The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรภาษาไทย64 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ayapangung, 2021-05-02 08:41:00

หลักสูตรภาษาไทย64 (1)

หลักสูตรภาษาไทย64 (1)

1

ทาํ ไมตองเรียนภาษาไทย ความสาํ คญั
สาระการเรยี นรภู าษาไทย

ภาษาไทยเปน เอกลักษณข องชาตเิ ปนสมบัตทิ างวฒั นธรรมอนั กอใหเ กิดความเปน เอกภาพและ
เสริมสรางบคุ ลิกภาพของคนในชาติใหมคี วามเปน ไทย เปน เครือ่ งมือในการตดิ ตอสอ่ื สารเพ่อื สรางความเขาใจ
และความสัมพันธทดี่ ีตอกนั ทําใหสามารถประกอบกิจธรุ ะ การงาน และดํารงชีวติ รวมกัน ในสังคม
ประชาธปิ ไตยไดอยา งสันติสุข และเปนเครื่องมอื ในการแสวงหาความรู ประสบการณจ ากแหลงขอมลู สารสนเทศ
ตา งๆ เพื่อพัฒนาความรู พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห วจิ ารณ และสรา งสรรคใ หทันตอการเปลย่ี นแปลงทาง
สงั คม และความกาวหนา ทางวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนาํ ไปใชในการพัฒนาอาชพี ใหม ีความมน่ั คง
ทางเศรษฐกจิ นอกจากนย้ี งั เปน ส่ือแสดงภมู ปิ ญญาของบรรพบรุ ุษ ดานวฒั นธรรม ประเพณี และสนุ ทรยี ภาพ
เปน สมบตั ิลาํ้ คา ควรแกก ารเรียนรู อนรุ ักษ และสบื สาน ใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป

เรียนรูอ ะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเปนทักษะท่ีตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษาเพื่อการส่ือสาร การเรียนรูอยาง
มีประสิทธภิ าพ และเพ่อื นําไปใชในชีวติ จรงิ

• การอา น การอา นออกเสียงคํา ประโยค การอานบทรอยแกว คาํ ประพนั ธชนิดตา งๆ
การอานในใจเพ่ือสรางความเขา ใจ และการคิดวิเคราะห สังเคราะหความรจู ากส่ิงทอี่ าน เพื่อนําไป
ปรับใชในชีวติ ประจําวัน

• การเขยี น การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถ อยคําและรปู แบบตางๆ ของการ
เขียน ซ่งึ รวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตา งๆ การเขยี นตามจนิ ตนาการ วิเคราะหว จิ ารณ
และเขยี นเชงิ สรา งสรรค

• การฟง การดู และการพูด การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น
ความรสู กึ พดู ลาํ ดบั เรื่องราวตา งๆ อยางเปนเหตุเปน ผล การพดู ในโอกาสตา งๆ ทั้งเปน ทางการและ
ไมเ ปนทางการ และการพดู เพ่ือโนม นา วใจ

• หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของภาษาไทย การใชภ าษาใหถ ูกตองเหมาะสม
กบั โอกาสและบุคคล การแตงบทประพันธประเภทตา งๆ และอิทธิพลของภาษาตา งประเทศในภาษาไทย

• วรรณคดีและวรรณกรรม วเิ คราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพือ่ ศึกษาขอมูล แนวความคิด คุณคา
ของงานประพันธ และความเพลดิ เพลนิ การเรียนรูและทําความเขาใจบทเห บทรองเลนของเด็ก เพลงพื้นบา น
ท่ีเปนภมู ปิ ญ ญาท่ีมคี ุณคาของไทย ซึ่งไดถ ายทอดความรูสกึ นกึ คิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราว
ของสงั คมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือใหเ กดิ ความซาบซง้ึ และภาคภูมิใจบรรพบุรษุ ที่ไดส งั่ สมสบื
ทอดมาจนถึงปจ จุบนั

2

คุณภาพผเู รียน

จบชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๓

• อานออกเสียงคํา คาํ คลอ งจอง ขอความ เรอ่ื งสนั้ ๆ และบทรอ ยกรองงายๆ ไดถูกตอง
คลอ งแคลว เขาใจความหมายของคําและขอ ความที่อาน ตั้งคาํ ถามเชงิ เหตผุ ล ลาํ ดับเหตุการณ คาดคะเน
เหตุการณ สรุปความรขู อคิดจากเร่อื งทอี่ าน ปฏิบัติตามคําสัง่ คาํ อธิบายจากเรื่องที่อา นได เขา ใจความหมาย
ของขอ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ อา นหนงั สืออยางสมํ่าเสมอ และมีมารยาทในการอาน

• มีทกั ษะในการคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด เขยี นบรรยาย บันทกึ ประจาํ วนั เขยี นจดหมาย
ลาครู เขียนเรือ่ งเก่ยี วกบั ประสบการณ เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการและมีมารยาทในการเขยี น

• เลารายละเอียดและบอกสาระสาํ คญั ตง้ั คาํ ถาม ตอบคําถาม รวมทัง้ พูดแสดงความคดิ ความรูสกึ
เกยี่ วกับเร่ืองที่ฟงและดู พดู สื่อสารเลาประสบการณแ ละพูดแนะนํา หรือพดู เชญิ ชวนใหผ อู ่นื ปฏบิ ัตติ ามและ
มีมารยาทในการฟง ดู และพูด

• สะกดคําและเขาใจความหมายของคํา ความแตกตา งของคําและพยางค หนาที่ของคําในประโยค
มที ักษะการใชพจนานุกรมในการคนหาความหมายของคํา แตงประโยคงายๆ แตงคําคลองจอง แตง คําขวัญ
และเลือกใชภ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ

• เขาใจและสามารถสรุปขอคิดที่ไดจ ากการอา นวรรณคดีและวรรณกรรมเพือ่ นําไปใชใน
ชีวิตประจําวนั แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีท่อี าน รจู ักเพลงพ้นื บาน เพลงกลอมเด็ก ซง่ึ เปนวฒั นธรรมของ
ทองถิน่ รองบทรอ งเลนสาํ หรบั เด็กในทองถน่ิ ทอ งจําบทอาขยานและบทรอ ยกรองทีม่ คี ุณคาตามความสนใจได
จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

• อานออกเสียงบทรอ ยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมาย
โดยตรงและความหมายโดยนยั ของคํา ประโยค ขอความ สํานวนโวหาร จากเร่อื งท่ีอา น เขา ใจคาํ แนะนาํ
คาํ อธิบายในคมู ือตา งๆ แยกแยะขอคิดเหน็ และขอเทจ็ จรงิ รวมทงั้ จับใจความสําคญั ของเรอ่ื งท่ีอา นและนาํ
ความรูความคิดจากเร่ืองท่ีอานไปตดั สินใจแกปญ หาในการดําเนินชีวติ ได มมี ารยาทและมนี สิ ยั รกั การอา น
และเห็นคณุ คา สง่ิ ที่อาน

• มีทักษะในการคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสะกดคํา แตงประโยคและ
เขียนขอความ ตลอดจนเขยี นส่อื สารโดยใชถอ ยคําชดั เจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเร่อื งและแผนภาพ
ความคิด เพ่ือพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ยอความ จดหมายสวนตวั กรอกแบบรายการตา งๆ
เขียนแสดงความรสู ึกและความคดิ เห็น เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการอยา งสรา งสรรค และมีมารยาทในการเขยี น

• พูดแสดงความรู ความคิดเกี่ยวกับเรอื่ งท่ีฟง และดู เลาเร่อื งยอ หรอื สรปุ จากเร่ืองทฟ่ี ง และดู
ตง้ั คําถาม ตอบคําถามจากเร่อื งท่ีฟงและดู รวมทง้ั ประเมนิ ความนาเชือ่ ถือจากการฟง และดโู ฆษณาอยางมี
เหตุผล พูดตามลําดับข้ันตอนเร่ืองตา งๆ อยางชดั เจน พูดรายงานหรอื ประเดน็ คนควาจากการฟง การดู
การสนทนา และพูดโนม นาวไดอยา งมเี หตผุ ล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด

• สะกดคําและเขาใจความหมายของคาํ สํานวน คาํ พงั เพยและสภุ าษติ รแู ละเขาใจ ชนดิ และ
หนา ท่ีของคาํ ในประโยค ชนิดของประโยค และคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชค ําราชาศัพทและคํา
สุภาพไดอยางเหมาะสม แตงประโยค แตง บทรอยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสภุ าพ และกาพยยานี ๑๑

3

• เขา ใจและเหน็ คณุ คาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า น เลา นิทานพื้นบา น รอ งเพลงพน้ื บา นของ
ทอ งถิ่น นําขอ คดิ เหน็ จากเรื่องทอี่ า นไปประยุกตใชใ นชีวติ จรงิ และทอ งจําบทอาขยานตามท่กี ําหนดได
จบช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓

• อา นออกเสียงบทรอ ยแกว และบทรอยกรองเปน ทํานองเสนาะไดถกู ตอง เขา ใจความหมาย
โดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสาํ คัญและรายละเอยี ดของสิ่งท่ีอาน แสดงความคดิ เห็นและขอ
โตแยงเกยี่ วกับเร่ืองท่ีอา น และเขยี นกรอบแนวคดิ ผังความคิด ยอ ความ เขียนรายงานจากสง่ิ ที่อานได
วเิ คราะห วิจารณ อยางมเี หตผุ ล ลําดับความอยางมีขั้นตอนและความเปน ไปไดของเรอ่ื งที่อาน รวมท้งั
ประเมนิ ความถกู ตอ งของขอมูลทีใ่ ชส นับสนุนจากเรอ่ื งท่ีอา น

• เขียนส่อื สารดว ยลายมือท่อี านงา ยชัดเจน ใชถอ ยคําไดถูกตองเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคํา
ขวัญ คาํ คม คาํ อวยพรในโอกาสตางๆ โฆษณา คติพจน สุนทรพจน ชวี ประวัติ อตั ชีวประวตั แิ ละประสบการณ
ตางๆ เขยี นยอความ จดหมายกจิ ธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรูค วามคดิ
หรอื โตแยง อยา งมเี หตผุ ล ตลอดจนเขยี นรายงานการศึกษาคน ควาและเขยี นโครงงาน

• พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณ ประเมนิ ส่งิ ที่ไดจ ากการฟง และดู นาํ ขอคดิ ไป
ประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจําวนั พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ไดจ ากการศึกษาคนควา อยางเปน
ระบบ มศี ลิ ปะในการพูด พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค และพูดโนม นาวอยา งมเี หตุผลนาเช่อื ถือ
รวมทั้งมีมารยาทในการฟง ดู และพูด

• เขาใจและใชคาํ ราชาศัพท คําบาลสี นั สกฤต คําภาษาตางประเทศอนื่ ๆ คําทับศัพท และศัพท
บญั ญตั ใิ นภาษาไทย วิเคราะหความแตกตา งในภาษาพดู ภาษาเขยี น โครงสรา งของประโยครวม ประโยคซอน
ลกั ษณะภาษาท่ีเปนทางการ กึ่งทางการและไมเปนทางการ และแตงบทรอยกรองประเภทกลอนสภุ าพ กาพย
และโคลงสสี่ ภุ าพ

