The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเตรียมการฝึกประสบการณ์2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunchait65, 2022-07-05 00:08:30

คู่เตรียมฝึกภาคสนาม2565

คู่มือเตรียมการฝึกประสบการณ์2565

Keywords: คู่ม,ื

50

สมดุ บันทึกเวลา
การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ

ชอ่ื ........................................................นามสกลุ ..........................................................................
เลขประจำตัวนกั ศึกษา.............................................................................................................
คณะ..............................................................สาขาวชิ า........................................................................

มหาวทิ ยาลยั มหามกุฎราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา
103 ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมอื ง

จงั หวดั เชียงใหม่ โทร 0864227439

E-mail: [email protected]

51

(ในกรณีทอ่ี ยากเพิ่มเตมิ ต้องถ่ายเอกสารเพม่ิ ได้)

ใบลงเวลาปฏิบตั งิ าน
นักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี
มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั

***************

สถานประกอบการ/หน่วยงาน.........................................................ถนน.............................................
ตำบล/แขวง.............................................อำเภอ/เขต...................................จังหวัด..........................

วนั ท.่ี ..........................เดอื น.....................................พ.ศ. ...................................
ที่ ชอ่ื -สกุล ลงนาม เวลามา ลงนาม เวลากลบั หมายเหตุ

มาปฏิบัตงิ าน.................................................คน
ลากจิ .............................................................คน
ขาด...............................................................คน

รับรองตามนี้

(ลงชอ่ื )........................................................................ที่ปรกึ ษา/หัวหน้าหนว่ ยงาน
(.......................................................................)

วนั ที่..........เดือน............................พ.ศ. .................

52

สรุประยะเวลาปฏบิ ัตงิ านประจำเดอื น...........................................1
(นกั ศึกษาเป็นผู้สรุป)

****************

มาปฏบิ ัติงาน.................คน มา...................................วนั
ลากิจ..............................คน ลา...................................วนั
ขาด.................................คน ขาด.................................วนั
สาย...................................วนั ป่วย.................................วนั

(ลงชอื่ )........................................................................นักศึกษาฝึกงาน
(.......................................................................)

วนั ที่..........เดอื น............................พ.ศ. .................

คิดเปน็ เวลา

 มากกวา่ หรอื เทา่ กบั ร้อยละ 80
 นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80

บันทึกความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะ ของผู้ควบคมุ การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ (สหกิจศกึ ษา)
......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................
......................................................................................................................................................

รับรองตามน้ี

(ลงชอื่ )........................................................................ท่ปี รึกษา/หวั หนา้ หน่วยงาน
(.......................................................................)

วันที.่ .........เดือน............................พ.ศ. .................

53

ใบลงเวลาปฏบิ ัติงาน
นักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

***************

สถานประกอบการ/หนว่ ยงาน.........................................................ถนน.............................................
ตำบล/แขวง..............................................อำเภอ/เขต...................................จงั หวดั ..........................

วนั ท.ี่ ..........................เดือน.....................................พ.ศ. ...................................
ที่ ช่อื -สกุล ลงนาม เวลามา ลงนาม เวลากลบั หมายเหตุ

มาปฏิบัติงาน.................................................คน
ลากจิ .............................................................คน
ขาด...............................................................คน

รับรองตามนี้

(ลงชอื่ )........................................................................ที่ปรกึ ษา/หวั หนา้ หน่วยงาน
(.......................................................................)

วนั ที่..........เดือน............................พ.ศ. .................

54

สรุประยะเวลาปฏิบตั ิงานประจำเดอื น...........................................2
(นกั ศกึ ษาเปน็ ผสู้ รปุ )

****************

มาปฏบิ ตั งิ าน.................คน มา...................................วนั
ลากจิ ..............................คน ลา...................................วนั
ขาด.................................คน ขาด.................................วัน
สาย...................................วนั ป่วย.................................วัน

(ลงชอ่ื )........................................................................นักศึกษาฝึกงาน
(.......................................................................)

วนั ท่.ี .........เดอื น............................พ.ศ. .................

คิดเป็นเวลา

 มากกว่าหรือเทา่ กับร้อยละ 80
 นอ้ ยกว่าร้อยละ 80

บันทึกความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ ของผคู้ วบคมุ การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ (สหกิจศึกษา)
......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................
......................................................................................................................................................

รับรองตามน้ี

(ลงช่ือ)........................................................................ทีป่ รกึ ษา/หวั หนา้ หน่วยงาน
(.......................................................................)

วันท.ี่ .........เดือน............................พ.ศ. .................

55

ใบลงเวลาปฏบิ ัติงาน
นักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

***************

สถานประกอบการ/หนว่ ยงาน.........................................................ถนน.............................................
ตำบล/แขวง..............................................อำเภอ/เขต...................................จงั หวดั ..........................

วนั ท.ี่ ..........................เดือน.....................................พ.ศ. ...................................
ที่ ช่อื -สกุล ลงนาม เวลามา ลงนาม เวลากลบั หมายเหตุ

มาปฏิบัติงาน.................................................คน
ลากจิ .............................................................คน
ขาด...............................................................คน

รับรองตามนี้

(ลงชอื่ )........................................................................ที่ปรกึ ษา/หวั หนา้ หน่วยงาน
(.......................................................................)

วนั ที่..........เดือน............................พ.ศ. .................

56

สรุประยะเวลาปฏิบตั งิ านประจำเดือน...........................................3
(นักศกึ ษาเปน็ ผู้สรปุ )

****************

มาปฏิบัติงาน.................คน มา...................................วนั
ลากิจ..............................คน ลา...................................วัน
ขาด.................................คน ขาด.................................วัน
สาย...................................วัน ป่วย.................................วัน

(ลงชอื่ )........................................................................นักศึกษาฝึกงาน
(.......................................................................)

วันท.่ี .........เดือน............................พ.ศ. .................

คดิ เป็นเวลา

 มากกวา่ หรือเทา่ กับร้อยละ 80
 น้อยกวา่ ร้อยละ 80

บันทึกความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ ของผ้คู วบคมุ การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี (สหกิจศึกษา)
......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................
......................................................................................................................................................

รับรองตามน้ี

(ลงชอ่ื )........................................................................ทีป่ รกึ ษา/หัวหนา้ หนว่ ยงาน
(.......................................................................)

วันที่..........เดือน............................พ.ศ. .................

57

ใบลงเวลาปฏบิ ัตงิ าน
นกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั

***************

สถานประกอบการ/หนว่ ยงาน.........................................................ถนน.............................................
ตำบล/แขวง..............................................อำเภอ/เขต...................................จังหวดั ..........................

วนั ที.่ ..........................เดือน.....................................พ.ศ. ...................................
ท่ี ชอ่ื -สกุล ลงนาม เวลามา ลงนาม เวลากลับ หมายเหตุ

มาปฏิบัตงิ าน.................................................คน
ลากจิ .............................................................คน
ขาด...............................................................คน

รบั รองตามนี้

(ลงชอื่ )........................................................................ท่ีปรึกษา/หัวหน้าหนว่ ยงาน
(.......................................................................)

วันที่..........เดือน............................พ.ศ. .................

58

สรปุ ระยะเวลาปฏิบตั งิ านประจำเดอื น...........................................4
(นกั ศกึ ษาเปน็ ผสู้ รุป)

****************

มาปฏิบตั งิ าน.................คน มา...................................วัน
ลากิจ..............................คน ลา...................................วนั
ขาด.................................คน ขาด.................................วัน
สาย...................................วนั ป่วย.................................วัน

(ลงชือ่ )........................................................................นักศึกษาฝึกงาน
(.......................................................................)

วนั ท.ี่ .........เดอื น............................พ.ศ. .................

คดิ เปน็ เวลา

 มากกวา่ หรือเท่ากบั ร้อยละ 80
 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80

บันทึกความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะ ของผู้ควบคมุ การฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ (สหกิจศกึ ษา)
......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................
......................................................................................................................................................

รบั รองตามน้ี

(ลงชอ่ื )........................................................................ทีป่ รกึ ษา/หวั หนา้ หน่วยงาน
(.......................................................................)

วนั ท่.ี .........เดือน............................พ.ศ. .................

59

สรุปผลท่ไี ด้รบั จากการฝกึ งาน มดี งั น้ี
..................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................. ..............
.................................................................................................................... ............................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......

(ลงชอ่ื )..............................................................................นักศกึ ษาฝึกงาน
(..............................................................................)
............/.........../...........

60

ข้อเสนอแนะจากการฝกึ งาน มีดังน้ี
............................................................................................................................. ...................................

............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
..................................................................................................................................... ...........................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................. ..............

(ลงช่อื )..............................................................................นกั ศกึ ษาฝึกงาน
(..............................................................................)
............/.........../...........

61

ขอ้ คิดเหน็ ของพ่เี ลยี้ ง
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................. ...................................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................. ..............
.................................................................................................................... ............................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................

(ลงชือ่ )........................................................................ (.......................................................................)
วนั ท่.ี .........เดอื น........................พ.ศ. .........

62

ข้อคดิ เหน็ ของอาจารยน์ ิเทศก์ (ครัง้ ท่ี 1)
............................................................................................................................. ...................................

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................

(ลงช่อื )........................................................................ (.......................................................................)
วันที่..........เดือน........................พ.ศ. ..........

ข้อคดิ เหน็ ของอาจารย์นเิ ทศก์ (ครง้ั ที่ 2)
............................................................................................................................. ...................................

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
...................................................................................................................................................... ..........
........................................................................................................................ ........................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................

(ลงชอ่ื )........................................................................ (.......................................................................)
วันท่ี..........เดือน........................พ.ศ. ..........

63

รายงานการฝกึ ประสบการณอ์ าชีพทางพุทธศาสตร์
เร่อื ง....................................................................................................................

พระ (ใส่ชอื่ นักศึกษา นามสกุล รหัส)

รายงานผลการฝึกประสบการณ์อาชีพทางพทุ ธศาสตรฉ์ บับนเี้ ป็นสว่ นหน่ึงของ
รายวิชาฝกึ ภาคสนาม PH1039 ภาคการศึกษาที่ 2/2563
ตามหลกั สตู รศาสนศาตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา
พทุ ธศักราช 2563

1

รายงานการฝกึ ประสบการณอ์ าชพี ทางพุทธศาสตร์
เร่ือง....................................................................................................................

พระ

รหัสนกั ศกึ ษา

รายงานผลการฝกึ ประสบการณอ์ าชีพทางพุทธศาสตรฉ์ บบั นเี้ ปน็ สว่ นหน่ึงของ
รายวิชาภาคสนาม PH1039 ภาคการศึกษาที่ 2/2563
ตามหลักสตู รศาสนศาตรบัณฑติ
สาขาวิชาพทุ ธศาสตร์

2

มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตล้านนา
พุทธศกั ราช 2563

ช่ือเรื่องรายงาน :
ชื่อผ้รู ายงาน
รหสั นักศกึ ษา :
คณะ :
สาขาวชิ า
ปกี ารศึกษา : ศาสนาและปรัชญา
: พุทธศาสตร์

: 2/2563

คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา อนุมัตินับให้รายงานผลการฝกึ
ประสบการณ์อาชีพทางพุทธศาสตร์ รายวิชา PH1039 รายวิชาการฝึกภาคสนามฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม
หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธศาสตร์

คณะกรรมการตรวจสอบรายงาน ................................................................ อาจารย์ทีป่ รกึ ษา
(พระครูวินัยธรสญั ชัย ญาณวโี ร,(ทิพย์โอสถ), ดร.)

................................................................ เจ้าหน้าทีพ่ ี่เลยี้ ง
(นางงาม ชัว่ คราว)

................................................................ นักศึกษา
(นกั ศึกษา)

(ลงนาม)................................................................ ผู้อนุมัติ
(พระครสู ุนทรมหาเจตยิ านุรกั ษ์ ผศ.ดร.,)
รองอธิการบดี

มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตล้านนา

3

ชือ่ เรอ่ื งรายงาน :
ชือ่ ผูร้ ายงาน :
รหสั นกั ศึกษา :
คณะ
สาขาวิชา : ศาสนาและปรชั ญา
ปกี ารศกึ ษา : พทุ ธศาสตร์

: 2/2563

บทคัดยอ่

ตวั อยา่ งการต้งั ค่าหนา้ กระดาษ 4

1.5 น้ิว

รายงานการปฏบิ ัติงานฝึกประสบการณ์อาชีพทางพทุ ธศาสตร์ (ขนาดตวั อกั ษร20นิ้ว)

ระยะหา่ ง 2 บรรทัด

ช่อื เร่อื งภาษาไทย

(ขนาดตวั อกั ษร18น้วิ )

พระ.......................................................
รหสั นักศึกษา.........................

เอาแบบตวั อยา่ งหน้าปกข้างบน

1 นิ้ว

(เหมือนปกนอกทุกประการ) 5

ตวั อยา่ งรองปกใน

6

กติ ติกรรมประกาศ

การที่ข้าพเจ้า/กระผมได้มาปฏิบัติงานฝึกประสบการณ์อาชีพทางพุทธศาสตร์ ณ.......................
ตั้งแต่วันที่ ................ เดือน............... พ.ศ. ................ ถึง วันที่ ......... เดือน................ พ.ศ.
............. ส่งผลให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้และประสบการณ์ต่างๆ ที่มีค่ามากมาย สำหรับรายงานวิชา ฝึก
ประสบการณ์อาชีพทางพุทธศาสตร์ศึกษาฉบับนี้ สำเร็จลงได้ด้วยดีจากความร่วมมือและสนับสนุนจาก
หลายฝ่าย ดงั นี้

1. ชื่อ-สกลุ ...........................ตำแหนง่ ........................
2. ชอ่ื -สกุล...........................ตำแหน่ง........................
3. ชอ่ื -สกุล...........................ตำแหนง่ ........................
4. ชอ่ื -สกลุ ...........................ตำแหนง่ ........................
5. ชอ่ื -สกลุ ...........................ตำแหนง่ ........................
6. ชอ่ื -สกุล...........................ตำแหน่ง........................
และบุคคลท่านอื่นๆที่ไม่ได้กล่าวนามทุกท่านที่ได้ให้คำแนะนำช่วยเหลือในการจัดทำรายงาน
ขา้ พเจ้าใครข่ อขอบพระคุณผทู้ ่ีมีส่วนเกีย่ วข้องทกุ ท่าน ที่มีสว่ นรว่ มในการใหข้ ้อมูล เปน็ ท่ีปรึกษาในการทำ
รายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตของการทำงานจริง
ข้าพเจา้ ขอขอบคณุ ไว้ ณ ท่ีน้ี

พระ..............................
ผู้จดั ทำรายงาน
......../........../..........

วนั สุดทา้ ยของการปฏิบตั ิงาน

สารบัญ 7
ตัวอย่างสารบัญ
หน้าอนุมัติ หน้า
บทคัดย่อ ก
กติ ติกรรมประกาศ (ข)
สารบัญ (ค)
สารบญั ตาราง (ถา้ มี) (ง)
สารบัญภาพ (จ)
บทที่ 1 บทนำ (ฉ)
1
1.1
1.2 12
1.3
1.4 20
1.5
1.6 23
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการศึกษา
3.1
3.2
3.3
3.4
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
4.1
4.2
4.3
4.4

8

บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 25
5.1
5.2 26
5.3 27

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ประวตั ินกั ศึกษา
ภาคผนวก ข คำรอ้ งขอฝึกงาน หนังสอื แจ้งขอฝึกงาน และแบบตอบรับ
ภาคผนวก ค บันทกึ ประจำวัน/บนั ทกึ เวลาการฝกึ งาน
ภาคผนวก ง กจิ กรรม / รปู ภาพการฝึกงาน

สารบญั ตาราง/แผนภมู ภิ าพ 9

แผนภูมิภาพท่ี 2.1 กระบวนการเสรมิ สรา้ งพลังอำนาจ ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ตัวอย่างรายการ
ภาพแผนภมู ิภาพที่ 2.2 ปริ ามิดอำนาจมรี ายละเอยี ดแต่ละข้ันตอน ตาราง
แผนภูมิภาพที่ 2.3 ประสทิ ธิผลของงาน ตามทฤษฎโี ครงสร้างอำนาจในองคก์ รของ Kanter
แผนภมู ิภาพท่ี 2.4 อำนาจทเี่ ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการท่สี ่งผลต่อองคก์ ร หนา้
แผนภมู ิภาพที่ 2.5 แบบแผนการรูค้ ิดของการเสริมสรา้ งพลงั อำนาจ
แผนภมู ิภาพท่ี 2.6 ลักษณะชมุ ชนเขม้ แขง็
แผนภูมภิ าพท่ี 2.7 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

สารบญั ภาพ 10

ภาพท่ี 1.......................... ตัวอย่างรายการภาพ
ภาพท่ี 2..........................
ภาพท่ี 3.......................... หน้า
ภาพท่ี 4.......................... ?
ภาพที่ 5.......................... ?
ภาพท่ี 6.......................... ?
ภาพท่ี 7.......................... ?
ภาพที่ 8.......................... ?
?
?
?

