The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunchait65, 2022-07-07 05:24:48

ท้องถิ่นอินเดอร์

BBL-LOCAL-INTER-BOOK

099

อีกหน่ึงเมนูเป็นการน�ำผักพ้ืนบ้านท่ีหาได้ในพื้นท่ี จนเป็นน้�ำสลัดสูตรพิเศษ ส่วนผักสลัดให้เน้นใช้
มาทำ� เปน็ “สลดั เชคผกั ทอ้ งถน่ิ ” โดยนำ� ตะลงิ ปลงิ ผลผลิตที่หาได้ในท้องถิ่น (ทั้งผักและผลไม้)
หรอื มะดนั ทมี่ รี สเปรยี้ วมาเปน็ วตั ถดุ บิ หลกั ปรงุ นำ้� น�ำมาบรรจุในแก้วพลาสติก เติมน�้ำสลัดสูตรพิเศษ
สลดั ด้วยน�้ำตาลปี๊บ น�้ำปลา เกลือ จากน้ันเติมน�้ำ ลงไป ปดิ ฝาและเขยา่ สว่ นผสมใหเ้ ขา้ กนั เพยี งเทา่ น้ี
ตะลิงปลิง หรือน้�ำมะดันคั้นสดๆ ลงไป (จะเติม กไ็ ดเ้ มนใู หม่“สลดั เชคผกั ทอ้ งถน่ิ ”ไวใ้ หน้ กั ทอ่ งเทยี่ ว
น้�ำปลาร้าก็ได้ตามใจชอบ) คลุกเคล้าให้เข้ากัน ซ้ือติดตัวไปทานระหว่างล่องเรือได้

100 ชุมชนบ้านบ่อน้�ำร้อน

จังหวัดยะลา

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

วรรณพร พิมพิสุทธ์ิ
นักพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์อาหาร

• โจทย์ :

อยากหาไอเดียการถนอมอาหาร
และต่อยอดอาหารจากปลานิล

• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :

ปลานิลที่เล้ียงในระบบสายน�้ำไหล
จากเทือกเขาสันกาลาคีรี
(ท�ำให้ไม่มีกล่ินโคลน เนื้อหนานุ่ม อร่อย)

• แนวคิด : 101

เชฟวรรณพรเสนอแนวทางสร้างสรรค์ไว้ 2 รูปแบบ คือ

1. การถนอมอาหารเชฟแนะนำ� ใหช้ มุ ชนเปลยี่ นถงุ ใสเ่ นอื้ ปลานลิ สด
จากเดิมที่เป็นถุงพลาสติกธรรมดามาเป็นถุงสุญญากาศเพื่อป้องกัน
การเติบโตของแบคทีเรีย ซึ่งนอกจากจะช่วยถนอมอาหารให้มีอายุ
ยาวนานขนึ้ แลว้ ยงั ชว่ ยเพม่ิ มลู คา่ และคณุ คา่ ใหก้ บั เนอ้ื ปลานลิ สดดว้ ย
จากนั้นให้ปรับขนาดบรรจุให้เล็กลงกว่าเดิม เป็นขนาดรับประทาน
แบบม้ือต่อมื้อ เพิ่มทางเลือกให้ลูกค้าท่ีบริโภคทีละน้อย ท�ำให้
จัดเก็บง่าย พกพาสะดวก ในส่วนของเมนูขึ้นช่ือ “ขลุ่ยปลานิล
สายน้�ำไหล” เชฟวรรณพรแนะน�ำให้น�ำปลานิลท่ีปรุงรสเสร็จแล้ว
ไปตัดเป็นแท่งแล้วนึ่งให้สุกก่อน จากน้ันค่อยน�ำแผ่นแป้งเปาะเปี๊ยะ
มาห่อแล้วบรรจุในถุงสุญญากาศ เพื่อให้ลูกค้าซ้ือกลับไปทอดเอง
ที่บ้านได้ง่าย นอกจากน้ี ชุมชนยังสามารถน�ำเทคนิคการน่ึงเนื้อปลา
ปรุงรสน้ีไปต่อยอดท�ำลูกช้ินหรือปลาเส้นฮือก้วยได้

2. การพัฒนาสูตรอาหาร เชฟได้น�ำเสนอเมนูใหม่ไว้ 3 เมนู
คือ “หนังปลานิลทอดกรอบปรุงรส” เช่น รสไข่เค็ม รสบาร์บีคิว
รสวาซาบิ ฯลฯ เป็นการเพิ่มทางเลือกให้ลูกค้า และช่วยขยายตลาด
หนังปลานิลทอดกรอบให้กว้างขึ้น ต่อด้วย “ข้าวเกรียบปลานิล”
ที่น�ำเศษเนื้อปลาไปท�ำเป็นข้าวเกรียบ ปรุงรสด้วยเกลือ รากผักชี
กระเทียม พริกไทย ถือเป็นการใช้วัตถุดิบที่มีให้คุ้มค่าท่ีสุด
และสุดท้ายคือ “น�้ำพริกปลานิลกึ่งส�ำเร็จรูป” ท่ีน�ำเศษเน้ือปลา
มาค่ัวให้แห้ง บีบมะนาว ใส่พริก ใส่น�้ำปลา เหมาะวางขายในร้าน
สะดวกซ้ือ

102 ชุมชนบ้านพิกุลทองสามัคคี

จังหวัดสิงห์บุรี

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

วรรณพร พมิ พสิ ทุ ธิ์
นกั พฒั นาและออกแบบผลติ ภณั ฑอ์ าหาร

• โจทย์ :

พฒั นาเมนอู าหารจากปลาทบั ทมิ
และเพมิ่ มลู คา่ ดว้ ยบรรจภุ ณั ฑ์

• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :

มแี หลง่ เพาะพนั ธป์ุ ลาทบั ทมิ ทเี่ ลยี้ งดว้ ยกลว้ ยนำ�้ วา้

103

• แนวคิด :

เชฟน�ำปลาทับทิมที่เล้ียงในกระชังตลอดแนวแม่น้�ำน้อย มาต่อยอด
เป็นเมนูอาหารท่ีคนในชุมชนท�ำได้ง่าย โดยเน้นการใช้ส่วนผสม
ท่ีหาได้ในพื้นท่ี มีกรรมวิธีการผลิตที่ง่าย ปลอดภัย ดีต่อสุขภาพ
สามารถท�ำตลาดกับกลุ่มคนรักสุขภาพได้ทันที

1. ปลาทับทิมกรอบค่ัวสมุนไพร หั่นปลาทับทิมแดดเดียวที่ชุมชน
ท�ำอยู่แล้วเป็นชิ้นเล็กๆ พอดีค�ำ น�ำไปทอดให้กรอบ และอบร้อน
เพื่อไล่น�้ำมัน จากน้ันน�ำไปผัดกับหอมและกระเทียมเจียว ใบมะกรูด
และพริกแห้ง ปรุงรสด้วยเกลือ พริกไทยด�ำ และน�้ำตาล คั่วผัด
ให้เข้ากันในกระทะเป็นอันเสร็จเรียบร้อย จากนั้นให้บรรจุในถุง
สุญญากาศเพื่อเก็บรักษาได้นานขึ้น คงความกรอบอร่อยได้ยาวนาน

2. น้�ำพริกปลาร้ากรอบ น�ำปลาร้าทับทิมท่ีชุมชนท�ำอยู่แล้วมาสับ
ให้ละเอียด จากนั้นน�ำไปทอด และอบเพ่ือไล่น�้ำมัน น�ำไปผัดเคร่ือง
สมุนไพรเช่นเดียวกับเมนูปลาทับทิมคั่วสมุนไพร ถือเป็นการแปรรูป
วัตถุดิบท้องถิ่นที่ชุมชนท�ำได้ง่าย ทานสะดวก พกพาง่าย จากน้ัน
น�ำไปใส่บรรจุภัณฑ์แบบซิปล็อกเพื่อป้องกันอากาศเข้า ช่วยรักษา
คุณภาพอาหารให้นานขึ้น

