The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน พรรณิภา พ่อค้า (อาชีวะ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannipa phoka, 2022-03-29 12:46:34

แผนการสอน พรรณิภา พ่อค้า (อาชีวะ)

แผนการสอน พรรณิภา พ่อค้า (อาชีวะ)

แผนการจดั การเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์
รายวชิ าชวี วทิ ยา หลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.)

โดย

นางสาวพรรณภิ า พอ่ ค้า
เลขที่สมัครสอบ 1080298

ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คานา

แผนการจัดการเรียนรู้น้ีเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชีพ
เกษตรกรรม) ในระดับหลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) พุทธศักราช 2562 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การถ่ายทอด
ลกั ษณะทางพันธกุ รรม เรือ่ ง รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม เล่มนี้จัดทาข้ึนเพ่ือนามาใช้ประกอบการประเมิน
ภาค ค ความเหมาะสมกบั ตาแหน่งวิชาชีพและการปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
อาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2564 ซ่ึงแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีประกอบไปด้วย คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายหนว่ ย และแผนการจดั การเรยี นรูร้ ายช่ัวโมง เรื่อง รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม สื่อ
ใบงาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ใช้ในการประเมินความรู้ ความสามารถของผู้เรียน วิธีการและเกณฑ์การประเมิน
การเรียนรู้และพฤติกรรมของผู้เรยี น

ผสู้ อนขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้คาแนะนา และเป็นที่ปรึกษาในการจัดทาแผนการจัดการ
เรียนรทู้ ี่มีประโยชนแ์ ละมคี ุณคา่ ตอ่ การจัดการเรยี นการสอน อันจะเป็นประโยชนส์ ูงสุดต่อตวั ผู้เรียนไว้ ณ โอกาสนี้

ลงชือ่ ...................................................................
(นางสาวพรรณิภา พอ่ ค้า)
ผู้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้

สารบญั ข

เรื่อง หนา้
คานา ก
สารบัญ ข
โครงสร้างรายวชิ า 1
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายหน่วย 12
แผนการจดั การเรียนรู้ชว่ั โมง 29
30
- แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม 42
ภาคผนวก 43
45
- ใบความรู้ เร่ือง รูปรา่ ง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม 47
- ใบกิจกรรมท่ี เรือ่ ง รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
- แนวคาตอบใบกิจกรรมทื่ 1 เร่ือง รปู รา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

1

โครงสรา้ งรายวชิ า

2

ลักษณะรายวชิ า

หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลุ่มวทิ ยาศาสตร์
รหัสวชิ า 20000 – 1305
ทฤษฎี 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ ชือ่ วิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม

ปฏิบัติ 2 ช่วั โมง/สัปดาห์ จานวน 2 หน่วยกิต

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับโครงสร้าง หน้าที่องค์ประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ระบบการทางานของ

อวัยวะในพืชและสตั ว์ พนั ธุกรรม เทคโนโลยีชวี ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพและสารชวี โมกลุ

จุดประสงคร์ ายวชิ า (เพอื่ ให)้
1. สามารถอธบิ ายเกี่ยวกับโครงสรา้ งละหน้าทข่ี องเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตวไ์ ด้
2. สามารถอธิบายระบบการทางานของอวัยวะในพชื และสัตว์ได้
3. สามารถอธบิ ายเกีย่ วกับพันธุกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพได้
4. สามารถอธบิ ายเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพได้
5. สามารถอธิบายเกี่ยวกับสารชวี โมเลกลุ ได้
6. สามารถสารวจตรวจสอบเก่ยี วกบั เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ ระบบต่าง ๆ ของพชื และสตั วก์ ารถ่ายทอดลักษณะ

ทางพนั ธุกรรม และการจาแนกส่ิงมีชีวิตโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7. มีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ยั ที่ดตี อ่ การศึกษาและสารวจตรวจสอบดว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรู้เกีย่ วกับเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์
2. แสดงความรเู้ กีย่ วกับระบบการทางานของอวัยวะในพืชและสัตว์
3. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั พนั ธกุ รรมและเทคโนโลยชี วี ภาพ
4. แสดงความรู้เกีย่ วกับความหลากหลายทางชีวภาพ
5. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สารชีวโมเลกุล
6. สารวจตรวจสอบเก่ียวกับโครงสร้าง หน้าท่ี องค์ประกอบของเซลล์พืชและสัตว์และระบบการทางานของ

อวยั วะในพชื และสตั ว์ตามหลกั การ
7. สารวจตรวจสอบเก่ียวกับการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมตามหลักพนั ธุศาสตร์
8. สารวจตรวจสอบเก่ียวกับเทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ และสารชีวโมเลกุลด้วย

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

3

หน่วยการเรยี นรู้

หลักสูตร ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์
รหสั วชิ า 20000 – 1305
ทฤษฎี 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ชื่อวชิ า วทิ ยาศาสตร์เพ่อื พฒั นาอาชีพเกษตรกรรม

54 คาบ/ภาคเรียน จานวน 2 หน่วยกิต

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ เวลาเรียน (ชม.) รวม
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 6
1 เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ 6
2 ระบบการทางานของพชื 15 1
24 7
สอบเกบ็ คะแนนครง้ั ท่ี 1 1
3 ระบบการทางานของสตั ว์ 25 8
8
สอบกลางภาค 26 1
4 การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม 26 8
5 เทคโนโลยชี วี ภาพ 6
26 1
สอบเก็บคะแนนครงั้ ที่ 2 15 54
6 ความหลากหลายทางชีวภาพ
7 สารชีวโมเลกุล 13 41

สอบปลายภาค
รวม

4

ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า

หลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง กลุ่มวิทยาศาสตร์

รหสั วิชา 20000 – 1305 ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื พฒั นาอาชีพเกษตรกรรม

ทฤษฎี 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ ปฏิบัติ 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 54 คาบ/ภาคเรยี น จานวน 2 หนว่ ยกติ

ระดับพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์
พทุ ธพิ ิสัย

หน่วยที่
ความ ู้ร
ความเ ้ขาใจ
นาไปใ ้ช
ิวเคราะห์
ัสงเคราะห์
ประเมิน ่คา
ทักษะพิ ัสย
ิจตพิสัย
รวม
ลาดับ
เวลา(ชม.)
ช่ือหน่วยการเรยี นรู้

1 เซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ 3 4 3 2 - - 2 - 14 3

2 ระบบการทางานของพชื 4 4 3 1 - - 2 - 14 3

3 ระบบการทางานของสัตว์ 4 4 3 1 - - 2 - 14 3

4 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 4 4 3 2 - - 2 - 15 2

5 เทคโนโลยชี วี ภาพ 3 4 3 2 - - 2 - 15 2

6 ความหลากหลายทางชีวภาพ 3 4 2 2 - - 2 - 13 4

7 สารชีวโมเลกุล 5 4 3 2 - - 2 - 16 1

รวม 26 28 20 12 - - 14 - 100 -

ลาดับความสาคญั 2135- -4- - -

เกณฑก์ ารประเมิน (แยกตามสาขาตามลักษณะรายวิชา)

แผนกสามญั

- วชิ าทฤษฎี

- จติ พสิ ัย 20 คะแนน

- สอบกลางภาค 20 คะแนน

- สอบปลายภาค 20 คะแนน

- คะแนนเก็บ 40 คะแนน

- ทดสอบย่อย 10 คะแนน

- ช้ินงาน 20 คะแนน

- แบบฝกึ หดั 10 คะแนน

โครงสรา้ ง

หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ปฏิบัต
รหัสวิชา 20000 – 1305
ทฤษฎี 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์ สมรรถนะประจาหนว่ ย
-
สัปดาห์ที่ ชอ่ื หน่วยการียนรู้
1 ปฐมนเิ ทศ

2 หนว่ ยท่ี 1 แสดงความร้เู กี่ยวกับเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ ระบอุ งค์ประกอบและหนา้ ที่ของเซลล์พชื

และเซลล์สัตว์

3
หน่วยที่ 2

ระบบการทางานของ แสดงความรเู้ กีย่ วกบั ระบบการทางานต่าง ๆ ของพืช
4 พชื

5

งรายวิชา หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลุ่มวทิ ยาศาสตร์
ช่อื วิชา วทิ ยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
ติ 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
จานวน 2 หน่วยกติ

เน้อื หา/กิจกรรม คาบท่ี น้าหนกั
คะแนน
หนว่ ยการเรียนรู้,การวดั ผลประเมนิ ผล,ขอ้ ตกลงในการเรียน
เซลลแ์ ละการค้นพบ 1-
ชนดิ และรูปรา่ งของเซลล์
โครงสร้างและองคป์ ระกอบของเซลล์ 2-3 1

กจิ กรรมที่ 1.1 ปน้ั เซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์ 42
การแบง่ เซลล์
5-6 2
กิจกรรมท่ี 1.2 ปฏิบัตกิ ารการแบง่ เซลล์
การลาเลยี งสารผา่ นเซลล์ 72

กิจกรรมท่ี 1.3 ปฏบิ ตั กิ ารดารลาเลยี งสารผา่ นเซลล์ 8-9 2
เน้อื เยื่อและการเจริญเตบิ โตของพืช
10 2
กิจกรรมท่ี 2.1 การเจรญิ เตบิ โตของพืช
โครงสรา้ งและการเจริญเติบโตของราก

กจิ กรรมที่ 2.2 ปฏิบตั กิ ารการศกึ ษาเนือ้ เยอ่ื รากของพชื

สปั ดาห์ที่ ชอ่ื หนว่ ยการียนรู้ สมรรถนะประจาหน่วย

4 หน่วยที่ 2 แสดงความร้เู กี่ยวกบั ระบบการทางานตา่ ง ๆ ของพืช

ระบบการทางานของ

พืช

5 สอบเก็บคะแนนคร

6 หนว่ ยที่ 3
ระบบการทางานของ แสดงความรเู้ กีย่ วกับระบบการทางานต่าง ๆ ของสตั ว์
สัตว์

