน์อย่างคุ้มคา่ สงู สดุ
เพอื่ ใหก้ ารบรหิ ารทรพั ยากรทางการศึกษาเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคอ์ ย่างสมบูรณ์

วิธดี ำเนนิ การระดมทรพั ยากรของสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

1. วิเคราะห์สภาพปัจจุบนั ปญั หา และความต้องการความจำเปน็ ในการบรหิ ารจัดการศึกษาของ
โรงเรยี นในสังกัด และสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2

2. จัดประชมุ คณะกรรมการฝ่ายตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้องในการระดมทรพั ยากร
3. จดั ทำแผนงาน กิจกรรมเพือ่ เสนอขออนมุ ัติ
4. เผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์แผนงาน กิจกรรม การระดมทรัพยากรสู่สาธารณาชนได้รับทราบ

5. ดำเนนิ การวางแผนการระดมทรพั ยากร ประสานกบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น องค์การบรหิ าร
ส่วนตำบล องค์กรชุมชน สถาบันศาสนา องค์กรเอกชน หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเพ่ือร่วมกัน

บรจิ าคทรพั ย์
6. ดำเนินการตามแผนงาน กิจกรรม การระดมทรัพยากร โดยการจัดประชุมบุคลากรใน

สำนักงานและผู้บริหารสถานศึกษา นกยกสมาคม ประธานชมรม ประธานกลุ่มโรงเรียนเครือข่าย

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือหาแนวร่วมในการให้ความร่วมมือในการระดมทรัพยากร
เพือ่ สนับสนุนการจดั การศึกษา

7. ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน กจิ กรรม การระดมทรัพยากร

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา 73

8. สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งาน และเผยแพร่

หลักการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
หลักการบริหารทางการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตามระดับการศึกษา คือระดับการศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐานและระดบั อุดมศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๒ รับผิดชอบการ

จัดการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การบริหารในระดับนี้ต้องมุ่งตอบสนองเจตนารมณ์แห่ง
พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ทีเ่ น้นความสำคัญของตวั ผ้เู รียน และเน้นการบริหารท่ีใช้

โรงเรียนเป็นฐาน ตามโครงสร้างการกระจายอำนาจ การบริหารทรัพยากรจะเป็นกลไกหรือเคร่ืองมือ
สำคัญที่กระตุ้นให้สถานศึกษา ดำเนินการเพ่ือตอบสนองวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการจัดการศึกษา
ดังกล่าว จงึ กำหนดหลกั การสำคัญดังนี้

1. หลักความเสมอภาค (Equality)
2. หลักประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness)

3. หลกั การกระจายอำนาจ (Decentralization)
4. หลักการปฏิบตั ิได้จรงิ (Practicality)
การบริหารทรพั ยากรของสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

ผู้บริหารหน่วยงานมีบทบาทหน้าที่สำคัญ ในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา เร่ิมต้ังแต่
การกำหนดนโยบาย และแผนของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยจัดให้มี

การทำแผนงาน โครงการของหน่วยงานตนเองขน้ึ เพอ่ื จะได้ทราบวา่ จะต้องทำกจิ กรรมอะไรบา้ ง จึงจะทำ
การกำหนดทรัพยากรท่ีต้องการ โดยรวบรวมความต้องการด้านทรัพยากรจากแผนงานโครงการ
มีการจำแนกเป็นหมวดหมู่ที่ต้องการอย่างชัดเจน รวมถึงการแสวงหาทรัพยากร โดยแสวงหาจากแหล่ง

ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น งบประมาณเงินรายได้ แผ่นดิน เงินบริจาค ทรัพยากรจากชุมชน ผู้บริหารต้องมี
การจัดสรรทรัพยากร โดยจัดเรียงตามลำดับความสำคัญ หรือความพร้อมของโครงการที่จะทำ หลักการ

สำคัญอยทู่ ่ีการใช้ทรัพยากร โดยมกี ารวางแผนการใช้ และควบคุมการใชอ้ ย่างประหยัดและมปี ระสทิ ธภิ าพ
ซง่ึ ตอ้ งมกี ารประเมินการใช้ เช่น ประเมินผล ความเพียงพอ ความคมุ้ คา่ ประสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ล ปัญหา
และอุปสรรค โดยมีรายละเอยี ดการบรหิ ารทรพั ยากร ดงั นี้