11

บทท่ี 1 20 points หนา ตวั อย่างเนอ้ื เรื่องบท
บทนำ
ที่ 1

1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนซึ่งการพัฒนาประเทศ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554).ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 มุ่งพัฒนา
ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โดยได้กำหนดยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขเศรษฐกิจเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
เพ่อื ให้สามารถรองรับกับกระแสการเปลีย่ นแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ปรับเปล่ียนเรว็ คาดการณ์ได้
ยากและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าว ได้ส่งผลกระทบต่อชุมชนทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ภัยธรรมชาติที่รุนแรง เช่น ภัยแล้ง น้ำท่วม วาตภัย เป็นต้น อันเป็นผลมา
จากการทำลายธรรมชาติของมนุษย์ กระแสนิยมวัฒนธรรมต่างชาติ การบริโภคนิยม การว่างงาน ความขัดแย้ง
ภายในประเทศ สง่ ผลใหค้ วามรัก ความสามัคคี ความเอื้ออาทร คุณธรรมของคนในชุมชนลดลง จึงจำเป็นต้อง
พัฒนาส่งเสริมให้ชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ และสามารถปรับตัวให้ทันกับกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งจะเป็นหนทางต่อการแก้ไขปัญหาและเป็นแรงหนุนต่อการพัฒนาในทุกๆ ด้าน เช่น
ด้านการพัฒนาคนในชุมชนให้มีความเข้มแข็งภายในชุมชนโดยใช้วัดเป็นฐานในการพัฒนา และสํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). ได้เสนอแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบบั ที่ 12 มวี ิสยั ทัศน์ คอื ส่คู วามม่ันคง ม่งั คง่ั และยั่งยนื กรอบวิสยั ทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 ให้
ความสำคญั กับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศทมี่ ีรายได้ปานกลาง
ไปสปู่ ระเทศที่มีรายไดส้ ูง มีความมั่นคง และย่งั ยนื สังคมอยู่รว่ มกนั อย่างมีความสขุ

กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมาย กรอบวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จากสถานะของประเทศและ
บริบทการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ประเทศกำลังประสบอยู่ทำให้การกำหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ยังคงมีความต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และ กรอบหลักการของการวางแผนที่น้อมนำและ
ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนา
ที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องให้ความสำคัญกับการ
กำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มี
รายได้สูง มีความมั่นคง และย่ังยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว
“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ การกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategic
Positioning) เป็นการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติที่สำนักงาน
คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ(สศช.) ได้จัดทำขึน้ ประเทศไทยเป็นประเทศรายได้สูงท่ีมี
การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาคสู่ความเป็นชาติ

12

การค้าและบริการ (Trading and Service Nation) เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย
แหลง่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมสูงท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เป้าหมาย 1) การหลดุ พ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง 2) การพัฒนาศักยภาพคนให้
สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้าง สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ 3) การลดความเหลื่อมล้ำใน
สังคม 4) การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5) การบริหารราชการ
แผน่ ดนิ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ

วางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้กำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาประเทศใน
ระยะ 5 ปี ซึ่งจะเป็นแผนที่มีความสำคัญในการวางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่าง
มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่เป็นกรอบการพัฒนาประเทศในระยะยาว
รัฐบาลมีนโยบายในการสรา้ งความม่นั คงและเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมท้งั เร่งสร้างสังคมที่
มีคุณภาพ โดยการขจัดอุปสรรคต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการลดความเหลื่อมล้ำทาง
สังคม ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ในระยะยาว ครอบคลุมถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เพื่อเพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั การสรา้ งความม่ันคง ม่งั คั่งทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นส่ิง
สำคัญที่ประเทศจะต้องมีทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาระยะยาวที่ชัดเจน โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้อง
ร่วมมือกันอย่างเข้มแข็ง เพื่อผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่อง และสอดรับกับการปฏิรูปประเทศที่มุ่งสู่
ความ “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ในอนาคต เน้นให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” สร้างความมั่นคงของชาติ
พฒั นาคนทุกวัยใหเ้ ป็น คนดี คนเกง่ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” สำหรับ
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศในระยะ 5 ปี จะยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับก่อนหน้า เพื่อให้การพัฒนาในทุกมิติมีการบูรณาการบนทางสายกลาง มีความ
พอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี สอดคล้องกับภูมิสังคม การพัฒนาทุกด้าน มีดุลยภาพ ทั้ง
มิติเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศน์ มีความสอดรับ เกื้อกูล และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยการพัฒนาใน
มิติหนึ่งต้องไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อมิติอื่นๆ รวมทั้งต้องมุ่งเน้นให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” สร้าง
ความมั่นคงของชาติ พัฒนาคนทุกวัยให้เป็น คนดี คนเก่ง มีศักยภาพ และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นหัวใจ
สำคัญในการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทั้งในภาคการผลิตและภาคบริการเพื่อสร้างความเข้มแข็ง มีคุณธรรม
จริยธรรม มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมนำไปสู่การสร้างสังคมที่พึงปรารถนา รวมถึงมีจิตอนุรักษ์ รักษา
ฟนื้ ฟู และใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอยา่ งถูกต้องและเหมาะสม

ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 2 : การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำใน
สังคมการเสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีสภาพเศรษฐกิจที่ไม่เป็น
หนี้สิน และอยู่อย่างพึ่งพาตนเองได้ รวมถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันสำหรับสมาชิกในหมู่บ้าน/ชมุ ชน
แนวทางหนึ่งคือ การน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นหลัก
ในการดำรงชีวิต อีกแนวทางหนึ่งคือการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของประชาชนในระดับหมู่บ้าน/

13

ตำบล โดยจดั เวทีเพอื่ ร่วมกันวิเคราะห์ถงึ ปญั หา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขปญั หา ไปจนถงึ การเรยี นรเู้ พ่ือ
ค้นหาทางเลือกในการแก้ปัญหา ทั้งในส่วนที่ครัวเรือนดำเนินการเอง ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม ขอให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมด้วย และที่จะให้ส่วนราชการช่วย ข้อเสนอเหล่านี้จะถูกประมวลขึ้นเป็นแผน
ชุมชนส่งต่อไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอ และจังหวัดตามลำดับจะส่งผลให้ชุมชนเกิดความ
เข้มแข็งไดอ้ ย่างยง่ั ยนื

ซึ่งสอดคล้องกับยุทธ์ศาสตร์ที่ 3 บริการพระพุทธศาสนาที่ช่วยพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งแก่
ชุมชนและทอ้ งถิ่นของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ปัญหาขาดความเข้มแขง็ ของชุมชน มั่งค่ัง มนั คง
แตไ่ ม่ยั่งยนื หมายถึงชมุ ชนยงั ไมส่ ามารถในการจัดการปัญหาของตนเองได้ในระดับหน่ึง ไมม่ กี ารเรียนรู้ร่วมกัน
อย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานวัฒนธรรม ความเชื่อ คุณค่าดั้งเดิม ศาสนา และเศรษฐกิจชุมชนที่พึ่งพาเอื้อเฟื้อ
กันและกัน โดยแต่ละชุมชนมีศักยภาพของตนเองแต่ไม่ได้นำมาใช้ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในชุมชนคือ
อบายมุข ขาดความสามัคคี ความไมร่ ู้จักพอเพียง การเสรมิ สรา้ งชมุ ชนให้เข้มแข็ง เปน็ การดึงชุมชนให้เห็น
รากเหง้าของตนเอง เรียนรู้ที่จะเป็นไทย หันมาสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมือง สร้างความรักในชุมชน
และท้องถิ่น เพื่อพัฒนาสังคม มีความเป็นชุมชนอิสระหรือองค์กรแบบพลเมืองที่เข้มแข็ง มีความ
หลากหลาย ปราศจากการครอบงำจากองค์กรรัฐและหน่วยงานต่างๆ ชุมชนก็จะเกิดความร่วมมือและ
ช่วยเหลอื กนั ในการแก้ปัญหาพฒั นาเพ่ือให้คนมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ีและพึ่งตนเองได้ในทส่ี ดุ (โกวทิ ย์ พวงงาม
: 2553) ดงั น้ัน จากปัญหาทก่ี ลา่ วมาชุมชนจึงตอ้ งร่วมกัน สร้างพลงั ชมุ ชน และใชพ้ ลงั ชุมชน ในการพัฒนา
ชุมชน วิถีชีวิตของคนไทย คนไทยมีวิถีการดำเนินชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ บุญกิริยาวตั ถุ คือ ทาน ศลี
ภาวนา หรือการแสดงความเคารพ การมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความกตัญญูกตเวที การไม่อาฆาตหรือมุ่ง
รา้ ยตอ่ ผ้อู นื่ ความอดทนและการเป็นผมู้ ีอารมณ์แจม่ ใส รื่นเรงิ เป็นตน้ ล้วนเปน็ อทิ ธพิ ลจากหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาทั้งสิ้น ซึ่งได้หล่อหลอมให้คนไทยมีลักษณะเฉพาะตัว เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยที่
นานาชาติยกยอ่ งชื่นชม

ดังนั้น ชุมชนบ้านแสนคำจึงเปรียบเสมือนแหล่งรวบรวมและสร้างวัฒนธรรม ซึ่งวัฒนธรรมเป็น
คา่ นิยมและความเชื่อที่มีรว่ มกนั มาอย่าช้านานซง่ึ เปน็ ระบบทเี่ กิดขนึ้ ในสงั คมแทบทุกสังคมของคนไทยและ
กลายเป็นแนวทางในการกำหนดแบบแผนพฤติกรรม บรรทัดฐานของคนไทย วัฒนธรรมจึงเป็นเสมือน
บุคลิกภาพ และจิตวิญญาณของคนในสังคม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คนในชุมชนและพระสงฆ์
บ้านแสนคำจึงเป็นกำลังสำคัญในการรักษาวัดซึ่งเป็นสมบัติของคนในชุนชนไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชื่นชมใน
ความงดงามของวัฒนธรรมของคนไทย คณะผูว้ ิจยั จงึ มีความสนใจทจ่ี ะศกึ ษาวิจัยเร่ือง การเสรมิ สร้างความ
เข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นการพัฒนา
ชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ใหม้ คี วามรม่ เยน็ สบื ไป

1.2 วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา

14

2.1 เพื่อศึกษาการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอ
แม่วาง จังหวัดเชียงใหม่

2.2 เพื่อวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหว์ ิธีการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชน
บา้ นแสนคำ

2.3 เพือ่ จัดทำคู่มือการเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ตามหลักบญุ กริ ิยาวตั ถุของชุมชนบ้านแสนคำ

1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา
ในการทำวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้มีการนำเสนอขอบเขตการวจิ ัย ไว้ 4 ด้าน ดังน้ี
3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหาและตัวแปรที่วิจัย เป็นการศึกษาในทุกมิติของวิธีการเสริมสร้างความ

เข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ การให้ปัน
สิ่งของ การรักษาศีล หรือการประพฤติดีมีระเบียบวินัย และการอยู่ร่วมกัน และการเจริญภาวนาคือการ
อบรมจิตใจเจริญปัญญา เป็นการศึกษาในทุกมิติของปัจจัยต่างๆ ที่มีต่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชนบ้านแสนคำ เป็นการศึกษาในทุกมิติของหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่นำมาประยุกต์ใช้ในการ
ดำเนินชีวิต และผลที่ได้รับของชุมชน และจัดทำคู่มือการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุ
ของชุมชนบา้ นแสนคำ อำเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่ เทา่ นน้ั

3.2 ขอบเขตดา้ นประชากรท่ีวจิ ัย การวิจัยนีเ้ ปน็ การเลอื กเฉพาะเจาะจงประชาชนท่ีมคี วามรู้ และ
ทศั นคติ การใชธ้ รรมบุญกริ ยิ าวตั ถุในการดำเนินชวี ติ ในเร่ืองน้ี เป็นอย่างดีและมีอายุทีอาศัยอยู่ไม่น้อยกว่า
16-80 ปี โดยเลือกการวิจัยจากผูว้ ิจยั 1:5 จำนวนรวมท้งั ส้นิ ประมาณ 25 คน และการสนทนากลุ่มจำนวน
10 คน จากผู้ท่อี าศัยในชุมชนบ้านแสนคำนเ้ี ทา่ นัน้

3.3 ขอบเขตด้านพื้นที่ที่ทำวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยโดยการเก็บข้อมูลภาคสนาม ได้แก่
พื้นที่พักสงฆ์บ้านแสนคำและภายในชุมชนบ้านแสนคำ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ประมวลผลท่ี
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา เชยี งใหม่

3.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา (ระยะเวลา 1 ปี ตามงบประมาณ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 30
กันยายน 2561) นอกนัน้ ไมอ่ ย่ใู นขอบเขตของการวจิ ัย

1.4 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั จากการศกึ ษา

11.1 ได้องค์ความรู้ใหม่ๆวิธีการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้าน
แสนคำ อำเภอแม่วาง จงั หวดั เชยี งใหม่

11.2 ไดค้ ู่มือการเสริมสร้างความเขม้ แข็งตามหลกั บญุ กริ ยิ าวัตถุของชมุ ชนบ้านแสนคำ
11.3 ไดน้ ำผลการวจิ ัยไปแก้ปัญหาที่ชุมชนบ้านแสนคำและรูปแบบในการแก้ปัญหาในชุมชนอื่นๆ
และใกลเ้ คยี ง

15

11.4 ได้นำผลการวิจัยไปเผยแพร่ในการประชุมสัมมนาทางวิชาการของส่วนงานราชการ รวมทั้ง
เขยี นบทความวจิ ัยลงในวารสารตา่ งๆ

11.5 ได้นำเสนอผู้บริหาร เขียนบทความ หรือสัมมนาในประเทศหรือต่างประเทศ และนำ
ผลการวจิ ยั ไปเผยแผ่ และเสนอที่ราชประสงค์

11.6 นำผลการวิจัยไปตอ่ ยอดการวจิ ัยในครงั้ ต่อไป
การนำไปใชป้ ระโยชน์ในด้าน ด้านวิชาการ ด้านนโยบาย ดา้ นเศรษฐกจิ /พาณชิ ย์/อุตสาหกรรม
ดา้ นสงั คมและชมุ ชน

1.5 หน่วยงานทน่ี ำผลการวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์

1. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์
2. กรมการการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม
3. องคก์ รบริหารสว่ นตำบลทงุ่ ปี๊ อำเภอแมว่ าง
4. ศนู ย์วฒั นธรรมประจำจังหวัดเชยี งใหม่
5. วัดตา่ งๆ และสำนักปฏิบัติธรรมทว่ั ประเทศ
6. สำนักงานพระพุทธศาสนาประจำจังหวัดเชยี งใหม่
7. มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย

1.6 แผนการถา่ ยทอดเทคโนโลยีหรอื ผลการวิจยั สู่กลมุ่ เปา้ หมาย

นำคู่มือไปดำเนินงานฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ชุมชนหรือกลุ่มประชาชนที่หมู่บ้านแสนคำ และ
สำนักสงฆ์แสนคำ อำเภอแม่วาง จัดทำคู่มือแจกให้กบั ชมุ ชนบ้านแสนคำ และหมู่บ้านในหมู่บ้านในบริเวณ
ใกลเ้ คยี ง สรา้ งเป็นค่มู ือและเข้าไปอธิบายให้ความรูแ้ ก่กลุ่มเป้าหมาย เชน่ กล่มุ ประชาชนท่ีหมู่บ้านแสนคำ
และสำนักสงฆ์แสนคำ

