The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนเรื่อง รูปร่าง ลักษณะและจำนวนโครโมโซม ใช้ประกอบการประเมินภาค ค สังกัด สพฐ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannipa phoka, 2022-03-13 12:09:24

แผนการสอน พรรณิภา พ่อค้า

แผนการสอนเรื่อง รูปร่าง ลักษณะและจำนวนโครโมโซม ใช้ประกอบการประเมินภาค ค สังกัด สพฐ.

แผนการจัดการเรียนรู้

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าชวี วิทยา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4

โดย

นางสาวพรรณภิ า พอ่ คา้
เลขท่สี มัครสอบ 061800075

ตาแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาขอนแกน่
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



คานา

แผนการจัดการเรียนรู้นี้เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา ชีววิทยา 2 (ว 30242) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม เร่ือง รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม เล่มนี้จัดทาข้ึนเพ่ือ
นามาใช้ประกอบการประเมินภาค ค ความเหมาะสมกับตาแหน่งวิชาชีพและการปฏิบัติงานในสถานศึกษา
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2564 ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีประกอบไปด้วย
คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย และแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
เรื่องรูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม สื่อ ใบงาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ใช้ในการประเมินความรู้
ความสามารถของผู้เรยี น วธิ ีการและเกณฑ์การประเมนิ การเรยี นรู้และพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น

ผสู้ อนขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านท่ีให้คาแนะนา และเป็นที่ปรึกษาในการจัดทาแผนการจัดการ
เรียนรู้ทม่ี ปี ระโยชนแ์ ละมีคุณคา่ ตอ่ การจดั การเรียนการสอน อนั จะเปน็ ประโยชน์สงู สุดตอ่ ตวั ผเู้ รียนไว้ ณ โอกาสนี้

ลงชือ่ ...................................................................
(นางสาวพรรณภิ า พ่อค้า)
ผูจ้ ัดทาแผนการจัดการเรียนรู้

สารบญั ข

เรอื่ ง หนา้
คานา ก
สารบญั ข
โครงสร้างรายวชิ า 1
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย 12
แผนการจดั การเรียนรู้ชว่ั โมง 31
32
- แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม 44
ภาคผนวก 45
47
- ใบความรู้ เร่ือง รูปรา่ ง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม 49
- ใบกิจกรรมท่ี เรือ่ ง รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
- แนวคาตอบใบกิจกรรมทื่ 1 เร่ือง รปู รา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

1

โครงสรา้ งรายวชิ า

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ 2
สาระการเรยี นร้เู พม่ิ เตมิ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี รายวิชา ว 30242
รายวิชาชีววทิ ยา 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4
เวลา 60 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา สืบค้น วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย เปรียบเทียบ ระบุข้ันตอน ยกตัวอย่าง คานวณหาโอกาสสรุป
ความสัมพันธ์ สรุปผลการทดลอง สรุปสาระสาคัญของข้อมูลท่ีเกี่ยวกับโครโมโซม สมบัติและหน้าที่สารพันธุกรรม
โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ การจาลองดีเอ็นเอ สารพันธุกรรมกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน
หน้าที่ของดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน การเกิดมิวเทชันระดับยีน การเกิดมิวเทชันระดับ
โครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน โรคและกลุ่มอาการท่ีเป็นผลของการเกิดมิวเทชัน การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล การทดลองของเมนเดลความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรม แอลลีล
โปรตนี ลักษณะทางพนั ธุกรรม กฏแห่งการแยก และกฏแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ การนากฏเมนเดลไปอธิบายการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเกิดฟีโนไทป์และจีโนไทป์แบบต่าง ๆ ของ F1 และ F2 ลักษณะทางพันธุกรรมท่ี
เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดลการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล
ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการแปรผันไม่ต่อเน่ือง ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการแปรผันต่อเนื่อง ยีนบ นโครโมโซม
เดียวกัน การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม ยีนบนโครโมโซมเพศ
เทคโนโลยีดีเอ็นเอ พันธุวิศวกรรมการโคลนยีน หลักการสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมโดยใช้ดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท์
การหาขนาดของดเี อ็นเอการหาลาดบั นวิ คลโี อไทด์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยที างดีเอ็นเอ เทคโนโลยีกับความปลอดภัย
ทางชีวภาพ ชีวจริยธรรม การนาเทคโนโลยีดีเอ็นเอไปประยุกต์ในด้านส่ิงแวดล้อม นิติวิทยาศาสตร์ การแพทย์
การเกษตรอุตสาหกรรม ข้อคานึงถึงด้านชีวจริยธรรม วิวัฒนาการ หลักฐานท่ีสนับสนุนและข้อมูลท่ีใช้ในการศึกษา
อธิบายววิ ัฒนาการของสงิ่ มชี ีวิต แนวคดิ เกยี่ วกบั ววิ ัฒนาการของสง่ิ มีชีวิต แนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตของ
ลามาร์ก ทฤษฏีเก่ียวกบั วิวฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ของชาร์ลดาร์วิน พันธุศาสตร์ประชากร สมดุลของกฏฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
การเปล่ียนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร ความถี่ของแอลลีลและจีโนไทป์ของประชากรโดยใช้
กฏฮาร์ดี-ไวนเ์ บริ ก์ กาเนิดสปชี ีส์และกระบวนการเกิดสปีชสี ์ใหม่ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง อภิปราย การ
อธิบาย และการสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และ
นาความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตรจ์ ริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม
และสงิ่ แวดล้อม

ผลการเรยี นรู้
ม.4/1 สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบาย และสรุปผลการทดลองของเมนเดล
ม.4/2 อธิบาย และสรุปกฎแห่งการแยก และกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ และนากฎของเมนเดลนี้ไป

อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมและใช้ในการคานวณโอกาสในการเกดิ ฟโี นไทปแ์ ละจีโนไทป์แบบต่าง ๆ ของ
ร่นุ F1 และ F2

3

ม.4/3 สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์อธิบาย และสรุปเก่ียวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ท่ีเป็นส่วนขยาย
ของพนั ธศุ าสตร์เมนเดล

ม.4/4 สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์และเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการแปรผันไม่ต่อเน่ืองและลักษณะ
ทางพนั ธุกรรมท่มี กี ารแปรผนั ตอ่ เน่อื ง

ม.4/5 อธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมด้วยยีนบน
ออโตโซมและยนี บนโครโมโซมเพศ

ม.4/6 สืบคน้ ข้อมลู อธบิ ายสมบตั แิ ละหน้าที่ของสารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของ DNA
และสรุปการจาลอง DNA

ม.4/7 อธบิ าย และระบุขั้นตอนในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีนและหนา้ ทีข่ อง DNA และ RNA แต่ละชนิดใน
กระบวนการสังเคราะหโ์ ปรตีน

ม.4/8 สรปุ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสารพันธกุ รรม แอลลีลโปรตนี ลกั ษณะทางพันธกุ รรม และเชื่อมโยงกับความรู้
เรื่องพันธุศาสตรเ์ มนเดล

ม.4/9 สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายการเกดิ มวิ เทชันระดบั ยนี และระดบั โครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน รวมทั้ง
ยกตวั อย่างโรคและกลุ่มอาการท่เี ป็นผลของการเกดิ มวิ เทชนั

ม.4/10 อธบิ ายหลกั การสรา้ งส่งิ มีชีวติ ดัดแปรพันธกุ รรมโดยใชด้ เี อน็ เอรีคอมบิแนนท์
ม.4/11 สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอภิปรายการนาเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกต์ใช้ทั้งในด้าน
สิง่ แวดลอ้ ม นติ วิ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์การเกษตรและอุตสาหกรรม และข้อควรคานงึ ถึงด้านชวี จริยธรรม
ม.4/12 สืบค้นข้อมูล และอธิบายเก่ียวกับหลักฐานที่สนับสนุนและข้อมูลท่ีใช้อธิบายการเกิดวิวัฒนาการของ
สงิ่ มชี วี ิต
ม.4/13 อธิบาย และเปรียบเทียบแนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตของฌอง ลามาร์กและทฤษฎี
เกี่ยวกบั วิวฒั นาการของสิ่งมชี วี ิตของชาลส์ดารว์ ิน
ม.4/14 ระบุสาระสาคัญ และอธิบายเงื่อนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ
เปล่ยี นแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร พร้อมทั้งคานวณหาความถี่ของแอลลีลและจีโนไทป์ของประชากรโดยใช้
หลกั ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ ์ก
ม.4/15 สบื ค้นขอ้ มลู อภิปราย และอธิบายกระบวนการเกดิ สปีชีสใ์ หมข่ องสิง่ มีชีวติ

รวมทัง้ หมด 15 ผลการเรียนรู้

กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี โครงสรา้ งรายว
รายวชิ าชวี วทิ ยา 2
เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น รายวชิ า ว 302
3 ช่ัวโมง/สัปด

สัปดาห์ ช่อื หนว่ ยการียนรู้ ผลการเรียนรู้
ท่ี ปฐมนเิ ทศ
-
1 - สบื คน้ ขอ้ มลู อธิบายสมบัติและหนา้ ท่ีของสารพันธุกรรม
โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอและสรุป
การจาลองดีเอ็นเอ

2 - อธิบายและระบุข้ันตอนในกระบวนการสังเคราะห์

หนว่ ยท่ี 4 โปรตีนและหน้าที่ของ ดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอแต่ละชนิด
โครโมโซมและสาร ในกระบวนการสงั เคราะหโ์ ปรตีน

3 พนั ธุกรรม

4

4

วชิ าชีววิทยา 2 สาระการเรียนรูเ้ พ่ิมเตมิ
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4
242 1.5 หน่วยกิต
ดาห์

เนอื้ หา/กิจกรรม คาบที่ น้าหนกั
คะแนน
หน่วยการเรียนรู้,การวัดผลประเมนิ ผล,ข้อตกลงในการเรียน
รูปรา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม 1-

กิจกรรมที่ 4.1 จดั จาแนกรปู รา่ ง ลักษณะของโครโซม 2-3 2
สว่ นประกอบของโครโมโซม
41
กิจกรรมท่ี 4.2 ส่วนประกอบของโครโมโซม
การค้นพบสารพนั ธกุ รรม 5-6 1

การค้นพบสารพันธุกรรม 71
องค์ประกอบทางเคมขี อง DNA
8-9 2
องค์ประกอบทางเคมีของดเี อน็ เอ
โครงสร้างของ DNA 10 2

กจิ กรรมท่ี 4.3 แบบจาลองโครงสรา้ ง DNA จากวัสดุต่าง ๆ 11-12 2
การจาลองดีเอ็นเอ

กิจกรรมที่ 4.4 การจาลองดีเอน็ เอเกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งไร
การควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของ DNA

กจิ กรรมท่ี 4.5 การถอดรหสั และการแปลรหัส

สปั ดาห์ ชือ่ หน่วยการียนรู้ ผลการเรยี นรู้
ท่ี
หน่วยที่ 4 - สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายการเกดิ มิวเทชนั ระดับยนี และ
5 โครโมโซมและสาร ระดบั โครโมโซมสาเหตกุ ารเกิดมวิ เทชนั รวมท้งั ยกตัวอย
โรคและกลมุ่ อาการท่ีเป็นผลของการเกดิ มวิ เทชนั
พันธุกรรม

สอบเกบ็ คะแนน

- สบื ค้นขอ้ มูล อธิบายและสรุปผลการทดลองของเมนเด
6 - สรุปความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรม แอลลีล โปร

ลักษณะทางพันธุกรรม และ เชื่อมโยงกับความรู้เ

พนั ธุศาสตร์เมนเดล

- อธิบายและสรปุ กฎแห่งการแยกและกฎแห่งการรวมก

หนว่ ยท่ี 5 อยา่ งอิสระ และนากฎของเมนเดลน้ีไปอธิบายการถ่ายท

7 การถา่ ยทอดลกั ษณะ ลักษณะทางพันธุกรรม และใช้ในการคานวณโอกาสใน
ทางพนั ธกุ รรม เกิดฟีโนไทป์และจีโนไทป์แบบต่าง ๆ ของรุน่ F1 และ F2

8

5

เน้อื หา/กจิ กรรม คาบท่ี น้าหนัก
คะแนน
มิวเทชันระดับยีน
ย่าง กิจกรรมท่ี 4.6 บตั รภาพมวิ เทชันระดบั ยนี 13 1

มวิ เทชันระดบั โครโมโซม 14-15 1
กิจกรรมท่ี 4.7 มวิ เทชนั ระดบั โครโมโซม
16 5
นครง้ั ที่ 1 17-18 1

ดล การศึกษาพันธกุ รรมของเมนเดล
รตีน การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล
ร่ือง

