• แนวทางการจัดทริปท่องเที่ยว 049
ไม่ว่าตารางการท่องเที่ยวชุมชนจะเป็นแบบส้ันๆ ไปเช้า เย็นกลับ หรือเป็นแบบพักค้างคืนในโฮมสเตย์
การออกแบบทริปเดินทางให้ลงตัว คือหัวใจส�ำคัญในการสร้างความประทับใจให้นักท่องเท่ียว
ซ่ึงในฐานะผู้เช่ียวชาญการออกแบบทริปท่องเท่ียว สมศักด์ิแนะน�ำให้แบ่งแนวคิดออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. การออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยว คือการจัดล�ำดับความน่าสนใจภายในชุมชนไว้เป็นเส้นทาง
ต้ังแต่เช้ายันเย็น รวมไปถึงการนอนพักค้างคืนภายในโฮมสเตย์ (ในกรณีที่เป็นทริปแบบค้างคืน)
อาจเป็นการเช่ือมต่อวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม การท�ำอาหาร แหล่งท่องเท่ียวธรรมชาติ ฯลฯ
ที่ส่ือให้เห็นถึงอัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชนน้ัน
2. การออกแบบประสบการณ์ คือการให้ความ
ส�ำคัญกับอารมณ์ของนักท่องเท่ียว เพื่อสร้าง
ความรู้สึกเชิงบวกให้เกิดขึ้นตลอดการเดินทาง
โดยการออกแบบทั้ง 2 ส่วนนี้จะท�ำงานร่วมกันโดยมีตัวแทนชุมชน
ท�ำหน้าที่สังเกตพฤติกรรมและความรู้สึกของนักท่องเท่ียว
ในระหว่างการเดินทาง เช่น หลังจากนักท่องเที่ยวพักทานอาหาร
กลางวัน จุดเดินทางต่อไปจะต้องไม่เป็นเส้นทางที่ยาวจนเกินไป
เพราะอากาศท่ีร้อนในช่วงบ่ายอาจท�ำให้นักท่องเท่ียวเสียพลังงาน
และเหน่ือยง่าย หรือกิจกรรมแบบน่ังอยู่กับท่ีโดยไม่มีการเคล่ือนไหว
มากก็อาจท�ำให้นักท่องเท่ียวหลับได้ ดังนั้น กิจกรรมหลังอาหาร
กลางวันควรเป็นกิจกรรมที่สร้างความต่ืนเต้นในระดับหน่ึง
โดยใช้เวลาการเดินทางท่ีสั้น หรือเป็นกิจกรรมที่ท�ำให้นักท่องเท่ียว
รู้สึกผ่อนคลายในจังหวะท่ีพอเหมาะ ไม่หักโหมเกินไป
แต่ท่ีเหนือไปกว่าการออกแบบเส้นทางท่องเท่ียวและประสบการณ์
ระหวา่ งทางกค็ อื การสรา้ งมาตรฐานดา้ นความสะอาดความปลอดภยั
และการสอดแทรกอัตลักษณ์ท้องถิ่นเข้าไปในกิจกรรมต่างๆ เพื่อดึง
ความโดดเด่นของชุมชนข้ึนมา เช่น ทริปล่องเรือท่ีบ้านท่าขันทอง
จังหวัดเชียงราย ซ่ึงเป็นชุมชนชาวอีสานท่ีอพยพมาทางภาคเหนือ
พวกเขาออกแบบกิจกรรมน่ังเรือชมวิถีชีวิตริมน้�ำโขง โดยน�ำ
“เพลงหมอลำ� ” ของชาวอสี านมาขบั กลอ่ มระหวา่ งทางดว้ ย นบั เปน็
การสอดแทรกอัตลักษณ์ชุมชนเข้ากับการท่องเท่ียวแบบมาตรฐาน
ช่วยสร้างประสบการณ์แปลกใหม่ให้นักท่องเท่ียวได้เป็นอย่างดี
050 • 3 วงล้อสร้างความยั่งยืน • Local Alike •
การวางแผนและการบริหารจัดการการท่องเท่ียว
ที่ดีคือปัจจัยขับเคลื่อนวงล้อ 3 ส่วนให้เกิดข้ึน
ภายในชุมชน เริ่มจาก
1. วงล้อเศรษฐกิจ ชุมชนจะมีรายได้และ
คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน
2. วงล้อสังคม การท่องเที่ยวชุมชนไม่สามารถ
ทำ� ไดด้ ว้ ยคนคนเดยี วคนในชมุ ชนตอ้ งมคี วามสขุ
ที่จะท�ำส่ิงน้ีร่วมกันเพ่ือสร้างพลังความสามัคคี
ให้เกิดข้ึน ช่วยกันอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม
ประเพณี รวมถงึ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สคู่ นรนุ่ ตอ่ ไป
3. วงลอ้ สงิ่ แวดลอ้ ม การทอ่ งเทยี่ วชมุ ชนมสี ว่ นชว่ ย • วัยต่างกัน เท่ียวไม่เหมือนกัน
ปลกู จติ สำ� นกึ ในชมุ ชน พรอ้ มทำ� ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ ว
รู้สึกหลงรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ จากการสังเกตพฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่ผ่านๆ มา
โดยรอบ เที่ยวอย่างไรถึงจะคงธรรมชาติ ทาง Local Alike พบวา่ คนเจน X และมลิ เลนเนยี ล
ให้สวยงาม คงความสมบูรณ์ในป่า คงสายน�้ำ คอื วยั ทมี่ กี ำ� ลงั จา่ ยสงู บางคนเคยสมั ผสั ประสบการณ์
ให้สะอาด ถนนหนทางที่ถูกปรับปรุงดีขึ้น ท่องเท่ียวชุมชนจากงาน CSR ขององค์กรท่ีท�ำงาน
ตอ้ งไมส่ รา้ งผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม รวมไปถงึ ในขณะที่บางคนก็สนใจวิถีชีวิตชุมชนเป็นการ
เร่ืองการจัดการขยะ ฯลฯ หาก 3 วงล้อนี้เกิดขึ้น ส่วนตัว ผนวกกับเม่ืออายุมากขึ้น เร่ิมต้องเดินทาง
ต่อเนื่องเป็นวงจร การท่องเท่ียวชุมชนก็จะ พร้อมครอบครัว กิจกรรมแนวผจญภัยโลดโผน
ประสบความส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ก็เริ่มมีข้อจ�ำกัด นี่คือเหตุผลว่าท�ำไมทางชุมชนจึง
ต้องออกแบบเส้นทางท่องเท่ียวให้สอดคล้องกับ
พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเป้าหมายให้มากที่สุด
นอกจากน้ี ท่ีน่าสนใจคือพฤติกรรมการท่องเท่ียว
ของคนเจน Z ทย่ี งั เปน็ วยั รนุ่ เวลาเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี ว
ในชุมชนเขาจะต้องการ “สร้างคอนเทนต์”
ที่สามารถโพสต์หรือแชร์ในสื่อออนไลน์ได้ทันที
คนกลุ่มน้ีจะแสวงหากิจกรรมที่ไม่มีโอกาสท�ำ
ในกรุงเทพฯ และชอบเดินทางไปยังสถานที่
ที่ไม่เคยไปมาก่อน สมศักด์ิเล่าต่อว่า
- 051
สื่อออนไลน์
ป้ ันคนที่ไม่มีใครรู้จัก
ใหก้ ลายเปน็ อนิ ฟลเู อนเซอร์
ได้ในเวลาไม่นาน
คนเหล่านี้ช่วยโน้มน้าว
ใจคนหมู่มากได้
หากสื่อสารอย่างถูกต้อง
-
เครดิตภาพ Facebook : LocalAlike
“รูปแบบการท่องเท่ียวของคนเจน Z นี้จะมี เส้นทางการเดินทาง ฯลฯ จะมีส่วนช่วยกระตุ้นให้
สองแบบ หนึ่งคือเดินทางตามกระแสในโลก นักท่องเที่ยวอยากเดินทางมาสัมผัสวิถีชุมชนได้
โซเชียลหรือตามไอดอลของเขา สองคือ เป็นอย่างดี
เดินทางแบบอยากเข้าใจวิถีชีวิตชุมชนจริงๆ
และท่องเท่ียวอย่างรับผิดชอบ ทุกวันนี้เรามี ก่อนจากกัน สมศักด์แห่ง Local Alike ยังฝาก
กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วแบบหลงั มากขนึ้ ในสงั คมไทย แนวคิดเพ่ิมเติมว่า “อย่ามองว่าการท่องเที่ยว
ซึ่งจะช่วยให้การท่องเที่ยวชุมชนมีความย่ังยืน ชุมชนคือการเรียกให้คนเดินทางเข้ามาในพ้ืนที่
ในระยะยาว” เพียงอย่างเดียว แต่สินค้าที่ต่อเนื่องกับการ
ทอ่ งเทย่ี วไมว่ า่ จะเปน็ อาหารของทรี่ ะลกึ ของใช้
• ส่ือสารให้ถูกช่องทาง จากภูมิปัญญาท้องถ่ิน เหล่าน้ีถือว่าอยู่ใน
อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วทง้ั หมด นนั่ หมายถงึ
“การส่ือสารท่ีง่ายและมีประสิทธิภาพท่ีสุด เราไม่จ�ำเป็นต้องน�ำนักท่องเที่ยวเข้าสู่พื้นท่ี
สำ� หรบั การทอ่ งเทยี่ วชมุ ชนวนั นก้ี ค็ อื สอ่ื โซเชยี ล ก่อนถึงจะสร้างวงจรเศรษฐกิจข้ึนได้ บางครั้ง
ซึ่งปัจจุบันก็ไม่ได้เป็นเรื่องที่ใหม่แล้ว แต่ชุมชน การส่งออกสินค้าชุมชนไปยังผู้บริโภคผ่าน
อาจคดิ ไมถ่ งึ วา่ สงั คมออนไลนใ์ นปจั จบุ นั สามารถ ช่องทางการจ�ำหน่ายอ่ืนก็เป็นวิธีเริ่มต้นได้
สรา้ งการรบั รสู้ กู่ ลมุ่ เปา้ หมายไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เหมือนกัน ใครจะไปรู้ว่าสินค้าท่ีระลึกสวยๆ
แค่ไหน หากเราใช้มันอย่างถูกต้อง” สมศักด์ิ หรืออาหารที่รสชาติถูกปาก ก็อาจท�ำให้ลูกค้า
แนะว่าการใช้ส่ือโซเชียลอย่างสม่�ำเสมอ ผ่าน อยากเดินทางมาสัมผัสประสบการณ์ตรงจาก
ภาพถ่าย คลิปวิดีโอ และการบอกเล่าเร่ืองราว ในชุมชนของคุณได้เช่นกัน”
นำ� เสนอเนอ้ื หาทส่ี ะทอ้ นวถิ ชี วี ติ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