1.7 นิยามศัพท์เฉพาะทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง หมายถึง การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นการเพิ่มศักยภาพของ
บคุ คล ให้อิสระในการตดั สินใจ รวมถึงการจัดส่ิงแวดลอ้ มที่เอ้อื ต่อการปฏิบัติงาน และสง่ เสรมิ ให้บุคคลเกิด
ความสามารถในทำงานและแก้ปัญหาต่างๆได้บรรลุผลสำเร็จของตนเองและองค์กร ให้ความหมายไว้ 3
ประการ คอื

1) การให้อำนาจที่เป็นทางการ (to give official authority) หรือที่ถูกต้องตาม
กฎหมาย (Legal power to)

16

2) การจัดหาหรอื ให้โอกาส (to provide with the means or opportunity)
3) การส่งเสริมความเปน็ ตวั เอง (to promote the self-actualization)
การสร้างความเข้มแขง็ ของชุมชน หมายถึง ชมุ ชนทม่ี ขี ดี ความสามารถในการจดั การปัญหาของ
ตนเองได้ในระดับหนึ่ง ด้วยการมีผู้นำที่มีความสามารถ มีการเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง บนพื้นฐาน
วัฒนธรรม ความเชื่อ คุณค่าดั้งเดิม ศาสนา และเศรษฐกิจชุมชนที่พึ่งพาเอื้อเฟื้อกันและกั น โดยแต่ละ
ชุมชนได้ใช้ศักยภาพของตนเองเข้าคลี่คลายและจัดการปัญหาได้ด้วยตนเองภายใต้ความร่วมมือและ
สนบั สนนุ จากองค์กรภายนอก
บญุ กริ ิยาวัตถุ หมายถงึ ที่ตัง้ แหง่ การทำบุญ หรอื หลักการทำความดี หมายถึง วิธีการสร้างกุศลท่ี
ถูกต้อง มี 3 ประการได้แก่
1. ทาน หมายถึง ทำบุญด้วยการให้ (ทานมัย) คือการแบ่งปันสิ่งของ แก่คนอื่น ด้วย
ความเตม็ ใจ เป็นการเสยี สละ
2. ศีล หมายถงึ ทำบุญด้วยการรกั ษาศลี (สีลมัย) เป็นการสำรวมกายและวาจา โดยออ่ น
น้อมถ่อมตน มวี าจาสุภาพ
3. ภาวนา หมายถึง ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา (ภาวนามัย) คือ การฝึกอบรมจิตให้
สงบและเกดิ ปัญญา ไม่ถกู โมหะครอบงำ คิดแต่เรอื่ งดที ่ีเป็นกศุ ล เป็นการสำรวมจติ ใจ เพ่อื กำจดั กิเลส
สรุป การแบ่งปันสิ่งของแก่ผู้อื่น เป็นการลดกิเลสความเห็นแก่ตัว ตามด้วยการสำรวมกายและ
วาจาเป็นการกำจัดกิเลสอย่างหยาบ ไหลเรื่อยไปถึงการสำรวมจิตใจ ซึ่งเป็นกำจัดกิเลสอย่างละเอียดใน
ทสี่ ุด
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามหลักบุญกิริยาวัตถุ หมายถึง ชุมชนที่มีขีด
ความสามารถในการจัดการปัญหาของตนเองได้ในระดับหนึ่ง ด้วยการนำหลักการพุทธศาสนามา
ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีการเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง บนพื้นฐานวัฒนธรรม ความเชื่อ คุณค่า
ดั้งเดิม ศาสนา และเศรษฐกิจชุมชนที่พึ่งพาเอื้อเฟื้อกันและกัน โดยชุมชนได้ใช้ศักยภาพของตนเองเข้า
คลี่คลายและจดั การปญั หาไดด้ ว้ ยตนเองภายใต้ความร่วมมือของคนในชุมชน
คู่มือการเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ หมายถึง คู่มือ
การสร้างความเขม้ แขง็ ของชุมชนดว้ ยหลักบญุ กริ ิยาวัตถุ 3 ประการ คือ ด้วยการใหท้ าน ด้วยการรักษาศีล
ด้วยการเจริญภาวนา ทั้ง 3 ประการถ้าศึกษาอย่างเข้าใจ เข้าถึง และน้อมนำไปพัฒนาให้เกิดในตนก็
ยอ่ มจะสามารถนำไปสกู่ ารพฒั นาทยี่ ่งั ยืนได้

17

บทท่ี 2 ตัวอย่างเนือ้ เรื่องบทท่ี

แนวคดิ ทฤษฎีและผลงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง (ตวั อย่าง) 2

การศึกษาวิจัยเรื่อง “การเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ
อำเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่” ในครงั้ นี้ ผู้วจิ ยั ได้ศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงมี
สารสำคัญท่ีจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพิจารณาจัดทำกรอบแนวคิดในการวจิ ยั ครั้งนี้ ดังน้ี

2.1 แนวคิดการเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็
2.2 แนวคิดการสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน
2.3 แนวคดิ เกีย่ วกับหลกั บุญกริ ิยาวัตถุในพระพุทธศาสนา
2.4 แนวคิดการเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของชมุ ชนตามหลกั บญุ กิริยาวัตถุ
2.5 ลักษณะชุมชนบา้ นแสนคำ
2.6 งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง
2.7 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั

2.1 แนวคิดการเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็ง

จากการศึกษาความหมายของการเสริมสร้างความเข้มแข็งของคุณธรรม จริยธรรม ได้มี
นักวิชาการหลายๆ ทา่ นให้ความหมายไว้ดงั นี้

ประเวศ วะสี (2550, หน้า 3-5) กล่าวถึงระบบการศึกษา ที่คุณธรรมนำความรู้ว่าอุปสรรคของ
การพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมก็คือระบบการศึกษาที่เอาวิชาเป็นตวั ตัง้ เน้นว่าเรียนวชิ าอะไรได้ใช้ตำราอะไร
สอบวิชาอะไรและสำเร็จวิชาอะไรเรื่องนี้ท่านเจ้าคุณพรหมคุณาภรณ์พูดมา 20-30 ปีว่าเป็นการแยกส่วน
ส่วนการศกึ ษาจากชวี ิตเด็กไม่อยากคุยกับพ่อแม่ปยู่ า่ ตายายมีความรู้ในตัวมาน่าจะเรียนรู้ วิจิตร ศรีสะอ้าน
กล่าวว่า หากนำจริยธรรมไปทำเป็นวิชาจริยธรรมก็จะไม่เกิดเพราะ จริยธรรมไม่ใช่วิชา ท่านอาจารย์พุทธ
ทาสจะย้ำว่าการเรยี นรทู้ ี่สำคัญทส่ี ุด คอื การปฏบิ ัตแิ ละไดผ้ ลจากการปฏิบตั ิทเี่ รยี กวา่ ปฏเิ วธคอื ผลจากการ
ปฏิบัติ (ตัวอย่างการอา้ งอิงแบบAPA)

18

ตัวอยา่ งเนือ้ เรื่องบทที่ 3

บทท่ี 3
วิธดี ำเนินการวิจัย

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Quality Research) เกี่ยวกับการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ตามหลักบญุ กริ ิยาวตั ถุของชมุ ชนบ้านแสนคำ อำเภอแม่วาง จงั หวัดเชยี งใหม่ และความรูใ้ นหลักธรรมของ
พุทธศาสนา สังคมศาสตร์ และวัฒนธรรมศาสตร์ เพื่อนำเสนอการพรรณนาเชิงวิเคราะห์ (Descriptive
Analysis) โดยใช้หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรจ์ ากแหล่งข้อมูลเปา้ หมายอนั มกี ระบวนการเพื่อการวจิ ยั ดงั น้ี

3.1 การเลอื กพื้นท่ี
3.2 การสำรวจพื้นที่ก่อนลงภาคสนาม
3.3 การวางแผนก่อนปฏบิ ตั ิงานภาคสนาม
3.4 ประชากรและการเลือกตัวอยา่ ง (Key Informants)
3.5 ข้อมูลที่ใช้ในการวจิ ัย
3.6 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจัย
3.7 การสรา้ งและตรวจคุณภาพเคร่ืองมือวจิ ัย
3.8 เทคนคิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลภาคสนาม
3.9 การตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู
3.10 การวิเคราะหข์ ้อมูล
3.11 การเขยี นรายงานการวิจัย

3.1 การเลือกพ้ืนท่ี

คณะผู้วิจัยมีหลักเกณฑ์ในการเลือกพื้นที่วิจัย ดังนี้ คือ เป็นแหล่งชุมชนที่มีการเสริมสร้างความ
เข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุ โดยการนำหลักคำสอนทางพุทธศาสนาไปประยุกต์ในชุมชน และมีการ
พฒั นาชมุ ชนให้เขม้ แขง็ ด้วยหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา

3.2 การสำรวจพืน้ ท่กี อ่ นลงภาคสนาม

ปี พ.ศ. 2300 ตั้งหมู่บ้านแสนคำ และได้จัดตั้งวัดมะกับตองหลวง พ.ศ. 2420 ได้ตั้งวัดศรีแดน
เมือง แม่อุ้ยสา แสนเทพ ปัจจุบันอายุ 86 ปี บอกว่าตอนเริ่มเป็นสาวคุณปู่เล่าให้ฟังว่า ปู่ของท่านเกิดท่ี
บ้านแสนคำ มีวัดรา้ งอยู่ด้านทิศเหนือของหม่บู ้าน ตอนนน้ั มเี นนิ ซากของก้อนอิฐขนาดใหญ่อยู่เป็นจำนวน
มากบริเวณเขตติดต่อกับบ้านกลางดง พ.ศ.2480 – 2487 นายศรีวิชัย หล้าหน้อย ได้ดำเนินร่วมกันจัดต้ัง
โรงเรยี นสวุ รรณราษฎรน์ สุ สรณ์ เปิดสอน ชน้ั ป. 1 – 4 และดำเนินการขุดถนนหนทางพฒั นาหมูบ่ ้าน

19

เดมิ บา้ นแสนคำตัง้ อยหู่ ม่ทู ่ี 4 ตำบลทงุ่ ปี๊ รวมกับบ้านกลาง บ้านดงเมื่อปี พ.ศ. 2530 ไดแ้ ยกมาต้ัง
เป็นหมู่ 10 โดยนายญาณวิทย์ คำมูล เป็นผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งหมู่บ้านอยู่ไกลจากวัดมะกับตองหลวงและ
โรงเรียน เป็นระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร ในหมู่บ้านมีครอบครัวจำนวน 111 ครอบครัวการทำบุญใน
วันพระผู้คนในหมู่บ้านจะไปทำบุญตามวัดต่าง ๆ ซึ่งปู่ ย่าเป็นศรัทธาสืบทอดตามกันมาเป็นเวลานานแลว้
ซ่งึ จะมีวดั อยู่ 4 แหง่

1. วดั มะกับตองหลวง ตั้งอยู่บ้านทุ่งป่าคาเหนือ หมู่ท่ี11 ต.ทุ่งปี๊อ.แมว่ าง จ.เชยี งใหม่
2. วัดศรีแดนเมอื ง ต้ังอยบู่ ้านแมอ่ าว หมู่ท่ี 6 ต. ยางคราม อ.ดอยหล่อ จ.เชยี งใหม่
3. ส านักสงฆม์ อ่ นปู่ อิน่ ต้ังอยูบ่ า้ นโรงวัว หมูท่ ี่ 6 ต. ยางคราม อ.ดอยหล่อ จ.เชยี งใหม่
4. วัดบ้านถ้ำ ตงั้ อยูบ่ ้านหว้ ยน้ำขาว หมู่ท่ี 1 ต. ยางคราม อ.ดอยหลอ่ จ.เชยี งใหม่
เมอ่ื ปี พ.ศ. 2551 หมูบ่ ้านไดร้ ับงบประมาณจากองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลท่งุ ปี๊ สรา้ งศาลาหมูบ่ า้ น
เพื่อใช้เป็นที่ทำกิจกรรมต่างๆ ในหมู่บ้าน เช่น การประชุมชาวบ้าน การอบรม หรือการทำกิจกรรมทาง
ประเพณี ทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ในช่วงเทศกาลต่างๆ และในเดือนมิถุนายน 2551 ได้มีการต่อเติมศาลาให้
ใหญ่ขึ้น ทางคณะกรรมการหมู่บ้านได้ขอเงินบริจาคจากชุมชนในหมู่บ้านหลังคาเรือนละ 50 บาท เงินที่
ได้รับบริจาคเป็นจำนวนเงินท้ังสิ้น 27,703 บาท (สองหมื่นเจ็ดพันเจ็ดร้อยสามบาท) และมีผู้บริจาคที่ดิน
สองราย คอื 1. นายอินสอน ไชยนอ้ ย 2.นายประสิทธ์ิ บุญมี
วนั ที่ 8 มกราคม 2553 นายญาณวิชย์ คำมลู กำนันตำบลทุง่ ป๊ี ไดป้ ระชุมภายในหมบู่ ้าน ซึ่งมีผู้นำ
ในครอบครัวหลังคาเรือนละ 1 คน เข้าร่วมประชุม กำนันได้เสนอการก่อสร้างอารามขึ้นในหมู่บ้านหรือ
สำนกั สงฆ์ โดยการนำศาลาท่ีได้สร้างไว้มาเปน็ สำนักสงฆ์ ทป่ี ระชมุ มมี ติเหน็ รว่ มกนั ใหด้ ำเนินการ
กอ่ สร้าง โดยมผี นู้ ำคณะกรรมการหมบู่ า้ น ผสู้ งู อายุ กลมุ่ แมบ่ ้าน กลุ่มพอ่ บา้ น กลมุ่ หนุ่มสาว วันท่ี
9 มกราคม 2553 เริ่มก่อสร้างแท่นพระประธาน โดยมีนายธีรยุทธ บุญแผ่ผล รับเป็นเจ้าภาพนำองค์พระ
ประธานมาจำไวท้ ศี่ าลา และได้มีการแต่งตง้ั กรรมการดแู ลทางการเงนิ ข้ึนมา 3 คน
คือ 1.นายดวงจันทร์ ปันทิพย์ 2. นายบุญทา แปงสม 3. นายสว่าง กิติมูล วันที่ 11 มกราคม
2553 ได้ประชุมเรื่องขอซื้อที่ดินเพิ่ม จากนางทองศรี นวลสุภา และนายญาณวิชย์ คำมูล ที่ประชุม
เหน็ ชอบและมีผู้บริจาคที่ดินทำเป็นถนนทางเข้าด้านหนา้ เพื่อเป็นทางเข้าออกของผู้คนใน ชุมชนเพื่อไปทำ
กิจกรรมที่อารามหรอื สำนักสงฆ์ คอื นางวรรณเยน็ คำมูล,นายผดั ใจเขียว,นางยวงแก้ว คำมูล
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2553 ได้สร้างกุฏิขึ้นมาอีก 1 หลัง โดยชาวบ้านพร้อมกำนันได้ไปขอไม้ที่จม
อยู่ในลำน้ำแม่วาง เพื่อมาสร้างกุฏิ และได้ทำหนังสือไปขอทางเจ้าคณะอำเภอแม่วาง ให้สรรหาพระมาจำ
อยทู่ ่พี กั สงฆ์บ้านแสนคำ ได้ท่านพระอาจารย์นพพร ถิรธมฺโม (ทา่ นคม) จากวัดรงั ษีสุทธาราม (บ้านเหลา่ ปา่
ฝาง) วันที่ 4-10 มกราคม 2554 ได้ดำเนินการจัดพิธีกรรมทางศาสนาขึ้น โดยการเข้าทำบุญปฏิบัติธรรม
“เขา้ รกุ ขมลู กรรม” ข้นึ

3.3 การวางแผนก่อนปฏบิ ัตงิ านภาคสนาม

20

คณะผูว้ จิ ยั ได้ประชมุ วางแผนปฏบิ ตั งิ านภาคสนามโดยมอบหมายภาระงานการวิจัยใหก้ ับสมาชิก
ตามหัวข้อทกี่ ำหนด และระยะเวลาทำการวจิ ัย
(1) ใชเ้ วลา 119 วนั ระหวา่ งเดอื น 29 มิถุนายน – 24 ตุลาคม 2561