กลุ่ม กฎการแยก 19 1
ทอด กิจกรรมท่ี 5.1 การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง การผสมลักษณะ 20-21 2
นการ เดยี ว 22 1
2 กฎการรวมกลมุ่ อย่างอิสระ

กิจกรรมที่ 5.2 การแก้โจทย์ปัญหา เรื่องการผสมพิจารณา
หลายลักษณะ
การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม

กิจกรรมท่ี 5.3 ความนา่ จะเปน็ กบั การถ่ายทอดลักษณะทาง
พนั ธกุ รรม

สปั ดาห์ ชอ่ื หน่วยการียนรู้ ผลการเรยี นรู้
ท่ี
- ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยาย
8 พนั ธุศาสตรเ์ มนเดล

9

หน่วยท่ี 5

10 การถา่ ยทอดลกั ษณะ
ทางพนั ธุกรรม

- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และเปรียบเทียบลักษณะ

พันธุกรรมท่ีมีการแปรผันไม่ต่อเนื่องและลักษณะ

11 พนั ธกุ รรมทีม่ ีการแปรผนั ตอ่ เนอื่ ง
- อธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอ

ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ถี กู ควบคุมด้วยยนี บนออโตโซม

ยีนบนโครโมโซมเพศ

12 สอบกลางภาค

6

เนือ้ หา/กจิ กรรม คาบท่ี นา้ หนัก
คะแนน
ยของ ความเดน่ ไมส่ มบรู ณ์ 23-24
กิจกรรมท่ี 5.4 การแก้โจทย์ปญั หาเรอ่ื ง ความเด่นไม่ 1
25
สมบรู ณ์ 26-27 1
ความเดน่ ร่วม 28 1
29-30 1
กิจกรรมท่ี 5.5 การแกโ้ จทย์ปัญหาเรือ่ ง ความเดน่ รว่ ม 1
มัลตเิ พลิ แอลลีล 31
1
กิจกรรมท่ี 5.6 การแก้โจทย์ปัญหา เร่อื ง มัลติเพลิ แอลลลี
ลกั ษณะควบคุมดว้ ยยนี หลายคู่

ลักษณะควบคุมดว้ ยยนี หลายคู่
การถ่ายทอดยนี บนโครโมโซมเพศ

กิจกรรมท่ี 5.7 การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง ลักษณะทาง
พันธกุ รรมทค่ี วบคมุ โดยยนี บนโครโมโซมเพศ
ะทาง การแปรผันตอ่ เนือ่ งและการแปรผนั ไม่ต่อเนอ่ื ง
ทาง การแปรผนั ตอ่ เนือ่ งและการแปรผนั ไม่ตอ่ เน่ือง

อย่าง ยนี บนโครโมโซมเดยี วกนั 32-33 1
มและ ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน

คเรยี น 34 20

สปั ดาห์ ชอื่ หนว่ ยการยี นรู้ ผลการเรยี นรู้
ท่ี
- อธิบายหลักการสร้างส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมโด
12 ดเี อ็นเอรีคอมบแิ นนท์

13

14 หนว่ ยท่ี 6
เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
- สบื ค้นข้อมลู ยกตวั อย่าง และอภิปรายการนา เทคโน
ท า ง ดี เ อ็ น เ อ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ท้ั ง ใ น ด้ า น ส่ิ ง แ ว ด ล

15 นติ ิวิทยาศาสตร์การแพทยก์ ารเกษตร และอตุ สาหกรรม
ข้อควรคา นึงถึงดา้ นชวี จรยิ ธรรม

16

7

เน้อื หา/กิจกรรม คาบท่ี น้าหนัก
คะแนน
ดยใช้ พันธุวิศวกรรมและการโคลนยนี 35-36
พันธวุ ิศวกรรมและการโคลนยนี 37 1
38-39 2
การโคลนยนี โดยใชพ้ ลาสมดิ ของแบคทเี รยี 2
กิจกรรม 6.1 การสรา้ งดเี อ็นเอรีคอมบแิ นนท์ 40
41-42 1
การเพมิ่ จานวน DNA ด้วยเทคนิค PCR 43 1
กิจกรรมท่ี 6.2 กระบวนการที่เกิดขึ้นในการเพิ่มจานวน 44-45 1
2
ดเี อน็ เอโดยเทคนิค PCR 46
การหาขนาด DNAด้วยเทคนคิ เจลอิเลก็ โทรฟอรซี สิ 2

การหาขนาด DNA ด้วยเทคนคิ เจลอเิ ลก็ โทรฟอรีซิส
การหาลาดับนวิ คลโี อไทด์

การหาลาดบั นวิ คลีโอไทด์
นโลยี การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
ล้ อ ม กิจกรรมที่ 6.3 การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
มและ ดา้ นการแพทย์และเภสัชกรรม

กิจกรรมท่ี 6.4 การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีทางดเี อน็ เอดา้ น
การแพทยแ์ ละเภสัชกรรม
ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม

กจิ กรรมท่ี 6.5 การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีทางดเี อ็นเอดา้ น
การเกษตรและอตุ สาหกรรม

สปั ดาห์ ช่อื หน่วยการยี นรู้ ผลการเรียนรู้
ท่ี
16 หน่วยที่ 6 - สบื ค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอภิปรายการนา เทคโน
เทคโนโลยดี ีเอน็ เอ ท า ง ดี เ อ็ น เ อ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ท้ั ง ใ น ด้ า น ส่ิ ง แ ว ด ล
17 นิตวิ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยก์ ารเกษตร และอตุ สาหกรรม
ข้อควรคา นึงถงึ ดา้ นชวี จริยธรรม
- สบื ค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอภิปรายการนา เทคโน
ท า ง ดี เ อ็ น เ อ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ท้ั ง ใ น ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล
นิติวทิ ยาศาสตร์การแพทยก์ ารเกษตร และอตุ สาหกรรม
ขอ้ ควรคา นงึ ถงึ ด้านชีวจริยธรรม

สอบเกบ็ คะแนนค

- สืบคน้ ข้อมลู และอธบิ ายเกย่ี วกับหลักฐานที่สนับสนุน

ขอ้ มูลทีใ่ ชอ้ ธิบายการเกิดววิ ัฒนาการของสิ่งมีชวี ติ

18 - อธิบายและเปรียบเทยี บแนวคิด เก่ียวกับวิวัฒนาการ
ส่งิ มชี วี ิต ของชอง ลามาร์กและทฤษฎี เกี่ยวกับวิวัฒนา
หน่วยท่ี 7 ของสงิ่ มชี วี ติ ของชาลส์ ดาร์วนิ
ววิ ฒั นาการ

- อธบิ ายและเปรยี บเทียบแนวคิด เกี่ยวกับวิวัฒนาการ

19 สงิ่ มชี ีวิต ของชอง ลามาร์กและทฤษฎี เกี่ยวกับวิวัฒนา

ของสงิ่ มีชีวิต ของชาลส์ ดาร์วนิ

8

เนือ้ หา/กิจกรรม คาบที่ นา้ หนัก
คะแนน
นโลยี ดา้ นนติ วิ ทิ ยาศาสตร์ 47-48
2

ล้ อ ม กจิ กรรมท่ี 6.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอด้าน

มและ นิตวิ ิทยาศาสตร์

นโลยี เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอกับความปลอดภัยทางชีวภาพและ 49 1
ล้ อ ม ชีวจริยธรรม
มและ เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอกับความปลอดภัยทางชีวภาพและ 50-51 5
52 2
ชีวจริยธรรม 53-54 2

ครง้ั ที่ 2

นและ หลกั ฐานและขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการศกึ ษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของ

สิ่งมชี ีวิต

รของ แนวคดิ เกี่ยวกบั วิวฒั นาการของสง่ิ มชี วี ิต
าการ แนวคดิ เกย่ี วกับววิ ัฒนาการของสิง่ มชี วี ิต

รของ พันธุศาสตรป์ ระชากร 55 2
าการ กิจกรรมที่ 7.1 การแก้โจทย์ปัญหาเรื่องพันธุศาสตร์

ประชากร

สปั ดาห์ ช่ือหนว่ ยการยี นรู้ ผลการเรียนรู้
ท่ี
19 หน่วยท่ี 7 - อธิบายและเปรียบเทียบแนวคิด เก่ียวกับวิวัฒนาการ
วิวฒั นาการ สง่ิ มชี วี ติ ของชอง ลามาร์กและทฤษฎี เกี่ยวกับวิวัฒนา
20 ของส่ิงมีชวี ติ ของชาลส์ ดารว์ นิ
- สืบค้นข้อมลู อภปิ ราย และอธิบายกระบวนการเกิดสป
ใหม่ของสิ่งมชี วี ติ

สอบปลายภ
รวม

9

เนอื้ หา/กจิ กรรม คาบที่ นา้ หนัก
คะแนน
รของ ปจั จยั ทที่ า ให้เกดิ การเปล่ียนแปลงความถข่ี องแอลลลี 56-57
าการ กิจกรรมที่ 7.2 ปัจจัยท่ีทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถ่ี 2
58
ของแอลลลี 59-60 2
ปีชีส์ กาเนดิ สปีชสี ์ 60
20
กิจกรรมท่ี 7.3 กาเนิดสปชี สี ์ 100
ภาค

10

กจิ กรรมการเรียนรู้
(รปู แบบการสอบแบบสบื เสาะหาความรู้ของ สสวท.)

1. ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)
ครูสร้างความสนใจโดยการตั้งคาถาม การใช้เกม รูปภาพ แผนภูมิ วิดีโอ สื่อจริงหรือจากส่ิงที่เช่ือมโยงกับ
ความร้เู ดิมของนักเรยี น จากนั้นครูกับนกั เรียนร่วมกันกาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของประเด็นที่ต้องการ
ศกึ ษาใหช้ ัดเจน
2. ขั้นสารวจและคน้ หา (Exploration)
ให้นักเรียนร่วมกันวางแผนในการกาหนดแนวทางในการสืบเสาะหาความรู้จากใบความรู้ใบกิจกรรม สื่อจริง
โมเดลหรือแพลตฟอร์มดิจิทัล ทากิจกรรมและค้นหาคาดคะเนคาตอบ กาหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ และลงมือปฏิบัติ
สารวจ ตรวจสอบ คน้ หา เพ่ือเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3. ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
ให้นักเรียนนาข้อมูลท่ีได้จากการสืบเสาะหาความรู้มาอภิปรายร่วมกัน แล้ววิเคราะห์แปลผล สรุปผล เป็น
ความรู้ แลว้ นาเสนอหน้าชัน้ เรียน จากนนั้ ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายผลการทากิจกรรม
4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
ใหน้ กั เรยี นนาความรู้ท่สี ร้างขึน้ ใหมไ่ ปเชอื่ มโยงกับชวี ติ ประจาวนั เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในองค์ความรู้
ทไ่ี ดใ้ ห้กว้างขวางและลกึ ซงึ้ ย่งิ ข้นึ
5. ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation)
- ประเมนิ จากใบกจิ กรรม
- ประเมนิ จากใบงาน
- ประเมินจากชิน้ งาน
- ประเมินจากสมุดบันทึกประจาวชิ าชีววิทยา
- ประเมนิ จากพฤติกรรมรายกลมุ่ และพฤติกรรมรายบุคคล
- ประเมนิ จากการตอบคาถามในช้ันเรยี น
- ประเมนิ จากทักษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์

ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้
- สื่อจริง
- ภาพ
- วีดโี อ
- โมเดล
- โปรแกรม PowerPoint
- ฐานข้อมลู อนิ เทอรเ์ นต็

- หนังสอื เรียนชวี วิทยา เลม่ 2 ของ สสวท. 11
- ใบความรู้
- แพลตฟอร์มดจิ ิทลั สดั ส่วนคะแนน
- สือ่ อปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ 30
20
แผนการประเมนิ การเรยี นรู้ 30
20
กจิ กรรมที่ วธิ กี ารประเมนิ สัปดาหก์ ารประเมนิ
1 กอ่ นกลางภาค ตลอดภาคการศึกษา
-สอบยอ่ ย (5)
2 -ชนิ้ งาน/ภาระงาน (20) 12
3 -แบบฝกึ หดั (5) ตลอดภาคการศึกษา
กลางภาค
4 กอ่ นปลายภาค 20
-สอบย่อย (5)
-ช้นิ งาน/ภาระงาน (20)
-แบบฝึกหัด (5)
ปลายภาค