1. มกี ารจัดทำระบบสารสนเทศ ของสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
เพื่อการตรวจสอบและรองรับการประเมนิ ตา่ ง ๆ จากหน่วยงานภายนอก

2. มกี ารวางแผนงบประมาณ การใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนงานและโครงการ
ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ และการกำกับตดิ ตาม ประเมินผล

3. มกี ารคำนวณต้นทุนในการใช้จา่ ยของกจิ กรรมตา่ ง ๆ

4. มีการจัดระบบการจัดซือ้ จดั จ้าง ตามแนวทาง ระเบยี บและกฎหมายกำหนด
5. มีการบรหิ ารทางการเงินและการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ

6. มกี ารรายงานทางการเงินและผลการดำเนนิ งาน
7. มีการบริหารสินทรัพย์ วัสดุ ครุภณั ฑ์ อยา่ งคุ้มค่า
8. มกี ารตรวจสอบภายในเพ่ือช้ีแนะแนวทางทถ่ี ูกตอ้ งให้กบั ผ้ปู ฏบิ ัติ

9. ขอความอนุเคราะหก์ ารสนับสนุนทรัพยากรจากหนว่ ยงานอนื่ ทเี่ กยี่ วขอ้ งในการจดั กิจกรรม
10. มีการขอรับบริจาค

11. มกี ารจดั ต้ังกองทุนช่วยเหลือนักเรียนเหตุฉุกเฉนิ พ.ศ. 2564

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา 74

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 75

คำสั่งสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

ท่ี ๑๖๐ / 256๔

เรอ่ื ง แต่งต้งั คณะทำงานเพ่ือรบั การประเมนิ สมั ฤทธิผลการปฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ี

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ตามขอ้ ตกลงในการปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ท่ี

ในระยะเวลา 1 ปี

…………………………………………………………………..

ตามที่สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ดำเนินการจัดทำ รวบรวม และจดั ทำ

เอกสารเพ่ือรับการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษา ตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ในระยะเวลา 1 ปี เพ่ือให้การดำเนินงานเป็นไปด้วย

ความเรียบรอ้ ย เห็นควรแต่งตั้งคณะกรรมการในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2

ดงั ต่อไปนี้

1. คณะกรรมการอำนวยการ ทำงานเพื่อรบั การประเมินสัมฤทธิผลการปฏบิ ัติงานในหน้าที่ ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ในระยะเวลา 1 ปี

ดงั ตอ่ ไปนี้

1. นายประวิช ยะรนิ ทร์ ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา

ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๒ ประธานกรรมการ

2. นายประสงค์ แยม้ ศิริ รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา

ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 รองประธานกรรมการ

๓. นายวุฒิชยั บุญหล่ำ รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 กรรมการ

๔. นางบรรเจิด อุ่นมณีรตั น์ รองผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา

ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 กรรมการ

๕. ผู้อำนวยกลุ่ม/หน่วย ทุกคน

๖. นางสาวสมบรู ณ์ สขุ ทวี ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีผู้อำนวยการกลมุ่ พัฒนาฯ กรรมการและเลขานุการ

๗. นางสวุ ภัทร จติ รเ์ พง่ ศึกษานิเทศก์ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

มีหน้าท่ี ประสานงานอำนวยความสะดวกให้คำแนะนำชว่ ยเหลือเพื่อให้คณะกรรมการสามารถปฏบิ ัติ
หนา้ ทไี่ ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

๒. คณะกรรมการดำเนนิ งานสังเคราะห์ จดั ทำเอกสารองคป์ ระกอบและตวั ช้ีวัดดงั ตอ่ ไปนี้

๑. นางบรรเจดิ อ่นุ มณีรัตน์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา

ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ประธานกรรมการ

๒. นายสุระพล เอ่ียมธนานรุ ักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดดอนทราย รองประธานกรรมการ