3.4 ประชากรและการเลือกตัวอย่าง (Key Informants)

- ประชากรท่ศี ึกษาไดแ้ ก่ประชาชนในชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอแม่วาง จังหวดั เชยี งใหม่ ประมาณ
100 ครัวเรอื น

- การเลือกกลมุ่ ตัวอย่างไดแ้ ก่ประชาชนผ้ใู ช้ขอ้ มูลสำคัญ (Key - Informant) ใช้แบบเจาะจง
(Purposive Sampling) และมีคณุ สมบตั ิ ดังตอ่ ไปน้ี รวมจำนวน 25 คน

1. ประกอบดว้ ยผ้ใู หญบ่ ้านและผู้มีส่วนเก่ยี วข้อง จำนวน 3 คน
2. ประธานสงฆ์หมูบ่ า้ นแสนคำ จำนวน 1 รูป
3. ปราชญช์ าวบ้าน จำนวน 1 คน
4. ชาวบ้านแบง่ เปน็ ชาย 10 คน หญงิ 10 คน

3.5 ข้อมลู ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย

1.ข้อมลู ปฐมภมู ิ (Primary data) ประวัติชมุ ชนและประชาชนในชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอแม่วาง
จังหวดั เชยี งใหม่ เอกสารข้อมลู พน้ื ฐานของจงั หวดั เชยี งใหม่

2.ขอ้ มูลทตุ ิยภูมิ (Secondary data) โจทย์สัมภาษณก์ ลุม่ ตวั อยา่ ง และการสังเกตสภาพแวดลอ้ ม

3.6 เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบบันทึกการเก็บข้อมูลภาคสนามที่คณะผู้วิจัยจัดทำข้ึน
ได้แก่

1. บนั ทึกข้อมูลการเดนิ ทาง
2. แบบสำรวจสภาพพืน้ ท่เี บอื้ งตน้
3. แบบสนทนากลุ่ม (ย่อยและกลมุ่ ใหญ่)
4. แบบสงั เกตการณแ์ บบมีส่วนร่วม
5. แบบบันทึก (จากการสงั เกตหรอื สัมภาษณ์อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ)
6. แบบศึกษาประวตั ชิ ีวติ
7. อปุ กรณอ์ น่ื ๆ ท่ชี ่วยในการเก็บรวบรวมข้อมลู ไดแ้ ก่ ปากกา กระดาษ เครอ่ื งบันทกึ เสยี ง กลอ้ ง
ถ่าย ภาพน่งิ และภาพเครื่องไหว

3.7 การสรา้ งและตรวจคุณภาพเคร่ืองมือวจิ ัย

21

เมอื่ คณะผวู้ จิ ยั ไดด้ ำเนินการจัดทำเคร่ืองมือเสร็จแลว้ ได้นำไปให้ผูเ้ ชีย่ วชาญตรวจสอบด้านเนอ้ื หา
(Content Validity) ได้แก่

1. บันทึกข้อมูลการเดนิ ทาง
2. แบบสำรวจสภาพพนื้ ท่เี บื้องต้น
3. แบบสนทนากล่มุ (ย่อยและกลมุ่ ใหญ่)
4. แบบสังเกตการณ์แบบมีสว่ นร่วม
5. แบบบนั ทึก (จากการสงั เกตหรอื สัมภาษณ์อย่างไมเ่ ป็นทางการ)
6. แบบศกึ ษาประวตั ิชวี ิต
7. อปุ กรณ์อนื่ ๆ ทชี่ ว่ ยในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้แก่ ปากกา กระดาษ เครอื่ งบนั ทกึ เสียง กล้อง
ถา่ ย ภาพนงิ่ และภาพเคร่ืองไหว

3.8 เทคนิคการเก็บรวบรวมขอ้ มูลภาคสนาม

เม่ือได้สร้างและตรวจสอบเคร่ืองมือดงั กลา่ วเสรจ็ แล้ว คณะผู้วจิ ัยได้ดำเนนิ การเกบ็ ข้อมูลดงั นี้
1. เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารท่ีเกี่ยวข้องทุกชนดิ
2. เกบ็ ข้อมลู จากเครื่องมอื วิจัยโดยผูว้ ิจัยเป็นผกู้ ำหนดการวจิ ัยด้วยวธิ ีการต่อไปนี้

2.1 การสังเกตอย่างไม่มีสว่ นร่วมได้มอบหมายให้ผู้วิจัยเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากพฤติกรรม
ของผเู้ กี่ยวข้อง

2.2 การสัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ ได้มอบหมายใหผ้ วู้ จิ ัยเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากผูใ้ ห้ข้อมูลหลกั
ผู้วจิ ยั 1 คนตอ่ ผ้ใู หข้ อ้ มลู 3 คน

2.3 ได้จัดเวทีเพื่อสนทนากลุ่ม (Focus group) จำนวน 20 รูป/คน ประกอบด้วย คณะ
ทีมวิจัย 7 รูป/คน และกลุ่มตัวอย่าง 10 คน รวม 20 คน ณ สถานที่ชุมชนบ้านแสนคำ ตำบลทุ่งปี้ อำเภอ
แมว่ าง จังหวัดเชียงใหม่ เวลา 08.30 – 16.10 น.พรอ้ มท้งั มอบผู้ดำเนินการดงั น้ี

2.3.1 ผู้ดำเนนิ การ 1 คน
2.3.2 ผู้ยื่นคำถาม 2 คน
2.3.3 ผบู้ นั ทึกภาพ 1 คน
2.3.4 ผจู้ ดบันทกึ ข้อมูล 2 คน
2.3.5 ผู้อำนวยความสะดวก (บรกิ ารทัว่ ไป) 1 คน
ในการสนทนากลุม่ น้ันไดจ้ ัดเปน็ รปู แบบตัว ยู ไดก้ ำหนดผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญนงั่ เรียงลำดับกนั ไป ส่วน
อีกด้านหนึ่งเป็นคณะผู้วิจัย และคณะผู้วิจัยได้สร้างความคุ้นเคยโดยการแนะนำตัวให้ผู้เข้าสนทนากลุ่ม
ทราบเป็นรายบุคคล และขอให้ผู้ให้ข้อมูลสำคัญแนะนำตัวเป็นรายบุคคลเพื่อสร้างความคุ้นเคยก่อน
สนทนากลมุ่ ตามลำดับหัวขอ้ ทีก่ ำหนดไว้

22

3.9 การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูล

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ เมื่อได้เก็บข้อมูลทั้งหมดแล้ว คณะผู้ วิจัย
ได้ตรวจสอบคุณภาพข้อมูลเพื่อสร้างความเชื่อมั่น (Reliability) ดังนี้ คือ วิธี Data Triangulations
method วธิ ี Investigations method และวธิ ี Theory method

1. การตรวจสอบความแบบสามเสา้ จากการสัมภาษณ์
1.1 ไดแ้ กผ่ ้ใู ห้ขอ้ มลู (ชาย –หญิง สดั สว่ นผู้วจิ ยั 1 : 3 คน จำนวน ผ้วู จิ ยั 7 ทา่ น รวม

ผู้ให้ขอ้ มลู ทั้งสิ้น 25 รปู /คน) ตอบข้อคำถามในลกั ษณะคล้ายกันหรือตรงกัน
1.2 ขอ้ คำถามจะถามเวลาใด ข้อมูลจากท่ีได้ ก็ถูกต้องตรงกัน
1.3 ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากสถานท่ีใดก็ได้ข้อมลู ท่ีถูกตอ้ งตรงกัน หากขอ้ มูลในส่วนใดยงั ไม่ตรงกัน

ผู้วจิ ัยตอ้ งค้นหาข้อมลู เพมิ่ เติมเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องตรงกันเพ่ิมเตมิ
2. การตรวจสอบความแบบสามเส้าจากการสงั เกตอย่างไม่มสี ว่ นรว่ ม
2.1 ได้แกผ่ ู้ให้ขอ้ มลู พฤติกรรมของชาย –หญิง ที่อาศยั อยู่ในพื้นทเ่ี ปา้ หมายการวจิ ัย

จำนวน 12 คน ได้ข้อมูลในลักษณะทีส่ อดคลอ้ งคลา้ ยกันหรือตรงกนั
2.2 ขอ้ สังเกตจะสังเกตเวลาใด ขอ้ มูลจากทีไ่ ด้ กถ็ ูกต้องตรงกนั
2.3 ข้อมูลที่ไดจ้ ากสถานท่ีใดกไ็ ด้ขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งตรงกนั หากขอ้ มูลในส่วนใดยังไมต่ รงกัน

ผวู้ จิ ยั ต้องคน้ หาข้อมูลเพ่ิมเติมเพื่อให้ได้ขอ้ มลู ที่ถูกต้องตรงกนั เพ่มิ เติม
3. การตรวจสอบความแบบสามเส้าจากการศกึ ษาเอกสาร
3.1 ข้อมูลจากเอกสารอย่างน้อยจาก 3 ฉบับ เช่น ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่และ

ขอ้ มูลแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว
3.2 ข้อมูลจากเอกสารฉบับใดก็ถูกต้องตรงกัน หากข้อมูลในส่วนใดยังไม่ตรงกัน ผู้วิจัย

ต้องค้นหาข้อมลู เพมิ่ เติมเพื่อให้ไดข้ ้อมูลที่ถูกต้องตรงกนั เพิ่มเติมวิธี Investigations method ผู้เก็บข้อมูล
ทำการเก็บข้อมูลโดยไมม่ ีอคติ วิธี Theory method การเก็บข้อมูลทฤษฎที ีก่ ำหนดยืนยันความถูกต้องไม่
คลาดเคลือ่ น

3.10 การวเิ คราะห์ข้อมลู

1. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลแบบอุปนัย (Analytic Induction) คอื การนำข้อมลู แต่ละด้านมาสงั เคราะห์
เปน็ องคค์ วามรู้ใหม่

2. การวิเคราะหโ์ ดยจำแนกชนดิ ข้อมูล (Typological Analysis) เปน็ การวิเคราะหต์ วั แปรที่มีกี่ตัว
แปรก็วิเคราะห์ตามนน้ั คือ

2.1 การกระทำ (Acts) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคลเพื่อ
สงั เคราะหข์ อ้ มลู ให้ได้ตรงกัน

2.2 กิจกรรมคล้ายกนั โดยการสนทนากลุ่ม

23

2.3 การหาความหมายของข้อมูลเชิงลึก จากการศึกษาชีวิประวัติบุคคลสำคัญในพื้นที่
การศึกษาสภาพแวดลอ้ มท่ัวไป

2.4 การมีส่วนร่วมของคณะวิจัยในการเก็บข้อมูลตามภาระงานที่ได้รับมอบหมายในแต่
ละหัวข้อ เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสังเกตสภาพพื้นที่ทั่วไป การ
สัมภาษณ์ชีวประวัติบุคคลสำคัญ การศึกษาเอกสารแล้วนำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหานำมาเขียนร่วมรายงาน
ร่วมกันเพือ่ ใหเ้ ห็นว่าขอ้ มลู ทไี่ ด้มาน้ันเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั หรอื ไม่

3. การเปรียบเทียบข้อมูลโดยการนำข้อมูลเช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก การสงั เกตแบบไม่มีส่วนร่วม
การสงั เกตสภาพพื้นท่ีท่ัวไป การสมั ภาษณ์ชีวประวตั ิบุคคลสำคัญ การศึกษาเอกสาร มาเปรยี บเทียบข้อมูล
ให้มีความสอดคล้องตรงกัน

4. เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาโดยการนำข้อมูลจาก 25 ชุดมาเขียนเรียงกันว่าคนที่ 1-25
ว่าให้ข้อสัมภาษณ์การสังเกตและการศึกษาเอกสารว่าอย่างไรและนำมาเปรียบเทียบว่าเหมือนกันหรือ
แตกตา่ งกันอย่างไร และคณะผู้วจิ ัยนำมาสรุปประเด็นให้สอดคลอ้ งตรงกัน

3.11 การเขียนรายงานการวจิ ัย

คณะผ้วู จิ ัยได้ทำการสำรวจพ้ืนทีแ่ ละศึกษาขอ้ มลู ต่างๆ จากนน้ั ได้ทำเครื่องมือในการวจิ ัย เปน็
แบบสมั ภาษณ์ท้งั รายบคุ คล รายกล่มุ และแบบสังเกตสง่ิ แวดลอ้ มจากน้ันไดม้ อบหมายให้คณะทำงานได้ไป
ดำเนนิ การเมื่อเสร็จแลว้ จะได้นำเสนอผลงานวจิ ยั ในรูปแบบการบรรยายเชิงวเิ คราะห์ รวม 5 บท พรอ้ ม
รูปภาพประกอบการศึกษาวจิ ัย การสรา้ งคมู่ ือการใชห้ ลักการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบญุ กิริยา
วตั ถุของชมุ ชน คณะผู้วจิ ัยได้นำผลการวจิ ยั มาจัดทำเป็นคู่มือ เพื่อนำมาใชใ้ นการเผยแพร่ท่งี ่ายตอ่ ความ
เข้าใจและสามารถนำไปขยายผลในชมุ ชนอืน่ ๆได้ ซง่ึ ประกอบด้วยหวั ข้อตา่ งๆดังน้ี

1. เหตผุ ลและความจำเป็น
2. วัตถปุ ระสงค์
3. การใชห้ ลักวิรยิ ะและอหงิ สา
4. การจัดกิจกรรม
5. หลักการและวธิ กี ารในการฝกึ อบรม
6. การประเมนิ ผล
อน่ื ๆ

24

บทที่ 4 ตวั อย่างเนื้อเร่ืองบทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู

ในการวิจยั เรอ่ื งน้ี คณะผวู้ จิ ยั ได้ศึกษาเฉพาะ เรอ่ื ง การเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ตามหลักบุญกิริยา
วตั ถุของชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชยี งใหม่ โดยการเกบ็ ขอ้ มูลภาคสนามดว้ ยการสัมภาษณ์
เชงิ ลึก (In-depth Interview) จากชาวบา้ นในชมุ บา้ นแสนคำจำนวน 25 คน และการสนทนากลมุ่ (Focus
Group) จำนวน 5 คน มีคณะผู้วิจัย ผู้ให้ข้อมูล 5 คน เพื่อสอบถามถึงสภาพสิ่งแวดล้อมของชุมชนบ้าน
แสนคำ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ และนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์เชงิ เนื้อหา (Content Analysis)
เพือ่ ตอบวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ซ่งึ ผลการวิเคราะห์เนอื้ หาแบง่ ออกเปน็ ๓ สว่ นดว้ ยกันตามวตั ถปุ ระสงค์
การวิจัย ดังน้ี

ส่วนที่ 1 ศึกษาการเสริมสร้างความเขม้ แข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอ
แม่วาง จงั หวดั เชียงใหม่

สว่ นท่ี 2 วเิ คราะห์และสงั เคราะหว์ ธิ กี ารเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกริ ิยาวตั ถุของชุมชน
บา้ นแสนคำ

ส่วนที่ 3 เพื่อจัดทำคู่มือการเสริมสร้างความเขม้ แข็งตามหลกั บุญกิริยาวัตถุของชมุ ชนบา้ นแสนคำ