• สรปุ เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน วิเคราะหตวั ละครสําคัญ วถิ ชี ีวิตไทย และคุณคาท่ี
ไดรบั จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พรอมทั้งสรปุ ความรูขอคดิ เพอ่ื นาํ ไปประยุกตใชใ นชวี ิตจริง
จบชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๖

• อา นออกเสยี งบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทาํ นองเสนาะไดถูกตองและเขาใจ ตีความ
แปลความ และขยายความเร่ืองท่ีอานได วิเคราะหวิจารณเรือ่ งทอี่ าน แสดงความคิดเหน็ โตแ ยง และเสนอ
ความคิดใหมจ ากการอา นอยา งมเี หตผุ ล คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อา น เขยี นกรอบแนวความคดิ บันทึก
ยอความ และเขียนรายงานจากสิ่งท่ีอาน สงั เคราะห ประเมินคา และนําความรูค วามคิดจากการอานมา
พฒั นาตน พฒั นาการเรียน และพฒั นาความรูทางอาชีพ และ นาํ ความรูความคดิ ไปประยุกตใชแ กป ญหา
ในการดําเนินชีวติ มมี ารยาทและมีนสิ ยั รักการอาน

• เขยี นส่อื สารในรปู แบบตางๆ โดยใชภ าษาไดถูกตอ งตรงตามวัตถปุ ระสงค ยอความจากสื่อทม่ี ี
รปู แบบและเน้ือหาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคดิ เชิงสรา งสรรคโดยใชโ วหารตางๆ เขยี นบันทึก
รายงานการศึกษาคน ควา ตามหลกั การเขียนทางวชิ าการ ใชขอมลู สารสนเทศในการอางอิง ผลติ ผลงาน
ของตนเองในรูปแบบตางๆ ทงั้ สารคดีและบันเทิงคดี รวมทง้ั ประเมนิ งานเขียนของผอู ื่นและนํามาพัฒนา
งานเขยี นของตนเอง

4

• ตงั้ คาํ ถามและแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เรือ่ งทีฟ่ งและดู มีวจิ ารณญาณในการเลอื กเรื่องที่ฟง
และดู วิเคราะหว ัตถุประสงค แนวคดิ การใชภ าษา ความนาเช่อื ถือของเรื่องที่ฟง และดู ประเมนิ สง่ิ ท่ีฟง
และดูแลวนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นการดําเนนิ ชวี ิต มีทักษะการพูดในโอกาสตางๆ ทั้งท่ีเปนทางการและไมเปน
ทางการโดยใชภ าษาที่ถูกตอ ง พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนม นาว และเสนอแนวคดิ ใหมอยางมีเหตผุ ล
รวมทั้งมีมารยาทในการฟง ดู และพดู

• เขาใจธรรมชาตขิ องภาษา อิทธพิ ลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใชค ําและกลุมคําสรา ง
ประโยคไดตรงตามวัตถปุ ระสงค แตง คําประพันธประเภท กาพย โคลง รายและฉันท ใชภาษาไดเ หมาะสม
กบั กาลเทศะและใชคําราชาศัพทและคาํ สุภาพไดอยางถูกตอง วิเคราะหห ลกั การ สรา งคําในภาษาไทย
อทิ ธพิ ลของภาษาตา งประเทศในภาษาไทยและภาษาถ่ิน วเิ คราะหแ ละประเมินการใชภาษาจากสื่อสงิ่ พมิ พ
และสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส

• วเิ คราะหว ิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวจิ ารณวรรณคดีเบ้ืองตน รูและเขา ใจ
ลกั ษณะเดน ของวรรณคดี ภูมิปญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบา น เชอ่ื มโยงกบั การเรียนรู
ทางประวัตศิ าสตรแ ละวิถีไทย ประเมินคุณคา ดานวรรณศลิ ป และนาํ ขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม
ไปประยุกตใชในชวี ิตจรงิ

5

โครงสรา งหลกั สูตรกลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย
รายวชิ าภาษาไทย (พื้นฐาน)

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน ( ม. 1 – 3 )

6

โครงสรางรายวชิ า
กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ( ม. 1 – 3 )

วชิ าพน้ื ฐาน 60 ช่ัวโมง / ภาคเรียน 1.5 หนว ยกิต
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 60 ชั่วโมง / ภาคเรียน 1.5 หนวยกติ
60 ชว่ั โมง / ภาคเรยี น 1.5 หนว ยกติ
ท21101 ภาษาไทย 60 ชั่วโมง / ภาคเรียน 1.5 หนวยกิต
ท21102 ภาษาไทย 60 ชัว่ โมง / ภาคเรียน 1.5 หนวยกติ
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 60 ชว่ั โมง / ภาคเรยี น 1.5 หนว ยกติ
ท22101 ภาษาไทย
ท22102 ภาษาไทย
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3
ท23101 ภาษาไทย
ท23102 ภาษาไทย

วชิ าเพิ่มเตมิ

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 / 4 (ภาคเรยี นท่ี 2 )
ท22204 ภาษาไทยเพือ่ การเขียนเชิงวชิ าการ 40 ชัว่ โมง / ภาคเรยี น 1.0 หนวยกิต