๓. นางสุรรี ัตน์ วารนี ิล ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดดอนกระเบ้ือง กรรมการ

๔. นางสาวอรญั ญา คำชน่ื ผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารงานการเงินฯ กรรมการ

๕. นางสวุ ภทั ร จิตรเ์ พ่ง ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ

แผนพฒั นาการบรหิ ารจัดการเขตพ้ืนที่การศกึ ษา 76

-๒-

๖. นางละลิดา สาลีวัฒนผล นกั วชิ าการศกึ ษา กรรมการ

๗. นางสาวภัทษวรรณ เกียรตบิ ุญญาฤทธิ์ ครโู รงเรียนวดั ดอนกระเบอื้ ง กรรมการ

๘. นางสาวเพ็ญนภา เล็กสุก เจ้าหนา้ ท่ธี ุรการโรงเรียนวดั ดอนกระเบือ้ ง กรรมการ

๙. นางสาวลกั ขณา โตงาม ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการและเลขานุการ

๑๐. นางจันทรา โม่มาลา เจา้ พนักงานธรุ การ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร

มีหน้าที่ ในการจัดทำ รวบรวม และจัดทำเอกสารเพ่ือรับการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานใน

หน้าที่ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ใน
ระยะเวลา 1 ปี

๓. คณะกรรมการดำเนนิ งานสงั เคราะห์ สนับสนุนข้อมลู หลกั ฐาน จัดทำเอกสารองคป์ ระกอบ ที่ ๑

ตวั ชี้วดั ท่ี ๑-๓ และจัดทำ VTR ดังตอ่ ไปนี้

๑. นายสุระพล เอีย่ มธนานรุ กั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดดอนทราย ประธานกรรมการ

๒. นางนจุ รี ทสี ะเกตุ นกั จดั การงานทวั่ ไป กรรมการ

๓. นางวิรนิ รัตน์ ตรอี ินทอง นกั ประชาสัมพันธ์ กรรมการ

๔. นายธรี วัฒน์ ดวงใจดี ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ

๕. นางสาวจนั ทนา ไตรรงค์วจิ ิตร์ นักวชิ าการศึกษา กรรมการ

๖. นางสจุ ิตรา วงศร์ ส นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ

๗. นายชชพล ชลศิ ภาพงศ์ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ

๘. นางสาวจริยวดี ศรที พิ ยอ์ าสน์ ครูโรงเรยี นวดั ดอนทราย กรรมการ

๙. นางสาวมะลิ ตรงคมาลี ครูโรงเรียนวดั ดอนทราย กรรมการ

๑๐. นายสุเพชร ตาทพิ ย์ เจ้าหนา้ ที่I IT.โรงเรยี นวดั ดอนทราย กรรมการ

๑๑. นางสาวปิยภัทร เจาศรี เจ้าหน้าทีธ่ รุ การโรงเรยี นวดั ดอนทราย กรรมการ

๑๒. นางสาวชขู วญั อินทรชยั ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการและเลขานกุ าร

๑๓. นางสาวกรกช คำชนื่ เจา้ หน้าท่ีธรุ การ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

มหี น้าท่ี ในการสังเคราะห์ สนับสนุนข้อมูล หลักฐาน จัดทำเอกสารเพ่อื รับการประเมินสัมฤทธิผล
การปฏบิ ัติงานในหนา้ ที่ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ตามข้อตกลงในการปฏบิ ัติงาน
ในหน้าที่ ในระยะเวลา 1 ปี องคป์ ระกอบ ท่ี ๑ ตัวช้วี ดั ท่ี ๑-๓ และจัดทำ VTR

๔. คณะกรรมการดำเนินงานสงั เคราะห์ สนับสนุนขอ้ มูล หลักฐาน จัดทำเอกสารองค์ประกอบที่ ๒

ตวั ชีว้ ัดที่ ๑-๕ ดงั ต่อไปนี้

๑. นางสาวลกั ขณา โตงาม ศกึ ษานิเทศก์ ประธานกรรมการ

๒. นายธรี วฒั น์ ดวงใจดี ศึกษานิเทศก์ กรรมการ

๓. นางสาวชูขวัญ อนิ ทรชัย ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ

๔. นางสาวนนั ทิดา เฟ่อื งไกรศรี ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ

๕. นางสุภาวดี บุตรดา นกั ทรพั ยากรบคุ คล กรรมการ

๖. นางสาวนวลวรรณ เอกรักษา นกั ทรัพยากรบคุ คล กรรมการ

แผนพัฒนาการบริหารจัดการเขตพื้นท่ีการศกึ ษา 77

-๓-

๗. นางสาวจันทนา ไตรรงค์วจิ ิตร์ นกั วิชาการศกึ ษา กรรมการ
กรรมการ
๘. นางขวัญจติ แกว้ พรง้ิ นักวชิ าการพัสดุ กรรมการ
กรรมการ
๙. นางพิมพ์วิภา บำรงุ ทรพั ย์ นกั จัดการงานท่ัวไป กรรมการ
กรรมการ
๑๐. นางกนั ยา เลาห์ประเสริฐสิทธิ์ นักจัดการงานทวั่ ไป กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
๑๑. นางสาวอัจฉรียา สระทองเขยี ว เจ้าพนักงานธรุ การ ผู้ช่วยกรรมการและเลขานกุ าร

๑๒. นางสาววรรัตน์ ภาสดา เจา้ พนักงานธุรการ

๑๓. นางสาวขวัญพริ ัลพชั ร ฉายไสว นกั จติ วิทยาโรงเรยี น

๑๔. นางละลดิ า สาลวี ฒั นผล นกั วชิ าการศึกษา

๑๕. นางสาวอิศรา น่วมทนงค์ เจา้ หนา้ ที่ธรุ การ

มีหนา้ ที่ ในการสงั เคราะห์ สนบั สนนุ ข้อมลู หลกั ฐาน จัดทำเอกสารเพ่ือรบั การประเมินสัมฤทธิผล
การปฏิบตั ิงานในหนา้ ท่ี ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา ตามขอ้ ตกลงในการปฏิบัตงิ าน
ในหน้าที่ ในระยะเวลา 1 ปีองค์ประกอบ ท่ี ๒ ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑-๕

๕. คณะกรรมการดำเนินงานสังเคราะห์ สนบั สนนุ ข้อมลู หลกั ฐาน จัดทำเอกสารองคป์ ระกอบที่ ๓

ตัวชีว้ ัดที่ ๑-๖ และ PowerPoint นำเสนอองคป์ ระกอบและตัวช้ีวดั ดงั ต่อไปนี้

๑. นางสุรีรตั น์ วารีนิล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดดอนกระเบ้อื ง ประธานกรรมการ

๒. นางสาวชูขวญั อินทรชัย ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ

๓. นางสาวจนั ทนา ไตรรงค์วิจิตร์ นักวิชาการศกึ ษา กรรมการ

๔. นางแสงเดอื น สำเภา นกั วชิ าการศึกษา กรรมการ

๕. นางวรรฒณี อินทร์ประทับ ครูโรงเรยี นวดั ดอนกระเบอื้ ง กรรมการ

๖. นางถนอม หลลี ้วน ครูโรงเรยี นวัดดอนกระเบือ้ ง กรรมการ

๗. นางสาวภัทษวรรณ เกยี รตบิ ญุ ญาฤทธ์ิ ครูโรงเรียนวัดดอนกระเบอ้ื ง กรรมการ

๘. นายอนุชา พิรณุ ดี ครโู รงเรียนวดั ดอนกระเบือ้ ง กรรมการ

๙. นางสาวศริ ิลกั ษณ์ สกุ รางวัด ครูโรงเรยี นวัดดอนกระเบ้ือง กรรมการ

๑๐. นางสาวจิราพร สีเสม ครูโรงเรยี นวดั ดอนกระเบื้อง กรรมการ

๑๑. นางสาวดลนภทั ท นาคใหม่ ครโู รงเรยี นวัดดอนกระเบ้ือง กรรมการ

๑๒. นางสาวสราญรตั น์ เวชกลุ ไชยพงศ์ ครูโรงเรียนวัดดอนกระเบือ้ ง กรรมการ

1๓. นางศรนิ ทร์ สมบัตนิ ิมติ สกลุ พนักงานราชการโรงเรียนวัดดอนกระเบอื้ ง กรรมการ

1๔. นายประกาย เอยี่ มทอง ชา่ งปนู ช 4 โรงเรียนวดั ดอนกระเบื้อง กรรมการ

1๕. นางสาวเพ็ญนภา เล็กสุก เจา้ หน้าทธี่ ุรการโรงเรยี นวัดดอนกระเบื้อง กรรมการ

๑๖. นายธีรวฒั น์ ดวงใจดี ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการและเลขานกุ าร