25

บทที่ 5 ตวั อย่างเน้อื เรื่องบทที่ 5

สรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

การวจิ ัยเรอ่ื ง การเสริมสร้างความเข้มแขง็ ตามหลกั บุญกิรยิ าวัตถุของชมุ ชนบ้านแสนคำอำเภอแม่
วาง จงั หวัดเชียงใหม่มโี จทยว์ ิจยั คือ 1. ทา่ นคดิ วา่ หลักบุญกิริยาวัตถุ คือ การใหท้ าน ศีล ภาวนามีคุณค่าและ
มปี ระโยชนอ์ ย่างไรบ้าง 2. การดำเนินกิจกรรมเพอื่ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ตามหลกั บญุ กริ ิยาวตั ถุของชุมชน
บ้านแสนคำ ในตำบลนี้เป็นอยา่ งไรบ้างแต่ละดา้ นทำอย่างไร 3. ชุมชนท่ีน้ีมวี ัฒนธรรมประเพณีมีอะไรบ้าง
เพอ่ื เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ตามหลักบุญกริ ิยาวัตถุ คือ ทาน ศลี ภาวนา แตล่ ะเรือ่ งมีอะไรบ้าง ทำอย่างไร
4. วัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชุมชนมีสิ่งสนับสนุนอะไรบ้าง ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุ คือ ทาน ศีล ภาวนา 5. ท่านใช้หลักธรรม
อะไรบ้างในการดำเนินชีวิต มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1. เพื่อศึกษาการเสริมสรา้ งความเข้มแข็งตาม
หลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์
วิธีการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ 3. เพื่อจัดทำคู่มือการ
เสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการเก็บข้อมูลภาคสนามเริ่มจากการเลือกพื้นที่ในการวิจัย การสำรวจพื้นที่ก่อนลงภาคสนามและการ
วางแผนกอ่ นการปฏิบัติงาน การเลอื กกลุ่มศึกษาผ้ใู หข้ ้อมูลสำคญั / และเทคนิคการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ซ่ึง
พนื้ ทีใ่ นการวจิ ัยคือ ชมุ ชนบา้ นแสนคำ เครือ่ งมือวิจัยในการรวบรวมข้อมูลภาคสนามได้แก่ แบบสัมภาษณ์
เชิงลึกเป็นรายบุคคล (In-depth interview) แบบสัมภาษณ์เชิงลึกรายกลุ่ม (Focus group interview)
แบบสังเกตสภาพแวดล้อม (observation) แบบสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant
observation) และแบบศึกษาประวัติชีวิต (Life History) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) มี
การตรวจสอบความถูกต้องด้วยวิธี (Triangulation Method) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความหมาย
ตามเนื้อความหลัก (Content Analysis) ในภาพรวมและทำการสังเคราะห์ (Synthesis) ลงในประเด็นท่ี
สำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอด้วยวิธีพรรณนาโดยสรุปประเด็นได้ดังต่อไปน้ี ในภาพรวมและทำ
การสงั เคราะห์

5.1 สรุปผลการวิจัย

26

จากการที่คณะผู้วิจัยทั้งหมด ได้ทำการแบ่งกลุ่มการสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลและการสนทนา
กลุ่มของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ตามแบบเครื่องมือการสัมภาษณ์ พร้อมทั้งอาศัยข้อมูลจากเอกสารทั้งของ
ราชการและเอกชน มาประกอบ การวิเคราะห์และเรียบเรียง รวบรวมเพื่อสนับสนุนในการตอบโจทย์วิจยั
และวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มปรากฏ
ดังต่อไปน้ี

ส่วนที่ 1 ศึกษาการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสนคำ
อำเภอแมว่ าง จังหวดั เชยี งใหม่

สรปุ เป็นข้อคน้ พบ (Fact finding) ได้ว่า เดมิ บ้านแสนคำตั้งอยู่หมู่ท่ี 4 ตำบลทงุ่ ป๊ี รวมกับบ้านกลาง
บ้านดงเมื่อปี พ.ศ. 2530 ได้แยกมาตั้งเป็นหมู่ 10 โดยนายญาณวิทย์ คำมูล เป็นผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งหมู่บ้านอยู่ไกล
จากวัดมะกับตองหลวงและโรงเรียน เป็นระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร ในหมู่บ้านมีครอบครัวจำนวน 111
ครอบครัวการทำบุญในวันพระผู้คนในหมบู่ ้านจะไปทำบุญตามวัดต่าง ๆ ซ่งึ ปู่ ยา่ เปน็ ศรัทธาสืบทอดตามกันมา
เป็นเวลานานแล้ว และในปัจจุบันหมู่บ้านแสนคำได้ดำเนินการจัดสร้างวัดเป็นของชุมชนตนเอง เรียกว่าที่พัก
สงฆ์หรือสำนักสงฆ์แสนคำ โดยชาวบ้านพร้อมกำนนั ได้ไปขอไม้ที่จม อยใู่ นลำน้ำแม่วาง เพอ่ื มาสร้างกุฏิ และได้
ทำหนังสือไปขอทางเจ้าคณะอำเภอแมว่ าง ให้สรรหาพระมาจำอยู่ที่พักสงฆ์บ้านแสนคำ ได้ทา่ นพระอาจารย์นพ
พร ถิรธมฺโม (ท่านคม) จากวัดรังษีสุทธาราม (บ้านเหล่าป่าฝาง) วันที่ 4-10 มกราคม 2554 ได้ดำเนินการจัด
พิธีกรรมทางศาสนาขึ้น โดยการเข้าทำบุญปฏิบัติธรรม “เข้ารุกขมูลกรรม” ขึ้น เป็นประจำเกือบทุกปี สภาพ
ของบ้านแสนคำ โดยรวมเป็นชุมชนเป็นชุมชนเกษตรกรรมชาวบ้านโดยส่วนใหญม่ ีสวนลำไยเป็นของตนเอง อยู่
แบบวิถีพอเพียง เป็นหมู่บ้านที่น้อมนำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต บ้านกับ
วดั มคี วามเช่ือมโยงกันและกันอย่างดี รอบๆ หมบู่ ้านเป็นทุ่งนา และสวนลำไยโดยส่วนใหญ่ หน้านาชาวบ้านทำ
เป็นบางส่วน หน้าแล้งชาวบ้านปลูกข้าวโพด อาศัยน้ำจากลำน้ำแม่วางที่ไหลผ่านใกล้หมู่บ้าน และลำเหมืองท่ี
แยกมาจากลำน้ำแม่วาง โดยส่วนใหญ่เป็นวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรมเน้นการดำเนินชีวิตแบบพอเพียงเป็นหลัก
สภาพสิ่งแวดล้อม เป็นสถานที่ที่ตั้งของหมู่บ้านตั้งอยู่ในท่ามกลางป่าลำใย แวดล้อมไปด้วยทุ่งนา เป็นหมู่บ้าน
เล็กๆ มีหอเสื้อบ้านเสื้อวัดประจำหมู่บ้านหรือเจ้าที่ ซึ่งในปัจจุบันได้ทำเป็นสำนักสงฆ์หรือที่พักสงฆ์ สภาพ
ความเป็นอยู่ของชุมชนบ้านแสนคำปลูกสวนลำใย ดำรงชีวิตแบบสังคมเกษตรกรรม ไม่เน้นความหวือหวา เน้น
ความเรียบงา่ ย อยกู่ นั แบบพี่น้องรจู้ ักกันหมดทัง้ ชุมชน เพราะมปี ระชากรท้ังหมดประมาณ 90 กวา่ หลังคาเรือน
เท่านั้น มีอาชีพรับจ้างและเป็นเจ้าของสวนลำใย มีวิถีชีวิตใกล้ชัดกับวัดและพระที่อยู่อาศัยภายในวัด ช่วงค่ำ
ชาวบ้านก็จะมาสนทนากับพระสงฆ์ที่อาศัยอยู่ในสำนักสงฆ์แสนคำนั้นเป็นประจำในช่วงเย็นหลังเลิกงานหรือ
ชว่ งเช้าไม่มีอะไรทำก็มานั่งเล่นท่ีศาลาวัดคอยอำนวยความสะดวกให้กับพระสงฆ์ท่ีอาศัยอยูใ่ นทน่ี ้ัน

1. ทา่ นคดิ วา่ หลกั บญุ กิรยิ าวัตถุ คือ การให้ทาน ศีล ภาวนามีคณุ คา่ และมีประโยชนอ์ ยา่ งไรบ้าง
ดังนั้นจึงสรุปเป็นความจริงขั้นพื้นฐาน (Grounded Theory) ได้ว่า ชุมชนได้มองเห็นคุณค่าของ
คำสอนของพระพุทธเจ้าเพราะสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ คำสอนของพระพุทธศาสนามีผลต่อการ
ดำเนินชวี ิต มคี ุณคา่ และเป็นประโยชน์อย่างมาก หลักบุญกริ ิยาวตั ถคุ ือการให้ทาน การรักษาศีล การเจริญ

27

ภาวนา มีคณุ คา่ และประโยชน์ในการดำเนินชีวิต เพราะไดเ้ ชื่อมโยงไปถงึ บุญกริ ิยาวัตถุ 10 ประการ คือ มี
การให้ทาน หรือ ทานมัย อันหมายถึง การให้ การสละ หรือการเผื่อแผ่แบ่งปัน ไม่ว่าจะเป็นเงินทอง ข้าว
ของเครอ่ื งใช้หรอื สงิ่ อ่ืนใด และไมว่ า่ จะใหแ้ กใ่ ครก็ถอื เปน็ บญุ ทงั้ ส้นิ เพราะการใหท้ านเป็นการลดความเห็น
แก่ตัว ความตระหนี่ถี่เหนียว และความคับแคบในจิตใจให้น้อยลง ทำให้เราไม่ยึดติดในวัตถุสิ่งของ อีกท้ัง
สิ่งที่เราบริจาคหรือให้ทานแก่ผู้อื่นก็จะช่วยบรรเทาความเดือดร้อน และเป็นประโยชน์ต่อผู้รับ และสังคม
โดยส่วนรวม

การให้ทานนี้อยู่ที่ไหนๆ ก็ทำได้ และไม่จำเป็นต้องเป็นเงิน เช่น การแบ่งของกินให้กับแม่บ้านที่
ทำงาน หรือยาม เป็นต้น ข้อสำคัญ สิ่งที่บริจาคหรอื ให้ทานแก่ผู้อื่น ควรเป็นสิ่งยงั ใช้ได้ มิใช่เป็นการกำจดั
ของเหลือใช้ที่หมดอายุ หมดคุณภาพให้ผู้อื่น ผลการให้ทานดังกลา่ วจะทำให้ผู้ปฏบิ ัติเกิดความปีตอิ ิ่มเอบิ
ใจ รักษาศีล หรอื สีลมัย คำว่า ศีล หมายถึง ข้อบัญญัติทางพระพทุ ธศาสนา ที่กำหนดการปฏิบัติทางกาย
และวาจา เช่น ศีล 5 ศีล 8 หรืออาจจะหมายถึงการรักษากายวาจาให้เรียบร้อย การรักษาศีล เป็นการ
ฝึกฝนมิให้ไปเบียดเบียนผู้อื่น ในขณะเดียวกันก็เปน็ การลด ละ เลิกความชัว่ มุ่งให้กระทำความดี อันเป็น
การพัฒนาคุณภาพชีวิต มิให้ตกต่ำลง เช่น ไม่ไปเป็นชู้เป็นกิ๊กกับใครที่ทำงาน ทำให้ครอบครัวเขาไม่
แตกแยก เป็นแม่ค้าไม่โกหกหลอกขายของไม่ดีแก่ลูกค้า เป็นพ่อบ้านไม่กินเหล้าเมายา ทำให้ลูกเมียมี
ความสุข เพื่อนบ้านก็สุข เพราะไม่ต้องทนฟังเสียงรบกวน จากการทะเลาะวิวาทกัน เหล่านี้ล้วนเป็นการ
รกั ษาศลี และเปน็ หนึง่ ในการทำบุญอีกรูปแบบหน่ึง ซึง่ ผลบญุ ข้อนีจ้ ะทำใหเ้ รากลายเป็นคนเยือกเย็น สุขุม
ด้วย เจริญภาวนา หรือภาวนามัย เป็นการทำบุญอีกรูปแบบ ที่มุ่งพัฒนาจิตใจและปัญญา ทำให้จิตใจสงบ
เห็นคุณค่าสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง ซึ่งในข้อนี้หลายคนอาจจะทำเป็นประจำอยู่แล้ว เช่น นั่งสมาธิ
วิปสั สนา แต่หลายคนอาจจะคิดว่าเปน็ เร่ืองยากเกินกำลัง ดงั นั้น อาจจะทำง่ายๆ ด้วยวิธีการสวดมนต์เป็น
คาถาสั้นๆ บูชาพระที่เราเคารพบูชาก่อนนอนทุกคืน เช่น คาถาพระพุทธเจ้าชนะมาร คาถาหลวงปู่ทวด
เป็นต้น การสวดมนต์เปน็ ประจำ อย่างน้อยก็เป็นการน้อมนำจิตใจของเรา ไปสู่สิ่งที่เป็นมงคลในชวี ติ เป็น
การเตือนสตใิ ห้เรายึดม่ันในการประพฤติปฏิบัตชิ อบ ตามสงิ่ ศักด์ิสิทธิ์ท่ีเรานบั ถือ และผลบุญข้อนี้จะทำให้
เกิดปญั ญาแกผ่ ้ปู ฏิบตั ิ

การอ่อนน้อมถ่อมตน หรอื อปจายนมัย หลายคนคงคิดไม่ถึงว่า การประพฤตติ นเป็นคนอ่อนน้อม
ถ่อมตน จะถือเป็นบุญอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ ก็เพราะว่าการอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ว่าจะเป็นผู้น้อย ประพฤติต่อ
ผใู้ หญ่ และการท่ผี ู้ใหญ่แสดงตอบด้วยความเมตตา หรือการอ่อนน้อมต่อผู้มีคุณธรรม รวมถึงการให้เกียรติ
ใหค้ วามเคารพต่อความคดิ ความเชื่อ และวิถีปฏบิ ัติของบุคคล หรือสงั คมอื่นท่ีแตกต่างจากเรานั้น เปน็ การ
ลดความยึดมั่นถือมั่นในความเป็นตัวตนของเรา ช่วยให้สังคมทุกระดับเกิดความเข้าใจต่อกัน และช่วยให้
ชาติบ้านเมืองเกิดความสงบสุข จึงถือเป็นบุญอย่างหนึ่ง ผลบุญข้อนี้จะทำให้เกิดความเมตตาต่อกัน การ
ช่วยขวนขวายทำในกิจที่ชอบ หรือไวยาวัจจมัย พูดง่ายๆ ว่า เป็นการให้ความช่วยเหลือแก่สังคมรอบข้าง
ในการทำกิจกรรมความดตี ่างๆ เชน่ ชว่ ยพ่อแมค่ ้าขายไมน่ ิง่ ดดู าย ช่วยสอดส่องดูแลบ้านใหเ้ พ่อื นบ้าน ยาม

28

ที่เขาต้องไปธุระต่างจังหวดั ช่วยงานเพื่อนที่ทำงานให้แล้วเสร็จทันเวลา ให้กำลังใจแก่เพื่อนที่มีความทุกข์
เปน็ ตน้ ส่งิ เหลา่ นถี้ ือเปน็ บญุ อีกแบบหนึ่ง และผลบญุ ในข้อนกี้ ็จะชว่ ยให้เกดิ ความรักความสามัคคีขนึ้

การให้ผู้อื่นมาร่วมทำบุญกับเรา หรือ ปัตติทานมัย กล่าวคือ ไม่ว่าจะทำบุญอะไร ก็เปิดโอกาสให้
คนอื่นได้มาร่วมทำบุญด้วย ไม่ขี้เหนียว หรืองกบุญเพราะอยากได้บุญใหญ่ไว้คนเดียว เช่น จะทำบุญสร้าง
ระฆัง ก็ให้คนอื่นได้ร่วมสร้างด้วย ไม่คิดจะทำเพียงคนเดียว เพราะคิดว่าทำบุญระฆัง จะได้กุศลกลายเป็น
คนเด่นคนดัง เลยอยากดังเดี่ยว ไม่อยากให้ใครมาร่วมด้วย เป็นต้น นอกจากนี้ การเปิดโอกาสให้คนอ่ืน
มาร่วมทำงาน ร่วมแสดงความคิดเห็น รวมไปถึงการทำบุญ อุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลบั ไปแล้ว ก็ถือเป็น
การทำบญุ ในข้อนี้ดว้ ย ผลบุญดังกล่าว จะช่วยใหเ้ ราเป็นคนใจกวา้ ง และปราศจากอคติตา่ งๆ เพราะพร้อม
เปิดใจรับผู้อื่นการอนุโมทนาส่วนบุญ หรือ ปัตตานุโมทนามัย คือ การยอมรับหรือยินดีในการทำความดี
หรือทำบุญของผู้อื่น เมื่อใครไปทำบุญมาก็รู้สึกช่ืนชมยินดีไปด้วย โดยไม่คิดอิจฉาหรือระแวงสงสัยในการ
ทำความดีของผู้อื่น เช่น เพื่อนเดินทางไปสักการะสังเวชนียสถานมา ก็ร่วมอนุโมทนา ที่เขามีโอกาสได้ไป
ทำบุญ ในดินแดนศักดิ์สิทธิ์ ไม่อิจฉาเขา แม้เราไม่ได้ไป ก็อย่าไปคิดอกุศลว่า เขาได้ไปเพราะชู้รักออกเงิน
ให้ เป็นต้น การไม่คิดในแง่ร้าย จะทำให้เรามีจิตใจไม่เศร้าหมอง แต่จะแช่มชื่นอยู่เสมอ เพราะได้ยินดีกับ
กุศลผลบญุ ตา่ งๆ อยู่ตลอดเวลา แมจ้ ะมไิ ดท้ ำเองโดยตรงก็ตาม