การประเมนิ ผล 100 - 80 ไดผ้ ลการเรียน 4.0
75 - 79 ไดผ้ ลการเรียน 3.5
คะแนน 70 - 74 ไดผ้ ลการเรยี น 3.0
คะแนน 65 - 69 ได้ผลการเรยี น 2.5
คะแนน 60 - 64 ไดผ้ ลการเรยี น 2.0
คะแนน 55 - 59 ได้ผลการเรยี น 1.5
คะแนน 50 - 54 ไดผ้ ลการเรยี น 1.0
คะแนน 0- 49 ได้ผลการเรยี น 0
คะแนน
คะแนน

12

แผนการจัดการเรียนรรู้ ายหนว่ ย

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายหน่วย 13

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 โครโมโซมและสารพนั ธกุ รรม รายวชิ า ชวี วิทยา 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
ครผู สู้ อน นางสาวพรรณิภา พอ่ คา้
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 เวลาเรยี น 15 ชว่ั โมง

สาระการเรียนรู้
เข้าใจการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหน้าท่ีของสารพันธุกรรม

การเกิดมวิ เทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของ
ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กการเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
และอนุกรมวธิ าน รวมทัง้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรยี นรู้
ม.4/1 สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และสรุปผลการทดลองของเมนเดล
ม.4/2 อธิบาย และสรุปกฎแห่งการแยก และกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ และนากฎของเมนเ ดลนี้ไป

อธิบายการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมและใชใ้ นการคานวณโอกาสในการเกิดฟโี นไทปแ์ ละจีโนไทป์แบบต่าง ๆ ของ
รนุ่ F1 และ F2

ม.4/3 สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ที่เป็นส่วนขยาย
ของพันธุศาสตร์เมนเดล

ม.4/4 สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์และเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการแปรผันไม่ต่อเน่ืองและลักษณะ
ทางพนั ธุกรรมที่มกี ารแปรผนั ต่อเนอ่ื ง

ม.4/5 อธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนบน
ออโตโซมและยนี บนโครโมโซมเพศ

ม.4/6 สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายสมบัตแิ ละหนา้ ที่ของสารพันธกุ รรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของ DNA
และสรุปการจาลอง DNA

ม.4/7 อธิบาย และระบุขัน้ ตอนในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตีนและหน้าทีข่ อง DNA และ RNA แต่ละชนิดใน
กระบวนการสงั เคราะห์โปรตีน

ม.4/8 สรุปความสัมพันธ์ระหวา่ งสารพันธกุ รรม แอลลลี โปรตีน ลกั ษณะทางพันธกุ รรม และเชอื่ มโยงกับความรู้
เรือ่ งพันธุศาสตร์เมนเดล

ม.4/9 สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายการเกิดมิวเทชนั ระดบั ยนี และระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน รวมทั้ง
ยกตวั อยา่ งโรคและกลุ่มอาการท่ีเปน็ ผลของการเกดิ มิวเทชนั

ม.4/10 อธบิ ายหลักการสร้างสงิ่ มีชีวิตดดั แปรพนั ธุกรรมโดยใชด้ เี อน็ เอรคี อมบิแนนท์
ม.4/11 สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอภิปรายการนาเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกต์ใช้ท้ังในด้าน
สงิ่ แวดล้อม นติ ิวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์การเกษตรและอุตสาหกรรม และข้อควรคานงึ ถึงด้านชวี จรยิ ธรรม

14

ม.4/12 สืบค้นข้อมูล และอธิบายเก่ียวกับหลักฐานท่ีสนับสนุนและข้อมูลท่ีใช้อธิบายการเกิดวิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิต

ม.4/13 อธิบาย และเปรียบเทียบแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของฌอง ลามาร์กและทฤษฎี
เกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี วี ิตของชาลส์ดารว์ นิ

ม.4/14 ระบุสาระสาคัญ และอธิบายเง่ือนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ
เปลีย่ นแปลงความถข่ี องแอลลีลในประชากร พร้อมทั้งคานวณหาความถ่ีของแอลลีลและจีโนไทป์ของประชากรโดยใช้
หลกั ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิรก์

ม.4/15 สืบคน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และอธิบายกระบวนการเกดิ สปีชสี ใ์ หม่ของสิ่งมีชวี ิต

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของโครโมโซม และหลกั การจาแนกโครโมโซมได้
2. อภิปรายเก่ียวกบั การคน้ พบสารพันธกุ รรมโดยใช้วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ได้
3. อธบิ ายโครงสรา้ งและองคป์ ระกอบทางเคมขี อง DNA ได้
4. สบื ค้นข้อมลู อธบิ าย และสรปุ เกย่ี วกบั DNA แตล่ ะโมเลกลุ มีจานวนและลาดบั นิวคลโี อไทด์แตกตา่ งกันได้
5. อธบิ ายและสรุปความสมั พนั ธ์ในเชงิ โครงสร้างระหวา่ งยีน DNA และโครโมโซมได้
6. อธิบายสมบตั แิ ละหน้าท่ขี องสารพนั ธุกรรมได้
7. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย และสรุปกระบวนการจาลองดีเอ็นเอได้
8. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย และระบุขั้นตอนในกระบวนการสงั เคราะหโ์ ปรตนี ได้
9. อธบิ ายหนา้ ท่ีของ DNA และ RNA แตล่ ะชนิดในกระบวนการสังเคราะหโ์ ปรตนี ได้
10. เปรยี บเทยี บการสงั เคราะห์โปรตีนของโพรแครโิ อตและยแู ครโิ อตได้
11. สบื คน้ ขอ้ มลู อภิปราย และอธิบายสาเหตุและผลของการเกิดมิวเทชนั ระดับยนี และระดบั โครโมโซมได้
12. ยกตวั อย่างโรคและกลุม่ อาการท่เี ป็นผลของการเกดิ มวิ เทชันระดบั ยนี และระดับโครโมโซมได้

สาระสาคัญ
โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์มีจานวนคงท่ี โครโมโซมประกอบด้วย DNA และโปรตีน

นักวิทยาศาสตร์ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม ส่วนของ DNA ที่ควบคุมลักษณะ
ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเรียกว่า ยีน และสารพันธุกรรมทั้งหมดที่อยู่ในสิ่งมีชีวิต เรียกว่าจีโนม DNA เป็น
พอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายบิดเป็นเกลียวเวียนขวา แต่ละสายเกิดจากนิวคลีโอไทด์ต่อกันเป็นสายยาว นิวคลีโอไทด์
ประกอบด้วยน้าตาลดีออกซีไรโบส หมู่ฟอสเฟต และไนโตรจีนัสเบสซึ่ง DNA แต่ละโมเลกุลมีจานวนและลาดับของ
นวิ คลีโอไทดท์ ่ีแตกต่างกัน

DNA สามารถจาลองตวั เองขนึ้ ได้ใหม่โดยมีโครงสรา้ งทางเคมแี ละลาดบั ของนิวคลีโอไทด์เหมือนเดิม DNA
ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน โดยถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมให้แก่ mRNA เพื่อกาหนดลาดับของกรดแอมิโนในโมเลกุล
ของโปรตีน โปรตีนเก่ียวข้องกับการแสดงลักษณะทางพันธุกรรม เช่นเอนไซม์ที่ทางานในกระบวนการเมแทบอลิซึมท่ี
เก่ียวขอ้ งกับการดารงชวี ิต

15
มวิ เทชันเป็นการเปล่ยี นแปลงของลาดบั หรอื จานวนนิวคลีโอไทด์ใน DNA ซ่ึงอาจนาไปสู่การเปล่ียนแปลง
โครงสร้างและการทางานของโปรตีนซ่ึงเกิดได้ทั้งในระดับยีนและระดับโครโมโซม มิวเทชันสามารถเกิดได้ทั้งเซลล์
รา่ งกายและเซลล์สืบพันธ์ุซ่ึงมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธ์ุสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้จึงอาจก่อให้เกิดลักษณะ
ใหมใ่ นส่ิงมชี ีวติ รุน่ ต่อไป มนุษยป์ ระยกุ ต์ใช้การเกิดมิวเทชันในการชักนาให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะท่ีแตกต่างไปจากเดิมโดย
การใช้รงั สีและสารเคมีต่าง ๆ

สาระการเรยี นรู้
โครโมโซม
โครโมโซม คอื สารพันธุกรรมในร่างกายของมนุษย์เป็นตัวกาหนดลักษณะต่าง ๆ เช่น สีตา สีผม ลักษณะเส้น

ผม ลักษณะดวงตา สผี วิ และควบคมุ การทางานของร่างกาย โครโมโซมอยู่ในเซลล์ทุกเซลล์ของร่างกาย ในคนทั่วไปแต่
ละเซลล์จะมจี านวนโครโมโซมอยู่ 23 คู่ หรือ 46 แทง่ โครโมโซมแตล่ ะโครโมโซมประกอบด้วยโครมาทิด (Chromatid)
2 โครมาทิดท่เี หมือนกนั ซ่ึงเกิดจากการทีโ่ ครโมโซมจาลองตวั โครมาทิดท้ังสองมีส่วนท่ีติดกันอยู่ เรียกว่า เซนโทรเมียร์
(Centromere) โครโมโซมในเซลล์รา่ งกายจะมีรปู รา่ งลกั ษณะท่เี หมอื นกันเป็นคู่ ๆ แตล่ ะคเู่ รียกวา่ โฮโมโลกัสโครโมโซม
(homologous chromosome) สาหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน โดยข้ึนอยู่กับตาแหน่งของ
เซนโทรเมยี ร์ ซ่ึงทาหนา้ ทีเ่ ปน็ แกนหลักสาคญั การเคลื่อนไหวของโครโมโซมภายในเซลล์

ภาพโครงสร้างโครโมโซม
(ทมี่ า : https://static.trueplookpanya.com)
มกี ารแบ่งชนดิ ของโครโมโซมทห่ี ลากหลาย หากแบ่งตามคุณสมบัติหรือหน้าที่ของโครโมโซมจะแบ่งได้ 2 กลุ่ม
คอื ออโตโซม (Autosome) ซึ่งควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกายยกเว้นลักษณะท่ีเก่ียวกับเพศ และอีกกลุ่มคือ
โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) ซ่งึ ควบคมุ ลักษณะท่ีเกย่ี วกบั เพศโดยเฉพาะ

16
โครโมโซมของมนษุ ย์มจี านวน 23 คู่นั้น แบ่งเป็นเป็น ออโตโซม 22 คู่ อีก 1 คู่เป็น โครโมโซมเพศ ในหญิงจะ
เป็น XX ในชายจะเป็น XY โดยโครโมโซม Y จะมขี นาดเลก็ และมยี ีนอยูเ่ ล็กน้อย

ภาพแสดงโครโมโซมของมนษุ ย์
(ทีม่ า : https://hd.co.th/system/redactor2_assets/images/1341/content_normal-chromosome1.jpg)

แต่หากแบ่งตามตาแหนง่ จุดเชอื่ มตอ่ ของเซนโทรเมียร์ จะแบ่งได้ 4 กลุ่ม คอื
1. เมตาเซนตรกิ (Metacentric) คือ โครโมโซมท่มี จี ุดเชอื่ มอยู่ตรงกลางและทาให้แขนท้ังสองด้านที่ย่ืนออกมา
ค่อนข้างเทา่ กัน
2. ซับเมตาเซนตริก (Submetacentric) คือ โครโมโซมท่ีมีจุดเช่ือมต่อค่อนไปด้านใดด้านหน่ึง ทาให้แขนของ
โครโมโซมยน่ื ออกมาไมเ่ ทา่ กัน
3. อะโครเซนทริก (Acrocentric) คือ โครโมโซมที่มีจุดเช่ือมต่ออยู่บริเวณเกือบจะปลายสุด ซึ่งทาให้แขนของ
โครโมโซมด้านหนงึ่ ยน่ื ออกมาเปน็ สว่ นเลก็ ๆ
4. เทโลเซนทริก (Telocentric) คอื โครโมโซมทีม่ ีจุดเชื่อมต่ออยู่บริเวณปลายสุดของแขนโครโมโซม

ภาพตาแหนง่ ของเซนโทรเมียร์
(ที่มา : https://www.scimath.org/images/uploads/C3.jpg)

17
ในส่งิ มชี ีวติ ที่เซลลร์ ่างกาย มีโครโมโซม 2 ชดุ เรียกว่า ดิพลอยด์ เช่น คน โดยโครโมโซมชดุ หนึ่งได้รับมาจากพ่อ
อกี ชดุ หน่งึ ได้รบั มาจากแม่ เมือ่ มกี ารแบง่ เซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมทีเ่ ป็นคูก่ นั จะมาเขา้ คู่กันแลว้ แยกออกจากกันไปสู่
เซลล์ลูกที่สร้างขึ้น เมื่อเสร็จสิ้นการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมในเซลล์ลูกที่ เกิดขึ้นจะลดลงคร่ึงหนึ่งเรียกว่า
แฮพลอยด์ โดยทว่ั ไปแล้วสงิ่ มชี วี ติ แต่ละสปชี ีส์จะมีจานวนโครโมโซมคงท่ดี ังตารางขา้ งลา่ งนี้

