The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ นางสาวนาทชฎาพร แซ่เค้า รหัสนักศึกษา 6312404001014 กลุ่มเรียน 63063.121

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nartchadaporn, 2021-09-19 10:26:57

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ นางสาวนาทชฎาพร แซ่เค้า รหัสนักศึกษา 6312404001014 กลุ่มเรียน 63063.121

90

การกำหนดคา่ ตอบแทนใหม้ คี วามยตุ ิธรรม

การกำหนดค่าตอบแทนเปน็ กิจกรรมการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ท่มี ีความสำคัญ องค์กรมี
วิธีการอย่างไรทจี่ ะทำใหค้ า่ ตอบแทนท่จี ่ายกับพนักงานน้นั ทำให้พนกั งานมีความร้สู กึ ยตุ ิธรรมดังนั้น
ขน้ั ตอนการกำหนดอัตราคา่ ตอบแทนให้มีความยุตธิ รรมมีดงั น้ี

ขน้ั ตอนท่ี 1 : ทำการสำรวจเงนิ เดือน
การสำรวจเงินเดอื นหรือค่าตอบแทน คือ การสำรวจอยา่ งเป็นทางการหรือไม่เปน็ ทางการ ถึง
นายจ้างคนอ่นื ๆ จ่ายเงินเดอื นให้กับลกู จา้ งในงานทเ่ี หมือนกัน การสำรวจเงินเดือนมบี ทบ าทสำคัญ
ตอ่ การต้งั ราคางานโดยแทจ้ ริง ดงั นนั้ นายจ้างส่วนใหญจ่ ึงทำการสำรวจอัตราเงินเดือนเพ่อื การตั้งราคา
งานมาแล้วท้ังส้นิ นายจา้ งใช้การสำรวจเงินเดือนใน 3 ทาง คือ
1. ใช้เพื่อกำหนดราคางานมาตราฐาน ซึ่งหมายถึง งานที่ใช้เป็นเกณฑ์สำหรับการจ่าย
ค่าตอบแทนตามลำดับคุณคา่ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั บรษิ ทั (การประเมณิ คา่ งานเป็นเทคนิคท่ีใชใ้ นการตัดสิน
คณุ คา่ งานในตำแหนง่ ตา่ ง ๆ)
2. นายจา้ งมกั ตง้ั ราคาของตำแหนง่ งานในบรษิ ัทของตนใหอ้ ยู่เหนือราคาตลาดมากถึง 20% หรอื
อาจมากกว่านนั้ โดยการสำรวจเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการและนำไปเปรยี บเทียบกับการจ่าย
ค่าตอบแทนตำแหนง่ งานของบริษัทอ่ืน ๆ
3. การสำรวจโดยการเกบ็ ขอ้ มูลจากการจา่ ยคา่ ตอบแทนในผลประโยชนเ์ กอ้ื กลู ตา่ ง ๆ เชน่ การ
ประกนั ภยั การลาปว่ ย การลาพกั ผ่อน เปน็ ต้น

ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดคณุ ค่าของแต่ละตำแหน่งงาน : การประเมณิ คา่ งาน
การประเมิณค่างาน เปน็ การเปรียบเทียบงานอยา่ งเปน็ ทางการและอย่างมรี ะบบ เพอื่ ตดั สนิ ว่า
คณุ คา่ ของงานหน่งึ สัมพันธก์ บั งานอื่น ๆ อยา่ งไรขัน้ ตอนพืน้ ฐานในการประเมิณค่างานก็คือ การ
เปรียบเทยี บเนอ้ื หาของงานทสี่ มั พนั ธ์กบั งานอื่น เชน่ ในเร่ืองความพยายาม ความรบั ผิดชอบและ
ทักษะการใชใ้ นการทำงาน เป็นตน้ และหากรถู้ ึงวิธีในการกำหนดราคางานมาตรฐานและสามารถใชใ้ น
การทำงาน เปน็ ตน้ และหากร้ถู ึงวิธีในการกำหนดราคางานมาตราฐานและสามารถใช้ในการประเมิณ
ค่างานเพ่อื ตดั สนิ คุณค่าความสมั พันธ์ของงานอ่นื ๆในบรษิ ัทวา่ มีความสมั พนั ธก์ ับงานเหล่าน้ีอย่างไ ร
บรษิ ทั สามารถกำหนดอตั ราการจ่ายค่าตอบแทนให้ยุติธรรมได้
การประเมณิ ค่างาน หมายถึง วธิ ดี ำเนินการอย่างเป็นระบบเพ่อื ท่จี ะชว่ ยให้สามารถกำหนดค่า
งานเปรยี บเทยี บกันไดภ้ ายในองค์กร โดยมีอยู่ 5 วิธี
1. การจดั ลำดับ เป็นการนำงานทั้งหมดทม่ี ีอยใู่ นองค์กรมารว มและจดั เรยี งเป็นล ำดับต าม
ความสำคัญจากสูงสุดลงไปจนถงึ ตำ่ สดุ วิธกี ารนี้เหมาะสำหรบั องค์กรเลก็ ซึ่งมีจำนวนพนกั งานไมม่ าก
เพราะทำไดง้ ่ายและประหยัด
2. การจดั ชน้ั งานหรือการจำแนกตำแหนง่ เป็นการแยกแยะจัดแบ่งงานเปน็ เกรดห รือเป็นช้ัน
สำหรับการจ่ายเงินเดอื น ซงึ่ ในการจัดมกั จะเรมิ่ ต้นดว้ ยการบรรยายลักษณะของงานของแต่ละช้ัน

91

อย่างกวา้ ง ๆ ก่อน จากนัน้ จึงนำเอาคำบรรยายลักษณะของงานมาพจิ ารณาเปรยี บเทียบระดับชัน้ ของ
การจา่ ยตา่ ง ๆ

3. วธิ ีการใหค้ ะแนน วธิ ีนก้ี ระทำโดยการคดั เลอื กและกำหนดปัจจัยตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วกับงานขน้ึ มา
จากน้ันมีการให้คะแนนแตล่ ะปจั จยั ในทส่ี ุดก็นำงานแต่ละงานมารวมค่าเพ่อื เปรียบเทียบ วิธีน้ีมีการให้
ความถูกตอ้ งในการประเมิณค่างาน และนยิ มใชม้ ากในภาคเอกชน

4. การเปรียบเทียบปัจจัย สามารถทำได้ 2 ทาง ทางแรกเป็นการนำตำแหน่งงานหลัก มา
จัดลำดับตามปจั จัย โดยใชป้ ัจจยั ตัวใดตงั หน่งึ เป็นหลัก อีกทางหนึง่ เป็นการนำปัจจัยทม่ี อี ยู่ในงานใด
งานหนึง่ มาจัดเรียงลำดับความสำคัญ

5. วิธีใช้ชุดผงั ประเมณิ ที่จัดทำขึ้น เป็นวิธใี ช้หลักการเช่นเดียวกบั วธิ กี ารให้คะแนนกับวิธี
เปรยี บเทยี บปจั จัยงาน โดยมีการจดั ทำผงั ประเมณิ ขน้ึ 3 ชนิด ประกอบด้วย ผงั ประเมิณความรู้ ผัง
ประเมิณวเิ คราะห์แก้ปัญหา และผงั ประเมิณขนาดความรับผิดชอบ เป็นต้น

ขน้ั ตอนที่ 3 การรวมกลมุ่ ที่คล้ายคลึงกนั แลว้ จัดแบง่ ระดบั การจ่ายค่าตอบแทน
เมือ่ วธิ ีประเมณิ ค่างานสามารถกำหนดอตั ราการจ่ายค่าตอบแทนในแต่ละงานไดแ้ ล้ว กจ็ ะมีการ
รวมกลุ่มงานทเ่ี หมอื นกนั เข้าเปน็ ระดับชั้นหือเกรดเดยี วกนั เพอื่ สามารถกำหนดคา่ ตอบแทนได้ง่ายขึ้น
ขน้ั ตอนท่ี 4 กำหนดราคาในแต่ละระดบั ค่าตอบแทน
กำหนดการจ่ายอัตราคา่ ตอบแทนโดยเฉลยี่ ในแตล่ ะระดับการจ่ายคา่ ตอบแทน ซึง่ โดยปกติจะใช้
เสน้ คา่ จ้างเปน็ ตวั ช่วยในการกำหนดระดบั การจา่ ยคา่ ตอบแทน ซึง่ โดยปกติจะใชเ้ สน้ คา่ จา้ งเป็นตัวชว่ ย
ในการกำหนดระดบั การจ่ายค่าตอบแทน เส้นคา่ จ้างจะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างอัต รา
ค่าตอบแทนโดยเฉลี่ยกบั คะแนนทแ่ี สดงถงึ คุณคา่ ของงาน ดังภาพท่ี 17