การฟังธรรม หรือ ธรรมสวนมัย การฟังธรรม จะทำให้เราได้ฟังเรื่องที่ดี มีประโยชน์ทั้งต่อ
สติปัญญา และการดำเนินชีวิต ซึ่งการฟังธรรมนี้ ไม่จำเป็นต้องไปฟังที่วัด หรือจากพระท่านโดยตรง แต่
อาจจะฟังจากเทป ซีดี หรือเป็นการฟังจากผู้รู้ต่างๆ และธรรมในที่นี้ ก็มิได้หมายถึงแต่เฉพาะหลักธรรม
ในทางศาสนาเทา่ นน้ั แตย่ งั หมายรวมไปถงึ เร่อื งจรงิ เร่ืองดีๆ ที่ทำให้ผฟู้ งั เกดิ ความรแู้ ละปัญญา ผลบญุ ข้อ
นี้จะทำให้ผู้ฟังเกิดการรู้แจ้งเห็นจริงยิ่งขึ้น การแสดงธรรม หรือ ธรรมเทศนามัย คือการให้ธรรมะหรือ
ข้อคิดที่ดีๆ แก่ผู้อื่น ด้วยการนำธรรมะหรอื เรือ่ งดีๆ ที่เป็นประโยชนไ์ ปบอกต่อ หรือให้คำแนะนำให้เขาได้
รู้จักวิธีการดำเนินชีวิตที่ดี เช่น สอนวิธีการทำงานให้ แนะหลักธรรมที่ดีที่เราได้ยินได้ฟังมา และปฏิบัติ
ไดผ้ ลแกเ่ พ่ือนๆ เป็นต้น ผลบุญในขอ้ นี้ นอกจากจะทำให้ผอู้ ืน่ ได้รับรสู้ ิง่ ทเี่ ปน็ ประโยชน์แลว้ ยงั ทำให้ผู้บอก
กลา่ วไดร้ บั การยกยอ่ งสรรเสรญิ อกี ดว้ ย การทำความเห็นใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม หรือ ทิฏฐชุ ุกรรม คือ การไม่
ถือทิฐิ เอาแต่ความคิดเห็นของตนเป็นใหญ่ แต่ให้รู้จักแก้ไข ปรับปรุงพัฒนาความคิดเหน็ และความเข้าใจ
ในเรื่องต่างๆ ให้ถูกต้องตามธรรมอยู่เสมอ หรือจะพูดง่ายๆ ว่า ให้คิดและประพฤติตนให้ถูกต้อง ตาม
ทำนองครองธรรมกไ็ ด้ ซึ่งข้อนีแ้ ม้จะเป็นข้อสดุ ทา้ ยแต่ก็สำคัญยิ่ง เพราะไม่ว่าจะทำบุญใดทัง้ 9 ข้อที่กล่าว
มา หากมไิ ด้ต้ังอยู่ในทำนองครองธรรม การทำบุญนนั้ ก็ไม่บริสุทธ์ิ และให้ผลได้ไม่เต็มที่ ผู้ให้มีความตั้งใจดี
ตงั้ ใจทำ เมอื่ ทำแลว้ กเ็ บกิ บานใจ คิดถึงบุญกศุ ลท่ีได้ทำเมื่อใด จิตใจก็ผอ่ งใสเม่ือนั้น เชน่ นี้ก็จะทำให้ผู้ทำได้
บญุ มาก ถ้าไม่รู้สกึ เชน่ น้นั บุญกล็ ดนอ้ ยถอยลงตามเจตนาเปน็ ตน้ ทำให้จิตใจสบาย ดังน้นั บุญกริ ิยาวัตถุชว่ ย
สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนด้วยการสอนให้รู้จักการใช้ชีวิตอย่างรอบคอบ การใช้ชีวิตอย่างราบรื่น
สนใจแก้ไขตนเองใหด้ ี ในวันพระจะมีการเทศน์ชาวบ้านก็ได้นำเอาธรรมะที่พระท่านเทศน์มาใช้ได้ส่วนหนึ่ง

29

ได้รับความรู้เกยี่ วกับเรื่องศีลตา่ งๆ ธรรมจะทำใหม้ ีจิตใจท่ีผอ่ งใส จติ สบาย กายสบาย ชมุ ชนก็น่าอยู่เพราะ
ไม่อาชญากรรม

2. การดำเนินกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกริ ิยาวตั ถขุ องชุมชนบ้านแสน
คำ ในตำบลน้เี ป็นอย่างไรบา้ งแต่ละดา้ นทำอย่างไร

ดังน้ันจึงสรุปเป็นความจริงขั้นพื้นฐาน (Grounded Theory) ได้ว่า ชุมชนร่วมกลุ่มกันมากข้ึน
โดยจัดกิจกรรมทางศาสนาผสมผสานกบั ประเพณวี ัฒนธรรม เชน่ การถวาย ตงุ ล้านนา จุดประสงค์ของการ
ทำตุงในล้านนาก็คือ การทำถวายเป็นพุทธบูชา ชาวล้านนาถือว่าเป็นการทำบุญอุทิศให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไป
แล้ว หรอื ถวายเพ่ือเปน็ ปัจจยั ส่งกศุ ลใหแ้ กต่ นไปในชาติหน้า ดว้ ยความเชื่อทวี่ า่ เมอ่ื ตายไปแล้วกจ็ ะได้เกาะ
ยึดชายตุงขึ้นสวรรค์พ้นจากขุมนรก ร่วมมือกับบ้านวัด โรงเรียน ชาวบ้านดูแลวัดและพระสงฆ์อย่างดีให้
ความสำคัญ เอาวัดเปน็ ศนู ยร์ วมจิตใจ และทา่ นเจ้าอาวาสจดั กิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาใหส้ อดคล้องกับ
ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อสร้างกิจกรรมทำให้ชุมชนบ้านแสนคำรวมตัวเป็นหนึ่งเดียวมีเป้าหมาย
จุดประสงค์ร่วมกันเป็นการพัฒนาในด้านต่างๆทั้งด้านสังคมศาสนาวัฒนธรรมแล้วก็ชุมชนให้มีความ เป็น
อันหนึ่งอันเดียวกัน มีการดำเนินกิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ทุกวันพระ การดำเนินกิจกรรมก็คือการสวด
มนต์ไหว้พระทำใหช้ มุ ชนน้ันมีความเขม้ แข็ง ได้ใกล้ชิดศาสนามากข้ึน ในทุกวันพระก็จะมีการเทศนาธรรม
ให้ชาวบ้านฟัง ซึ่งโดยลักษณะพื้นนิสัยคนท้องถิ่นทางเหนือชอบฟังธรรมกับพระสงฆ์อยู่แล้ว ดังนั้นการ
ดำเนินกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามหลักธรรมทางพุทธศาสนาหรือหลักบุญ
กิริยาวัตถุ ก็คือเมื่อทุกคนมาวัดแล้วก็จะมีการสอนให้ชุมชนรู้จักแบ่งปันซึ่งกันและกัน ไม่ทำให้คนอ่ืน
เดือดร้อน พระสงฆ์ทำตัวเองเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชาวบ้าน เผยแผ่พระพุทธศาสนาให้กับชาวบ้านโดยให้
ชาวบ้านนั้นยดึ หลกั ศีล 5 ศีล 8 มีการรักษาศีลภาวนาในวันพระโดยการพัฒนาสติหรือหลกั การอานาปาน
สติ ตามแนวสตปิ ัฏฐานสตู ร

3. ชุมชนที่นี้มีวัฒนธรรมประเพณีมีอะไรบ้างเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยา
วตั ถุ คือ ทาน ศีล ภาวนา แตล่ ะเร่ืองมีอะไรบ้าง ทำอยา่ งไร

ดงั นั้นจึงสรปุ เป็นความจรงิ ข้ันพน้ื ฐาน (Grounded Theory) ไดว้ ่า ความเช่อื ใน การปล่อย โคมลอย
ซง่ึ ทำดว้ ยกระดาษทอ้ งถิ่นตดิ บนโครงไม้ไผแ่ ลว้ จดุ ตะเกยี งไฟตรงกลางเพอื่ ให้ไอความร้อนพาโคมลอยข้ึนไป
ในอากาศเปน็ การปล่อยเคราะหป์ ล่อยโศกและเรือ่ งร้ายๆ ต่างๆ ให้ไปพน้ จากตัว เป็นประเพณีของชุมชนที่
สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ มีทั้งการสืบชะตาเมืองสืบชะตาบ้าน และสืบชะตาบุคคลเพื่อความเป็นสิริ
มงคลความเจริญรุ่งเรือง มีการเตรียมเครื่องบูชาเซ่นไหว้ต่างๆ มากมาย เพื่อบูชาพระเสื้อเมืองพระทรง
เมืองส่วนการสืบชะตาบุคคลนั้นมักจะทำเนื่องในวันเกิดงานขึ้นบ้านใหม่ หรือเมื่อเจ็บป่วย เป็นประเพณี
เกา่ แก่มาแตโ่ บราณ ท่ีสำคญั คือประเพณสี งกรานต์ ตรงกบั วนั ที่ 13 เมษายนของทกุ ปชี าวบ้านถือว่าเป็นวัน
ขึ้นปใี หม่ เปล่ียนศกั ราชใหม่ ชาวบ้านเรยี กกนั ว่า “วันสังขารลอ่ ง” หมายถึงว่าอายุสงั ขารของคนเราได้ล่วง
ไปอีกปีหนึ่งนิยมไปจนถึงวันที่ 17 เมษายน ในแต่ละวันจะมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การขนทรายเข้าวัด สรง
น้ำพระพุทธรูปและรดนำ้ ดำหัวผู้ใหญ่ ในภาษาถิ่นล้านนา ตุง หมายถึง “ธง” จุดประสงค์ของการทำตุงใน

30

ล้านนาก็คือ การทำถวายเป็นพุทธบูชา ชาวล้านนาถือว่าเป็นการทำบุญอุทิศให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว หรือ
ถวายเพ่อื เป็นปัจจยั สง่ กศุ ลใหแ้ กต่ นไปในชาตหิ นา้ ด้วยความเชื่อทีว่ ่า เมื่อตายไปแลว้ ก็จะไดเ้ กาะยึดชายตุง
ขึ้นสวรรค์พ้นจากขุมนรก วันที่ถวายตุงนั้นนิยมกระทำในวันพญาวันซึ่งเป็นวันสุดท้ายของเทศกาล
สงกรานต์

4. วฒั นธรรมประเพณีทีส่ ำคัญของชุมชนมสี ่ิงสนับสนนุ อะไรบา้ ง ทที่ ำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง
ทางสงั คมและเพ่อื เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งตามหลักบญุ กิริยาวัตถุ คอื ทาน ศลี ภาวนา

ดังนั้นจึงสรุปเป็นความจริงขั้นพื้นฐาน (Grounded Theory) ได้ว่า เมื่อวัดมีงานได้ออกมา
ช่วยเหลือกันแสดงถึงการมีจิตอาสาต่อชุมชนตนเองกันเกิดจากการอบรมบ่มเพาะจากหลักคำสอนของ
พระพุทธศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชุมชนเช่นการจัดตั้งเป็นกลุ่มแม่บ้านการฟ้อนเล็บ ทำให้
เกิดการเปลย่ี นแปลงทางสังคมโดยเอาหลกั การทางพุทธศาสนาเป็นฐานในการพัฒนาสงั คมชุมชนก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงทางชีวิตของคนในชุมชน การที่ผู้นำทางสงฆ์และชุมชนได้พยายามหลอมรวมเอา
วัฒนธรรมประเพณีทางพุทธกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นผสมผสานกันได้ดีมาก มีกิจกรรมในทางพุทธ
ศาสนามากขึ้นมีการทำบุญและการฟงั ธรรม การสวดมนต์ไหว้พระแลว้ ก็ท่านเจ้าอาวาสหรือผู้นำชุมชนทีน่ ี่
ก็สอนวิธีการเจริญภาวนาด้วย ในวันพระ 8 ค่ำ 15 ค่ำ ที่สำคัญคือเกิดการรวมกลุ่มกันของแม่บ้าน มีการ
ฟ้อนเล็บเกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านกิจกรรมต่างๆ ภายในสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นต่างๆ
ของแต่ละคนเปน็ ต้นไปในทางท่ดี ีข้ึน วัดกบั ชาวบ้านกไ็ ม่ห่างกนั ผูน้ ำชุมชนและพระสงฆ์ผูเ้ ฒ่าผแู้ กช่ าวบ้าน
ทุกคนร่วมกันส่งเสริมสนบั สนนุ เอาประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น การจัดกรรมของพระสงฆ์มาผสมผสานกับ
ชาวบ้านอย่างพร้อมเพียงกัน มีการนำวัฒนธรรมท้องถิ่นเช่นกันเอากลองสะบัดชัยมาเล่นในขณะที่ทางวัด
จดั งานหรือไปรว่ มงานกับวัดอ่ืน เกิดความสามคั คใี นชุมชน จดั กิจกรรมทุกๆ วนั พระ มีการจดั งานประเพณี
ประจำปีการปล่อยโคมการละเล่นต่างๆ คือโดยเจตนาการบูชาพระพุทธเจ้า โดยสอดแทรกหลักธรรมทาง
พุทธศาสนาคือการเน้นการทำบุญแล้วก็การเจริญภาวนาและการเดินประทักษิณในวันพระ เวียนเทียน มี
ความร่วมมือความสามัคคีสร้างความสามัคคี วิถีชีวิตของชุมชนเปลี่ยนไปตั้งแต่มีวัดเป็นของชุมชนของ
ตนเอง ชมุ ชนใช้หลักสามคั คธี รรมเปน็ หลกั อยา่ งพทุ ธศาสนสุภาษติ ท่ีว่าสขุ า สงั ฆัสสะ สามคั คี ความสามัคคี
นำมาซึ่งความสุข ชุมชนเข้าใจหลักพระพุทธศาสนาว่าสอนให้คนเกิดปัญญา ช่วยให้คนเข้าใจสัจธรรมของ
ชีวิต ร้หู ลักการดำเนนิ ชีวติ เอามาปรับใช้ในการดำเนินชวี ิตได้อย่างผสมผสานกลมกลนื และการใช้ความคิด
ในการพฒั นาตนเอง สร้างจติ สำนึกให้รู้จักความกตัญญูกตเวทีต่อท้องถน่ิ ศาสนาเปน็ สงิ่ ยึดเหนยี่ วจติ ใจ วิถี
ชีวิตชุมชนทำอาชีพเกษตรกรรมมีการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมชุมชน ให้ความสำคัญกับพระพุทธศาสนา
และเอาพระพทุ ธศาสนาปน็ ส่ิงยึดเหน่ียวจิตใจ ชมุ ชนมีความเอื้อเฟอื้ เผ่อื แผซ่ ึง่ กนั และกัน

5. ทา่ นใช้หลักธรรมอะไรบ้างในการดำเนินชวี ิต
ดังนนั้ จงึ สรปุ เป็นความจริงข้นั พ้นื ฐาน (Grounded Theory) ไดว้ ่า หลกั ศีล 5 หลักธรรมอิทธิบาท
4 หลักการเจริญปัญญาและหลักโยนิโสมนสิการ ทิฎฐธรรมิกัตถประโยชน์ ประกอบด้วย อุฏฐานะสัมปทา
ถึงพร้อมด้วยความขยันหมั่นเพียร อารักขสัมปทา รู้จักเก็บรักษา กัลยาณมิตตตา คบเพื่อนที่ดี สมชีวิตา