ตารางแสดงจานวนโครโมโซมในเซลลร์ า่ งกายของสง่ิ มชี ีวติ ต่าง ๆ
(ทมี่ า : http://www.thaischool1.in.th)

เน่ืองจากโครโมโซมสามารถถ่ายทอดลกัษณะต่าง ๆ จากรุ่นพ่อแม่ไปสู่ลูกหลานได้ โครโมโซมแต่ละแท่งจึง
ประกอบด้วยส่วนสาคญั 2 ส่วน คือ DNA และโปรตีน

1. ดีเอ็นเอ (DNA : Deoxyribonucleic Acid) เป็นสารพนัธกุ รรมทบี่ รรจขุ ้อมลู เกี่ยวกับลักษณะทางพันธุกรรม
ของสิ่งมชี วี ิตไว้ มีลกั ษณะเป็นเกลยี วคู่

2. โปรตีน (Protein) ไม่ใช่สารพันธุกรรมแต่ทาหน้าที่สาคัญในเชิงโครงสร้างโดยช่วยในการขดตัวของสาร
ดีเอ็นเอใหส้ ้นั ลง

ภาพแสดงโครงสรา้ งของโครโมโซม
(ที่มา : https://i0.wp.com/ngthai.com)

18

สารพันธกุ รรม
สารชีวโมเลกุลทท่ี าหน้าที่เปน็ สารพันธกุ รรมในเซลลข์ องส่ิงมีชีวิตชั้นสูง ซ่ึงพบได้จากนิวเคลียสของเซลล์ เรียก
รวมว่า กรดนิวคลอี คิ (Nucleic acids) โดยคณุ สมบัติทางเคมีแบ่ง กรดนิวคลีอิคลงได้เป็นสองชนิดย่อย คือ อาร์เอ็นเอ
(RNA – Ribonucleic acid) และ ดีเอ็นเอ (DNA – Deoxyribonucleic acid) ส่ิงมีชีวิตส่วนใหญ่มีสารพันธุกรรมเป็น
ดเี อน็ เอ ยกเว้นไวรสั บางชนดิ เป็นอารเ์ อ็นเอ มีนกั วทิ ยาศาสตรห์ ลายทา่ นได้ศึกษาเรือ่ งสารพนั ธกุ รรมไว้ดงั นี้
ปี พ.ศ. 2412 เอฟ มิเชอร์ (F. Miescher) นักชีวเคมีชาวสวีเดนได้ศึกษาส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์
เมด็ เลือดขาวทต่ี ดิ มากับผ้าพันแผล โดยนามาย่อยเอาโปรตีนออกด้วยเอนไซม์เพปซิน พบว่าเอนไซม์นี้ไม่สามารถย่อย
สลายสารชนดิ หนึ่งทอี่ ยู่ภายในนิวเคลยี สได้ เมื่อนาสารน้มี าวิเคราะห์ทางเคมีก็พบวา่ มีธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็น
องค์ประกอบจึงเรียกสารท่ีสกัดได้จากนิวเคลียสว่า นิวคลีอิน (nuclein) ต่อมาอีก 20 ปี ได้มีการปล่ียนช่ือใหม่ว่า
กรดนิวคลีอิก เนื่องจากมีผู้ค้นพบว่าสารนี้มีสมบัติเป็นกรด เม่ือมีการพัฒนาสีฟุคซิน (fuchsin) ในปี พ.ศ. 2457 โดย
อาร์ ฟอยล์แกน (R. Feulgen) นักเคมีชาวเยอรมัน ซึ่งสีย้อมน้ีย้อมติด DNA ให้สีแดง และเมื่อนาไปย้อมเซลล์ พบว่า
ตดิ ที่นิวเคลียสและรวมตัวหนาแน่นที่โครโมโซม จึงสรุปว่า DNA อยู่ท่ีโครโมโซม จะเป็นไปได้หรือไม่ว่า DNA เป็นสาร
พนั ธุกรรมของสิ่งมชี ีวิต ถา้ DNA เป็นสารพนั ธุกรรม DNA จะตอ้ งควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได้ ดังนั้น
โครโมโซม นอกจากจะมโี ปรตีนแล้วยังมี DNA อกี ดว้ ย
ปี พ.ศ.2471 เอฟ กริฟฟิท ( F. Griffth ) แพทย์ชาวอังกฤษพบปรากฏการณ์ กระบวนการแปลงพันธ์ุ
(Transformation) ได้ทาการพิสูจน์สารพันธุกรรม เพื่อสนับสนุนว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม โดยทาการทดลอง
เกี่ยวกับเชื้อ ทาการทดลองโดยฉีดแบคทีเรีย (Streptococcus pneumoniae) ที่ทาให้เกิดโรคปอดบวมเข้าไปในหนู
แบคทเี รยี ทฉ่ี ีดเขา้ ไปน้ีมี 2 สายพันธ์ุ คือ สายพันธ์ุท่ีมีผิวหยาบ เพราะไม่มีสารห่อหุ้มเซลล์หรือ แคปซูล (capsule) ไม่
ทาใหเ้ กดิ โรคปอดบวม เรียกว่าสายพันธุ์ R (rough) ส่วนสายพันธุ์ท่ีมีผิวเรียบ มีสารห่อหุ้มเซลล์ทาให้เกิดโรคปอดบวม
รุนแรงถึงตาย เรยี กวา่ สายพันธุ์ S (smooth) ตามการทดลองดังภาพ

ภาพ การทดลองของกรฟิ ฟิท
(ทมี่ า : https://hmong.in.th/wiki/Griffith%27s_experiment)

19

กรฟิ ฟทิ นาแบคทเี รียสายพนั ธุ์ R ฉดี ใหห้ นู พบว่าหนไู ม่ตาย (ก) ต่อมานาแบคทีเรียสายพันธ์ุ S ฉีดให้หนูพบว่า
หนูตาย (ข) เมอ่ื นาแบคทเี รียสายพันธ์ุ S ที่ทาใหต้ ายดว้ ยความรอ้ น แลว้ ฉดี ให้หนูพบว่าหนูไม่ตาย (ค) เม่ือนาแบคทีเรีย
สายพันธ์ุ S ท่ีทาให้ตายด้วยความร้อนผสมกับสายพันธ์ุ R ท่ีมีชีวิต ทิ้งไว้ระยะหน่ึงแล้วฉีดให้หนูพบว่าหนูตาย (ง) เม่ือ
ตรวจเลือดหนทู ต่ี ายปรากฏว่ามแี บคทีเรียสายพันธ์ุ S ปนอยู่กบั สายพันธ์ุ R

กริฟฟิทสรุปว่ามีสารบางชนิดจากเช้ือแบบ S ท่ีตายแล้วเคลื่อนย้ายเข้าไปในเซลล์ R ที่มีชีวิต ทาให้เซลล์ R
แปรสภาพ (transform) ไปเป็นเซลล์แบบ S จึงทาให้หนูตาย สารที่ทาให้เซลล์ R แปรสภาพเคลื่อนย้ายเข้าไปอยู่ใน
เซลล์ R อย่างถาวร และการถ่ายทอดต่อไปยังเซลล์รุ่นถัดไปด้วย เพราะเซลล์แบบ S ที่แยกได้จากเลือดของหนูที่ตาย
เม่ือนามาเล้ียงต่อไปเซลล์ที่ได้ยังคงมีสภาพเป็น S ตลอด จากการทดลองดังกล่าวกริฟฟิตเชื่อว่าสารท่ีมาให้เซลล์แปร
สภาพคอื สารพนั ธุกรรม เพราะสามารถคงอยู่ในเซลล์และถ่ายทอดต่อไปยังเซลล์รุ่นต่อไปได้ แต่ยังไม่ทราบว่าเป็นสาร
อะไรจงึ เรยี กวา่ ทรานสฟอรม์ งิ แฟคเตอร์

การสืบค้นและพิสูจน์ว่าทรานสฟอร์มิง แฟคเตอร์คือสารชนิดใดใช้เวลานานถึง 16 ปี ในปี ค.ศ. 1944
โอ ที เอ เวอรี (O.T. Avery) เอ็ม แมคคาร์ที (M. McCarty) และ ซี แมกลอยด์ (C. MacLeod) ได้พยายามแยกสารท่ี
ทาให้เซลล์ R แปรสภาพเป็นเซลล์ S จนได้สารค่อนข้างบริสุทธิ์และคาดว่าดีเอ็นเอ และได้พิสูจน์ยืนยันโดยใช้สาร
ดังกลา่ วในสภาวะตา่ ง ๆ มาใส่รวมกับเซลล์ R ที่มีชีวิต ตรวจสอบว่าในสภาวะใดที่เซลล์ R แปรสภาพเป็นเซลล์ S เมื่อ
นามาเลย้ี งบนอาหารแข็งโดยไมต่ อ้ งฉีดเขา้ ไปในหนู

เซลล์ R ทีม่ ชี ีวติ + สารจากเซลล์ S ท่ผี า่ นการฆา่ ด้วยความรอ้ น เซลล์ R แปรสภาพเปน็ S
เซลล์ R ท่ีมีชวี ิต + สารสกดั บรสิ ุทธจ์ิ ากเซลล์ S เซลล์ R แปรสภาพเป็น S
เซลล์ R ท่ีมชี ีวิต + สารสกัดบรสิ ุทธิจ์ ากเซลล์ S + เอนไซม์ยอ่ ยโปรตีน เซลล์ R แปรสภาพเปน็ S
เซลล์ R ที่มชี ีวติ + สารสกดั บริสทุ ธจ์ิ ากเซลล์ S + เอนไซม์ย่อยอาร์เอ็นเอ เซลล์ R แปรสภาพเป็น S
เซลล์ R ท่ีมชี วี ติ + สารสกัดบริสทุ ธ์ิจากเซลล์ S + เอนไซมย์ อ่ ยดเี อ็นเอ เซลล์ R แปรสภาพเป็น S

ภาพ การทดลองของเอเวอร่ี แมคลอยด์ และแมคคารท์ ี
(ทมี่ า : https://sites.google.com/site/biologyroom610/gene-and-chromosome/gene-and-

chromosome1)

20

นอกจากนยี้ ังมกี ารทดลองอน่ื ๆ ทยี่ ืนยนั ตรงกันว่า DNA เปน็ สารพนั ธกุ รรม ตอ่ มาไดม้ ีการค้นพบว่า DNA เป็น
สารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตท่ัวไปทั้ง คน สัตว์ พืช โพทิสต์ แบคทีเรีย ไวรัส และยังพบว่า RNA เป็นสารพันธุกรรมใน
ไวรัสบางชนดิ เชน่ ไวรสั ทที่ าใหเ้ กดิ โรคใบด่างในใบยาสบู ไวรสั ทีเ่ ป็นสาเหตุของโรคโปลิโอ เอดส์ ซาร์ส ไข้หวัดนก และ
โรคมะเร็งบางชนิด เป็นต้น

ดงั นั้นจึงถอื ไดว้ ่าผลการทดลองของกรฟิ ฟทิ แอเวอรีแ่ ละคณะ เปน็ จุดเริ่มตน้ ที่นาไปสู่ข้อสรุปที่สาคัญเป็นอย่าง
มากกค็ อื ยนี หรือสารพันธุกรรมซง่ึ ทาหนา้ ท่ถี า่ ยทอดลกั ษณะของสิ่งมีชีวติ ไปสู่รุ่นต่อ ๆ ไปนั้น เป็นสารชีวโมเลกุลขนาด
ใหญ่มีชื่อว่า DNA และจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในระยะต่อมาพบว่า DNA มีส่วนท่ีควบคุมลักษณะทาง
พนั ธุกรรมและส่วนท่ีไมไ่ ด้ควบคุมลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม DNA ส่วนท่ีควบคมุ ลกั ษณะทางพันธกุ รรม เรียกว่า ยีน ดังนั้น
หน่วยพันธุกรรมทเี่ มนเดลเรียกว่าแฟกเตอร์ ก็คือยนี ซ่ึงอยทู่ โี่ ครโมโซม