รูปภาพที่ 17 ระดับค่าตอบแทน

92

ข้นั ตอนท่ี 5 ปรับปรุงอัตราการจ่ายค่าตอบแทน
ประการสุดทา้ ยนายจ้างสว่ นใหญ่ไมไ่ ด้จ่ายคา่ ตอบแทนเพียงอตั ราเดียวสำหรับงานทกุ ตำแหน่ง
แตน่ ายจา้ งไดพ้ ัฒนาช่วงอัตราการจา่ ยค่าตอบแทนสำหรับในแตล่ ะช้ัน ดงั น้นั ในแตล่ ะระดบั ชน้ั อาจมี
ถงึ 10 อันดบั ช้ันก็ได้ ซึง่ นายจ้างจะสามารถกำหนดอัตราการจ่ายคา่ จ้างคา่ ตอบแทนใ นอันดับตา ม
ความเหมาะสม

สรุปได้ว่า การกำหนดอัตราคา่ จ้างให้มีความยุติธรรม มีขัน้ ตอนการดำเดินการดัง น้ี ทำการ
สำรวจเงินเดือน กำหนดคุณคา่ ของแตล่ ะตำแหน่งงาน การรวมกลมุ่ งานท่คี ลา้ ยคลงึ แล้วจดั แบง่ ระดับ
การจ่ายค่าตอบแทน กำหนดราคาในแต่ละระดบั การจา่ ยค่าตอบแทน และปรับปรุงอัตราการจ่าย
ค่าตอบแทน

ข้อดีและข้อเสียของการจา่ ยคา่ ตอบแทน

ตารางท่ี 9 ขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของการจา่ ยค่าตอบแทน

ขอ้ ดี ขอ้ เสยี

ช่วยเสรมิ หรอื ยกระดบั ขวญั ให้ดขี น้ึ ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจถ้าเศรษฐกจิ ดีกจ็ ะมี
คา่ ตอบแทนท่ดี ีและสงู

ทำให้เกิดความรสู้ ึกว่าไดร้ ับการดูแลและมี ขน้ึ อยู่กบั ความขยันของพนกั งานแต่ละคน
สภาพความเปน็ อยู่ทีด่ ี

ชว่ ยลดความไมพ่ ึงพอใจต่าง ๆให้นอ้ ยลง การมาสายหรือไม่ได้ลางานจะท ำ ใ ห้
คา่ ตอบแทนนนั้ ลดน้อยลง

ชว่ ยทำให้เกิดความมัน่ คงในหน้าทีการงาน พนักงานมคี วามประพฤติทไี่ มเ่ หมาะสมแก่

และทำใหม้ ีรายได้สูงขึน้ องคก์ ร

ช่วยให้มีความเข้าใจถึงนโยบายแ ล ะ ภายในองค์กรมคี วามย่ำแย่เกี่ยวกับการ

จดุ มุ่งหมายขงบรษิ ทั ไดด้ ขี ึน้ บริหาร เชน่ การ ฉอ่ โกง

สรปุ ท้ายบท

ค่าตอบแทน หมายถงึ ส่ิงทอ่ี งค์กรจา่ ยเพ่ือการตอบแทนการปฏิบตั งิ านตามหน้าท่ี ความ
รบั ผิดชอบของพนักงาน ทงั้ ในรูปตัวเงนิ และไม่ใชต่ วั เงิน อาจเรียกไดว้ า่ คา่ จา้ ง เงินเดือน โบนสั และ

รางวัลอ่นื ๆ เพ่ือสง่ เสริมขวัญกำลงั ใจของพนักงาน และส่งสรมิ สรา้ งฐานะความเป็นอยู่ของครอบครวั
ใหพ้ นักงาน และสามารถดำรงชพี อยู่ในสังคมได้

93

ประเภทของคา่ ตอบแทน สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ คา่ ตอบแทนทเ่ี ป็นตัวเงิน
หมายถงึ ค่าตอบแทนรปู ในรปู ทใ่ี ช้เงินเปน็ ค่าตอบแทนแก่พนักงาน ซึ่งประกอบด้วย คา่ ตอบแทนท่ี
เปน็ เงินทางตรง เช่น เงนิ เดือน คา่ จา้ ง เปน็ ตน้ และคา่ ตอบแทนท่ไี ม่ใชต่ ัวเป็น 2 ประเภท คือ งาน
หมายถึง งานปฏบิ ัติเปน็ งานทท่ี ้าทายความสามารถของพนกั งานเป็นงานท่ีเปิดโอกาสให้พ นักง าน
เจริญก้าวหนา้ ในสายอาชีพ เป็นต้น แลละคา่ ตอบแทนท่ไี ม่ใชต่ ัวเงิน เชน่ ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าประกัน
ชีวิต เป็นต้น สภาพแวดล้อมในการทำงาน หมายถึง สิ่งแวดล้อมในการทำงานซึง่ เกี่ยวขอ้ งและ
เอ้อื อำนวยในการปฏิบัติงาน เช่น การมีสายบงั คับบัญชาทด่ี ี มีการหยืดหยุ่นเวลาในการทำงาน

การกำหนดคา่ ตอบแทนใหม้ ีความยตุ ิธรรม มีขัน้ ตอนการดำเนนิ งานดงั นี้ ทำการสำรวจเงินเดือน
กำหนดคุณค่าของแต่ละตำแหน่งงาน การรวมกล่มงานทีค่ ล้ายคลึงแล้วจัดแบ่งระดบั การจ่าย
ค่าตอบแทนกำหนดราคาในแต่ละระดับการจ่ายคา่ ตอบแทน และปรบั ปรงุ อัตราการจ่ายค่าตอบแทน

94

บทท่ี 10

แรงงานสมั พนั ธ์

ความหมายของแรงงานสมั พนั ธ์

แรงงานสัมพันธ์หรือการพนักงานสัมพันธ์บางครั้งเรียกว่า อุตสากรรมสัมพันธ์หรือ
ความสัมพันธร์ ะหว่างฝ่ายจัดการกับฝ่ายลกู จ้างซ่ึงได้มบี คุ ลากรต่าง ๆ ได้ใหค้ วามหมายดังกล่าว
แตกตา่ งกนั ดงั น้ี

โรเบริ ์ต อธบิ ายวา่ แรงงานสัมพันธ์หมายถงึ ทุกสงิ่ ทุกอย่างทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความสัมพนั ธข์ องคนงาน
หรอื กลุ่มของคนงานกบั นายจา้ งซึง่ กิจกรรมดงั กลา่ วเรมิ่ ต้นต้งั แต่กระบวนการรับคนงานการแตง่ ตง้ั การ
อบรมการตักเตอื นว่ากล่าวการเลือ่ นตำแหนง่ หน้าท่ีการฝกึ งานการเลกิ จ้างการจ้างค่าจ้างเงินเดือนค่า
ลว่ งเวลาเงนิ โบนัสการแบง่ หุน้ และเงนิ ปันผลการดูแลสุขภาพอนามัยความปลอดภัยตลอดจนกองทุน
ต่าง ๆ รวมทง้ั การเจรจาต่อรอง

นิคม จนั ทรวทิ ุร ไดส้ รปุ ความหมายของแรงงานสัมพันธว์ ่าหมายถึงระบบหรือกฎเกณฑ์ว่าด้วย
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งนายจา้ งกับลูกจ้างระหวา่ งนายจา้ งกับองคก์ รของลูกจ้างหรือระหว่างองค์กรของ
นายจ้างกับองค์กรของลูกจ้างและระหว่างรฐั บาลกับองคก์ รของนายจา้ งและลูกจา้ ง

เกษมสนั ต์ วิลาวรรณ อธิบายกรอบความคิดแรงงานสัมพนั ธว์ า่ ครอบคลุมถึงความเก่ียวขอ้ งและ
การปฏิบัตติ อ่ กันระหวา่ งนายจา้ งและลูกจา้ งต้ังแตก่ ารกำหนดนโยบายบคุ คลไปจนถงึ การเลิกจา้ ง

วิชัย โถสุวรรณ ได้เรยี บเรียงความหมายของแรงงานสัมพนั ธ์ว่าเป็นความสัมพันธร์ ะหว่าง
นายจา้ งกับลูกจ้างและบทบาทขององคก์ รทง้ั สองฝา่ ยรวมทัง้ การเข้าไปเกย่ี วข้องกบั รฐั บาลและกลไก
ไตรภาคเี พ่ือแสวงหาวิธกี ารท่จี ะทำให้นายจ้างและลูกจา้ งสามารถทำงานร่วมกนั ได้ดี

ณฎั ฐพนั ธ์ุ เขจรนันทร์ เสนอว่าแรงงานสัมพันธ์หมายถึงบทบาทและความสัมพั นธ์ระห ว่าง
องค์การในฐานะนายจา้ งและบุคลากรในฐานะลกู จ้างทงั้ ในระดบั จลุ ภาคและมหาภาคดงั น้ี