052 ขั้นท่ี 3 -
การจัดจ�ำหน่าย เราต้องจินตนาการ
ภาพคนท่ีจะซื้อสินค้า
• ระบุช่องทางท่ีเหมาะกับกลุ่มลูกค้าของเรา ของเรา อย่าเหมารวมว่า
แน่นอนว่าเป้าหมายในการขายสินค้าคือการมียอดจ�ำหน่าย ของสิ่งน้ีจะเหมาะกับ
สูงๆ ด้วยเหตุนี้หลายชุมชนจึงพยายามกระจายสินค้าออกไป คนทุกแบบทุกวัย
ให้มากที่สุดเพื่อหวังเพิ่มยอดขาย แต่ในความเป็นจริงแล้ว
-
ช่องทางการขายท่ีมากข้ึนก็ไม่ได้การันตีว่าเราจะขายสินค้า ร้านค้าชุมชน
ได้มากขึ้นเสมอไป เพราะหัวใจของการจัดจ�ำหน่ายอยู่ที่
การเลือกช่องทางท่ีเหมาะสมท่ีสุดกับกลุ่มเป้าหมาย การสร้างร้านค้าชุมชนในพื้นท่ีคือ
ต่อไปน้ีคือเทคนิคการตัดสินใจเลือกช่องทางจัดจ�ำหน่าย การสรา้ งศนู ยก์ ลางการจำ� หนา่ ยสนิ คา้
ท่ีชุมชนสามารถน�ำไปปรับใช้ได้ทันที ทุกอย่างท่ีผลิตข้ึนได้ภายในชุมชน
คล้ายกับร้านขายของที่ระลึก เพ่ือให้
1. สินค้าของเราเหมาะกับกลุ่มลูกค้าแบบไหน นักท่องเท่ียวซื้อกลับไปเป็นของฝาก
หรือใช้เองที่บ้านในภายหลัง โดย
การระบุกลุ่มเป้าหมายท่ีชัดเจนไม่ใช่แค่เร่ืองกลุ่มอายุเท่านั้น ชุมชนสามารถใช้เทคนิคต่อไปนี้
แตต่ อ้ งรวมถงึ ไลฟส์ ไตล์ คา่ นยิ ม และเงอ่ื นไขในการดำ� เนนิ ชวี ติ ในการออกแบบวางผังร้านค้าให้มี
ของกลุ่มเป้าหมายด้วย เช่น กระเป๋าจักสานด้วยเส้นพลาสติก ประสิทธิภาพ
ส�ำหรับกลุ่มคนวัยท�ำงานอายุ 25 ปี ย่อมต้องแตกต่างจาก
กระเป๋าส�ำหรับกลุ่มคนอายุ 60 ปีข้ึนไป กลุ่มคนวัยท�ำงาน 1. แบ่งกลุ่มสินค้าให้เป็นหมวดหมู่
อาจต้องการกระเป๋าท่ีสามารถใส่คอมพิวเตอร์พกพาได้ และ และจัดเรียงสินค้าให้สัมพันธ์กัน
ใช้งานได้หลายโอกาส ทั้งไปท�ำงานและไปเท่ียวทะเล ฯลฯ เชน่ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑท์ ำ� ความสะอาด
ในขณะที่กลุ่มผู้สูงอายุอาจต้องการตะกร้าถือรูปทรงร่วมสมัย รา่ งกายควรอยใู่ นจดุ เดยี วกนั และ
ส�ำหรับการไปจ่ายตลาด หรือถ้ามีล้อลากเพื่อให้เข็นสะดวกได้ วางเชื่อมต่อกับกลุ่มผลิตภัณฑ์
ก็ย่ิงดี อย่างนี้เป็นต้น ท�ำความสะอาดใบหน้าและกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพช่องปาก
2. ลูกค้าของเราชอบซื้อของผ่านช่องทางใด เป็นต้น
เม่ือทราบกลุ่มเป้าหมายแล้ว เราต้องศึกษาเพ่ิมเติมว่ากลุ่ม 2. สินค้าท่ีขายดีให้วางในระดับ
เป้าหมายของเรามีพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าผ่านช่องใด สายตา และสินค้าที่มีมูลค่าสูง
เป็นหลัก เช่น กลุ่มคนวัยท�ำงานช่วงอายุ 25 - 40 ปี นิยมซื้อ ควรวางใกล้จุดช�ำระเงิน
ของออนไลน์ และใช้แอปพลิเคชัน เช่น Shopee, Lazada, Line
Shop หรือ JD Central เป็นประจ�ำ ในขณะที่กลุ่มผู้สูงอายุนิยม
ซื้อสินค้าจากร้านค้าใกล้บ้านหรือตามห้างสรรพสินค้า ดังน้ัน ถ้าเราต้องการเพ่ิมช่องทางการจ�ำหน่าย
ที่นอกเหนือไปจากร้านค้าในชุมชน เราก็จ�ำเป็นต้องพิจารณาช่องทางที่เหมาะสมเพ่ือเพิ่มโอกาส
การขายให้มากข้ึน
ร้านค้าออนไลน์ 053
คงจะดีไม่น้อยถ้าสินค้าชุมชนของเราสามารถขายได้กับกลุ่มตลาดท่ีกว้างข้ึน ไม่ใช่แค่นักท่องเที่ยว
ทเ่ี ดนิ ทางมายงั ชมุ ชนเทา่ นนั้ ซงึ่ การมรี า้ นคา้ ออนไลนจ์ ะชว่ ยผลกั ดนั โอกาสการขายและการเปดิ ตลาดใหม่
ในส่วนน้ีได้ ปัจจุบันเรามีแพลตฟอร์มอี-คอมเมิร์ซให้เลือกใช้ได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น Facebook,
Instagram, LINE หรือแอปพลิเคชันอย่าง Shopee, Lazada และอื่นๆ
3. สินค้าท่ีมีขนาดเล็ก น้�ำหนักเบา และต่อไปน้ีคือข้อดีของการมีร้านค้าออนไลน์ส�ำหรับ
ควรจัดเรียงไว้ด้านบน ในขณะท่ี ผู้ประกอบการชุมชนที่สนใจ
สินค้าน้�ำหนักมาก ขนาดใหญ่ 1. การสรา้ งรา้ นคา้ ออนไลนส์ ามารถทำ� ไดท้ นั ที ไมต่ อ้ งเขา้ ควิ
ควรจัดวางไว้ด้านล่าง จองพื้นที่หน้าร้าน หรือเลือกท�ำเลสุดฮิตใจกลางกรุง
อย่างไรก็ดี การสร้างร้านค้าออนไลน์ของชุมชนอาจ
4. แยกหมวดหมู่ของกินออกจาก แตกต่างจากร้านท่ัวไป ตรงท่ีร้านค้าชุมชนควรให้ “ข้อมูล
ของใช้ เช่น ไม่ควรจัดเรียงสินค้า ด้านการท่องเท่ียว” ที่สะท้อนอัตลักษณ์ท้องถ่ินด้วย
ท่ี มี ส า ร เ ค มี ป ะ ป น กั บ สิ น ค ้ า นอกเหนือไปจากการขายสินค้าเพียงอย่างเดียว โดยอาจ
ประเภทอาหาร สอดแทรกเรื่องราวเหล่าน้ีด้วยภาพถ่ายหรือคลิปวิดีโอ
ประกอบ เป็นการสร้าง “คุณค่า” ให้กับสินค้า และตอกย�้ำ
5. ควรเว้นทางเดินระหว่างชัน้ สินค้า หัวใจของการสร้างแบรนด์ชุมชน
ประมาณ 90 เซนติเมตร เพ่ือให้ 2. การเปิดร้านค้าออนไลน์คือการเพิ่มโอกาสการขายสินค้า
ลูกค้าเดินดูได้สะดวก ไม่แออัด และการนำ� เสนอทริปทอ่ งเทยี่ วส่กู ล่มุ เปา้ หมายในวงกว้าง
เกินไป โดยชุมชนไม่ต้องกังวลเรื่องเวลาเปิด-ปิดร้าน เพราะเป็น
แพลตฟอร์มท่ีคนเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง ท�ำให้ยอด
6. ต�ำแหน่งจุดช�ำระเงินควรอยู่ใน การซื้อ-ขายเพ่ิมข้ึนตลอดเวลา
บริเวณที่มองเห็นได้ทั่วร้าน และ 3. ตลาดออนไลน์ช่วยให้เจ้าของกิจการประหยัดงบในการ
มีทางเข้า-ออกทางเดียว เพ่ือเพิ่ม เปิดร้านหลายแห่ง ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเช่าพ้ืนท่ี
ความสะดวกและความปลอดภัย การตกแต่งร้าน และการจ้างพนักงานขาย
ในการบริหารจัดการ 4. เราสามารถน�ำ “ข้อมูลหลังบ้าน” ของผู้เข้าชมร้านค้า
ออนไลน์มาวิเคราะห์เพ่ือสร้างโอกาสทางการตลาดได้
- เช่น ข้อมูลช่วงเวลาและระยะเวลาการเข้าชม ประเภท
ของสนิ คา้ และบรกิ ารทคี่ นสนใจสนิ คา้ ไหนขายดีสนิ คา้ ไหน
การจัดแผงผังร้านค้าท่ีดี คนสอบถามมากฯลฯเพอื่ นำ� มาปรบั ปรงุ พฒั นาการนำ� เสนอ
รายการสินค้าท่ีขายไม่ค่อยดี หรือออกโปรโมช่ันกระตุ้น
จะช่วยดึงดูดลูกค้า ยอดขายในช่วงเวลาต่างๆ เป็นต้น
5. แพลตฟอร์มออนไลน์คือช่องทางสื่อสารการตลาดที่เรา
ให้เดินเข้าร้านมากข้ึน สามารถพูดคุย ถาม-ตอบ กับกลุ่มลูกค้าได้โดยตรงและ
อย่างรวดเร็ว จึงเป็นอีกหน่ึงทางเลือกที่ชุมชนสามารถ
เพิ่มความสะดวกสบาย ใช้เป็นส่ือกลางในการผลกั ดนั ยอดขายหรอื นำ� เสนอสนิ คา้
ใหมๆ่ จากในชมุ ชน
ในการเลือกซื้อ
และเพิ่มโอกาสการขาย
เน่ืองจากลูกค้าใช้เวลา
อยู่ในร้านนานขึ้น
-
03
ชุมชน
ส�ำราญใจ
-
คัดสรรไอเดียดี สินค้าเด็ด
จากชุมชนท่ัวประเทศ
ท่ีผ่านการพัฒนาโดยเหล่าเพ่ือนร่วมเดินทาง
ส�ำหรับเป็นแรงบันดาลใจในการพัฒนาสินค้า
และบริการในชุมชน
-
• พัฒนาสินค้าและบริการสร้างสรรค์จากชุมชน •
055
พั ฒนาสินค้าและบริการ
สร้างสรรค์จากชุมชน
เพ่ื อส่งต่อไอเดียดีๆ ท่ีเพ่ื อนร่วมเดินทางของเรา
ไ ด้ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ กั บ ชุ ม ช น ผ ม ข อ ร ว บ ร ว ม แ น ว คิ ด
การพัฒนาสินค้าและบริการในช่วง “ชุมชนส�ำราญใจ”
มาให้ได้เรียนรู้กัน โดยหวังว่าจะมีอย่างน้อยหนึ่ง
แนวคิดท่ีช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้ชุมชนของคุณ
หั น ม า เ ริ่ ม ต้ น พั ฒ น า สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร ท่ี ส ะ ท้ อ น
อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยผมขอแบ่งเน้ือหา
งานสร้างสรรค์ออกเป็น 5 กลุ่ม ดังน้ี
-