สมบัตขิ องสารพนั ธุกรรม
DNA เปน็ สารพนั ธุกรรมของสารสิง่ มชี วี ิต และบางส่วนของ DNA ทาหน้าที่เปน็ ยนี คือสามารถควบคุมลักษณะ
ทางพันธกุ รรมของส่ิงมชี วี ติ ได้
DNA เป็นกรดนิวคลีอิกชนิดหนึ่ง ซ่ึงเป็นพอลิเมอร์ (polymer) สายยาวประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือ
มอนอเมอร์ (monomer) ที่เรียกว่านวิ คลโี อไทด์ซึ่งแต่ละคลนี วิ โอไทดป์ ระกอบด้วย
1. นา้ ตาลเพนโทสซึ่งมคี ารบ์ อน 5 อะตอม คือ นา้ ตาลดอี อกซีไรโบส
2. ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) เป็นโครงสร้างประกอบด้วยวงแหวนท่ีมีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจน
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เบสพิวรีน (purine) มี 2 ชนิด คือ อะดีนีน (adenine หรือ A) และกวานีน (guanine
หรือ G) และ เบสไพริมิดนี (pyrimidine) มี 2 ชนดิ คอื ไซโทซนี (cytosine หรอื C) และ ไทมีน (tymine หรือ T)
3. หมฟู่ อสเฟต ( PO43- ) โครงสรา้ งของเบสและนา้ ตาลที่เป็นองค์ประกอบของกรดนวิ คลีอกิ

ภาพ แสดงสว่ นประกอบนิวคลโี อไทด์ซึง่ แต่ละคลีนวิ โอไทด์
(ท่ีมา : https://il.mahidol.ac.th/e-media/ap-biology1/Chapter2/Picture_Chapter2/2.32.gif)
การประกอบขนึ้ เปน็ คลนี วิ โอไทด์น้ัน ท้ังสามสว่ นประกอบกันโดยมนี ้าตาลเปน็ แกนหลัก มีไนโตรจีนัสเบส อยู่ท่ี
คาร์บอนตาแหน่งที่ 1 และหมู่ฟอสเฟตมีคาร์บอนอยู่ท่ีตาแหน่งท่ี 5 ดังนั้นนิวคลีโอไทด์ใน DNA จึงมี 4 ชนิด

21

ซึ่งจะแตกต่างกันตามองค์ประกอบท่ีเป็นเบส ได้แก่ A T C และ G จากการวิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมีของ DNA
พบว่ามีเบสน้าตาลดีออกซีไรโบสและหมู่ฟอสเฟตเป็นจานวนมาก จึงเป็นไปได้ว่า DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์
จานวนมากมาเชือ่ มตอ่ กนั นิวคลีโอไทดจ์ านวนมากนม้ี าเช่อื มต่อกันเป็นโมเลกุลของ DNA ได้โดยการเช่ือมดังกล่าวเกิด
จากการสร้างพันธะโควาเลนซ์ระหว่างหมู่ฟอสเฟตของนิวคลีโอไทด์หนึ่งกับหมู่ไฮดรอกซิลอยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งท่ี 3
ของน้าตาลในนวิ คลีโอไทดห์ นงึ่ เมื่อหลาย ๆ นิวคลีโอไทด์มาเชื่อมต่อกันเกิดเป็นสายพอลินิวคลีโอไทด์ สายด้านหนึ่งมี
จะมีหมฟู่ อสเฟตเชอื่ มอยู่กับน้าตาลดีออกซีไรโบสท่ีคาร์บอนตาแหน่งที่ 5 เรียกปลายด้านนี้ว่าเป็นปลาย 5´ (อ่านว่า 5
ไพร์ม) และอกี ปลายด้านหน่ึงจะมหี ม่ไู ฮดรอกซิลท่คี ารบ์ อนตาแหนง่ ที่ 3 ท่ีเปน็ อสิ ระ เรยี กปลายดา้ นนข้ี องสาย DNA ว่า
ปลาย 3´ (อ่านว่า 3 ไพร์ม)

ในปี พ.ศ. 2492 เออร์วิน ชาร์กาฟฟ์ (Erwin Chargaff) นักเคมีชาวอเมริกัน ได้วิเคราะห์ปริมาณเบสท่ีเป็น
องค์ประกอบทางเคมีของโมเลกุล DNA ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ พบว่าอัตราส่วนของเบส 4 ชนิด ใน DNA ท่ีสกัดจาก
สิง่ มีชีวิตต่าง ๆ จะแตกต่างกนั

ข้อมูลที่ได้จากการทดลองของชาร์กาฟฟ์แสดงให้เห็นว่าในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ปริมาณของเบส 4 ชนิด จะ
แตกต่างกันแต่จะมีปริมาณของเบส A ใกล้เคียงกับ T และเบส C ใกล้เคียงกับ G เสมอ เรียกว่ากฎของชาร์กาฟฟ์
(Chargaff s’ Rule) และสิ่งมีชีวิตจะมีอัตราส่วนระหว่าเบส A : T และอัตราสวนระหว่าง G : C คงท่ีเสมอ จาก
อัตราส่วนของเบสดังกล่าวอาจเป็นไปได้ว่าเบส A จับคู่กับ T และเบส G จับคู่กับ C จากอัตราส่วนน้ีช้ีให้เห็นว่า DNA
จะตอ้ งมีการจัดเรยี งตัวของนิวคลีโอไทด์ 4 ชนิด ท่ีทาให้จานวนของชนดิ A เทา่ กบั T และชนิด C เท่ากับ G เสมอไป

ปี พ.ศ. 2493 – 2495 วิลคินส์ (M.H.F. Wilkins) และแฟรงคลิน นกั ฟสิ กิ ส์ชาวองั กฤษได้ถ่ายภาพซึ่งแสดงการ
หกั เหของรงั สเี อกซ์ที่ฉายผ่าน โมเลกุลของ DNA ซึ่งนักฟิสิกส์สามารถแปลผลได้ว่า DNA มีลักษณะเป็นเกลียว (helix)
ประกอบด้วย polynucleotide มากกว่า 1 สาย และเกลยี วแต่ละรอบจะมรี ะยะทางเทา่ กนั

ภาพ การหักเหของรังสเี อกซท์ ีฉ่ ายผ่าน โมเลกุลของ DNA
(ทม่ี า : http://4.bp.blogspot.com/-OAzunclevlo/Tzt5tQZ1T7I/AAAAAAAAAB4/Vcosa6xfZbI/s1600/1.jpg)

D. Watson นักชีววิทยาอเมริกัน & F.H.C. Crick นักฟิสิกส์อังกฤษ เสนอโครงสร้างของ DNA ได้รับ Nobel
Priz ตีพิมพ์ผลงานใน Nature ฉบบั วนั ที่ 25 เดือนเมษายน ค.ศ. 1953
1. ประกอบด้วย 2 polynucleotides ยึดกนั โดยการจับคกู่ นั ของเบส โดย H-bond
2. ทัง้ 2 สายขนานกันและมที ิศทางตรงขา้ ม

22

3. การจับคู่กันของเบสระหว่างเบสท่ีเป็นเบสคู่สมกัน (complementary basepairs) คือ A จับคู่กับ T ด้วยพันธะ
ไฮโดรเจน 2 พันธะ และ G จบั คูก่ ับ C ด้วยพนั ธะไฮโดรเจน 3 พนั ธะ)
4. ทัง้ 2 สายจะพันกันเปน็ เกลยี วเวยี นขวา
5. แต่ละคู่เบสห่างกัน 3.4 อังสตรอม (.34 nm) เอียงทามุม 36 องศา 1 รอบ = 10 คู่เบส = 34 อังสตรอม
เส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 20 อังสตรอม

โครงสร้างของ DNA ประกอบด้วยพอลีนิวคลิโอไทด์ 2 สาย พอลีนิวคลีโอไทด์แต่ละสายประกอบด้วยหน่วย
ย่อยท่ีเรียกว่านิวคลีโอไทด์ มาเช่ือมต่อกันเป็นสายยาว พอลีนิวคลีโอไทด์ทั้ง 2 สายจะยึดติดกันด้วยพันธะไฮโดรเจน
ระหว่างเบส นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยเชื่อมต่อกัน โดยพันธะที่เกิดระหว่างกลุ่มฟอสเฟตของนิวคลีโอไทด์หน่ึงกับ
คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ของน้าตาลอีกนิวคลีโอไทด์หน่ึงดังน้ันโครงสร้างสายพอลินิวคลีโอไทด์เป็นการต่อสลับระหว่าง
กลุ่มฟอสเฟตกับกลุ่มน้าตาลโดยสายหนึ่งมีทิศทางจากปลาย 5′ ไปยังปลาย 3′ อีกสายหนึ่งจะจับอยู่กับปลาย 5′ ของ
สายแรก ดงั นั้นเมือ่ เกิดการแยกตัวของ DNA ทง้ั สองสายส่วนท่ีแยกออกมาจงึ มีทศิ ทางต่างกนั

ภาพ โครงสรา้ งของ DNA
(ท่ีมา : http://science.srru.ac.th/org/sci-elearning/courseonline/4022503/chapter6-13.gif)

การจาลอง DNA (DNA replication) กระบวนการสาคญั ท่ีทาใหเ้ ซลลม์ กี ารเพ่ิมจานวนของ DNA ภายในเซลล์
ก่อนท่ีจะเกิดการแบ่งเซลล์ กระบวนการนี้จะเกิดในระยะ S ของการแบ่งเซลล์และเกิดข้ึนภายในนิวเคลียสของ
เซลล์ยูคาริโอต รูปแบบการจาลอง DNA เป็นไปตามแบบก่ึงอนุรักษ์ (semiconservative model) โดยพอลินิวคลีโอ
ไทด์ทั้ง 2 สายของ DNA จะแยกออกจากกัน และแตล่ ะสายจาทาหน้าทเ่ี ปน็ สาย DNA ต้นแบบการจาลอง DNA อีกสาย
หนง่ึ ตอ่ ไป

กระบวนการจาลอง DNA ในนวิ เคลยี สประกอบขึ้นจากการทางานของเอนไซม์จานวนมากดงั น้ี
1. เอนไซม์helicase : ทาหน้าที่ในการแยกสายพอลนิ วิ คลโี อไทด์ออกจากกัน
2. เอนไซม์primase : ทาหน้าที่ในการวาง RNA primer เพอื่ ใหเ้ อนไซม์ DNA polymerase ทางานได้
3. เอนไซม์ DNA polymerase : ทาหน้าท่ีในการนานิวคลีโอไทด์ที่เป็นเบสคู่สมกับเบสบนสาย DNA ต้นแบบ
มาวางและเกิดการต่อสาย DNA สายใหม่ให้ยาวข้ึนได้ นอกจากนี้ DNA polrmerace บางชนิดยังมีคุณสมบัติในการ
นาเอาสว่ นของ RNA primer ออกและมกี ารสรา้ งสายพอลนิ ิวคลโี อไทด์สายใหมแ่ ทนตาแหน่งเดิม

23

4. เอนไซม์ ligase : ทาหน้าท่ีในการเชื่อมและสร้างพันธะ phosphodiester bond บริเวณ nick (บริเวณที่
RNA primer ถูกเอาออกแล้วมีการนานิวคลิโอไทด์มาเรียงต่อกันใหม่) รวมถึงทาหน้าที่ในการเช่ือมส่วนของ Okasaki
fragment แต่ละทอ่ นดว้ ย

ภาพ กระบวนการจาลอง DNA
(ท่ีมา : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/8/8f/DNA_replication_en.svg/600px-

DNA_replication_en.svg.png)

การจาลองตัวของ DNA สายใหม่ 2 สายจะความแตกต่างกันคือ สายหนึ่งจะสามารถสร้างต่อเน่ืองกัน
ไปเรอื่ ย ๆ เรียกว่า leading strand ขณะทอ่ี ีกสายหนึ่งไม่สามารถสร้างต่อกันเป็นสายยาวได้เหมือนสายแรกเนื่องจาก
ทิศทางการสร้างของสายใหมจ่ ะเปน็ ทศิ ทางจาก 5’ ไป 3’ เสมอ ซ่ึงสวนทางกับการคลายเกลียวของ DNA โมเลกุลเดิม
จึงตอ้ งมกี ารสร้าง DNA สายส้ัน ๆ เรียกว่า Okasaki fragment จะถูกเช่ือมต่อกันด้วยเอนไซม์ ligase เรียกสายใหม่ท่ี
เกดิ ขน้ึ นีว้ ่า lagging strand

การถอดรหสั (Transcription) คอื กระบวนการสรา้ ง RNA (RNA synthesis) จาก DNA กระบวนการถอดรหัส
เริ่มข้ึนเม่อื DNA เฉพาะสว่ นที่ใช้ในการถอดรหสั ท้งั สองสายถูกแยกจากกัน จากน้ันเอ็นไซม์ RNA polymerase จะเข้า
มาอ่านรหัสพนั ธกุ รรมจาก DNA สว่ นท่ีเป็นแม่แบบและสร้างคู่เบสของนิวคลีโอไทด์ท่ีเป็นคู่สม กับ DNA ส่วนนั้น RNA
polymerase จะเขา้ มาจบั กับตาแหน่งยีนส่งเสริมบนสาย DNA แม่แบบเสมอเพื่อเริ่มสร้าง RNA โดยทิศทางการสร้าง
สาย RNA สร้างจากทศิ 5’ ไปยัง 3’ และเปน็ ทศิ ทางขนานสวนกนั กบั ทิศของสาย DNA แม่แบบ