ระดบั จุลภาค หมายถงึ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนายจ้างและลูกจ้างภายในขอบเขตขององค์การมี
ผลตอ่ การบรหิ ารและการจัดการตลอดจนประสิทธิภาพในการดำเนนิ งานขององคก์ าร

ระดับมหภาค หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างที่มฝี นไม่เพียงแ ต่ภาย ใน
องค์การแต่จะมผี ลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมภายนอกท้ังดา้ นเศรษฐกิจสงั คมการเมอื งของประเทศ

ความสัมพันธแ์ ละประโยชนข์ องแรงงานสมั พันธ์

ในสงั คมธรุ กจิ และอตุ สาหกรรมการแรงงานสัมพันธ์ย่อมมคี วามสำคญั ทั่งในดา้ นเศรษฐกิจสังคม
และการเมอื งในเศรษฐกิจ แรงงานสมั พันธ์มผี ลกระทบตอ่ การลงทุนการเพ่ิมขึน้ ของผลผลิตรายได้
ตลาดแรงงาน ราคาสนิ สนิ คา้ และภาวะค่าครองชีพในสงั คมแรงงานสมั พนั ธ์ทดี่ ี

95

ความสงบสุขในวงงานธุรกจิ และอตุ สาหกรรมเปน็ เป้าหมายสูงสุดของการแรงงานสัมพันธจ์ ะเป็น
ประโยชนต์ ่อฝ่ายต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องดังนี้

1. เกิดความสงบสุขในการทำงานร่วมกนั ทงั้ นายจ้างและลูกจา้ ง
2. การดำเนินธุรกจิ และอุตสาหกรรมเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนื่องและมีประสิทธิภาพ
3. ธุรกิจและอุตสาหกรรมดำเนนิ การอยา่ งมกี ำไร และเจรญิ กา้ วหน้า
4. ลกู จ้างได้รบั ผลตอบแทนทเี่ ปน็ ธรรม เกิดขวัญและกำลังใจในการทำงานและพึงพอใจในการ
ทำงาน
5.ลูกจ้างมคี วามมั่นคงในการทำงานและมีคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ีข้นึ
6.ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการลงทุน และการขยายตัวของธุรกิจและอุตสาหกรรม
ภายในประเทศ

แนวคดิ และหลักการแรงงานสัมพนั ธ์

1. อนุสัญญาท่ี 87 วา่ ดว้ ยสทิ ธใิ นการจดั ตั้งองค์การหรอื เสรีภาพในการสมาคม
2. อนสุ ัญญาท่ี 98 ว่าดว้ ยสทิ ธิในการเจรจาต่อรอง
3. อนสุ ญั ญาที่ 122 วา่ ดว้ ยนโยบายการจา้ งงาน
4. อนุสญั ญาที่ 2 ว่าดว้ ยการวา่ งงาน
5. อนุสัญญาที่ 131 ว่าด้วยการกำหนดคา่ จา้ งขั้นต่ำ
6. อนสุ ัญญาที่ 102 ว่าดว้ ยความมั่นคงทางสังคม
7. อนุสัญญาท่ี 103 การคมุ้ ครองสตรมี คี รรภ์

กฎหมายแรงงาน

กฎหมายแรงงานหมายถงึ กฎหมายทก่ี ำหนดสิทธหิ น้าทีข่ องนายจ้างและลูกจ้างกำหนดคว าม
คุม้ ครองสิทธิประโยชนข์ องลูกจา้ ง กำหนดความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างนายจ้างกับลกู จ้าง กำหนดถึง
องคก์ รทเี่ ก่ยี วขอ้ งทางแรงงาน การใชส้ ทิ ธขิ องลูกจ้างควบคมุ้ ครองตอ่ การใช้สิทธ์ิดงั กลา่ ว

ระบบไตรภาคี

การบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพนั ธ์มี 2 ระบบคอื ระบบทวิภาคเี ปน็ ความสัมพันธ์ 2 ฝา่ ยคือ
ฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างซึ่งรูปแบบความสัมพันธ์จะเป็นการแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร การ
ปรกึ ษาหารอื คณะกรรมการร่วม การเจรจาตอ่ รองและการมีส่วนรว่ มในการบริหารเป็นต้น ระบบ
ไตรภาคี เป็นความสัมพันธ์ 3 ฝ่ายคือ ฝ่ายนายจ้าง ลูกจา้ งและรัฐบาลโดยทกุ ฝ่ายจะต้องร่วม
ปรึกษาหารือและร่วมตัดสนิ ใจในเรื่องเกีย่ วข้องกับผลประโยชน์ของท่งั 2 ฝ่าย เพ่ือปกกนั ปญั หาความ
ขัดแยง้ และส่งเสริมให้ทกุ ฝา่ ยอย่รู ่วมกนั อยา่ งมีความสุข

96

การคุม้ ครองแรงงาน

1. เวลาทำงานปกติงานทั่วไปไม่เกนิ 8 ชม./วัน หรือตามท่ีนายจ้างลูกจา้ งตกลงกัน และไมเ่ กิน
48 ชม./สัปดาห์ งานทอ่ี าจเปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพและความปลอดภยั ของลูกจา้ ง ไดแ้ ก่ งานทต่ี ้องทำ
ใตด้ นิ ใต้นำ้ ในถำ้ ในอุโมงค์ หรือในที่อบั อากาศ งานเกยี่ วกบั กัมมันตภาพรังสี งานเช่อื มโลหะ งาน
ขนสง่ วัตถอุ ันตราย งานผลิตสารเคมีอนั ตราย งานท่ตี อ้ งทำด้วยเครอ่ื งมอื หรอื เครอื่ งจักร ซ่ึงผทู้ ำไดร้ บั
ความส่นั สะเทือนอนั อาจเปน็ อันตราย และงานทต่ี อ้ งทำเก่ยี วกบั ความรอ้ นจดั หรอื ความเย็นจัดอันอาจ
เป็นอันตราย ซง่ึ โดยสภาพของงานมีความเส่ยี งอันตรายสูงหรือมีภาวะแวดล้อมในการทำง านเกิน
มาตรฐานความปลอดภยั ทีก่ ำหนดไวซ้ ึ่งไม่สามารถปรับปรุงแกไ้ ขทแ่ี หล่งกำเนดิ ได้ และตอ้ งจัดให้มกี าร
ป้องกนั ทต่ี วั บคุ คล ให้มเี วลาทำงานปกติไมเ่ กิน 7 ชม./วนั และไมเ่ กนิ 42 ชม./สัปดาห์

2. เวลาพักระหว่างการทำงานปกติไม่ น้อยกว่า 1 ชม./วนั หลังจากลกู จา้ งทำงานมาแล้วไม่เกิน
5 ชม. ตดิ ตอ่ กนั หรอื อาจตกลงกันพกั เป็นช่วง ๆ กไ็ ดแ้ ตร่ วมแล้วตอ้ งไม่น้อยกวา่ 1 ชม./วนั งานใน
ร้านขายอาหารหรือร้านขายเคร่อื งดื่มซง่ึ เปิดจำหน่ายหรอื ใหบ้ ริการในแต่ ละวนั ไมต่ ิดต่อกนั อาจพัก
เกิน 2 ชม./วนั ก็ได้ นายจา้ งอาจจะไมจ่ ัดเวลาพักไดก้ รณเี ปน็ งานที่มีลักษณะหรอื สภาพของงานต้องทำ
ติดตอ่ กันไปโดยไดร้ บั ความยนิ ยอมจากลูกจา้ งหรอื เป็นงานฉุกเฉิน กอ่ นการทำงานลว่ งเวลา
กรณใี หล้ ูกจา้ งทำงานล่วงเวลาต่อจากเวลาทำงานปกติไม่น้อยกวา่ 2 ชม. ต้องจดั ให้ลกู จา้ งพกั กอ่ นเริ่ม
ทำงานล่วงเวลาไมน่ ้อยกว่า 20 นาที