1.) งานออกแบบตราสัญลักษณ์
และบรรจุภัณฑ์
2.) งานออกแบบผลิตภัณฑ์
และเคร่ืองจักสาน
3.) งานออกแบบส่ิงทอ
4.) การปรุงอาหารจากวัตถุดิบ
ท้องถิ่น
5.) การสร้างประสบการณ์
จากเส้นทางท่องเท่ียว
-
-
056 งานออกแบบ
ตราสัญลักษณ์
และบรรจุภัณฑ์
ชุมชนบ้านคลองบ่อแสน -
จังหวัดพังงา หน้าท่ีของบรรจุภัณฑ์
คือการส่ือสาร
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
ส่ิงท่ีบรรจุอยู่ด้านใน
พลอย ลุมทอง ว่าคืออะไร ดีอย่างไร
นักคิด นักออกแบบ เจ้าของบริษัท C’est Design และท�ำไมเราต้องซ้ือกลับบ้าน
• โจทย์ : -
อยากได้ตราสัญลักษณ์ที่ส่ือถึงชุมชน
และลูกชก พร้อมบรรจุภัณฑ์ใหม่
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ลูกชกจากต้นชก พืชประจ�ำถิ่น เติบโตตาม
แนวภูเขาหิน ท่ี 30 ปี ออกลูกเพียงคร้ังเดียว
• แนวคิด : 057
เร่ิมจากการพัฒนาตราสัญลักษณ์ ท่ีนักออกแบบ
น�ำรูปทรงของ “ลูกชก” ทั้งแบบไม่ผ่าและผ่า
คร่ึงลูก มาวาดเป็นลายเส้นตราสัญลักษณ์ร่วมกับ
ชื่อแบรนด์ “ทับเหนา” (เหนาคือช่ือลูกชกใน
ภาษาถิ่น ส่วนทับมาจากชื่ออ�ำเภอทับปุด)
โดยนอกจากภาพสัญลักษณ์นี้จะสื่อถึงลูกชกแล้ว
ยังสื่อถึงเลข 8 ซึ่งเป็นเลขตัวแรกในรหัสไปรษณีย์
82180 ของอ�ำเภอทับปุดด้วย
058
ใ น ส ่ ว น ข อ ง บ ร ร จุ ภั ณ ฑ ์
พลอย ลุมทอง นักออกแบบ
ของเราเสนอให้เปล่ียนชนิด
บรรจุภัณฑ์เพ่ือสะดวกต่อการ
ใช้งานมากขึ้น เธอแนะน�ำให้ใช้
ข ว ด พ ล า ส ติ ก แ บ บ บี บ ไ ด ้
เพื่อให้ลูกค้าบีบไซรัปน้�ำตาล
ต้นชกออกมาได้ง่าย ไม่หก
เลอะเทอะเหมือนบรรจุภัณฑ์
เดิมทเี่ ป็นขวดแก้ว (ทีต่ อ้ งอาศัย
การเปิด-ปิดฝาและใช้ช้อนตัก)
ในส่วนของฉลาก เธอวาดภาพ
การเทไซรัปลงบนแพนเค้กเพ่ือ
แนะแนวทางการรับประทาน
ไซรัปน�้ำตาลต้นชก ท�ำให้ลูกค้า
เข้าใจง่ายโดยไม่ต้องอ่าน
นอกจากน้ี ยังเพ่ิมเร่ืองราว
ที่มาของลูกชกในฐานะ “ของดี
เมืองพังงา” ลงบนฉลากเพื่อ
สร้างคุณค่าให้กับแบรนด์ด้วย
ในสว่ นของนำ้� ตาลชก(ชนดิ ผง)
นักออกแบบได้ปรับบรรจุภัณฑ์
เ ดิ ม ท่ี มี รู ป ท ร ง 6 เ ห ล่ี ย ม
ปากแคบ ตักใช้งานยาก มาเป็น
บรรจุภัณฑ์ทรงกลมท่ีมีปาก
กว้างเพื่อใช้งานได้สะดวกขึ้น
บนฉลากมีภาพประกอบการ
เติมน�้ำตาลชกลงในถ้วยกาแฟ
เ พื่ อ แ น ะ น� ำ วิ ธี รั บ ป ร ะ ท า น
พร้อมเรื่องราวท่ีมาของลูกชก
เพ่ือตอกย�้ำอัตลักษณ์
059
ส�ำหรับน้�ำตาลแว่นชกที่ห่อเป็นท่อนใหญ่
เธอแนะน�ำให้ชุมชนน�ำมาตัดเป็นแว่นๆ ขนาดเล็ก
เพอื่ ใหล้ กู คา้ นำ� ไปใชป้ รงุ อาหารไดง้ า่ ยขนึ้ โดยบรรจุ
ในกล่องพลาสติกแบบสุญญากาศ เปิด−ปิดง่าย
และคาดกล่องด้วยฉลากท่ีออกแบบบนแนวคิด
เดยี วกนั กบั ผลติ ภณั ฑก์ อ่ นหนา้ เพอื่ สรา้ งเอกลกั ษณ์
ของแบรนด์ทับเหนาให้มีความต่อเน่ืองกัน
ท้ายสุดคือไอเดียเซอร์ไพรส์ท่ีแถมให้กับชุมชน
น่ันคือการน�ำน้�ำตาลชกที่เป็นของหายากมาผสม
กบั นำ้� ผง้ึ พฒั นาเปน็ “สครบั ขดั ผวิ จากนำ�้ ตาลชก”
ที่การันตีได้ว่าเป็นสูตรแรกของโลก
060 ชุมชนตลาดโรงพักเก่าสรรพยา
จังหวัดชัยนาท
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
พลอย ลุมทอง
นักคิด นักออกแบบ เจ้าของบริษัท C’est Design
• โจทย์ :
พัฒนาถุงกระดาษใจดีที่สร้างงานให้กับผู้สูงอายุ
และต่อยอดบรรจุภัณฑ์ให้กลุ่มสินค้าขนมพ้ืนถ่ิน
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
สรรพยาเป็นจุดก�ำเนิดต้นสังกรณีตรีชวา
จากวรรณคดีรามเกียรติ์ และสถาปัตยกรรม
ของโรงพักเก่าที่สร้างขึ้นต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ 5
061
• แนวคิด : ถุงกระดาษแต่ละใบมีเสน่ห์ที่ไม่เหมือนกัน
นอกจากน้ี เธอยังเสนอให้พับถุงเป็น 3 ขนาด
เมื่อทดลองพับถุงกระดาษ แตกต่างกันตามการใช้งาน ก่อนติดสติกเกอร์โลโก้
เ ดิ ม เ พื่ อ เ รี ย น รู ้ ขั้ น ต อ น ชุมชนท่ีเป็นรูปหนุมาน พร้อมช่ือ “สรรพยา
การพับ นักออกแบบของ จ.ชัยนาท” ประกอบอยู่ทางด้านล่าง
เราจึงเข้าใจถึงข้อปัญหาและมองเห็นโอกาส
การพัฒนาถุงแบบใหม่ โดยเธอขอให้ผู้สูงอายุ ในส่วนของบรรจุภัณฑ์ขนมพื้นเมือง นักออกแบบ
หรือเด็กเล็กในชุมชนมาช่วยกันวาดรูปดาวเดือน เสนอให้ชุมชนเลือกใช้กระดาษรีไซเคิล โดยพิมพ์
และก้อนเมฆอย่างง่ายๆ ลงบนกระดาษ สร้าง กราฟิกลายสถาปัตยกรรมโรงพักเก่าสมัยรัชกาล
บรรยากาศความสุขสนุกสนาน และสร้างสัมพันธ์ ที่ 5 อันเป็นอัตลักษณ์เด่นของพื้นที่ไว้บนกล่อง
ท่ีดีระหว่างคนในชุมชนก่อน ส่วนสาเหตุท่ีให้วาด (พิมพ์สีเดียวเพ่ือประหยัดงบการผลิต) และเจาะ
รูปเหล่านี้เป็นเพราะเธออยากตอกย�้ำอัตลักษณ์ ช่องด้านล่างเพ่ือให้ลูกค้าเห็นว่าสินค้าด้านในคือ
ของชื่ออ�ำเภอ “สรรพยา” ที่เก่ียวข้องกับตัวละคร อะไร ก่อนจะแปะสติกเกอร์ประจ�ำชนิดสินค้า เช่น
“หนุมาน” ในวรรณคดีรามเกียรต์ิ (หนุมานหาว ขนมดอกจอก ขนมกง ฯลฯ พร้อมเร่ืองราวที่มา
เป็นดาวเป็นเดือน) และเป็นสถานท่ีที่พระราม ของขนมแต่ละชนิด ส่วนผสม วันหมดอายุ
รบั สง่ั ใหห้ นมุ านไปเอาสงั กรณตี รชี วา หรอื สรรพยา ช่องทางการติดต่อ ฯลฯ นักออกแบบแนะว่าขนม
มารักษาพระลักษมณ์ แต่ละชนิดควรใช้สติกเกอร์สีต่างกันเพ่ือช่วยใน
การแบ่งประเภท แถมท้ายว่าสติกเกอร์น้ีสามารถ
ส่วนสีท่ีใช้วาด เธอแนะให้ใช้ปากกา Posca ท่ีไม่ คาดเป็นหูห้ิวด้านบนได้ด้วย เพื่อนักท่องเที่ยว
ซึมกระดาษ เม่ือน�ำไปพับเป็นถุงก็จะเห็นลวดลาย สามารถถือกลับบ้านได้เลยอย่างสะดวก
ต่างๆ กันไปตามทักษะการวาดของผู้วาด ท�ำให้
062 ชุมชนบ้านเกาะโหลน
จังหวัดภูเก็ต
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์
นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์ชุมชน
• โจทย์ :
ชุมชนอยากได้ตราสัญลักษณ์
และบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับน�้ำพริกตะไคร้
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของเกาะโหลน
และหมึกโวยวาย
• แนวคิด : ด้วยการผูกเชือกปอบริเวณปากขวดพร้อมป้าย 063
กระดาษท่ีเล่าเร่ืองราววิถีชีวิตชุมชน สื่อสารให้
ใช้ภาพวิวทิวทัศน์ของเกาะโหลนมาออกแบบเป็น นักท่องเที่ยวได้รู้จักชุมชนบ้านเกาะโหลนมากข้ึน
ตราสัญลักษณ์ เพ่ือสื่อให้เห็นลักษณะภูมิศาสตร์
ท่ียังอุดมไปด้วยภูเขา ป่าไม้ ชายหาด และน�้ำทะเล หลังจากพูดคุยกับชุมชน นักออกแบบเล็งเห็น
จากน้ันเลือกใช้บรรจุภัณฑ์แก้วรูปทรงหกเหลี่ยม โอกาสในการน�ำ “หมึกโวยวาย” ท่ีพบในพ้ืนที่
มาใสน่ ำ้� พรกิ ตะไคร้บนฉลากนำ� รปู ตะไคร้พรกิ แหง้ และคุณลักษณะที่เปลี่ยนสีไปตามสภาพแวดล้อม
หอมแดง มาออกแบบเป็นลายกราฟิก สื่อให้ (เม่ือเจอภัยอันตราย) มาออกแบบเป็นมาสคอต
ผู้บริโภครับรู้ถึงวัตถุดิบส�ำคัญในตัวสินค้า พร้อม ประจ�ำชุมชน โดยต้ังช่ือติดตลกว่า “บังโวย” กับ
ข้อมูลผลิตภัณฑ์และช่องทางการติดต่อ ปิดท้าย “น้องวาย” พร้อมออกแบบท่าทางตามอิริยาบถ
ของนักท่องเท่ียว เช่น การถ่ายภาพเซลฟี่
การประสานมอื เปน็ รปู หวั ใจ การใสห่ ว่ งยางพรอ้ ม
แว่นตาด�ำน�้ำ ฯลฯ ข้อดีคือนอกจากมาสคอต
จะชว่ ยสรา้ งภาพจำ� ใหก้ บั ชมุ ชนแลว้ เรายงั สามารถ
น�ำมาสคอตไปใช้ในงานโฆษณาประชาสัมพันธ์
ท�ำสินค้าท่ีระลึก ตกแต่งสถานที่ หรือกระท่ัง