กระบวนการถอดรหสั มีข้นั ตอนดงั น้ี
1. การถอดรหัสเร่ิมต้นเมื่อเอ็นไซม์ RNA polymerase จับกับ DNA แม่แบบที่ตาแหน่งยีนส่งเสริม
(Promoter)
2. ระหวา่ งการถอดรหัส DNA ทัง้ สองสายจะถูกแยกจากกัน เพื่อให้ RNA polymerase สามารถอ่านรหัสจาก
สาย DNA แมแ่ บบและสรา้ ง RNA ได้ โดยนวิ คลโี อไทดท์ ีม่ เี บสคู่สมกับตาแหน่งนั้น ๆ จะถูกนามาต่อไปในทิศทางปลาย
3’ ไปเรอ่ื ย ๆ จนได้เปน็ RNA สายยาวขึน้
3. เมื่อ RNA polymerase อ่านมาถึงรหัสที่เป็นจุดส้ินสุดของการถอดรหัส กระบวนการน้ีจึงยุติลง ได้เป็น
mRNA 1 สาย และ RNA polymerase จะหลดุ ออกจากสาย DNA

24

ภาพ แสดงขน้ั ตอนการถอดรหัส
(ที่มา : เพจ Easy biology by DrPukan)
การแปลรหัส (Translation) คอื ขั้นตอนแรกในการสร้างโปรตีน และเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงออกของยีน
การแปลรหัสเป็นการสรา้ งโปรตีนโดยอา่ นรหสั จาก mRNA ที่ได้จากการถอดรหัส
การแปลรหัสนั้นเกิดในบริเวณไซโตพลาสซึมซึ่งมีไรโบโซมอยู่ โดยไรโบโซมนั้นประกอบด้วยหน่วยย่อยขนาด
ใหญแ่ ละหนว่ ยยอ่ ยขนาดเลก็ โดยทั้ง 2 หน่วยย่อยจะมาประกบกันเม่ือมีการแปลรหัสจาก mRNA โดยการแปลรหัสน้ี
จะทาการสร้างสายโพลเี ปบไทด์จากการทอี่ ่านรหัสพันธกุ รรมท่เี ป็นลาดบั เบสบนสายของ mRNA ซ่ึงรหัสพันธุกรรมนี้จะ
เป็นตวั กาหนดลาดบั ของกรดอะมโิ นในโปรตนี ท่ีถกู สรา้ งข้นึ มาจากการแปลรหัส
การแปลรหัส มีอยู่ 4 ขั้นตอนคือ การเริ่มต้น (Initiation), การต่อสาย (Elongation), การย้ายตาแหน่ง
(Translocation) และการสนิ้ สุด (Termination)
ในการแปลรหสั นน้ั กรดอะมโิ นจะถกู นามายังไรโบโซม(Ribosome)จากน้นั จึงต่อกนั เปน็ สายโพลีเปบไทด์
ส่วนในการกระตุ้นนั้น กรดอะมิโนจะเกิดพันธะโควาเลนต์กัน tRNA ท่ีเป็นคู่กัน กรดอะมิโนโดยจะใช้หมู่คาร์
บอกซลิ จบั กบั หมู่ 3′ OH ของ tRNA ด้วยพนั ธะเอสเทอร์
ขั้นตอนการเริ่มต้น (Initiation) เริ่มจากหน่วยเล็กของไรโบโซมจับกับปลาย 5′ ของ mRNA โดยมี Initiation
Factors (IF) เปน็ ตัวช่วย การส้ินสุดของการสร้างสายโพลีเปบไทด์เกิดขึ้นเมื่อด้าน A ของไรโบโซมเป็นรหัสพันธุกรรม
หยุด (UAA, UAG, UGA) ซึ่งจะไม่มี tRNA เข้ามา แต่มี Releasing Factor จะเข้ามาทาให้ปล่อยสายโพลีเปบไทด์
ออกไป ปลาย 5′ ของ mRNA ไปเป็นปลาย N ของโพลีเปบไทด์ และข้ันตอนการแปลรหัสจะเร่ิมสายโพลีเปบไทด์จาก
ปลาย N ไปยงั ปลาย C
มียาปฏิชีวนะจานวนหน่ึงออกฤทธิ์ยับยั้งการแปลรหัส (Translation) เช่น anisomycin, cycloheximide,
chloramphenicol, tetracycline, streptomycin, erythromycin และpuromycin โดยไรโบโซมของพวกโปรคาริ
โอตมีโครงสรา้ งตา่ งจากของพวกยคู ารโิ อต ทาให้ยาปฏชิ ีวนะจาเพาะเฉพาะแบคทเี รีย (โปรคาริโอต) ไม่ทาลายยูคาริโอต
(eukaryote) เช่น มนษุ ย์, สัตว์ ทเ่ี ปน็ เจ้าบา้ น

25

ภาพแสดงกระบวนการแปลรหัส
(ท่ีมา : เพจ Easy biology by DrPukan)
มิวเทชนั
การกลายพนั ธุ์ หรอื การผ่าเหลา่ หรอื มิวเทชัน่ คือ สภาพของสิ่งมีชีวิตท่ีเกิดมีการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม
ทาให้พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตท่ีเกิดการกลายพันธ์ุนั้น เกิดการเปล่ียนแปลงไปจากเดิมที่เคยเป็น หรือ แตกต่างไปจาก
ประชากรของส่งิ มีชวี ติ ชนดิ นั้น โดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงของยีนของสงิ่ มีชวี ิตนัน้
การกลายพนั ธ์ุ จัดว่าเปน็ กลไกหนง่ึ ของการววิ ัฒนาการ ซง่ึ อาจจะทาให้เกิดลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีดีข้ึนกว่าเดิม
หรอื แย่ลงกว่าเดิมกไ็ ด้ หรอื อาจจะทงั้ ไม่ดีขนึ้ และไมแ่ ยล่ งเลยก็ได้ ถา้ ดกี วา่ เดมิ อาจทาให้ส่ิงมีชีวิตท่ีมีการกลายพันธุ์นั้น
อยรู่ อดในธรรมชาตไิ ด้ดีกว่าเดมิ หรือถ้าแย่กว่าเดมิ อาจทาให้สิ่งมีชีวิตทมี่ ีการกลายพันธ์ุนั้นเกิดโรค หรือ ภาวะต่าง ๆ ท่ี
ไม่เออื้ อานวยตอ่ การดารงชวี ติ ก็ได้
การกลายพันธ์ุท่ีเซลล์ร่างกาย (Somatic Cell) จะเกิดกับยนี (Gene) ในเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย อาจมีผลทา
ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงของส่วนของรา่ งกายไปจากเดิม เชน่ เกิดเนอื้ งอก โรคมะเร็ง เป็นต้น
การกลายพันธ์ุท่ีเซลล์สืบพันธ์ุจะเกิดกับยีนในเซลล์สืบพันธุ์ อาจทาให้ยีนหรือแอลลีลมีความผิดปกติ และ
สามารถถา่ ยทอดไปสลู่ กู หลานได้ อาจสง่ ผลภาวะผดิ ปกติในรุ่นลกู รนุ่ หลานได้

26

ระดับของการกลายพนั ธ์ุ ทเ่ี กดิ ข้ึนในสิ่งมชี วี ิตมีอยู่ 2 ระดับ คอื
การกลายพนั ธุ์ในระดบั โครโมโซม (Chromosomal Mutation) คอื การกลายพนั ธ์ุ ทีเ่ กิดจากการเปล่ียนแปลง

ของโครโมโซมอาจจะเป็นการเปล่ียนแปลงโครงสร้างภายในของโครโมโซมหายไปหรือเพ่ิมขึ้นบางส่วนและ
การเปลย่ี นแปลงจานวนโครโมโซม เชน่ การลดลงหรอื เพิม่ ขนึ้ ของโครโมโซมบางแท่งหรือทั้งชุด เป็นสาเหตุของการเกิด
มิวเทชันระดับโครโมโซม เช่น กลุ่มอาการคริดูชาต์และกลุ่มอาการดาวน์กลุ่มอาการเทอร์เนอร์และกลุ่มอาการ
ไคลนเ์ ฟลเตอร์

การกลายพนั ธใ์ุ นระดบั ยีนหรือโมเลกุลของดีเอ็นเอ (DNA Gene Mutation) คือ เป็นการเปลี่ยนแปลงของยีน
หรือ เปลี่ยนแปลงของนวิ คลโี อไทดใ์ นโมเลกลุ ของดีเอ็นเอ
สาเหตขุ องการกลายพันธ์ุ

เกิดขนึ้ เองโดยธรรมชาติ (Spontaneous Mutation) หรอื เกิดจากส่งิ กอ่ กลายพันธุ์ทม่ี ีอยใู่ นธรรมชาติ เช่น ใน
การจาลองตัวเองของดีเอ็นเอ (DNA Replication) อาจมีการนาเบสที่ไม่ถูกต้องใส่เข้าไปในดีเอ็นเอ (DNA) สายใหม่,
รงั สอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ โดยที่ไม่ไดเ้ กิดจากมนุษยใ์ ช้สารเคมหี รอื รังสีเหน่ยี วนาใหเ้ กดิ การกลายพนั ธุ์

เกิดจากการเหน่ียวนา (Induced Mutation) เป็นการกลายพันธ์ุ ที่มนุษย์ใช้สารเคมีหรือรังสี ทาให้ดีเอ็นเอ
(DNA) หรือ ยีน (Gene) หรือ อาร์เอ็นเอ (RNA) ของส่ิงมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงและเกิดลักษณะแปลกใหม่ท่ีกลาย
พันธุไ์ ปจากเดมิ สารเคมหี รอื รังสที ีก่ อ่ ให้เกิดการกลายพนั ธุน์ ้ี เรยี กวา่ “สิ่งกอ่ กลายพันธุ์ หรอื สารกอ่ กลายพันธุ์”

ช้นิ งาน/ภาระงาน
1. ใบกจิ กรรมที่ 4.1 จดั จาแนกรปู ร่าง ลกั ษณะของโครโซม
2. ใบกิจกรรมท่ี 4.2 สว่ นประกอบของโครโมโซม
3. ใบกิจกรรมที่ 4.3 แบบจาลองโครงสรา้ ง DNA จากวสั ดตุ า่ ง ๆ
4. ใบกจิ กรรมที่ 4.4 การจาลองดีเอ็นเอเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร
5. ใบกิจกรรมที่ 4.5 การถอดรหสั และการแปลรหสั
6. ใบกจิ กรรมที่ 4.6 บัตรภาพมิวเทชันระดับยนี
7. ใบกิจกรรมที่ 4.7 มิวเทชันระดบั โครโมโซม

กจิ กรรมการเรยี นรู้
(รูปแบบการสอบแบบสืบเสาะหาความรขู้ อง สสวท.)