วชิ าเพม่ิ เติมสูความเปน สากล
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 2 (ภาคเรยี นท่ี 2 )
IS20201 การศึกษาคน ควาและสรางองคค วามรู 40 ชว่ั โมง / ภาคเรยี น 1.0 หนว ยกติ
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 3 (ภาคเรยี นท่ี 1 ) ชั่วโมง / ภาคเรียน 1.0 หนวยกิต
IS20202 การสือ่ สารและการนําเสนอ 40

7

คําอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ท 21101 ภาษาไทย 1 กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.5 หนวยกติ ภาคเรียนที่ 1

ศึกษาหลักการอานออกเสียงบทรอยแกวท่ีเปนบทบรรยายและบทรอยกรอง ระบุเหตุและผลและ
ขอเท็จจริงกับขอคิดเห็นจากเร่ืองที่อาน ระบุและอธิบายคําเปรียบเทียบและคําท่ีมีหลายความหมาย ตีความ
คํายากในเอกสารวิชาการ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนบรรยายประสบการณ เขียน
เรียงความเชิงพรรณนา เขียนยอความและเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสาระจากสื่อตาง ๆ เขียนจดหมาย
สวนตัว จดหมายกิจธุระ พูดสรุปใจความสําคัญ เลาเรื่องยอ พูดแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคจากเร่ืองที่
ฟงและดู เสียงในภาษาไทย การสรางคําประสม คําซํ้า คําซอน คําพอง สํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต
สรุปเน้ือหา วิเคราะห และอธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน สรุปความรูและขอคิดจากการ
อา น ทอ งจาํ บทอาขยานและบทรอ ยกรองท่มี ีคุณคา ตามที่กําหนดและตามความเขาใจ

โดยใชกระบวนการทางภาษา กระบวนการอานคิดวิเคราะห การสืบคนความรู การจดบันทึก
ใชความสามารถในการคิด การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น การลงความคิดเห็น การตีความ การสรุป
ความ ฝกทกั ษะการอา นและการเขยี น การฟง การดูและการพูด เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจในการเรียนรู
ใชค วามสามารถในการสอื่ สารกับผอู ่นื ใหเขา ใจตรงกนั เหน็ คุณคา ของภาษาไทย

เพื่อใหเปนผูมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค มีมารยาทในการอาน เห็นคุณคาภาษาไทยซ่งึ เปนเอกลกั ษณ
ของชาติ รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน
รักความเปนไทยและมีจิตสาธารณะเพ่ือใหเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทย และ
รักษาไวเปนสมบัตขิ องชาติ เพือ่ นําความรไู ปประยกุ ตใ ชในการแกป ญ หาใหเ กดิ ประโยชนใ นชีวิต
รหัสตัวช้ีวดั

ท 1.1 ม.1/1, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/9
ท 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3,ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ท 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ท 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/6
ท 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5
รวม 23 ตวั ชี้วัด

8

ตวั ชว้ี ดั ท21101
1. อา นออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดถกู ตองตามลักษณะคําประพันธ มีมารยาทในการอาน
2. คดั ลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตวั อักษรไทยและเขียนส่ือสารไดอยางมี

ประสทิ ธภิ าพ
3. สรปุ เนอ้ื หาอธิบายคุณคา และขอคิด วเิ คราะหวรรณคดแี ละวรรณกรรมพรอมยกเหตผุ ลประกอบ

ใชว รรณศิลปในคําประพันธแ ละเห็นคุณคา ของสมบตั วิ รรณคดไี ทย
4. ทองจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองที่มคี ุณคา
5. เขยี นยอความจากส่ือตา ง ๆ และเขียนแสดงความคดิ เหน็ โดยใชถ อยคําอยางถูกตอง
6. อธบิ ายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทยได
7. ระบขุ อเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรอื่ งท่อี า น
8. พดู สรปุ ใจความสาํ คญั และแสดงความคิดเหน็ อยางสรางสรรคจ ากเร่ืองท่ีฟง และดู
9. การสรางคําในภาษาไทย
10.ตคี วามคํายากในเอกสารวิชาการ สรุปความรูและขอ คิดเห็นจากการอา น
11.เขยี นเรยี งความเชงิ พรรณนา เขียนบรรยายประสบการณ เขียนจดหมายสว นตัวและจดหมายกิจธรุ ะ
12.จําแนกและใชส าํ นวนท่ีเปน คําพังเพยและสุภาษิตได

ตารางวเิ คราะหเพื่อกาํ หนดเวลาและอัตราสวนคะแนน
รายวชิ า ภาษาไทยพน้ื ฐาน รหัส ท21101 ภาคเรียนท่ี 1จาํ นวน 1.5 หนว ยกิต

อัตราสวนคะแนน ระหวา งภาค : ปลายภาค 70:30

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 2 3 4 รวม
ตัวช้วี ัดขอที่ 123 456 7 8 9 10 11 12
235 555 - - - - - - 25
คะแนนกอนสอบกลางภาค 244 - 55 - - - - - - 20
คะแนนวดั ผลกลางภาค --- --- 2 3 5 5 5 5 25
คะแนนหลังสอบกลางภาค
--- --- 5 5 5 5 5 5 30
คะแนนวัดผลปลายภาค 20 25 25 30 100
รวม

9

โครงสรางรายวิชากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท21101 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชัว่ โมง จํานวน 1.5 หนวยกติ