31

ครองชีพอย่างพอประมาณ หลักการเจริญกรรมฐาน การระลึกถึงพระพุทธเจ้า ใช้หลักธรรมพรหมวหิ าร 4
เมตตา กรุณา มุทิตาและอุเบกขา หลักธรรมที่นำมาใช้ก็คือความกตัญญู ความศรัทธา สังคหวัตถุ 4 คือ
ทาน ปิยวาจา อตั ถจริยา สมานตั ตตา ใชห้ ลักปญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต หลกั ธรรมคำสอนของพทุ ธเจ้าเร่ือง
อริยสัจ 4 มาช่วยแก้ปัญหาต่างๆ อีกประการหนึ่งก็คือหลักธรรมที่ชุมชนใช้ร่วมกันก็คือหลักปัญญาในการ
ดำเนินชีวิตใช้มรรคมีองค์ 8 ในการดำเนินชีวิต หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานในการคิดพิจารณาใน
การดำเนินชีวิต แสดงให้เห็นว่าหลักธรรมหรือพระพุทธศาสนามีส่วนช่วยกล่อมเกลาจิตใจของชาวบ้านและ
ชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง หลักธรรมเหล่านี้มีส่วนช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยอาศัย
พระพทุ ธศาสนาเป็นฐานในการพัฒนาชุมชนให้เกิดความมน่ั คง มงั่ คงั่ และยงั้ ยืนตอ่ ไป

ส่วนที่ 2 วิเคราะห์และสังเคราะห์วิธีการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของ
ชุมชนบา้ นแสนคำ

หลังจากสังเกตการณ์ทั้งหมดของคณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่สามารถสรุปเป็นข้อค้นพบ (Grounded
Theory) ได้ว่า ชุมชนบ้านแสนคำ โดยได้ลงพื้นที่สังเกตตั้งแต่วันแรกที่เดินทางไปถึงและในวนั ถัดมาได้ลง
สังเกตการณ์ต่ออีก ในการสังเกตการณ์นั้นได้แบ่งคณะผู้วิจัยไปสังเกตการณ์กิจกรรมต่างๆ ตามกรอบที่ได้
ตั้งไว้อย่างมีส่วนร่วม โดยแบ่งคณะผู้สังเกตออกเป็น 2 สายด้วยกัน เรื่องที่สังเกตการณ์นั้น คณะผู้วิจัยได้
ออกแบบการสงั เกตแบบมสี ว่ นร่วมไว้ 5 ประเด็นดว้ ยกนั ไดแ้ ก่

1. ดา้ นการจดั การชมุ ชน การบริหารจัดการทดี่ ี คอื การจัดการหรอื การบรหิ ารเป็น “ชุมชนจัดการ
ตนเอง” “การจัดการชุมชน” ได้มีการบริหารด้วยชุมชนแสนคำเองในบางประเด็น ยอมรับว่าการจัดการ
เป็นศิลปะในการใช้คน เงิน และวัสดุอุปกรณ์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยเป็นการนำนโยบายและแผนไปปฏิบัติให้สำเร็จ ดังนั้นการจัดการจึงเป็นกิจกรรมพื้นฐาน ชาวบ้านได้
พยายามประยุกต์หลักการบรหิ ารเพราะลูกหลานบ้านน้สี ่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป จึงมี
การบริหารเป็นการจัดการเก่ียวกับนโยบายและแผนอย่างเขา้ ใจแบบมืออาชีพ รวมถึงการจัดสรรทรพั ยากร
ถึงแม้ว่าจะได้ไม่ได้สนับสนุนจากภาครัฐทางชาวบ้านก็ช่วยกันในการจัด กิจกรรมสนับสนุนชุมชนตนเอง
เพื่อให้เกิดความสามัคคี การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์การจัดการโดยใช้หลักการบริหารศาสตร์แห่งการ
บริหารและทฤษฎีระบบราชการ ท่านเจ้าอาวาสก็จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์
ทางการบริหารทางโลกมาก่อนที่จะมาบวช ทำให้เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนของสังคมในชุมชนได้เข้ามามี
ส่วนร่วมในการควบคมุ ติดตาม และตรวจสอบใหก้ ารปฏิบัติงานเป็นไปอย่างโปรง่ ใส มีประสิทธิภาพ และ
เกดิ ประสทิ ธผิ ล ตลอดจนคำนึงถึงผลกระทบทจ่ี ะเกิดข้นึ ต่อผูม้ สี ่วนได้เสีย

2. ด้านองค์กรชุมชน องค์กรต้องมีกลยุทธ์ เป็นแผนการหรือวิธีการในการดำเนินงานที่ ทำให้
องค์การบรรลุเป้าหมายที่ ตั้งไว้ด้วยเอกลักษณ์เฉพาะที่แตกต่างไปจากคู่แข่งขันซึ่งผู้บริหารต้องเลือกกล
ยุทธ์ให้สอดคล้องกันระหว่างทรัพยากรในองค์การและความสามารถหลักขององค์การ รวมทั้งค ำนึงถึง
โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การด้วย ขณะที่ การจัดการเชิงกลยุท ธ์ เป็น

32

กระบวนการที่ประกอบด้วย การตรวจสอบสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ ชาวบ้านและ
ท่านเจ้าอาวาสได้ร่วมมือกันอย่างมีการกำหนดกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และการควบคุมและการ
ประเมินผลกลยุทธ์ ชาวบ้านจะทำอะไรต้องมาปรึกษามีการประชุมกันเป็นกิจลักษณะ เพราะเป็นการ
ตัดสินใจที่ต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ เป็นการใช้ทรัพยากรและ
ความสามารถหลักขององค์การ กำลงั ของกลุ่มแมบ่ ้านแสนคำ ชาวบ้านและทา่ นเจ้าอาวาสใช้การวิเคราะห์
และประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค เป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนกับสภาพความเป็นไป
ของสิ่งแวดล้อม จึงทำบ้านวัดโรงเรียน อยู่กันอย่างเข้มแข็ง ด้านประเพณีวัฒนธรรมก็มีส่วนในการสร้าง
เสริมความเขม้ แข็งของชมุ ชนต่อไปเพราะมีการสืบตอ่ ทางดา้ นประเพณวี ฒั นธรรมกนั อย่างไม่ขาดสาย

3. ด้านชุมชนแห่งการเรียนรู้ ชุมชนบ้านแสนคำมีองค์ความรู้ แต่ละองค์ความรู้มีที่มาแตกต่างกัน
ความรู้ที่แฝงอยูใ่ นตัวบคุ คล เป็นความรู้ทีไ่ ดจ้ ากประสบการณ์หรอื สัญชาติญาณของแต่ละบคุ คลในการทำ
ความเข้าใจในสง่ิ ตา่ งๆ เปน็ ความรู้ท่ีไม่สามารถถา่ ยทอดออกมาเป็นคำพดู หรือลายลักษณอ์ ักษรได้งา่ ย ตอ้ ง
ใช้เวลาและต้นทุนโดยเฉพาะทักษะงานฝีมือและการคิดเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์ โดยเฉพาะแฝงตัวอยู่
กับคนเฒ่าคนแก่ และท่านเจ้าอาวาส ความรู้ที่ชัดแจ้ง เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดได้ผ่าน
วิธีการต่างๆ ไมว่ า่ จะเป็นการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี หรอื คมู่ อื ทั้งนี้ย่ิงมีความรู้ที่แฝงอยู่ในตัว
บุคคลมากเท่าใด การถ่ายทอดความรู้ยิ่งกระทำได้ยากเท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงมักเรียกความรู้ประเภทนี้ว่า
ความรู้แบบนามธรรม น่าเป็นห่วงเพราะคนเฒ่าคนแก่ก็จะล้มหายตายจากไป คนสืบต่อก็น้อยลงไปเร่อื ยๆ
เพราะกระแสบริโภคนิยมมาแรงมากขึ้น ขณะที่ความรู้ที่ชัดแจ้งมักถ่ายทอดและแบ่งปันได้ง่าย จึงเรียกว่า
ความรู้แบบรูปธรรม การจัดการความรู้ต้องดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนและมีความต่อเนื่องโดยเริ่มจาก
การสรา้ งความรู้ การรวบรวมความรู้ การแบ่งปันความรู้ และการใช้ความรู้ ตามลำดบั ขณะที่องค์การแห่ง
การเรียนรู้เป็นแนวคิดการพัฒนาองค์การซึ่งเน้นการเรียนรู้ร่วมกันของคคนในชุมชนเพื่อให้เกิดการ
ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และทักษะร่วมกัน ทั้งยังส่งเสริมให้ เกิดบรรยากาศของการคดิ
ริเริ่มและการสร้างนวัตกรรมซึ่งจะทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและพร้อมเผชิญกับสภาวะการแข่งขันและ
การเปลยี่ นแปลงจากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี

4. ดา้ นจิตวญิ ญาณชมุ ชน ชุมชนเอาพระพุทธศาสนาที่ยดึ เหน่ียวและเป็นศูนย์กลางจิตใจ จึงทำให้
ชุมชนเน้นท่ีความผาสุกทางจิตวิญญาณในพระพุทธศาสนาไม่การกล่าวถึงโดยตรงแต่ได้กล่าวถึงความสุข
และความสงบ สันติ ซงึ่ คำวา่ สุข ในภาษาบาลคี ือ สุขํ (ความสขุ สะดวก สบาย สำราญ สบายใจ สบายกาย
เย็น(เย็นใจ งา่ ย ความสุข ความสะดวก ความเยน็ ใจ) ตามทีป่ รากฏในพระไตรปฎิ กท่พี ระพุทธเจ้า และพระ
สาวกได้แสดงไว้ ณ สถานที่ต่างๆ ต่างกรรมต่างวาระกัน เป็นความสุขที่มีลักษณะแห่งความเงียบ ความ
สะดวกความเย็นใจ ความระงับดับไป ห่างจากกิเลสที่เป็นเหตุให้เกิดความเร่าร้อนว้าวุ่นขุ่นมัว ความสงบ
ระงับ สงบกาย สงบใจ เป็นความสุขที่เกิดจากภาวะแห่งความสงบ อันเป็นผลจากสัมมาทิฏฐิ และองค์
ธรรมปฏิบัติที่เกย่ี วข้อง ความสุขมที ี่มาได้ 2 ทาง คือ 1) ความสุขภายใน เปน็ ความสุข เปน็ ความสงบ สันติ
ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการมีหรือไม่มีปัจจยั ภายนอกโดยตรง มักจะเป็นความสุขในระดับจิต

33

และปัญญาและ2) ความสุขภายนอก มักจะสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ ในการดำรงชีวิตความสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์ด้วยกันและปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม การมีสติ เมื่อรู้ตัวเอง ก็สามารถกำกับให้ปฏิบัตไิ ด้ถูกต้องทั้งทาง
กาย ทางจิต ทางสังคมและทางปญั ญา หรอื ทีเ่ รยี กวา่ ภาวนา หรอื การทำใหเ้ จริญ 4 ประการ อันกอ่ ให้เกิด
ประโยชน์ สุขอย่างย่งั ยืนแตส่ ันตภิ าวะทีส่ ูงทส่ี ุด คอื “พระนพิ พาน”ความผาสุกทางจิตวิญญาณ ความรู้สึก
ถึงความต่อเนื่องกลมกลืนระหว่างตนเองของผู้สูงอายุกับผู้อื่น ธรรมชาติ และสิ่งนอกเหนือตนเอง บุคคล
เหล่านี้มักเป็นผู้ที่มีใบหน้าสดชื่น ยิ้มหัวเราะ เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่าชีวิตของตนเองมีความผาสุก สงบ
เยือกเย็น สมหวัง มีกำลังใจที่เข้มแข็ง มีความพร้อมที่จะเผชิญหรือดำเนินชีวิตไปข้างหน้าได้อย่างมั่นใจ
สามารถแสดงความพึงพอใจ หรือชื่นชมในประสบการณ์ของตนและสิ่งแวดล้อม ความผาสุกทางจิต
วิญญาณของชุมชนบ้านแสนคำตามหลักพระพุทธศาสนาคือความสุข ความสงบที่เกิดจากความดี ความไม่
เห็นแก่ตัว และมีพรหมวิหาร 4 เป็นภาวะที่สิ้นไปของความทุกข์หรือการบีบคั้นทางกาย จิต สังคม และ
ปัญญา เป็นความสุขที่ลึก และยิ่งกว่าสุขอื่นๆ ไม่มีความเห็นแก่ตัว ผ่อนคลาย ไม่เครียด มีความปีติ
ความรสู้ ึกเบิกบานกบั การทำหน้าที่และการใช้ชวี ิต รตู้ น่ื และเบกิ บานในทุกย่างกา้ วและทุกขณะท่ีทำหน้าที่
รเู้ ท่าทนั ไม่ประมาทหรือขาดสติ มีสตปิ ัญญาในการเสพ ท้ังทางหู ตาจมกู ลนิ้ กาย และใจอย่างมีการมีสติ
สมาธิ และปัญญา

5. ด้านจิตสำนึกชุมชน เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับการที่มนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ให้ชุมชนได้
ยึดถือและปฏิบัติตามทั้งนีเ้ พื่อรักษาความสงบเรียบรอ้ ยของชมุ ชน อยู่ร่วมกันแล้วต้องสร้างความสุขให้แก่
ตนเองและพวกพ้องของตนเองและชุมชนท่ีตนเองอาศัยอยู่ ท่ชี ุมชนบา้ นแสนคำจะมจี ติ สำนึกชุมชนสูงมาก
เพราะเปน็ ชุมชนไม่ใหญ่โตมากนัก จงึ ทำคนภายในชุมชนท่วั ถึงกนั ได้หมดทุกครวั เรือน จติ สำนึกชุมชนเป็น
แนวทางปฏบิ ตั ิงานของชุมชนท่ตี ัดสนิ ใจใหม้ ีการกระทำหรืองดเว้นการกระทำอยา่ งใดอย่างหน่ึง ซ่ึงจะต้อง
พจิ ารณาอย่างรอบคอบเนื่องจากสง่ ผลต่อประชาชนภายในชมุ ชนของตนเองที่อาศัยอย่รู วมกนั และโดยรวม
การกระจายทรัพยากรน้ำเพราะในหมู่บ้านมีลำเหมืองไหลผ่านทุกคนต้องมีจิตสำนึกชุมชนด้วยการรู้จัก
แบ่งปันกันใช้น้ำภายในชุมชนร่วมกัน การกระจายจัดสรรทรัพยากรใหม่ เป็นตัวอย่างที่ดีในการสะสมทุน
และมีจิตสำนึกทางจริยธรรมทดี่ ดี ้วยการไม่ทำให้เพื่อนบ้านเดือดรอ้ น ตั้งอยใู่ นหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า
คอื ทาน รักษาศีล และการเจริญภาวนา

6. ดา้ นการพัฒนาแบบยั่งยืน ความเปลีย่ นแปลงของปัจจยั แวดล้อมทเ่ี กิดข้นึ อย่างรวดเร็วเป็นเหตุ
ให้ชุมชนจำเป็นต้องปรับตัว ด้วยการพัฒนาชุมชนให้ผสมผสานกับวิชาการ การมีพื้นฐานทางด้าน
สังคมศาสตร์ การให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมาชิกของชุมชน ผู้บริหารต้องจัดโครงสร้างและ
กระบวนการทำงานให้สมาชิกในชุมชนได้มีความก้าวหน้าตามเส้นทางอาชีพอย่างต่อเนื่อง ในชุมชนได้มี
การรวมกลุ่มกันจัดตั้งโรงงานทำปุ๋ยขั้นก็ไปได้ การเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานทั้งในระดับบุคคล
ระดับกลุ่ม และระดับชุมชนเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล และเกิดการเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมชมุ ชน โดยชมุ ชนบ้านแสนคำมีการนอ้ มนำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนิน
ชีวิตอยู่แล้ว แต่ยังขาดหน่วยงานไปสนับสนุนใหเ้ ห็นเป็นรูปธรรม แต่ยอมรับท่านเจ้าอาวาสและชาวบ้านมี

