The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by graduate, 2022-06-21 23:12:22

64

Thesis 64

คมู ือวิทยานพิ นธ ก บณั ฑติ วทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

คาํ นํา

“คูมือวิทยานิพนธ” เลมน้ี บัณฑิตวิทยาลัยไดดําเนินการปรับปรุงใหทันสมัยและมีความ
ถูกตองครบถวนสมบูรณมากขึ้นตามลําดับ เพ่ือใชเปนเอกสารแนวทางในการปฏิบัติตามข้ันตอนของ
กระบวนการทําดุษฎีนิพนธ วิทยานิพนธรวมถึงการศึกษาคนควาอิสระ อันเปนสวนหน่ึงของการศึกษา
ในระดับสูงกวาปริญญาตรีตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา รวมท้ังเปนกรอบแนวทางปฏิบัติสําหรับ
อาจารยผูทําหนาท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกา หรืออาจารยผูทําหนาท่ีสอน
ควบคมุ หรือสอบวิทยานิพนธของนักศึกษา เปนแนวทางใหการดําเนินการแนะนํานักศึกษา ตรวจสอบ
แกไขและใหขอเสนอแนะใหเปนไปในลักษณะทิศทางท่ีเปนมาตรฐานเดียวกัน ของบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

สาระสําคัญของคูมือวิทยานิพนธฉบับน้ี ประกอบดวย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับดุษฎีนิพนธ
วทิ ยานพิ นธและการศึกษาคน ควาอิสระ จรรยาบรรณและจริยธรรมในการวิจัย กระบวนการและแนว
ปฏิบัติในการดําเนินการ สวนประกอบของวิทยานิพนธ และหลักเกณฑในการเขียนแตละ
องคประกอบหรือหัวขอเนื้อหา รูปแบบการพิมพ การอางอิงและบรรณานุกรม ตลอดจนแบบฟอรม
ตางๆ ทเี่ กยี่ วของรายละเอยี ดในแตละเรื่อง โดยไดนําหลักท่ีเปนแบบสากลนิยมมากําหนดเปนแนวปฏิบัติ
ท่ีสะดวกและเหมาะสมตอการปฏิบัติเพียงบางรูปแบบเทานั้น จะไมนําเสนอในลักษณะที่หลากหลาย
เพอ่ื ปอ งกนั ความยุงยากและสบั สนตอ ผปู ฏิบัตแิ ละผเู กย่ี วขอ ง

บณั ฑติ วิทยาลยั หวังเปน อยา งยง่ิ วา “คูม ือวิทยานพิ นธ” ฉบับนีจ้ ะอํานวยคณุ ประโยชนแก
ผูใชสมดังปณิธานของคณะผูจัดทําคูมือวิทยานิพนธฉบับนี้ และขอขอบคุณผูบริหารบัณฑิตวิทยาลัยท่ี
สนับสนุนใหมีการดําเนินการปรับปรุง ตรวจสอบและกํากับการดําเนินงานรวมถึงคณะทํางานทุกทาน
ที่ไดกรุณาอุทิศเวลา แรงกาย แรงใจ และความมีนํ้าใจของทานในการจัดทําสาระดวยความวิริยะ
อุตสาหะตลอดมา จนสําเร็จอยางดี นับวาทุกทานไดมีสวนในการพัฒนาคุณภาพงานดานวิชาการของ
มหาวิทยาลัย ควรแกการสรรเสริญเปนอยางยิ่ง อนึ่ง หากทานผูใชคูมือฉบับน้ีหากพบขอผิดพลาด
บกพรองประการใด ขอความกรุณาไดโปรดรวบรวมสงมายังบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรธี รรมราช เพื่อจะไดเปน ขอมลู ปรับปรุงในคร้งั ตอ ไป และขอขอบคณุ ลว งหนา มา ณ โอกาสนี้

ฝายวชิ าการ บัณฑิตวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช
กุมภาพนั ธ 2564

บัณฑิตวทิ ยาลยั ข คูมอื วิทยานพิ นธ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

สารบัญ

เรื่อง หนา

บทที่ 1 ความรูเบื้องตน เก่ียวกับดุษฎีนพิ นธ วิทยานิพนธแ ละการศกึ ษาคน ควา อิสระ..................1
การเตรยี มความพรอมของนักศกึ ษา.............................................................................1
บทบาทของอาจารยท่ปี รกึ ษา.......................................................................................2
ขอแนะนาํ สําหรับนกั ศึกษา...........................................................................................3
จรรยาบรรณและจริยธรรมในการวิจยั .........................................................................3

บทท่ี 2 การทาํ วิทยานพิ นธ ..........................................................................................................9
ขอปฏิบตั แิ ละข้ันตอนการทําวิทยานพิ นธ.....................................................................9
การลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าวิทยานิพนธ.....................................................................9
การอนุมตั ิชื่อเรื่องวทิ ยานพิ นธและเสนอแตง ตงั้ อาจารยท ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ..........10
การสอบเคา โครงวทิ ยานิพนธ....................................................................................10
การสอบวทิ ยานพิ นธ .................................................................................................11
การตรวจรูปแบบวทิ ยานพิ นธ....................................................................................13
การสง วิทยานิพนธฉบับสมบรู ณและการสําเรจ็ การศกึ ษา.........................................13
การคน ควาอสิ ระ .......................................................................................................13

บทที่ 3 สว นประกอบของวิทยานพิ นธ ...................................................................................... 15
รายละเอียดวิทยานิพนธ........................................................................................... 15
สวนประกอบตอนตน ........................................................................................ 15
สวนเน้อื หา ........................................................................................................ 15
สว นประกอบตอนทาย ...................................................................................... 21
แนวทางการเขยี นและเกณฑก ารพิจารณาเคา โครงวทิ ยานิพนธ............................... 21

บทท่ี 4 รปู แบบการพิมพ............................................................................................................ 29
กระดาษทีใ่ ชพิมพ..................................................................................................... 29
ตวั พิมพ..................................................................................................................... 29
การเวน ทว่ี างริมขอบกระดาษ................................................................................... 30
การเวนระยะระหวา งบรรทัด.................................................................................... 30
การยอหนา ............................................................................................................... 30
การลาํ ดับหนา และการพิมพเลขหนา ........................................................................ 30
การพิมพบทที่ และหวั ขอ ในบท................................................................................ 31
การพิมพต าราง......................................................................................................... 32
การพมิ พภาพประกอบ............................................................................................. 32
การพิมพภ าคผนวก .................................................................................................. 33

คูมือวิทยานพิ นธ ค บณั ฑิตวิทยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

บทที่ 5 การอา งองิ จากบทความ หนังสอื และบรรณานกุ รม..................................................... 35
ขอ ควรรู.................................................................................................................... 35
รูปแบบการลงรายการจากบทความและหนงั สือ...................................................... 37

บทที่ 6 การอา งองิ จากแหลง อืน่ ๆ ............................................................................................. 45
รปู แบบการลงรายการจากแหลงอื่นๆ ...................................................................... 45

บรรณานุกรม .................................................................................................................................... 63
ภาคผนวก ......................................................................................................................................... 59

ภาคผนวก ก ตวั อยางรปู แบบการพมิ พ ..................................................................................... 61
ภาคผนวก ข ตวั อยางแบบฟอรมตา งๆ...................................................................................... 81
ภาคผนวก ค ขอ บงั คบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

วาดวยจัดการจัดการศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2561................................101

คมู อื วทิ ยานิพนธ 1 บัณฑิตวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

บทที่ 1
ความรูเ บ้ืองตน เก่ยี วกับ
ดุษฎีนิพนธ วทิ ยานพิ นธแ ละการศกึ ษาคนควาอิสระ

วิทยานิพนธ (Thesis) ตามที่เขาใจกันโดยท่ัวไปในแวดวงการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
หมายถึง บทนิพนธหรือรายงานทางวิชาการที่เรียบเรียงหรือ “เขียน” ข้ึนโดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
เพื่อเสนอเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามเงื่อนไขของหลักสูตรในระดับสูงกวาปริญญาตรีหรือ
ระดับบัณฑิตศึกษา หากเปนหลักสูตรระดับปริญญาโทเรียกบทนิพนธนั้นวา วิทยานิพนธ
หลักสูตรปริญญาเอกเรียกบทนิพนธนั้นวา ดุษฎีนิพนธ หรือบางหนวยงานบางสถาบันเรียกวา
ปริญญานิพนธ สวนการศึกษาคนควาอิสระ เปนผลงานการเรียบเรียบหรือบทนิพนธที่เขียนโดย
นักศึกษาเชนกัน ตามเงื่อนไขของหลักสูตรนั้นๆ สาํ หรับเอกสารครูมือเลมน้ี เพื่อใหเขาใจตรงกัน
และงายตอการสื่อสารไมวาจะเปนรายงานการศึกษาคนควาอิสระ วิทยานิพนธหรือดุษฎีนิพนธ
ผูจัดทาํ ขอใชคาํ วา “วิทยานิพนธ” โดยมีลักษณะสําคัญดงั นี้

1. เปน บทนิพนธเ กี่ยวกับหัวขอใดหัวขอ หน่ึง ซึ่งนักศกึ ษาไดร ับอนุมัติใหทําการวิจัยและได
ดําเนินการตามกระบวนการทางวิชาการจนเสร็จสมบูรณ

2. เปนงานเขียนทางวิชาการ ซึ่งพรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัย โดยเขียน
อยางเปนระบบมีแบบแผนตามท่ีกําหนด โดยเฉพาะอยางยิ่งพึงมีการอภิปรายถึงขอเท็จจริง (Facts)
หลักฐาน (Evidence) และหลักการ (Principles) ท่ีคนพบจากการวิจัยและมีขอสรุปบนพื้นฐานของส่ิงที่
คนพบเหลาน้นั

วิทยานิพนธฉบับสมบูรณ เปนเสมือนส่ือท่ีจะสามารถถายทอดความคิด ความรู และ
คําตอบของประเด็นปญหาท่ีนักศึกษาไดทําการวิจัยคนควาจนประสบผลสําเร็จ ไปสูนักวิชาการ
นักวิชาชีพ และผูท่ีสนใจ ดังน้ัน วิทยานิพนธจึงควรมีคุณภาพสูง มีความถูกตองทางวิชาการ ชัดเจน และ
ผา นความเห็นชอบเปนเอกฉันทข องคณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธ

การเตรียมความพรอมของนกั ศึกษา

เน่ืองจากการทําวิทยานิพนธ เปนโครงการวิจัยที่มีภาระงานคอนขางหนัก ตองการท้ัง
ความตั้งใจจริง ความเพียรพยายาม ความรอบรู กําลังความสามารถและเวลาของนักศึกษากวาจะ
บรรลุตามกระบวนการโดยสมบูรณ นักศึกษาจึงควรวางแผนการทํางานของตนใหเหมาะสม สิ่งสําคัญ
ประการแรก นักศึกษาควรใชเวลาศึกษาคูมือวิทยานิพนธ ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราชวาดวยจัดการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศตาง ๆ ท่ี
เกีย่ วขอ งกับการทาํ วทิ ยานิพนธของมหาวทิ ยาลัย

บณั ฑิตวิทยาลัย 2 คูมอื วทิ ยานิพนธ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

การทําวิทยานิพนธสามารถดําเนินการควบคูไปพรอมกับการเรียนกระบวนรายวิชา จาก
เจตนารมณของขอบังคับที่นักศึกษาสามารถเสนอเคาโครง (Proposal) ได เม่ือมีหนวยกิตสะสมหก
หนวยกิต และลงทะเบียนเรียนไมนอยกวาสองภาคการศึกษา โดยไมจําเปนตองรอใหเรียนกระบวน
รายวชิ าจนครบหรอื เกอื บครบกอ นจึงจะคิดเร่ืองทาํ วทิ ยานพิ นธ

ทุกคนตองทําอยแู ลว เรม่ิ คดิ เร่มิ ทําไดยิ่งเร็วเทาใดก็ยิ่งดีเทานั้น อยางชาท่ีสุดไมควรลงมือ
ชา กวา ภาคฤดูรอ นของปก ารศกึ ษาแรก

การวางแผนการทํางานท่ีดี โดยแบงโครงการทําวิทยานิพนธออกเปนสวนยอย เพื่อดําเนินงาน
ใหแลวเสร็จทีละสวน จะชวยลดความกังวลของท้ังโครงการ ชวยใหนักศึกษามุงความสนใจไปยังแต
ละสวนยอยของโครงการ สามารถทํางานใหสําเร็จลุลวงตอเนื่องไปไดทีละชิ้นจนเสร็จสมบูรณ การ
แบง สว นของโครงการทําวทิ ยานพิ นธ อาจใชต วั อยางตอ ไปนี้เปนแนวทางหนึ่ง โดยดดั แปลงใหเ หมาะสมกับ
สาระของแตละโครงการ

บทบาทของอาจารยท่ีปรึกษา

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาแตละคนมีโอกาสไดรับคําปรึกษา ช้ีแนะ ฯลฯ จากอาจารยที่
ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธใ นระดบั ตา งกนั ตั้งแตเ ริ่มงานวิจยั จนถงึ ผลิตวิทยานิพนธออกมาเปนรูปเลม มีตั้งแต
ประเภทที่กลาวไดวาเกือบไมเคยพบหนาอาจารยที่ปรึกษาของตนเลย (และไมมีคําแนะนําใดๆ ใหท้ังส้ิน)
ไปจนถงึ ชน้ี ํามากเกินไปจนนักศึกษาเปรียบเสมือนแรงงานทีค่ อยปฏบิ ตั ติ ามคําสงั่ เทานนั้ เอง

อาจารยท ีป่ รึกษาวิทยานพิ นธท่ดี คี วรมลี ักษณะอยา งไร
1. ชวยเหลือ ใหคําแนะนํา ปรับแตงประเด็นปญหาการทําวิจัย หัวขอวิทยานิพนธ และ
แผนดําเนนิ การวิจัย รวมทั้งการเตรยี มเอกสารโครงรา งวิทยานิพนธ
2. ชว ยวางแผนงานและการเตรียมปฏิบัตงิ านวจิ ัยของนักศึกษา
3. ใหข อคิดเห็น วจิ ารณ และอภปิ รายผลงานวจิ ยั เปนระยะๆ ตามความเหมาะสม
4. มีเวลาใหนักศึกษาพบอยางสมํ่าเสมอและสนับสนุนนักศึกษาใหเขารวมกิจกรรมทาง
วิชาการตางๆ ของสาขาวิชา เชน การประชุมทางวิชาการ การสัมมนา หรือการสงบทความวิชาการ
เพ่ือการตพี มิ พ
5. ใหคําแนะนาํ ตรวจและวจิ ารณ งานเขียนวทิ ยานิพนธข องนักศกึ ษาโดยไมช กั ชา
6. ดูแล สนบั สนุน หรอื แมกระทั่งผลักดนั ใหน ักศกึ ษาทํางานใหสาํ เร็จในเวลาอนั สมควร
อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่ดี ควรทําความเขาใจถึงแนวปฏิบัติ กฎ ระเบียบตางๆ
เก่ียวกับการทํางานวิจัย การเขียนวิทยานิพนธท้ังรูปแบบและขอกําหนดท้ังปวง เพ่ือสามารถให
คําแนะนําที่ถูกตองแกนักศึกษาของตน การไมพยายามเรียนรูขอกําหนดฯ และใหคําแนะนําไปตาม
ความเขา ใจของตนเอง มกั สรา งปญหาใหกับนกั ศึกษาของตนในภายหลังเสมอ
ในสวนของนักศึกษา เม่ือมีการแตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธของตนแลว ควร
เรียนรูและทําความเขาใจกับอาจารยท่ีปรึกษาฯ โดยเร็ว หากพบวาไมสามารถเขากันได (ทํางานดวยกัน

คูม อื วทิ ยานพิ นธ 3 บณั ฑิตวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

ไมได หรือมีขอขัดแยงที่แตกตางกันโดยสิ้นเชิง) ควรปรึกษาประธานอาจารยประจําหลักสูตร เพื่อหา
หนทางแกไขทนั ที หากจําเปนตองเสนอขอเปล่ียนอาจารยท ีป่ รึกษาวทิ ยานิพนธ

นักศึกษากับอาจารยท่ีปรึกษาฯ อาจมีความคิดเห็นแตกตางกัน คนละแนวทางกันไดเสมอ
ทั้งเปนเคร่ืองแสดงวานักศึกษามีความคิดเห็นเปนตัวของตัวเอง ซ่ึงเปนคุณลักษณะที่ดีสําหรับงานวิจัย
เพราะตองการความคิดสรางสรรค แปลกใหม อยางไรก็ตามพึงระมัดระวังอยาใหความคิดเห็นไม
สอดคลอ งกันกลายเปนความขัดแยงสวนตัว เมื่อใดก็ตามท่ีนักศึกษารูสึกวาความคิดเห็น/ขอเสนอแนะ
ของตนไมไดรับความสนใจจากอาจารยท่ีปรึกษา ควรพยายามเขาพบเพ่ือหารือเร่ืองนี้อยางจริงจังกับ
อาจารยท่ีปรึกษาฯ ทันที หากใชวิธีนี้แลวไมประสบผลสําเร็จ ควรปรึกษาผูอ่ืน เชน ประธานอาจารย
ประจําหลักสูตร เพ่ือหาทางแกไขท่ีเหมาะสมตอไป พึงระลึกไวเสมอวา เม่ือเร่ิมมีปญหากับอาจารยที่
ปรกึ ษาฯ ตอ งคยุ กบั อาจารยท ีป่ รกึ ษาฯ โดยเร็วอยาปลอ ยใหความคิดเห็นหรือทัศนะที่ไมสอดคลองกัน
พฒั นาไปเปน ความขัดแยงหรือเปนปรปก ษก นั