7

หน่วยที่ 4 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การถ่ายทอดลักษณะทาง
8 การถา่ ยทอดลกั ษณะ พันธุกรรมตามกฎของเมนเดล

ทางพนั ธุกรรม

6

เน้ือหา/กิจกรรม คาบท่ี นา้ หนัก
คะแนน
โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของลาตน้ และใบ
กิจกรรมที่ 2.3 ปฏิบตั กิ ารการศกึ ษาเนื้อเยอ่ื ลาตน้ และใบพืช 11-12 2

การลาเลียงน้าและสารอาหารของพืช 13 2
กจิ กรรมท่ี 2.4 ปฏิบัตกิ ารการลาเลยี งน้าและสารอาหารของพชื
14 5
รงั้ ที่ 1 15 2
ระบบย่อยอาหาร
กิจกรรมท่ี 3.1 การย่อยอาหาร 16-17 2
ระบบไหลเวยี นเลอื ด
กิจกรรมที่ 3.2 ระบบไหลเวียนเลือด 18 2
ระบบหายใจ
กิจกรรมที่ 3.3 ระบบหายใจ 19-20 2
ระบบขบั ถา่ ย
กิจกรรมท่ี 3.4 ระบบขบั ถ่าย 21 2
ระบบประสาทและอวัยวะรบั สมั ผัส
กจิ กรรมท่ี 3.5 ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผสั 22-23 1
ความหมายและประเภทของพันธกุ รรม

การค้นพบความรูท้ างพันธศุ าสตร์ 24 1

สปั ดาห์ที่ ชอื่ หนว่ ยการียนรู้ สมรรถนะประจาหน่วย

9 หนว่ ยที่ 4 แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทาง
การถา่ ยทอดลกั ษณะ พนั ธุกรรมตามกฎของเมนเดล
ทางพันธุกรรม
สอบกลางภาค
10

11

หน่วยที่ 5 แสดงความร้เู กย่ี วกับเทคโนโลยีชวี ภาพและหลกั การ

12 เทคโนโลยชี ีวภาพ ผลิตของสง่ิ มชี ีวิตดัดแปรพันธกุ รรม

13

7

เนือ้ หา/กจิ กรรม คาบที่ น้าหนัก
คะแนน
โครโมโซมและยีน
กิจกรรมท่ี 4.1 รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม 25-26 2

โรคทางพันธุกรรม 27 2
กิจกรรมท่ี 4.2 โรคทางพันธุกรรม
28-29 1
การเกดิ มิวเทชนั 30 20
กิจกรรมที่ 4.3 การเกดิ มวิ เทชัน 31-32 1


ความหมายและความเป็นมาของเทคโนโลยชี วี ภาพ

พันธุวิศวกรรมและการโคลน 33 2
กจิ กรรมท่ี 5.1 พันธวุ ศิ วกรรม 34-35 1

การโคลน

ประโยชน์ของเทคโนโลยชี ีวภาพ 36 1
กจิ กรรมที่ 5.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยีชวี ภาพ 37-38 1

ผลของเทคโนโลยชี ีวภาพท่ีมตี ่อสังคมและสง่ิ แวดล้อม
กิจกรรมท่ี 5.3 ผลของเทคโนโลยีชีวภาพท่ีมีต่อสังคมและ

สง่ิ แวดลอ้ ม

สปั ดาหท์ ี่ ชือ่ หน่วยการียนรู้ สมรรถนะประจาหนว่ ย
13 สอบเกบ็ คะแนนค

14

15 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 แสดงความรู้เกยี่ วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ
ความหลากหลายทาง และสามารถจัดจาแนกสิง่ มชี วี ติ ออกเป็นหมวดหมู่

ชีวภาพ

16

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 แสดงความรเู้ ก่ียวกับสารชวี โมเลกุลและเลือกบรโิ ภค
17 สารชวี โมเลกุล อาหารในชวี ิตประจาวันไดอ้ ยา่ งถูกสดั ส่วนและปลอดภยั

8

เน้ือหา/กิจกรรม คาบท่ี นา้ หนัก
คะแนน
คร้งั ที่ 2
ความหลากหลายทางชีวภาพ 39 5

การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 40-41 1

อาณาจกั รของสง่ิ มีชีวติ 42 1
กิจกรรมท่ี 6.1 อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต
43-44 1
ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
กิจกรรมที่ 6.2 ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 45 1

การสูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพ 46-47 1
กิจกรรมที่ 6.3 การสญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ
48 2
โปรตีน
กิจกรรมท่ี 7.1 ปฏบิ ัตกิ ารทดสอบโปรตีน 49-50 1

เอนไซม์ 51 2


คาร์โบไฮเดรต
กิจกรรมที่ 7.2 ปฏบิ ตั กิ ารทดสอบคาร์โบไฮเดรต

สปั ดาหท์ ี่ ชอ่ื หนว่ ยการียนรู้ สมรรถนะประจาหน่วย

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 แสดงความรเู้ ก่ยี วกับสารชวี โมเลกุลและเลอื กบริโภค
18 สารชวี โมเลกุล อาหารในชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งถกู สดั ส่วนและปลอดภัย

สอบปลายภา
รวม

9

เนื้อหา/กิจกรรม คาบท่ี นา้ หนัก
คะแนน
ไขมัน
กจิ กรรมท่ี 7.3 ปฏบิ ตั กิ ารทดสอบไขมนั 52-53 2

าค 54 20
54 100

10

กจิ กรรมการเรียนรู้
(รูปแบบการสอบแบบสบื เสาะหาความรขู้ อง สสวท.)

1. ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement)
ครสู รา้ งความสนใจโดยการตง้ั คาถาม การใช้เกม รูปภาพ แผนภมู ิ วดิ โี อ ส่อื จรงิ หรอื จากสิ่งทีเ่ ชื่อมโยง
กับความรเู้ ดิมของนกั เรียน จากนั้นครูกับนกั เรยี นรว่ มกนั กาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของประเด็น
ที่ต้องการศกึ ษาใหช้ ดั เจน
2. ขน้ั สารวจและค้นหา (Exploration)
ให้นกั เรียนร่วมกันวางแผนในการกาหนดแนวทางในการสืบเสาะหาความรู้จากใบความรู้ใบกิจกรรม
ส่ือจริง โมเดลหรือแพลตฟอร์มดิจิทัล ทากิจกรรมและค้นหาคาดคะเนคาตอบ กาหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้
และลงมือปฏิบตั ิสารวจ ตรวจสอบ คน้ หา เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมลู
3. ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation)
ให้นกั เรียนนาขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการสืบเสาะหาความรู้มาอภิปรายร่วมกัน แล้ววิเคราะห์แปลผล สรุปผล
เป็นความรู้ แลว้ นาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น จากนนั้ ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายผลการทากิจกรรม
4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
ให้นักเรียนนาความรู้ที่สร้างขึ้นใหม่ไปเช่ือมโยงกับชีวิตประจาวัน เพ่ือเพ่ิมเติมความรู้ความเข้าใจใน
องคค์ วามร้ทู ี่ไดใ้ ห้กวา้ งขวางและลกึ ซง้ึ ยงิ่ ข้ึน
5. ขั้นประเมินผล (Evaluation)
- ประเมนิ จากใบกิจกรรม
- ประเมินจากใบงาน
- ประเมินจากช้ินงาน
- ประเมินจากสมดุ บันทึกประจาวิชาชวี วทิ ยา
- ประเมนิ จากพฤติกรรมรายกลุ่ม และพฤตกิ รรมรายบุคคล
- ประเมินจากการตอบคาถามในชัน้ เรียน
- ประเมินจากทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์

สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
- สื่อจรงิ
- ภาพ
- วดี ีโอ
- โมเดล
- โปรแกรม PowerPoint

- ฐานข้อมลู อินเทอร์เน็ต 11
- หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาอาชพี เกษตรกรรม
- ใบความรู้ สัดส่วนคะแนน
- แพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั 30
- ส่ืออปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตร์ 20
30
แผนการประเมนิ การเรียนรู้ 20

กจิ กรรมที่ วิธีการประเมิน สปั ดาห์การประเมิน
1 กอ่ นกลางภาค ตลอดภาคการศึกษา
-สอบยอ่ ย (5)
2 -ช้นิ งาน/ภาระงาน (20) 12
3 -แบบฝกึ หัด (5) ตลอดภาคการศกึ ษา
กลางภาค
4 กอ่ นปลายภาค 20
-สอบยอ่ ย (5)
-ชิน้ งาน/ภาระงาน (20)
-แบบฝกึ หัด (5)
ปลายภาค

การประเมินผล 100 - 80 ได้ผลการเรยี น 4.0
75 - 79 ได้ผลการเรยี น 3.5
คะแนน 70 - 74 ได้ผลการเรยี น 3.0
คะแนน 65 - 69 ได้ผลการเรียน 2.5
คะแนน 60 - 64 ได้ผลการเรียน 2.0
คะแนน 55 - 59 ไดผ้ ลการเรียน 1.5
คะแนน 50 - 54 ได้ผลการเรยี น 1.0
คะแนน 0- 49 ไดผ้ ลการเรยี น 0
คะแนน
คะแนน

12

แผนการจัดการเรียนรรู้ ายหนว่ ย

13

แผนการจัดการเรียนรู้รายหนว่ ย

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม ช่อื วชิ า วิทยาศาสตรเ์ พือ่ พฒั นาอาชพี เกษตรกรรม

หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

เวลาเรียน 8 ช่วั โมง ครูผสู้ อน นางสาวพรรณภิ า พ่อคา้

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ประจาหนว่ ย
1. อธบิ ายความหมายของพนั ธุกรรม และยกตวั อย่างลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมได้
2. นาความร้ตู ามกฎของเมนเดลไปใช้อภปิ รายลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได้
3. นาความรทู้ นี่ อกเหนือกฎของเมนเดลไปใช้อภิปรายลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมได้
4. อภปิ รายโครงสร้าง ลกั ษณะ และหนา้ ที่ของยนี และโครโมโซมได้
5. นาความรเู้ รอ่ื งโรคทางพนั ธกุ รรมไปใชอ้ ภปิ รายความผิดปกติของส่ิงมชี ีวิตได้
6. อภปิ รายความผิดปกตทิ ่เี กดิ จากมวิ เทชันได้

สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมตามกฏของเมนเดล

สาระสาคญั
โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์มีจานวนคงท่ี โครโมโซมประกอบด้วย DNA และโปรตีน

นักวิทยาศาสตร์ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม ส่วนของ DNA ที่ควบคุมลักษณะ
ทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิตเรียกว่า ยีน และสารพันธุกรรมท้ังหมดที่อยู่ในสิ่งมีชีวิต เรียกว่าจีโนม DNA เป็น
พอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายบิดเป็นเกลียวเวียนขวา แต่ละสายเกิดจากนิวคลีโอไทด์ต่อกันเป็นสายยาว นิวคลีโอไทด์
ประกอบด้วยน้าตาลดีออกซีไรโบส หมู่ฟอสเฟต และไนโตรจีนัสเบสซึ่ง DNA แต่ละโมเลกุลมีจานวนและลาดับของ
นวิ คลีโอไทดท์ ีแ่ ตกตา่ งกัน

DNA สามารถจาลองตวั เองขน้ึ ได้ใหม่โดยมโี ครงสรา้ งทางเคมแี ละลาดับของนิวคลีโอไทด์เหมือนเดิม DNA
ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน โดยถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมให้แก่ mRNA เพื่อกาหนดลาดับของกรดแอมิโนในโมเลกุล
ของโปรตีน โปรตีนเก่ียวข้องกับการแสดงลักษณะทางพันธุกรรม เช่นเอนไซม์ท่ีทางานในกระบวนการเมแทบอลิซึมท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับการดารงชีวติ

โรคทางพันธุกรรม (Genetic Disorders) คือ โรคท่ีเกิดจากความผิดปกติในพันธุกรรม หรือเกิดขึ้นใน
โครโมโซมและยนี ซง่ึ สามารถถา่ ยทอดภายในครอบครวั จากร่นุ สรู่ ่นุ ได้ และก่อใหเ้ กิดความผิดปกติตง้ั แต่กาเนดิ

มิวเทชนั เป็นการเปล่ียนแปลงของลาดับหรือจานวนนิวคลโี อไทด์ใน DNA ซ่ึงอาจนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างและการทางานของโปรตีนซ่ึงเกิดได้ทั้งในระดับยีนและระดับโครโมโซม มิวเทชันสามารถเกิดได้ท้ังเซลล์
รา่ งกายและเซลล์สืบพันธุ์ซ่ึงมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์สามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้จึงอาจก่อให้เกิดลักษณะ

14

ใหมใ่ นส่งิ มชี วี ติ รุ่นต่อไป มนษุ ยป์ ระยุกต์ใช้การเกิดมิวเทชันในการชักนาให้ส่ิงมีชีวิตมีลักษณะท่ีแตกต่างไปจากเดิมโดย
การใชร้ งั สีและสารเคมตี า่ ง ๆ

สาระการเรยี นรู้
ความหมายและประเภทของพนั ธุกรรม
พันธุกรรม (Heredity) หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่น หน่ึงไปยังรุ่นหนึ่ง หรือจาก

บรรพบุรษุ ไปส่ลู กู หลาน เชน่ ลักษณะสีผิว ลักษณะเส้นผม ลักษณะสีตา เป็นต้น จะเห็นว่าในบางครั้งคนเรามีลักษณะ
เสน้ ผมเหมอื นพ่อ ลกั ษณะสีตาคล้ายกับแม่ซง่ึ ลกั ษณะตา่ ง ๆ เหลา่ น้จี ะถกู สง่ ผา่ นจากพ่อแม่ไปยังลูกได้ หรือส่งผ่านจาก
คนรุ่นหนึ่งไปยังคนรุ่นต่อไป เรียกลักษณะดังกล่าวว่า ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) ในการพิจารณา
ลักษณะต่าง ๆ ว่าลักษณะใดเป็นลักษณะทางพันธุกรรมน้ันจะต้องพิจารณาหลาย ๆ รุ่น หรือหลายช่ัวอายุ เพราะ
ลกั ษณะทางพันธกุ รรมบางอย่างอาจไม่ปรากฏในรุ่นลกู แต่อาจปรากฏในรุ่นหลานได้ ลักษณะท่ีถ่ายทอดทางพันธุกรรม
กรรมพันธห์ุ รือลกั ษณะตา่ ง ๆ ในส่ิงมีชีวิตสามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นต่อไปได้โดยผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ กล่าวคือเม่ือเกิด
การปฏสิ นธริ ะหว่างเซลล์ไข่ของแม่และอสุจิของพ่อ ลักษณะต่าง ๆ ของพ่อและแม่จะถ่ายทอดไปยังลูก ความแปรผัน
ทางพนั ธกุ รรม

นักวิทยาศาสตร์จาแนกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดออกจากกัน โดยดูจากความคล้ายคลึง และแตกต่างของส่ิงมีชีวิต
เหล่าน้ัน ความแตกต่างของส่ิงมีชีวิตที่ต่างชนิดกันมักจะมองเห็นได้อย่างชัดเจน นอกจากน้ียังพบว่าความแตกต่าง
เกิดขึ้นจากความแปรผันภายในส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันได้ แต่จะมีความแตกต่างน้อยกว่าท่ีเกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง
ชนิดกัน เราท้ังหลายถูกจัดอยู่ในกลุ่มของมนุษย์ เน่ืองจากเรามีลักษณะหลายอย่างเหมือนกัน และมนุษย์แต่ละคนมี
ความแตกตา่ งกัน แม้แตฝ่ าแฝดที่เป็นแฝดร่วมไข่ ถึงแม้ว่าจะมีหน้าตาใกล้เคียงกันมากท่ีสุด ก็ยังมีลักษณะแตกต่างกัน
ความแตกตา่ งดงั กล่าวเรยี กวา่ “ความแปรผนั ทางพันธุกรรม” (genetic variable)

ภาพแสดงการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม
(ท่มี า : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=444996)

15

ความแปรผันทางพนั ธุกรรม จาแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. ลักษณะที่มคี วามแปรผนั แบบไมต่ อ่ เนอ่ื ง (discontinuous variation) เปน็ ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถ
แยกความแตกตา่ งได้อย่างชัดเจนลักษณะความแปรผันไม่ต่อเน่ืองเกิดจากอิทธิพลทางพันธุกรรมเพียงอย่างเดียว เช่น
ลกั ษณะลกั ย้ิม (มลี ักย้มิ หรอื ไม่มีลกั ยิ้ม) ติ่งหู (มตี ง่ิ หหู รือไม่มีติ่งห)ู หอ่ ลนิ้ (ห่อลนิ้ ไดห้ รอื ห่อลิ้นไม่ได)้ เปน็ ต้น
2. ลักษณะที่มีความแปรผันแบบต่อเน่ือง (continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมท่ีไม่สามารถ
แยกความแตกต่างได้เด่นชัด เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรมและ
ส่ิงแวดล้อมร่วมกัน เช่นความสูงของคน ถ้าเราได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการมีการออกกาลังกายจะทาให้เรามี
ร่างกายสูงขึ้นได้
การค้นพบความรทู้ างพันธศุ าสตร์
เมนเดลไดท้ ดลองผสมถ่วั ลนั เตาทม่ี ลี ักษณะตา่ ง ๆ กนั 7 ลกั ษณะซึ่งกระจายอยู่บนโครโมโซมต่างท่อนกัน โดย
ได้ทาการทดลองนานถึง 7 ปี จึงพบกฏเกณฑ์การถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ และได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่ง
วชิ าพันธุศาสตร์ (Father of Genetics)

ภาพแสดงลักษณะของถว่ั ลันเตาทีเ่ มนเดลศกึ ษา
(ท่ีมา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=444996)

16

กฏการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของเมนเดล ที่สาคญั คือ
กฏข้อท่ี 1 กฏแห่งการแยก (Law of segregation) มสี าระสาคัญดงั นค้ี อื ยนี ที่อยคู่ กู่ นั จะแยกตัวออกจากกันไป
อยใู่ นแตล่ ะเซลล์สืบพันธ์ุเมอ่ื มีเซลล์สืบพนั ธเุ์ กิดขน้ึ
กฏข้อท่ี 2 กฏแหง่ การรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment)มีสาระสาคัญดังนี้คือ ยีนที่
เป็นคูก่ ันเมอื่ แยกออกจากกนั แล้ว แต่ละยีนจะไปกับยีนอื่นใดก็ได้อย่างอิสระนั่นคือเซลล์สืบพันธ์ุจะมีการรวมกลุ่มของ
หน่วยพันธกุ รรมของลักษณะตา่ ง ๆ โดยการรวมกลุ่มทเี่ ป็นไปอย่างอสิ ระ
ลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีนอกเหนือกฎของเมนเดล
คาร์ล คอร์เรนส์ (Karl Correns)นักพฤกษาศาสตร์ชาวเยอรมัน เป็นคนแรกที่ทดลองผสมต้นบานเย็นดอกสี
แดงกับดอกสีขาว พบวา่ มดี อกสีชมพู ถา้ เปน็ ไปตามกฎของเมนเดลจะไม่มีโอกาสเกิดดอกสีชมพู
1. ลกั ษณะเดน่ ร่วมกัน (Co-Dominant) การถ่ายทอดลักษณะนี้จะไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนท้ังสองที่
ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้เท่า ๆ กันจึงปรากฏลักษณะออกมาร่วมกันเช่น
การถ่ายทอดลักษณะหมู่เลือดระบบ ABO ถูกควบคุมด้วยยีนซึ่งมีอัลลีลเกี่ยวข้อง 3 อัลลีล คือ IA, IB, i โดยพบว่า
อัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็แสดงลักษณะเด่นเท่า ๆ กัน (อัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็เป็น Co – dominant
allele ส่วนอลั ลลี i เปน็ recessive allele)