3. กุนเชียงปลาทับทิม น�ำเศษของปลาทับทิมมาผสมกับมันหมูเล็กน้อย จากน้ันปรุงรสด้วยน้�ำตาล
ซีอิ๊ว เกลือ แล้วท�ำเป็นกุนเชียงบรรจุในถุงสุญญากาศ

4. ไส้กรอกปลาทับทิม สูตรพริกไทยด�ำ ปรุงรสด้วยเกลือ น�้ำตาลทราย กระเทียม และพริกไทยด�ำ
เม็ดบดละเอียด จากน้ันบรรจุในถุงสุญญากาศเช่นกัน

104 ชุมชนซับสะเลเต

จังหวัดชัยภูมิ

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

สุวลี เกียรต์ิกรัณย์
ผู้เชี่ยวชาญด้านชาและสมุนไพร
บริษัทที แกลเลอร่ี กรุ๊ป (ประเทศไทย) จ�ำกัด

• โจทย์ :

อยากต่อยอดสมุนไพรสะเลเต
ที่ส่วนใหญ่เอามาต้มแล้วดื่มกันในชุมชน
ไปสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ

• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :

สมุนไพรสะเลเต

• แนวคิด :

จากพน้ื ทที่ มี่ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ เปน็ แหลง่ เพาะปลกู
พืชเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของชุมชน เช่น สะเลเต
(มหาหงส์ พันธุ์ไม้วงศ์เดียวกับขิงและข่า ช่วย
บ�ำรุงไต ลดความดัน ลดไขมัน) สุวลีแนะน�ำให้
ชุมชนพัฒนา “ร้านชาชุมชน” ข้ึนในพ้ืนที่เพื่อ
ดึงดูดนักท่องเที่ยว พร้อมส่งเสริมให้ท�ำสินค้า
ท่ีระลึกจากชาสมุนไพรที่นักท่องเที่ยวซ้ือกลับไป
เป็นของฝากได้ โดยเฉพาะชาที่ท�ำจากต้นสะเลเต
อันเป็นอัตลักษณ์เด่นของชุมชน

105

1. ชาดอกสะเลเต เทคนิคคือน�ำดอกสะเลเตที่มี
ความหอมเฉพาะตัวมาวางในก้นถ้วย จากน้ัน
น�ำใบชาแห้งมากลบดอกสะเลเตในอัตราส่วน
1 : 10 (ดอกสะเลเต 1 ส่วน ใบชาแห้ง 10 ส่วน)
ปิดฝาให้สนิท ท้ิงไว้ประมาณ 1 ช่ัวโมง แล้วน�ำ
ดอกสะเลเตดอกใหมม่ าเปลยี่ น ทำ� แบบนปี้ ระมาณ
5 คร้ัง (5 ดอก) จนใบชาแห้งมีกล่ินดอกสะเลเต
หอมละมุนก็สามารถน�ำไปชงชาได้ จากน้ันน�ำ
ดอกสะเลเตที่ใช้แล้วไปอบแห้งเพ่ือใช้ในการ
ตกแต่ง ในส่วนของซองบรรจุใบชา สุวลีแนะให้
ใช้ถุงชาแบบพร้อมชง และน�ำไปใส่ในบรรจุภัณฑ์
กันช้ืนอีกคร้ัง เพื่อถนอมคุณภาพของใบชาและ
รักษากลิ่นให้คงทน โดยงบลงทุนเฉพาะค่าซอง
อยู่ท่ีราว 2-3 บาท แต่สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับ
ชาดอกสะเลเตได้หลายเท่าตัว และยังส่งไป
จ�ำหน่ายต่างประเทศได้

2. ชาจากเหง้าสะเลเต สามารถด่ืมได้ท้ังแบบ
ร้อนและแบบเย็น วิธีท�ำเร่ิมจากน�ำเหง้าสะเลเต
ไปห่ันเป็นแผ่นบางๆ จากน้ันน�ำไปตากแดด
ให้แห้ง เวลาชงดื่มให้น�ำเหง้าสะเลเตท่ีแห้งแล้ว
ไปชงกับน�้ำร้อน ชูรสชาติด้วยน�้ำผ้ึงที่แต่งกล่ิน
สกัดจากดอกสะเลเตผสมกับวินีการ์ (น้�ำส้มสายชู
หมักจากผลไม้หรือชาก็ได้) สรรพคุณคือ นอกจาก
จะช่วยบ�ำรุงไตแล้ว ส่วนผสมวินีการ์ยังช่วยบ�ำรุง
หลอดเลือด เพิ่มจุลินทรีย์โปรไบโอติก ลดอาการ
ภูมิแพ้ ฯลฯ

-

106 การสร้าง
ประสบการณ์
จากเส้นทาง
ท่องเท่ียว

ชุมชนพระบาทห้วยต้ม

จังหวัดล�ำพู น

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

สมศักดิ์ บุญค�ำ
ผู้ก่อตั้งบริษัท Local Alike
กิจการเพ่ือสังคมด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน

• โจทย์ :

อยากได้บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับสินค้าชุมชน
และเส้นทางการท่องเที่ยวภายในชุมชน

• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :

วิถีชีวิตชาวปกาเกอะญอ
ท่ีรับประทานมังสวิรัติท้ังหมู่บ้าน

107

• แนวคิด :

เสน่ห์ของชุมชนพระบาทห้วยต้มคือการรวมกลุ่มของชาติพันธุ์ปกาเกอะญอกว่า 2,000 ครัวเรือน
และเป็นชาวพุทธที่ทานมังสวิรัติกันท้ังหมู่บ้าน ความโชคดีของชุมชนคือมีคนรุ่นใหม่ที่เข้ามาบริหาร
จัดการแหล่งท่องเท่ียว มีวิถีชีวิตท่ีน่าสนใจ และประเพณีวัฒนธรรมท่ีโดดเด่น ไม่ว่าจะเป็นภูมิปัญญา
ท้องถิ่นด้านงานทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ งานปักลวดลาย การท�ำเครื่องเงิน และการปรุงอาหารจากวัตถุดิบ
ท้องถิ่น เช่น เห็ดลมทอดสมุนไพร น้�ำพริกด�ำ น�้ำพริกโปรตีนเกษตร ฯลฯ

ในส่วนของบรรจุภัณฑ์ที่ชุมชนอยากได้ สมศักด์ิ ต่อยอดเรื่องราวเป็นเส้นทางวัฒนธรรมแบบ
แนะน�ำว่าไม่จ�ำเป็นต้องไปหาซื้อถุงกระดาษ 2 วัน 1 คืน มีการบรรยายเร่ืองราวความศรัทธา
ให้เปลืองงบประมาณ แต่ให้น�ำเศษผ้าท่ีเหลือ ของชาวปกาเกอะญอที่มีต่อครูบาชัยยะวงศา
จากการผลิตผ้าทอ หรือวัสดุอ่ืนในท้องถ่ิน พัฒนา (ครูบาวงศ์) จนเกิดเป็นชุมชนถือศีลทาน
มาประยุกต์ใช้ให้สวยงาม เช่น การม้วนผ้าทอ มังสวิรัติอย่างเคร่งครัด เพิ่มม้ืออาหารในทริปด้วย
เป็นทรงกระบอกให้พกพาง่าย แล้วน�ำเศษผ้า “ขันโตกมังสวิรัติ” ตามแบบฉบับเชฟชุมชนที่หา
เหลือใช้มามดั ผูกเปน็ โบ พร้อมห้อยตราสัญลักษณ์ ท่ีไหนไม่ได้ จากนั้นชวนนักท่องเที่ยวชมวิถีชีวิต
ของชุมชน เป็นต้น ของชาวปกาเกอะญอในพ้ืนท่ี พักผ่อนที่โฮมสเตย์
1 คืน ตื่นเช้าออกมาตักบาตรตามธรรมเนียม
ในส่วนของการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว สมศักดิ์ ชุมชนที่มีเอกลักษณ์ คือการตักบาตรตามความ
แนะน�ำให้ชุมชนเสนอประสบการณ์เชิงวัฒนธรรม อาวุโส ต่อด้วยการชมศิลปะจิตรกรรมฝาผนัง
แบบผสมผสาน จากเดิมท่ีนักท่องเท่ียวเดินทาง สกั การะรอบพระพทุ ธบาทและชมสรรี ะสงั ขารของ
ไปยังวัดพระบาทห้วยต้มเพียงแห่งเดียว ก็ให้ลอง ครูบาวงศ์ที่เป็นความศรัทธาของชุมชน เป็นต้น