ชื่อหนวย มาตรฐานการเรียนร/ู สาระการเรยี นรู เวลา กอน กลาง หลัง ปลาย รวม
ท่ี การเรยี นรู ตวั ชวี้ ดั - หลักการอา นออกเสยี งรอ ย (ช่ัว กลาง ภาค กลาง ภาค
แกว และรอ ยกรอง โมง) ภาค ภาค
ท 1.1
ม.1/1 อา นออกเสียงบท
รอ ยแกว และบทรอยกรอง - มารยาทในการอาน
ม.1/9 มารยาทในการอา น - คดั ลายมอื ตัวบรรจงครึง่
ท 2.1 บรรทดั
1 สมบัติ ม.1/1คดั ลายมือตัวบรรจง - สรุปเนอ้ื หาวรรณคดีและ 12 10 10 - - 20
วรรณคดี คร่ึงบรรทัด วรรณกรรมทอ่ี าน
ของไทย ท 5.1 - วรรณศลิ ปในวรรณคดไี ทย

ม.1/5 ทองจําบทอาขยาน - ทอ งจําบทอาขยานและบท
ตามทก่ี าํ หนดและบทรอ ย รอยกรองทม่ี คี ณุ คา
กรองทมี่ คี ณุ คาตามความ
สนใจ
ท 2.1 - เขียนสอ่ื สาร : เขยี นแนะนาํ
ม.1/2 เขยี นส่ือสารโดยใช ตนเอง เขียนแนะนําสถานท่ี
ถอ ยคาํ ถูกตอ งชดั เจน สําคัญ เขยี นบนสอื่
เหมาะสม และสละสลวย อิเล็กทรอนกิ ส
ม.1/5 เขียนยอ ความจาก - เขยี นยอ ความจากส่อื ตาง ๆ
สอื่ ตา ง ๆ - เขยี นแสดงความคดิ เห็นจาก
ม.1/6 เขียนแสดงความ ส่ือตา ง ๆ
2 นริ าศ คิดเหน็ จากสื่อตาง ๆ - เสยี งในภาษาไทย 15 15 10 - - 25
ภเู ขาทอง ท 4.1 - สรปุ เน้ือหาวรรณคดีและ

ม.1/1 อธบิ ายลักษณะ วรรณกรรมทอ่ี าน
ของเสียงในภาษาไทย
ท 5.1
ม.1/1 สรปุ เน้อื หา
วรรณคดีและวรรณกรรมท่ี
อาน 3 - - - - 20

สอบวัดผลกลางภาค

ท 1.1 - ระบุขอเทจ็ จริงและ
ม.1/3 ระบุขอ เทจ็ จริงและ ขอคิดเห็นจากเร่อื งที่อาน
โคลงโลก ขอ คิดเห็นจากเร่อื งท่ีอาน - พูดสรปุ ใจความสําคญั จาก
3 นิติ ท 3.1 เร่อื งทฟ่ี ง และดู 12 - - 10 15 25

ม.1/1 พูดสรปุ ใจความ - พดู แสดงความคดิ เหน็ อยาง
สาํ คัญของเรอื่ งท่ีฟง และดู สรา งสรรคจ ากเรือ่ งที่ฟงและดู

10

ชอ่ื หนว ย มาตรฐานการเรยี นรู/ เวลา กอน กลาง หลัง ปลาย รวม
ที่ การเรียนรู ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู (ชวั่ กลาง ภาค กลาง ภาค
โมง) ภาค ภาค
ม.1/3 พดู แสดงความ - การสรา งคาํ ประสม คําซ้าํ
คิดเห็นอยางสรา งสรรค คําซอน
จากเรอื่ งทีฟ่ งและดู - คาํ พอง
ท 4.1 - วเิ คราะหวรรณคดแี ละ
ม.1/2 การสรา งคาํ ประสม วรรณกรรมพรอ มยกเหตผุ ล
คําซํ้า คาํ ซอน ประกอบ
ท 5.1
ม.1/2 วเิ คราะหวรรณคดี
และวรรณกรรม พรอ มยก
เหตุผลประกอบ
ท 1.1 - ตีความคาํ ยากในเอกสาร
ม.1/5 ตคี วามคํายากใน วชิ าการ
เอกสารวิชาการ - เขยี นเรียงความเชิงพรรณนา
ท 2.1 - เขียนบรรยายประสบการณ
ม.1/2 เขยี นเรียงความ - เขียนจดหมายสว นตัวและ
เชิงพรรณนา จดหมายกจิ ธรุ ะ
ม.1/3 เขียนบรรยาย - สรุปความรแู ละขอ คิดจาก
ประสบการณ การอาน
ม.1/7 เขียนจดหมาย - สํานวนทีเ่ ปนคาํ พงั เพยและ
สวนตวั และจดหมาย สุภาษติ
กจิ ธุระ - อธิบายคณุ คา ของวรรณคดี
ท 3.1 และวรรณกรรมทอ่ี า น
4 สุภาษติ ม.1/1 พดู สรปุ ความรูและ - สรุปความรแู ละขอคิดจาก 15 - - 15 15 30
พระรวง ขอคิดจากการอาน การอานเพอื่ ประยุกตใ ชใ น

ท 4.1 ชีวิตจริง
ม.1/6 จาํ แนกและใช
สํานวนท่ีเปนคําพังเพย
และสภุ าษิต
ท 5.1
ม.1/3 อธบิ ายคุณคา ของ
วรรณคดแี ละวรรณกรรม
ทีอ่ า น
ม.1/4 สรุปความรูแ ละ
ขอ คิดจากการอา นเพ่อื
ประยุกตใ ชใ นชีวติ จรงิ

สอบวดั ผลปลายภาค 3 - - - - 30

รวมเวลาเรียนและคะแนน 60 25 20 25 30 100

11

คําอธบิ ายรายวิชา

กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย รหสั วิชา ท 21102 ภาษาไทย 2
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนว ยกิต ภาคเรียนที่ 2