3. วนั หยดุ วนั หยดุ ประจำสปั ดาห์ ไม่ นอ้ ยกว่า 1 วัน/สปั ดาห์ โดยใหม้ ีระยะห่างกันไมเ่ กิน 6 วัน
สำหรับงานโรงแรม งานขนส่ง งานในป่า งานในทท่ี รุ กันดาร หรืองานอน่ื ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง
อาจตกลงกันสะสมและเลื่อนวันหยุดประจำ สปั ดาห์ไปหยดุ เมอื่ ใดก็ไดภ้ ายในระยะเวลา 4 สปั ดาห์
ติดต่อกัน วันหยดุ ตามประเพณี ไม่ น้อยกวา่ 13 วัน/ปี โดยแรงงานแห่งชาติ โดยพิจารณาจาก
วันหยุดราชการประจำปี วนั หยุดทางศาสนาหรอื ขนบธรรมเนยี มประเพณีแห่งท้องถ่ิน ถ้าวันหยุดตาม
ประเพณตี รงกบั วันหยุดประจำสัปดาห์ให้หยดุ ชดเชยวนั หยดุ ตาม ประเพณีในวันทำงานถัดไป สำหรับ
งานในกจิ การโรงแรม สถานมหรสพ ร้านขายอาหาร ร้านขายเคร่ืองดม่ื ฯลฯ อาจตกลงกันหยุดวันอื่น
ชดเชยวันหยดุ ตามประเพณี หรอื จา่ ยคา่ ทำงานในวันหยุดใหก้ ไ็ ด้ วนั หยุดพักผ่อนประจำปี ไม่ นอ้ ยกวา่
6 วันทำงาน/ปี สำหรับลกู จา้ งซง่ึ ทำงานตดิ ตอ่ กนั มาครบ 1 ปี อาจตกลงกันล่วงหน้าสะสมและเลื่อน
วนั หยุดพกั ผ่อนประจำปี ไปรวมหยดุ ในปตี ่อ ๆ ไปได้

4. การทำงานล่วงเวลา การทำงานในวันหยุดอาจใหล้ กู จ้างทำได้โดยได้รบั ความยินยอ มจาก
ลกู จ้างก่อนเป็นคราว ๆ ไป อาจ ใหล้ ูกจา้ งทำงานล่วงเวลา และทำงานในวันหยดุ ได้เทา่ ทีจ่ ำเปน็ ถ้า
ลกั ษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดตอ่ กนั ไป ถ้าหยดุ จะเสียหายแกง่ าน หรือเปน็ งานฉกุ เฉิน อาจ
ให้ทำงานในวันหยุด สำหรับกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหาร ร้านขาย
เครอื่ งดมื่ สโมสร สมาคม และสถานพยาบาลได้ โดยไมจ่ ำเป็นต้องไดร้ ับความยนิ ยอมจากลูกจา้ งกอ่ น
ชั่วโมงการทำงานลว่ งเวลา การทำงานในวนั หยดุ และการทำงานล่วงเวลาในวันหยุด รวมแลว้ ตอ้ งไม่
เกนิ 36 ชม./สัปดาห์

97

5. วันลาวันลาปว่ ย ลูกจ้าง ลาปว่ ยได้เท่าที่ปว่ ยจริง การลาปว่ ยต้งั แต่ 3 วันทำงานขนึ้ ไปนายจา้ ง
อาจให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองของแพทย์แผนปัจจุบันชน้ั หนง่ึ หรอื ของสถานพยาบาลของทางราชการ
ได้ หากลกู จ้างไม่อาจแสดงได้ให้ลกู จ้างชแี้ จงใหน้ ายจา้ งทราบ วันทล่ี ูกจ้างไมอ่ าจทำงานได้เน่ืองจาก
ประสบอนั ตรายหรือเจบ็ ปว่ ยซ่ึงเกดิ จาก การทำงาน หรอื วนั ลาเพอ่ื คลอดบตุ รไมถ่ อื เป็นวันลาป่วย วนั
ลากิจ ลูกจ้างลาเพ่ือกจิ ธรุ ะอันจำเปน็ ไดต้ ามขอ้ บังคับเกยี่ วกับการทำงาน วนั ลาทำหมัน ลูกจ้างลาเพอื่
ทำหมนั และเนือ่ งจากการทำหมันไดต้ ามระยะเวลาท่แี พทยแ์ ผนปัจจบุ นั ช้ันหน่ึงก ำห นดแล ะออก
ใบรบั รอง วนั ลารับราชการทหาร ลูกจา้ งลาเพอื่ รับราชการทหารในการเรยี กพล เพื่อตรวจสอบฝึกวิชา
ทหาร หรือทดลองความ พรัง่ พร้อมตามกฎหมายวา่ ด้วยการรบั ราชการทหารได้ วันลาคลอดบุตร
ลูกจ้างหญงิ มีครรภ์ลาเพอ่ื คลอดบุตรไดค้ รรภ์หนง่ึ ไม่เกนิ ๙0 วัน โดยนบั รวมวนั หยดุ วนั ลาฝึกอบรม
ลกู จ้าง มสี ทิ ธิลาเพ่ือการฝกึ อบรมหรอื พัฒนาความรูค้ วามสามารถเพอ่ื ประโยชนต์ ่อการแรง งานและ
สวัสดกิ ารสังคมหรือการเพิ่มทกั ษะความชำนาญเพื่อเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการ ทำงานของลูกจ้างตาม
โครงการหรอื หลกั สูตร ซ่ึงมีกำหนดช่วงเวลาที่แนน่ อนและชัดเจน และเพ่อื การสอบวดั ผลทางการ
ศึกษาทท่ี างราชการจัดหรอื อนุญาตให้จดั ข้ึน ลูกจ้างต้องแจง้ เหตุในการลาโดยชัดแจง้ พรอ้ มทัง้ แสดง
หลกั ฐานท่เี ก่ยี วขอ้ ง (ถ้ามี) ใหน้ ายจ้างทราบลว่ งหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วนั ก่อนวันลา นายจ้างอาจไม่
อนญุ าตใหล้ าหากในปที ล่ี าลกู จ้างเคยได้รบั อนุญาตให้มาแลว้ ไม่ นอ้ ยกวา่ 30 วนั หรือ 3 คร้ังหรือ
แสดงไดว้ ่าการลาของลูกจ้างอาจกอ่ ให้เกิดความเสยี หายหรอื กระทบต่อ การประกอบธุรกิจข อง
นายจา้ ง

6. ค่าตอบแทนในการทำงานค่าจา้ งจ่าย เป็นเงินเทา่ นน้ั จา่ ยค่าจา้ งใหแ้ ก่ลกู จ้างไม่น้อยกว่า
อตั ราคา่ จ้างข้ันตำ่ ถา้ กำหนดเวลาทำงานปกตเิ กนิ 9 ชม./วัน ให้จา่ ยค่าตอบแทนแกล่ กู จา้ ง ซง่ึ ไม่ไดร้ บั
คา่ จา้ งเป็นรายเดอื นสำหรบั การทำงานท่ีเกิน 9 ชม.ขึน้ ไปไมน่ ้อยกวา่ 1.5 เทา่ ของอตั ราค่าจ้างต่อ
ชว่ั โมงหรอื ต่อหน่วยในวันทำงาน และในอตั ราไมน่ ้อยกวา่ 3 เท่าของอัตราค่าจา้ งต่อชัว่ โมงหรือต่อ
หนว่ ยในวันหยดุ ค่าจา้ งในวนั หยุดจา่ ย ค่าจา้ งสำหรับวันหยดุ ประจำสปั ดาห์ วันหยดุ ตามประเพณี
และวันหยุดพักผ่อนประจำปี ยกเว้นลกู จา้ งรายวนั รายช่ัวโมง หรอื ตามผลงาน ไม่มสี ทิ ธไิ ดร้ บั ค่าจ้าง
ในวนั หยุดประจำสปั ดาห์ คา่ จา้ งในวนั ลา จา่ ยคา่ จ้างในวันลาปว่ ยไม่เกนิ 30 วันทำงาน/ปี จ่ายค่าจ้าง
ในวันลาเพอ่ื ทำหมนั จา่ ยค่าจ้างในวนั ลาเพอื่ รบั ราชการทหาร ไม่เกนิ 60 วัน/ปี จ่ายค่าจ้างในวันลา
เพ่ือคลอดบุตร ไม่เกนิ 45 วัน/ครรภ์การลาเพอื่ ทำหมนั ลูกจา้ ง มีสิทธิ์ลาเพอื่ ทำหมนั ได้และมสี ทิ ธ์ิลา
เนอ่ื งจากการทำหมนั ตามระยะ เวลาท่แี พทยแ์ ผนปัจจุบนั ชั้นหนึง่ กำหนด และออกใบรับรองให้โดย
ลกู จ้างมสี ทิ ธไิ์ ดร้ ับคา่ จ้างในวันลาน้ันด้วยการลากิจลกู จ้างมีสิทธลิ์ าเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ตาม
ข้อบังคบั เก่ียวกับการทำงานการลาเพอื่ รับราชการทหารลกู จ้าง มีสิทธ์ิลาเพ่อื รับราชการทหารในการ
เรยี กพลเพื่อตรวจสอบ เพ่อื ฝกึ วชิ าทหาร หรอื เพือ่ ทดสอบความพรง่ั พร้อม โดยลาได้เท่ากับจำนวน
วนั ท่ีทางการทหารเรียก และไดร้ บั คา่ จ้างตลอดเวลาทล่ี าแต่ไม่เกนิ 60 วันตอ่ ปีการลาเพื่อฝึกอบร ม
ลูกจา้ ง มสี ิทธลิ์ าเพ่ือการฝกึ อบรมหรอื พัฒนาความร้คู วามสามารถตามหลักเกณฑ์แล ะวิธี การท่ี
กำหนดในกฎกระทรวงโดยไมไ่ ด้รับคา่ จา้ ง มดี งั นี้