108 ชุมชนบ้านหนองหล่ม

จังหวัดพะเยา

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

เพ็ญศิริ สอนบุตร
ตัวแทนจาก Local Alike
กิจการเพื่อสังคมด้านการท่องเท่ียวโดยชุมชน

• โจทย์ :

อยากได้ค�ำแนะน�ำ
การจัดกิจกรรมท่องเที่ยวภายในชุมชน

• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :

วิถีชีวิตชาวม้ง ชุมชนบ้านหนองหล่ม
และการนวดไทยแบบสัปปายะ

• แนวคิด :

ชุมชนบ้านหนองหล่มมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
และวถิ ชี วี ติ ทนี่ า่ สนใจหลายอยา่ งเชน่ สวนสาธารณะ
ดงหอ ป่าต้นน�้ำชุมชนท่ีมีน้�ำผุดข้ึนตลอดปี บ่อน้�ำ
ศักดิ์สิทธิ์อายุ 1,000 ปี และศาลเจ้าพ่อค�ำปวน
ที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน นอกจากน้ี
ยังมีศาสตร์การนวดไทยสัปปายะ และวิถีชนเผ่า
ชาวมง้ ที่อยู่คู่ชุมชนมายาวนาน

เพ็ญศิริแนะว่าส่ิงที่ชุมชนควรเริ่มต้นท�ำ คือการ 109
จัดฐานกิจกรรมที่หลากหลายเป็นตัวเลือกให้
นักท่องเท่ียวหลายๆ กลุ่ม เช่น
1. กิจกรรมเที่ยวไปชิมไป ส�ำหรับกลุ่มคนรัก
อาหาร อาจพาเย่ียมชมสวนกล้วย พร้อมกิจกรรม
ให้นักท่องเที่ยวเรียนรู้และทดลองท�ำกล้วยทอด
หรือกล้วยฉาบฉบับท้องถ่ิน
2. กจิ กรรมใจสดใสไปเทย่ี ววดั สำ� หรบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว
สายบญุ และคนทช่ี อบเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์พาไปชม
วัดวาอาราม สักการะสิ่งศักด์ิสิทธิ์ และออกแบบ
เรื่องเล่าประกอบเส้นทางให้น่าติดตาม
3. กิจกรรมท่องเท่ียวเชิงศิลปวัฒนธรรม
ส�ำหรับคนรักศิลปะที่อยากเรียนรู้ทักษะฝีมือ
ชุมชน เช่น งานทอผ้า งานปักผ้า โดยให้ตัวแทน
ชุมชนสอนงานปักผ้าชาวม้งอย่างง่ายๆ ให้
นักท่องเที่ยวน�ำไปท�ำเป็นของท่ีระลึก
หวั ใจสำ� คญั คอื ตอ้ งจดั แพก็ เกจการทอ่ งเทยี่ วใหเ้ ปน็
หมวดหมู่ มตี ารางกจิ กรรมทนี่ กั ทอ่ งเทย่ี วไดเ้ ขา้ ไป
สมั ผสั วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนอยา่ งชดั เจน ไมว่ า่ จะเปน็ ทรปิ
ส้ันๆ แบบ 3 ช่ัวโมง หรือทริปค้างคืนในโฮมสเตย์
ชุมชน โดยทุกกิจกรรมที่ออกแบบข้ึนควรต้อง
สอดคลอ้ งกบั ความสนใจเฉพาะของกลมุ่ เปา้ หมาย
เพื่อส่งมอบประสบการณ์ความประทับใจได้อย่าง
สงู สดุ

110 ชุมชนบ้านยวนสาว
และชุมชนบ้านน้�ำราด

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

อัยย์ ฐณัณญาญ์
ศิลปินและพิธีกรรายการท่องเที่ยว

• โจทย์ :

ออกแบบกิจกรรมเพ่ือให้นักท่องเที่ยว
ใช้เวลาภายในชุมชนยาวนานข้ึน

• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :

วิถีชีวิต บ่อน้�ำผุด และธรรมชาติที่งดงาม

• แนวคิด :

จากเดิมท่ีนักท่องเท่ียวเดินทางมาชมแค่บ่อน้�ำผุด
และชมหินพัด แต่ไม่ได้มีโอกาสใช้เวลาอยู่ภายใน
พ้ืนท่ีชุมชนเลย อัยย์ได้เสนอให้ทั้ง 2 ชุมชนน้ี
ลองจบั มอื กนั ออกแบบกจิ กรรมและทรปิ ทอ่ งเทยี่ ว
ระยะสั้น 2 วัน 1 คืน “ยวนสาวพราวเสน่ห์
บ้านน้�ำราดสวยใสเท่”

111

เร่ิมจากวันท่ี 1 ให้นักท่องเท่ียว วนั ท่ี 2 ตน่ื เชา้ ไปชมทะเลหมอกทจี่ ดุ
เดนิ ชมปา่ ธรรมชาตอิ นั อดุ มสมบรู ณ์ ชมวิวหินพัด รับประทานอาหารเช้า
ดม่ื ดำ่� กบั นำ้� ตกยวนสาว รบั ประทาน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมท�ำผ้ามัดย้อมสี
อาหารกลางวนั บรเิ วณนำ�้ ตก ตกบา่ ย ธรรมชาติที่บ้านยาง รับประทาน
เทย่ี วชมโบราณสถานวดั ถำ้� สงิ ขร วดั โบราณทส่ี รา้ ง อาหารกลางวันที่บ้านน้�ำราด ช่วงบ่ายไปสัมผัส
ต้ังแต่สมัยอยุธยา ช่วงเย็นพักผ่อนในโฮมสเตย์ น้�ำใสไหลเย็นของป่าต้นน�้ำบ้านน�้ำราดท่ีชาวบ้าน
ทบี่ า้ นยวนสาวชมิ อาหารทป่ี รงุ จากวตั ถดุ บิ ทอ้ งถนิ่ รว่ มกันอนุรักษไ์ ว้ ล่องเรอื คลองมะเลาะ เลน่ นำ�้ ใส
ทน่ี กั ทอ่ งเทยี่ วชว่ ยกนั เกบ็ มาเองกลางคนื มกี จิ กรรม ราวกระจกที่บ่อน้�ำผุด ก่อนจบทริปกลับบ้าน
แช่น้�ำชมจันทร์ท่ีป่าต้นน�้ำบ้านน้�ำราด เป็นไฮไลต์ อยา่ งประทบั ใจ
ส�ำหรบั นกั ท่องเทีย่ วทีพ่ ักคา้ งคนื เป็นตน้

นอกจากน้ี ในส่ือโซเชียลที่ชุมชนมี อัยย์แนะน�ำให้ใช้ “ภาพถ่าย” บอกเล่าเร่ืองราวและวิถีชีวิตชุมชน
อย่างสม่�ำเสมอ พร้อมลงข้อมูลทริปอันซีนต่างๆ เพ่ือเชิญชวนนักท่องเท่ียวให้เข้ามาสัมผัสประสบการณ์
ส่วนเร่ืองการท�ำโฮมสเตย์อาจลองท�ำโฮมสเตย์กลางข้ึนมาก่อน เพ่ือให้คนในชุมชนได้เรียนรู้แนวทาง
การรับรองนักท่องเท่ียว เป็นการฝึกบุคลากรภายในชุมชนให้รู้จักงานบริการมากขึ้น และเม่ือวันท่ีพร้อม
ก็อาจแยกตัวไปท�ำโฮมสเตย์ที่บ้านพักตนเองได้ เป็นต้น