ขอ แนะนําสําหรับนักศึกษา

1. นัดอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธลวงหนาเปนลายลักษณอักษร (บันทึกเล็กๆ) อยางนอย
หนึ่งสปั ดาหทุกครัง้ กอนขอพบเพ่อื ปรึกษา

2. เตรียมความพรอมของตนเอง โดยกําหนดรายการ ขอหารือทุกๆ ขอที่ตองการปรึกษา
(อาจแนบรายการไปพรอ มกับบันทกึ นดั ปรกึ ษาอาจารยฯ ก็ได)

3. รายงานความกาวหนา (ลาหลัง) ของงานวิทยานิพนธของตนโดยไมปดบัง โดยอาจจะ
จัดทําในรูปแบบของการสงรายงานหรือสงสมุดบันทึกผลการทํางาน เพ่ือใหมีการตรวจสอบสาเหตุเพื่อ
หาทางแกไ ขปญหา

4. เมือ่ ตอ งการความชวยเหลอื ตอ งเอย ปากขอความชวยเหลอื ทนั ที อยาอาย!
5. ขอรบั ความเห็น ขอเสนอแนะ (Feedback) จากอาจารยฯ เสมอ
6. ปฏบิ ัติตามคาํ แนะนําของอาจารยฯ ตามท่ีไดพูดคุยหรอื ตกลงกันไว
7. หากไมชัดเจนเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติใดๆ เก่ียวกับการทําวิทยานิพนธ สอบถาม/หารือกับ
อาจารยฯ ตัง้ แตเรม่ิ ตนปฏิบตั งิ าน
8. เมอ่ื มีขอ ขดั แยงใดๆ ตอ งรบี แกไขอยา งมีกลวิธที ีเ่ หมาะสม
9. ถาคิดวาไมสามารถลดขอขัดแยงกับอาจารยฯ ได รีบหารือประธานหลักสูตรฯ หรือผูอื่นท่ี
เหมาะสม

จรรยาบรรณและจริยธรรมในการวจิ ยั

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ไดกําหนดใหนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทําวิทยานิพนธ
เพื่อเสนอตอมหาวิทยาลัยนั้น เพ่ือใหวิทยานิพนธของนักศึกษาที่จะปรากฏสูสาธารณชน เปน
ผลงานวิจัยท่ีดีมีคุณภาพ สามารถนําไปใชเพ่ือปรับปรุงพัฒนาสภาพสังคมไดน้ันจําเปนตองอาศัย

บัณฑติ วทิ ยาลยั 4 คมู อื วิทยานิพนธ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช

องคประกอบตางๆ หลายประการนอกเหนือจากความรูความเขาใจในเนื้อหาและระเบียบวิธีวิจัย แลว
คุณธรรมหรือจรรยาบรรณของนักวิจัยก็เปนองคประกอบหน่ึงท่ีสําคัญยิ่ง มหาวิทยาลัยไดเล็งเห็น
ความสําคญั ในเรือ่ งนี้ จงึ ไดเ สนอจรรยาบรรณนักวิจยั ซ่ึงกําหนดโดยคณะกรรมการ สภาวิจัยแหงชาติ
(2541, หนา 1-13) เพื่อใหน กั ศึกษายดึ ถอื ปฏบิ ตั เิ ปน แนวทางในการทาํ วทิ ยานิพนธด ังนี้

1. นักวจิ ยั ตอ งซ่ือสัตยและมีคณุ ธรรมในทางวชิ าการและการจัดการ
นกั วจิ ยั ตองมีความซอื่ สัตยตอตนเอง ไมนําผลงานของผูอ่ืนมาเปนของตน ไมลอกเลียน

งานของผูอ่ืน ตองใหเกียรติและอางถึงบุคคล หรือแหลงที่มาของขอมูลท่ีนํามาใชงานวิจัยตองซื่อตรง
ตอการแสวงหาทนุ วิจยั และมคี วามเปนธรรมเกยี่ วกับผลประโยชนไดจากการวจิ ัย

1.1 นักวิจัยตองมคี วามซอ่ื สัตยต อ ตนเองและผูอ่ืน
1.1.1 นักวิจัยตองมีความซ่ือสัตยในทุกข้ันตอนของกระบวนการวิจัย ต้ังแตการ

เลือกเร่ืองที่จะทําวิจัย การเลือกผูเขารวมทําวิจัย การดําเนินการวิจัย ตลอดจนการนนําผลงานวิจัยไป
ใชป ระโยชน

1.1.2 นักวจิ ัยตอ งใหเกียรตผิ อู นื่ โดยการอางถึงบุคคลหรือแหลงที่มาของขอมูลความ
คดิ เห็นท่นี ํามาใชใ นงานวิจัย

1.2 นกั วิจยั ตอ งซอื่ ตรงตอการแสวงหาทนุ วจิ ยั
1.2.1 นักวิจัยตองเสนอขอมูลและแนวคิดอยางเปดเผยและตรงไปตรงมาในการ

เสนอโครงการวจิ ัยเพ่ือขอรบั ทุน
1.2.2 นกั วิจัยตองเสนอโตรงการวจิ ยั ดว ยความซ่ือสตั ยโดยไมข อรับทุนซํา้ ซอน

1.3 นักวจิ ยั ตองมคี วามเปนธรรมเกี่ยวกบั ผลประโยชนไ ดจ ากการวิจัย
1.3.1 นักวจิ ยั ตองจดั สรรสดั สว นขอผลงานวิจยั ผูเ ขา รว มวจิ ัยอยางยตุ ธิ รรม
1.3.2 นักวจิ ัยตอ งเสนอผลงานอยางตรงไปตรงมา โดยไมนาํ ผลงานของผอู ่ืนมาไมจ าํ เปน

2. นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย ตามขอตกลงที่ทําไวกับหนวยงาน
สนับสนนุ การวิจยั และตอหนว ยงานที่ตนสกดั

นักวิจัยตองปฏิบัติตามพันธกรณีและขอตกลงการวิจัยที่ผูเก่ียวของทุกฝายยอมรับ
รว มกันอทุ ิศเวลาทํางานวิจยั ใหไดผลดที ่ีสดุ และเปนไปตามกาํ หนดเวลา มีความรับผิดชอบไมละทิ้งงาน
ระหวา งดําเนนิ การ

2.1 นกั วิจยั ตอ งตระหนักถงึ พันธกรณใี นการทําวิจัย
2.1.1 นักวิจัยตองศึกษาเง่ือนไข และกฎเกณฑของเจาของทุนอยางละเอียด รอบคอบ

เพ่ือปอ งกันความขัดแยง ท่ีจะเกิดขึ้นในภายหลัง
2.1.2 นักวิจัยตอ งปฏบิ ตั ติ ามเงื่อนไข ระเบยี บและกฎเกณฑ ตามขอตกลงอยา งครบถวน

2.2 นกั วจิ ยั ตอ งอทุ ศิ เวลาทาํ งานวจิ ยั
2.2.1 นักวิจัยตองทุมเทความรู ความสามารถและเวลาใหกับการทํางานวิจัย

เพอ่ื ใหไดม าซ่ึงผลงานวิจัยทม่ี คี ณุ ภาพและเปน ประโยชน
2.3 นกั วิจัยตองมีความรบั ผิดชอบในการทาํ วจิ ยั

คูมอื วทิ ยานพิ นธ 5 บณั ฑติ วทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

2.3.1 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบ ไมละท้ิงงานโดยไมมีเหตุผลอันควร และสงงาน
ตามกาํ หนดเวลา ไมทําผิดสญั ญาขอ ตกลงจนกอ ใหเกิดความเสยี หาย

2.3.2 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการจัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ
เพ่ือใหผลอนั เกิดจาการวิจัยฉบับสมบูรณ เพ่อื ใหผ ลอนั เกิดจาการวิจัยไดถ ูกนาํ ไปใชป ระโยชน

3. นกั วิจัยตอ งมีพนื้ ฐานความรใู นสาขาวิชาการที่ทําการวจิ ัย
นักวิจัยตองมีพ้ืนฐานความรูในสาขาวิชาการที่ทําวิจัยอยางเพียงพอและมีความรูความ

ชํานาญหรือมีประสบการณ เก่ียวกับเน่ืองกับเรื่องท่ีทําการวิจัย เพื่อนําไปสูงานวิจัยที่มีสุขภาพ และ
เพื่อปองกันปญหาการวิเคราะห การตีความ หรือการสรุปที่ผิดพลาด อันอาจกอใหเกิดความเสียหาย
ตองานวจิ ัย

3.1 นักวิจยั ตองมีพื้นฐานความรู ความชาํ นาญหรอื ประสบการณเ ก่ยี วกบั เรอื่ งที่ทําวิจัย
อยางเพยี งพอเพ่อื นําไปสูงานวิจยั ท่ีมีคณุ ภาพ

3.2 นกั วิจัยตอ งรกั ษามาตรฐานและคุณภาพของงานวจิ ยั ในสาขาวิชาน้ันๆ เพื่อปองกัน
ความเสียหายตอวงการวิชาการ

4. นกั วิจยั ตอ งมีความรับผิดชอบตอ ส่ิงทีศ่ ึกษาวิจัย ไมวา จะเปน สิง่ ท่ีมีชวี ติ หรอื ไมม ชี วี ติ
นักวิจัยตองดําเนินการดวยความรอบคอบระมัดระวัง และเท่ียงตรงในการทําวิจัยท่ี

เกี่ยวของกับคน สัตว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และส่ิงแวดลอมมีจิตสํานึกและมีปณิธานที่จะ
อนุรักษศ ลิ ปวัฒนธรรม ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอม

4.1 การใชคนหรอื สตั วเปน ตวั อยา งทดลอง ตองทําในกรณีทไ่ี มม ที างเลอื กอน่ื เทานนั้
4.2 นักวิจัยตองดําเนินการวิจัยโดยมีจิตสํานึกท่ีจะไมกอความเสียหาย สัตว พืช
ศลิ ปวฒั นธรรม ทรพั ยากร และส่งิ แวดลอม
4.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอผลที่จะเกิดแกตนเอง กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา
และสังคม
5. นกั วิจัยตองเคารพศักดศ์ิ รแี ละสทิ ธขิ องมนุษยท ี่ใชเปน ตวั อยางในการวิจยั
นักวิจัยตองไมคํานึงถึงผลประโยชนทางวิชาการจนละเลย และขาดความเคารพใน
ศักดิ์ศรีของเพื่อนมนุษยตองถือเปนภาระหนาที่ท่ีจะอธิบายจุดมุงหมายของการวิจัยแกบุคคลท่ีเปนกลุม
ตัวอยาง โดยไมห ลอกลวงหรือบีบบังคบั และไมละเมดิ สิทธสิ วนบุคคล
5.1 นักวจิ ยั ตอ งมคี วามเคารพในสิทธขิ องมนุษยทใี่ ชใ นการทดลองโดยตองไดรับความ
ยนิ ยอมกอนทําการวิจัย
5.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตอมนุษยและสัตวท่ีใชในการทดลองดวยความเมตตา ไมคํานึงถึง
แตผ ลประโยชนทางวิชากรจนเกิดความเสยี หายทอ่ี าจกอใหเกดิ ความขัดแยง
5.3 นักวิจัยตองดูแลปองสิทธิประโยชนและรักษาความลับของกลุมตัวอยางที่ใชใน
การทดลอง

บณั ฑิตวิทยาลัย 6 คูมอื วทิ ยานพิ นธ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

6. นกั วจิ ยั ตองมอี ิสระทางความคิด โดยปราศจากอคตใิ นทกุ ขั้นตอนของการทาํ วจิ ัย
นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ตองตระหนักวา อคติสวนตนหรือความลําเอียงทาง

วิชาการ อาจสง ผลใหก ารมกี ารบดิ เบอื นขอ มูลและขอคน พบทางวชิ าการ อันเปนเหตใุ หเกิดผลเสยี หาย
ของงานวิจยั

6.1 นักวิจยั จะตองมอี สิ ระทางความคดิ ไมใ ชท ํางานวิจัยดว ยความเกรงใจ
6.2 นักวิจยั จะตองปฏบิ ตั ิงานวิจัยโดยใชหลกั วิชาการเปน เกณฑและไมมอี คตเิ ก่ยี วของ
6.3 นักวิจัยตองเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริง ไมจงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัย โดย
หวงั ประโยชนส วนตน หรือตอ งการสรางความเสยี หายแกผอู ่ืน
7. นกั วจิ ยั ที่นําผลงานวิจยั ไปใชประโยชนใ นทางที่ชอบ
นักวิจัยท่ีเผยแพรผลงานวิจัยเพ่ือประโยชนทางวิชาการและสังคม ไมขยายผลขอ
คน พบจนความเปน จรงิ และใหใชผลงานวิจัยไปในทางมิชอบ
7.1 นักวิจยั พึงมคี วามรับผิดชอบและรอบคอบในการเผยแพรผ ลงานวิจยั
7.2 นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยโดยคํานึงถึงประโยชนทางวิชาการ และสังคม ไมเผยแพร
ผลงานวิจยั เกิดความเปน จริงโดยเห็นแกป ระโยชนส ว นตนเปนทต่ี ั้ง
7.3 นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริงไมขยายผลขอคนพบโดยปราศจากการ
ตรวจสอบ ยนื ยนั ในทางวชิ าการ
8. นักวิจัยพงึ เคารพความคิดเหน็ ทางวชิ าการของผอู น่ื
นักวิจัยพึงมีใจกวาง พรอมท่ีจะเผยขอมูลและข้ันตอนการวิจัย ยอมรับฟงความคิดเห็น
และเหตผุ ลทางวิชาการของผูอน่ื และพรอมที่ปรบั ปรุงแกไ ขผลทางวจิ ยั ของตนเองใหถูกตอ ง
8.1 นักวิจัยพึงมีมนุษยสัมพันธท่ีดี ยินดีแลกเปล่ียนความคิดเห็น และสรางความเขาใจใน
งานวจิ ยั กับเพ่อื นรวมงานและนักวชิ าการอ่ืนๆ
8.2 นักวิจัยพึงยอมรับฟง แกไขการทําวิจัยและเสนอผลงานวิจัยตามขอแนะนําท่ีดี
เพือ่ สรางความรทู ี่ถกู ตอ งและสามารถนาํ ผลงานวิจยั ไปใชประโยชน
9. นกั วจิ ยั พึงมีความรบั ผดิ ชอบตอสงั คมทุกระดบั
นักวิจัยพึงมีจิตสํานึกท่ีจะอุทิศกําลังสติปญญาในการทําวิจัย เพื่อความกาวหนาทาง
วชิ าการ เพื่อความเจรญิ และประโยชนสขุ ของสงั คมและมวลมนษุ ยชาติ
9.1 นักวิจัยพึงไตรตรองหาหัวขอการวิจัยดวยความรอบคอบและทําการวิจัยดวย
จิตสํานึกท่ีจะอุทิศกําลังปญญาของตนเพ่ือความกาวหนาทางวิชาการ เพ่ือความเจริญของสถาบันและ
ประโยชนสขุ ตอ สังคม
9.2 นักวจิ ัยพงึ รับผดิ ชอบในการสรา งสรรคผลงานวิชาการเพ่ือความเจริญของสังคม ไมทํา
การวิจัยท่ขี ัดกบั กฎหมาย ความสงบเรยี บรอ ยและศลี ธรรมอันดีของประชาชน

คมู ือวิทยานพิ นธ 7 บณั ฑิตวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

9.3 นักวิจัยพึงพัฒนาบทบาทของตนใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้น และอุทิศเวลา น้ําใจ
กระทําการสงเสริมพัฒนาความรู จิตใจ พฤติกรรมของการวิจัยรุนใหมใหมีสวนสรรคความรูแกสังคม
สบื ไป

บณั ฑติ วทิ ยาลัย 8 คมู อื วิทยานิพนธ
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

คมู อื วิทยานิพนธ 9 บัณฑิตวทิ ยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

บทท่ี 2
การทําวิทยานพิ นธ

ขอปฏบิ ตั ิและขนั้ ตอนการทาํ วทิ ยานพิ นธ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชไดดําเนินการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
เพื่อตอบสนองความตองการของทองถิ่น โดยกําหนดใหหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยเปดสอนน้ัน เนนให
นกั ศึกษาไดดาํ เนินการจดั ทําวทิ ยานิพนธ ในบทนี้มหาวิทยาลัยจึงขอเสนอขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ
ดังนี้

1. การอนมุ ตั ิช่ือเร่อื งวิทยานพิ นธและเสนอแตงตงั้ อาจารยท ี่ปรึกษาวิทยานิพนธ
2. การสอบเคา โครงวิทยานิพนธ
3. การสอบวิทยานพิ นธ
4. การสง ตรวจรปู แบบวทิ ยานิพนธ
5. การสงวิทยานิพนธฉ บับสมบรู ณและการสาํ เรจ็ การศกึ ษา
6. การคนควาอิสระ