34

ความเอาใจใส่ในการดำเนินงานของชุมชนหรือชาวบ้านเป็นอย่างดี เจ้าอาวาสสามารถเข้าออกไปทุกบ้าน
หรือทุกหลังคาเรือนได้ตามสะดวกสะบาย ทางหน่วยงานภาครัฐต้องมาช่วยในการส่งเสริมให้มากกว่านี้
เศรษฐกจิ โดยรวมของเมอื งเชยี งใหมก่ ถ็ ือว่าอยู่ในระดับดีอย่แู ล้ว

7. ดา้ นความสงบสุข ชมุ ชนหรือสงั คมทีม่ คี วามสงบสุข เปน็ เอกภาพและความสอดคล้อง ประสาน
กลมเกลียว มีเสรีภาพ และมีความยุติธรรม ดำรงชวี ติ เป็นสุข มีสมานฉนั ท์ต่อกนั เป็นภาวะท่ีมีความสงบ มี
ความสุข ไร้ความขัดแย้ง เป็นชุมชนที่คนรวมกันอยู่เป็นสังคมขนาดเล็ก อาศัยในบริเวณเดียวกันและมี
ผลประโยชน์ร่วมกัน มีความรู้สึกผูกพันกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน พึ่งพาอาศัยกัน มีการรวมกันอยู่ใน
อาณาเขตและภายใต้กฎหมายหรือบังคับเดียวกัน โดยมีแบบแผน การดำเนินชีวิตในแนวทางเดียวกัน มี
จิตสำนึกที่ต้องการจะมีส่วนร่วมในการช่วยเหลอื ซึ่งกันและกัน ที่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน มีความ
สมานสามคั คี มีความรัก มีนำ้ ใจ มคี วามเออื้ อาทรตอ่ กนั โดยไมม่ ีการแบ่งแยกชนชนั้ ฐานะ มีความสามารถ
ในการพึ่งตนเองอยา่ งมศี ักด์ิศรี มีความภูมิใจ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีองค์ประกอบและเกณฑ์ชี้วัดที่สะท้อน
ชมุ ชนสันติสขุ ได้แก่ มกี ารรกั ษาสบื ทอดภมู ิปัญญาความรู้ท่สี ืบสานและประยุกต์ได้สอดคล้อง เป็นปึกแผ่น
สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง เป็นสังคมที่เห็นได้ชัดในลักษณะของ
คนมีศลี มคี ณุ ธรรม มีอารยธรรม มีสัมมาอาชีพ มีกจิ การท่มี ่ันคง ขยนั สรา้ งสรรค์ ขวนขวาย กระตือรือร้น
กล่าวโดยรวมคือ อยู่กันอย่างผาสุก สุขภาพแข็งแรง จิตใจเบิกบานร่าเริง ไม่ฟุ้งเฟ้อ แต่รุ่งเรือง มีความ
ประณตี ประหยัด ไมค่ ่อยมีอบายมุข มีความพรอ้ มเพรียง สามัคคี อบอนุ่ และเป็นเอกภาพพร้อมเพรียงกัน
ทำงาน เป็นชุมชนที่แข็งแรง มั่นคง ยืนหยัด เป็นชุมชนอุดมสมบูรณ์ สะสม กักตุน หรือกอบโกยบุญเป็น
งานหลัก เปน็ ชมุ ชนมีน้ำใจ ไมเ่ อาเปรยี บ เสยี สละอย่างเป็นสุข พระพุทธศาสนาคือสนั ติภาพภายในของตัว
มนุษย์ ให้เรารักกัน มีความเมตตากรุณาต่อกัน มีความอดทน ไม่เบียดเบียนกัน มุ่งเน้นให้อยู่รวมกันอย่าง
สันติสุข หลักพทุ ธธรรมที่สะท้อนหลักการพนื้ ฐานต่อการเสริมสร้างสังคมสนั ตสิ ขุ คอื สังคหวัตถุ 4 เพอื่ เป็น
หลักการเพื่อการสงเคราะห์ สร้างมนุษย์สัมพันธ์ การครองใจคน หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้ วิธีทำให้คนรัก
เป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน สังคหวัตถุมีองค์ประกอบ 4 ประการ
คือ ทาน ให้ปัน คือ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ เสียสละ แบ่งปันช่วยเหลือสงเคราะห์ด้วยปัจจัยสี่ทุนหรือทรัพย์สิน
สิ่งของตลอดจนให้ความรู้ ความเข้าใจ และศิลปวิทยา ปิยวาจา พูดอย่างรักกัน คือ กล่าวคำสุภาพ
ไพเราะ น่าฟังชี้แจง แนะนำสิ่งที่เป็นประโยชน์ มีเหตุผลเป็นหลักฐาน ชักจูงในทางที่ดีงาม หรือแสดง
ความเหน็ อกเหน็ ใจ ใหก้ ำลังใจ รูจ้ กั พดู ให้เกิดความเขา้ ใจดี สมานสามคั คี เกดิ ไมตรีทำใหร้ กั ใคร่นับถือ และ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อัตถจริยา ทำประโยชน์แก่กัน คือ ช่วยเหลือด้วยแรงกาย และขวนขวายช่วยเหลือ
กิจการต่างๆ บำเพ็ญประโยชน์รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหา และช่วยปรับปรุงส่งเสริมในด้านจริยธรรม
สมานัตตตา เอาตัวเข้าสมานคือ ทำตัวให้เข้ากับเขาได้ วางตนเสมอต้นเสมอปลายให้ความเสมอภาค
ปฏิบัติสม่ำเสมอกันต่อคนทั้งหลายไม่เอาเปรียบและเสมอในสุขทุกข์ คือ ร่วมสุข ร่วมทุกข์ ร่วมรับรู้ ร่วม
แก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์ สุขร่วมกัน ชุมชนสันติสุขคือชุมชนที่มีความเชื่อมันในศักยภาพของตน
แก้ไขปัญหาและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ด้วยตนเอง ทุกคนมีส่วนร่วมในการร่วมคิดตัดสินใจ ร่วม

35

ประเมินผลการแก้ปัญหาและการพัฒนาของชุมชนผ่านกระบวนการชุมชน ชุมชนมุ่งการพึ่งตนเองเอื้อ
ประโยชน์ต่อสมาชิกชุมชนทุกๆ คน และมุ่งหวังการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน มีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคี
การพฒั นา เพราะเปน็ หมูบ่ า้ นชุมชนเล็กๆ สามารถดูแลกนั และกันไดอ้ ยา่ งท่วั ถึง

8. ด้านการพง่ึ ตนเอง กิจกรรมท่ชี าวบา้ นในชมุ ชนคิดขึ้นมาจากการเรยี นรสู้ ิง่ ต่างๆ ที่ เก่ยี วข้องกับ
ชีวติ ประจำวนั ไมว่ ่าจะเปน็ ของกนิ หรือของใช้ ไม่จำเป็นตอ้ งอาศยั วธิ กี ารผลิตท่ีซบั ซ้อนมากนัก มุ่งหวังเพียง
ตลาดในชุมชนก่อนในเบื้องต้น เมื่อมีความเป็นไปได้ในทางธุรกิจ จึงค่อยขยายไปสู่ตลาดภายนอกชุมชน
ทงั้ นกี้ ารค้าของชมุ ชนมี ลักษณะใกลเ้ คียงกบั “ธรุ กิจชมุ ชน” ในประเด็นการซอื้ ขายสนิ ค้า หรอื บริการ และ
มีความเชื่อมโยงกับ "เศรษฐกิจชุมชน” ในประเด็นอุปสงค์และอุปทานระหว่างผู้บริโภคและผู้ผลิตทั้ง
ภายใน ชุมชนและภายนอกชุมชน ทว่ายงั อยูบ่ นฐานคิดของ “เศรษฐกิจพอเพยี ง” เลี้ยงตนเองในครอบครัว
เมื่อเหลือจึงแบ่งปันให้คนอื่น เมื่อมีความก้าวหน้ามากขึ้นจึงค่อยเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย พร้อมกับ
ประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานอื่นทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนเพ่ือขยายธุรกิจไปส่ตู ลาดภายนอกชุมชน
ชาวบ้านแสนคำมีการทำลำใยอบแห้งบางสว่ นและเครืองจักรสานส่งออกขาย และผักสดออกขายในตลาด
ท้องถิ่นทุกวัน ยังช่วยหนุนเสริมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ชุมชนให้บรรลุตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้อีกด้วย
อย่างไรก็ตามต้องไม่ให้ประชาชนทิ้งการน้อมนำเอาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ
ชีวิต ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเกณฑ์อายุของชาวบ้านมีสูงอายุเยอะ จะเข้าสู่ชุมชนผู้สูงอายุมากขึ้นในอนาคต
แต่โดยหลกั แล้วชาวบ้านอาศยั ตนเองพึง่ ตนเองเปน็ ส่วนใหญ่

9. ดา้ นภาวะผู้นำ ต้องยอมรบั ว่าเจา้ อาวาสท่านมภี าวะผ้นู ำอยู่ในตัว ไม่ไดเ้ ป็นเพยี งแค่ผู้ตามอย่าง
เดียว แต่นำพาทำกิจกรรมต่างๆ ภายในสำนักสงฆ์ด้วย และเป็นความพยายามของเจ้าอาวาสและบคุ คลที่
จะชักจูงและกำหนดพฤติกรรม ทัศนคติ ความเชื่อ และค่านิยมของบุคคลอื่นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ได้
กำหนดไว้ ท่านเจ้าอาวาสหรือผู้นำชุมชนที่นี้มีความเข้มแข็ง ด้วยอาศัยฐานคือพระพุทธศาสนาเป็นฐานใน
การพัฒนาชุมชน ดังนั้นผู้จัดการจึงเปน็ บุคคลที่ทำให้บุคคลอื่นมุ่งไปสู่จุดหมายปลายทางให้ได้ไม่วา่ บุคคล
เหล่านั้นจะเต็มใจหรือไม่ ชุมชนยังต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงไปยังคงสภาพการจัดการให้เป็นที่ยอมรับได้
นั้น ล้วนผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงมาแล้วทั้งสิ้น โดยสิ่งสำคัญก็คือการมีผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำและ
วิสัยทัศน์ในการเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับอุปสรรคที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้ ซึ่งยังผลให้การดำเนินการใน
ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างสัมพันธ์กันทั้งการดำเนินการตามแผนการเปลี่ยนแปลง การเสริมแรงการ
เปลี่ยนแปลง และการรักษาระดับการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนการสร้างการเปลี่ยนแปลง โดยระหว่างการ
ดำเนนิ งานในแตล่ ะข้ันตอนต้องมีการทบทวนข้อมูลย้อนกลับเพ่ือนำมาใช้รับมือกับปญั หาทเี่ กิดขึ้น จากนั้น
จึงวางแผนการเปลี่ยนแปลงใหม่อีกครั้งเพื่อให้มีความเหมาะสมกับสถานการ ณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา

10. ด้านเครือข่ายชุมชน เครือข่ายชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาไปสู่เครือข่ายชุมชน
เขม้ แข็งครอบคลุมทุกพน้ื ท่ีได้ในระยะยาวด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนทม่ี ีกระบวนทัศน์เดียวกัน ท่ียืน
อยู่จุดเดียวกัน มีเป้าหมายและวิธีการบนฐานคิดเดียวกัน แม้ว่าจะแตกต่างกันในรายละเอียดของวิธีการ

36

คือต้องอาศัยความเป็นจริงในการพัฒนาด้วยการแก้ปัญหาเรื่องปากท้องของชาวบ้านก่อนเป็นอันดับแรก
แต่ชุมชนแสนคำมีฐานคิดอันเดียวกัน และเป็นวิธีการที่ดีที่สมาชิกเครือข่ายทั้งหมดของชุมชนยอมรับได้
ฐานคิดเดียวกันที่จะนำไปสูก่ ารพัฒนาแนวทางไปสูก่ ารคืนดขี องคนในชุมชนคือต้องมีอย่างน้อยต้องมีฐาน
ดังนคี้ อื ฐานแห่งธรรม ความเชอ่ื ในหลกั ธรรม คุณธรรม ความเป็นธรรม ความถูกต้องดีงาม ต้องมีแนวทาง
ที่จะทำให้ผู้คนกลับไปสู่ธรรมะพุทธศาสนาเพื่อให้ "ตั้งสติ" แยกความดีจากความชั่ว ความจริงจากความ
เท็จ ฟื้นฟูความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้คนด้วยจิตใจอันมีเมตตา ความเป็นมิตร และการให้อภัย ฐานของ
ทอ้ งถน่ิ คือสำนึกในท้องถ่ิน ความภมู ิใจในรากเหงา้ ของตนเองภมู ิปัญญา เหน็ คณุ คา่ ของทรัพยากร ของทุน
ทางสังคม ทุนทั้งหลายอันเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพชน คนไม่มีรากเหง้าจะถูกเขาครอบงำและ
กำหนดอนาคตให้หมดเลย คนไม่รู้ว่าตัวเองมาจากไหนก็ไม่รู้ว่าจะไปไหน สำนึกในท้องถิ่น คือสำนึกใน
ความเป็นตัวของตัวเอง กำหนดชะตากรรมของตนเองได้ ฐานทางปัญญา อันมาจากการเรียนรู้ที่ให้พลัง
และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี ปัญญาอันมาจากการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซ่ึง
เชื่อมโยงกับโลกทง้ั โลก ปญั ญาอันมาจากการคน้ พบตวั เอง คน้ พบทนุ ทอ้ งถิ่น ท่ีไมไ่ ด้มแี คเ่ งิน ปัญญาอันมา
จากการค้นพบสถานภาพของตนเองของชุมชน รู้ว่ากินอยู่อย่างไร มีรายรับรายจ่ายหนี้สินเทา่ ไหร่ ปัญญา
ท่มี าจากการคน้ พบปัญหาและความต้องการที่แทจ้ ริงของตนเอง ท่เี ป็นปัญญาเพราะไม่ได้ค้นพบแต่ปัญหา
และความต้องการ แต่ค้นพบทางออกด้วยในเวลาเดียวกัน ทางออกที่ไม่ใช่เพียงแค่การร้องขอความ
ช่วยเหลือจากรัฐหรอื ภายนอก แตม่ าจาก การระเบดิ จากข้างในหรือการพฒั นาตนเองมาจากภายใน ซึ่งทำ
ให้เกิดการเปลี่ยนวิธีคิด การจัดระเบียบชีวิต อยู่อย่างมีแบบมีแผน มีเป้าหมายและหาทางพึ่งพาตนเอง
เครอื ขา่ ยชุมชนเข้มแขง็ จะเปน็ พลังสำคัญในการรงั สรรคส์ ังคมท่ีเคารพความแตกต่างทางความคิดเห็นทาง
การเมืองและความหลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมประชาธิปไตยไม่ใช่
สังคมที่ปราศจากความขัดแย้งหรือความแตกแยก แต่เป็นสังคมที่อยู่กับความขัดแย้งและความแตกแยก
อย่างสมดลุ ได้ แก้ไขความขัดแย้งและความแตกแยกด้วยสันติวิธี ดว้ ยจิตวิญญาณประชาธปิ ไตยที่ให้เกียรติ
และยอมรับในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเสมอภาค สิทธิและเสรีภาพของกันและกันด้วยความ
จริงใจและพร้อมที่จะกลับสู่การคืนดีปรองดองของผู้คนในสังคมด้วยใจที่เป็นธรรม หลักธรรม เรื่อง การให้
ทาน การรักษาศลี การเจรญิ ภาวนา ประเพณวี ฒั นธรรมทอ้ งถ่ินผสมผสานกบั ทางพุทธศาสนาทเี่ ป็นส่ิงสนับสนุน
กอ่ ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมทดี่ ีงาม คือ ความออ่ นนอ้ ม ถ่อมตน ทีส่ ำคัญของของชมุ ชน ท่ีทำให้เกิดการเปล่ยี นแปลงทาง
สังคมและวฒั นธรรมและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชน การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใชใ้ นการ
ดำเนินชวี ิตของการรักษาศลี เช่ือในเรือ่ งทำดีได้ดี ทำช่วั ได้ชั่ว มคี วามขยันหม่ันเพยี ร ใชช้ ีวิตอย่างรอบคอบ
ไมป่ ระมาทในการทำส่ิงตา่ งๆ

ส่วนที่ 3 เพื่อจัดทำคู่มือการเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้าน
แสนคำ


Click to View FlipBook Version