ภาพแสดงลกั ษณะหมู่เลือดระบบ ABO ถูกควบคุมด้วยยีนซึง่ มีอัลลลี เกี่ยวข้อง 3 อลั ลีล
(ทีม่ า : https://sites.google.com/site/biobiobiotech/_/rsrc/1346867651018/chiw-molekul-khxng-sing-

mi-chiwit/xensim/15.jpg?height=400&width=391)

17

2. ลกั ษณะเดน่ ไม่สมบรู ณ์ (Incomplete Dominant) คอื การแสดงออกของยีนทเ่ี ป็นยีนเด่นไม่สามารถข่มยีน
ดอ้ ยได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของยีนทั้งสองแบบเป็นผสมกันหรือเป็นแบบกลาง ๆ ระหว่างสองลักษณะ
เชน่ สีดอกล้นิ มังกร

ภาพแสดงการยีนท้งั สองแบบเปน็ ผสมกันหรอื เป็นแบบกลาง ๆ ระหว่างสองลักษณะของสีดอกลน้ิ มงั กร
(ท่มี า : https://sites.google.com/site/celldisvisionandgenetics/_/rsrc/1467122246526/laksna-thang-

phanthukrrm-thi-nxk-henux-kd-mel-del/%E0%B8%B2.jpg?height=383&width=400)

3. มัลติเปิลอัลลีน (Multiple alleles) ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตอาจถูกควบคุมโดยยีนซึ่งมี

มากกว่า 2 อัลลีนก็ได้ ทาให้มีจีโนไทป์และฟีโนไทป์ได้มากมายหลายแบบ ยีนท่ีเป็นอัลลีนกันได้มากกว่า 2 ยีน ขึ้นไป
เรียกว่า มัลติเปิลอัลลีน ( multiple alleles ) ตัวอย่างเช่นหมู่เลือดระบบ ABO ควบคุมโดยยีน 3 อัลลีน คือ ยีน IA,
IB, และ i โดย IA, IB เป็นอัลลีลท่ีควบคุมการสังเคราะห์แอนติเจน A และ B ตามลาดับ ซึ่งต่างก็เป็นยีนเด่น

ท้ังคู่ ส่วน i เป็นอัลลีลท่ีทาให้เซลล์ไม่สามารถสังเคราะห์แอนติเจน A หรือ B ซ่ึงเป็นยีนด้อย หมู่เลือดของคนจึงมี

จโี นไทปแ์ ละฟีโนไทป์หลายแบบ ดงั นี้

จโี นไทป์ ฟีโนไทป์
IAIA และ IA i หมู่เลือด A
IBIB และ IB i หมเู่ ลือด B
IAIB หมเู่ ลอื ด AB
หม่เู ลือด O
ii

ตารางแสดงจโี นไทป์และฟโี นไทปห์ ม่เู ลอื ดของคน

18

โครโมโซมและยนี
DNA เปน็ สารพันธกุ รรมของสารสิ่งมชี วี ติ และบางสว่ นของ DNA ทาหน้าที่เป็นยนี คือสามารถควบคุมลักษณะ
ทางพันธกุ รรมของสง่ิ มชี ีวิตได้
DNA เป็นกรดนิวคลีอิกชนิดหน่ึง ซ่ึงเป็นพอลิเมอร์ (polymer) สายยาวประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือ
มอนอเมอร์ (monomer) ท่ีเรียกว่านิวคลโี อไทด์ซง่ึ แตล่ ะคลีนิวโอไทด์ประกอบดว้ ย
1. นา้ ตาลเพนโทสซึ่งมคี ารบ์ อน 5 อะตอม คือ น้าตาลดอี อกซไี รโบส
2. ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) เป็นโครงสร้างประกอบด้วยวงแหวนที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจน
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เบสพิวรีน (purine) มี 2 ชนิด คือ อะดีนีน (adenine หรือ A) และกวานีน (guanine
หรือ G) และ เบสไพรมิ ดิ ีน (pyrimidine) มี 2 ชนิด คือ ไซโทซนี (cytosine หรอื C) และ ไทมนี (tymine หรอื T)
3. หมู่ฟอสเฟต ( PO43- ) โครงสรา้ งของเบสและนา้ ตาลที่เปน็ องคป์ ระกอบของกรดนวิ คลีอกิ

ภาพ แสดงสว่ นประกอบนวิ คลีโอไทดซ์ ่ึงแต่ละคลีนิวโอไทด์
(ที่มา : https://il.mahidol.ac.th/e-media/ap-biology1/Chapter2/Picture_Chapter2/2.32.gif)
โครโมโซม คือ สารพนั ธุกรรมในร่างกายของมนุษย์เป็นตัวกาหนดลักษณะต่าง ๆ เช่น สีตา สีผม ลักษณะเส้น
ผม ลกั ษณะดวงตา สผี วิ และควบคุมการทางานของร่างกาย โครโมโซมอยู่ในเซลล์ทุกเซลล์ของร่างกาย ในคนท่ัวไปแต่
ละเซลล์จะมีจานวนโครโมโซมอยู่ 23 คู่ หรือ 46 แทง่ โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วยโครมาทิด (Chromatid)
2 โครมาทิดที่เหมือนกนั ซง่ึ เกิดจากการที่โครโมโซมจาลองตวั โครมาทิดท้ังสองมีส่วนที่ติดกันอยู่ เรียกว่า เซนโทรเมียร์
(Centromere) โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมรี ูปรา่ งลกั ษณะทเ่ี หมอื นกันเป็นคู่ ๆ แตล่ ะคู่เรยี กวา่ โฮโมโลกัสโครโมโซม
(homologous chromosome) สาหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน โดยข้ึนอยู่กับตาแหน่งของ
เซนโทรเมยี ร์ ซึ่งทาหนา้ ท่เี ปน็ แกนหลกั สาคัญการเคลื่อนไหวของโครโมโซมภายในเซลล์

19

ภาพโครงสรา้ งโครโมโซม
(ที่มา : https://static.trueplookpanya.com)
มกี ารแบง่ ชนดิ ของโครโมโซมท่ีหลากหลาย หากแบ่งตามคุณสมบัติหรือหน้าที่ของโครโมโซมจะแบ่งได้ 2 กลุ่ม
คือ ออโตโซม (Autosome) ซ่ึงควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกายยกเว้นลักษณะที่เกี่ยวกับเพศ และอีกกลุ่มคือ
โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) ซงึ่ ควบคุมลักษณะท่ีเก่ียวกับเพศโดยเฉพาะ
โครโมโซมของมนุษย์มีจานวน 23 คู่นั้น แบ่งเป็นเป็น ออโตโซม 22 คู่ อีก 1 คู่เป็น โครโมโซมเพศ ในหญิงจะ
เป็น XX ในชายจะเป็น XY โดยโครโมโซม Y จะมขี นาดเล็กและมยี นี อยู่เล็กน้อย

ภาพแสดงโครโมโซมของมนุษย์
(ทมี่ า : https://hd.co.th/system/redactor2_assets/images/1341/content_normal-chromosome1.jpg)

20

แตห่ ากแบ่งตามตาแหนง่ จุดเชือ่ มต่อของเซนโทรเมียร์ จะแบ่งได้ 4 กลมุ่ คือ
1. เมตาเซนตริก (Metacentric) คือ โครโมโซมท่มี ีจดุ เชื่อมอยู่ตรงกลางและทาให้แขนท้ังสองด้านที่ยื่นออกมา
ค่อนขา้ งเทา่ กัน
2. ซับเมตาเซนตริก (Submetacentric) คือ โครโมโซมท่ีมีจุดเชื่อมต่อค่อนไปด้านใดด้านหนึ่ง ทาให้แขนของ
โครโมโซมยน่ื ออกมาไม่เทา่ กนั
3. อะโครเซนทรกิ (Acrocentric) คือ โครโมโซมท่ีมีจุดเชื่อมต่ออยู่บริเวณเกือบจะปลายสุด ซ่ึงทาให้แขนของ
โครโมโซมดา้ นหนง่ึ ยืน่ ออกมาเป็นส่วนเล็ก ๆ
4. เทโลเซนทริก (Telocentric) คอื โครโมโซมท่ีมจี ดุ เชื่อมต่ออยบู่ ริเวณปลายสุดของแขนโครโมโซม

ภาพตาแหนง่ ของเซนโทรเมยี ร์
(ท่มี า : https://www.scimath.org/images/uploads/C3.jpg)
ในส่งิ มชี ีวิตทเี่ ซลลร์ า่ งกาย มีโครโมโซม 2 ชดุ เรยี กวา่ ดิพลอยด์ เช่น คน โดยโครโมโซมชุดหนึ่งได้รับมาจากพ่อ
อีกชุดหน่งึ ได้รบั มาจากแม่ เมื่อมกี ารแบง่ เซลล์แบบไมโอซสิ โครโมโซมท่เี ปน็ คู่กันจะมาเข้าคกู่ นั แลว้ แยกออกจากกันไปสู่
เซลล์ลูกที่สร้างข้ึน เม่ือเสร็จส้ินการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมในเซลล์ลูกที่ เกิดข้ึนจะลดลงครึ่งหนึ่งเรียกว่า
แฮพลอยด์ โดยท่วั ไปแล้วสิง่ มีชีวิตแตล่ ะสปีชสี ์จะมีจานวนโครโมโซมคงท่ีดังตารางข้างลา่ งนี้

ตารางแสดงจานวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายของส่ิงมชี ีวติ ตา่ ง ๆ
(ทมี่ า : http://www.thaischool1.in.th)

21

เน่ืองจากโครโมโซมสามารถถ่ายทอดลกัษณะต่าง ๆ จากรุ่นพ่อแม่ไปสู่ลูกหลานได้ โครโมโซมแต่ละแท่งจึง
ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 สว่ น คอื DNA และโปรตีน