การอนุมตั ชิ ือ่ เรือ่ งวิทยานิพนธและเสนอแตง ตง้ั อาจารยท ปี่ รึกษาวิทยานิพนธ

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จะตองไดรับอนุมัติ
ช่ือเรื่องวิทยานิพนธและอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธจากอาจารยประจําหลักสูตร จึงไดกําหนดแนว
ปฏิบตั ิการอนมุ ตั ิช่ือเร่ืองวิทยานิพนธและอาจารยทปี่ รึกษาวิทยานิพนธไวด ังนี้

1. นักศึกษาดําเนินการเตรียมหัวขอและจัดทําเคาโครงวิทยานิพนธฉบับยอ ตามแบบฟอรม
เสนอสอบชื่อเร่ือง (แบบ บฑว.01, แบบ บฑว.02) จํานวน 7 เลม เพ่ือประกอบการขออนุมัติชื่อเรื่อง
วทิ ยานพิ นธต อคณะลวงหนา กอ นสอบ 7 วนั

2. คณะประสานงานอาจารยประจําหลักสูตร เพ่ือนัดวัน/เวลาพิจารณาหัวขอเร่ือง
วิทยานพิ นธ และที่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ

3. อาจารยประจําหลักสูตรพิจารณาชื่อเรื่องวิทยานิพนธและที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
หากมีมติอนุมัติช่ือเรื่องวิทยานิพนธและอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ใหแจงผลการอนุมัติกับ
นักศึกษาดําเนินการจัดทําเคาโครงวิทยานิพนธอยางละเอียดและลงทะเบียนครั้งแรกได กรณีที่ไม
อนุมัติจะตองยอนไปดําเนินการใหม หรือกรณีท่ีมีมติใหปรับปรุงแกไข นักศึกษาจะตองนํากลับไป
ดาํ เนนิ การตามเงอ่ื นไขทีก่ ําหนด

4. ในการพิจาณาอนุมัติช่ือเรื่องวิทยานิพนธและแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ อาจให
นักศึกษารว มรบั ฟงหรือชี้แจงรายละเอียดได

บัณฑิตวทิ ยาลัย 10 คูม ือวทิ ยานิพนธ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

5. นักศึกษาท่ีไดผานการรับรองช่ือเร่ืองวิทยานิพนธและแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษา
วิทยานิพนธแลว ดําเนินการกรอกขอมูลในแบบเสนอชื่อเรื่องและอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ
(แบบ บฑว.03) และใหผูเก่ียวของลงนามตามปรากฎในแบบฟอรม และใหนักศึกษาสําเนาเก็บไว 1 ฉบับ
แลว เสนอตอ คณะ

6. คณะดําเนินการจัดทําคําสั่งมหาวิทยาลัย เพื่อแตงต้ังท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ตามแบบ
เสนอช่ือเรื่องและคณะอาจารยทป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธ (แบบ บฑว.03)

การสอบเคาโครงวทิ ยานพิ นธ

1. นักศึกษาท่ีพรอมจะทําการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ ใหย่ืนคํารองขอสอบเคาโครง
วิทยานพิ นธ (แบบ บฑว.04) ตอ อาจารยป ระจาํ หลักสูตร พรอมกับสง เคาโครงวทิ ยานิพนธ จาํ นวน 7 ชุด

2. อาจารยประจําหลักสูตรตรวจสอบความถูกตองและเสนอแตงต้ังคณะกรรมการพิจารณา
เคาโครงวิทยานิพนธ พรอมท้ังกําหนดวันสอบเคาโครงวิทยานิพนธและดําเนินการสอบใหแลวเสร็จภายใน
ภาคการศึกษาที่นักศึกษาลงทะเบียนวิทยานิพนธ

3. ในการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ คณะกรรมการพิจารณาเคาโครงวิทยานิพนธ
อาจเชญิ ผูเชยี่ วชาญรวมแสดงความคิดเหน็ กอ็ าจกระทําได

4. คณะกรรมการพจิ ารณาเคาโครงวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบเคาโครงวิทยานิพนธตาม
แบบฟอรม (แบบ บฑว.05) ตอคณะเพอ่ื แจง นกั ศกึ ษาตอไป

5. เมื่อนักศึกษาสอบผานเคาโครงวิทยานิพนธแลว นักศึกษาจะตองสงเคาโครง
วิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหคณะ 2 ชุด นักศึกษาจึงสามารถลงทะเบียนเพิ่ม และดําเนินการทํา
วิทยานพิ นธต อ ไปได

6. กรณีท่ีนักศึกษาสอบไมผานเคาโครงวิทยานิพนธครั้งแรก นักศึกษาจะตองดําเนินการ
ตามขอ 1. ใหม และคณะจะตองดําเนินการสอบเคาโครงวิทยานิพนธคร้ังท่ี 2 ภายใน 60 วันหลังจากการ
สอบคร้ังแรก

การสอบวทิ ยานิพนธ

1. นักศึกษาท่ีพรอมจะทําการสอบวิทยานิพนธ ใหยื่นคํารองขอสอบวิทยานิพนธ
(แบบ บฑว.06 และ แบบ บฑว.07) ตอคณะ พรอมกับวิทยานิพนธ จํานวน 7 ชุด

2. คณะประสานงานกับอาจารยประจําหลักสูตร เพื่อใหอาจารยประจําหลักสูตรตรวจสอบ
ความถูกตองและเสนอแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ พรอมท้ังกําหนดวันสอบวิทยานิพนธและ
ดําเนินการสอบ

3. ในการสอบวิทยานิพนธ อาจารยประจําหลักสูตรจะตองคํานึงถึงคณะกรรมการที่จะ
มาดําเนนิ การสอบวทิ ยานพิ นธ ซึง่ จะจาํ แนกออกเปน 2 ระดบั คอื

คมู ือวทิ ยานิพนธ 11 บัณฑิตวิทยาลยั
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

3.1 ระดบั ปรญิ ญาโท
3.1.1 อาจารยผูสอบวิทยานิพนธตองประกอบดวย อาจารยประจําและผูทรงคุณวุฒิ

ท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารยใน
สาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะ และตองมีประสบการณในการ
ทําวิจัยที่มิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

3.1.2 คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ประกอบดว ย ประธานกรรมการ ซึ่งแตงต้ัง
จากอาจารยประจาํ หลักสูตรทม่ี ไิ ดเปนอาจารยท ป่ี รึกษาวิทยานิพนธของผูสอบ คณะอาจารยที่ปรึกษา
วิทยานิพนธตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วาดวยจัดการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ 21(3.1) และผูทรงคุณวุฒิอยางนอย 1 คน ที่มีคุณสมบัติตามขอบังคับ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วาดวยจัดการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561
ขอ 21(3.2) เปน กรรมการ

3.1.3 ในวันสอบวิทยานิพนธ/การคนควาอิสระ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ
จะตองประกอบดวย ประธานกรรมการ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การคนควาอิสระ และ
ผูท รงคณุ วฒุ ิ ถากรรมการไมครบตามองคประกอบดังกลาวขางตน ใหเลื่อนการสอบออกไป ในกรณีท่ี
จาํ เปน อาจเปลยี่ นกรรมการ โดยอธิการบดีแตงต้ังกรรมการทดแทนตามคําแนะนําของคณบดีได ท้ังน้ี
จะตองกําหนดวันสอบใหม ใหมีระยะหางพอสมควรแกการท่ีกรรมการที่แตงต้ังทดแทนขึ้นใหม จะมี
เวลาตรวจอา นวิทยานิพนธ/การคนควา อสิ ระได

3.1.4 การสอบวิทยานิพนธ/การคนควาอิสระ ตองประกอบดวย การตรวจอาน
วทิ ยานพิ นธ/การคนควา อิสระ การประชุมปรึกษาระหวา งกรรมการในวันสอบ และการทดสอบความรู
นักศึกษา จงึ จะถือวาการสอบนน้ั มผี ลสมบูรณ

3.2 ระดับปริญญาเอก
3.2.1 คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธข้ันปริญญาเอก ประกอบดวย ประธาน

กรรมการ ซึ่งแตงตั้งจากอาจารยประจําหลักสูตรท่ีมิไดเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธของผูสอบ
คณะกรรมการที่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธต ามขอ บงั คบั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วาดวยจัดการ
จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ 22(3.1) และผูทรงคุณวุฒิอยางนอย 1 คน ท่ีมี
คุณสมบัติตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วาดวยจัดการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ 22(3.2) เปน กรรมการ

3.2.2 ในวันสอบวิทยานิพนธ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธจะตองประกอบดวย
ประธานกรรมการ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ และผูทรงคุณวุฒิ ถากรรมการไมครบตาม
องคประกอบดังกลาวขางตน ใหเลื่อนการสอบออกไป ในกรณีท่ีจําเปนอาจเปล่ียนกรรมการได โดย
อธิการบดีแตงต้ังกรรมการทดแทนตามคําแนะนําของคณบดีได ทั้งน้ี จะตองกําหนดวันสอบใหมใหมี
ระยะหางพอสมควรแกก ารทก่ี รรมการทีแ่ ตง ตง้ั ทดแทนขน้ึ ใหม จะมเี วลาตรวจอานวทิ ยานิพนธ

3.2.3 การสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวย การตรวจอานวิทยานิพนธการประชุม
ปรึกษาระหวางกรรมการในวันสอบ และการทดสอบความรูนักศึกษา จึงจะถือวาการสอบนั้นมี
ผลสมบรู ณ

บัณฑิตวทิ ยาลยั 12 คูม ือวทิ ยานิพนธ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

4. การสอบวิทยานิพนธใหจัดเปนแบบเปด ผูสนใจสามารถเขารับฟงได ใหประธาน
กรรมการสอบวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบวิทยานิพนธตอคณบดี (แบบ บฑว.08) ภายใน 15 วัน
นบั จากวันสอบวทิ ยานิพนธ เพ่ือสงผลการสอบใหก บั บัณฑิตวทิ ยาลัยดาํ เนินการตอ ไป

5. นักศึกษาท่ีสอบไมผานวิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองลงทะเบียน นักศึกษาจะตอง
ดาํ เนนิ การตามขอ 1. ใหม

การตรวจรูปแบบวทิ ยานิพนธ

นักศึกษาท่ีผานการสอบวิทยานิพนธและไดรับการรับรองจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธวา
“นักศึกษาไดป รับปรุง แกไขและตรวจสอบตามขอ เสนอของคณะกรรมสอบวิทยานิพนธแลว” นักศึกษา
จึงจะสงวิทยานิพนธท่ีผานการลงนามของท่ีปรึกษาเรียบรอยแลว เพื่อขอรับการตรวจรูปแบบ
วิทยานิพนธจากมหาวิทยาลยั ได โดยดาํ เนนิ การตามขน้ั ตอนดงั นี้
1. ย่ืนหนังสือขอตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ (แบบ บฑว.09) พรอมแนบเอกสารดังนี้
1.1 วิทยานิพนธฉบับสมบูรณโดยไมตองเขาเลม จํานวน 1 เลม
1.2 บทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จํานวน 1 ชุด
1.3 ปกภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จํานวน 1 ชดุ
ตอบณั ฑติ วทิ ยาลยั ภายใน 30 วัน หลงั จากสอบปากเปลา วิทยานพิ นธข ัน้ สดุ ทาย
2. หลังจากย่ืนคํารองขอตรวจรูปแบบ ประมาณ 15 วันทําการ ใหนักศึกษามารับผล
การตรวจสอบรูปแบบพรอมวทิ ยานพิ นธคนื
3. หลงั แกไ ขวทิ ยานพิ นธเรยี บรอ ยแลว บัณฑิตวิทยาลัยจะรับรองใหนักศึกษาดําเนินการ
จัดทําวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ (แบบ บฑว.10) พรอมตนฉบับวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ เพื่อให
นกั ศกึ ษานาํ “หนาอนุมัต”ิ เสนอใหผเู ก่ยี วของลงนามและนําไปจดั ทํารูปเลมตามท่มี หาวิทยาลัยกําหนด

การสงวทิ ยานพิ นธฉ บับสมบรู ณและการสาํ เร็จการศกึ ษา

การสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณและการสําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยไดมอบหมาย
ใหคณะและสาํ นักสง เสริมวชิ าการเปนผรู ับผิดชอบ ซ่งึ นกั ศึกษาตองทราบวา จะดําเนินการอยางไร

ส่งิ ที่นักศกึ ษาจะตองดาํ เนนิ การกับคณะ มีดงั นี้
1. นักศึกษาย่ืนคํารองขอสงวิทยานิพนธ (แบบ บฑว.11) และวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ
จาํ นวน 5 เลมและแผน ซดี ี (CD) 1 แผน โดยขอมูลใหจัดทําโปรแกรม Microsoft Word หรือ Adobe
Acrobat ท้ังนี้ ขอมูลในแผน จะตอ งครบถวนถกู ตองตามตนฉบบั วิทยานิพนธท ุกประการ
2. นกั ศึกษาจะตอ งสงส่อื ประกอบวทิ ยานพิ นธ เชน สไลด เทป วดี ิทัศน (ถา มี)
3. นักศึกษาจะตองสงหนังสือรับรองการตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ หรือเอกสารการยอมรับ
ใหต ีพิมพจ ากสํานกั พมิ พ หรอื เอกสารทตี่ พี ิมพแ ลว

คมู อื วิทยานิพนธ 13 บัณฑิตวิทยาลยั
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช

สิ่งทีน่ กั ศกึ ษาจะตอ งดาํ เนินการกับบัณฑติ วิทยาลยั มีดังนี้
1. คํารองขอสําเร็จการศึกษา จํานวน 1 ฉบับ แนบรูปถายชุดครุยวิทยฐานะ ขนาด 1 นิ้ว
และ 2 น้วิ จาํ นวน 2 รูป
2. ตรวจสอบโครงสรางของหลักสูตร และเปนไปตามเกณฑของขอบังคับมหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครศรีธรรมราชวาดวยจัดการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561

การคนควาอิสระ

เน่ืองจากหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาบางสาขาวิชาเปนแผนการศึกษาท่ีเนนการศึกษา
รายวิชาสัมพันธและรายวิชาเฉพาะดานโดยไมตองทําวิทยานิพนธ แตตองทําการคนควาอิสระ หรือมี
การศึกษาอิสระ การดาํ เนนิ การจัดทาํ ใหใชแ นวปฏิบตั กิ ารดาํ เนนิ การทาํ วทิ ยานิพนธ โดยอนุโลม

บณั ฑติ วทิ ยาลัย 14 คมู อื วิทยานิพนธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

คูมือวิทยานิพนธ 15 บณั ฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

บทท่ี 3
สว นประกอบของวทิ ยานพิ นธ

วทิ ยานพิ นธเ ปนผลงานจากการศึกษา คนควา วิจัยหาความรูความจริงในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง
อยางมีระบบและนาเช่ือถือ จึงมีคุณคาสามารถนําไปใชประโยชน นําไปอางอิง หรือใหผูอื่นใชศึกษา
คนควาสืบตอไป การนําเสนอผลงานวิจัยจึงมีความสําคัญไมนอยไปกวาเนื้อหาของงานวิจัย นักศึกษา
ควรคาํ นงึ ถงึ การนําเสนอผลงานวจิ ยั ของตนวาจะอยูในรูปแบบที่ผูอื่นเขาใจงายหรือใชคนควาสืบตอไป
ได มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราชจงึ กาํ หนดรูปแบบของวทิ ยานพิ นธด ังน้ี

รายละเอียดวิทยานิพนธ

วิทยานพิ นธจ ะตองประกอบดวย 3 สว น คอื
1. สวนประกอบตอนตน
2. สว นเนอื้ หา
3. สว นประกอบตอนทาย

สว นประกอบตอนตน

ปกนอก (Cover)

มหาวทิ ยาลยั กําหนดใหปกนอกของวทิ ยานิพนธมลี กั ษณะดงั นี้
1. ปกนอกเลมวิทยานิพนธตองเปนปกแข็ง หุมปกดวยผาแร็กซีน ระดับปริญญาโทสีแดง
ระดบั ปรญิ ญาเอกสดี าํ การศกึ ษาคนควาอิสระสีเขยี ว ตามแบบของมหาวทิ ยาลัย
2. ปม ตรามหาวทิ ยาลยั เปนรปู ลายเสนสีทอง และตวั อกั ษรบนปกนอกใหพมิ พด ว ยอักษรสี
ทอง (ตัวอยา งหนา 63)
3. ปกนอกดานหนา ของวิทยานพิ นธตองมรี ายละเอยี ดดังนี้

3.1 ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ
3.2 ชื่อนักศึกษา ใหระบุเพียง ช่ือ–สกุล โดยไมมีคํานําหนานาม ยกเวนหากมี ยศ
ฐานันดรศกั ดิ์ ราชทินนาม สมณศกั ดิ์
3.3 ระบุขอความวา เสนอตอมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เพ่ือเปนสวนหนึ่ง
ของการศึกษาหลักสตู รใด สาขาวิชาใด
3.4 ปทพ่ี มิ พ ใชป การศึกษาท่สี อบวิทยานพิ นธผาน
3.5 ระบคุ ําวา ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