98

6.1 เปน็ เงนิ ท่ีนายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทำงานตาม สัญญาจ้าง
สำหรับระยะเวลาการทำงานปกติเป็นรายช่ัวโมง รายวัน รายสัปดาห์ หรือระยะเวลาอ่ืน หรือจ่ายให้
โดยคำนวณตามผลงานท่ีลกู จา้ งทำได้ในเวลาทำงานปกตขิ องวันทำงาน และรวมถึงเงนิ ที่นายจา้ งจ่าย
ให้แกล่ ูกจ้างในวันหยดุ และวนั ลาท่ลี กู จ้างมไิ ดท้ ำงานแตม่ ีสทิ ธไิ์ ด้รบั ตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน

6.2 ลกู จา้ งมสี ิทธไิ์ ด้รบั คา่ จา้ งไมน่ อ้ ยกว่าอตั ราคา่ จ้างข้ันตำ่
6.3 ถา้ ไม่มกี ารกำหนดอตั ราคา่ จ้างขั้นต่ำในท้องทใี่ ดใหถ้ ือว่า อตั ราคา่ จ้างขัน้ ตำ่ พื้นฐานเป็น
อตั ราคา่ จา้ งข้ันต่ำของท้องที่นน้ั (อัตราค่าจา้ งขั้นตำ่ พน้ื ฐาน หมายถงึ อัตราค่าจา้ งทีค่ ณะกรรมการ
ค่าจ้างกำหนดเพ่ือใช้เป็นพ้ืนฐานในการกำหนดอตั รา คา่ จ้างข้ันต่ำ) การทำงานล่วงเวลา และการทำงาน
ในวันหยดุ

6.3.1 ในกรณที ่ีงานมลี ักษณะตอ้ งทำตดิ ตอ่ กันไป ถา้ หยุดจะ เสียหายแก่งานหรือเป็นงาน
ฉุกเฉิน นายจ้างอาจให้ลูกจ้าง ทำงานล่วงเวลา หรอื ทำงานในวนั หยดุ เท่าทีจ่ ำเป็นก็ได้

6.3.2 กจิ การโรงแรม สถานมหรสพ งานขนสง่ ร้านขายอาหาร รา้ นขายเครื่องด่ืม สโมสร
สมาคม สถานพยาบาล และกจิ การอ่ืนตามท่ีกระทรวงจะไดก้ ำหนดนายจ้างจะใหล้ ูกจ้างท ำง านใน
วนั หยุดเทา่ ทจี่ ำเป็นกไ็ ด้ โดยไดร้ ับความยินยอมจากลกู จ้างเปน็ คราวๆ ไป

6.3.3 ใน กรณีทม่ี กี ารทำงานลว่ งเวลาต่อจากเวลาทำงานปกตไิ ม่นอ้ ยกว่า สองช่ัวโมง
นายจา้ งต้องจัดให้ลกู จ้างมีเวลาพัก ไมน่ ้อยกวา่ ยส่ี บิ นาที กอ่ นท่ลี กู จา้ งเริม่ ทำงานล่วงเวลา (ยกเว้น
งานทมี่ ลี ักษณะหรือสภาพของงานตอ้ งทำตดิ ต่อกันไป โดยได้รบั ความยินยอมจากลูกจ้างหรือเปน็ งาน
ฉุกเฉิน) ค่าล่วงเวลา

ค่าทำงานในวัดหยุดและคา่ ลว่ งเวลาในวนั หยุด

1. ถา้ ทำงานเกนิ เวลาทำงานปกตขิ องวันทำงาน นายจ้างต้องจา่ ยคา่ ลว่ งเวลา ไมน่ ้อยกว่าหนึ่ง
เท่าคร่งึ ของอตั ราค่าจา้ งต่อชัว่ โมงในวันทำงานตามจำนวน ช่ัวโมงทีท่ ำหรอื ไมน่ ้อยกว่าหน่ึงเทา่ ครึ่งของ
อตั ราคา่ จา้ งต่อหน่วย ในวันทำงานตามจำนวนผลงานทท่ี ำไดส้ ำหรับลูกจา้ งที่ไดร้ ับคา่ จ้างตามผลงาน

2. ถา้ ทำงานในวันหยุดเกินเวลาทำงานปกติของวันทำงานนายจ้างต้องจ่าย คา่ ล่วงเวลาใน
วนั หยุดใหแ้ กล่ กู จา้ งในอัตราสามเทา่ ของอัตราคา่ จ้างตอ่ ชวั่ โมง ในวันทำงานตามจำนวนช่ัวโมงท่ีทำ
หรอื ตามจำนวนผลงานทที่ ำไดส้ ำหรบั ลกู จ้างทไ่ี ดร้ บั คา่ จ้างตามผลงานโดยคำนวณเปน็ หนว่ ย

3. ถา้ ทำงานในวนั หยุดในเวลาทำงานปกติ นายจา้ งตอ้ งจ่ายค่าทำงานในวันหยดุ ใหแ้ กล่ ูกจา้ งทมี่ ี
สิทธไิ ดร้ บั ค่าจา้ งในวนั หยุดเพมิ่ ขึ้นอีก 1 เท่าของค่าจ้าง ในวนั ทำงานตามชว่ั โมงที่ทำงานในวนั หยุด

ลกู จ้างมสี ทิ ธไิ ดร้ บั ค่าชดเชย หากนายจา้ งเลกิ จา้ งโดยลูกจา้ งไมม่ ีความผิด ดงั น้ี
1. ลกู จา้ งซงึ่ ทำงานตดิ ต่อกนั ครบ 120 วนั แต่ไมค่ รบ 1 ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากบั ค่าจ้าง
อตั ราสุดท้าย 30 วนั
2. ลูกจ้างซึ่งทำงานตดิ ตอ่ กันครบ 1 ปี แต่ไมค่ รบ 3 ปี มีสิทธิได้รบั คา่ ชดเชยเทา่ กบั ค่าจา้ งอตั รา
สดุ ท้าย 90 วนั

99

3. ลูกจ้างซึ่งทำงานตดิ ตอ่ กนั ครบ 3 ปีแต่ไม่ครบ 6 ปี มีสิทธิได้รบั ค่าชดเชยเทา่ กับคา่ จ้างอัตรา
สุดท้าย 180 วัน

4. ลกู จา้ งซึ่งทำงานตดิ ตอ่ กันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี มสี ทิ ธ์ิไดร้ ับค่าชดเชยเท่ากบั อัตราคา่ จา้ ง
สุดทา้ ย 240 วนั

5. ลูกจ้างซึง่ ทำงานติดตอ่ กนั ครบ 10 ปีขึ้นไป มีสทิ ธิ์ไดร้ บั คา่ ชดเชยเทา่ กบั ค่าจ้างอตั ราสดุ ท้าย 300
วัน

ในกรณีทน่ี ายจา้ งจะเลกิ จา้ งลูกจา้ งเพราะเหตปุ รบั ปรงุ หน่วยงาน กระบวนการผลิตการจำหนา่ ย
หรอื การบริการอนั เน่อื งมาจากการนำเครอื่ งจกั รมาใชห้ รือเปลย่ี นแปลงเครื่อง จักรหรือเทคโนโลยี ซ่งึ
เป็นเหตใุ ห้ต้องลดจำนวนลูกจ้างลง นายจา้ งต้องปฏบิ ตั ิดงั น้ี

1. แจง้ วนั ท่จี ะเลิกจ้าง เหตผุ ลของการเลกิ จ้าง และรายช่อื ลูกจา้ งท่ีจะถกู เลิกจ้าง ให้ลูกจ้างและ
พนักงานตรวจแรงงาน ทราบล่วงหน้าไม่ น้อยกวา่ หกสบิ วนั ก่อนวันทจ่ี ะเลิกจา้ ง

2. ถา้ ไมแ่ จง้ แก่ลูกจ้างทจ่ี ะเลกิ จ้างทราบลว่ งหน้า หรอื แจ้งลว่ งหนา้ น้อยกวา่ ระยะเวลาหกสิบวัน
นายจา้ งต้องจา่ ยคา่ ชดเชยพิเศษแทนการบอกกลา่ วล่วงหน้าแก่ลูกจา้ งเทา่ กบั คา่ จา้ งอัตราสุดทา้ ยหก
สบิ วนั หรอื เท่ากับคา่ จ้างของการทำงานหกสบิ วันสุดทา้ ยสำหรบั ลูกจ้างซึง่ ได้รบั คา่ จ้างตามผลงาน
โดยคำนวณเป็นหน่วยค่าชดเชยแทนการบอกกลา่ วล่วงหนา้ น้ี ใหถ้ อื ว่านายจ้างไดจ้ ่ายค่าสินจ้างแทน
การบอกกล่าวล่วงหนา้ ตามกฎหมายด้วยนายจา้ งต้องจ่ายค่าชดเชยพเิ ศษเพ่ิมขนึ้ จากค่าชดเชยปกติ
ดงั ต่อไปนี้