๑๗. นางจนั ทรา โมม่ าลา เจ้าพนกั งานธุรการ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

มหี น้าท่ี ในการสังเคราะห์ สนับสนุนข้อมูล หลักฐาน จัดทำเอกสารเพื่อรับการประเมินสมั ฤทธิผล
การปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา ตามข้อตกลงในการปฏิบัตงิ าน

ในหน้าท่ี ในระยะเวลา ๑ ปี องค์ประกอบท่ี ๓ ตัวช้วี ัดที่ ๑-๖ และ PowerPoint นำเสนอองค์ประกอบและ
ตัวชว้ี ัด

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพื้นท่ีการศกึ ษา 78

-๔-

๖.. คณะกรรมการจัดทำวารสารขา่ ว ดงั ต่อไปนี้

๑. นายพงษธ์ ร ศรลมั พ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดสัมมาราม ประธานกรรมการ

๒. นางสาวปฤพรรณ เครือเช้า ครูโรงเรยี นวดั สมั มาราม กรรมการ

๓. นางสาวอริสรา จ้อยเจริญ ครูโรงเรียนวัดสัมมาราม กรรมการ

๔. นาวสาวนันทิดา เฟ่อื งไกรศรี ศึกษานิเทศก์ กรรมการและเลขานกุ าร

๕. นางสาวธญั ธิตา แกว้ กญั หา เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

มีหน้าท่ี จัดทำวารสารข่าว การประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ตำแหน่ง
รองผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ที่ ตามข้อตกลงในการปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ที่ ในระยะเวลา ๑ ปี

๗. คณะกรรมการฝ่ายต้อนรับและปฎิคม ดงั ต่อไปน้ี

๑. นางละลดิ า สาลวี ัฒนผล นกั วชิ าการศึกษา ประธานกรรมการ
กรรมการ
๒. นางสาววรรัตน์ ภาสดา เจา้ พนกั งานธรุ การ
กรรมการ
๓. นางสาวเกษณี พรมนุ้ย เจา้ พนักงานธรุ การ กรรมการ

๔. นางสาวขวัญพิรลั พัชร ฉายไสว นกั จิตวิทยาโรงเรยี นฯ กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
๕. นางสาวปยิ นชุ วงศก์ ำภู เจา้ หน้าท่ธี รุ การ

๖. นางสาวหทัยรตั น์ แดงรักษา เจา้ พนักงานธรุ การ

มีหน้าท่ี ประสานงาน ดูแล และอำนวยความสะดวกคณะกรรมการการประเมินสัมฤทธิผล
การปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา ตามขอ้ ตกลงในการปฏิบัติงาน
ในหน้าท่ี ในระยะเวลา 1 ปี พร้อมทัง้ กำกับ ดูแลความเรียบรอ้ ยทั่วไปของการต้อนรบั

๘. คณะกรรมการฝา่ ยอาหาร อาหารว่าง และเคร่อื งดม่ื ดังตอ่ ไปน้ี

๑. นางสาวศิริรตั น์ เนยี มทรัพย์ ผู้อำนวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน ประธานกรรมการ

๒. นางขวัญจิต แก้วพรง้ิ นกั วิชาการพัสดุ กรรมการ

๓. นางนจุ รี ทีสะเกตุ นักจดั การงานทัว่ ไป กรรมการ

๔. นางกันยา เลาห์ประเสริฐสทิ ธิ์ นกั จัดการงานทวั่ ไป กรรมการ

๕. นางสาวพมิ พ์วิภา บำรุงทรพั ย์ นกั จดั การงานทวั่ ไป กรรมการ

๖. นางแววดาว คูเม้ง เจ้าพนักงานธุรการ กรรมการ

๗. นางคณุ ัญญ์อร เกตมุ ณี แม่บ้าน กรรมการ

๘. นางสวุ ภทั ร จติ รเ์ พ่ง ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการและเลขานกุ าร