112 ชุมชนบ้านนาแห้ว

จังหวัดเลย

• เพ่ือนร่วมเดินทาง : • แนวคิด :

ดร. ปิยะมาศ เลิศนภากุล ด้วยความท่ีจังหวัดเลยมีสนามบินแล้ว ท�ำให้
อาจารย์สาขาการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม ธุรกิจท่องเท่ียวเติบโตขึ้นมาก แต่เน่ืองจากชุมชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น้ีมีแหล่งท่องเที่ยวจ�ำนวนมาก จึงควรจัดตาราง
การเดินทางที่สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของกลุ่ม
• โจทย์ : เป้าหมาย รวมถึงควรสร้าง “ภาพจ�ำ” ของชุมชน
ไว้บนเว็บไซต์และสื่อโซเชียลด้วย อาทิ ภาพ
อยากได้ค�ำแนะน�ำการจัดตาราง “ทะเลหมอกยามเช้า” ท่ีเป็นไฮไลต์เด่นของ
การท่องเที่ยวภายในชุมชน ชมุ ชนนี้สว่ นเรอื่ งตารางการทอ่ งเทยี่ วดร.ปยิ ะมาศ
แนะให้ชุมชนจัดท�ำเป็นอินโฟกราฟิกหรือใช้ภาพ
• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน : มาช่วยในการเล่าเรื่องให้มากขึ้น ยกตัวอย่าง
เส้นทางที่น่าสนใจ เช่น
แหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย
ของชุมชนบ้านนาแห้วและทะเลหมอก
บนอุทยานแห่งชาติภูสวนทราย

113

วันท่ี 1 เริ่มต้นจากท่าอากาศยานจังหวัดเลย ทานอาหารเย็นประจ�ำท้องถิ่น สัมผัสวิถีชีวิต
เดินทางด้วยรถ บขส. ไปอุทยานแห่งชาติ ชุมชนแบบถึงแก่น
ภูสวนทราย โดยมีรถเจ้าหน้าที่จากอุทยานฯ
มารับไปยังท่ีพักบนยอดเขา ตั้งแคมป์ พักผ่อน วันท่ี 3 พานักท่องเท่ียวไปซ้ือของฝากท่ีวิสาหกิจ
ทานอาหารทอ้ งถนิ่ พรอ้ มชมววิ พระอาทติ ยต์ กดนิ ชุมชนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรนาแห้ว ได้แก่
แมคคาเดเมียอบเกลือ แมคคาเดเมียเคลือบ
วันที่ 2 ตื่นเช้าชมทะเลหมอก พร้อมรับประทาน ช็อกโกแลต แมคคาเดเมียบาร์ นำ�้ มันบ�ำรุงผิวหน้า
อาหาร จากนนั้ ใหต้ วั แทนชมุ ชนมารบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว และผิวกายจากแมคคาเดเมีย ถั่วลิสงค่ัวทราย
เดินทางต่อไปยังสถานที่ส�ำคัญต่างๆ เช่น วัดศรี สตรอว์เบอร์รีสด และผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก
โพธชิ์ ยั โดยมไี กดท์ อ้ งถนิ่ เลา่ เรอื่ งราวประวตั ศิ าสตร์ สตรอว์เบอร์รี จบทริปด้วยการพานักท่องเท่ียว
และพาชมศิลปะภายในวัดท่ีบ่งบอกถึงวัฒนธรรม เดินทางไปยังท่าอากาศยานจังหวัดเลย เป็นทริป
ล�้ำค่า เสร็จจากวัดศรีโพธิ์ชัยเดินทางต่อไปยัง การเดนิ ทางแบบ3วนั 2คนื ทเี่ หมาะกบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว
บ้านเหมืองแพร่ สปป. ลาว เที่ยวในจุดผ่อนปรน ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ทั้งน้ี ชุมชนสามารถ
แม่น้�ำเหือง วัดโพสี ทานขนมจีนเส้นสดเป็น เพิ่มเติมจุดท่องเท่ียวหรือออกแบบทริปรูปแบบ
อาหารเที่ยง ตกบ่ายเดินทางไปเที่ยวป่าชุมชน ใหม่ท่ีเพ่ิมสีสันและสร้างประสบการณ์ที่แตกต่าง
ด้วยรถอีแต๊ก ที่ดัดแปลงจากรถไถนาเป็นรถ กว่านี้ก็ได้ ภายใต้แฮชแท็ก #นาแห้วมาแล้ว
น�ำเท่ียว ช่วงเย็นพานักท่องเที่ยวเข้าพักโฮมสเตย์ จะรัก

114 ชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็ง

เกาะลันตา จังหวัดกระบ่ี

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

ดร. ปิยะมาศ เลิศนภากุล
อาจารย์สาขาการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• โจทย์ :

อยากให้นักท่องเท่ียวเห็นคุณค่า
ของวิถีชีวิตชุมชน เพื่อสร้างความย่ังยืน
ท้ังในด้านสังคมและส่ิงแวดล้อม

• อัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน :

วิถีชีวิตบริเวณป่าชายเลน บ้านทุ่งหยีเพ็ง
และการล่องเรือป๊อกชุ่น

• แนวคิด :

บ้านทุ่งหยีเพ็งควรน�ำเสนอการท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์ให้กับกลุ่มนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ โดยให้พัฒนาเว็บไซต์เพ่ือสร้าง
ความน่าเช่ือถือและเป็นช่องทางการสื่อสาร
ภาพประสบการณ์และความประทับใจไปสู่
โลกภายนอก

115

ดร. ปิยะมาศแนะน�ำว่าข้อมูลแรกๆ ที่ควรน�ำเสนอ
บนเว็บไซต์คือเรื่องเล่าวิถีชุมชน โดยให้โพสต์ภาพ
“วิถีชีวิต” ที่เกิดข้ึนจริงไว้บนหน้าแรกเลย เช่น
การล่องเรือป๊อกชุ่นท่ีนักท่องเที่ยวห้ามพลาด
กจิ กรรมการปลกู ป่าชายเลนเพ่ือรกั ษาสิ่งแวดล้อม
ทางทะเล รวมไปถึงประวัติความเป็นมาของ
การก่อต้ังชุมชน จากน้ันค่อยท�ำลิงก์เช่ือมต่อการ
จองท่ีพักแบบโฮมสเตย์ ร้านอาหารพื้นถิ่น และ
ร้านสินค้าท่ีระลึก โดยย้�ำว่าไม่ควรท�ำเว็บไซต์
ท่ีเปิดมาแล้วขายสินค้าที่ระลึกทันที นอกจากน้ี
ชุมชนควรเชื่อมต่อกับกลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อ
โซเชียลอ่ืนๆ ด้วย เพื่อเพ่ิมช่องทางในการพูดคุย
และให้ข้อมูลเรียลไทม์กับนักท่องเที่ยวท่ีสนใจ
รวมไปถึงอาจจัดท�ำคลิปวิดีโอจากการเดินทาง
และกิจกรรรมในชุมชน ไปลงช่อง YouTube
โดยให้คนในชุมชนเองเป็นผู้เล่าเร่ืองราว จะช่วย
กระตุ้นให้นักท่องเท่ียวอยากเข้ามาสัมผัส
ประสบการณ์ด้วยตัวเองมากข้ึน

04

ชุมชน
สร้างสรรค์

-

ผลส�ำเร็จของชุมชนท่ีน�ำแนวคิด
จากเหล่าเพ่ือนร่วมเดินทางไป

ต่อยอดและพัฒนาจริง
จนประสบความส�ำเร็จ

สร้างรายได้และความย่ังยืน
อย่างเป็นรูปธรรม

-

117

อี ก ห นึ่ ง ค ว า ม ภู มิ ใ จ ข อ ง ที ม ร า ย ก า ร ค า ร า ว า น
ส�ำราญใจ เท่ียวไปในชุมชน คือการได้เห็นชุมชน
น�ำแนวคิดจาก “เพ่ือนร่วมเดินทาง” ไปต่อยอด
พัฒนาสินค้าและบริการให้เกิดข้ึนจริง ทุกครั้ง
หลังจบการถ่ายท�ำ ทีมงานจะส่งภาพแนวคิด
อาร์ตเวิร์กฉลากบรรจุภัณฑ์ สินค้าต้นแบบ ฯลฯ
ท่ีเพ่ือนร่วมเดินทางได้สร้างสรรค์ขึ้น ให้ชุมชน
น�ำกลับไปใช้เป็นตัวอย่างในการท�ำงานได้ทันที
และต่อไปน้ีคือตัวอย่าง “ชุมชนสร้างสรรค์”
ท่ี ไ ด้ น� ำ แ น ว คิ ด จ า ก ร า ย ก า ร ข อ ง เ ร า ไ ป ต่ อ ย อ ด
สู่ความส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม

118 บ้านหนองหล่ม ผลส�ำเร็จและความประทับใจ

จังหวัดพะเยา 1. แจ้งเกิดในฐานะชุมชนท่องเท่ียว
หลังออกรายการ
• บ้านหนองหล่ม • 2. ปรับกิจกรรมการท่องเท่ียว
ให้สอดรับกับความต้องการ
• ตัวแทนชุมชน : ของนักท่องเท่ียวท่ีหลากหลาย
3. ได้รับงบประมาณจาก
จริยา วรรณพัฒน์ ประธานวิสาหกิจชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนดอกค�ำใต้
ท่องเที่ยวบ้านหนองหล่ม 1.5 ล้านบาท ในการปรับปรุง
พัฒนาสวนสาธารณะดงหอ
• เพ่ือนร่วมเดินทาง : 4. ได้รับคัดเลือกเป็น 1 ใน 10
แชมเป้ ียนชุมชนระดับประเทศ
เพ็ญศิริ สอนบุตร ตัวแทนจาก Local Alike จาก 462 ชุมชน
กิจการเพื่อสังคมด้านการท่องเท่ียวโดยชุมชน 5. เข้าร่วมการจับคู่ธุรกิจกับบริษัท
น�ำเท่ยี วจากประเทศเนเธอร์แลนด์

ด้วยศักยภาพของชุมชนบ้านหนองหล่มท่ีมีแหล่ง ไทยสัปปายะ และวิถีชนเผ่าม้งที่อยู่คู่ชุมชน 119
ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต ที่ น ่ า ส น ใ จ มายาวนานงานนเ้ี พอื่ นรว่ มเดนิ ทางจากLocal Alike
หลายอย่าง เช่น สวนสาธารณะดงหอ ป่าต้นน้�ำ ไดแ้ นะนำ� ใหช้ มุ ชนเรม่ิ ตน้ จดั ระเบยี บการทอ่ งเทยี่ ว
ชุมชนท่ีมีน้�ำผุดข้ึนตลอดปี บ่อน้�ำศักด์ิสิทธ์ิ และออกแบบฐานกิจกรรมตามวิถีชีวิตชุมชน
อายุ 1,000 ปี และศาลเจา้ พอ่ คำ� ปวนทเ่ี ปน็ ศนู ยร์ วม เ พ่ื อ เ ป ็ น ตั ว เ ลื อ ก ส� ำ ห รั บ นั ก ท ่ อ ง เ ท่ี ย ว ที่ มี
จิตใจของคนในชุมชน รวมถึงยังมีศาสตร์การนวด ความต้องการแตกต่างหลากหลาย

120

- ต่อยอดสู่ชุมชนสร้างสรรค์

หลังจากออกรายการ ชมุ ชนบา้ นหนองหลม่ ไดน้ ำ� แนวคดิ จากLocal Alike
มีนักท่องเท่ียว ไปสานต่อเป็นแพ็กเกจการท่องเท่ียว โดยดึงเอา
วิถีชีวิตในชุมชนมาจัดเป็นหมวดหมู่ เช่น กิจกรรม
เป็นจ�ำนวนมากต้องการ เทย่ี วไปชมิ ไปสำ� หรบั คนรกั อาหารพานกั ทอ่ งเทย่ี ว
ตามรอยการเดินทาง เรยี นรขู้ น้ั ตอนการทำ� ไขป่ า่ ม(ตไี ขป่ ง้ิ บนใบตองยา่ ง)
ท่ีออกอากาศไป จากฟาร์มไก่ไข่อารมณ์ดี การท�ำข้าวต้มมัดใบอ้อย
เรียกว่าชุมชนเรา ที่หาชมได้ยากในสมัยนี้ เพราะส่วนใหญ่นิยม
แจ้งเกิดในฐานะ ใช้ใบตองห่อข้าวต้มมัด
ชุมชนท่องเท่ียว
หลังออกรายการน้ีเลย กิจกรรมใจสดใสไปเที่ยววัด ส�ำหรับนักท่องเท่ียว
มันคือการจุดประกาย สายบญุ และสายประวตั ศิ าสตร์ พาชมวัดวาอาราม
ให้ชุมชนเล็กๆ และสักการะส่ิงศักด์ิสิทธิ์ พร้อมเร่ืองเล่าท่ีน่า
ติดตาม กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงศิลปะ ส�ำหรับ
ได้ก้าวเดินต่อไปอย่างย่ังยืน คนรักศิลปะที่อยากเรียนรู้ทักษะงานทอผ้า
งานปักผ้า โดยให้ตัวแทนชุมชนสอนงานปักผ้า
-

จริยา วรรณพัฒน์
ประธานวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียว

บ้านหนองหล่ม

ชาวม้งเพื่อน�ำไปท�ำเป็นของท่ีระลึกอย่างง่ายๆ นอกจากนี้ ชมุ ชนยงั ไดร้ บั งบประมาณจากกรมการ 121
หรือเรียนรู้การท�ำตุงไส้หมู ที่เกิดจากการตัด พฒั นาชมุ ชนดอกคำ� ใตถ้ งึ 1.5 ลา้ นบาท เพ่อื น�ำไป
กระดาษว่าวสีสันสดใสแล้วผูกกับไม้ไผ่ท่ีเหลา ปรับปรุงพัฒนาดงหอ จุดท่องเท่ียวส�ำคัญของ
เป็นแท่งกลม ของประดับตกแต่งที่นักท่องเท่ียว ชุมชน และมีการน�ำคลิปจากรายการคาราวาน
สามารถน�ำกลับบ้านได้เมื่อเสร็จกิจกรรม กิจกรรม ส�ำราญใจ เท่ียวไปในชุมชน ตอนบ้านหนองหล่ม
เชิงวัฒนธรรม เน้นการเรียนรู้วิถีชีวิตชาวเขา ไปเข้าประกวดสุดยอด SME ของชุมชนรุ่นใหม่
เผ่าม้ง กิจกรรมรักสุขภาพ ส�ำหรับนักท่องเที่ยว หัวใจท่องเท่ียวจนได้รับเลือกเป็น 1 ใน 10
ท่ีต้องการพักผ่อนด้วยการนวดไทยสัปปายะ แชมเปี้ยนชุมชนระดับประเทศ (จาก 462 ชุมชน
โดยจัดพื้นท่ีนวดบริเวณสวนสาธารณะดงหอ ที่เข้าประกวด) ท�ำให้ชุมชนได้รับโอกาสเข้าร่วม
ป่าต้นน้�ำชุมชน พร้อมเรียนรู้การท�ำลูกประคบ การจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) กับบริษัท
สมุนไพรที่นักท่องเท่ียวน�ำกลับไปใช้งานได้ น�ำเที่ยวของประเทศเนเธอร์แลนด์ ช่วยเพิ่ม
โดยทั้งหมดนี้นักท่องเที่ยวสามารถผสมผสาน โอกาสการรับนักท่องเที่ยวต่างชาติให้กับชุมชน
กิจกรรมและจัดตารางการเดินทางตามความ
ต้องการของตนได้

122 ชุมชนบ้าน กม. 32

อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา

• ดารีนา พิซซ่าอัยเยอร์เวง •

• ตัวแทนชุมชน :

ต่วนดารีนา ต่วนกอแต
เจ้าของร้านพิซซ่าอัยเยอร์เวง

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์
นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์ชุมชน