บัณฑิตวิทยาลยั 16 คมู ือวทิ ยานิพนธ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช

4. ขอบสนั ปกนอกของเลมวิทยานิพนธใ หพ ิมพรายละเอยี ดดังน้ี (ตัวอยางหนา 64)
4.1 ชอ่ื วิทยานิพนธ
4.2 ชอ่ื นักศึกษา
4.3ปก ารศกึ ษาที่สอบวทิ ยานิพนธผ า นและไดรับอนมุ ตั ปิ รญิ ญา

5. ปกดา นหลงั หนงั สือตองไมม ขี อ ความใดๆ

ใบรองปก (Fly leaf)

ใบรองปก คือ กระดาษสีขาวอยตู ดิ กบั ปกหนาหนงึ่ แผน และปกหลงั หนึ่งแผน

ปกใน (Title page)

ปกในมีท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ปกในจะมีขอความทุกอยางเหมือนท่ีเขียนไวที่ปก
นอกวิทยานพิ นธ (ตวั อยางหนา 65-66)

หนา อนมุ ตั ิ (Approval sheet)

หนาอนุมัติ คือ หนากระดาษท่ีจัดลําดับไวตอหนาปกใน โดยมีลายมือช่ือคณะอาจารยที่
ปรึกษาวิทยานิพนธ คณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธและผูเกี่ยวขอ ง (ตวั อยางหนา 67)

บทคัดยอ (Abstract)

บทคัดยอคือเน้ือความยอของวิทยานิพนธโดยสรุปเก่ียวกับวัตถุประสงคการวิจัย
วิธีดําเนินการวิจัยและผลการวิจัย ความยาวของบทคัดยอไมเกิน 2 หนากระดาษ บทคัดยอมีทั้ง
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเรยี งลําดบั ภาษาไทยข้นึ กอน (ตวั อยางหนา 68-71)

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)

กิตติกรรมประกาศ คือ ขอความที่ผูวิจัยแสดงความขอบคุณผูมีพระคุณ และมีสวน
ชว ยเหลอื ใหด ําเนินการวิจยั คร้ังนน้ั ๆ ดาํ เนินไปดว ยดแี ละประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค ความยาว
ของกิตติกรรมประกาศตองไมเ กนิ 1 หนา และใหพ มิ พชอ่ื นักศึกษาไวท ายขอ ความ (ตัวอยางหนา 72)

สารบัญ (Table of contents)

สารบัญเปนรายการที่แสดงถึงสวนประกอบสําคัญทั้งหมดของวิทยานิพนธ โดยมีเลขหนา
กาํ กบั แตละสวนทเ่ี รยี งตามลําดบั ของเนื้อหา สว นประกอบตอนตน ใหนบั หนา โดยใชตัวอกั ษรไทย สว นเนอ้ื หา
ใชเ ลขอารบคิ โดยเรม่ิ นบั หนา ตง้ั แตส วนเนือ้ หาเปนตนไป (ตัวอยา งหนา 73-74)

คมู อื วทิ ยานิพนธ 17 บณั ฑิตวิทยาลยั
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

สารบัญตาราง (List of tables)

สารบัญตารางเปนรายการท่ีระบุช่ือของตารางและเลขหนาของตารางทั้งหมดที่ปรากฏ
ในวิทยานิพนธ รวมทั้งตารางในภาคผนวกโดยเรียงตามลําดับกอนหลังที่ปรากฏในวิทยานิพนธ
(ตัวอยา งหนา 75)

สารบัญภาพ (List of figures)

สารบัญภาพเปนรายการทรี่ ะบชุ ื่อภาพและเลขหนาของภาพ แผนภมู ิ และกราฟ ท้ังหมดที่
ปรากฏในวิทยานิพนธ รวมท้ังภาพประกอบในภาคผนวกดวย โดยเรียงตามลําดับกอนหลังที่ปรากฏ
ในวิทยานพิ นธ (ตวั อยางหนา 76)

สว นเน้ือหา

เนื้อหาเปนสวนที่สําคัญที่สุดของวิทยานิพนธเพราะเปนสวนท่ีแสดงสาระสําคัญของการวิจัย
เนือ้ หาจะแบงออกเปนกีบ่ ทก็ไดตามความจําเปน แตละบทของเนอ้ื หาจะแตกตา งกันไป ตามลักษณะเน้ือหา
และแบบแผนของวิธีการวิจัยของแตละสาขาวิชา เชน วิทยานิพนธที่เปนงานวิจัยทางประวัติศาสตร
งานวิจยั เชงิ คุณภาพ งานวิจยั เชิงพัฒนา งานวิจัยการทดลองทางวิทยาศาสตร หรืองานวิจัยในรูปแบบอื่นๆ
การจัดลําดับหัวขอในแตละบทแตละตอนมีความสําคัญมาก เพราะการเรียงลําดับหัวขอเปน
การเรียงลาํ ดับเรอ่ื งถา จัดทําไดด ีจะชว ยชีใ้ หเห็นจดุ เดนและสาระสําคัญของเน้อื เรือ่ ง ประกอบดว ย

บทท่ี 1
บทนํา

(Introduction)

บทนําประกอบดวยความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย (ถามี) สมมติฐานของการวิจัย (ถามี) ขอบเขตของการวิจัย ขอตกลงเบื้องตน
ขอจาํ กดั ของการวจิ ยั นิยามศัพทเ ฉพาะ และประโยชนข องการวจิ ัย

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา (The problem and its background,
background of the study, statement and significance of the problem, phenomena) จะ
กลาวถึงปญหา ความเปนมาของปญหา และความจําเปนท่ีจะตองศึกษาวิจัยในปญหาน้ัน (need for
the study) โดยช้ีใหเห็นสภาพปญหาในการปฏิบัติเพ่ือความกาวหนาของวิทยาการในแขนงนั้น
ตลอดจนกลาวถงึ ปญ หาการวจิ ยั (Statement of the problems) ซ่งึ เปน ขอความท่ีกลาวถึงประเด็น
สําคญั ท่ีผูวิจยั ตอ งการจะคนหาคําตอบ

2. วัตถุประสงคของการวิจัย (Research Objectives) หมายถึง ความมุงหมายที่ผูวิจัย
ตอ งการคนหาขอ เท็จจริงโดยวิธกี ารวิจยั

บัณฑติ วิทยาลัย 18 คมู อื วทิ ยานิพนธ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช

3. กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) คือการสรุปกรอบแนวคิดในการวิจัย
ทางทฤษฎที เี่ ปนของตนเองชัดเจน

4. สมมติฐานของการวิจัย (Research Hypothesis) เปนการคาดคะเนคําตอบ (ตอบปญหา
จากวตั ถุประสงคข องการวิจัย) ไวล ว งหนา อยา งมีเหตผุ ลบนพื้นฐานของทฤษฎี งานวิจัย ประสบการณหรือ
ความเช่ือตางๆ ของผูว จิ ัย

5. ขอบเขตของการวจิ ัย (Research Scopes) เปน การขดี วงจํากัดใหแนนอนวาจะศึกษา
พิจารณาในขอบเขตแคไหน เชน ขอบเขตของประชากร กลุมตัวอยาง ขอบเขตของตัวแปร ขอบเขต
เน้อื หา ขอบเขตของชว งเวลา (งานวิจยั เชิงทดลอง)

6. ขอตกลงเบ้ืองตน (Basic Assumption) คือความคิดพื้นฐานบางประการท่ีผูวิจัย
ตอ งการทําความเขาใจกับผูอา น โดยไมต องทดสอบหรือพิสูจนอ กี

7. ขอจํากัดของการวิจัย (Research Limitation) (ถามี) คือจุดออนท่ีเปนขอจํากัดท่ีมี
ผลตอความนา เช่ือถอื ของผลการวจิ ยั

8. นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ (Definition) คอื การกําหนดความหมายของคําสําคัญบางคําท่ีใชใน
การวจิ ัยครง้ั นี้อยางไร เพ่อื ใหผูอ านเขาใจตรงกัน

9. ประโยชนของการวิจัย (Significance of the Problem) คือขอความที่ช้ีใหเห็นวา
เมอื่ นักศกึ ษาวจิ ยั แลว คนพบองคค วามรูอะไร และนาํ องคค วามรไู ปใชประโยชนอยา งไร

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

(Related literature, Literature review, literatures)

เปนการเขียนรายงานผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อใหเห็นวางานวิจัยช้ินน้ีมีแนวคิด ทฤษฎี หรือผลงานวิจัยอื่นเปนพ้ืนฐานในการวางแผน กําหนด
กรอบความคิดในการวจิ ยั หรอื ตงั้ สมมติฐานของการวิจยั สว นน้ปี ระกอบดว ยสว นตางๆ ดังน้ี

1. เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ ง
2. งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวของ

บทท่ี 3
วธิ ีดาํ เนินการวจิ ัย

(Research methodology)

ในสวนน้ีอาจกลา วถึงสง่ิ ตอไปน้ี
1. ประชากร (Population) เปนการระบุแหลงขอมูลที่จะใชในการตอบคําถามของ
วัตถุประสงคการวิจัย ประชากร หมายถึง หนวยขอมูลทุกๆ หนวยท่ีจะใหคําตอบแกผูวิจัยได
การกลาวถึงประชากรจะตองระบุขอบเขตและคุณลักษณะของประชากรใหชัดเจน และงานวิจัยบาง

คูม อื วทิ ยานิพนธ 19 บณั ฑิตวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ประเภท แหลงขอมูลในการวิจัยมีหลายแหลง เชน วิจัยและพัฒนา วิจัยเชิงประเมิน หัวขออาจเปน
แหลง ขอมลู และผใู หขอ มูลกไ็ ด

2. กลุมตัวอยาง (Sampling) เปนการระบุแหลง/กลุมตัวอยาง ท่ีผูวิจัยจะทําการศึกษา
ขอมูลจริง ในสวนน้ีจะตองระบุจํานวนตัวอยางและวิธีการเลือกตัวอยางพรอมท้ังเหตุผลของการใช
วิธกี ารนัน้ ๆ ในการเลือกตัวอยา ง

3. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย (Research instruments, data gathering instrument)
เปนการเขียนรายละเอียดเก่ียวกับเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยวามีอะไรบาง พรอมทั้งบอกลักษณะและ
คุณภาพของเคร่ืองมือ ถาผูวิจัยสราง/พัฒนาเครื่องมือ กรณีท่ีนําเคร่ืองมือที่ผูอ่ืนสรางมาใชจะตองระบุ
วาเปนเครือ่ งมือของใคร สรา ง พ.ศ. ใด และมคี าสถิตแิ สดงคณุ ภาพของเคร่ืองมือ

สําหรับการวิจัยบางประเภทที่เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยแบงเปนเคร่ืองมือที่ใชในการ
ทดลองและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลก็ใหเขียนแยกไดตามความเหมาะสมของการวิจัย
ประเภทน้ันๆ

4. การเก็บรวบรวมขอมูล (Refinement and processing of the instrument)
เปนการแสดงใหท ราบวาเกบ็ รวบรวมขอมูลอยา งไร เกบ็ ดว ยตนเอง หรอื ใหผูชวยวิจัยชวยเก็บขอมูล มี
วธิ กี ารตรวจสอบ และควบคมุ วิธกี ารเกบ็ ขอ มูลใหเปนมาตรฐานอยา งไร

5. การวิเคราะหขอมูล (Analysis and statistical treatment) กรณีขอมูลเชิงปริมาณ
ใหระบุวิธีการวิเคราะหและสถิติท่ีใชในการวิเคราะห โดยแยกบรรยายตามลักษณะขอมูลและตัวแปรวา
แตละตัวแปรเม่ือไดขอมูลมาแลว นํามาทําอยางไร และวิเคราะหดวยสถิติใด กรณีขอมูลเชิงคุณภาพ
แสดงใหเห็นวาผวู จิ ัยจดั กระทาํ กับขอมลู อยางไร

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข อมลู

(Results)
ในสวนน้ีผูวิจัยนําผลการวิเคราะหขอมูลนําเสนอและแปลความหมาย การเขียนผล การวิเคราะห
ขอ มลู มแี นวปฏิบตั ดิ งั น้ี
1. ยดึ วัตถุประสงคของการวิจัยเปนกอบในการนาํ เสนอขอ มูล
2. ในกรณีที่มีสัญลักษณทางสถิติที่ใชบอยคร้ังในการนําเสนอขอมูลควรนิยาม หรือให
ความหมาย ไวต อนตน บท
3. ถา เสนอผลวเิ คราะหข อ มูลในรูปตารางมีความควรคาํ นงึ ตอไปน้ี

3.1 ลกั ษณะของตารางตอ งเปน ไปตามหลักเกณฑแ ละรูปแบบการพมิ พวิทยานิพนธ
3.2 เมื่อเสนอตารางแลวจะตองมีคําอานตารางใตตาราง ใหอานผลที่เดนหรือดอย
ที่ควรเนนไมควรอานผลทุกขอจนคําอานตารางยาวเกินความจําเปน เพราะขอมูลในตารางคือผลที่

บัณฑิตวทิ ยาลยั 20 คูมือวทิ ยานพิ นธ
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ผูวิจัยนําเสนอตอผูอานแลว คําอานตารางเปนเพียงสวนประกอบท่ีตองการชี้ใหผูอานไดเห็นเปน
พิเศษเทา นัน้

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผลและขอเสนอแนะ

(Conclusion, discussion and suggestion)

ในบทน้ีจะสรุปงานวิจัยท้ังหมด ซึ่งควรประกอบดวยหัวขอตางๆ คือ สรุป อภิปรายผล
และขอเสนอแนะ

1. สรปุ (Summary of findings, conclusion) ประกอบดวย
1.1 วัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั และสมมติฐานของการวิจยั โดยใหค ัดลอกมาจากบทนาํ
1.2 วิธีดําเนินการวิจัยใหสรุปเฉพาะสาระสําคัญจากวิธีดําเนินการวิจัย เชน ประชากรท่ี

ใชวิธีการวิจัยคือใคร มีจํานวนเทาไร เคร่ืองมือวิจัยคืออะไร มีลักษณะอยางไร และวิเคราะหขอมูล
อยา งไร

1.3 สว นสรปุ ผลการวิจัย ใหเขียนสรุปผลการวจิ ัยตามวตั ถุประสงคข องการวิจัย
2. อภิปรายผล (Discussion) สวนนี้มีความสําคัญมากเพราะเปนการวิพากษวิจารณ
ผลการวิจัยที่ไดวาเพราะอะไรจึงไดผลนั้น ผลวิจัยที่ไดสอดคลองหรือขัดแยงกับแนวคิดทฤษฎี และ
ผลงานวิจัยของคนอ่นื อยา งไรบา ง
3. ขอเสนอแนะ (Recommendation, suggestion) สวนนี้ผูวิจัยจะเสนอแนะใหบุคคล
หรือหนวยงานท่ีเก่ียวของทราบวาจะนําผลการวิจัยไปใชประโยชนอยางไรบาง ขอเสนอแนะจะตอง
เปนผลมาจากงานวิจัยที่ผูวิจัยคนพบเทานั้น ขอเสนอแนะอีกสวนหนึ่งคือขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย
คร้ังตอไปในกรณีที่ผูวิจัยพบประเด็นท่ีนาสนใจอ่ืนๆ ท่ีการศึกษาตอ หรือมีความผิดพลาดในการ
ควบคมุ ตัวแปรในบางประเดน็ จงึ เสนอแนะใหศกึ ษาตอ เพ่ือผลการวิจยั ทชี่ ดั เจนสมบรู ณ

สว นประกอบตอนทา ย

สวนประกอบตอนทายของวิทยานิพนธ ประกอบดวย บรรณานุกรม ภาคผนวก และ
ประวตั ิผูวจิ ยั

1. บรรณานุกรม (Bibliography, references)
บรรณานุกรม หมายถึง รายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร สิ่งพิมพอ่ืนๆ โสตทัศนวัสดุ

ตลอดจนวิธีการท่ีไดขอมูลมาประกอบการเรียบเรียงเปนวิทยานิพนธ ดังนั้น รายการที่ปรากฏในการ
อางอิงทุกรูปแบบท่ีกลาวไวในสวนเนื้อหาจะมาปรากฏรายละเอียดอยางสมบูรณในบรรณานุกรม
บรรณานุกรมจะอยูตอ จากบทสุดทา ยของวทิ ยานิพนธ

คมู อื วทิ ยานิพนธ 21 บัณฑิตวทิ ยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

2. ภาคผนวก (Appendixes)
ภาคผนวก คือ สวนเนื้อหาที่เก่ียวของกับเนื้อเรื่องในวิทยานิพนธที่ผูวิจัยนํามาแสดง

ประกอบได เพ่ือใหเ นอ้ื หาของวิทยานิพนธส มบรู ณยงิ่ ขนึ้ ภาคผนวกจะมีหรือไมมีแลวแตความจําเปน ถามี
ใหพิมพตอจากบรรณานุกรม หนาแรกของภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมมีคําวา ภาคผนวกอยูกลาง
หนากระดาษ ในกรณีที่มีหลายภาคผนวกใหใชเปน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค แตละ
ภาคผนวกใหขึ้นหนาใหม เนื้อหาในภาคผนวก เชน แบบสอบถามท่ีใชในการวิจัย จดหมายท่ีใชในการ
ติดตอกับหนวยงานตางๆ รายช่ือผูเช่ียวชาญท่ีตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ คาสถิติสวนที่ไม
จําเปนตองแสดงไวในสวนเนื้อหา นอกจากน้ี อาจมีรายละเอียดปลีกยอยอ่ืนๆ เชน รูปภาพกิจกรรม
ผลติ ภัณฑทีเ่ กดิ ข้นึ หรอื สรา งขึน้ ในโครงการวิจยั