ท�ำเป็นสติกเกอร์ไลน์เพ่ือสร้างรายได้เสริมให้กับ
ชุมชน
064 ชุมชนท่องเท่ียว
เกาะลิบง
จังหวัดตรัง
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์
นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์ชุมชน
• โจทย์ :
ชุมชนอยากได้ตราสัญลักษณ์
และบรรจุภัณฑ์ท่ีสื่อถึงอัตลักษณ์ชุมชน
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
พะยูน - สัตว์ทะเลในท้องถ่ิน
ต้นหลาวชะโอน - พืชประจ�ำถิ่นเกาะลิบง
ผ้าปาเต๊ะ - วิถีการแต่งกายของชาวมุสลิม
• แนวคิด :
นอกจากพะยูนจะเป็นสัตว์ป่าสงวนที่อยู่คู่ท้องทะเลตรังแล้ว ยังมีต้นหลาวชะโอนท่ีขึ้นเองตามธรรมชาติ
ทั่วเกาะ นักออกแบบจึงน�ำ 2 องค์ประกอบน้ีมาต่อยอดเป็นตราสัญลักษณ์ประจ�ำชุมชน ส่วนบรรจุภัณฑ์
เขาได้เลือกน�ำลวดลายผ้าปาเต๊ะอันเป็นผ้าพื้นเมืองมาพลิกแพลงต่อยอด และน�ำสัตว์ทะเลท่ีมี
ความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ปลาอินทรี กุ้ง หมึก ปลิงทะเล มาออกแบบเป็นแพตเทิร์นลายผ้า
พัฒนาเป็นสินค้าท่ีระลึกหลายรูปแบบ
065
ในส่วนของการออกแบบฉลาก
บรรจุภัณฑ์ นักออกแบบพยายาม
สร้างอัตลักษณ์ชุมชนให้มี
ความต่อเนื่องบนบรรจุภัณฑ์
หลายรูปแบบ โดยแบ่ง
องค์ประกอบหลักออกเป็น
5 ส่วน ได้แก่
1. ตราสัญลักษณ์
2. ช่ือผลิตภัณฑ์และผู้ผลิต
3. เรื่องราวของชุมชน
4. แพตเทิร์นลายผ้าปาเต๊ะรูปสัตว์ทะเล
5. ช่องทางการติดต่อและคิวอาร์โค้ด (เช่ือมต่อกับส่ือโซเชียล) จากนั้น
ค่อยน�ำองค์ประกอบทั้ง 5 ส่วนน้ีไปจัดวางบนฉลากสินค้าอย่าง
เหมาะสม เช่น หมึกอบเนย ปลาอินทรี อาหารทะเลแปรรูป มันกุ้งสด
กุ้งแห้ง กาหมาดดองน้�ำผ้ึง และยาสมานแผลสดจากน�้ำมันปลิงทะเล
เป็นต้น
สำ� หรบั การสอ่ื สารบนสอื่ โซเชยี ลนกั ออกแบบแนะนำ� ใหช้ มุ ชนบรหิ ารจดั การ
เฟซบกุ๊ แฟนเพจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีแนวทางคร่าวๆ ดังนี้
1. ควรโพสต์ภาพวิถีชีวิตอย่างสม่�ำเสมอ อย่างน้อยวันละครั้ง อาจเป็น
รูปภาพพะยูน สภากาแฟบนเกาะ ภาพตลาดประมง บรรยากาศ
ธรรมชาติ หาดทรายท่ีสวยงาม ฯลฯ
2. มีข้อมูลทริปการท่องเที่ยวชุมชนให้เลือกสรร เช่น แบบ 3 วัน 2 คืน
หรือ 2 วัน 1 คืน พร้อมที่พักโฮมสเตย์ให้เลือก
3. ให้วางขายผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านส่ือโซเชียลด้วยเพื่อเพิ่มโอกาส
การขาย
066
ชุมชนบ้านท่ามะปรางค์-
คลองเพล
จังหวัดนครราชสีมา
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
ชัยพร เธียไพรัตน์
นักสร้างสรรค์กลยุทธ์การตลาด
จาก Prompt Partners
• โจทย์ :
พัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์
ให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
“พ่ีด้วน” ช้างป่าหางด้วนท่ีชอบมากินกล้วย
ในพ้ืนที่ และวิถีชีวิตชุมชนแบบพึ่งพาอาศัยกัน
067
• แนวคิด : -
ชัยพรน�ำภาพบ้านท่ีโอบล้อมด้วยขุนเขามา บรรจุภัณฑ์มีหน้าท่ีหลัก
ออกแบบเป็นตราสัญลักษณ์ เพื่อสะท้อนวิถีชีวิต ในการแก้ไขปัญหา
ชุมชนแบบพึ่งพาอาศัย ในส่วนบรรจุภัณฑ์สินค้า
“กล้วยพี่ด้วน” เขาน�ำภาพช้างป่าหางด้วนอัน ท้ังในเร่ืองการบอกเล่า
เป็นต้นก�ำเนิดของชื่อสินค้ามาใช้ประกอบบน เร่ืองราวชุมชน และการรักษา
บรรจุภัณฑ์ที่ปรับใหม่เป็นถุงซิปล็อก เพื่อรักษา คุณสมบัติของสินค้าภายใน
คุณภาพของสินค้าให้อร่อยและกรอบนาน
นอกจากน้ี ชุมชนยังสามารถน�ำภาพพี่ด้วนไปใช้ เพ่ือสร้างความประทับใจสูงสุด
เป็นมาสคอตในสินค้าชุมชนชนิดอ่ืน หรือเป็น
สัญลักษณ์ประจ�ำหน้าหมู่บ้านก็ได้ -
ส�ำหรับบรรจุภัณฑ์ถ่านอัดแท่งสมุนไพร ชัยพรเสนองานออกแบบไว้ 2 แนวทาง
1. บรรจุภัณฑ์พร้อมใช้ น�ำถ่านใส่ในถุงผ้ากระสอบ แล้วผูกป้ายชื่อสินค้าติดกับตัวถุง ลูกค้าสามารถ
น�ำไปวางในรถยนต์ ตู้เสื้อผ้า หรือตู้เย็นได้เลย โดยถุงผ้าสามารถรูดเปิด-ปิดเพ่ือเปล่ียนถ่านสมุนไพร
ภายในได้
2. บรรจุภัณฑ์กระดาษไข เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ถูกออกแบบมาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการไหลเวียนของ
อากาศ เป็นการรักษาคุณภาพของถ่านสมุนไพรให้คงประสิทธิภาพเต็มร้อยก่อนเปิดใช้งาน ชุมชน
สามารถแบ่งขนาดบรรจุภัณฑ์น้ีออกเป็นแบบ 1 ชิ้น 2 ช้ิน หรือ 6 ช้ินก็ได้
-
068 งานออกแบบ
ผลิตภัณฑ์และ
เคร่ืองจักสาน
ชุมชนบ้านสามัคคีธรรม -
จังหวัดกาญจนบุรี การพัฒนาสินค้า
จากวัสดุธรรมชาติเช่นไม้ไผ่น้ี
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
ชุมชนควรส่ือสารแนวคิด
ดร. ฐิติพร ฌานวังศะ เรื่องการลดขยะ
ผู้เช่ียวชาญการพัฒนาสินค้าหัตถกรรม
เจ้าของแบรนด์พีคฌาน (Zero Waste Concept)
ไว้ในเร่ืองราวด้วย
• โจทย์ :
ถือเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม
จะต่อยอดทักษะฝีมือของชุมชนไปสู่ผลิตภัณฑ์ ให้กับสินค้าชุมชนอีกทางหนึ่ง
ใหม่ๆ ได้อย่างไร
-
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
งานจักสานไม้ไผ่และการผลิตแผ่นไม้ไผ่อัด
จากเศษไม้ไผ่
069
• แนวคิด :
ดร. ฐิติพรน�ำ 2 เทคนิคการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
ของชุมชนมาต่อยอด เริ่มจาก
1.) ขยายรูปแบบงานจักสานเสื่อไม้ไผ่มาสู่ของตกแต่ง
บ้านท่ีหลากหลาย เพ่ือตอบโจทย์ความต้องการของ
นักท่องเท่ียว เช่น กล่องใส่ของที่สานข้ึนรูปจากไม้ไผ่
หรอื กระถางตน้ ไม้ทว่ี างบนขาตง้ั 3 ขาให้มคี วามสูงต่าง
ระดับกัน
2.) น�ำเทคนิคการท�ำแผ่นไม้ไผ่อัดท่ีข้ึนรูปจากเศษไม้ไผ่
ที่เหลือจากกระบวนการผลิต มาพัฒนาเป็นสินค้าชิ้น
เล็ก เช่น กระถางส�ำหรับปลูกกระบองเพชร ท่ีรองจาน
และที่รองแก้ว ชุดวางเคร่ืองเขียนบนโต๊ะท�ำงาน ฯลฯ
3.) น�ำ 2 เทคนิคข้างต้นมาผสมผสานกันเพ่ือออกแบบ
สินค้าใหม่ เช่น เก้าอี้น่ังที่ใช้ไม้ไผ่อัดท�ำเป็นโครงและ
ใช้งานสานท�ำเป็นส่วนรองนั่ง หรือกรอบหน้าต่าง
สไตล์รีสอร์ตที่ใช้ไม้ไผ่อัดท�ำเป็นกรอบและตกแต่งด้วย
งานสาน
4.) น�ำเสื่อไม้ไผ่เดิมมาขัดผิวให้ขาวข้ึนและเปล่ียนเชือก
ไนลอนที่ยึดติดเป็นผืนผ้า จากน้ันน�ำมาออกแบบเป็น
เครื่องใช้ต่างๆ เช่น แผ่นรองแก้วที่สามารถวางพาดไป
กับที่พักแขนโซฟา
ดร. ฐิติพรเน้นว่าการพัฒนาสินค้าจากวัสดุธรรมชาติ
เช่นไม้ไผ่น้ี ชุมชนควรส่ือสารแนวคิดเร่ืองการลดขยะ
(Zero Waste Concept) ไว้ในเรื่องราวด้วย ถือเป็นการ
สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าชุมชนอีกทางหนึ่ง
070 ชุมชนบ้านสะปัน
จังหวัดน่าน
• เพ่ือนร่วมเดินทาง : -
ดร. ฐิติพร ฌานวังศะ นอกจากเทคนิคเชิงช่าง
ผู้เชี่ยวชาญการพัฒนาสินค้าหัตถกรรม ท่ีชุมชนมีอยู่แล้ว
เจ้าของแบรนด์พีคฌาน
ธีระวัฒน์ ล้ิมเจริญ การออกแบบที่ค�ำนึงถึง
นักออกแบบผลิตภัณฑ์ บริษัทพีคฌาน โจทย์ชีวิตของลูกค้า
คือส่ิงท่ีชุมชน
• โจทย์ : ต้องให้ความส�ำคัญ
อยากพัฒนาผลิตภัณฑ์หวายให้มีขนาดเล็กลง -
จากเดิมท่ีเคยท�ำแต่เฟอร์นิเจอร์ชิ้นใหญ่
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน
จากทักษะงานช่างจักสานหวาย
• แนวคิด :
น�ำเสนอการพัฒนาสินค้าออกเป็น
3 แนวทางเพ่ือให้นักท่องเท่ียวสามารถน�ำไป
ใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้