123

จุดท่องเที่ยวท่ีเป็นไฮไลต์พิเศษสุดของชุมชน
บ้าน กม. 32 คือทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
บนยอดเขาไมโครเวฟ ด้วยความสูง 2,038 เมตร
จากระดบั ทะเลปานกลาง ทำ� ใหท้ ะเลหมอกแหง่ น้ี
มีความงามดุจสรวงสวรรค์แดนใต้ นอกจากนี้
ยังมีน้�ำตกเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ 9 ไหลลงมา
จากหน้าผาความสูงกว่า 30 เมตร ในชุมชน
มีผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจคือ Darina Pizza หรือพิซซ่า
อัยเยอร์เวง ท่ีมีสูตรพิซซ่าหน้าปลานิลสายน้�ำไหล
เทือกเขาสันกาลาคีรี เป็นเมนูยอดฮิต

ผลส�ำเร็จและความประทับใจ

1. บรรจุภัณฑ์ใหม่มีความแข็งแรง
วางซ้อนได้ ง่ายต่อการจัดส่ง
แบบเดลิเวอร่ี
2. ลูกค้าเพ่ิมขึ้น 2 เท่าตัว
หลังจากออกรายการ
3. ประหยัดงบประมาณในการผลิต
กล่องถึง 30 เปอร์เซ็นต์
4. ขยายแฟรนไชส์ออกไปถึง
4 สาขาหลังจากออกรายการ

124 ต่อยอดสู่ชุมชนสร้างสรรค์

ต่วนดารีนา เจ้าของร้านพิซซ่าอัยเยอร์เวง ได้น�ำ
แนวคิดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ท่ีสร้างสรรค์ข้ึนใหม่
ไปใช้แทนบรรจุภัณฑ์เดิม โดยแบ่งองค์ประกอบ
ของบรรจุภัณฑ์ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่

1. กล่องใส่พิซซ่า เลือกใช้กล่องลูกฟูกส�ำเร็จรูป
ทม่ี คี วามแขง็ แรง ราคาประหยดั วางซอ้ นกนั ได้
และรักษาอุณหภูมิได้ดีระดับหน่ึง

2. ฉลากสติกเกอร์ส�ำหรับคาดกล่อง นอกจาก
ตราสญั ลกั ษณท์ อี่ อกแบบขนึ้ ใหม่ มภี าพพซิ ซา่
หน้าปลานิลสายน้�ำไหลเทือกเขาสันกาลาคีรี
เปน็ จดุ ขาย พรอ้ มเครอ่ื งหมายฮาลาล บนฉลาก
ยงั เพมิ่ ขอ้ มลู เบอรโ์ ทรศพั ทแ์ ละชอ่ งทางตดิ ตอ่
ผ่านส่ือโซเชียล เพ่ือให้ลูกค้าสอบถามและ
สั่งซื้อได้ง่าย

3. สติกเกอร์หน้าพิซซ่า ใช้สติกเกอร์ภาพกราฟิก องค์ประกอบบรรจุภัณฑ์ท่ีตั้งใจแก้ไขปัญหา
ทส่ี อ่ื ถงึ หนา้ พซิ ซา่ ภายในกลอ่ งเพอื่ ใหผ้ บู้ รโิ ภค บรรจุภัณฑ์เดิม พร้อมเสริมสร้างภาพลักษณ์ใหม่
เข้าใจได้รวดเร็วโดยไม่ต้องอ่านข้อความ เช่น ให้กับแบรนด์ไปด้วย
กราฟิกรูปปลาส�ำหรับพิซซ่าหน้าปลานิล
สายน�้ำไหลเทือกเขาสันกาลาคีรี กราฟิก ปัจจุบัน Darina Pizza มีร้านสาขาเพ่ิมเติมเป็น
รูปสับปะรดส�ำหรับพิซซ่าหน้าฮาวายเอ้ียน 4 สาขาแล้ว ได้แก่ สาขาอัยเยอร์เวง สาขา
กราฟิกรูปไก่ส�ำหรับพิซซ่าหน้าไส้กรอก ตันหยงมัส (จังหวัดนราธิวาส) สาขาบันนังสตา
และแฮมไก่ กราฟิกรูปหมึกส�ำหรับพิซซ่า และสาขาตัวเมืองในจังหวัดยะลา
หน้ารวมมิตรทะเล ฯลฯ ถือเป็นการพัฒนา

125

-

หลังออกรายการไปมีลูกค้า
เพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่า

ส่วนใหญ่บอกว่าบรรจุภัณฑ์ใหม่
เราดูหรูกว่าเดิม ทั้งๆ ท่ีราคาต้นทุน
ประหยดั กวา่ ของเดมิ ถงึ 30 เปอรเ์ ซน็ ต์
ส่วนเร่ืองการขนส่ง บรรจุภัณฑ์ใหม่

ท่ีท�ำจากกระดาษลูกฟู กมีข้อดี
ท่ีแข็งแรงมาก วางซ้อนกันได้
หลายถาด ไม่เสียทรง แถมรักษา
อุณหภูมิของพิซซ่าได้ดีกว่าเดิม
ท�ำให้ลูกค้าเราได้ทานพิซซ่า
ที่คงความอร่อยเสมือนนั่งทานที่ร้าน

-

ต่วนดารีนา ต่วนกอแต
เจ้าของร้านพิซซ่าอัยเยอร์เวง

126 • กาแฟอัยเยอร์เวง •

• ตัวแทนชุมชน :

มาลีกี เจ๊ะบู
ประธานกลุ่มกาแฟอัยเยอร์เวง

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์
นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์ชุมชน

ผลส�ำเร็จและความประทับใจ
1. บรรจุภัณฑ์ใหม่ช่วยเสริมสร้าง
ภาพลักษณ์แบรนด์ให้ชัดเจน
2. ขยายฐานลูกค้าออกไปได้กว้างข้ึน
3. มยี อดจำ� หนา่ ยสงู ขนึ้ 20 เปอรเ์ ซน็ ต์
หลังจากออกรายการ
4. ถูกบรรจุไว้ในเมนูร้านกาแฟ
มวลชนทั่วประเทศ

127

อกี หนง่ึ แลนดม์ ารก์ ทนี่ กั ทอ่ งเทยี่ ว
ไมค่ วรพลาดเมอ่ื มาถงึ อยั เยอรเ์ วง
คือ “สะพานแตปูซู” สะพาน
แขวนพ้ืนไม้ข้ามแม่น�้ำปัตตานี
ท่ีมีความยาวกว่า 100 เมตร
(กว้างเพียง 1.8 เมตร) ถือเป็น
สัญลักษณ์แห่งความสามัคคี
ของคนในชุมชน กม. 32 ท่ี
นายมูเซ็ง แตปูซู ก�ำนันต�ำบล
อัยเยอร์เวงในสมัยก่อน ร่วมมือ
กับส่วนราชการช่วยกันระดม
พลงั และเงนิ สมทบจากชาวบา้ น
เพ่ือสร้างสะพานแขวนแห่งนี้ไว้
สำ� หรบั การสญั จรไปมา(จากเดมิ
ท่ีต้องใช้แพลากข้ามแม่น้�ำ)

128

ส่วนสินค้าเด่นที่อยู่คู่ชุมชนนี้มายาวนานก็คือ “กาแฟอัยเยอร์เวง” ที่ผลิตจากเมล็ดกาแฟโรบัสต้า
คุณภาพเยี่ยมจากป่าชุมชนบนยอดเขาอัยเยอร์เวง ค่ัวโดยกรรมวิธีโบราณที่ถ่ายทอดกันมากว่า 100 ปี
ด้วยไม้ฟืนและการต�ำครกไม้