2.1 ลกู จา้ ง ทำงานตดิ ต่อกันครบหกปีขน้ึ ไป นายจา้ งจะตอ้ งจ่ายค่าชดเชย พิเศษเพ่ิมขน้ึ จาก
คา่ ชดเชยปกตซิ ึ่งลูกจ้างน้ันมสี ทิ ธิได้รับอยู่แลว้ ไม่นอ้ ยกว่าคา่ จ้างอตั ราสดุ ท้ายสบิ หา้ วันตอ่ การทำงาน
ครบหนึ่งปี หรอื ไมน่ ้อยกวา่ ค่าจ้างของการทำงานสบิ หา้ วันสุดท้ายต่อการทำงาน ครบหนงึ่ ปีสำหรับ
ลกู จา้ งซ่งึ ได้รบั คา่ จา้ งตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

2.2 ค่าชดเชยพิเศษน้ีรวมแลว้ ต้องไม่เกินคา่ จา้ งอตั ราสดุ ท้ายสามรอ้ ย หกสิบวัน หรือไม่เกิน
ค่าจา้ งของการทำงานสามร้อยหกสิบวนั สดุ ทา้ ย สำหรบั ลกู จา้ งซ่ึงไดร้ บั ค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณ
เป็นหน่วย แตร่ วมแลว้ ตอ้ งไม่เกินคา่ จา้ งอัตราสุดทา้ ยสามรอ้ ยหกสบิ วัน

2.3 เพอ่ื ประโยชนใ์ นการคำนวณค่าชดเชยพเิ ศษ เศษของระยะเวลาทำงานทีม่ ากกวา่ หน่งึ ร้อย
แปดสิบวัน ใหน้ บั เปน็ การทำงานครบหนึ่งปี

ในกรณีทีน่ ายจ้างยา้ ยสถานประกอบกจิ การไปต้ัง ณ สถานท่อี ืน่ อนั มผี ลกระทบ สำคญั ต่อการ
ดำรงชีวิตตามปกติของลกู จ้างหรือครอบครวั

1. นายจา้ งต้องแจง้ ล่วงหน้าใหแ้ กล่ ูกจ้างทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่าสามสบิ วันกอ่ น ย้าย ถ้า
ลูกจา้ งไมป่ ระสงคจ์ ะไปทำงานดว้ ย ลูกจา้ งมีสทิ ธ์ิบอกเลิกสญั ญาจ้างได้โดยไดร้ ับค่าชด เชยพิเศษไม่
น้อยกวา่ ร้อย ละหา้ สิบของอตั ราคา่ ชดเชยปกตทิ ลี่ กู จา้ งพงึ มีสิทธิไ์ ดร้ บั

2. ถ้านายจ้างไม่แจง้ ใหล้ ูกจา้ งทราบการยา้ ยสถานประกอบกจิ การล่วงหน้า นายจา้ งต้อ งจ่าย
ค่าชดเชยพิเศษ แทนการบอกกลา่ วล่วงหนา้ เทา่ กับค่าจา้ งอตั ราสดุ ทา้ ยสามสิบวนั

100

ข้อยกเวน้ ท่นี ายจ้างไมต่ ้องจา่ ยคา่ ชดเชย

ขอ้ ยกเว้นท่ีนายจา้ งไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ลกู จา้ งไมม่ สี ิทธิได้รับคา่ ชดเชยในกรณีใดกรณหี นงึ่ ดงั นี้
1. ลกู จา้ งลาออกเอง
2. ทจุ รติ ตอ่ หนา้ ท่ีหรอื กระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
3. จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสยี หาย
4. ประมาทเลนิ เลอ่ เป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอยา่ งรา้ ยแรง
5. ฝ่าฝืนข้อบงั คบั เก่ียวกบั การทำงาน หรอื ระเบยี บ หรือคำส่ังของนายจ้างอนั ชอบด้วยกฎหมาย
และเป็นธรรม และนายจา้ งไดต้ กั เตือนเป็นหนงั สือแลว้ เวน้ แต่กรณที ร่ี า้ ยแรง นายจา้ งไมจ่ ำเป็นต้อง
ตกั เตอื น ซึง่ หนังสอื เตือนน้ันใหม้ ีผลบังคบั ได้ไมเ่ กิน 1 ปี นับแต่วันท่ีลกู จา้ งไดก้ ระทำผดิ
6. ละท้ิงหนา้ ท่เี ป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกนั ไม่วา่ จะมวี ันหยดุ คน่ั หรือไม่ก็ตาม โดยไม่มีเหตุ
อันสมควร
7. ได้รับโทษจำคุกตามคำพพิ ากษาถึงทสี่ ดุ ให้จำคกุ
8. กรณกี ารจา้ งทม่ี ีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอน และนายจา้ งเลิกจ้าง ตามกำหนด
ระยะเวลานนั้ ได้แก่งานดงั นี้

8.1 การจา้ งงานในโครงการ เฉพาะท่ีมใิ ช่งานปกตขิ องธุรกิจหรอื การคา้ ของนายจ้างซ่งึ ตอ้ งมี
ระยะเวลาเริม่ ต้นและสน้ิ สดุ ของงานทแ่ี น่นอน

8.2 งานอันมีลักษณะเป็นครงั้ คราว ทม่ี กี ำหนดงานสน้ิ สดุ หรือความสำเรจ็ ของงาน
8.3 งานทีเ่ ป็นไปตามฤดกู าล และไดจ้ า้ งในช่วงเวลาของฤดกู าลน้ันซ่งึ จะตอ้ งแล้วเสร็จภายใน
เวลาไมเ่ กิน 2 ปี โดยนายจ้างได้ทำสัญญาเปน็ หนงั สอื ไวต้ ้งั แต่เมือ่ เริ่มจา้ ง

การใชแ้ รงงานหญงิ

1. ห้ามนายจา้ งให้ลกู จา้ งหญิงทำงานตอ่ ไปนี้

1.1 งานเหมืองแรห่ รอื งานกอ่ สรา้ ง ที่ตอ้ งทำใตด้ ิน ใต้น้ำ ในถำ้ ในอุโมงค์ หรือปลอ่ งในภเู ขา
เว้นแตล่ กั ษณะของงานไม่เปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพหรือ ร่างกายของลกู จา้ งหญงิ นั้น

1.2 งานทตี่ ้องทำบนนง่ั รา้ นทีส่ ูงกว่าพื้นดินต้งั แต่ 10 เมตรข้นึ ไป
1.3 งานผลิตหรอื ขนส่งวตั ถุระเบิดหรอื วตั ถไุ วไฟ
1.4 งานอ่ืนตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง
2. ห้ามนายจา้ งให้ลูกจ้างหญิง ทม่ี ีครรภท์ ำงานในระหวา่ งเวลา 22.00น.-06.00น. ทำงาน
ล่วงเวลาทำงานในวันหยุดหรอื ทำงานอยา่ งหนึ่งอยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร้างทต่ี อ้ งทำใตด้ นิ ใตน้ ้ำ ในถ้ำ ในอโุ มงค์ หรือปลอ่ งในภูเขา
เวน้ แต่ลกั ษณะของงาน ไม่เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพหรอื รา่ งกายของลูกจา้ งหญิงนน้ั
2.2 งานเกี่ยวกบั เครื่องจกั รหรือเครื่องยนต์ที่มคี วามส่นั สะเทอื น
2.3 งานขับเคลอื่ นหรอื ติดไปกบั ยานพาหนะ

101

2.4 งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนกั เกิน 15 กิโลกรัม
2.5 งานทท่ี ำในเรอื
2.6 งานอน่ื ตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
3. พนักงาน ตรวจแรงงานมีคำสง่ั ให้นายจ้างเปล่ยี นเวลาทำงานหรือชวั่ โมงทำงาน ของลกู จ้าง
หญงิ ที่ทำงานในระหว่างเวลา 24.00 น.- 06.00 น. ได้ตามทเี่ หน็ สมควรถา้ พนกั งานตรวจแรงงานเห็น
วา่ งานน้ันอาจเป็นอันตรายตอ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจ้างหญิงนนั้
4. ลูกจา้ งหญิงมคี รรภม์ สี ิทธิขอ ให้นายจ้างเปลีย่ นงานในหน้าท่เี ดมิ เป็นการ ชวั่ คราวก่อนหรือ
หลงั คลอดได้ กรณีที่มใี บรบั รองแพทย์ แผนปัจจุบันชน้ั หนึง่ มาแสดงว่าไม่อาจทำงานใ นห น้าท่ีเดิม
ต่อไปได้
5. หา้ มนายจา้ งเลกิ จ้างลกู จ้างหญงิ เพราะเหตมุ คี รรภ์