3. ประวตั ผิ ูว ิจัย (Curriculum vitae, Author biography)
ประวัติผูวิจัย คือ สวนท่ีแสดงรายละเอียดสวนตัวบางประการของผูวิจัยที่มีไว เพื่อ

ความสะดวก กรณีทีม่ ผี ูตอ งการติดตอ กับผวู ิจยั มีความยาวไมเกิน 1 หนา ประวัติท่ีเขียนใหครอบคลุม
รายละเอยี ดดงั นี้

3.1 ช่ือ – ชื่อสกุล พรอมคํานําหนา หากมียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิ์ ก็ใหใส
ไวดวย

3.2 วัน เดือน ปเ กิด
3.3 สถานทีเ่ กิด ใหร ะบุอาํ เภอ และจงั หวัดทีเ่ กิด
สถานที่อยูปจจุบัน ใหระบุท่ีอยูปจจุบันท่ีสามารถติดตอทางไปรษณียได พรอมทั้ง
รหสั ไปรษณยี ด ว ย
3.4 ตาํ แหนงหนาทก่ี ารงานในปจ จุบัน
3.5 สถานทท่ี ํางานปจ จบุ นั ใหร ะบชุ อื่ หนว ยงานทสี่ งั กัดอยใู นขณะนน้ั
3.6 ประวัติการศึกษา ใหระบุปท่ีสําเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษา และสถาบันที่สําเร็จ
การศึกษา ทั้งน้ี เร่ิมต้ังแตระดับการศึกษาสามัญสูงสุดเปนตนไปจนสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช (ตวั อยา งหนา 79)

แนวทางการเขยี นและเกณฑก ารพิจารณาเคา โครงวทิ ยานิพนธ

การเขียนวิทยานิพนธตองมีรายละเอียดเพียงพอและมีคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช จงึ กําหนดรายละเอียดการเขียนและเกณฑการพิจารณาเคาโครงวิทยานิพนธเพื่อให
นักศกึ ษามีกรอบแนวทางทช่ี ัดเจน ดังนี้

ชื่อเร่อื ง
เกณฑก ารพิจารณาการตง้ั ชอ่ื เร่ือง
1. ต้ังใหส น้ั กะทดั รัด และไดใ จความ
2. มีคําท่รี ะบตุ วั แปร/ประเดน็ สาํ คัญที่ศึกษา

บัณฑติ วิทยาลัย 22 คูม ือวทิ ยานพิ นธ
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

บทที่ 1 บทนาํ
บทนําเปนบทแรกของงานวิจัยที่นําผูอานใหเขาสูปญหาและเขาใจปญหาของการวิจัย
ประกอบดว ยสว นตางๆ ดังน้ี
1. ความเปน มาและความสําคญั ของปญหา

สวนน้ีใหเขียนแสดงถึงปญหาการวิจัยและความเปนมาของปญหาใหชัดเจนท่ีสุด
รวมท้ังความสําคัญของปญหา เขียนอธิบายใหผูอานทราบท่ีมาของปญหาและเหตุผลความจําเปนท่ี
จะตองวิจยั เพื่อหาคาํ ตอบใหละเอียดชดั เจน

แนวทางการเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหาในบางกรณี อาจตอง
กลาวถึงปรากฏการณหรอื เร่ืองราวที่ผานมาของปญ หาหรือเร่ืองที่จะวจิ ัย บางกรณีอาจตองบรรยายถึง
สภาพแวดลอ มตางๆ ทางประชากร สังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจอยางยอๆ และในบางกรณีอาจตอง
อางอิงเอกสาร ทฤษฎี หรืองานวิจัยดวยวามีผูใดทําการศึกษาวิจัยในเร่ืองทํานองนี้ไวบางแลว มีขอ
คนพบประการใด และมีจุดออนหรือประเด็นขอสงสัยอะไรที่ควรศึกษาเพ่ิมเติม เชน ดวยเหตุผลของ
ความแตกตางเรื่องเวลา หรือความแตกตางของพื้นที่ทางภูมิศาสตรจึงตองทําวิจัยเพื่อใหเกิดความรูที่
ชดั เจนและถูกตอ งยิ่งขึ้น เปนตน

รูปแบบการเขียนบรรยาย ความเปนมาและความสําคัญของปญหาอาจเขียนได 2
ลักษณะ ลักษณะหน่ึงเปนขอความในทางบวก กลาวคือระบุวาปญหาหรือเรื่องที่จะวิจัยนั้น มี
ความสําคัญอยางไรบาง อีกลักษณะหนึ่งเปนขอความในทางลบคือระบุวาถาหากไมทําการศึกษาวิจัย
ในปญหาน้ีแลวจะเกิดผลเสียอะไรบาง การเลือกรูปแบบในการเขียนข้ึนอยูกับความเหมาะสมกับ
ลักษณะปญ หาหรือเรอื่ งทจ่ี ะทาํ วจิ ยั

เกณฑการพจิ ารณา
1) ชี้ใหเห็นปรากฏการณหรือที่มาของปญหาชัดเจน และระบุเหตุผลที่ตองทําการ
วิจยั อยา งเหมาะสม
2) ควรมที ฤษฎี งานวิจัย และหรือแนวคดิ ของบคุ คลท่ีมีช่ือเสียงประกอบการบรรยาย
ความสําคัญของปญหา เขียนแบบสังเคราะหใหเปนกรอบแนวคิดของงานวิจัยมิใชเพียงการนําเอา
คําพดู ของแตละคนมาเรยี งตอ ๆ กนั เทา น้นั
3) ช้ีใหเห็นความสาํ คัญของปญหา พรอ มทัง้ ประโยชนทส่ี ําคัญทจี่ ะไดจากการวิจยั น้นั
4) ใชภาษาถูกตอง กะทัดรัดไดใจความ และสามารถเรียบเรียงลําดับความคิดอยาง
ตอเน่ืองและชดั เจน
5) มกี ารอางอิงแหลงขอมลู ตามแบบทก่ี ําหนด
2. วัตถปุ ระสงคข องการวิจยั
วัตถุประสงคของการวิจัย หมายถึง ความมุงหมายที่ผูวิจัยตองการคนหาขอเท็จจริง
โดยวิธีการวิจัย ตองเขียนใหชัดเจนวาผูวิจัยตองการศึกษาอะไรหรือตองการไดคําตอบอะไร มี
วัตถุประสงคหลักและวัตถุประสงคยอยๆ อะไรบาง วัตถุประสงคของการวิจัยจะเปนสวนหน่ึงที่ทําให
ปญหาการวิจัยชัดเจนขึ้น เพราะช่ือเร่ืองเพียงอยางเดียวอาจจะไมสามารถสื่อสารไดครบถวนวา
งานวิจยั เรื่องนั้นๆ ตองการศึกษาหรือตองการคาํ ตอบอะไรบา ง

คมู ือวทิ ยานิพนธ 23 บณั ฑติ วทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

การเขียนวัตถุประสงคการวิจยั ควรเรียงลําดบั ความสําคัญของการศึกษาวิจัย กลาวคือ
ขอแรกๆ ของวัตถุประสงคควรเปนสวนที่ตรง/สอดคลองกับช่ือเร่ืองหรือปญหาการวิจัย ขอที่ถัดๆ กัน
มา จึงเปนเร่ืองที่ตองการคนพบหรือผลพลอยไดจากการวิจัย และวัตถุประสงคแตละขอควรเขียนให
ชดั เจน

เกณฑการพจิ ารณา
1) ใชภ าษาชัดเจน เขา ใจงา ย ไมวกวน
2) เขียนเปน ประโยคบอกเลาหรอื ประโยคคําถามกไ็ ด
3) สามารถหาขอมลู เพือ่ ตอบคําถามของวตั ถปุ ระสงคก ารวิจัยได
3. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั
กรอบแนวคดิ ในการวิจัยเปน ผลสรปุ จากการศึกษาทฤษฎแี ละผลงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ งกบั
หัวขอการวิจัยที่ผูเสนอเคาโครงไดสรุปเปนแนวคิดของตนเอง กอนกําหนดกรอบความคิดในการวิจัย
ผวู จิ ยั จําเปนตองศึกษาทฤษฎีและผลงานวิจัยทเ่ี กย่ี วของใหมากพอวามีใครเคยทําวิจัยเรื่องทํานองน้ีมา
บาง มีวิธีดาํ เนินการอยางไร และขอคนพบของการวิจัยมีอะไรบางแลวนํามาประกอบการวางแผนการ
วิจัยของตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการกําหนดกรอบในเชิงเน้ือหาสาระ ซ่ึงประกอบดวยตัวแปรและการ
ระบุความสัมพันธระหวางตัวแปร กรอบแนวคิดดังกลาว จึงเปรียบเสมือนขอบเขตดานเนื้อหาสาระของ
การวิจัย สวนกรอบแนวคิดของการวิจัยประเภทอธิบาย (Explanatory Research) จะระบุ
ความสัมพันธระหวางตัวแปร การเสนอกรอบแนวคิดในการวิจัยอาจทําไดหลายวิธี ไดแก คําพรรณนา
แบบจาํ ลองสญั ลักษณแ ละสมการ แผนภาพ และแบบผสมผสาน
เกณฑก ารพิจารณา
1) ตัวแปรแตละตัวท่ีเลือกมาศึกษาตองมีพ้ืนฐานเชิงทฤษฎีวามีความสัมพันธหรือ
เก่ียวของกับสิ่งที่ตองการศกึ ษา
2) ระบุรายละเอียดของตัวแปรและ/หรือสามารถแสดงความสัมพันธของตัวแปรได
ชดั เจน ดวยสญั ลักษณห รือแผนภาพ
4. สมมติฐานของการวิจยั
เปน การคาดคะเนคําตอบของปญหาการวจิ ยั ไวล วงหนา อยางมเี หตุผล (ตอบปญหาจาก
วัตถุประสงคของการวิจัย) สมมติฐานท่ีดีจะตองเปนขอความที่ระบุความสัมพันธระหวางตัวแปรและ
สามารถทดสอบความสัมพันธดังกลาวได
การตั้งสมมติฐานตองตั้งมาจากแหลงอางอิงแหลงใดแหลงหน่ึงหรือหลายๆ แหลง เชน
ทฤษฎี ผลการวิจัยท่มี มี ากอ น หรอื ประสบการณของผวู จิ ัย
เกณฑการพจิ ารณา
1) สอดคลองกบั วัตถปุ ระสงคของการวจิ ัยและตอบปญ หาการวิจัยได
2) สามารถทดสอบไดดว ยขอ มลู หรอื หลกั ฐานตา งๆ
3) ต้ังสมมติฐานบนหลักฐานของเหตุผล ตามทฤษฎี ผลงานวิจัยท่ีผานมา และ/หรือ
ประสบการณของผูวิจยั

บัณฑิตวทิ ยาลัย 24 คูม ือวทิ ยานพิ นธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

4) ภาษาที่ชดั เจน เขา ใจงา ย และเฉพาะเจาะจง
5. ขอบเขตของการวิจยั

เปนการลอมกรอบหรือกําหนดขอบเขตการศึกษาคนควาวาจะศึกษาพิจารณาใน
ขอบเขตไหน สวนมากพิจารณาขอบเขตของประชากร กลุมตัวอยาง ตัวแปรท่ีใชในการวิจัย ขอบเขต
ของเนือ้ หา ขอบเขตของระยะเวลาทใี่ ชใ นการทดลอง (กรณงี านวจิ ยั แบบทดลอง)

เกณฑการพจิ ารณา
1) ระบุขอบเขตของประชากรที่ใชใ นการวจิ ัยใหชัดเจนวาประชากรคอื ใคร มจี าํ นวนเทา ไร
2) ระบุขอบเขตของกลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยใหชัดเจนวากลุมตัวอยางคืออะไร
จาํ นวนเทา ใด พรอ มทั้งระบุวธิ ีการเลือกกลมุ ตวั อยา ง
3) ระบุขอบเขตของตัวแปรในการวิจัย (ถามี) คือตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม
โดยจาํ แนกรายละเอยี ดของตวั แปรสาํ คญั ใหช ัดเจน
6. ขอตกลงเบือ้ งตน
เปนการกําหนดเง่ือนไขหรือขอความใหผูอานยอมรับโดยไมตองมีการพิสูจนอีก
งานวจิ ยั บางเรอื่ งอาจไมมีขอ ตกลงเบ้ืองตนก็ได สวนขอตกลงเบื้องตนท่ีมีอาจเปนการตกลงเกี่ยวกับตัว
แปร วิธีการวิจัย กลุมตัวอยาง เปนตน การเขียนขอตกลงเบื้องตนไวกอนก็เพ่ือใหผูอานทําความเขาใจ
กบั การดาํ เนนิ การและผลของการวจิ ัยโดยไมต องมีขอขัดแยง ในภายหลงั
เกณฑก ารพิจารณา
1) เขียนขอ ตกลงเบ้อื งตน เฉพาะเทาท่จี ําเปน
2) ไมนาํ เอาขอ บกพรองหรอื จุดออนของการวจิ ัยมากําหนดเปนขอตกลงเบอ้ื งตน
7. นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ
เปนการใหคําจํากัดความคําบางคํา ขอความ และคํายอ หรือคํา/ขอความสั้นๆ ท่ีใช
แทนขอความยาวๆ ใหเขาใจตรงกันระหวางผูวิจัยและผูอาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนท่ีเปนตัวแปร
สําคัญที่เลือกมาศึกษา กรณีที่ผูวิจัยเห็นวาไมมีคํา/ขอความใดท่ีคําถามที่จะทําใหส่ือความหมายไม
ตรงกัน อาจไมม นี ยิ ามศพั ทก ็ได การนิยามศัพทเ ฉพาะนยิ ามได 2 ระดับคือ
1) นิยามตามทฤษฏี (Constitutive Definition) หรือนิยามท่ัวไป (General Definition)
เปนการนิยามความหมายตามที่เปนท่ียอมรับกันทั่วไปหรือนิยามความหมายตามทฤษฎีทํานอง
เดยี วกบั การใหนิยามตามพจนานุกรม
2) นิยามเชิงปฏิบัติการ (Operational Definition) เปนการนิยามศัพทหรือตัว
แปรท่ีเปนนามธรรมใหเปนพฤตกิ รรมท่ีสามารถสังเกตหรอื วดั ได

เกณฑก ารพิจารณา
1) นิยามศัพทครบทุกคํา/ขอความที่จําเปน ซึ่งตองการใหผูอานเขาใจตรงกับผูวิจัย และ
ไมน ยิ ามศพั ทท่ไี มจ าํ เปน ตองนยิ าม

คูมอื วทิ ยานพิ นธ 25 บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

2) คาํ /หรือตัวแปรท่ีเปนนามธรรมตองนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ
8. ประโยชนของการวจิ ยั

เปนการสื่อสารใหทราบวา เมื่อไดทําวิจัยเสร็จเรียบรอยแลว จะสามารถนําผลการวิจัย
ไปใชประโยชนอะไรบาง เปนประเด็นสําคัญที่จะใชประเมินวางานวิจัยชิ้นน้ีจะนําไปใชประโยชนและ/
หรือจะมีประโยชนมากนอยเพียงใด จะชวยช้ีถึงความสําคัญและความจําเปนท่ีจะตองทําการวิจัย ปญหา
นั้นๆ การวิจัยที่จะใหประโยชนในการนําไปใชมาก ถือวาเปนการวิจัยที่สําคัญและการ
ดาํ เนนิ การกอน การกลาวถึงความสําคัญของการวิจัยมักจะอยูในรูปของการคาดคะเนวาถาไดผลตรง
ตามวัตถุประสงคของการวิจัยแลวจะไดความรูอะไรและ/หรือใคร/หนวยงานใดจะสามารถนําไปใชใน
ลักษณะใดไดบ าง

เกณฑก ารพจิ ารณา
1) เขียนประโยชนของการวิจัยในดานของความรูที่จะไดรับการวิจัยวาจะไดขอเท็จจริง
หรือชวยเพิม่ พูนความรูเรอื่ งใดไดบ าง
2) เขียนประโยชนของการวิจัยในดานของการนําผลการวิจัยไปใช โดยกลาวถึงผลที่
ไดจากการวิจัยวาจะเปนประโยชนตอใครหรือหนวยงานใด จะนําขอคนพบประเด็นใดไปใชประโยชน
ในลกั ษณะใดบา ง
3) ขอคนพบตามขอ 1) และประโยชนตามขอ 2) จะตองสอดคลองกับวัตถุประสงค
ของการวิจัย คือผูเขียนจะตองพิจารณาวัตถุประสงคของการวิจัยแตละขอวาจะกอใหเกิดความรูอะไร
แลวจึงพิจารณาตอไปวาความรูน้ันจะเปนประโยชนตอใคร และสามารถนําไปใชในเร่ืองใด โดยไม
เขียนจนเกินความเปนจริง