1. ชุดของใช้บนโต๊ะอาหาร เช่น ที่วางจาน 071
ท่ีวางแก้วน้�ำ และท่ีวางไข่ลวก ซึ่งนอกจากจะขาย
ให้นักท่องเท่ียวได้แล้ว ยังสามารถขยายตลาด
สลู่ กู คา้ กลมุ่ รา้ นอาหารหรอื โรงแรมได้ นกั ออกแบบ
แนะนำ� วา่ “ชมุ ชนควรใหค้ วามรกู้ บั นกั ทอ่ งเทย่ี ว
วา่ วสั ดหุ วายจรงิ ๆไมไ่ ดเ้ ปน็ เชอ้ื รางา่ ยหากไดร้ บั
การดูแลป้องกันอย่างดีในระหว่างกระบวนการ
ผลิต ทั้งนี้ เพ่ือให้นักท่องเที่ยวรู้สึกมั่นใจและ
ตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น”
2. เคร่ืองประดับ เช่น ต่างหู ก�ำไล หมวก
กระเป๋า ฯลฯ โดยดัดเส้นหวายให้มีรูปทรงคล้าย
ลายผ้าทอ หรือน�ำรูปทรงของกระบุงและตะกร้า
ม า ส า น ใ ห ้ มี ข น า ด เ ล็ ก ล ง เ พื่ อ ท� ำ เ ป ็ น ต ่ า ง หู
อาจผสมกับวัสดุอ่ืนๆ เช่นไม้ เพ่ือให้เกิดมิติบน
ช้ินงานมากข้ึน หรือน�ำไปท�ำเป็นเข็มขัดหวาย
ท่ีมีความยืดหยุ่น น�้ำหนักเบา และก�ำลังเป็น
ที่ต้องการของตลาดร่วมสมัย
3. หวายอโรม่าหอม น�ำคุณสมบัติการดูดซับ
กล่ินของวัสดุหวายมาพัฒนาเป็นที่หยดน�้ำหอม
ปรับอากาศภายในบ้าน โดยออกแบบชิ้นงาน
ตามลักษณะที่ชุมชนเคยผลิต แต่ย่อขนาดให้
เล็กลงส�ำหรับวางบนโต๊ะ ดร. ฐิติพรกล่าวว่า
“หวายอโรม่าหอมเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ยังไม่มี
ใครท�ำ ชุมชนสามารถน�ำไปใช้เป็นจุดขาย
ได้ทันที”
072
ชุมชนบ้านตามุย
จังหวัดอุบลราชธานี
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
จิรวัฒน์ บุญสมบัติ
นักออกแบบและนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
• โจทย์ :
หาโอกาสใหม่ๆ ในการพัฒนาสินค้า
จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
งานจักสานเตยหนามและการย้อมผ้า
ด้วยสีธรรมชาติ
• แนวคิด :
สร้างโอกาสใหม่ทางการตลาดด้วยการน�ำ
“ผ้าฝ้ายทอมือ” และ “จักสานเตยหนาม”
มาพัฒนาเป็นสินค้าร่วมกัน
073
จริ วฒั นบ์ อกวา่ เขายดึ ความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทยี่ ว หมอนอิงเตยหนามท่ีคาดด้วยฝ้ายทอมือ เสริม
คนรุ่นใหม่เป็นโจทย์หลักในการพัฒนาสินค้า เสน่ห์ให้กับการตกแต่งบ้าน ฯลฯ เหล่าน้ี
โดยหวังขยายฐานลูกค้าให้กว้างขึ้นจากเดิมท่ีมี คือแนวคิดการพัฒนาสินค้าจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
แต่ผู้ใหญ่และผู้สูงวัย เร่ิมจากสินค้าแฟช่ันและ เพ่ือให้มีประโยชน์ใช้สอยเพ่ิมข้ึนจากเดิม โดย
ของแต่งบ้าน เช่น กระเป๋าถือท่ีท�ำจากจักสาน ค�ำนึงถึงไลฟ์สไตล์และค่านิยมของคนรุ่นใหม่
เตยหนาม ตกแต่งด้วยผ้าทอมือเพื่อเพ่ิมสัมผัส เช่น การให้ความส�ำคัญกับแง่มุมด้านสิ่งแวดล้อม
ความนุ่ม หรือกระเป๋าทรงถุงท่ีเพิ่มงานจักสาน มากข้ึน โดยเลือกใช้สีธรรมชาติจากเปลือกไม้
ไว้ด้านล่าง ท�ำให้กระเป๋าสามารถต้ังได้ หรือ และใบไม้แทนสีเคมี เป็นต้น
074 ชุมชนบ้านต่อแพ
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
อมรเทพ คัชชานนท์
นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์และวัสดุตกแต่ง
เจ้าของแบรนด์ Bambunique
• โจทย์ :
ต่อยอดทักษะการท�ำ “ปานซอย”
จากของประดับตกแต่งวัดสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ปานซอย คือ ทักษะการฉลุโลหะส�ำหรับตกแต่ง
วัดวาอารามและบ้านเรือนของเจ้านายสมัยก่อน
• แนวคิด :
นักออกแบบ อมรเทพ คัชชานนท์ น�ำเทคนิคการท�ำ
“ปานซอย” ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการฉลุลายบนแผ่นโลหะ
ที่แต่เดิมมักมีขนาดใหญ่มาปรับเปลี่ยนสร้างประโยชน์ใช้สอย
ใหม่บนของใช้ที่ขนาดเล็กลง เช่น ถาดใส่ผลไม้ ของใช้
บนโต๊ะท�ำงาน ตลับใส่เครื่องประดับ เชิงเทียนส�ำหรับวาง
บนโต๊ะ โคมแขวนดีไซน์ร่วมสมัย ฯลฯ เพ่ือให้นักท่องเท่ียว
ซื้อติดมือกลับบ้านได้ง่าย
075
นอกจากน้ี เขายังน�ำภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านงานจักสาน
“หมวกกุ๊บไต” ของชาวไทยใหญ่ มาผสมผสานกับงาน
“ปานซอย” พัฒนาเป็นโคมไฟติดผนังและถาดใส่ของโลหะ
พร้อมฝาปิด โดยใช้เทคนิคการท�ำปานซอยเป็นโครง
แล้วตกแต่งด้วยงานจักสาน หรือกล่องใส่ทิชชูท่ีมีช่องใส่เป็น
โลหะฉลุลาย โชว์ความงามของจักสานไว้ด้านบน ท้ังนี้
อมรเทพได้ฝากข้อคิดไว้ว่า “แต่ละชุมชนล้วนมีอัตลักษณ์
ท้องถ่ินท่ีน่าสนใจ ส่ิงท่ีคุณต้องท�ำคือ การเปิดใจรับการ
เปล่ียนแปลง พร้อมต่อยอดภูมิปัญญาทรงคุณค่าให้เกิด
เป็นผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย สอดรับกับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค”
076 ชุมชนบ้านบ่อพลอย
จังหวัดกาญจนบุรี
• เพ่ือนร่วมเดินทาง : เป็นแหล่งท่องเที่ยวและเป็นแหล่งก�ำเนิดอัญมณี
มีค่าของชุมชน นั่นก็คือ “นิล” ท่ีสามารถน�ำไปท�ำ
มินท์ฐิตา รวิภัทร์ธนรังษี เครื่องประดับหรือสินค้าได้หลายแบบ ความเช่ือ
นักออกแบบและเจ้าของแบรนด์ โบราณว่ากันว่า นิลเป็นหินพลังชนิดหน่ึง มีพลัง
CHAT Jewelry ด้านการปกป้อง คุ้มภัย ช่วยให้แคล้วคลาดจาก
อุบัติเหตุ มนต์ด�ำ และอันตรายต่างๆ นักออกแบบ
• โจทย์ : มินท์ฐิตา รวิภัทร์ธนรังษี กล่าวว่า “งานหัตถศิลป์
อยากต่อยอดผลิตภัณฑ์จากนิล ของชุมชนบ้านบ่อพลอยนี้ถือเป็นทักษะช้ันสูง
ให้มีความหลากหลาย จับกลุ่มเป้าหมาย
ได้กว้างขึ้นกว่าเดิม สังเกตได้จากการเจียระไนนิลที่ได้รับการขึ้น
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน : ทะเบยี นสงิ่ บง่ ชที้ างภมู ศิ าสตรโ์ ดยกรมทรพั ยส์ นิ
แหล่งก�ำเนิด “นิล” ทางปัญญา (Geographical Indications - GI)
ท่ีมีคุณภาพแห่งหนึ่งของไทย
เพอ่ื บง่ ชวี้ า่ นลิ เมอื งกาญจนน์ มี้ คี วามงามโดดเดน่
• แนวคิด :
ไม่เหมือนท่ีไหน”
บ้านบ่อพลอยคือที่ตั้งของ “ลานลาวา” อายุกว่า
สามล้านปี อดีตเคยมีปล่องภูเขาไฟที่ดับแล้ว
จึงมีแท่งลาวาท่ีเกิดจากการเย็นตัวกะทันหัน
มินท์ฐิตาวางแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์คร้ังน้ี 077
ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มสินค้าเคร่ืองประดับ โดยแนะน�ำให้ท�ำตัวเรือน
เปน็ แหวนโลหะทสี่ ามารถปรบั ขนาดได้ เพอื่ ไมต่ อ้ งกงั วล
เรื่องการสต็อกแหวนหลายขนาด จากนนั้ ตกแตง่ ตัวเรอื น
ด้านบนด้วยนิลหลายสไตล์ ท�ำให้เกิดดีไซน์ที่แตกต่าง
2. คลิปหนีบพระ โยงความเช่ือความศรัทธาด้านการ
ปกป้องคุ้มภัยมาออกแบบคลิปส�ำหรับหนีบพระเครื่อง
และประดบั ดว้ ยนลิ เจยี ระไนใหเ้ ปน็ สนิ คา้ ทมี่ คี ณุ คา่ ทางใจ
ขยายกล่มุ เปา้ หมายสู่วยั ร่นุ -วยั ทำ� งาน ที่มีความเช่ือเรอื่ ง
สิ่งมงคล หรือจะท�ำเป็นคลิปหนีบเน็กไทก็ได้
3. นิล 12 นักษัตร น�ำนิลไปท�ำเป็นจี้รูปนักษัตรส�ำหรับ
ใสส่ รอ้ ยคอ ไมว่ า่ ลกู คา้ จะเกดิ ปไี หน หรอื อยากแกช้ งปใี ด
ก็สามารถเลือกชิ้นงานท่ีเหมาะกับตัวเองได้
4. ประดบั ของใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ นำ� นลิ ไปพฒั นา
เป็นกระดุมส�ำหรับติดกระเป๋าใส่เหรียญ หรือติดบัตร
พนกั งานคลอ้ งคอเพอื่ เสรมิ ดวงความมนั่ คงในอาชพี ฯลฯ
5. นิลกับต้นไม้ เพื่อให้สอดรับกับไลฟ์สไตล์คนเมือง
ปัจจุบันที่นิยมปลูกต้นไม้ในบ้าน เราสามารถหล่อผงนิล