1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement)
ครูสร้างความสนใจโดยการตั้งคาถาม การใช้เกม รูปภาพ แผนภูมิ วิดีโอ สื่อจริงหรือจากส่ิงท่ีเช่ือมโยงกับ
ความรเู้ ดิมของนักเรียน จากนน้ั ครกู บั นักเรียนร่วมกันกาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของประเด็นท่ีต้องการ
ศกึ ษาให้ชดั เจน
2. ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันวางแผนในการกาหนดแนวทางในการสืบเสาะหา
ความรู้จากใบความร้ใู บกิจกรรม ส่อื จรงิ โมเดลหรอื แพลตฟอรม์ ดิจทิ ัล ทากิจกรรมและค้นหาคาดคะเนคาตอบ กาหนด
ทางเลือกท่ีเป็นไปได้ และลงมอื ปฏิบัตสิ ารวจ ตรวจสอบ คน้ หา เพื่อเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

27

3. ข้ันอธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
ให้นักเรียนนาข้อมูลท่ีได้จากการสืบเสาะหาความรู้มาอภิปรายร่วมกัน แล้ววิเคราะห์แปลผล สรุปผล เป็น
ความรู้ แลว้ นาเสนอหน้าชั้นเรียน จากนั้นครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายผลการทากิจกรรม
4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration)
ใหน้ กั เรยี นนาความรูท้ ี่สรา้ งข้ึนใหมไ่ ปเชอื่ มโยงกบั ชวี ิตประจาวัน เพ่ือเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในองค์ความรู้
ท่ไี ด้ให้กว้างขวางและลึกซงึ้ ย่ิงขนึ้
5. ขน้ั ประเมินผล (Evaluation)
- ประเมินจากใบกิจกรรม
- ประเมินจากใบงาน
- ประเมนิ จากชิ้นงาน
- ประเมินจากสมดุ บนั ทกึ ประจาวิชาชีววทิ ยา
- ประเมนิ จากพฤติกรรมรายกล่มุ และพฤติกรรมรายบุคคล
- ประเมนิ จากการตอบคาถามในชัน้ เรียน
- ประเมนิ จากทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
- สอื่ จรงิ
- ภาพ
- วดี โี อ
- โมเดล
- โปรแกรม PowerPoint
- ฐานข้อมูลอนิ เทอรเ์ นต็
- หนังสือเรยี นชวี วทิ ยา เล่ม 2 ของ สสวท.
- ใบความรู้
- แพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั
- สอ่ื อปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์

การวัดและประเมินผล

การวัดการประเมนิ วิธกี ารประเมิน

- ตรวจจากใบกิจกรรมท่ี 4.1 จัดจาแนกรปู ร่าง ลักษณะของโครโซม

- ตรวจจากใบกิจกรรมที่ 4.2 ส่วนประกอบของโครโมโซม

- ตรวจจากใบกิจกรรมที่ 4.3 แบบจาลองโครงสร้าง DNA จากวสั ดตุ ่าง

- ตรวจจากใบกจิ กรรมท่ี 4.4 การจาลองดีเอน็ เอเกิดข้นึ ได้อยา่ งไร

- ตรวจจากใบกจิ กรรมที่ 4.5 การถอดรหัสและการแปลรหสั

- ตรวจจากใบกจิ กรรมที่ 4.6 บัตรภาพมิวเทชนั ระดบั ยีน
ด้านความรู้ (K) - ตรวจจากใบกจิ กรรมที่ 4.7 มิวเทชนั ระดับโครโมโซม

- ประเมินจากการตรวจใบงานเร่ือง สารพนั ธกุ รรม

- ประเมินจากการตรวจใบงานเรอ่ื ง มิวเทชนั

- ประเมินจากการตรวจสมดุ

- ประเมนิ จากการตรวจชน้ิ งาน

- ประเมินจากการตอบคาถามในชั้นเรียน

ด้านทักษะ - สงั เกตจากกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
กระบวนการ (P) - สังเกตจากพฤตกิ รรมรายกลุม่

ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) - สงั เกตจากพฤติกรรมรายบคุ คล
1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. ม่งุ ม่ันในการทางาน

28

เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
- ใบกจิ กรรมที่ 4.1 จดั จาแนกรปู ร่าง ลกั ษณะของโครโซม คะแนนคดิ เปน็
- ใบกิจกรรมที่ 4.2 สว่ นประกอบของโครโมโซม ร้อยละ60 ขึ้นไป
ง ๆ - ใบกจิ กรรมท่ี 4.3 แบบจาลองโครงสร้าง DNA จากวสั ดตุ ่าง ๆ (ผ่านเกณฑ)์
- ใบกจิ กรรมที่ 4.4 การจาลองดเี อน็ เอเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ย่างไร
- ใบกจิ กรรมที่ 4.5 การถอดรหสั และการแปลรหัส คะแนนคิดเป็น
- ใบกิจกรรมท่ี 4.6 บตั รภาพมวิ เทชันระดับยีน ร้อยละ60 ขน้ึ ไป
- ใบกจิ กรรมท่ี 4.7 มิวเทชนั ระดบั โครโมโซม
- ใบงานเรือ่ ง สารพนั ธุกรรม (ผ่านเกณฑ)์
- ใบงานเรือ่ ง มวิ เทชัน คะแนนคิดเปน็
- สมดุ จดบันทกึ ร้อยละ60 ข้ึนไป
- ชนิ้ งาน แบบจาลองโครงสร้าง DNA (ผ่านเกณฑ)์
- ข้อคาถามในชัน้ เรยี น
- แบบประเมนิ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
- แบบสงั เกตพฤติกรรมรายกลมุ่

- แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล

29

บนั ทกึ ผลหลังการสอน
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่.ี ........................เรอ่ื ง.................................................................................................
ผลการเรียนรู้

1. กจิ กรรมการเรียนการสอนทกี่ าหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่เหมาะสม กับวัยของผู้เรียน
และเหมาะสมกับสาระการเรียนรสู้ ามารถจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน

 ไดต้ ามเวลาท่ีกาหนดทกุ กิจกรรม

 ไม่ทันตามเวลาท่ีกาหนดในกจิ กรรมเนือ่ งจาก..................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

2. การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนคร้ังนี้ นกั เรียนทุกคนไดร้ ว่ มกิจกรรมและเรยี นรู้ อยา่ งมคี วามสขุ
3. กิจกรรมช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจตรงตามสาระการเรียนรู้ เกิดคุณลักษณะที่ พึงประสงค์และมี
ทักษะกระบวนการตามท่ีจดุ ประสงค์กาหนด
4. สอ่ื การเรยี นการสอนทีก่ าหนดในแผนการจัดการเรยี นรู้ได้ใช้ส่ือหลายอย่าง เป็นส่ือ ท่ีเหมาะสมกับวัยผู้เรียน
สอดคลอ้ งกับเนื้อหาสามารถใชป้ ระกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ได้อย่างเหมาะสม ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่าง
สนกุ สนานและเข้าใจบทเรียนได้เร็วยิ่งข้นึ
5. การวัดผลประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนครั้งน้ีครอบคลุมพฤติกรรม ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ี
กาหนดในแผนการจัดการเรยี นรู้ ผลการวัดผลและประเมนิ ผลสรุปได้ ดงั นี้
5.1 ด้านความรู้ความเขา้ ใจ (K)

- นกั เรียนผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรูข้ ้อที่ .............................
- นกั เรียนทผ่ี ่านจุดประสงคต์ ามเกณฑร์ อ้ ยละ.....................................จานวน...................................คน
เลขที่ .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
- นักเรียนทีไ่ ม่ผ่านจดุ ประสงค์ จานวน............คน
เลขท่ี .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
และได้ดาเนนิ การแกป้ ญั หา คือ.…………………………………………………………………………………………………

 สอนเสริม  มอบงานให้ทาเพมิ่ เตมิ  ทารายงาน  อ่ืน ๆ...................
5.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

- นักเรียนทผ่ี า่ นทกั ษะกระบวนการตามเกณฑ์รอ้ ยละ............................จานวน................................คน
เลขท่ี .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
- นักเรียนทไี่ ม่ผ่านทักษะกระบวนการ จานวน............คน
เลขที่ .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................

30

5.3 ด้านคา่ นิยม (A)
- นกั เรียนทีม่ คี ่านยิ มตามเกณฑร์ อ้ ยละ จานวน............คน
เลขที่ .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
- นักเรียนท่ตี ้องปรับเปลย่ี นค่านิยม จานวน............คน
เลขท่ี .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
และได้ดาเนินการปรับเปลี่ยนค่านิยม (แจงรายละเอียดของการปรับเปล่ียนค่านิยม)

คอื …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
............................................................................................................................. ..........................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

นวัตกรรมทใ่ี ช้ในการจดั การเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนในคร้ังน้ีได้จัดทาส่ือการเรียนการสอนที่เป็นนวัตกรรม คือ (Power Point เร่ือง

…....................... , เอกสารประกอบการสอน เร่ือง .............................. , เกม ............................... , ฯลฯ )
ระบชุ อ่ื นวตั กรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

วิจยั ในชั้นเรียน
ในการแก้ปัญหานักเรียนท่ีไม่ผ่านด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะกระบวนการ (ด้านค่านิยม) จึงได้

ทาการศึกษาค้นคว้าวิจัยในช้ันเรียนเร่ือง ......................................................................................................................
ผลท่ีได้จากการวิจยั ปรากฏว่า นกั เรยี น ............................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหาและอปุ สรรค……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการแกไ้ ขปญั หา……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชอ่ื ..........................................................ผู้สอน
(นางสาวพรรณิภา พ่อคา้ )

...................../........................../.................

31

แผนการจดั การเรียนรู้รายช่ัวโมง

32

แผนการจดั การเรยี นรู้

รายวชิ า ชวี วทิ ยาเพ่มิ เตมิ 2 รหัสวิชา ว 30242 จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 4 โครโมโซมและสารพนั ธกุ รรม เร่ือง รปู ร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 25 นาที

วนั ที่ 19 เดือน มีนาคม 2565 ครูผูส้ อน นางสาวพรรณิภา พ่อค้า

1. สาระมาตรฐานการเรียนรู้
เขา้ ใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม

การเกดิ มิวเทชนั เทคโนโลยที างดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของ
ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต
และอนุกรมวิธาน รวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

2. ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง
สบื ค้นขอ้ มลู อธิบายสมบัติและหน้าท่ขี องสารพันธกุ รรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอและ

สรปุ การจาลอง ดีเอ็นเอ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
- นักเรียนสามารถสืบคน้ ข้อมลู และอธิบายหลักการจาแนกรูปรา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซมได้
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
- นกั รยี นสามารถสังเกตและจาแนกรปู ร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซมได้
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
- มวี นิ ยั
- ใฝเ่ รยี นรู้
- มงุ่ ม่ันในการทางาน

4. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด)
โครโมโซม (chromosome) มีลักษณะเป็นเส้นยาวขดพันกันเป็นเกลียวอยู่ในนิวเคลียส เรียกว่า โครมาทิน

(chromatin) ซ่ึงในช่วงของการแบ่งเซลล์ โครโมโซมจะหดตัวส้ันและหนาที่ประกอบด้วยโครมาทิด 2 อัน ยึดกันตรง
ตาแหน่งเซนโทรเมยี ร์ (centromere) แบ่งออกเป็น 4 ชนิด ไดแ้ ก่

- เมทาเซนทริก (metacentric) เปน็ โครโมโซมทมี่ ีตาแหนง่ เซนโทรเมยี ร์อยูต่ รงกลาง
- ซับเมทาเซนทริก (submetacentric) เป็นโครโมโซมที่มตี าแหนง่ เซนโทรเมียรอ์ ยหู่ า่ งจากจุดก่ึงกลาง
เลก็ นอ้ ย
- อะโครเซนทริก (acrocentric) เป็นโครโมโซมทมี่ ตี าแหน่งเซนโทรเมียรอ์ ยูใ่ กล้กบั ปลายโครมาทดิ
- ทโี ลเซนทรกิ (telocentric) เป็นโครโมโซมท่ีมตี าแหน่งเซนโทรเมียร์อยู่ที่ปลายโครมาทิด

33
ลกั ษณะทางพันธุกรรมในคนปกติจะมีโครโมโซมทั้งหมด 46 แท่ง โดยอยู่กันเป็นคู่ ๆ คือ 23 คู่ ประกอบด้วย
โครโมโซมชนิดทวั่ ไปท่ีเรียกวา่ “Autosome 22 คู่ (44แท่ง) ส่วนอีก 1คู่ (2แท่ง) เรียกว่า “Sex chromosome” ท่ีจะ
ตา่ งกนั ในเพศหญงิ และในเพศชาย โดยเพศหญงิ จะเปน็ “XX” สว่ นเพศชายจะเป็น “XY”
5. สาระการเรยี นรู้
โครโมโซม คอื สารพนั ธุกรรมในร่างกายของมนุษย์เป็นตัวกาหนดลักษณะต่าง ๆ เช่น สีตา สีผม ลักษณะเส้น
ผม ลกั ษณะดวงตา สีผวิ และควบคมุ การทางานของร่างกาย โครโมโซมอยู่ในเซลล์ทุกเซลล์ของร่างกาย ในคนท่ัวไปแต่
ละเซลล์จะมจี านวนโครโมโซมอยู่ 23 คู่ หรอื 46 แทง่
ลักษณะของโครโมโซม โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วยโครมาทิด (Chromatid) 2 โครมาทิดที่
เหมือนกัน ซ่ึงเกิดจากการท่ีโครโมโซมจาลองตัว โครมาทิดทั้งสองมีส่วนที่ติดกันอยู่ เรียกว่า เซนโทรเมียร์
(Centromere) โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีรปู รา่ งลักษณะทีเ่ หมอื นกันเปน็ คู่ ๆ แต่ละค่เู รยี กวา่ โฮโมโลกัสโครโมโซม
(homologous chromosome) สาหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน โดยข้ึนอยู่กับตาแหน่งของ
เซนโทรเมยี ร์ ซง่ึ ทาหนา้ ที่เป็นแกนหลักสาคัญการเคลอื่ นไหวของโครโมโซมภายในเซลล์