ศึกษาหลักการอานจบั ใจความ ระบขุ อสงั เกตและความสมเหตสุ มผลของงานเขยี นประเภทชักจูง
โนมนา วใจ อา นและปฏบิ ัติตามเอกสารคูมือ วเิ คราะหคุณคาท่ีไดรับจากการอานงานเขียน เขียนรายงาน
เขยี นรายงานโครงงาน พูดประเมนิ ความนาเช่อื ถือท่ีมีเนื้อหาโนม นาว พูดรายงานการศึกษาคนควาจากแหลง
เรยี นรูตา ง ๆ ในชุมชนและทองถิ่นของตน ภาษาพดู ภาษาเขียน ชนดิ และหนา ท่ีของคํา แตง กาพยยานี 11
สรปุ เน้ือหา วเิ คราะหและอธิบายคณุ คาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน สรปุ ความรูและขอ คดิ จากการ
อาน ทองจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมคี ุณคา ตามที่กาํ หนดและตามความสนใจ

โดยใชกระบวนการทางภาษา กระบวนการกลมุ สมั พันธ จัดการเรียนรเู พื่อพฒั นาความคิด เรยี นรู
แบบโครงงาน ใหร ูวิธีการแกปญหาอยา งเปน ระบบ วางแผน คิดวิเคราะห ประเมินผล การแสดง ความคิดเหน็
การลงความคิดเห็น การตคี วาม การสรุปความ ฝกทักษะการอา นและการเขียน การฟงการดแู ละการพูด
เพ่อื ใหเ กดิ ความรู ความเขา ใจในการเรียนรู ฝกการเปน ผูนาํ และผูต าม มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
สามารถสรา งองคความรู นําเสนอความรู

เพ่อื ใหเปนผูมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค มีมารยาทในการ การเขยี น การฟง การดแู ละการพูด
มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีมารยาทในการใชภ าษา เห็นคุณคาภาษาไทยซ่ึงเปน เอกลกั ษณข องชาติ รกั ชาติ
ศาสน กษัตรยิ  ซื่อสตั ยสจุ ริต มีวนิ ัย ใฝเ รยี นรู อยูอยา งพอเพยี ง มุงมน่ั ในการทาํ งาน รกั ความเปน ไทย
และมีจติ สาธารณะเพ่ือใหเกิดการเรยี นรอู ยางมปี ระสิทธภิ าพ ภาคภูมใิ จในภาษาไทย และรักษาไวเ ปนสมบัติ
ของชาติ เหน็ คุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจาํ วนั
รหัสตัวช้ีวดั

ท 1.1 ม.1/2, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8
ท 2.1 ม.1/8, ม.1/9
ท 3.1 ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6
ท 4.1 ม.1/3,ม.1/4, ม.1/5
ท 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5
รวม 17 ตัวชี้วัด

12

ตัวชี้วัด ท21102
1. วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขยี น
2. คําเปรยี บเทียบและคาํ ที่มหี ลายความหมาย
3. เลาเรือ่ งยอ จากการฟง และดู มารยาทในการฟง การดูและการพดู
4. วิเคราะห สรุปเน้ือหา อธิบายคณุ คาและขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม พรอมยกเหตุผลประกอบ
5. ระบขุ อสงั เกตและความสมเหตสุ มผลของงานเขยี นประเภทชักจงู โนมนาวใจ ประเมินความนา เชอ่ื ถือ
ของสื่อท่ีมเี น้ือหาโนม นาวใจ
6. แตง บทรอยกรองประเภทกาพยย านี 11 ไดถูกตอ งตรงตามฉันทลักษณ
7. ทอ งจําบทอาขยานตามทกี่ าํ หนดและบทรอยกรองที่มคี ณุ คาตามความสนใจ
8. วิเคราะหค ุณคาท่ีไดรบั จากการอานงานเขยี นอยา งหลากหลายเพอ่ื นําไปใชแ กปญหาในชีวิตประจาํ วนั
9. เขียนรายงานการศึกษาคน ควาและโครงงานไดอยา งมีประสิทธิภาพ มีมารยาทในการเขียน
10.พดู รายงานเรื่องหรอื ประเดน็ ทศ่ี ึกษาคนควา จากแหลง เรยี นรตู า ง ๆ
11.จับใจความสาํ คัญจากเร่อื งที่อานและปฏิบัตติ ามเอกสารคมู ือ
12.วิเคราะหชนดิ และหนาที่ของคาํ ในประโยค

ตารางวเิ คราะหเ พื่อกําหนดเวลาและอัตราสวนคะแนน
รายวชิ า ภาษาไทยพืน้ ฐาน รหสั ท21102 ภาคเรียนท่ี 2 จาํ นวน 1.5 หนว ยกิต

อตั ราสวนคะแนน ระหวางภาค : ปลายภาค 70:30

หนวยการเรยี นรูที่ 1 2 3 4 รวม
ตวั ชี้วัดขอที่ 123 456 7 8 9 10 11 12
235 555 - - - - - - 25
คะแนนกอ นสอบกลางภาค 244 - 55 - - - - - - 20
คะแนนวัดผลกลางภาค --- --- 2 3 5 5 5 5 25
คะแนนหลงั สอบกลางภาค
--- --- 5 5 5 5 5 5 30
คะแนนวดั ผลปลายภาค 20 25 25 30 100
รวม

13

โครงสรา งรายวิชากลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย

รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท21102 กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จาํ นวน 1.5 หนวยกติ