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวของ
ในบทนก้ี ําหนดใหมรี ายละเอยี ดดังน้ี
1. เอกสารทเี่ กี่ยวขอ ง
2. งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวของ
เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของเปนการเขียนรายงานผลการศึกษาแนวคิด ทฤษฏี และ
งานวจิ ยั ที่เกีย่ วขอ ง เพ่ือช้ีใหเห็นวางานวิจัยนี้มีแนวคิดทฤษฏีหรือผลงานวิจัยอื่น ๆ เปนพ้ืนฐานในการ
วางแผนอยางไรและเพียงใด นักศึกษาจะตองสังเคราะหสิ่งท่ีคนควาไดมา ไมใชนําสิ่งท่ีคนควาไดมา
เขียนเรียงตอๆ กันเทาน้ัน กอนลงมือเขียนจริงควรวางโครงเรื่องใหสอดคลองและเหมาะสมกับปญหา
วิจัย
เกณฑการพิจารณา
1) ในบทที่ 2 จะตองประกอบดวยอยางนอย 2 สวน คือ เอกสารที่เกี่ยวของ ซึ่งจะกลาวถึง
แนวคดิ ทฤษฎีผลงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ งกับปญหาการวิจยั
2) การนําเสนอที่ดี ควรเปนลักษณะที่ไดสังเคราะหเน้ือหาตามประเด็นการศึกษาที่เปน
ประสงคห รอื สมมติฐานของการวจิ ัย ไมใชเสนอผลเปน รายบุคคลตามลําดบั ตวั อกั ษรหรือตามรายป

บณั ฑติ วิทยาลัย 26 คูมือวทิ ยานพิ นธ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

3) มีการเขยี นสรปุ ตอนทายของแตละประเดน็ ทน่ี าํ เสนอโดยใชภ าษาของผวู ิจยั
บทท่ี 3 วธิ ีดําเนนิ การวิจัย
ในบทนกี้ ําหนดใหมีรายละเอียดดังน้ี
1. ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง

1.1 ประชากร เปนการระบุแหลงขอมูลที่จะใชในการตอบคําถามของวัตถุประสงคการวิจัย
ประชากรหมายถึงหนวยขอมูลทุกๆ หนวยที่จะใหคําตอบแกผูวิจัย (ไมจําเปนตองเปนคนเสมอไป)
การกลา วถงึ ประชากรจะตอ งระบุขอบเขตและคุณลักษณะของประชากรใหช ัดเจน

1.2 กลุมตัวอยาง เปนการระบุแหลง/กลุมตัวอยาง ท่ีผูวิจัยจะทําการศึกษาขอมูลจริง
นักศึกษาจะตองระบุจํานวนตัวอยางและวิธีการเลือกตัวอยางและวิธีการเลือกตัวอยาง พรอมทั้งเหตุผล
ของวิธีการน้ันๆ ในการเลือกตัวอยางดวย กรณีที่การเลือกตัวอยางมีความซับซอนมาก ควรเขียนแผนผัง
และ/หรอื เขียนตารางใหเ ห็นสัดสว นของกลมุ ตัวอยา งของประชากรแตล ะระดบั /ชนดิ /ประเภทดวย

เกณฑการพิจารณา
1) ระบุลักษณะและขอบเขตของประชากรไดช ดั เจน
2) กําหนดขนาดของตวั อยา งเหมาะสมและถูกตอ งตามหลกั วชิ า
3) กําหนดวิธีเลือกตัวอยางเหมาะสมกับลักษณะของประชากร ตลอดจนอธิบาย
วิธีการเลือกตัวอยางใหผ อู านเห็นภาพในการปฏบิ ัติจรงิ ๆ วา ผวู ิจยั มีวธิ ดี ําเนนิ การอยางไร
2. เครื่องมอื ทใี่ ชในการวจิ ยั
เปนการเขียนรายละเอยี ดเก่ียวกับเครือ่ งมือรวบรวมขอมลู ทีใ่ ชในการวิจัยวามีอะไรบาง
พรอ มท้งั บอกลักษณะและคุณภาพของเคร่ืองมือ ถาผูวิจัยสราง/พัฒนาเครื่องมือขึ้นใชเองจะตองระบุ
ข้ันตอนการสราง วิธีการทดลองใชและวิธีการหาคุณภาพ กรณีที่จะนําเคร่ืองมือที่ผูอ่ืนสรางแลวมาใช
จะตองระบุวาเปนเคร่อื งมือของใคร สราง พ.ศ.ใด และมีคาสถติ ิแสดงคณุ ภาพของเครื่องมอื
เกณฑการพิจารณา
กรณีท่ี 1 กรณกี ารนาํ เครอ่ื งมอื ที่มีผูสรางไวแ ลวมาใช
1) ระบใุ หท ราบวา เปน เคร่อื งมือของใคร สราง พ.ศ.ใด มคี า สถติ ิแสดงคณุ ภาพเทา ใด
2) ช้ีใหเห็นเหตุผลและความสมเหตุสมผลที่จะใชเครื่องมือน้ันๆ เก็บขอมูล เชนเปน
เคร่ืองมือท่ีใชวัดคุณลักษณะเก่ียวกับสิ่งที่ผูวิจัยจะวัด และกลุมตัวอยางของงานวิจัยน้ีสอดคลองกับกลุม
ตวั อยา งที่เจาของเครอ่ื งมือไดท ดลองใชแ ลว เชน วดั ระดบั เดียวกัน
กรณีที่ 2 กรณีทีผ่ ูวิจยั สรา ง/พฒั นาเครื่องมอื ใชเ อง
1) อธิบายข้นั ตอนในการสรา งเคร่ืองมือตามหลกั การอยางชัดเจน
2) ในสว นของขอ มลู พ้ืนฐานประกอบการสรา งขอคาํ ถาม อาทิ หลักสูตร คูมอื เทคนิค
การเขียนขอคําถาม ตลอดจนตัวเคร่ืองมือของบุคคลอ่ืนที่กวางไวกอน ใหระบุช่ือหรือแหลงที่มาของ
ขอมลู พืน้ ฐานนั้นๆ ดว ย
สําหรับการวิจัยบางประเภทท่ีเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยแบงเปนเคร่ืองมือท่ีใชในการ
ทดลองและเครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลก็ใหเขียนแยกไดตามความเหมาะสมของการวิจัย
ประเภทน้ันๆ

คูม อื วทิ ยานพิ นธ 27 บัณฑติ วิทยาลยั
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

3) ระบุรายละเอียดการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื
3.1) ผูเชี่ยวชาญหรือผูชํานาญการ ควรระบุช่ือตําแหนงทางราชการ (ถามี)

ตําแหนงหนา ทีก่ ารงาน สถานท่ีทาํ งาน
3.2) กลุมตัวอยาง ทดลองใชเครื่องมือใหระบุจํานวนคุณสมบัติพื้นฐาน และ

สถานที่ทดลอง
3.3) ระบุโครงสรางของเคร่ืองมือ อาทิ โครงสรางในการวัด ลักษณะท่ีวัด การ

แบงเปน ตอนยอ ยๆ
3.4) แสดงตัวอยางลักษณะเคร่ืองมือท่ีใชวัด อธิบายวิธีตรวจใหคะแนนและ

เกณฑการใหคะแนน
2. การเก็บรวบรวมขอมลู
กลาวถึงวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีกําหนดไว เชน ใชวิธีการสงทางไปรษณีย เก็บดวย

ตนเองหรือใหผูชวยวิจัยเก็บขอมูล วิธีการตรวจสอบควบคุมวิธีการเก็บขอมูลใหเปนมาตรฐานเดียวกัน
และไดข อ มลู ครบถวนหรอื มากทีส่ ดุ

เกณฑการพจิ ารณา
1) ระบุวิธีการท่จี ะเก็บขอ มลู พรอ มทง้ั ระบุเหตผุ ลทีเ่ ลอื กใชวิธกี ารน้ันๆ
2) ระบุวธิ กี ารตรวจสอบ ติดตาม และควบคมุ คุณภาพขอ มูลและเหตผุ ลทเ่ี ลอื กใชว ิธนี ้นั ๆ
3) ระบชุ ว งเวลาเกบ็ รวบรวมขอ มลู .
3. การวิเคราะหข อ มูล
1) กรณีขอมูลเชิงปริมาณ ใหระบุวิธีการวิเคราะห (วิเคราะหดวยมือหรือใชโปรแกรม
สําเร็จรูป) สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลโดยแยกบรรยายตามลักษณะขอมูลและตัวแปรวา แตละตัว
แปรเมื่อไดขอมูลมาแลวนํามาทําอยางไรและวิเคราะหดว ยสถติ ิใด
2) กรณีขอมูลคุณภาพ ใหระบุวิธีการวิเคราะหเน้ือหา/เรื่องราว โดยเฉพาะอยางยิ่ง
เกี่ยวกบั รูปแบบ (Pattern) ประเด็น (Theme) และสิ่งที่จะใชเชอื่ มโยงเร่ืองราวเขา ดว ยกนั
เกณฑการพจิ ารณา
1) ระบวุ ธิ กี ารวิเคราะหข อ มลู โดยแยกบรรยายลกั ษณะขอมลู และตัวแปรแตละตัว
2) สถิตทิ ่ีใชใ นการวเิ คราะห ใหเขียนสตู รท่ีใช (ยกเวนสถิติพื้นฐานท่ีทราบท่ัวไป) และ
อางองิ แหลง ทีม่ า
นอกเหนือจากแหลงที่เปนเนื้อหาทั้ง 3 บทแลว เคาโครงวิทยานิพนธที่เสนอจะตองมีปก
และสว นอา งอิงดวย ซ่งึ มีลักษณะดังน้ี
1. ปกนอก ระบคุ าํ “เคาโครงวิทยานิพนธ” ไวกลางหนากระดาษบรรทัดบนสุด หลังจากน้ัน
ระบุรายละเอียดเก่ียวกับตัวผูวิจัย คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ช่ือเรื่อง (ทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ)
2. สว นอางองิ ประกอบดวยบรรณานุกรมและอาจมีภาคผนวกท่เี ปนตัวอยางเคร่ืองมอื

บณั ฑติ วทิ ยาลัย 28 คมู อื วิทยานิพนธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

คูมอื วทิ ยานิพนธ 29 บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช

บทที่ 4
การพิมพว ิทยานพิ นธ

กระดาษท่ใี ชพมิ พ

ใชกระดาษสขี าว ขนาดมาตรฐาน A4 นํ้าหนักไมต่ํากวา 80 แกรม และใชเ พยี งหนา เดยี ว

ตวั พิมพ

ใชตัวอักษร (Font) เปนมาตรฐานและอานไดชัดเจน ไมใชตัวเอน และตัวลวดลาย
ตัวอักษรตองเปนสีดํา มีขนาดและแบบเดียวกันตลอดเลม (นอกจากกรณีตัวพิมพในตารางหรือ
ภาพประกอบท่ีอาจจําเปนตองใชตัวพิมพที่เล็กลงหรือยอสวนเพื่อใหอยูในกรอบของการวางรูป
กระดาษตามระเบียบ) สัญลักษณหรือตัวพิมพพิเศษ ซึ่งเครื่องพิมพดีดหรือเคร่ืองคอมพิวเตอร ไม
สามารถพมิ พไ ด ใหเขยี นดวยหมกึ ดาํ อยา งประณีต
การพมิ พบทและชือ่ บท ใหใ ชตวั อักษรขนาด 20 พอยต และพิมพตัวเขม
หัวขอ ใหญ ใหใชอ กั ษร ขนาด 18 พอยต และพมิ พต ัวเขม
หวั ขอระดับรองลงมา ใหใ ชอักษรขนาด 16 พอยต และพิมพต ัวเขม
สว นในเนือ้ ความวิทยานิพนธ ใหใ ชข นาด 16 พอยต
วิทยานิพนธท่ีพิมพเปนภาษาอังกฤษใหใชแบบอักษร Time New Roman ขนาด 12 พอยต
สาํ หรบั เน้ือความและหัวขอ ในระดบั ตา งๆ และใชขนาด 14 พอยต สาํ หรับการพิมพบทและช่อื บท

ตารางที่ 2 ตัวอยางตัวอกั ษรทใี่ หใช ตวั พมิ พ
บณั ฑติ วิทยาลัย
ชอื่ Front บณั ฑิตวทิ ยาลยั
TH SarabunPSK บณั ฑติ วทิ ยาลยั
Angsana New บณั ฑิตวทิ ยาลยั
Browallia New บณั ฑติ วทิ ยาลยั
Cordia New บณั ฑิตวทิ ยาลยั
DilleniaUPC
TH Niramit AS

บณั ฑิตวิทยาลัย 30 คูมอื วิทยานิพนธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

การเวนท่วี างริมขอบกระดาษ

ขอบบน เวน 1.5 นว้ิ (นบั ถึงฐานตวั อักษร)
ขอบซา ยมือ เวน 1.5 น้วิ
ขอบขวามอื เวน 1 นวิ้
ขอบลาง เวน 1 นิว้ (นบั ถงึ ฐานตวั อกั ษร)

การเวนระยะระหวา งบรรทดั

การพมิ พว ิทยานิพนธภาษาไทยใหใชระยะบรรทัดเด่ียว (Single Line spacing) วิทยานิพนธท่ี
พิมพเปนภาษาอังกฤษใหใชระยะบรรทัด 1.5 (1.5 Line spacing) และใหเวน 1 บรรทัดพิมพ (1 Enter)
ในกรณีตอ ไปนี้

1. การพมิ พร ะหวางชอ่ื บทกับหัวขอ
2. การขน้ึ หวั ขอใหญทกุ ครงั้
3. การพิมพระหวางดานบนและดานลางของตารางและภาพ กับเน้ือความวิทยานิพนธ
(กรณตี ารางหรือภาพอยใู นหนาเดยี วกบั เน้อื ความวทิ ยานพิ นธ)

การยอหนา

ใหต งั้ คาระยะ Tab เรม่ิ ตนที่ 0.68 นว้ิ จากขอบทเี่ วนไวแลว และเร่ิมพิมพต ัวถัดไป

การลําดบั หนา และการพมิ พเลขหนา

1. การลําดบั หนา

ในสวนแรกของวิทยานิพนธใหเริ่มลําดับหนาต้ังแตสารบัญ โดยใชตัวอักษรในวิทยานิพนธ
ภาษาไทย เชน ก ข ... และใชเลขโรมันเล็กในวิทยานพิ นธภ าษาอังกฤษ เชน i ii

ในสวนเน้ือหาของวิทยานิพนธเปนตนไป ใหเร่ิมลําดับหนาต้ังแต บทที่ 1 ไปจนจบเลม
โดยใชตัวเลขเรยี งตามลาํ ดับไปและนบั ทุกหนา หา มมหี นาแทรก เชน หนา 2ก หนา 2ข เปนตน

2. การพมิ พเลขหนา

ใหพิมพเลขหนาที่มุมบนดานขวา หางจากขอบบน และดานขางทางขวาดานละ 1 นิ้ว ทุกๆ
หนา จะตองมีหมายเลขหนากํากับ ยกเวนปกใน หนาท่ีมีชื่อบท หนาแรกของเอกสารและสิ่งอางอิง
และหนา ทีม่ คี าํ วาภาคผนวก

คมู ือวทิ ยานิพนธ 31 บัณฑติ วิทยาลยั
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

การพิมพบทที่ และหวั ขอ ในบท

1. บท

เมื่อเริ่มบทใหมตองข้ึนหนาใหมเสมอ โดยพิมพคําวา บทที่ หรือ CHAPTER กลาง
หนากระดาษดวยอักษรเขม ทุกบทตองมีเลขประจําบท ซ่ึงอาจใชเลขไทยหรือเลขอารบิก
ในวทิ ยานพิ นธภาษาไทย และใชเ ลขโรมนั ใหญในวิทยานิพนธภาษาองั กฤษ เชน บทที่ 1 บทท่ี ๑ หรือ
CHAPTER I แตการกาํ หนดหมายเลขจะตองเปนไปในแนวทางเดยี วกันท้งั เลม

2. การกําหนดหวั ขอในบท

การกําหนดหัวขอวิทยานิพนธ หมายถึง การแบงวิทยานิพนธออกเปนสวนๆ ตามความ
เหมาะสม แตควรมหี วั ขอเทา ท่ีจําเปน

หัวขอเร่ืองในการเขียนวิทยานิพนธแตละบทประกอบดวยหัวขอใหญและหัวขอยอย
ตามลาํ ดบั ดงั น้ี

1. บทที่และชื่อบท ใหพิมพกลางหนากระดาษไมขีดเสนใต พิมพดวยตัวอักษรเขม ขนาด
20 พอยต ชื่อบทท่ียาวเกิน 1 บรรทัด ใหแบงคําหรือประโยคตามความเหมาะสมและพิมพเรียง
ลงมาในลกั ษณะสามเหลี่ยมหัวกลบั

2. หัวขอใหญ ใหพิมพติดริมซายมือสุดขอบกระดาษ เวนขอบกระดาษไวตามระเบียบ
และพมิ พดวยอกั ษรเขม ขนาด 18 พอยต

3. หวั ขอ รอง ใหเ วนระยะ Tab เรม่ิ ตนที่ 0.68 น้วิ จากขอบทเ่ี วนไวแ ลว พิมพดวยอักษรเขม
ขนาด 16 พอยต