1. ดีเอ็นเอ (DNA : Deoxyribonucleic Acid) เป็นสารพนธั ุกรรมทบี่ รรจุข้อมูลเกย่ี วกับลักษณะทางพันธุกรรม
ของส่งิ มีชีวิตไว้ มีลักษณะเป็นเกลยี วคู่

2. โปรตีน (Protein) ไม่ใช่สารพันธุกรรมแต่ทาหน้าท่ีสาคัญในเชิงโครงสร้างโดยช่วยในการขดตัวของสาร
ดเี อ็นเอใหส้ น้ั ลง

ภาพแสดงโครงสร้างของโครโมโซม
(ทม่ี า : https://i0.wp.com/ngthai.com)
โรคทางพนั ธุกรรม
โรคทางพนั ธกุ รรมสามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดงั นี้
โรคท่ีเกิดจากความผิดปกติบนออโตโซม (Autosome) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมใน
ร่างกายทมี่ ี 44 แท่ง หรอื 22 คู่ เปน็ ความผิดปกติที่สามารถเกิดข้ึนได้กับทุกเพศ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ความผิดปกตทิ จี่ านวนออโตโซม และความผดิ ปกติที่รปู ร่างโครโมโซม เชน่
ดาวน์ซินโดรม (Down's syndrome) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม โดยมีโครโมโซมคู่ที่ 21
เกนิ มา 1 แท่ง จากปกติที่มี 2 แทง่ นอกจากนอ้ี าจมสี าเหตุมาจากการย้ายทขี่ องโครโมโซมอีกด้วย ซ่ึงลักษณะของเด็กท่ี
ป่วยเป็นโรคดาวน์ซินโดรมนั้นจะมีศีรษะเล็ก ตาเฉียงข้ึน ดั้งจมูกแบน ล้ินยื่นออกมา ปากเล็ก มือส้ัน และอาจมีโรค
ประจาตวั ติดมาตงั้ แต่กาเนดิ เช่น โรคหวั ใจพกิ าร โรคลาไสอ้ ดุ ตัน ต่อมไทรอยด์บกพร่อง เป็นต้น โรคน้ีมักพบได้บ่อยใน
แมท่ ีต่ ั้งครรภเ์ ม่ืออายมุ าก

ภาพแสดง แครโี อไทป์ของกล่มุ อาการดาวนซ์ ินโดรม
(ทมี่ า : https://bangpo-hospital.com/wp-content/uploads/2019/07/71338408_m.jpg)

22

โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เกิดจากความผิดปกติของยีนทาให้ไม่สามารถควบคุมการผลิตฮีโมโกลบินให้
เป็นปกติได้ อาการเริ่มแรกจะคล้ายกับเด็กท่ีมีภาวะโลหิตจาง เช่น ผิวซีด ผิวเหลือง เหนื่อยง่าย การเจริญเติบโตช้า
ปัสสาวะสีเขม้ เปน็ ต้น การรกั ษาจะทาได้โดยการให้เลือด และการปลูกถา่ ยเซลล์ตน้ กาเนดิ จากผูอ้ ่นื

เอ็ดเวริ ์ดซนิ โดรม (Edwards syndrome) เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ท่ี 18 เกินมา 1 แท่งส่งผลให้
เดก็ มีความผิดปกตทิ างสติปญั ญา ปากแหว่ง เพดานโหว่ น้ิวมือบิดงอ และกาแน่นเข้าหากัน เป็นโรคท่ีทาให้เด็กเสียชีวิต
ตง้ั แต่อายยุ งั นอ้ ย

ภาพแสดง แครีโอไทป์ของกลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ดซินโดรม
(ทมี่ า : https://wikiimg.tojsiabtv.com/wikipedia/commons/thumb/5/56/Trisomia_18.jpg)
กลมุ่ อาการคริดูชาต์ หรือ แคทครายซินโดรม (cri-du-chat or cat cry syndrome) เกิดจากโครโมโซมคู่ท่ี 5
ขาดหายไปบางส่วน ทาใหผ้ ้ปู ่วยมีศรี ษะเล็กกวา่ ปกติ เกิดภาวะปัญญาออ่ น หน้ากลม ใบหูตา่ ตาหา่ ง หางตาชี้ นิ้วมือส้ัน
เจรญิ เตบิ โตไดช้ า้ เวลารอ้ งจะมเี สียงเหมือนแมว จงึ เปน็ ทม่ี าของชอื่ โรคนี้วา่ แคทครายซนิ โดรม (cat cry syndrome)

ภาพแสดง แครโี อไทปข์ องกลุ่มอาการคริดชู าต์
(ทีม่ า : https://res.cloudinary.com/dk0z4ums3/image/upload/v1645786005)
โรคที่เกิดจากความผิดปกติทถี่ า่ ยทอดทางพนั ธกุ รรมในโครโมโซมเพศ (Sex chromosome) เป็นโรคท่ีเกิดจาก
ความผดิ ปกตขิ องโครโมโซมเพศจานวน 1 คู่ หรือ 2 แท่ง ในผหู้ ญงิ จะเปน็ โครโมโซม XX ส่วนในผู้ชายจะเป็นโครโมโซม
XY จะมีโอกาสเกิดขึ้นมากในเพศใดเพศหน่ึง ตัวอย่างของโรคท่ีถ่ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมเพศ ได้แก่ โรคฮี
โมฟเี ลีย โรคตาบอดสี โรคบกพร่องทางเอ็นไซม์ เป็นต้น

23

ตาบอดสี (Color blindness) มักเปน็ โรคที่มมี าแตก่ าเนดิ และพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง อาการของผู้ที่
เป็นโรคนี้ คือ จะไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างสีเขียวกับสีแดง หรือสีน้าเงินกับสีเหลืองได้ โดยจะเกิดขึ้นกับ
ดวงตาทั้งสองขา้ ง และไม่สามารถรกั ษาได้

ฮโี มฟเี ลีย (Hemophilia) เป็นโรคเลือดไหลไม่หยุด หรือเลือดออกง่าย เพราะขาดสารท่ีทาให้เลือดแข็งตัว ซึ่ง
เกดิ จากความผดิ ของโครโมโซม x พบมากในเพศชาย อาการของโรคนี้คือ เลือดออกมาผิดปกติ ข้อบวม มักเกิดแผลฟก
ช้าข้นึ เอง เป็นตน้

มิวเทชัน
การกลายพันธ์ุ หรอื การผา่ เหล่า หรอื มิวเทช่ัน คอื สภาพของสิ่งมีชีวิตที่เกิดมีการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม
ทาให้พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่เกิดการกลายพันธุ์น้ัน เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เคยเป็น หรือ แตกต่างไปจาก
ประชากรของสิง่ มีชวี ิตชนิดน้ัน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของยีนของสิง่ มีชวี ติ นัน้
การกลายพนั ธ์ุ จดั วา่ เป็นกลไกหนึง่ ของการวิวฒั นาการ ซ่ึงอาจจะทาใหเ้ กดิ ลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตท่ีดีข้ึนกว่าเดิม
หรือ แยล่ งกว่าเดมิ ก็ได้ หรอื อาจจะทงั้ ไม่ดีขึน้ และไมแ่ ย่ลงเลยกไ็ ด้ ถา้ ดกี วา่ เดิมอาจทาให้ส่ิงมีชีวิตที่มีการกลายพันธุ์นั้น
อยรู่ อดในธรรมชาติไดด้ ีกว่าเดิม หรือถ้าแยก่ ว่าเดิมอาจทาใหส้ ่งิ มีชีวิตทม่ี ีการกลายพันธุ์น้ันเกิดโรค หรือ ภาวะต่าง ๆ ที่
ไมเ่ อ้อื อานวยต่อการดารงชวี ิตก็ได้
การกลายพนั ธุ์ทเ่ี ซลล์ร่างกาย (Somatic Cell) จะเกิดกบั ยนี (Gene) ในเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย อาจมีผลทา
ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของส่วนของรา่ งกายไปจากเดิม เชน่ เกิดเน้อื งอก โรคมะเรง็ เปน็ ต้น
การกลายพันธุ์ที่เซลล์สืบพันธ์ุจะเกิดกับยีนในเซลล์สืบพันธุ์ อาจทาให้ยีนหรือแอลลีลมีความผิดปกติ และ
สามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้ อาจส่งผลภาวะผิดปกติในรุ่นลูกรุ่นหลานได้ระดับของการกลายพันธ์ุ ท่ีเกิดขึ้นใน
สง่ิ มชี วี ิตมีอยู่ 2 ระดับ คอื
การกลายพนั ธใ์ุ นระดบั โครโมโซม (Chromosomal Mutation) คือ การกลายพันธ์ุ ทเ่ี กดิ จากการเปลี่ยนแปลง
ของโครโมโซมอาจจะเป็นการเปล่ียนแปลงโครงสร้างภายในของโครโมโซมหายไปหรือเพิ่มข้ึนบางส่วนและ
การเปล่ียนแปลงจานวนโครโมโซม เช่น การลดลงหรือเพิม่ ขนึ้ ของโครโมโซมบางแท่งหรือทั้งชุด เป็นสาเหตุของการเกิด
มิวเทชันระดับโครโมโซม เช่น กลุ่มอาการคริดูชาต์และกลุ่มอาการดาวน์กลุ่มอาการเทอร์เนอร์และกลุ่มอาการ
ไคลน์เฟลเตอร์
การกลายพันธ์ใุ นระดับยีนหรอื โมเลกุลของดีเอ็นเอ (DNA Gene Mutation) คือ เป็นการเปล่ียนแปลงของยีน
หรือ เปลย่ี นแปลงของนิวคลโี อไทดใ์ นโมเลกลุ ของดเี อ็นเอ
สาเหตุของการกลายพันธุ์
เกดิ ขนึ้ เองโดยธรรมชาติ (Spontaneous Mutation) หรือ เกดิ จากสิ่งกอ่ กลายพันธุ์ท่ีมอี ยู่ในธรรมชาติ เช่น ใน
การจาลองตัวเองของดีเอ็นเอ (DNA Replication) อาจมีการนาเบสที่ไม่ถูกต้องใส่เข้าไปในดีเอ็นเอ (DNA) สายใหม่,
รังสอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ โดยทไี่ ม่ได้เกดิ จากมนุษย์ใชส้ ารเคมีหรอื รงั สีเหนยี่ วนาให้เกิดการกลายพันธุ์

24

เกิดจากการเหน่ียวนา (Induced Mutation) เป็นการกลายพันธุ์ ท่ีมนุษย์ใช้สารเคมีหรือรังสี ทาให้ดีเอ็นเอ
(DNA) หรือ ยีน (Gene) หรือ อาร์เอ็นเอ (RNA) ของส่ิงมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงและเกิดลักษณะแปลกใหม่ท่ีกลาย
พันธไ์ุ ปจากเดิม สารเคมหี รือรังสีท่ีกอ่ ให้เกดิ การกลายพันธุ์น้ี เรียกวา่ “สงิ่ ก่อกลายพันธุ์ หรือ สารก่อกลายพนั ธุ์”

ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 รูปรา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
2. ใบกิจกรรมท่ี 4.2 โรคทางพันธุกรรม
3. ใบกิจกรรมท่ี4.3 การเกดิ มวิ เทชนั

กิจกรรมการเรียนรู้
(รปู แบบการสอบแบบสืบเสาะหาความร้ขู อง สสวท.)

1. ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement)
ครูสร้างความสนใจโดยการต้ังคาถาม การใช้เกม รูปภาพ แผนภูมิ วิดีโอ ส่ือจริงหรือจากสิ่งท่ีเชื่อมโยงกับ
ความรูเ้ ดมิ ของนักเรียน จากนัน้ ครูกบั นักเรียนร่วมกันกาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของประเด็นท่ีต้องการ
ศึกษาใหช้ ดั เจน
2. ขัน้ สารวจและค้นหา (Exploration) ให้นกั เรยี นรว่ มกันวางแผนในการกาหนดแนวทางในการสืบเสาะหา
ความรจู้ ากใบความรู้ใบกิจกรรม ส่ือจรงิ โมเดลหรือแพลตฟอร์มดจิ ิทัล ทากิจกรรมและค้นหาคาดคะเนคาตอบ กาหนด
ทางเลือกทีเ่ ป็นไปได้ และลงมือปฏิบัตสิ ารวจ ตรวจสอบ ค้นหา เพือ่ เกบ็ รวบรวมข้อมูล
3. ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation)
ให้นักเรียนนาข้อมูลท่ีได้จากการสืบเสาะหาความรู้มาอภิปรายร่วมกัน แล้ววิเคราะห์แปลผล สรุปผล เป็น
ความรู้ แล้วนาเสนอหน้าชน้ั เรียน จากนน้ั ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายผลการทากิจกรรม
4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
ใหน้ กั เรียนนาความรทู้ ีส่ ร้างข้นึ ใหมไ่ ปเช่อื มโยงกับชวี ิตประจาวนั เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในองค์ความรู้
ทไ่ี ดใ้ ห้กว้างขวางและลกึ ซ้ึงยิง่ ขึ้น
5. ขั้นประเมินผล (Evaluation)
- ประเมินจากใบกจิ กรรม
- ประเมินจากใบงาน
- ประเมินจากชน้ิ งาน
- ประเมินจากสมดุ บนั ทกึ ประจาวชิ าชีววทิ ยา
- ประเมนิ จากพฤติกรรมรายกลุ่ม และพฤตกิ รรมรายบุคคล
- ประเมนิ จากการตอบคาถามในชนั้ เรยี น
- ประเมินจากทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์

25

ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
- ส่อื จริง
- ภาพ
- วดี ีโอ
- โมเดล
- โปรแกรม PowerPoint
- ฐานข้อมูลอินเทอร์เน็ต
- หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม
- ใบความรู้
- แพลตฟอร์มดจิ ิทลั
- สอ่ื อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

การวัดและประเมินผล

การวัดการประเมิน วิธกี ารประเมิน

- ตรวจจากใบกจิ กรรมท่ี 4.1 รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

- ตรวจจากใบกจิ กรรมที่ 4.2 โรคทางพนั ธุกรรม

ด้านความรู้ (K) - ตรวจจากใบกจิ กรรมท่ี 4.3 การเกิดมวิ เทชัน

- ประเมนิ จากการตรวจสมดุ

- ประเมินจากการตอบคาถามในชัน้ เรยี น

ดา้ นทกั ษะ - สงั เกตจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการ (P) - สังเกตจากพฤติกรรมรายกลมุ่

ด้านคุณลักษณะ (A) - สังเกตจากพฤตกิ รรมรายบุคคล
1. มีวินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

26

เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน
- ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 รปู รา่ ง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม คะแนนคิดเปน็
- ใบกิจกรรมที่ 4.2 โรคทางพนั ธุกรรม รอ้ ยละ60 ขน้ึ ไป
- ใบกจิ กรรมท่ี 4.3 การเกิดมวิ เทชัน (ผา่ นเกณฑ)์
- สมุดจดบนั ทกึ
- ขอ้ คาถามในชนั้ เรียน คะแนนคิดเป็น
- แบบประเมนิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ร้อยละ60 ข้นึ ไป
- แบบสงั เกตพฤติกรรมรายกลุ่ม
(ผ่านเกณฑ)์
- แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล คะแนนคดิ เปน็
ร้อยละ60 ขน้ึ ไป
(ผ่านเกณฑ)์

27

บันทกึ ผลหลงั การสอน
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่.ี ........................เรอื่ ง.................................................................................................
ผลการเรียนรู้

1. กจิ กรรมการเรียนการสอนทกี่ าหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่เหมาะสม กับวัยของผู้เรียน
และเหมาะสมกบั สาระการเรียนรูส้ ามารถจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

 ไดต้ ามเวลาทกี่ าหนดทกุ กจิ กรรม

 ไม่ทนั ตามเวลาที่กาหนดในกจิ กรรมเนือ่ งจาก..................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

2. การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนครงั้ น้ี นกั เรยี นทกุ คนได้ร่วมกิจกรรมและเรียนรู้ อย่างมคี วามสขุ
3. กิจกรรมช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจตรงตามสาระการเรียนรู้ เกิดคุณลักษณะที่ พึงประสงค์และมี
ทักษะกระบวนการตามทีจ่ ุดประสงค์กาหนด
4. สอื่ การเรียนการสอนทกี่ าหนดในแผนการจัดการเรียนร้ไู ดใ้ ชส้ ือ่ หลายอย่าง เป็นสื่อ ท่ีเหมาะสมกับวัยผู้เรียน
สอดคลอ้ งกบั เนื้อหาสามารถใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่าง
สนกุ สนานและเข้าใจบทเรยี นได้เรว็ ย่ิงข้ึน
5. การวัดผลประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนคร้ังน้ีครอบคลุมพฤติกรรม ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ี
กาหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ผลการวัดผลและประเมนิ ผลสรปุ ได้ ดังน้ี
5.1 ดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจ (K)

- นักเรยี นผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรขู้ อ้ ท่ี .............................
- นักเรยี นที่ผา่ นจุดประสงคต์ ามเกณฑร์ อ้ ยละ.....................................จานวน...................................คน
เลขท่ี .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
- นักเรียนทไ่ี ม่ผ่านจุดประสงค์ จานวน............คน
เลขท่ี .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
และไดด้ าเนนิ การแก้ปญั หา คอื .…………………………………………………………………………………………………

 สอนเสรมิ  มอบงานให้ทาเพ่ิมเตมิ  ทารายงาน  อ่ืน ๆ...................
5.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)

- นกั เรยี นทผ่ี า่ นทักษะกระบวนการตามเกณฑ์รอ้ ยละ............................จานวน................................คน
เลขท่ี .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
- นักเรียนทไี่ ม่ผา่ นทักษะกระบวนการ จานวน............คน
เลขที่ .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................

28

5.3 ด้านค่านยิ ม (A)
- นักเรียนทม่ี ีค่านิยมตามเกณฑร์ ้อยละ จานวน............คน
เลขที่ .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
- นกั เรียนที่ต้องปรบั เปลี่ยนค่านิยม จานวน............คน
เลขท่ี .............................................................................................คิดเป็นร้อยละ..................................
และได้ดาเนินการปรับเปล่ียนค่านิยม (แจงรายละเอียดของการปรับเปลี่ยนค่านิยม)

คือ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.......................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

นวตั กรรมที่ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนในครั้งนี้ได้จัดทาสื่อการเรียนการสอนท่ีเป็นนวัตกรรม คือ (Power Point เรื่อง

…....................... , เอกสารประกอบการสอน เร่ือง .............................. , เกม ............................... , ฯลฯ )
ระบชุ ื่อนวตั กรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

วจิ ัยในชน้ั เรียน
ในการแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่ผ่านด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะกระบวนการ (ด้านค่านิยม) จึงได้

ทาการศึกษาค้นคว้าวิจัยในช้ันเรียนเร่ือง ......................................................................................................................
ผลที่ได้จากการวิจัย ปรากฏว่า นักเรยี น ............................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหาและอปุ สรรค……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการแกไ้ ขปญั หา……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชอ่ื ..........................................................ผู้สอน
(นางสาวพรรณิภา พอ่ ค้า)

...................../........................../.................