ชือ่ หนว ย มาตรฐานการเรยี นร/ู เวลา กอน กลาง หลัง ปลาย รวม
ที่ การเรยี นรู ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู (ชัว่ กลาง ภาค กลาง ภาค
โมง) ภาค ภาค
ท 1.1 - คาํ เปรยี บเทยี บและคาํ ทม่ี ี
ม.1/4 ระบแุ ละอธบิ าย หลายความหมาย
คําเปรยี บเทยี บ และคาํ ทม่ี ี - เลาเรื่องยอ จากเร่ืองท่ฟี ง
หลายความหมายในบริบท และดู
ตางๆ จากการอาน - ภาษาพดู ภาษาเขยี น
ท 3.1 - อธบิ ายคุณคาและขอ คิด
ม.1/2 เลาเรื่องยอจาก จากวรรณคดแี ละ
เรื่องทฟ่ี งและดู วรรณกรรมที่อาน
ท 4.1 - สรุปความรูแ ละขอ คดิ จาก
1 นทิ าน ม.1/4 วิเคราะหค วาม การอา น 12 10 10 - - 20
พนื้ บา น แตกตา งของภาษาพูดและ

ภาษาเขียน
ท 5.1
ม.1/3 อธิบายคณุ คา และ
ขอ คดิ จากวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมทอี่ า น
ม.1/4 สรปุ ความรแู ละ
ขอ คิดจากการอานเพอ่ื
ประยุกตใ ชในชวี ิตจริง
ท 1.1 - ระบุขอ สงั เกตและความ
ม.1/6 ระบขุ อ สังเกตและ สมเหตุสมผลของงานเขยี น
ความสมเหตสุ มผลของงาน ประเภทชักจูง โนม นาวใจ
เขียนประเภทชักจูง - ประเมินความนา เช่ือถอื
โนมนา วใจ ของสือ่ ทมี่ ีเนอ้ื หาโนมนาวใจ
ท 3.1 - มารยาทในการฟง การดู
ม.1/4 ประเมินความ และการพดู
กาพยพระ นาเชื่อถือของสื่อที่มีเนือ้ หา - แตงกาพยย านี 11
2 ไชยสรุ ิยา โนมนาวใจ - ทองจําบทอาขยานและบท 15 15 10 - - 25

ม.1/6 มารยาทในการฟง รอยกรองท่มี คี ุณคา
การดูและการพดู
ท 4.1
ม.1/5 แตง กาพยย านี 11
ท 5.1
ม.1/5 ทอ งจาํ บทอาขยาน
และบทรอยกรองทม่ี คี ุณคา

14

ช่อื หนว ย มาตรฐานการเรยี นร/ู เวลา กอน กลาง หลงั ปลาย รวม
ท่ี การเรยี นรู ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู (ชวั่ กลาง ภาค กลาง ภาค
โมง) ภาค ภาค
3 - - - - 20
สอบวดั ผลกลางภาค

ท 1.1 - วเิ คราะหค ณุ คาทไี่ ดร ับจาก
ม.1/8 วเิ คราะหค ุณคาที่ การอา น : อา นหนังสือตาม
ไดร ับจากการอา น ความสนใจ
ท 2.1 - เขียนรายงาน 12 - - 10 15 25
ม.1/8 เขียนรายงาน - เขยี นรายงานโครงงาน
กาพยเ หชม การศกึ ษาคนควาและ - มมี ารยาทในการเขียน
3 เครอื่ งคาว โครงงาน - พดู รายงานการศกึ ษา
หวาน ม.1/9 มมี ารยาทในการ คน ควาจากแหลงเรียนรตู า ง
เขยี น ๆ
ท 3.1
ม.1/5 พูดรายงาน
การศึกษาคน ควา จากแหลง
เรยี นรตู างๆ
ท 1.1 - อานจบั ใจความสาํ คญั จาก
ม.1/2 จบั ใจความสาํ คญั ส่อื ตา ง ๆ
จากเร่อื งทีอ่ า น - ชนดิ และหนาท่ขี องคํา
ม.1/7 อานและปฏิบตั ิตาม - สรุปเนื้อหาวรรณคดแี ละ
เอกสารคมู ือ วรรณกรรมทอี่ า น
ท 4.1 - วเิ คราะหวรรณคดีและ
ม.1/3 วเิ คราะหช นดิ และ วรรณกรรม พรอมยกเหตุผล
4 ราชาธริ าช หนาท่ีของคาํ ในประโยค ประกอบ 15 - - 15 15 30
ตอนสมิง ท 5.1 - สรุปความรูและขอคิดจาก
พระราม
อาสา ม.1/1 สรุปเนื้อหาวรรณคดี การอาน
และวรรณกรรมที่อา น
ม.1/2 วเิ คราะหวรรณคดี
และวรรณกรรม พรอมยก
เหตผุ ลประกอบ
ม.1/4 สรปุ ความรแู ละ
ขอคิดจากการอา น
3 - - - - 30
สอบวัดผลปลายภาค