ต่อยอดสู่ชุมชนสร้างสรรค์

เพ่ือสร้างภาพลักษณ์ของแบรนด์กาแฟอัยเยอร์เวง
ให้มีความโดดเด่น ชุมชนตกลงพัฒนาฉลาก
ส�ำหรับติดบนถุงซิปล็อกบรรจุเมล็ดกาแฟ โดย
แบ่งโทนสีของฉลากออกเป็น 2 แบบ ได้แก่
1. กาแฟค่ัวสด ใช้โทนสีแดงพร้อมภาพวาด
เมล็ดกาแฟ
2. กาแฟค่ัวสดคลุกด้วยน้�ำตาลแว่น ใช้โทน
สีเขียวพร้อมภาพเมล็ดกาแฟและภาพครกไม้
โบราณเป็นกราฟิกประกอบ โดยฉลาก
ทั้ง 2 แบบนี้จะมีข้อความบอกเล่าท่ีมาและ
กระบวนการผลิตเพ่ือให้ผู้บริโภครับรู้ถึง
แก่นคุณค่าของกาแฟชุมชน

129

-

มีลูกค้ากลุ่มใหม่ๆ
โทรสั่งซ้ือกาแฟเราอย่างต่อเน่ือง
ถือเป็นการขยายฐานลูกค้าจากเดิม

ท่ีรู้จักกันในวงแคบไปสู่ตลาด
ท่ีกว้างขึ้น

มียอดขายช่วงต้น
เพิ่มข้ึนประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์

อีกทั้งรูปแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่
ยังช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดี

ให้กับแบรนด์
ปัจจุบันกาแฟอัยเยอร์เวง
นอกจากขายผ่านร้านออนไลน์
และร้านค้าในชุมชนแล้ว
เมนูกาแฟโบราณอัยเยอร์เวง
และโอเล้ียงยกล้ออัยเยอร์เวง
ยังได้ไปอยู่ในเมนูร้านกาแฟมวลชน
ท่ีกระจายไปทั่วประเทศด้วย

-

มาลีกี เจ๊ะบู
ประธานกลุ่มกาแฟอัยเยอร์เวง

130 ชุมชนตลาดโรงพักเก่า
สรรพยา

จังหวัดชัยนาท

• ชุมชนตลาดโรงพักเก่าสรรพยา • ผลส�ำเร็จและความประทับใจ

• ตัวแทนชุมชน : 1. ตอกย�้ำภาพลักษณ์ด้านการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
กัญญ์พศุตม์ กาญจนวิจิตร 2. เช่ือมความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่าง
มัคคุเทศก์ชุมชน คนในชุมชน
3. ผู้สูงอายุมีรายได้เพิ่มขึ้นจาก
• เพ่ือนร่วมเดินทาง : การพับถุงกระดาษใจดี
4. เด็กได้ต่อยอดจินตนาการ
พลอย ลุมทอง ผ่านการวาดภาพบนถุง
นักคิด นักออกแบบ เจ้าของบริษัท C’est Design

131

ชุมชนท่ีเคยซบเซาถูกปลุกให้มีชีวิตขึ้นอีกครั้งผ่านการผสานวิถีชีวิตเข้ากับการท่องเท่ียว
เชิงอนุรักษ์ พัฒนาเป็นตลาดที่ภายในมีร้านค้าต่างๆ เช่น ร้านโอเลี้ยงห้องขัง (ในอดีตญาติ
ผู้ต้องขังจะซื้อโอเล้ียงจากร้านน้ีใส่กระป๋องนมไปฝากผู้ต้องขัง) นอกจากน้ี ยังมี
สถาปัตยกรรมโรงพักเก่าที่สร้างขึ้นต้ังแต่สมัยรัชกาลท่ี 5 เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นในชุมชน
โดยทุกวันเสาร์-อาทิตย์แรกของเดือนจะมีตลาด “กรีนดี” ตลาดชุมชนท่ีเน้นแนวคิดด้าน
สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมให้ชาวบ้านน�ำอาหาร ของหวาน และสินค้ามาจ�ำหน่ายในพื้นท่ี

งานน้ีนักออกแบบ พลอย ลุมทอง น�ำแนวคิดการพับถุงกระดาษใจดีของชุมชนมาต่อยอด
โดยเปลี่ยนถุงกระดาษพับธรรมดาให้เป็นถุงท่ีมีลวดลายสวยงาม ให้ลูกหลานคนในชุมชน
มาชว่ ยวาดรปู ดาว-เดือนบนกระดาษเพ่ือสือ่ อตั ลักษณ์ของช่ืออำ� เภอ“สรรพยา”ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
กับหนุมานในวรรณคดีรามเกียรติ์ จากนั้นให้ผู้สูงอายุน�ำกระดาษท่ีวาดเสร็จแล้วมาพับ
เป็นถุงส�ำหรับใส่สินค้า

133

-

นอกจากจะช่วยลดต้นทุนด้านงานพิมพ์
และการซ้ือถุงกระดาษส�ำเร็จรูปแล้ว
การพับถุงยังเป็นกิจกรรม
ท่ีช่วยสร้างรายได้
และกระชับความสัมพันธ์
ระหว่างคนต่างวัย
เกิดความรักและความสามัคคี
ในชุมชน
อันเป็นหัวใจหลัก
ของการพัฒนาท่ียั่งยืน

-

กัญญ์พศุตม์ กาญจนวิจิตร
มัคคุเทศก์ชุมชน

134 บ้านนาเชือก

จังหวัดสกลนคร

• Ban Na Chueak Creative Village •

• ตัวแทนชุมชน :

สายสุณี ไชยหงษา
ประธานกลุ่มผ้าย้อมมูลควาย

• เพ่ือนร่วมเดินทาง :

จิรวัฒน์ บุญสมบัติ
นักออกแบบและนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

บ้านนาเชือกเป็นชุมชนท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม การย้อมผ้าด้วยมูลควายเพ่ือพัฒนาเป็น 135
ท่ีเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับวิถีชีวิต “สินค้าอันซีน” ของประเทศไทย กิจกรรม
ชมุ ชนทผี่ กู พนั กบั สายนำ�้ ในเขอ่ื นนำ้� อนู ไมว่ า่ จะเปน็ การท�ำตุ๊กตาผ้าควายธนู ท่ีถูกออกแบบให้
อาชีพประมง เกษตรกรรม รวมถึงการเล้ียงควาย มีความน่ารัก พกพาง่าย และผูกพันกับ
บนเกาะกลางน�้ำ นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมสาธิต ความเช่ือเรื่องการปกป้องคุ้มภัย

ผลส�ำเร็จและความประทับใจ

1. มีเฉดสีผ้าจากวัตถุดิบธรรมชาติ
ท่ีหลากหลายขึ้น
2. พลิกเศษผ้าเป็นผลิตภัณฑ์
ขนาดเล็ก ช่วยเพิ่มรายได้
และขยายฐานกลุ่มเป้าหมาย
3. ได้รับการคัดเลือกให้เข้าโครงการ
หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
CIV และ OTOP นวัตวิถี เฟส 2
3. เกิดความรัก ความสามัคคี
และการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
กิจกรรมท่องเท่ียวท่ีสะท้อน
วิถีชีวิตชุมชน



136

ต่อยอดสู่ชุมชนสร้างสรรค์

สายสุณี ไชยหงษา ประธานกลุ่มผ้าย้อมมูลควาย ได้น�ำข้อคิด
จากนักออกแบบไปพัฒนาสินค้าท่ีตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมาย
เช่น การเพิ่มสีสันของผ้าให้หลากหลาย แต่ยังใช้วัตถุดิบจาก
ธรรมชาติ เช่น สีจากเปลือกไม้ โคลน ดิน ฯลฯ เพื่อตอกย�้ำ
แนวคิดด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม นอกจากน้ี ยังน�ำเศษผ้า
ที่เหลือจากกระบวนการผลิตไปพัฒนาเป็นสินค้าที่ระลึก
ขนาดเล็ก เช่น หมวก พวงกุญแจ กระเป๋าผ้าพับได้ ฯลฯ
เพอ่ื ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วสามารถซอ้ื สนิ คา้ ในราคาทถี่ กู ลง พกพางา่ ย
ถือเป็นการขยายฐานลูกค้าให้กว้างข้ึน และส่งผลให้ชาวบ้าน
มีรายได้เพิ่มขึ้นชัดเจน