การใชแ้ รงงานเด็ก

1. หา้ มนายจา้ งจา้ งเด็กอายุตำ่ กวา่ 15 ปี เปน็ ลกู จา้ ง
2. กรณี ทีม่ ีการจา้ งเดก็ อายุต่ำกว่า 18 ปี เปน็ ลกู จ้าง นายจ้างต้องแจ้งต่อพนัก ง าน ตรวจ
แรงงานภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ เด็กเข้าทำงาน และแจ้งการส้ินสดุ การ จา้ งเด็กนั้นต่อพนกั งานตรวจ
แรงงานภายใน 7 วันนับแต่วนั ท่เี ดก็ ออกจากงาน นายจ้างตอ้ งจดั ให้มีเวลาพกั 1 ชวั่ โมงต่อวนั ภายใน
4 ช่วั โมงแรกของ การทำงาน และให้มีเวลาพกั ยอ่ ยไดต้ ามที่นายจา้ งกำหนด
3. หา้ มนายจ้างใช้ลกู จา้ งเดก็ ท่ีมีอายตุ ่ำกวา่ 18 ปี ทำงานในระหวา่ งเวลา 22.00 – 06.00 น.
เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากอธบิ ดี
4. ห้ามนายจา้ งใช้ลูกจา้ งเดก็ ที่มอี ายตุ ่ำกว่า 18 ปี ทำงานล่วงเวลา
5. หา้ มนายจ้างให้ลูกจา้ งเด็กท่ีมอี ายตุ ำ่ กว่า 18 ปี ทำงานตอ่ ไปนี้

5.1 งานหลอม เปา่ หลอ่ หรอื รดี โลหะ
5.2 งานป๊มั โลหะ
5.3 งานเกยี่ วกบั ความรอ้ น ความเยน็ ความสนั่ สะเทอื น เสียงและแสง ที่มีระดบั แตกตา่ งจาก
ปกติอันอาจเป็นอันตรายตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
5.4 งานเกยี่ วกับสารเคมที ี่เป็นอนั ตรายตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
5.5 งานเกีย่ วกับจลุ ชีวันเป็นพษิ ซง่ึ อาจเป็นเชื้อไวรัส แบคทเี รีย รา หรือเช้อื อ่ืน ตามทีก่ ำหนด
ในกฎกระทรวง
5.6 งานเกย่ี วกบั วัตถุมพี ษิ วตั ถรุ ะเบดิ หรือวัตถไุ วไฟ เวน้ แต่งานในสถ านี บริการท่ีเป็น
เชอ้ื เพลงิ ตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง
5.7 งานขับหรือบังคบั รถยกหรอื ปัน้ จั่นตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง
5.8 งานใช้เล่อื ยเดนิ ดว้ ยพลังไฟฟ้าหรือเคร่อื งยนต์
5.9 งานท่ีตอ้ งทำใต้ดิน ใต้น้ำ, ในถำ้ อโุ มงค์ หรอื ปลอ่ งในภูเขา
5.10 งานเกี่ยวกับกัมมนั ตภาพรังสตี ามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

102

5.11 งานทำความสะอาดเครอ่ื งจกั รหรือเครื่องยนตท์ ่กี ำลังทำงาน
5.12 งานทีต่ อ้ งทำบนนัง่ ร้านท่สี ูงกว่าพ้นื ดินตง้ั แต่ 10 เมตรข้ึนไป
5.13 งานอนื่ ตามทก่ี ำหนดในกระทรวง
6. หา้ มนายจา้ งให้ลูกจา้ งเดก็ ทม่ี ีอายตุ ่ำกวา่ 18 ปี ทำงานในสถานทต่ี ่อไปน้ี
6.1 โรงฆ่าสตั ว์
6.2 สถานท่เี ลน่ การพนัน
6.3 สถานท่ีเต้นรำ รำวง หรือ รองเงง็
6.4 สถาน ทีท่ ี่มอี าหาร สรุ า นำ้ ชา หรือเครือ่ งด่ืม อยา่ งอืน่ จำหน่ายและบริการ โดยมีผู้บำเรอ
สำหรับปรนนบิ ัตลิ ูกจา้ ง หรอื โดยมีท่ีสำหรับพักผ่อนหลบั นอน หรอื มบี รกิ ารนวดให้แก่ลูกคา้
6.5 สถานที่อ่ืนตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
7. หา้ มนายจา้ งจา่ ยค่าจา้ งของลูกจ้างซ่ึงเป็นเด็กแก่บคุ คลอ่นื
8. หา้ มนายจ้างเรยี ก/หรือรับ เงนิ ประกนั จากฝ่ายลูกจา้ งซึง่ เปน็ เด็ก
9. ลกู จ้าง ซึง่ เป็นเด็กอายตุ ำ่ กว่า 18 ปี มสี ทิ ธลิ าเพ่ือเขา้ ประชมุ สมั มนา รับการอบรม รับการ
ฝกึ หรือลาเพ่อื การอ่นื ซ่งึ จัดโดยสถานศกึ ษา หรอื หน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ท่อี ธบิ ดเี หน็ ชอบ และให้
นายจ้าง จ่ายค่าจ้างแก่ลูกจ้างเดก็ เทา่ กับค่าจ้างในวนั ทำงานตลอดระยะเวลาท่ลี า แตป่ หี นึง่ ตอ้ งไม่เกิน
30 วัน

หลักฐานการทำงาน

1. นาย จ้างที่มีลกู จ้างต้ังแต่ 10 คนขึ้นไป ต้องจัดใหม้ ขี ้อบังคบั เกี่ยวกับการทำงาน เปน็
ภาษาไทย ปิดประกาศโดยเปดิ เผย ณ สถานท่ที ำงานของลกู จ้างและ ส่งสำเนาใหอ้ ธบิ ดกี รมสวัสดกิ าร
และคุม้ ครองแรงงาน

2. ข้อ บังคับฯ ต้องระบุเรื่องตา่ ง ๆ ดงั น้ี วันทำงาน เวลาทำงานปกติ เวลาพกั วนั หยุดและ
หลกั เกณฑ์การหยุด หลักเกณฑก์ ารทำงานล่วงเวลา และการทำงาน ในวันหยุด วนั และสถานที่จ่าย
คา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา ค่าทำงานในวนั หยุด และค่าลว่ งเวลาในวนั หยุดวันลาและหลกั เกณฑก์ ารลา วินัย
และโทษ การร้องทุกข์ และการเลิกจา้ ง

3. ทะเบียนลูกจ้างตอ้ งมีช่อื เพศ สัญชาติ วันเดอื นปเี กิด ทีอ่ ยปู่ จั จุบนั วนั เรมิ่ จ้าง ตำแหนง่ หรือ
งานในหน้าที่ อตั ราค่าจ้าง และประโยชนต์ อบแทนอน่ื ๆ ท่ีนายจ้างตกลงจ่ายให้แกล่ กู จ้างและวนั ส้นิ สดุ
การจ้าง

4. เอกสาร เก่ยี วกบั การคำนวณค่าจ้าง คา่ ลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวันหยดุ ตอ้ งระบุ วันเวลา
ทำงาน ผลงานทท่ี ำไดส้ ำหรับการจา้ งตามผลงาน และจำนวนเงินท่จี ่าย โดยมีลายมือชอื่ ลกู จา้ งผู้รับ
เงิน

103

การควบคมุ

1. นายจา้ งทม่ี ลี ูกจ้างรวมกันตัง้ แต่ 10 คนขึน้ ไป จะตอ้ งจดั ทำขอ้ บังคับเกยี่ วกบั การทำงานเป็น
ภาษาไทย อย่างนอ้ ยต้องมี รายละเอียดดงั นี้

1.1 วนั ทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพกั
1.2 วนั หยุดและหลกั เกณฑก์ ารหยุด
1.3 หลักเกณฑ์การทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวนั หยุด
1.4 วันและสถานท่จี า่ ยค่าจ้าง คา่ ลว่ งเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าลว่ งเวลาในวนั หยุด
1.5 วันลาและหลกั เกณฑ์การลา
1.6 วนิ ยั และโทษทางวินยั
1.7 การรอ้ งทกุ ข์
1.8 การเลกิ จา้ ง คา่ ชดเชยและชดเชยพิเศษ
2. นายจ้างต้องประกาศใช้ขอ้ บงั คับเกี่ยวกับการทำงานภายใน 15 วนั นับจากวันท่ีมีลูกจ้าง
รวมกันตัง้ แต่ 10 คนขึน้ ไป
3. นายจ้างต้องปิดประกาศข้อบงั คับเกีย่ วกบั การทำงานโดยเปดิ เผย ณ สถานที่ ทำงานของ
ลกู จา้ ง
4. ให้ประกาศใชข้ ้อบังคบั เกี่ยวกบั การทำงานต่อไปแม้วา่ นายจา้ งจะมีลกู จ้าง ลดตำ่ กว่า 10 คนก็
ตาม