4. หวั ขอยอย ใหพิมพใ นระดับยอ หนา และพิมพดว ยอกั ษรเขม ขนาด 16 พอยต
เม่ือมีการใหหัวขอในระดับใด หัวขอระดับนั้นจะตองมี 2 หัวขอเปนอยางนอยใหเร่ิมจากชื่อ
บทมากอน เมื่อมีความจําเปน จึงแบงเปน หวั ขอยอยๆ ลงไปอีกตามลําดบั
การข้ึนหัวขอใหม ถามีท่ีวางสําหรับพิมพขอความตอไปไดไมเกินสองบรรทัดแลวใหขึ้น
หัวขอ ใหมนั้นในหนา ถัดไป
กรณีท่ีตองการใสตัวเลขหรือตัวอักษรเพื่อแสดงลําดับของหัวขอก็สามารถกระทําไดตาม
ความเหมาะสม โดยเริ่มใหตัวเลขหรือตัวอักษรกํากับในระดับหัวขอขาง สวนการพิมพหัวขอยอย ถามี
การแบงหวั ขอยอยออกเปนมากกวา 3 ระดับใหใ ชตัวอักษรกํากับสลบั ตวั เลข
สําหรับวิทยานิพนธฉบับภาษาอังกฤษ ชื่อบทใหพิมพดัวยตัวอักษรพิมพใหญ สวนหัวขอ
สําคัญๆ เชน หัวขอใหญ หัวขอรอง และหัวขอยอย ใหพิมพอักษรตัวแรกของคําแรกและของทุกๆ คํา
ดวยตัวอกั ษร ตัวใหญเสมอ ยกเวน บพุ บท สันธาน และคํานาํ หนานาม ไมตองพิมพดวยตัวอักษรตัวใหญ
แตในกรณีที่บุพบท สันธาน และคํานําหนานามน้ัน เปนคําข้ึนตนของหัวขอ ก็ใหพิมพดวยตัวอักษร
พมิ พใหญ

บณั ฑิตวิทยาลยั 32 คมู อื วิทยานพิ นธ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

การพิมพต าราง

1. ตารางประกอบดวย ลําดับท่ีของตาราง ชื่อตาราง สวนขอความ และท่ีมาของขอมูล
ในตารางใหพิมพอยูในหนาเดียวกันทั้งหมด ตารางที่มีความยาวจนไมสามารถบรรจุลงใน
หนากระดาษเดียวได ใหพิมพสวนที่เหลือในหนาถัดไป โดยพิมพคําวา ตารางที่ (พรอมเลขลําดับที่
ของตาราง) แลวตามดวยคําวา (ตอ) หรือ (Continued) หรือ (Cont’d) เชน ตารางท่ี 1 (ตอ)
Table1 (Cont’d) เปนตน

2. ลําดับท่ีของตาราง ใหลําดับตอเนื่องกันตั้งแตบทที่ 1 จนถึงบทสุดทาย เชน ตารางที่
1, 2, 3, ...20

3. การพิมพตาราง พิมพคําวา ตารางที่ โดยใชอักษรธรรมดา ตามดวยเลขลําดับท่ีของ
ตาราง (โดยเวน 1 อักษร) ไวริมซายมือสุดของกระดาษท่ีเวนขอบไวตามระเบียบแลว และพิมพชื่อ
ตารางตอจากเลขลําดับที่ของตาราง (โดยเวน 2 ตัวอักษร) หากชื่อตารางยาวเกินกวา 1 บรรทัด ให
พมิ พอ กั ษรตัวแรกของบรรทัดท่ี 2 ตรงกบั ตวั แรกของชอ่ื ตาราง (ดูตวั อยา งหนา 77)

4. ตารางท่มี ีความกวา งจนไมส ามารถบรรจุในหนากระดาษเดียวได ใหพิมพตามขวางของ
หนากระดาษ โดยหันหัวตารางเขาสันปก หรืออาจยอสวนใหเล็กลงไดตามความจําเปน แตไมควรเล็ก
เกินกวา 14 พอยต หากไมสามารถทําไดใหแบงตารางออกเปนสวนๆ ทั้งน้ี คําวาตารางที่ และชื่อ
ตาราง ตลอดจนท่มี า หมายเหตใุ ตต ารางใหใ ชอ กั ษรขนาด 16 พอยต

5. ใหจัดวางตารางตามความเหมาะสมสวยงามของหนากระดาษ กรณีตารางอยูในหนา
เดียวกับเนือ้ ความวิทยานพิ นธใ หเวนระยะบรรทัดระหวางดานบนและดานลางของตารางกับเน้ือความ
วทิ ยานิพนธ 1 บรรทัดพิมพ

6. ไมควรมเี สน แบง สดมภ (column) ยกเวน กรณจี ําเปน
7. การพิมพห นวยของตัวเลขในตาราง ในกรณีท่ีตัวเลขในสดมภต า งๆ มหี นว ยเดยี วกัน ให
พิมพหนวยของตัวเลขไวในวงเล็บ ตรงมุมบนดานขวามือเหนือหัวตาราง กรณีที่ตัวเลขในสดมภตางๆ
มหี นวยตา งกัน ใหพิมพหนวยของตัวเลขไวในวงเลบ็ ภายใตช ่ือสดมภนน้ั
8. หมายเหตขุ องตาราง (ถามี) ใหอ ยูกอ นทีม่ าของตาราง
9. ขอมูลปฐมภูมิไมตองระบุที่มา สวนขอมูลทุติยภูมิตองระบุท่ีมา โดยใสคําวาท่ีมาไว
ใตตาราง ตามดว ยเครื่องหมายทวภิ าค (:) เวน 1 ตวั อักษร จึงบอกแหลงท่ีมา
10. ตารางใหใชภ าษาเดยี วกบั ภาษาทใี่ ชเขยี นวิทยานพิ นธ

การพมิ พภ าพประกอบ

1. ภาพประกอบ ไดแ ก แผนภมู ิ แผนท่ี ภาพถา ย ภาพวาด
2. การใหลําดับท่ีของภาพ ใชระบบเดยี วกับการใหล ําดบั ทข่ี องตาราง
3. ใหพิมพคําวา ภาพท่ี โดยใชตัวอักษรธรรมดา และเลขลําดับท่ีของภาพไวดานลางของ
ภาพตรงตําแหนงริมซายมือของกระดาษที่เวนขอบไวตามระเบียบแลว และพิมพคําบรรยายภาพตอจาก

คมู ือวทิ ยานิพนธ 33 บัณฑติ วิทยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

เลขลําดบั ท่ีของภาพ โดยเวน 2 ตัวอักษร หากคําบรรยายภาพยาวเกินกวา 1 บรรทัด ใหพิมพอักษรตัว
แรกของบรรทดั ที่ 2 ตรงกบั ตัวแรกของคําบรรยายภาพ (ดูตัวอยางหนา 78)

4. ใหจัดวางภาพตามความเหมาะสม สวยงามของหนากระดาษ กรณีที่ไมสามารถบรรจุ
ภาพในหนาเดียวได ใหยอสวนลงตามความจําเปน หรือใหบรรจุสวนที่เหลือในหนาถัดไปโดยพิมพคํา
วา ภาพท่ี (พรอมเลขลําดับท่ีของภาพ) แลวตามดวยคําวา (ตอ) หรือ (Continued) หรือ (Cont’d)
เชน ภาพที่ 1 (ตอ) Figure 1 (Cont’d) เปน ตน

5. กรณีไมอาจใสลําดับ และคําบรรยายภาพลงในหนาเดียวกับภาพได ใหใสไวหนา
ซายมอื กรณนี ีใ้ หน บั หนา ดว ย และไมใหม กี ารพิมพในหนา ขวามือกอ นนน้ั

6. ที่มาของภาพ ใชร ปู แบบเดียวกบั ที่มาของตาราง
7. คาํ อธบิ ายภาพใหใชภ าษาเดยี วกบั ภาษาที่ใชเ ขียนวทิ ยานิพนธ

การพมิ พภ าคผนวก

1. กรณที ม่ี ภี าคผนวกเดียวใหร ะบุชอื่ ภาคผนวกบนแผนแรก
2. กรณที ี่มหี ลายภาคผนวกใหเ พิม่ แผนภาคผนวก
3. ตารางในสวนภาคผนวก ใหใชรูปแบบเดียวกับตารางในสวนเนื้อหา และใหใสลําดับที่
ตอเนอ่ื งจากเนอ้ื หา
4. ภาพในสวนภาคผนวก ใหใชรูปแบบเดียวกับภาพในสวนเน้ือหา และใหใสลําดับที่
ตอเนอ่ื งจากเนือ้ หา

บณั ฑติ วทิ ยาลัย 34 คมู อื วิทยานิพนธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

คูมอื วิทยานิพนธ 35 บณั ฑติ วทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช

บทที่ 5
การอางองิ จากบทความและหนงั สอื

การอางอิงเปนเร่ืองที่จําเปนและหลีกเลี่ยงไมไดในการจัดทํารายงาน การคนควาอิสระ
และวิทยานพิ นธ เพราะผเู ขยี นตองมีการศึกษาคน ควา จากแหลงความรูต างๆ เพื่อสรางความนาเชื่อถือ
ใหแกผูอานวาเปนผลงานท่ีไดผานการศึกษาคนควาอยางมีหลักฐาน เมื่อนําขอความของผูอ่ืนมาไวใน
เนอ้ื หา ไมว าจะคดั ลอกขอ ความหรอื สรุปความคดิ เหน็ ตอ งใหเกียรตแิ กเจา ของผลงาน ดวยการระบุวา
เปนงานของใครแทรกไวในเนื้อหาหรือลงเชิงอรรถไว และตองลงไวเปนหลักฐาน ในบรรณานุกรมให
ถกู ตอ งตามหลกั การอา งอิงและการลงรายการในบรรณานุกรมตามลักษณะผลงานทางวิชาการน้ันๆ ดว ย

ขอ ควรรู

การพิมพบ รรณานกุ รม

1. เริ่มพิมพบรรณานุกรมในหนาใหม พิมพคําวา “บรรณานุกรม” กลางหนากระดาษ
โดยพมิ พหางจากขอบบนประมาณ 2 นว้ิ และไมต องขีดเสน ใต

2. เรียงรายชื่อหนังสือหรือวัสดุท่ีจะพิมพในรายชื่อเอกสารอางอิง ตามลําดับตัวอักษร ช่ือผู
แตง ตัง้ แต ก – ฮ หรอื A – Z ถา ไมม ีช่ือผูแตง ใหเ รียงตามช่ือเรอ่ื ง

3. ถาเอกสารประกอบการเรียนน้ัน มีทั้งหนังสือหรือเอกสารตางประเทศใหเรียง
บรรณานุกรมหนงั สอื ภาษาไทยไวกอ น แลว ตามดว ยหนังสือภาษาตางประเทศ

4. การพมิ พร ายชอ่ื เอกสารอางองิ หรือบรรณานุกรมแตล ะรายการใหข้ึนบรรทัดใหมทกุ ครั้ง
5. พิมพบรรณานุกรม ติดกับขอบกระดาษท่ีเวนไวดานซายมือ ถารายการเดียวไมพอ
ในหน่ึงบรรทัด ใหขึ้นบรรทัดใหมยอหนาเขาไป 4-7 ชวงตัวอักษรพิมพ ใหพิมพตัวท่ี 5-8 ถาไมจบใน
2 บรรทัดใหตอ ในบรรทดั ที่ 3 และ 4 ตามลาํ ดบั โดยพิมพใหตรงกับบรรทดั ที่ 2 จนจบรายการ
6. การเวนระยะการพิมพหลงั เครือ่ งหมายวรรคตอนทกุ อนั เวน 1 ระยะเสมอ

บัณฑิตวทิ ยาลัย 36 คูม อื วิทยานพิ นธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

คาํ ยอ คําเต็ม ความหมาย หมายเหตุ
chapter มาตรา ใชกับพระราชบัญญัติ, กฎหมาย,
คาํ ยอ chapter บทที่ ฯลฯ
ch. color สี พหพู จนใ ช chaps.
chap. compiler ผูร วบรวม ใชก ับทัศนวัสดทุ ี่ถายทําเปนภาพสี
col. editor บรรณาธกิ าร พหูพจนใ ช cols.
comp. edited by บรรณาธิการโดย พหูพจนใช cols.
Ed. edition ครัง้ ที่พมิ พ พหูพจนใช eds.
ed. enlarged edition ฉบบั พมิ พใหม มกี ารแกไขเพม่ิ เตมิ
enl. ed. revised edition ฉบับพิมพใหม มกี ารปรับปรุงแกไข ภาษาไทยใช ม.ป.ท.
rev. ed. second edition พิมพค รงั้ ท่ี 2 ภาษาไทยใช ม.ป.ท.
2nd ed. third edition พิมพค ร้งั ที่ 3 ภาษาไทยใช ม.ป.ป.
3rd ed. Fifth edition พมิ พคร้งั ที่ 5 พหูพจน pp.
5th ed. et all และคนอนื่ ๆ (and others) พหูพจนใ ช secs.
et al. illustrator ผวู าดภาพประกอบ พหพู จนใช trs.
illus. illustrated by วาดภาพประกอบโดย พหพู จนใ ช Vols.
n.p. no place of publication ไมป รากฏสถานทพ่ี ิมพ
n.d. no place of publisher ไมป รากฏสาํ นักพิมพ
no. no date of publication ไมป รากฏปทพ่ี ิมพ
p. number ฉบบั ท่ี
sec. page หนา
tr. section ตอนที่
Vol. translator ผแู ปล
translated by แปลโดย
Volume เลม ท่ี

เครื่องหมายวรรคตอน
. period (มหพั ภาค)
, comma (จุลภาค)
: colon (ทวิภาค)
; semi-colon (อัฒภาค)
หลังเคร่อื งหมายทุกชนดิ เวน 1 ระยะ

คมู ือวทิ ยานพิ นธ 37 บัณฑิตวิทยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

รปู แบบการลงรายการจากบทความและหนงั สอื

1. บทความ

บทความวารสารวิชาการ

ผูแตง คนเดยี ว

การอางองิ (นวนติ ย อินทรามะ, 2541)
บรรณานุกรม นวนิตย อินทรามะ. (2541). การพัฒนาหองสมุดกับการควบคุมคุณภาพ. วารสาร
การอางอิง
บรรณานุกรม สาํ นักวทิ ยบริการ, 3 (3), 3-7.
การอา งอิง (Bekerian, 1993)
บรรณานกุ รม Bekerian, D.A. (1993). In search of the typical eyewitness. American

Psychologist, 48, 574-576.
(พระราชบัญญัตสิ ถานบันราชภฏั พ.ศ. 2538, 2538)
พระราชบัญญัติสถานบันราชภัฏ พ.ศ. 2538. (2538). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับ

กฤษฎกี า, 112 (ตอนที่ 4 ก), 1-21.

หมายเหตุ : ตวั อยางบรรณานกุ รมภาษาอังกฤษไมใสตัวเลขฉบับที่ ในเครื่องหมาย ( ) ตอจากเลข
ของปท ี่ เน่อื งจากวารสารรายการนน้ั นบั หนาตอ เนอื่ งกนั ทกุ ฉบับใน 1 ป

ผูแ ตง 2 คน

การอางอิง (จุมพล พลู ภทั รชีวนิ และรัตนา ตุงคสวสั ด์,ิ 2542)
บรรณานกุ รม จุมพล พูลภัทรชีวิน และรัตนา ตุงคสวัสดิ์. (2542). วิวัฒนาการและทางเลือกของ
การอางองิ
บรรณานกุ รม นโยบายการครุศึกษาของรฐั บาลไทย.วารสารครุศาสตร, 27 (2), 98-106.
(Klimoski & Palmer, 1993)
Klimoski, R. & Palmer, S. (1993). The ADA and the hiring process in

organizations. Consulting Psychology Journal: Practice and
Research, 45 (2), 10-36.

ผูแตง 3-5 คน

การอา งองิ (อรจรีย ณ ตะกว่ั ทุง, สุกรี รอดโพธิ์ทอง, และวิชดุ า รตั นเพียร, 2541, 90-101)
บรรณานุกรม อรจรีย ณ ตะก่ัวทุง, สุกรี รอดโพธ์ิทอง, และวิชุดา รัตนเพียร. (2541).

แนวการพัฒนาการสอนวิชาคอมพิวเตอรในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วารสาร
ครศุ าสตร, 27 (1), 90-101.

บณั ฑิตวิทยาลัย 38 คมู อื วทิ ยานิพนธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

การอา งอิง (สมเกียรติ พงษไพบูลย, สิทธิศักด์ิ จุลศิริพงษ, ปรีชา คลายพักตร,
บรรณานกุ รม ยงยศ เล็กกลาง, และสมพงษ สงิ หะพล, 2542, 10-16)

การอางองิ สมเกียรติ พงษไพบูลย, สิทธิศักด์ิ จุลศิริพงษ, ปรีชา คลายพักตร,
บรรณานุกรม ยงยศ เล็กกลาง, และสมพงษ สิงหะพล. (2542). กระจายอํานาจ
การจัดการศึกษาสูองคก รปกครองทองถ่ิน. สีมาจารย, 13 (26), 10-16.