ให้เป็นกระถาง พร้อมออกแบบของตกแต่งกระถางจาก
นิลเพื่อเสริมมงคลให้กับท่ีพักอาศัย
“สงิ่ สำ� คญั คอื การศกึ ษาความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทย่ี ว
ว่าเขาชอบสินค้าประเภทใด ใช้ชีวิตแบบไหน ฯลฯ
จากน้ันจึงค่อยน�ำนิลเข้าไปสอดแทรกในสินค้าน้ัน
และให้เติมเร่ืองความเช่ือความศรัทธาลงไปด้วย เช่น
นลิ ประดบั ตกแตง่ หมอนองิ หรอื กระเปา๋ ผา้ ทมี่ กี ราฟกิ
ลายปลายี่สก (สัญลักษณ์ของจังหวัดกาญจนบุรี)
ชุมชนอย่าไปตีกรอบว่านิลจะต้องเป็นเคร่ืองประดับ
อย่างเดียว ควรเปิดโอกาสในการขยายสินค้าไปสู่
ไลฟ์สไตล์อ่ืนๆ ด้วย” มินท์ฐิตากล่าว
078 ชุมชนบ้านแหลม
จังหวัดสุพรรณบุรี
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
ดาธินี ตามเพิ่ม
ที่ปรึกษากลุ่มศูนย์ฝึกมีชีวิต
ด้านการพัฒนานวัตกรรมแปรรูปผักตบชวา
ครบวงจร
• โจทย์ :
อยากแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา
ที่มีมากมายในสุพรรณบุรีให้มีความหลากหลาย
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ทักษะการสานผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา
079
• แนวคิด :
ชุมชนน้ีมีความโดดเด่นด้านงานสานผักตบชวาให้เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น หมวก ตะกร้า กระเป๋า ชะลอม
ถาดใส่ของ ฯลฯ โดยทักษะงานสานมีความประณีตสวยงามมาก ดังนั้น เพ่ือให้ชุมชนน�ำผักตบชวา
มาใช้ประโยชน์ได้สูงสุดโดยไม่เหลือเศษขยะแม้แต่ชิ้นเดียว ดาธินี ตามเพิ่ม ได้แนะน�ำ 7 กระบวนการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีน่าสนใจไว้ดังนี้
1. ล�ำต้นท�ำใยทอผ้า น�ำเส้นใยผักตบชวาที่มี 4. รากเอามาใช้ท�ำปุ๋ยชีวภาพอีเอ็ม ใช้ราก
คุณสมบัติดูดซับความชื้นได้ดีมาผสมกับเส้นใย ผักตบชวามาเป็นส่วนผสม โดยหมักกับขยะเปียก
ฝ้ายเพ่ือพัฒนาเป็นผ้าผืน สามารถน�ำไปตัดเป็น 5. กระดาษเสน้ ใยผกั ตบชวานำ� ฟองนำ้� ทต่ี เี สน้ ใย
เสอ้ื ผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั แบบผา้ ได้ ใหผ้ วิ สมั ผสั ผสมกบั ใบผกั ตบชวาขนาดเลก็ ตม้ กบั นำ้� ในกระทะ
คล้ายผ้าไหม ใบบัวเพียงแค่ 5 ชั่วโมงก็น�ำไปท�ำกระดาษได้เลย
2. ใบเอาไว้ท�ำจานหรือแก้ว น�ำใบผักตบชวา 6. ผักตบกันกระแทก น�ำเศษล�ำต้นผักตบชวา
สดมาข้ึนรูปด้วยแม่พิมพ์ที่ความร้อน 150 องศา มาตัดเป็นท่อนเล็กๆ แล้วตากแห้ง สามารถใช้
เซลเซียส ก็จะได้จานหรือแก้วตามดีไซน์ท่ีต้องการ เป็นตัวกันกระแทกแทนพลาสติกหรือโฟมในการ
ใช้เป็นภาชนะใส่น�้ำใส่อาหารท่ีย่อยสลายได้ตาม ขนส่งสินค้าได้ทันที ข้อดีคือใช้งานง่ายและ
ธรรมชาติ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
3. ตน้ ออ่ นแปรรปู ทำ� อาหารใบออ่ นของผกั ตบชวา 7. ตัวดูดซับน�้ำและกลิ่น ด้วยคุณสมบัติของ
สามารถใช้เป็นส่วนผสมในการปรุงอาหารหลาย เส้นใยที่ดูดซับน�้ำและกลิ่นได้ดี จึงเหมาะน�ำไป
อยา่ งเชน่ ปน้ั ขลบิ ไสผ้ กั ตบชวานำ�้ พรกิ หรอื ผสมกบั ท�ำแผ่นรองซับในถาดฝึกขับถ่ายของสัตว์เล้ียง
ใบเตยเป็นเตยชวาส�ำหรับพอกไข่ท�ำไข่เย่ียวม้า สนิ คา้ นก้ี ำ� ลงั เปน็ ทต่ี อ้ งการในตลาดญป่ี นุ่ อยา่ งมาก
โดยสารจากพืช 2 ชนิดจะท�ำให้ไข่ขาวในไข่
เยี่ยวม้ามีความใสเหมือนเจลล่ี ส่วนไข่แดงจะมี * ชุมชนที่สนใจการต่อยอดผักตบชวาเป็นสินค้า สามารถ
สีแดงเหมือนไข่เค็ม รสชาติอร่อย ติดต่อเข้าอบรมฟรี ที่ศูนย์ฝึกมีชีวิต กศน. อ�ำเภอภาชี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
-
080 งานออกแบบ
ส่ิงทอ
ชุมชนบ้านภู
จังหวัดมุกดาหาร
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
ภัสชา จีระนันทกิจ
นักออกแบบและเจ้าของแบรนด์
PASSA Silkwear
• โจทย์ :
ท�ำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง
มีความทันสมัย โดนใจนักท่องเที่ยวยุคใหม่
และใช้ได้จริงในชีวิตประจ�ำวัน
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ผ้าทอมือบ้านภูและงานปักลวดลายบนผืนผ้า
081
• แนวคิด : ในส่วนการตั้งราคาสินค้า ภัสชาแนะน�ำชุมชนว่า
อย่าตั้งราคาต�่ำมากเกินไป เพราะกว่าจะได้ผ้า
น�ำจุดเด่นของผ้าทอมือบ้านภูท่ีมีเน้ือผ้าแน่นและ หนึ่งผืนต้องอาศัยเวลาผลิตยาวนาน เธอเสนอวิธี
นุ่มมือมาพัฒนาเป็นชุดเส้ือผ้าส�ำหรับสุภาพสตรี สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้ผ้าทอมือของชุมชน
3 แบบ 3 สไตล์ ได้แก่ ชุดล�ำลอง (เส้ือครอป + ด้วยการท�ำคลิปวิดีโอบอกเล่ากระบวนการผลิต
กางเกง 4 ส่วน) เส้ือครอปตัวหลวม (มีซิปหลัง + ตั้งแต่การปลูกต้นฝ้าย การน�ำเส้นใยจากดอกฝ้าย
กางเกงขาส้ัน) และชุดท�ำงาน (เสื้อครอป + มาปั่นเป็นเส้นด้าย การย้อมสีเส้นด้าย การทอเป็น
กระโปรงสอบ) โดยภัสชาแนะน�ำให้ชุมชนใช้สี ผืนด้วยกี่ทอมือ ไปจนกระทั่งถึงการตัดเย็บ ฯลฯ
สังเคราะห์มาย้อมเส้นไหมเพ่ือเพิ่มความสดใส เพ่ือให้นักท่องเท่ียวรู้ซ้ึงถึงกระบวนการผลิต
จากนั้นน�ำทักษะงานปักผ้าท่ีโดดเด่นของชุมชน ท่ีชุมชนทุ่มเทใส่ใจในทุกรายละเอียด
มาตกแตง่ ลวดลายบนชดุ เชน่ ปกั รมิ ปกตลอดแนว
ปักตามขอบแขนเสื้อหรือขอบกางเกง เสริมเสน่ห์
ให้ชุดมีความเก๋มากขึ้น รวมถึงแนะไอเดียการ
มิกซ์แอนด์แมตช์กับเส้ือผ้าที่มีอยู่แล้วเพ่ือความ
หลากหลายในการสวมใส่
082 ชุมชนบ้านปะหละทะ
จังหวัดตาก
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
จิรวัฒน์ บุญสมบัติ
นักออกแบบและนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
• โจทย์ :
สร้างภาพลักษณ์ให้นักท่องเที่ยวจดจ�ำ
และต่อยอดผลิตภัณฑ์ส�ำหรับนักท่องเท่ียว
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
การทอผ้าด้วยกี่เอวและงานปักผ้า
ของชาวปกาเกอะญอ
083
• แนวคิด :
หน่ึงวัฒนธรรมท่ีโดดเด่นของชาวปกาเกอะญอคือการทอผ้าด้วยก่ีเอว (ท�ำให้ความกว้างของผ้ามีขนาด
ตามเอวของผู้ทอ) และงานปักผ้าด้วยมือเป็นลวดลายต่างๆ โดยมีสินค้าคุ้นตาเป็นเส้ือและย่าม
ท่ีออกแบบตามวิถีชีวิตในชุมชน ในงานนี้จิรวัฒน์เล่าว่าเขาแบ่งขั้นตอนการท�ำงานออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
1. การออกแบบตราสัญลักษณ์ โดยน�ำภาพจ�ำ 3. กลุ่มสินค้ากระเป๋า ค�ำนึงถึงความต้องการ
ของชุมชนอันได้แก่ ช้าง น้�ำตก และเทือกเขา แ ล ะ ป ร ะ โ ย ช น ์ ใ ช ้ ส อ ย ข อ ง ผู ้ บ ริ โ ภ ค ที่ นิ ย ม
มาประกอบเ ป ็ น ภ า พ สั ญ ลั ก ษ ณ ์ ( โ ล โ ก ้ ) ถือกระเป๋าหลากหลายรูปแบบ เช่น คลัตช์มือ
พร้อมใส่ช่ือชุมชน “ปะหละทะ” ไว้ทางด้านล่าง กระเป๋าสะพายใส่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หรือ
จากนั้นน�ำโลโก้นี้ไปจัดวางบนสินค้าท่ีระลึก กระเป๋าถือแบบถุง แทนการเย็บเป็นย่ามเพียง
อย่างเช่น เสื้อยืด กระเป๋า พวงกุญแจ ฯลฯ อย่างเดียว โดยน�ำผ้าทอปกาเกอะญอมาเป็น
ส่วนตกแต่งผสมกับผ้าสีพ้ืน นอกจากน้ี จิรวัฒน์
2. กลุ่มสินค้าเคร่ืองนุ่งห่ม ออกแบบโดย ยังแนะน�ำให้ชุมชนน�ำวิธีการย้อมเส้นด้ายด้วย
ค�ำนึงถึงการใช้งานท่ีตอบสนองความต้องการ สีธรรมชาติที่เคยใช้ในอดีตกลับมาสร้างคุณค่า
ของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ท�ำแพตเทิร์นเสื้อใส่ ให้กับผ้าทออีกคร้ัง ด้วยกระบวนการผลิตท่ี
ท�ำงาน เส้ือคลุมกันหนาว และกางเกงชาวเขา เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมก�ำลังเป็นค่านิยมที่คน
ให้มีความร่วมสมัย โดยน�ำผ้าทอปกาเกอะญอ รุ่นใหม่ให้ความส�ำคัญ
ไปตกแต่ง
084
ชุมชนบ้านใหม่ยอดคีรี -
จังหวัดตาก จินตนาการ
บวกทักษะฝีมือ
• เพ่ือนร่วมเดินทาง : สามารถสร้างคุณค่าใหม่
ให้สินค้าจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน
อาทิตย์ ฤทธีราวี แต่อย่าตามแฟชั่นเกินไป
นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากเส้นใยกัญชง จนหลงลืมรากเหง้า
เจ้าของแบรนด์ Hempthai
ของตนเอง
• โจทย์ :
-
อยากได้สินค้าจากผ้าทอใยกัญชงใหม่ๆ
ที่แตกต่างไปจากเดิมท่ีเคยมี
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ผ้าทอใยกัญชง
085
• แนวคิด :
จากประสบการณ์การท�ำงาน อาทิตย์พบว่านอกจากเสื้อผ้า
เครื่องนุ่งห่มแล้ว สินค้าท่ีตลาดเป้าหมายสนใจคือกลุ่ม
ของตกแต่งบ้าน โดยเฉพาะตลาดยุโรปและญี่ปุ่นท่ีช่ืนชอบ
กัญชงเป็นทุนเดิม ครั้งนี้เขาเสนอให้ชุมชนน�ำทักษะการทอผ้า
ดั้งเดิมมาผสมผสานกับเทคนิคการปักผ้า แล้วตกแต่งบริเวณ
ชายผ้าด้วยเปลือกของใยกัญชง โดยผู้ท�ำต้องอาศัยจินตนาการ
ในการถักทอเพื่อให้เกิดเป็นงานศิลปะที่เหมาะกับการตกแต่ง
ห้อง หรือการน�ำเส้นใยกัญชงไปท�ำเป็นผลิตภัณฑ์จากผ้าเพื่อ
การตกแต่ง (Home Textiles) โดยขึงผ้าใยกัญชงกับเฟรมไม้
(คล้ายกับการขึงผ้าใบส�ำหรับวาดภาพ) จากนั้นใช้ทักษะ
งานปักสร้างลวดลายธรรมชาติท่ีสะท้อนถึงอัตลักษณ์ชุมชน
เช่น ภาพดอกไม้ ใบไม้ ท่ีเติบโตในพ้ืนท่ี หรือจะใช้ลวดลาย
ท่ีปักบนเส้ือผ้ามาปักบนเฟรมผ้าใยกัญชงนี้ก็ได้
นอกจากน้ี อาทิตย์ได้น�ำตัวอย่างถุงใยกัญชงที่เขาเคยออกแบบ
ไว้ส�ำหรับเก็บขยะใต้ทะเลมาให้ชุมชนดู เพ่ือให้มองเห็นถึง
โอกาสในการน�ำคุณสมบัติของใยกัญชงที่เหนียวทนทาน
มาพัฒนาเป็นสินค้าใหม่ๆ หรือปรับขนาดย่ามให้มีขนาดใหญ่
กว่าเดิม ย้อมด้วยสีสันใหม่ เติมลวดลายกราฟิก ก็สามารถ
เปลยี่ นยา่ มลคุ เดมิ ๆ ใหก้ ลายเปน็ สนิ คา้ ใหมโ่ ดนใจนกั ทอ่ งเทย่ี ว
086
ชุมชนศรีฐาน
จังหวัดยโสธร
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
พลอย ลุมทอง
นักคิด นักออกแบบ
เจ้าของบริษัท C’est Design
• โจทย์ :
อยากต่อยอดหมอนขิดไปสู่ผลิตภัณฑ์อื่นๆ
ท่ีสอดรับกับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
งานผ้าทอลายขิดและผลิตภัณฑ์หมอนขิด
087
• แนวคิด : วางลายขิดแบบฟันปลา ฯลฯ เพ่ือสร้างความ
หลากหลายให้นักท่องเที่ยวอยากซ้ือสินค้า
ชุมชนศรีฐานเป็นแหล่งผลิตที่ใหญ่ท่ีสุดของสินค้า หลายๆ แบบ
หมอนขิดในประเทศไทย เพื่อส่ือให้เห็นถึง
อัตลักษณ์ที่โดดเด่นน้ี นักออกแบบ พลอย ลุมทอง ในส่วนของการปรับปรุงร้านค้าให้สอดรับกับ
จึงน�ำจุดแข็งของหมอนขิดมาต่อยอดให้เป็น ภาพลักษณ์ใหม่ของแบรนด์ และเพื่อสร้าง
แบรนด์แห่งการ “ผ่อนคลาย” และสร้างกลุ่ม ประสบการณ์การผ่อนคลายที่ดี พลอยแนะให้
สินค้าส�ำหรับใช้งานในห้องต่างๆ ได้แก่ ชุมชนพลิกรูปแบบร้านเป็น “ศูนย์รวมการ
ผ่อนคลายแห่งชุมชนศรีฐาน” มีมุมกาแฟให้
1. สินค้าส�ำหรับห้องนอน เช่น เซ็ตผ้าปูที่นอน นักท่องเที่ยวเข้ามานั่งพัก ชิมรสเครื่องดื่มและ
ผ้านวม ฯลฯ ขนมพื้นถิ่น พร้อมน�ำสินค้าชุมชนอย่างหมอนขิด
สามเหลี่ยมมาจัดวางตกแต่งสถานท่ี และในโซน
2. สินค้าส�ำหรับห้องรับแขก เช่น หมอนรอง ร้านค้าด้านใน เธอแนะน�ำให้จัดวางสินค้าจ�ำนวน
หลังโซฟา ผ้ารองจาน ผ้ารองแก้ว น้อยๆ แต่ครบทุกหมวดหมู่ เพ่ือให้ลูกค้าเห็น
ช้ินงานได้ชัดเจน และรู้สึกถึงบรรยากาศความ
3. สินค้าเครื่องหอม เช่น ถุงหอมส�ำหรับดับ ผ่อนคลาย พร้อมแนะว่าการจัดวางสินค้าอย่าง
กลิ่นในตู้เส้ือผ้าและกระจายความหอมในห้องพัก พอเหมาะจะช่วยท�ำให้สินค้าดูแพงขึ้น มีความ
เธอน�ำเสนอให้ชุมชนจัดวางลวดลายผ้าขิดใน น่าซ้ือน่าใช้มากขึ้น
รูปแบบใหม่ๆ เช่น วางเฉียงคาดไปบนหมอนอิง
088 ชุมชนบ้านหนองทะเล
จังหวัดกระบ่ี
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
จิรวัฒน์ บุญสมบัติ
นักออกแบบและนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
• โจทย์ :
อยากน�ำดอกจิกมาพัฒนาเป็นลวดลาย
บนผลิตภัณฑ์
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ดอกจิก พันธุ์ไม้ที่โดดเด่นของชุมชน
และการมัดย้อม
089
• แนวคิด :
เริ่มจากการน�ำ “ดอกจิก” อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของชุมชนมาสร้างเป็นตราสัญลักษณ์ โดยตัดทอน
รายละเอียดให้มีความเรียบง่ายและมีรูปทรงเหมือนดาวกระจาย ส่ือความหมายถึงความรุ่งโรจน์
บวกกับลายเมล็ดพันธุ์ที่ส่ือถึงการเจริญเติบโตอย่างย่ังยืน จากนั้นนำ� ทักษะการมัดย้อมมาสร้างลวดลาย
ดอกจิกบนผืนผ้าเพื่อส่ือถึงอัตลักษณ์ชุมชน และน�ำไปตัดเย็บเป็นเส้ือเช้ิต เส้ือยืด เสื้อโปโล ฯลฯ
สร้างความหลากหลายให้ผลิตภัณฑ์
จิรวัฒน์แนะว่านอกจากกลุ่มสินค้าเสื้อผ้าแล้ว เพ่ือให้สินค้าดูน่าสนใจยิ่งข้ึน หรือน�ำมาท�ำเป็น
ชุมชนยังสามารถน�ำผ้ามัดย้อมลายดอกจิก ของตกแต่งบ้าน เช่น หมอนอิง ผ้าม่าน ภาพศิลป์
ไปออกแบบเป็นกระเป๋าผ้าทรงต่างๆ โดยอาจน�ำ ติดผนัง ฯลฯ เป็นการแตกไลน์กลุ่มผลิตภัณฑ์และ
วัสดุอ่ืน เช่น งานจักสานหรือหนังมาท�ำเป็นหูหิ้ว ขยายฐานลูกค้าให้กว้างยิ่งข้ึน
090 ชุมชนบ้านสระยายชี
จังหวัดพิจิตร
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์
นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์ชุมชน
• โจทย์ :
อยากหาแนวทางพัฒนาผ้าตีนจกให้มีราคา
เข้าถึงได้ และอยากได้บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ
ขนมแตงไทยและขนมปะทาด
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
ผ้าซิ่นตีนจกลาวคร่ัง
• แนวคิด : 091
อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของชุมชนคือทักษะการทอผ้าซ่ินตีนจกลาวคร่ัง โครงสร้างของลายจกส่วนใหญ่
จะเป็นลายเรขาคณิตขนาดใหญ่ เช่น ลายข้าวหลามตัด ลายส่ีเหล่ียมผืนผ้า ลายสามเหลี่ยม และมีการน�ำ
ลายเล็กๆ เช่น ขิดหน่วย ขิดดอก และขิดขอ มาออกแบบผสมกัน จึงไม่น่าแปลกใจที่ผ้าซิ่นตีนจก
ของชุมชนแห่งนี้จะมีราคาสูง เพราะกระบวนการทอร่วมกับการจกลายต้องใช้ความละเอียดอ่อน
ถือเป็นทักษะฝีมือช้ันสูง
ดงั นน้ั ในการพฒั นาผา้ ตนี จกใหม้ รี าคาเขา้ ถงึ งา่ ยขนึ้ ระยะเวลาการจกลาย ท�ำให้สินค้ามีราคาถูกลงได้
ชุมชนได้รับค�ำแนะน�ำให้ต่อยอดเป็นสินค้า เพราะใช้เวลาผลิตไม่นาน นอกจากน้ี ชุมชน
ไลฟ์สไตล์แทนการท�ำผ้าซ่ินเพียงอย่างเดียว เช่น ยังสามารถน�ำลายตีนจกมาถอดลายเป็นงาน
กระเปา๋ ใสค่ อมพวิ เตอรแ์ บบพกพาเคสไอแพดฯลฯ กราฟิก น�ำไปพิมพ์แบบซิลก์สกรีนบนกระเป๋า
จากน้ันให้น�ำทักษะการจกขึ้นลายมาตกแต่ง สะพาย กระเป๋าเดินป่า ฯลฯ เป็นการขยาย
สินค้าเพียงบางส่วน เช่น บริเวณขอบกระเป๋า กลุ่มสินค้าให้สอดรับกับวิถีชีวิตคนชอบเท่ียว
โดยเลือกเฉพาะลายขิดขนาดเล็กมาใช้เพ่ือลด ได้อีกทาง
ในส่วนของการออกแบบตราสัญลักษณ์ นักออกแบบได้น�ำลายตีนจกมาใช้เพ่ือสร้างภาพจ�ำให้กับชุมชน