29

แผนการจดั การเรียนรู้รายช่ัวโมง

30

แผนการจดั การเรยี นรู้

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์เพื่อพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม รหัสวชิ า 20000-1305 จานวน 2 หน่วยกติ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม เรื่อง รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

ระดับช้ัน หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) เวลา 25 นาที

วนั ที่ 30 เดอื น มีนาคม 2565 ครผู ู้สอน นางสาวพรรณภิ า พ่อคา้

1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
- นักเรียนสารถสืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของโครโมโซม และหลักการจาแนก

โครโมโซม
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
- นกั รยี นสามารถสงั เกตและจาแนกรูปรา่ ง ลักษณะ และจานวนโครโมโซมได้
ด้านคุณลกั ษณะ (A)
- ใฝเ่ รียนรู้
- มวี นิ ยั
- มงุ่ มน่ั ในการทางาน

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
แสดงความรเู้ ก่ียวกบั การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฏของเมนเดล

3. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด)
โครโมโซม (chromosome) มีลักษณะเป็นเส้นยาวขดพันกันเป็นเกลียวอยู่ในนิวเคลียส เรียกว่า โครมาทิน

(chromatin) ซ่ึงในช่วงของการแบ่งเซลล์ โครโมโซมจะหดตัวสั้นและหนาที่ประกอบด้วยโครมาทิด 2 อัน ยึดกันตรง
ตาแหนง่ เซนโทรเมียร์ (centromere) แบ่งออกเปน็ 4 ชนดิ ไดแ้ ก่

- เมทาเซนทริก (metacentric) เป็นโครโมโซมที่มีตาแหน่งเซนโทรเมยี ร์อยู่ตรงกลาง
- ซบั เมทาเซนทรกิ (submetacentric) เปน็ โครโมโซมทีม่ ตี าแหนง่ เซนโทรเมียรอ์ ยูห่ ่างจากจุดกึ่งกลาง
เลก็ น้อย
- อะโครเซนทรกิ (acrocentric) เปน็ โครโมโซมท่ีมตี าแหนง่ เซนโทรเมยี รอ์ ยใู่ กลก้ บั ปลายโครมาทดิ
- ทโี ลเซนทรกิ (telocentric) เปน็ โครโมโซมที่มตี าแหน่งเซนโทรเมียรอ์ ย่ทู ี่ปลายโครมาทิด
ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมในคนปกตจิ ะมีโครโมโซมทง้ั หมด 46 แท่ง โดยอยู่กันเป็นคู่ ๆ คือ 23 คู่ ประกอบด้วยโครโมโซม
ชนิดทวั่ ไปท่เี รยี กว่า “Autosome 22 คู่ (44แท่ง) ส่วนอีก 1คู่ (2แท่ง) เรียกว่า “Sex chromosome” ที่จะต่างกันใน
เพศหญิงและในเพศชาย โดยเพศหญิง จะเปน็ “XX” ส่วนเพศชายจะเปน็ “XY”

31

4. สาระการเรียนรู้
โครโมโซม คือ สารพนั ธุกรรมในร่างกายของมนุษย์เป็นตัวกาหนดลักษณะต่าง ๆ เช่น สีตา สีผม ลักษณะเส้น

ผม ลักษณะดวงตา สผี ิวและควบคมุ การทางานของร่างกาย โครโมโซมอยู่ในเซลล์ทุกเซลล์ของร่างกาย ในคนทั่วไปแต่
ละเซลลจ์ ะมีจานวนโครโมโซมอยู่ 23 คู่ หรือ 46 แทง่

ลักษณะของโครโมโซม โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วยโครมาทิด (Chromatid) 2 โครมาทิดที่
เหมือนกัน ซ่ึงเกิดจากการท่ีโครโมโซมจาลองตัว โครมาทิดท้ังสองมีส่วนท่ีติดกันอยู่ เรียกว่า เซนโทรเมียร์
(Centromere) โครโมโซมในเซลล์รา่ งกายจะมรี ูปร่างลกั ษณะท่ีเหมือนกันเป็นคู่ ๆ แตล่ ะคูเ่ รยี กวา่ โฮโมโลกัสโครโมโซม
(homologous chromosome) สาหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน โดยข้ึนอยู่กับตาแหน่งของ
เซนโทรเมียร์ ซ่ึงทาหน้าท่เี ปน็ แกนหลกั สาคัญการเคลอ่ื นไหวของโครโมโซมภายในเซลล์

ภาพ โครงสรา้ งโครโมโซม
(ทมี่ า : https://static.trueplookpanya.com)
มกี ารแบ่งชนิดของโครโมโซมทหี่ ลากหลาย หากแบ่งตามคุณสมบัติหรือหน้าที่ของโครโมโซมจะแบ่งได้ 2 กลุ่ม
คอื ออโตโซม (Autosome) ซึ่งควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกายยกเว้นลักษณะที่เกี่ยวกับเพศ และอีกกลุ่มคือ
โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) ซง่ึ ควบคุมลกั ษณะที่เก่ยี วกับเพศโดยเฉพาะ
โครโมโซมของมนษุ ย์มจี านวน 23 คู่นั้น แบ่งเป็นเป็น ออโตโซม 22 คู่ อีก 1 คู่เป็น โครโมโซมเพศ ในหญิงจะ
เป็น XX ในชายจะเปน็ XY โดยโครโมโซม Y จะมขี นาดเล็กและมยี นี อยเู่ ล็กนอ้ ย

32

ภาพ แสดงโครโมโซมของมนุษย์
(ท่มี า : https://hd.co.th/system/redactor2_assets/images/1341/content_normal-chromosome1.jpg)

แตห่ ากแบง่ ตามตาแหนง่ จดุ เชอื่ มต่อของเซนโทรเมียร์ จะแบ่งได้ 4 กลุ่ม คอื
1. เมตาเซนตริก (Metacentric) คอื โครโมโซมท่ีมีจุดเชอ่ื มอยูต่ รงกลางและทาให้แขนท้ังสองด้านที่ย่ืนออกมา
ค่อนขา้ งเทา่ กัน
2. ซับเมตาเซนตริก (Submetacentric) คือ โครโมโซมที่มีจุดเชื่อมต่อค่อนไปด้านใดด้านหนึ่ง ทาให้แขนของ
โครโมโซมยนื่ ออกมาไม่เทา่ กนั
3. อะโครเซนทรกิ (Acrocentric) คือ โครโมโซมท่ีมีจุดเช่ือมต่ออยู่บริเวณเกือบจะปลายสุด ซึ่งทาให้แขนของ
โครโมโซมดา้ นหนึง่ ย่ืนออกมาเปน็ สว่ นเลก็ ๆ
4. เทโลเซนทรกิ (Telocentric) คือ โครโมโซมที่มีจดุ เช่ือมตอ่ อยบู่ รเิ วณปลายสดุ ของแขนโครโมโซม

ภาพ ตาแหน่งของเซนโทรเมียร์
(ท่มี า : https://www.scimath.org/images/uploads/C3.jpg)

33

6. ภาระชิ้นงาน/ภาระงาน
- ใบกจิ กรรมเรอื่ ง รปู ร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

7. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ขัน้ สร้างความสนใจ
1. ครูสร้างความสนใจผู้เรียนโดยครูนาดูภาพแคริโอไทป์ของคนมาให้นักเรียนดูแล้วครูต้ังคาถามว่า นักเรียน

สังเกตเห็นอะไรจากภาพนบ้ี ้าง
(แนวคาตอบ : แท่งโครโซมของคน)
- โครโมโซมแตล่ ะค่มู รี ูปร่าง เหมอื นกนั หรอื ไม่
(แนวคาตอบ : ไมเ่ หมอื นกัน)
- เขาใช้อะไรใชใ้ นการจบั คโู่ ครโมโซม
(แนวคาตอบ : ขนาด ความยาว และรูปรา่ งของโครโมโซม
2. ครตู ้ังคาถามเพ่ือนาไปสขู่ ั้นสารวจวา่ นักเรียนทราบหรอื ไม่ รูปรา่ งของโครโมโซม มลี กั ษณะอย่างไรบ้างโดยท่ี

ครไู ม่เฉลยคาตอบ

ภาพ แสดงโครโมโซมของมนุษย์
(ทีม่ า : https://hd.co.th/system/redactor2_assets/images/1341/content_normal-chromosome1.jpg)

ขน้ั สารวจและค้นหา
1. ครูแจกใบความรู้เรื่อง รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม ให้นักเรียนคนละ 1 ชุด เพื่อให้นักเรียนใช้
ประกอบกจิ กรรมการเรียนการสอน
2. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมจาแนกลักษณะรูปร่างของโครโซม โดยครูบอกวัตถุประสงค์ของการทากิจกรรม
และซแี้ จงการทากิจกรรม แนะนาอุปกรณใ์ นการทากจิ กรรม
3. ครเู ตรยี มโครโมโซมจาลองแบบตา่ ง ๆ ไว้ให้นกั เรียนจาแนกรปู รา่ ง ลักษณะของโครโมโซม

34

ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรุป
1. หลังจากการทากิจกรรมเสร็จแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหลักในการจัดกลุ่มของโครโมโซมที่
นกั เรียนได้จาแนกไว้ว่าทาไมนักเรียนถึงจาแจกโครโมโซมกลุ่มดังกล่าวเขา้ ด้วยกัน
2. จากนัน้ ครูนาภาพแคริโอไทปข์ องมนุษย์ซงึ่ นกั เรยี นควรจะสังเกตเหน็ ว่า เมื่อนาโครโมโซมมาเรียงแล้วจะเรยี ง
ได้เป็นคู่ ๆ แต่ละคู่มีรูปร่างลักษณะท่ีเหมือนกัน ซึ่งก็คือฮอมอโลกัสโครโมโซม จากนั้นครูอธิบายว่าถึงจานวนของ
โครโมโซมของสงิ่ มชี วี ติ ท่ตี ่างชนดิ กนั
3. ครูใหน้ กั เรยี นหยบิ แบบจาลองโครโมโซมท่ีนกั เรยี นได้จาแนกไว้ รปู รา่ งลักษณะละ 1 ช้ิน โดยแต่ละกลุ่มห้าม
หยิบโครโมโซมลักษณะทซ่ี ้ากบั เพ่ือน
4. ครูถามตาแหน่งเซนโทรเมียร์ของโครโมโซมแต่ละแบบที่นักเรียนหยิบข้ึนว่าเซนโทรเมียร์ของโครโมโซมท่ี
นักเรียนเลือกมาน้ันอยู่ตาแหน่งใดของโครโมโซม และบอกนักเรียนว่าเราสามารถจาแนกโครโมโซมได้ตามขนาดของ
โครโมโซมและตาแหน่งของเซนโทรเมียรโ์ ดยโครโมโซมอาจมีรูปร่างได้หลายแบบ เช่น อยู่กึ่งกลางโครโมโซมทาให้แขน
2 ข้างยาวใกล้เคียงกัน อยู่ค่อนมาทางด้านใดด้านหนึ่งของโครโมโซมทาให้แขน 2 ข้างยาวไม่เท่ากัน และอยู่ใกล้ส่วน
ปลายโครโมโซม
5. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ การจดั จาแนกโครโมโซมอีกครงั้ และนกั เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถาม
ขอ้ สงสยั เกีย่ วกบั รูปรา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม

ขนั้ ขยายความรู้
1. ครูขยายความรู้เพิ่มเติมให้แกน่ ักเรียนว่า ในปัจจุบันผสู้ ูงอายมุ กั จะมีความกังวลเกี่ยวกับการใช้ชีวิต ไม่อยาก
เป็นภาระกบั ลกู หลานเพราะสุขภาพไมแ่ ข็งแรง มีโรคประจาตวั ตา่ ง ๆ อนั เกดิ จากความเสื่อมของเซลล์ร่างกายดังนั้นคน
กลุ่มน้ีจึงหันมาดูแลสุขภาพถึง “ระดับเซลล์” เพื่อชะลอความเส่ือมของร่างกายและทาให้มีสุขภาพท่ีดี ปัจจัยท่ีสาคัญ
ท่สี ุดในการดแู ลเซลล์ร่างกาย คือ “เทโลเมียร์” ถ้าหากเทโลเมียร์ส้ันก็จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคมากมาย เพราะทุกคร้ังท่ี
เซลล์มีการแบ่งตัว โครโมโซมก็จะมีการแบ่งตัวด้วย พร้อมกับการหดส้ันลงของเทโลเมียร์ ส่งผลให้กระบวนการซ่อม
สร้างของร่างกายทาให้ร่างกายเสื่อมเส่ียงต่อโรคต่าง ๆ มากขึ้นและอายุส้ันลง เม่ือเทโลเมียร์สั้นลงสุดแล้ว เซลล์จะ
แบง่ ตัวต่อไม่ได้ แล้วจะเสื่อมสลายไปในท่ีสุด ดงั นนั้ การใช้ enzyme telomerase สามารถต่อความยาวของเทโลเมียร์
ได้ เมื่อเทโลเมียรย์ าวขึ้นจะทาให้ย้อนวัยขึน้ ได้

ขั้นประเมนิ
1. ประเมินจากการทาใบกิจกรรม เรอ่ื งรูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม
2. ประเมนิ จากการจาแนกรูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม
3. ประเมนิ จากการเขา้ รว่ มกิจกรรม

35

8. สอ่ื นวัตกรรมและแหล่งการเรียนรู้
- หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์เพ่อื พฒั นาอาชพี เกษตรกรรม
- ใบความรู้เรอื่ ง รูปร่าง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
- ส่อื PowerPoint เรือ่ ง รูปรา่ ง ลกั ษณะ และจานวนโครโมโซม
- สอ่ื โครโซมจาลอง

9. การวดั และการประเมินผล

การวดั การประเมนิ วธิ ีการ เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ

ด้านความรู้ (K) ตรวจใบกจิ กรรมที่ 1 ใบกิ จก ร ร มที่ 1 เ รื่ อ ง ได้คะแนนร้อยละ 60

1. นกั เรียนสารถสบื คน้ ขอ้ มูล เรื่อง รูปร่าง ลักษณะ รูปร่าง ลักษณะ และ ขน้ึ ไป “ผา่ น” เกณฑ์

และอธิบายโครงสร้างและ และจานวนโครโมโซม จานวนโครโมโซม

องคป์ ระกอบของโครโมโซม

และหลักการจาแนกโครโมโซม

ด้านทักษะกระบวนการ (P) ตรวจใบกิจกรรมท่ี 1 แ บ บ สั ง เ ก ต ทั ก ษ ะ ได้คะแนนร้อยละ 60

1. นักรียนสามารถสงั เกตและ เรื่อง รูปร่าง ลักษณะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ขน้ึ ไป “ผา่ น” เกณฑ์

จาแนกรูปรา่ ง ลกั ษณะ และ และจานวนโครโมโซม วทิ ยาศาสตร์

จานวนโครโมโซมได้

ด้านคุณลกั ษณะ (A) สังเกตจากการเข้าร่วม แ บ บ ป ร ะ เ มิ น สั ง เ ก ต ได้คะแนนร้อยละ 60
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. มีวนิ ัย กจิ กรรม พฤตกิ รรมเป็นรายบุคคล ขนึ้ ไป “ผ่าน” เกณฑ์
3. มุ่งมน่ั ในการทางาน

36

แบบสงั เกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

พฤติกรรม ทกั ษะ

ท่ี การสงั เกต การจดั จาแนก การลงความเหน็ ความถกู ตอ้ งของ
ชอื่ -สกลุ จากขอ้ มูล เนอ้ื หาและ
321 ประเด็นที่
321321 กาหนดให้

321

ลงช่ือ.......................................................ผ้สู ังเกต
(....................................................)
.............../............../...............

37

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบสังเกตทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ประเดน็ การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
1. การสังเกต
2. การจดั จาแนก 3 (ดีมาก) 2 (ดี) 1 (ปรบั ปรงุ )

3. การลงความเห็นจาก สามารถสงั เกตและจด สามารถสังเกตและจด ไมส่ ามารถสังเกตและจด
ข้อมูล
บนั ทึกได้อย่างถกู ตอ้ ง บันทกึ ได้บางข้ันตอน บนั ทกึ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
4. ความถกู ตอ้ งของ
เนอ้ื หาและประเดน็ ท่ี สามารถจัดจาแนกรูปร่าง สามารถจัดจาแนกรูปร่าง ไมส่ ามารถจัดจาแนกรูปร่าง
กาหนดให้
และลักษณะของโครโมโซม แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง และลักษณะของโครโมโซม

ได้อยา่ งถูกต้อง โครโมโซมไดบ้ า้ ง ได้

สามารถลงความเห็นได้ สามารถลงความเห็นได้ ไม่สามารถลงความเห็น โดย

อย่างถูกตอ้ งกระชับ ชัดเจน อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ก ร ะ ชั บ ไช้ข้อมูลได้

และครอบคลุมข้อมูลจาก ชัดเจนและครอบคลุม

การวิเคราะห์ท้ังหมดอย่าง ข้อมูลจากการวิเคราะห์

ครบถว้ น ทง้ั หมดแต่ไม่ครบถ้วน

สามารถตอบคาถามได้ สามารถตอบคาถามได้ ไม่สามารถตอบคาถาม

ทุกประเดน็ ทก่ี าหนดไว้ บางประเด็นทีก่ าหนดไว้ ตามประเดน็ ทีก่ าหนดไว้

ได้

38

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฎบิ ตั ิงานรายบุคคล

พฤติกรรม รายการประเมิน/ระดับคะแนน

ท่ี มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน หมายเหตุ
ชอ่ื -สกุล
432143214321

เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่ือ.......................................................ผสู้ ังเกต
ดีมาก = 4 (....................................................)
ดี = 3 .............../............../...............
พอใช้ = 2
ปรบั ปรงุ = 1

39

เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านรายบุคคล

คณุ ลักษณะท่พี ึง ระดบั คุณภาพ
ประสงค์
4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง)
1. มวี นิ ัย
แต่งกายถกู ระเบียบ แต่งกายถกู ระเบียบ แต่งกายถูกระเบยี บ แตง่ กายไมถ่ กู
2. ใฝเ่ รียนรู้
และประพฤตติ น และประพฤติตนตาม และประพฤตติ นตาม ระเบียบและไม่
3. มงุ่ มั่นในการ
ทางาน ตามข้อตกลงของ ข้อตกลงของ ขอ้ ตกลงของ ประพฤติตนตาม

ครผู ู้สอน เข้าเรียน ครูผสู้ อน เข้าเรียน ครูผู้สอน เข้าเรียน ขอ้ ตกลงของ

ตรงต่อเวลาและส่ง ตรงตอ่ เวลาและส่ง ตรงตอ่ เวลาและส่ง ครูผสู้ อนเข้าเรียน

งานในเวลาท่ี งานในเวลาที่กาหนด งานในเวลาทีก่ าหนด สายและส่งงานเกิน

กาหนดทุกครัง้ ประมาณร้อยละ 80 ประมาณรอ้ ยละ 50 เวลาทีก่ าหนดทุกครง้ั

นักเรียนมีความใสใ่ จ นกั เรยี นมคี วามใสใ่ จ นักเรียนมีความใส่ใจ นกั เรยี นไม่มคี วามใส่

กระตือรอื รน้ ชอบ กระตือรือรน้ ชอบ กระตอื รือร้นชอบ ใจกระตือรอื ร้นและ

ซักถามทุกครั้ง ซักถามบ่อยครั้ง ซักถามบางครั้ง ซักถาม

มีความเพียร มคี วามเพียรพยายาม มีความเพยี รพยายาม ไมม่ ีมีความเพยี ร

พยายามในการ ในการเรยี นรู้ และ ในการเรยี นรู้ และ พยายามในการ

เรียนรู้ และ เข้าร่วมกิจกรรมการ เข้ารว่ มกจิ กรรมการ เรียนรู้ และเข้ารว่ ม

เขา้ รว่ มกจิ กรรมการ เรียนรตู้ ่าง ๆ เรียนรตู้ า่ ง ๆ กิจกรรมการเรยี นรู้

เรียนรู้ตา่ ง ๆ เป็น ประมาณร้อยละ 80 ประมาณร้อยละ 50 ตา่ ง ๆ

ประจา


Click to View FlipBook Version