มหี น้าท่ี จัดหาอาหาร เครอื่ งดมื่ เตรียมสถานทใ่ี นการจดั อาหาร เคร่อื งด่มื เตรียมสถานที่ในการ
จัดตั้งอาหารให้ดสู วยงาม สะอาดนา่ รบั ประทาน

๙. ฝ่ายประชาสมั พนั ธ์และโสตทัศนูปกรณ์ ดงั ต่อไปน้ี

๑. นางสาวภคกรณ์ นาคะพันธุ์ ศึกษานเิ ทศก์ ชำนาญการ ประธานกรรมการ

ปฏบิ ัติหน้าที่ผู้อำนวยการกลุ่มสง่ เสริมการศกึ ษาทางไกลฯ

๒. นางสุภาพร ทองกนั ยา นกั ทรพั ยากรบุคคล กรรมการ

๓. นายกิตติพงศ์ กิมหลีเซ้ยี ง เจ้าหนา้ ทพี่ ิมพด์ ีด กรรมการ

แผนพัฒนาการบรหิ ารจัดการเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา 79

-๕-

๔. นางสาวอนญั ญา เหลาโชติ เจา้ หนา้ ที่ธุรการ กรรมการ
๕. นางวริ นิ รัตน์ ตรีอนิ ทอง นักประชาสัมพันธ์ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหนา้ ที่ บนั ทึกภาพประชาสมั พนั ธแ์ ละเตรียมความพร้อม ดแู ล ให้บรกิ ารโสตทัศนปู กรณ์ท่ีใช้
ในการนำเสนองาน

๙. คณะกรรมการฝ่ายประเมินผล

๑. นางสวุ ภทั ร จติ รเ์ พง่ ศึกษานิเทศก์ ประธานกรรมการ

๒. นายธีรวัฒน์ ดวงใจดี ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ

๓. นางสาวชูขวัญ อนิ ทรชยั ศึกษานิเทศก์ กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าท่ี รวบรวมแบบประเมิน วิเคราะหร์ ายงานผลการการประเมินสัมฤทธิผลการปฏบิ ตั งิ าน

ในหนา้ ที่ ตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ตามข้อตกลงในการปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ท่ี ใน

ระยะเวลา 1 ปี

๑๐. คณะกรรมการฝา่ ยการเงินและพสั ดุ ประธานกรรมการ
๑. นางสาวอรัญญา คำชน่ื ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานการเงิน กรรมการ
และสินทรัพย์ กรรมการ
กรรมการ
๒. นางกอบแก้ว เกตเุ พชร นักวิชาการเงนิ และบัญชี กรรมการและเลขานุการ
๓. นายวีระ เดือนฉาย เจา้ พนักงานการเงินและบัญชี

๔. ว่าที่รอ้ ยตรธี รี รัตน์ ยว่ นภู่ นักวชิ าการพัสดุ
๕. นางขวัญจิต แกว้ พร้งิ นกั วชิ าการพัสดุ

มีหน้าท่ี เบิกจ่ายเงินและจัดซ้ือวัสดุเกี่ยวกับการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าท่ี
ตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ตามขอ้ ตกลงในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ ในระยะเวลา 1

ให้คณะกรรมการทุกคนท่ีได้รับแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าท่ีโดยความอุตสาหะ เกิดประโยชน์สูงสุด
ต่อทางราชการ

ทง้ั นี้ ตง้ั แต่บัดน้ีเปน็ ต้นไป
สงั่ ณ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายประวิช ยะรินทร์ )
ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๒

แผนพฒั นาการบริหารจดั การเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา 80

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 81

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 82

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 83

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 84

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 85

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 86

แผนพัฒนาการบรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศึกษา 87


Click to View FlipBook Version