ภาพ โครงสร้างโครโมโซม
(ทมี่ า : https://static.trueplookpanya.com)
มีการแบ่งชนิดของโครโมโซมทห่ี ลากหลาย หากแบ่งตามคุณสมบัติหรือหน้าที่ของโครโมโซมจะแบ่งได้ 2 กลุ่ม
คือ ออโตโซม (Autosome) ซึ่งควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกายยกเว้นลักษณะท่ีเก่ียวกับเพศ และอีกกลุ่มคือ
โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) ซ่งึ ควบคุมลกั ษณะที่เก่ียวกับเพศโดยเฉพาะ
โครโมโซมของมนุษย์มจี านวน 23 คู่น้ัน แบ่งเป็นเป็น ออโตโซม 22 คู่ อีก 1 คู่เป็น โครโมโซมเพศ ในหญิงจะ
เป็น XX ในชายจะเปน็ XY โดยโครโมโซม Y จะมขี นาดเลก็ และมียีนอยเู่ ล็กนอ้ ย

34

ภาพ แสดงโครโมโซมของมนุษย์
(ท่มี า : https://hd.co.th/system/redactor2_assets/images/1341/content_normal-chromosome1.jpg)

แตห่ ากแบง่ ตามตาแหนง่ จดุ เชอื่ มต่อของเซนโทรเมียร์ จะแบ่งได้ 4 กลุ่ม คือ
1. เมตาเซนตริก (Metacentric) คอื โครโมโซมท่ีมีจุดเชอ่ื มอยูต่ รงกลางและทาให้แขนท้ังสองด้านที่ย่ืนออกมา
ค่อนขา้ งเทา่ กัน
2. ซับเมตาเซนตริก (Submetacentric) คือ โครโมโซมที่มีจุดเชื่อมต่อค่อนไปด้านใดด้านหน่ึง ทาให้แขนของ
โครโมโซมยนื่ ออกมาไม่เทา่ กนั
3. อะโครเซนทรกิ (Acrocentric) คือ โครโมโซมท่ีมีจุดเชื่อมต่ออยู่บริเวณเกือบจะปลายสุด ซ่ึงทาให้แขนของ
โครโมโซมดา้ นหนึง่ ย่ืนออกมาเปน็ สว่ นเลก็ ๆ
4. เทโลเซนทรกิ (Telocentric) คือ โครโมโซมที่มีจดุ เช่ือมตอ่ อยบู่ รเิ วณปลายสุดของแขนโครโมโซม

ภาพ ตาแหน่งของเซนโทรเมียร์
(ท่มี า : https://www.scimath.org/images/uploads/C3.jpg)

35
6. ภาระชิ้นงาน/ภาระงาน

- ใบกจิ กรรมเรอื่ ง รปู ร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
7. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขัน้ สร้างความสนใจ
1. ครูสร้างความสนใจผู้เรียนโดยครูนาดูภาพแคริโอไทป์ของคนมาให้นักเรียนดูแล้วครูต้ังคาถามว่า นักเรียน
สังเกตเห็นอะไรจากภาพนบ้ี ้าง
(แนวคาตอบ : แท่งโครโซมของคน)
- โครโมโซมแตล่ ะค่มู รี ูปร่าง เหมือนกนั หรือไม่
(แนวคาตอบ : ไมเ่ หมอื นกัน)
- เขาใช้อะไรใชใ้ นการจับค่โู ครโมโซม
(แนวคาตอบ : ขนาด ความยาว และรูปร่างของโครโมโซม
2. ครตู ้ังคาถามเพ่ือนาไปส่ขู ้นั สารวจว่านกั เรยี นทราบหรอื ไม่ รปู รา่ งของโครโมโซม มลี กั ษณะอย่างไรบ้างโดยที่
ครไู ม่เฉลยคาตอบ

ภาพ แสดงโครโมโซมของมนุษย์
(ทีม่ า : https://hd.co.th/system/redactor2_assets/images/1341/content_normal-chromosome1.jpg)

ขน้ั สารวจและค้นหา
1. ครูแจกใบความรู้เรื่อง รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม ให้นักเรียนคนละ 1 ชุด เพื่อให้นักเรียนใช้
ประกอบกจิ กรรมการเรียนการสอน
2. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมจาแนกลักษณะรูปร่างของโครโซม โดยครูบอกวัตถุประสงค์ของการทากิจกรรม
และซแี้ จงการทากิจกรรม แนะนาอปุ กรณ์ในการทากจิ กรรม
3. ครเู ตรยี มโครโมโซมจาลองแบบต่าง ๆ ไว้ใหน้ กั เรยี นจาแนกรปู รา่ ง ลกั ษณะของโครโมโซม

36

ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรุป
1. หลังจากการทากิจกรรมเสร็จแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหลักในการจัดกลุ่มของโครโมโซมท่ี
นกั เรียนได้จาแนกไว้ว่าทาไมนักเรียนถึงจาแจกโครโมโซมกลุ่มดังกล่าวเขา้ ด้วยกัน
2. จากนัน้ ครูนาภาพแคริโอไทปข์ องมนุษย์ซงึ่ นกั เรยี นควรจะสังเกตเหน็ ว่า เมอื่ นาโครโมโซมมาเรยี งแล้วจะเรียง
ได้เป็นคู่ ๆ แต่ละคู่มีรูปร่างลักษณะท่ีเหมือนกัน ซึ่งก็คือฮอมอโลกัสโครโมโซม จากนั้นครูอธิบายว่าถึงจานวนของ
โครโมโซมของสงิ่ มชี วี ติ ท่ตี ่างชนดิ กนั
3. ครูใหน้ กั เรยี นหยบิ แบบจาลองโครโมโซมท่ีนกั เรยี นได้จาแนกไว้ รปู รา่ งลักษณะละ 1 ชิน้ โดยแต่ละกลุ่มห้าม
หยิบโครโมโซมลักษณะทซ่ี ้ากบั เพ่ือน
4. ครูถามตาแหน่งเซนโทรเมียร์ของโครโมโซมแต่ละแบบที่นักเรียนหยิบข้ึนว่าเซนโทรเมียร์ของโครโมโซมที่
นักเรียนเลือกมาน้ันอยู่ตาแหน่งใดของโครโมโซม และบอกนักเรียนว่าเราสามารถจาแนกโครโมโซมได้ตามขนาดของ
โครโมโซมและตาแหน่งของเซนโทรเมียรโ์ ดยโครโมโซมอาจมีรูปร่างได้หลายแบบ เช่น อยู่ก่ึงกลางโครโมโซมทาให้แขน
2 ข้างยาวใกล้เคียงกัน อยู่ค่อนมาทางด้านใดด้านหนึ่งของโครโมโซมทาให้แขน 2 ข้างยาวไม่เท่ากัน และอยู่ใกล้ส่วน
ปลายโครโมโซม
5. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ การจดั จาแนกโครโมโซมอีกครงั้ และนกั เรยี นร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถาม
ขอ้ สงสยั เกีย่ วกบั รูปรา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

ข้ันขยายความรู้
1. ครูขยายความรู้เพิ่มเติมให้แกน่ ักเรียนว่า ในปัจจุบันผสู้ ูงอายมุ กั จะมีความกังวลเก่ียวกับการใช้ชีวิต ไม่อยาก
เป็นภาระกบั ลกู หลานเพราะสุขภาพไมแ่ ข็งแรง มีโรคประจาตวั ตา่ ง ๆ อนั เกดิ จากความเส่ือมของเซลล์ร่างกายดังนั้นคน
กลุ่มน้ีจึงหันมาดูแลสุขภาพถึง “ระดับเซลล์” เพื่อชะลอความเส่ือมของร่างกายและทาให้มีสุขภาพท่ีดี ปัจจัยที่สาคัญ
ท่สี ุดในการดแู ลเซลล์ร่างกาย คือ “เทโลเมียร์” ถ้าหากเทโลเมียร์ส้ันก็จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคมากมาย เพราะทุกคร้ังท่ี
เซลล์มีการแบ่งตัว โครโมโซมก็จะมีการแบ่งตัวด้วย พร้อมกับการหดส้ันลงของเทโลเมียร์ ส่งผลให้กระบวนการซ่อม
สร้างของร่างกายทาให้ร่างกายเสื่อมเส่ียงต่อโรคต่าง ๆ มากขึ้นและอายุส้ันลง เม่ือเทโลเมียร์ส้ันลงสุดแล้ว เซลล์จะ
แบง่ ตัวต่อไม่ได้ แล้วจะเส่ือมสลายไปในท่ีสุด ดงั นนั้ การใช้ enzyme telomerase สามารถต่อความยาวของเทโลเมียร์
ได้ เมื่อเทโลเมียรย์ าวขึ้นจะทาให้ย้อนวัยขึน้ ได้

ข้นั ประเมนิ
1. ประเมินจากการทาใบกิจกรรม เร่อื งรูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม
2. ประเมนิ จากการจาแนกรูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม
3. ประเมนิ จากการเขา้ รว่ มกิจกรรม

37

8. สือ่ นวตั กรรมและแหล่งการเรยี นรู้
- หนงั สือเรียนชวี วทิ ยาเพม่ิ เติมเลม่ 2 สสวท.
- ใบความรู้เรอ่ื ง รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
- สอ่ื PowerPoint เร่ือง รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
- สื่อ โครโซมจาลอง

9. การวัดและการประเมนิ ผล

การวดั การประเมนิ วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบกิจกรรมที่ 1 ใบกิ จก ร ร มที่ 1 เ รื่ อ ง ได้คะแนนร้อยละ 60

1. นักเรียนสารถสบื ค้นข้อมลู เรื่อง รูปร่าง ลักษณะ รูปร่าง ลักษณะ และ ขนึ้ ไป “ผา่ น” เกณฑ์

และอธิบายโครงสรา้ งและ และจานวนโครโมโซม จานวนโครโมโซม

องค์ประกอบของโครโมโซม

และหลักการจาแนกโครโมโซม

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ตรวจใบกิจกรรมท่ี 1 แ บ บ สั ง เ ก ต ทั ก ษ ะ ได้คะแนนร้อยละ 60

1. นักรยี นสามารถสงั เกตและ เร่ือง รูปร่าง ลักษณะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ขึ้นไป “ผา่ น” เกณฑ์

จาแนกรปู ร่าง ลกั ษณะ และ และจานวนโครโมโซม วทิ ยาศาสตร์

จานวนโครโมโซมได้

ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) สังเกตจากการเข้าร่วม แ บ บ ป ร ะ เ มิ น สั ง เ ก ต ได้คะแนนร้อยละ 60
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มีวนิ ัย กจิ กรรม พฤตกิ รรมเป็นรายบุคคล ขึ้นไป “ผา่ น” เกณฑ์
3. ม่งุ มั่นในการทางาน

38

แบบสงั เกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

พฤติกรรม ทกั ษะ

ท่ี การสงั เกต การจดั จาแนก การลงความเหน็ ความถกู ตอ้ งของ
ชอื่ -สกลุ จากขอ้ มูล เนอ้ื หาและ
321 ประเด็นที่
321321 กาหนดให้

321

ลงช่ือ.......................................................ผ้สู ังเกต
(....................................................)
.............../............../...............

39

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบสังเกตทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ประเดน็ การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
1. การสังเกต
2. การจดั จาแนก 3 (ดีมาก) 2 (ดี) 1 (ปรบั ปรงุ )

3. การลงความเห็นจาก สามารถสงั เกตและจด สามารถสังเกตและจด ไมส่ ามารถสังเกตและจด
ข้อมูล
บนั ทึกได้อย่างถกู ตอ้ ง บันทกึ ได้บางข้ันตอน บนั ทกึ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
4. ความถกู ตอ้ งของ
เนอ้ื หาและประเดน็ ท่ี สามารถจัดจาแนกรูปร่าง สามารถจัดจาแนกรูปร่าง ไมส่ ามารถจัดจาแนกรูปร่าง
กาหนดให้
และลักษณะของโครโมโซม แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง และลักษณะของโครโมโซม

ได้อยา่ งถูกต้อง โครโมโซมไดบ้ า้ ง ได้

สามารถลงความเห็นได้ สามารถลงความเห็นได้ ไม่สามารถลงความเห็น โดย

อย่างถูกตอ้ งกระชับ ชัดเจน อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ก ร ะ ชั บ ไช้ข้อมูลได้

และครอบคลุมข้อมูลจาก ชัดเจนและครอบคลุม

การวิเคราะห์ท้ังหมดอย่าง ข้อมูลจากการวิเคราะห์

ครบถว้ น ทง้ั หมดแต่ไม่ครบถ้วน

สามารถตอบคาถามได้ สามารถตอบคาถามได้ ไม่สามารถตอบคาถาม

ทุกประเดน็ ทก่ี าหนดไว้ บางประเด็นทีก่ าหนดไว้ ตามประเดน็ ทีก่ าหนดไว้

ได้


Click to View FlipBook Version