และน�ำเสนอรูปแบบบรรจุภัณฑ์ขนมแตงไทยและขนมปะทาด โดยแบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ
1. สติกเกอร์ติดถุง ในช่วงต้นท่ีชุมชนไม่มี 2. กล่องใส่ขนม หากชุมชนมีก�ำไรเพ่ิมขึ้น
งบลงทุนมาก แนะน�ำให้ท�ำสติกเกอร์ส�ำหรับ ก็สามารถลงทุนท�ำกล่องใส่ขนมท่ีมีราคาสูงข้ึน
ติดบนถุงกระดาษ โดยออกแบบเป็นรูปลายตีนจก เพ่ือเพิ่มความน่าซื้อเป็นของฝาก โดยให้น�ำลาย
ประกอบกับตราสัญลักษณ์และช่องทางการ กราฟิกตีนจกมาตกแต่งบนกล่องเพื่อตอกย้�ำ
ติดต่อ อัตลักษณ์ท้องถิ่น
-
092 การปรุงอาหาร
จากวัตถุดิบ
ท้องถ่ิน
ชุมชนกุดรัง
จังหวัดนครนายก
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
บุญสมิทธิ์ พุกกะณะสุต
เซเลบริตี้เชฟ พิธีกรรายการอาหาร
และกรรมการบริษัทกู๊ดฟู้ด (2019) จ�ำกัด
• โจทย์ :
อยากต่อยอดผลิตภัณฑ์นมควาย
สินค้าคุณภาพเยี่ยมของชุมชนสู่เมนูใหม่ๆ
ในร้านกาแฟ
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
นมควายและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากนมควาย
093
• แนวคิด :
สร้างสรรค์เมนูของหวาน 2 รายการส�ำหรับเสิร์ฟในร้านกาแฟ โดยใช้นมควายเป็นวัตถุดิบหลัก ได้แก่
1. นมควายกล้วยบด เมนูเพื่อสุขภาพที่น�ำ
กล้วยหอมบดละเอียดมาคลุกผสมกับน้�ำผึ้ง
วางรองก้นแก้วก่อนเติมนมควายสดลงด้านบน
และน�ำไปแช่เย็นก่อนเสิร์ฟ
2. บัวลอยชีสนมสด เมนูท่ีออกแบบให้
นักท่องเที่ยวได้ท�ำกิจกรรมในชุมชนเพื่อสร้าง
ความทรงจ�ำท่ีดี เร่ิมจากปั้นบัวลอยไส้ชีสโดย
น�ำแป้งข้าวเหนียวผสมกับแป้งมันในอัตราส่วน
10:1 เพิ่มสีสันด้วยใบเตย อัญชัน หรือน้�ำหวาน
แดง จากน้ันค่อยๆ เติมน้�ำเปล่าเพ่ือนวดให้เป็น
เน้ือเดียวกัน แป้งที่นวดเสร็จแล้วน�ำมาห่อกับ
ชีสนมควายที่ตัดเป็นลูกเต๋า น�ำไปต้มในน�้ำ
เดอื ดจดั จนบวั ลอยสกุ สว่ นนำ้� เชอื่ มทำ� จากนำ�้ ตาล
มะพร้าวผสมกับน�้ำเปล่า น�ำไปเค่ียวจนใส
เสร็จแล้วตักใส่ชามผสมกับบัวลอยไส้ชีสท่ี
เตรียมไว้ แล้วรินนมควายตามลงไปเป็นอันจบ
094 ชุมชนบ้านป่าแดง
จังหวัดชลบุรี
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
บุญสมิทธ์ิ พุกกะณะสุต
เซเลบริตี้เชฟ พิธีกรรายการอาหาร
และกรรมการบริษัทกู๊ดฟู้ด (2019) จ�ำกัด
• โจทย์ :
อยากต่อยอดเมนูอาหารจากกล้วยและหัวปลี
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
กล้วย ผลิตผลทางการเกษตรที่มีมากในพื้นท่ี
-
ชุมชนสามารถน�ำสูตร
อาหารดั้งเดิม
จากรุ่นปู่ย่าตายาย
มาพลิกแพลงเป็นเมนูใหม่
ประจ�ำชุมชนได้
โดยให้เน้นใช้วัตถุดิบ
อาหารท้องถิ่น
ท่ีมีอยู่รอบตัว
-
• แนวคิด : 095
ชุมชนบ้านป่าแดงเป็นชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรอนุรักษ์ จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่าทางชุมชนมีการน�ำ
หัวปลีมาท�ำ “ทอดมันหัวปลี” และ “ย�ำหัวปลี” ให้นักท่องเท่ียวได้รับประทาน แต่ยังไม่เคยน�ำ “กล้วย”
มาต่อยอดเป็นเมนูอาหารประจ�ำชุมชน เชฟจึงสร้างสรรค์ 3 เมนูที่มีส่วนผสมของกล้วยและหัวปลี
ท่ีชุมชนสามารถท�ำได้ง่ายๆ เช่น
1. แกงเขียวหวานลูกกล้วย 2. เฟรนช์ฟรายส์กล้วย
ส่วนผสม : กล้วยน้�ำว้าดิบ 3 ผล (ฝานเป็นเส้ียว ส่วนผสม : กล้วยน้�ำว้าดิบ 5 ผล (ปอกเปลือก
แล้วแช่น�้ำเกลือ ช่วยให้เนื้อกล้วยไม่ด�ำ) พริกแกง หั่นเป็นช้ินแนวยาว) เกลือ 1 ช้อนชา น้�ำมัน
เขียวหวาน 2 ช้อนโต๊ะ หัวกะทิ 500 มิลลิลิตร ส�ำหรับทอด และผงปรุงรสปาปริก้า 1 ช้อนโต๊ะ
เนื้อไก่ 200 กรัม น�้ำปลา 1 ช้อนโต๊ะ พริกชี้ฟ้า วิธีท�ำ : น�ำกล้วยที่ห่ันแล้วลงไปทอดน�้ำมัน จาก
แดง และใบโหระพา น้ันปรุงรสด้วยส่วนผสมที่เตรียมไว้ ชุมชน
วิธีท�ำ : เหมือนการปรุงแกงเขียวหวานท่ัวไป สามารถเปลี่ยนรสปาปริก้าเป็นผงปรุงรสชนิดอ่ืน
แต่ความพิเศษอยู่ที่เน้ือกล้วยน้�ำว้าดิบท่ีฝานลงไป ก็ได้ เช่น รสลาบ รสบาร์บีคิว ฯลฯ เป็นการเพิ่ม
ในแกงเขียวหวาน เมื่อสุกจะมีผิวสัมผัสคล้ายเน้ือ มูลค่าให้กับกล้วยอย่างสร้างสรรค์
มันฝรั่ง มีรสชาติอร่อย
3. แกงกะทิหมูแดดเดียวหัวปลี เล็กน้อยเพ่ือเพ่ิมความนุ่ม) กะทิ 300 กรัม น้�ำปลา
ส่วนผสม : หัวปลี 1 หัว (ใช้เฉพาะส่วนกลาง 1 ช้อนโต๊ะ น�้ำตาลปี๊บ 1 ช้อนโต๊ะ น้�ำมะขาม
ห่ันเป็นช้ินเล็กๆ) หมูแดดเดียว 150 กรัม (ทอด เปียก ½ ช้อนโต๊ะ ใบมะกรูด 5 ใบ หอมแดงซอย
หรือย่าง จากน้ันห่ันเป็นช้ินพอดีค�ำ น�ำไปทุบ 4-5 หัว และพริกขี้หนูสวน 5 เม็ด
วิธีท�ำ : เมนูน้ีประยุกต์มาจาก “แกงกะทิเนื้อเค็ม”
หนึ่งในเมนูโบราณของคนไทย เริ่มจากต้มกะทิ
ให้เดือด น�ำหมูแดดเดียวที่ย่างเสร็จใส่ลงไป
เติมหอมแดงซอย หมั่นคนไปเรื่อยๆ อย่าท้ิงไว้
จนหอมแดงสุก แล้วใส่หัวปลีท่ีห่ันแล้วตามลงไป
เตมิ นำ�้ ตาลปบ๊ี นำ�้ มะขามเปยี ก นำ้� ปลา เพอ่ื ปรงุ รส
ต้มต่อไปจนกระท่ังหัวปลีสุก จบท้ายด้วยการ
โรยพริกขี้หนูสวน เป็นเมนูที่มีรสชาติเข้มข้น
เหมาะทานคู่กับผักสด
096
ชุมชนบ้านคลองลาวน
จังหวัดระยอง
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
บุญสมิทธิ์ พุกกะณะสุต
เซเลบริตี้เชฟ พิธีกรรายการอาหาร
และกรรมการบริษัทกู๊ดฟู้ด (2019) จ�ำกัด
• โจทย์ :
อยากต่อยอดวัตถุดิบท้องถิ่นให้เกิดเมนูอาหาร
ท่ีหลากหลาย
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
หอยนางรมและมังคุด
097
• แนวคิด :
น�ำวัตถุดิบเด่นของชุมชนคือ “หอยนางรมสด”
และ “ทุเรียนพันธุ์พื้นเมือง” มาท�ำเมนู “แกงส้ม
ทุเรียนหอยนางรม” โดยเร่ิมจากปรุงน้�ำแกงส้ม
ประมาณ 1 ลิตรให้เสร็จเรียบร้อย จากนั้นเติม
ทุเรียน 200 กรัมลงไปในน้�ำที่เดือดจัด ต้มเพียง
1 นาทีแล้วปิดไฟ จากนั้นเติมหอยนางรม 150 กรัม
ท่ีลวกเสร็จแล้วตามลงไป ตกแต่งด้วยชะอม
ด้านบนเป็นอันเสร็จเรียบร้อย
098 ชุมชนบ้านบางม่วง
จังหวัดนนทบุรี
• เพ่ือนร่วมเดินทาง :
ขุนกลาง ขุขันธิน
นักพัฒนาแปรรูปอาหาร
เจ้าของร้านอาหาร Gyudon Expression
• โจทย์ :
น�ำวัตถุดิบตามฤดูกาลภายในชุมชน
มาต่อยอดเป็นเมนูอาหารท่ีทานบนเรือได้
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :
เมนูชาววัง ม้าฮ่อและเนื้อต้มกะทิ กับ 3 วัตถุดิบ
ท้องถ่ิน กระเจ๊ียบเขียว ตะลิงปลิง และมะดัน
• แนวคิด :
เชฟขุนกลางเลือกน�ำสูตรอาหารที่มีอยู่เดิมในชุมชนคือ “ม้าฮ่อ” และ “เนื้อต้มกะทิ” มาต่อยอด
เป็นเมนู “ข้าวปั้นเน้ือต้มกะทิ” โดยน�ำวัตถุดิบท้องถ่ิน ได้แก่ กระเจ๊ียบเขียว ตะลิงปลิง และมะดัน
มาทำ� เป็นไส้ 3 รส 3 สไตล์ วธิ ปี รุงเรม่ิ จากการเตรียมเนอื้ ตุ๋นตม้ กะทสิ ูตรพเิ ศษทีพ่ ฒั นามาจากเนอื้ ต้มกะทิ
จากน้ันน�ำน�้ำซุปจากการตุ๋นเนื้อมาหุงข้าว เพิ่มความสวยงามด้วยสีธรรมชาติจากดอกอัญชัน น�ำไส้
กระเจี๊ยบเขียว ตะลิงปลิง และมะดัน ท่ีปรุงรสด้วยกระเทียม กะปิ น�้ำตาลปี๊บ น�้ำปลา และพริก มายัดใส่
ในข้าวปั้น เพิ่มโปรตีนด้วยเน้ือตุ๋นต้มกะทิที่สไลซ์เป็นแผ่นบางวางไว้ด้านบน และตกแต่งด้วยกระเจ๊ียบ
เขียวหั่นเป็นแว่น ห่อด้วยใบตองพร้อมเสิร์ฟ ตอบโจทย์ท้ังเร่ืองอัตลักษณ์ชุมชนและความสะดวก
ที่นักท่องเที่ยวสามารถหยิบทานได้ง่ายในระหว่างล่องเรือคลองเมืองนนท์