การรอ้ งทุกขข์ องลกู จ้าง

1. ลกู จา้ งเรียกร้องสทิ ธิของตนอันเนื่องมาจากการฝ่าฝืนกฎหมายแรงงาน ของนายจ้างไดโ้ ดย
1.1 ลูกจา้ งนำคดไี ปฟอ้ งศาลแรงงาน
1.2 ลูกจา้ งยนื่ คำรอ้ งทุกขต์ อ่ พนักงานตรวจแรงงาน

2. การยนื่ คำรอ้ งทุกขข์ องลูกจ้างหรอื ทายาท
2.2 ยน่ื คำรอ้ งทุกข์ตามแบบทอ่ี ธบิ ดกี ำหนด
2.3 ยื่นต่อพนักงานตรวจแรงงานในท้องท่ที ี่ลูกจา้ งทำงานอยู่ หรอื ท่ีนายจา้ ง มภี ูมลิ ำเนา หรือ

ท้องทที่ ่ลี กู จ้างมีภูมลิ ำเนาอยู่ก็ได้
3. การพิจารณาคำร้องทุกขข์ องพนกั งานตรวจแรงงาน
3.1 เร่งสอบสวนข้อเท็จจรงิ จากนายจ้าง ลูกจ้าง และพยานโดยเร็ว รวมทั้งการรวบรวม

หลกั ฐานที่เก่ยี วข้องดว้ ย
3.2 เมอ่ื สอบสวนข้อเท็จจริงแล้ว ต้องมีคำส่งั ให้นายจ้างจ่ายเงิน หรอื ยกคำร้องทุกข์ของ

ลกู จ้างอย่างใดอยา่ งหนง่ึ
3.3 การรวบรวมขอ้ เทจ็ จริง และการมีคำสง่ั ต้องกระทำให้แลว้ เสร็จ ภายใน 60 วนั นับแตว่ ัน

รับคำรอ้ งทุกขไ์ วด้ ำเนนิ การ

104

3.4 ถา้ ไม่สามารถดำเนนิ การให้แลว้ เสรจ็ ภายใน 60 วัน ใหข้ อขยายระยะเวลา ต่ออธบิ ดหี รอื
ผวู้ ่าราชการจังหวดั โดยขอขยายระยะเวลาได้ไมเ่ กนิ 30 วนั

4. การยตุ ขิ ้อร้องทุกขร์ ะหว่างสอบสวนขอ้ เท็จจรงิ
4.1 ลกู จา้ งสละสทิ ธิการเรียกรอ้ งทั้งหมด
4.2 ลูกจ้างสละสทิ ธเิ รยี กรอ้ งแตบ่ างส่วน โดยนายจ้างยินยอมจ่ายเงินบางสว่ น แก่ลูกจ้าง
4.3 นายจ้างยินยอมจ่ายเงนิ ท้ังจำนวน แก่ลกู จา้ ง

บทกำหนดโทษ

1. กฎหมายคุ้มครองแรงงานเปน็ กฎหมายท่ีมีบทลงโทษทางอาญา
2. นายจ้างผ้ใู ดฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏบิ ตั ิตาม ขั้นตำ่ ปรบั ไมเ่ กิน 5,000 บาทจำคุกไม่เกนิ 1 ปี หรือ
ปรบั ไม่เกนิ 200,000 บาท หรือท้งั จำท้ังปรับ
3. การปฏบิ ตั ติ ามคำสงั่ ของพนกั งานตรวจแรงงานคดีอาญา เปน็ อันระงับ
4. การฝ่าฝืนกฎหมาย
อธิบดีมอี ำนาจเปรยี บเทยี บปรบั สำหรบั ความผดิ ที่เกดิ ขนึ้ ใน กรุงเทพฯผู้วา่ ราชการจังหวัด มี
อำนาจเปรยี บเทยี บปรบั สำหรบั ความผิด ท่ีเกิดขึน้ ภายในจงั หวดั ชำระคา่ ปรับภายใน 30 วัน นับเท่า
วันทไ่ี ด้รบั แจ้งผลคดี คดีอาญา เป็นอนั เลิกกัน
ถ้าไมย่ อมเปรียบเทียบปรบั หรอื ไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนด พนกั งานสอบสวน (ตำรวจ) จะ
ดำเนนิ การตามขั้นตอนของกฎหมายต่อไป

สรุปท้ายบท

แรงงานสัมพนั ธเ์ ป็นกจิ กรรมเก่ียวกับความสมั พันธร์ ะหวา่ งนายจ้างและลูกจา้ งและบทบาทของ
องคก์ รท้ัง 2 ฝา่ ย รวมทงั่ การเขา้ ไปเกีย่ วขอ้ งกบั กลไกไตรภาคี ซึ่งรูปแบบความสมั พันธ์ดงั กล่าวเปน็ ไป
ตามกฎหมายแรงงาน 4 ฉบบั คอื ประมานกฎหมายเพ่งและพาณชิ ยว์ ่าดว้ ยการจา้ ง กฎหมายคุ้มครอง
แรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธแ์ ละกฎหมายวธิ ีพิจารณาคดีแรงงา

105

อา้ งองิ

กลั ยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2557). การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์. กรุงเทพ: ปัญญาชน.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2558). การจัดการธรุ กิจขนาดย่อม. กรุงเทพ: ซีเอด็ ยเู คชัน่ .
ดนยั เทียนพฒุ . (2543). การจัดทำแผนHRD. กรุงเทพ: ไทยเจริญการพิมพ.์
ทองฟู สริ ิวงศ.์ (2536). การสรรหาบุคลากร. กรุงเทพ: คณะบรหิ ารธุรกิจ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทองศรี กำภู ณ อยธุ ยา. (2543). การทบทวนการบริหารงานบคุ คล. กรงุ เทพมหานคร: คณะรัฐ

ประศาสนศาสตร์ สถาบนั ยบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาตร.์
ธงชัย สันตวิ งษ์. (2540). การบริหารงานบคุ คล. กรงุ เทพ: ไทยวฒั นาพาณิชย์.
พนัส หันนาคนิ ทร.์ (2542). ประสบการณ์ในการบรหิ ารบุคคลากร. กรงุ เทพ: จฬุ าลงกรณ์

มหาวทิ ยาลยั .
พยอม วงศส์ าร. (2537). การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย.์ กรุงเทพ: สถาบันราชภฏั สวนดสุ ิต.
วเิ ชยี ร วทิ ยอดุ ม. (2557). การบริหารทรัพยากรมนษุ ย.์ นนทบรุ ี: ธนธชั การพมิ พ์.
วิลาวรรณ รพศี าล. (2554). การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์. กรงุ เทพ: โรงพมิ พว์ จิ ติ รหัตถกร.
ศรภิ สั สรศ์ วงศ์ทองด.ี (2556). การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย.์ กรงุ เทพ: ว.ี พรน้ิ .
สมคิด บางโม. (2553). การเปน็ ผปู้ ระกอบการ. กรงุ เทพ: เอสเคบุ๊คส.์
สมศักด์ิ ชอบตรง. (2544). การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์. สรุ าษฎร์ธาน:ี เค.ที.กราฟฟคิ การพมิ พ์.
สริ วิ รรณ เสรีรตั น์, และ คณะ. (2540). ศพั ทก์ ารบริหารธุรกจิ . กรุงเทพ: S.M.CIRCUIT PRESS.
สุนันทา เลาหนนั ท.์ (2542). การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย.์ กรุงเทพ: โรงพมิ พ์ หกจ.ธนะพมิ พ.์
สุภาพร พศิ าลบุตร. (2550). การสรรหาและการบรรจพุ นักงาน. กรุงเทพ: วิรัตนเ์ อด็ ดูเคชน่ั .
เสนาะ ติเยาว์. (2539). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพ: โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
โสภณ ภเู กา้ ล้วน, และ ฐิตวิ รรณ สนิ ธ์ุนอก. (2557). การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย.์ กรุงเทพ: แปลนพ

ร้นิ ตงิ้ .
อนวิ ชั แกว้ จำนงค์. (2556). หลกั การจัดการ. สงขลา: นำศลิ ป์โฆษณา.


Click to View FlipBook Version