(Borman, Hanson, Oppler, Pulakos, & White, 1993, 443-449)
Borman, W.C., Hanson, M.A., Oppler, S.H., Pulakos, E.D., & White, L.A.

(1993). Role of early supervisory experience in supervisor
performance. Journal of Applied Psychology, 78, 443-449.

ผแู ตง 6 คน หรอื มากกวา

การอา งอิง (จุมพจน วนชิ กลุ , และคนอื่นๆ, 2542, 51-75)
บรรณานกุ รม จุมพจน วนิชกุล, ฉันทนา ชาญพานิช, นันทา วิทวุฒิศักด์ิ, พรทิพย วัฒนสุวกุล,

ภญิ ญาพร นติ ยะประภา, และอัญญานี คลายสุบรรณ. (2542, พฤษภาคม
- สิงหาคม). การอา งองิ . วารสารสํานกั วทิ ยบริการ, 4 (2), 51-75.

บทความในนิตยสาร

การอา งอิง (ลอม เพ็งแกว, 2542, 103-105)
บรรณานกุ รม ลอม เพ็งแกว, (2542, มิถุนายน). สุนทรภูเกิดที่ไหน. ศิลปวัฒนธรรม, 20(8),
การอางองิ
บรรณานุกรม 103-105.
(Posner, 1993, 673-674)
Posner, M.I. (1993, October 29). Seeing the mind. Science, 262, 673-674.

บทความในจดหมายขา ว ไมปรากฏชื่อผแู ตง

การอา งองิ (ราชภัฏกาํ หนดยทุ ธศาสตรเ ชงิ รกุ , 2542, 1)
บรรณานกุ รม ราชภัฏกําหนดยุทธศาสตรเชิงรุกสู พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ ขอเวลา 3 ปเห็นผล.
การอา งองิ
บรรณานกุ รม (2542, สิงหาคม 27). จดหมายขาวสาํ นักงานสภาสถาบันราชภฏั ,1.
การอา งองิ (ใบประกอบวิชาชีพ, 2542, 1)
บรรณานกุ รม ใบประกอบวิชาชพี . (2542, กันยายน 7). ขาวสารการฝก หัดครู,1.
(The new health – care lexicon, 1993, 1-2)
The new health–care lexicon. (1993, August/September). Copy Editor, 4, 1-2.

คมู อื วิทยานพิ นธ 39 บัณฑิตวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช

บทความในหนงั สอื พิมพ

การอางอิง (ภาคภูมิ ปอ งภัย, 2542, หนา 12)
บรรณานุกรม ภาคภูมิ ปองภัย, (2542, กรกฎาคม 3). มุมท่ีถูกลืมในพระราชวังบางปะอิน. มติชน,
การอางอิง
บรรณานุกรม หนา 12.
(Erlich, 1994, p.4)
Erlich, Richard S. (1994, June 28). China a paradise for counterfeit CDs.

Bangkok Post, p. 4.

บทความในหนงั สือพิมพไมปรากฏชอื่ ผูแตง

การอา งองิ (ภาษีนํา้ มัน, 2542, หนา 2)
บรรณานกุ รม ภาษีนํา้ มัน คดิ ตามอตั ราตามปริมาณ, (2542, กนั ยายน 29). มตชิ น, หนา 2.
การอางอิง (New drug, 1993, p. A12)
บรรณานกุ รม New drug appears to sharply cut risk of death from heart failure.

(1993, July 15). The Washington Post, p. A12.

บทความแปล

การอา งอิง (เบิรด แซล & เฮนสเลย, 2539, 33-49)
บรรณานกุ รม เบิรดแซล, ดี. จี. และเฮนสเลย, โอ. ดี. แบบจําลองการวางแผนกลยุทธแนวใหม
การอางอิง
บรรณานกุ รม (แปลจาก A new strategic planning model for academic
libraries โดย ดวงพร พงศพาณิชย, พชรมน ปราบพล, ประภาพร ปาล
กะวงศ ณ อยธุ ยา และศุภร ชินะเกตุ. (2539, ธันวาคม). บรรณศาสตร,
(2), 33-49.
(New drug, 1993, p. A12)
New drug appears to sharply cut risk of death from heart failure. (1993,
July 15). The Washington Post, p. A12.

2. หนงั สอื

หนังสือท่วั ไป

การอางองิ (ไพรัช ธัชยพงษ และกฤษณะ ชางกลอม, 2541)
บรรณานุกรม ไพรัช ธัชยพงษ และกฤษณะ ชางกลอม. (2541). การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

สารสนเทศแหงชาติเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี.

บณั ฑติ วทิ ยาลยั 40 คูมือวทิ ยานพิ นธ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

การอางอิง (ประสานสขุ ละมอ ม, และคนอ่ืนๆ, 2526)
บรรณานุกรม ประสานสุข ละมอม, นันทา วิทวุฒิศักดิ์, ฉวีวรรณ คูหาภินันท, สุนิตย เย็นสบาย,
การอางอิง
บรรณานุกรม ดวงเดือน ทองวิชิต, ศรชัย เอี่ยมละออ, สุชารัตน คูหามุกต, และ
เพชรสมร เพ็ญเพียร. (2526). บรรณารักษศาสตร. กรุงเทพมหานคร: แพร
พทิ ยา.
(Mitchell & Larson, 1987)
Mitchell, T. R., & Larson, J. R., Jr. (1987). People in organizations: An
introduction to organizational behavior (3rd ed.). New York:
McGraw-Hill.

หนงั สอื ที่ผูแตง เปน หนว ยงานราชการ

การอา งอิง (กรมการศึกษานอกโรงเรียน, 2535)
บรรณานกุ รม การศึกษานอกโรงเรยี น, กรม. (2535). รวมบทความการศึกษานอกโรงเรียน เลม

11. กรงุ เทพมหานคร: ผแู ตง.
ในกรณีท่ีชื่อผูแตงและช่ือสํานักพิมพเปนช่ือเดียวกัน ใหลงรายการผูแตง (Author)
ในรายการชอ่ื สาํ นักพิมพ ผูแ ตงอาจเปน บุคคลหรือสถาบนั ก็ได
การอางอิง (Australian Bureau of Statistics, 1991)
บรรณานกุ รม Australian Bureau of Statistics. (1991). Estimated resident population by

age and sex in statistical local areas, New South Wales, June
1990 (No. 3209. 1). Canberra, Australian Capital Territory: Author.

หนังสือท่ีมีผรู บั ผดิ ชอบในการจดั ทํา เชน บรรณาธกิ าร ผูรวบรวม

การอางอิง (อดลุ ย วริ ิยเวชกลุ , (บก.), 2541)
บรรณานุกรม อดุลย วิริยเวชกุล, (บก.). (2541). คูมือจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา.
การอา งองิ
บรรณานุกรม นครปฐม: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหดิ ล.
(Gibbs & Huang, (Eds.), 1991)
Gibbs, J. T., & Huang, L. N. Eds.). (1991). Children of color:

Psychological interventions with behavior (3rd ed). New York:
McGraw-Hill.

หนังสือที่ไมปรากฏชอ่ื ผแู ตง

การอา งอิง (สวดมนตไหวพระ..., 2541)
บรรณานุกรม สวดมนตไหวพระฉบับชาวบานและผูปฏิบัติธรรม. (2541). กรุงเทพมหานคร:

สวุ รี ิยาสาสน.

คูม ือวทิ ยานิพนธ 41 บัณฑิตวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

การอางองิ (Merriam-Webster’s collegiate dictionary, 1993)
บรรณานกุ รม Merriam-Webster’s collegiate dictionary. (1993). (10th ed). Springfield,

MA: Merriam-Webster.
ในการลงรายการอางองิ ใหร ะบชุ อื่ หนังสืออยางสั้น หรอื ทง้ั หมด

หนงั สอื ทม่ี ีความยาวหลายเลมจบ ชวงการพมิ พมากกวา 1 ป

การอางองิ (Koch, (Ed.), 1959-1963)
บรรณานุกรม (Koch, S. (Ed.). (1959-1963). Psychology: A Study of science (Vols. 1-6).

New York: McGraw-Hill.

หนงั สือสารานกุ รม หรือพจนานกุ รม

การอางอิง (สธุ วิ งศ พงษไ พบูลย, (บก.), 2529)
บรรณานุกรม สุธิวงศ พงษไพบูลย. (บก.). (2529). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต พ.ศ. 2529 เลม

1-10. สงขลา: สถาบนั ทกั ษิณคดีศึกษามหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ สงขลา.

การอา งองิ (Sadie, (Ed.), 1980)
บรรณานุกรม Sadie, S. (Ed.). (1980). The new Grove dictionary of music and

musicians (6th ed., Vols. 1-20). London: Macmillan.

หนงั สือแปล

การอา งองิ (ฟส ค, 2542)
บรรณานุกรม ฟสค, เอ็ดเวิรด บี. (2542). การกระจายอํานาจทางการศึกษา การเมือง และฉันทา
การอางอิง
บรรณานุกรม นัติ แปลจาก Decentralization of education: Politics and consensus
โดย ภัทรนันท พัฒิยะ). กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหง ชาติ สาํ นักนายกรัฐมันตร.ี
(Laplace, 1951)
Lapalce, P.S. (1951). A philosophical essay on probabilities (F. W.
Truscott & F. L. Emory, Trans.). New York: Dover. (Original work
published 1814).

จุลสาร แผน พบั เอกสารประชาสัมพันธ

การอางอิง (การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย, 2541)
บรรณานกุ รม การทอ งเทยี่ วแหงประเทศไทย. (2541). ทองเทีย่ วสงขลา. [แผน พบั ]. สงขลา: ผแู ตง .

บณั ฑติ วิทยาลัย 42 คูม อื วิทยานพิ นธ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

การอา งอิง (Research and Training Center on Independent Living, 1993)
บรรณานุกรม Research and Training Center on Independent Living, (1993).

Guidelines for reporting and writing about people with
disabilities (4th ed.) [Brochure]. Lawrence, KS: Author.

บทความ หรอื เน้ือหาแยกแตละบท แตล ะผเู ขียนในเลม

การอา งอิง (สมบรู ณ พรรณาภพ, 2535, หนา 407-415)
บรรณานกุ รม สมบูรณ พรรณาภพ. 2535, อภิปรชั ญากบั การศึกษา. ใน คณะกรรมการโครงการ
การอา งอิง
บรรณานุกรม สารานุกรมศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (บก.),
สารานุกรมศึกษาศาสตร ฉบับเฉลิมพระเกียรติ (หนา 407-415).
กรงุ เทพมหานคร: คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ.
(Massaro, 1992, pp. 51-84)
Massaro, D. (1992). Broadening the domain of the fuzzy logical model
of perception. In H. L. Pick, Jr., P. Van den Broek, & D. C. Knill
(Eds.), Cognition: Conceptual and methodological issues
(pp. 51-84). Washington, D. C.: American Psychological
Association.

เน้ือหาในหนงั สอื ชดุ

การอางองิ (เทยี นฉาย กีระนันทน, 2540, หนา 1-24)
บรรณานุกรม เทียนฉาย กีระนันทน. (2540). การวางแผนและการจัดทําโครงการของรัฐ.
การอางอิง
บรรณานุกรม ใน สมหวัง พิริยานุวัฒน (บก.), รวมบทความทางการประเมินโครงการ
: ชุดรวมบทความ เลมท่ี 4. (หนา 1-24). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ
มหาวทิ ยาลัย.
(Massaro, 1992, pp. 51-84)
Massaro, D. (1992). Broadening the domain of the fuzzy logical model
of perception. In H. L. Pick, Jr., P. Van den Broek, & D. C. Knill
(Eds.), Cognition: Conceptual and methodological issues
(pp. 51-84). Washington, D. C.: American Psychological
Association.

บทความในหนงั สอื ที่ไมไ ดเขียนเปน ภาษาอังกฤษ ใหแ ปลชอื่ บทความเปน ภาษาองั กฤษ

การอางองิ (Davydov, 1972)

คมู อื วิทยานิพนธ 43 บณั ฑติ วทิ ยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช

บรรณานกุ รม Davydov, V. (1992). De introductive van het begrip grootheid in de
eerste klas van de basis school: Een expriementeel
onderzoek [The introduction of the concept of quantity in
the first grade of the primary school: An experimental study].
In C. F. Van Parreren & J.A.M. Cappay (Eds.).
Sovietpsychologen aan hetwood (pp. 227-289). Groningen,
The Netherlands: Wolters - Noordhoff.

บทความในหนังสอื สารานกุ รม

การอา งองิ (นันทสาร สสี ลบั , 2542, เลม 23, หนา 11-30)
บรรณานกุ รม นนั ทสาร สีสลับ. (2542). ภูมปิ ญ ญาไทย. ใน สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดย
การอางองิ
บรรณานุกรม พระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว (เลม 23, หนา 11-
30). กรุงเทพมหานคร: อมรนิ ทรพ ร้ินตงิ้ .
(Bregmann, 1993, Vol.26, pp. 501-508)
Bregmann, P.G. (1993). Relativity. In The New Encyclopedia
Britannica (Vol.26, pp. 501-508). Chicago: Encyclopedia
Britannica.

บทความแปลในหนังสอื ชดุ หรือหนงั สือรวมเลม

การอา งอิง (Freud, 1923/1961, Vol.19, pp. 3-66)
บรรณานกุ รม Freud, S. (1961). The ego and the id. In J. Strachey (Ed. & Trans.),

The Standard edition of the complete psychological work
of Sigmund Freud (Vol.19, pp. 3-66). London: Hogarth
(Original work published 1923).

พิมพซ้าํ บทความแปลในหนังสือรวมเลม จากแหลงอ่นื

การอางอิง (Piaget, 1988)
บรรณานกุ รม Piaget, J. (1988). Extracts from Piaget’s theory (G. Gellerier & J. Langer,

Trans.). In K. Richardson & S. Sheldon (Eds.), Cognitive
development to adolescence: A Reader (pp. 3-18).
Hillsdale, NJ: Erlbaum. (Reprinted from Manual of child
psychology, pp.703-732, by P. H. Mussen, (Ed.), 1970, New
York: Wiley).

บณั ฑติ วทิ ยาลัย 44 คมู อื วิทยานิพนธ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

คมู อื วทิ ยานิพนธ 45 บณั ฑิตวิทยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

บทท่ี 6
การอางอิงจากแหลงอ่ืนๆ

ในการจัดทํารายงาน การคนควาอิสระ และวิทยานิพนธ จําเปนตองไปศึกษาคนควาจากเอกสาร
ตางๆ จงึ ตองมกี ารอางองิ จดั ทําเชิงอรรถ และบรรณานุกรมไว การเขยี นอางอิง การเขียนเชิงอรรถ และการ
เขียนบรรณานุกรม ยอมมีรูปแบบเฉพาะตามลักษณะผลงานทางวิชาการประเภทน้ันๆ ผูเขียนจึงตองศึกษา
รูปแบบใหถ ูกตอ ง เพอื่ ใหส ามารถใชร ปู แบบไดถกู ตองตามรูปแบบนั้นๆ เปนระบบเดียวกันโดยตลอด

รูปแบบการลงรายการจากแหลง อ่นื ๆ

1. รายงานทางวิชาการ รายงานวิจยั

รายงานทางวชิ าการ

การอางอิง (บุญมา พงษโหมด, ชุตินนั ท บญุ ฉํา่ , คะนึงนติ ย ชืน่ คา และอมรา พงษปญญา, 2542)
บรรณานุกรม บุญมา พงษโหมด, ชุตินันท บุญฉํ่า, คะนึงนิตย ช่ืนคา และอมรา พงษปญญา.

(2542). งานวิจัยเร่ืองการศึกษาสภาพแวดลอมวัดโสธรวราราม
วรวหิ าร. ฉะเชิงเทรา: สถาบนั ราชภฏั ราชนครินทร.

การอา งอิง (ศุภัช ศุภชลาศัย, 2539)
บรรณานุกรม ศูภชั ศุภชลาศัย. (2539). รายงานฉบบั สมบูรณเ รอ่ื งลทู างและโอกาสการสง ออก

และผลกระทบจากการมีเขตการคาเสรีอาเซียน (สําหรับอุตสาหกรรม
สิ่งทอ) เสนอตอสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร:
ฝา ยแผนงานเศรษฐกจิ รายสาขา สถาบนั วิจยั เพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย.

การอา งอิง (Mazzeo, Druesne, Reffeld, Checketts & Muhistein, 1991)
บรรณานุกรม Mazzeo, J., Druesne, B., Reffeld, P.C., Checketts, K.T., & Muhistein, A.

(1991). Comparability of computer and paper and pencil
scores for two CLEP general examinations (College Board
Rep. No. 91-5). Princeton, NJ: Educational Testing Service.

รายงานประเภทสง่ิ พิมพร ัฐบาล

การอา งองิ (คณะกรรมการติดตามผลการมีงานทําของบณั ฑติ , 2542)
บรรณานกุ รม ติดตามผลการมีงานทําของบัณฑิต, คณะกรรมการ. (2542). รายงาน

การติดตามผลผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา
ปก ารศึกษา 2540-2541. กรุงเทพมหานคร: สํานักวิจัยและฝายทะเบียน
วดั ผล สถาบนั ราชภฏั สวนสุนันทา.


Click to View FlipBook Version