137

-

หลังออกรายการ
คาราวานส�ำราญใจ เที่ยวไปในชุมชน
ก็มีโทรศัพท์เข้ามาจองทริปท่องเที่ยว

ตามรอยเรื่อยๆ เช่น การล่องเรือ
ชมวิถีชีวิตภายในเข่ือนน�้ำอูน

การน่ังเรือไปเกาะควาย ชมการเล้ียงควาย
ท่ีเติบโตตามธรรมชาติ ฯลฯ

ข้อดีที่ชดั เจน คือ ชาวบา้ นมีรายได้เพิ่มขึ้น
จากการท่องเที่ยวและการขาย

สินค้าท่ีระลึก และมีการคิดต่อยอด
กิจกรรมร่วมกัน เช่น การจิบไวน์

ชมควาย นวดสปากระทะร้อน
ท่ีได้รับความสนใจจากนักท่องเท่ียว

เป็นอย่างดี

-

สายสุณี ไชยหงษา
ประธานกลุ่มผ้าย้อมมูลควาย



ชื่อหนังสือ : ท้องถ่ิน อินเตอร์

ISBN : 978-974-8106-52-6

พิมพ์คร้ังที่ 1 : ธันวาคม 2564

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์.
ท้องถิ่น อินเตอร์.-- กรุงเทพฯ : ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน), 2564.
140 หน้า.
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น -- แง่เศรษฐกิจ. I. ชื่อเร่ือง.
306.47
ISBN 978-974-8106-52-6

จัดท�ำโดย : ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)
เลขที่ 333 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
โทรศัพท์ 0-2231-4333 โทรสาร 0-2231-4890
www.bangkokbank.com
ผู้เขียน : สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์
บรรณาธิการ : วิสาข์ สอตระกูล
ออกแบบ : ประไพศรี บรรลือศักดิ์
พิสูจน์อักษร : กุลธิดา สืบหล้า
ด�ำเนินงาน : MATICHON PREMIUM PRINT บริษัทมติชน จ�ำกัด (มหาชน)
เลขท่ี 12 ถนนเทศบาลนฤมาล หมู่บ้านประชานิเวศน์ 1
แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทรศัพท์ 0-2589-0020 ต่อ 2419, 2424
e-mail : [email protected]
พิมพ์ที่ : บริษัทศิริชัย การพิมพ์ จ�ำกัด
โทรศัพท์ 0-2805-1471-2

เกี่ยวกับผู้เขียน

สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์ เริ่มต้นท�ำงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เซ็นทรัล ซูเปอร์มาร์เก็ต
ตงั้ แตส่ มยั เปน็ นกั ศึกษาทภ่ี าควชิ าศิลปอตุ สาหกรรม คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั หลงั จบการศึกษาเขาเขา้ ทำ� งานกบั หา้ งสรรพสนิ คา้ เซน็ ทรลั
ระยะหนึ่ง ก่อนก้าวไปรับต�ำแหน่งนักออกแบบกราฟกิ ท่ี The Walt Disney Company Limited
ท�ำหน้าท่ีดูแลการพัฒนาผลิตภัณฑ์และส่ือโฆษณาให้กับตลาดประเทศไทย อินโดจีน และมาเลเซีย
เป็นระยะเวลารวม 6 ปี

ด้วยความหลงใหลในเสน่ห์ของการสร้างแบรนด์และการออกแบบการสื่อสาร สุวิทย์ตัดสินใจไปศึกษาต่อ
ปริญญาโทวิชาการบริหารจัดการงานออกแบบ (MSc Design Management) ท่ี The University of Salford
ประเทศอังกฤษ หลังเรียนจบไม่นาน เขาก็น�ำทักษะความรู้ท่ีส่ังสมจากประสบการณ์ท�ำงานและการศึกษาต่อ
มาพัฒนา “คู่มือการออกแบบผลิตภัณฑ์” (Merchandising Style Guide) ให้กับแอนิเมช่ันไทยหลายเรื่อง
เช่น ก้านกล้วย เอคโค่ จิ๋วก้องโลก ปังปอนด์ เชลล์ดอน เบิร์ดแลนด์แดนมหัศจรรย์ ของขวัญจากดิน การ์ตูน
ส่งเสริมการรักษ์สุขภาพแบบพอเพียง สุข 24 ช่ัวโมง ฯลฯ และเร่ิมก้าวสู่เส้นทาง “นักเขียน” ด้านการออกแบบ
สร้างสรรค์ โดยมีผลงานเขียนให้กับส่ือหลายส�ำนัก เช่น หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ (คอลัมน์ Biz@Design)
ท่ีเขาเขียนมาต่อเน่ืองกว่า 15 ปี เว็บข่าวสารออนไลน์ TCDCCONNECT.COM ของศูนย์สร้างสรรค์
งานออกแบบ (TCDC) รวมถึงเป็นนักเขียนรับเชิญให้กับเว็บไซต์ของสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
นิตยสาร Wallpaper* ประเทศไทย ฯลฯ
อีกหนึ่งจุดเปลี่ยนส�ำคัญในเส้นทางอาชีพของสุวิทย์ คือการได้เข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาตราสัญลักษณ์ให้กับ
“ร้าน ฬ. จุฬา” ของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ช่วงเวลาน้ันเขามีโอกาสได้ช่วยพัฒนาสินค้า
ท่ีระลึกให้กับโรงพยาบาล และต่อมาก็ได้ร่วมพัฒนาสินค้าท่ีระลึกให้กับกรมการท่องเที่ยวอีกคร้ังภายใต้
โครงการ “เสน่ห์เที่ยว เสน่ห์ไทย” ท้ังสองโครงการน้ีท�ำให้เขาค้นพบว่า “งานออกแบบ” มีศักยภาพมากกว่า
แค่การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้ตอบโจทย์ค่านิยมผู้บริโภคเป้าหมาย แต่ยังเป็นกลไกท่ีส�ำคัญอย่างยิ่งในการ
พัฒนา “คุณภาพชีวิต” ให้กับชุมชนต้นทางที่เป็นผู้ผลิตสินค้าและบริการนั้น ๆ ด้วย
ในปี พ.ศ. 2561 สุวิทย์ได้รับโอกาสจากธนาคารกรุงเทพให้เป็นหน่ึงในทีม “เพื่อนร่วมเดินทาง” ของรายการ
“คาราวานส�ำราญใจ เที่ยวไปในชุมชน” ท�ำหน้าที่พัฒนาตราสัญลักษณ์ บรรจุภัณฑ์ และส่ือโฆษณาให้กับ
ชุมชนเล็ก ๆ ท่ัวไทย ซึ่งงานน้ีเป็นอีกหนึ่งช่วงเวลาชีวิตท่ีท�ำให้เขาสัมผัสว่าในมุมต่าง ๆ ของประเทศไทยน้ัน
มีภูมิปัญญาท้องถิ่นและทักษะงานช่างฝีมือมากมายที่สามารถน�ำมาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์หรือบริการ
ท่ีมีอัตลักษณ์เฉพาะ สามารถสร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนให้กับชุมชนเล็ก ๆ ได้
ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ผลลัพธ์จากการท�ำงานเพื่อชุมชนและสังคมคือ “พลังใจ” ช้ันเย่ียมท่ีท�ำให้
สุวิทย์รู้คุณค่าของการด�ำเนินชีวิตอย่างพอดีมีสุข ทุกวันนี้เขามั่นใจว่า ทักษะความรู้ที่อยู่ในตัวเราทุกคนนั้น
สามารถจะแปรเป็นพลังขับเคลื่อนบางอย่างให้กับสังคมส่วนรวมได้ ปัจจุบันน้ี นอกจากจะท�ำงานออกแบบ
และงานเขียนบทความสร้างสรรค์ต่าง ๆ แล้ว เขาจึงจัดสรรเวลาให้กับการแบ่งปันองค์ความรู้ด้านการสร้าง
แบรนด์ชุมชน การออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งในฐานะวิทยากรและอาจารย์
พิเศษของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ด้วย




Click to View FlipBook Version