รวมเวลาเรยี นและคะแนน 60 25 20 25 30 100

15

รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท22101 คาํ อธิบายรายวิชา กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จํานวน 1.5 หนวยกิต
การอา นออกเสียงประกอบดว ย บทรอ ยแกวทเ่ี ปน บทบรรยายและบทพรรณนา บทรอยกรอง เชน
กลอนบทละคร กลอนนิทาน กลอยเพลงยาว และกาพยหอโคลง การอานจับใจความสําคัญ จากสื่อตาง ๆ
เชน วรรณคดีในบทเรยี น บทความ บนั ทึกเหตุการณ บทสนทนา บทโฆษณา งานเขยี นประเภทโนมนา วใจ
งานเขยี นบทความแสดงขอ เท็จจริง เรอื่ งราวจากบทเรียนในกลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระ
การเรียนรูอ น่ื เขยี นผังแสดงความคิด อภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอโตแ ยง เกีย่ วกับเรื่องท่ีอา น และ
มีมารยาทในการอาน
การคัดลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรูปแบบ การเขียนตัวอกั ษรไทย การเขียนบรรยายและ
พรรณนา การเขียนเรียงความเกย่ี วกบั ประสบการณ การเขียนยอความจากสื่อตา ง ๆ เชน นทิ าน คาํ สอน
บทความทางวิชาการ บนั ทึกเหตกุ ารณ เรอ่ื งราวในบทเรยี นในกลุมสาระการเรียนรูอ น่ื นิทานชาดก และ
มมี ารยาทในการเขียน
การพดู สรุปความจากเร่ืองท่ีฟงและดู การพดู วิเคราะหว ิจารณจากเร่ืองท่ีฟงและดู
การวเิ คราะหและวจิ ารณเ รื่องท่ฟี ง และดูอยา งมีเหตผุ ลเพือ่ นาํ ขอ คดิ มาประยกุ ตใชใ นการดําเนินชีวิต และ
มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด
การสรางคําสมาส ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย ประโยคสามญั ประโยครวม
ประโยคซอน และกลอนสุภาพ
วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกบั ศาสนา ประเพณี พธิ ีกรรม สุภาษิต คาํ สอน เหตกุ ารณ
ประวตั ิศาสตร บันเทิงคดี บันทึกการเดนิ ทาง การวเิ คราะหคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา น
การทอ งจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทรอ ยกรองท่มี ีคุณคาตามความสนใจ
มีทักษะการอา น การเขยี น การฟง ดูและการพูด การใชภ าษา การสืบคน การประเมนิ
โดยใชก ระบวนการปฏิบัติ กระบวนความรูความเขา ใจ กระบวนการกลุม กระบวนการแกปญหา
กระบวนการสรางความตระหนกั กระบวนการสรา งเจตคติ กระบวนการสรา งคา นิยม กระบวนการคิด
วจิ ารณญาณ การบวนการเรยี นทางภาษา
เพ่ือใหเกดิ ความเขาใจและมสี มรรถนะสาํ คญั ในการสื่อสาร การคดิ การแกป ญ หา การใชเทคโนโลยี
ทกั ษะชวี ิต ตลอดจนมีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค รกั ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ  มนี สิ ยั ใฝเรยี นรู
รกั ความเปนไทย อยูอยา งพอเพยี ง มงุ มน่ั ในการทํางาน ซื่อสตั ยส จุ รติ มีวินยั และมจี ิตสาธารณะ

รหัสมาตรฐาน / ตวั ช้ีวดั
ท 1.1 / ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/8
ท 2.1 / ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/8
ท 3.1 / ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/6
ท 4.1 / ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3
ท / 5.1ม 1/2.ม 2/2.ม 3/2.ม5/2.

รวมทัง้ หมด 21 ตวั ชี้วัด

16

ตวั ชีว้ ัด ท21101
1. อา นออกเสียงบทรอ ยแกว และบทรอยกรองไดถกู ตองตามลักษณะคําประพันธ มมี ารยาทในการอาน
2. คดั ลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอกั ษรไทยและเขยี นส่ือสารไดอยางมี

ประสิทธภิ าพ
3. สรปุ เน้ือหาอธบิ ายคุณคา และขอคิด วิเคราะหวรรณคดแี ละวรรณกรรมพรอมยกเหตผุ ลประกอบ

ใชว รรณศลิ ปในคําประพนั ธและเห็นคณุ คาของสมบตั ิวรรณคดีไทย
4. ทอ งจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองทมี่ ีคุณคา
5. เขียนยอ ความจากส่ือตาง ๆ และเขียนแสดงความคิดเห็นโดยใชถ อ ยคาํ อยางถกู ตอง
6. อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทยได
7. ระบขุ อเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องทอี่ าน
8. พูดสรุปใจความสําคญั และแสดงความคิดเหน็ อยางสรา งสรรคจากเรื่องที่ฟงและดู
9. การสรา งคาํ ในภาษาไทย
10.ตคี วามคํายากในเอกสารวชิ าการ สรปุ ความรูและขอคดิ เห็นจากการอาน
11.เขยี นเรียงความเชงิ พรรณนา เขียนบรรยายประสบการณ เขยี นจดหมายสวนตวั และจดหมายกจิ ธุระ
12.จําแนกและใชส ํานวนทเี่ ปนคําพงั เพยและสภุ าษติ ได

ตารางวเิ คราะหเพ่ือกาํ หนดเวลาและอตั ราสวนคะแนน
รายวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน รหัส ท21101 ภาคเรยี นที่ 1จํานวน 1.5 หนว ยกติ

อัตราสวนคะแนน ระหวางภาค : ปลายภาค 70:30

หนวยการเรยี นรูที่ 1 2 3 4 รวม
ตวั ชว้ี ดั ขอ ท่ี 123 456 7 8 9 10 11 12
235 555 - - - - - - 25
คะแนนกอนสอบกลางภาค 244 - 55 - - - - - - 20
คะแนนวัดผลกลางภาค --- --- 2 3 5 5 5 5 25
คะแนนหลงั สอบกลางภาค
--- --- 5 5 5 5 5 5 30
คะแนนวดั ผลปลายภาค 20 25 25 30 100
รวม

17

โครงสรา งรายวชิ ากลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย

รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท22101 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จาํ นวน 1.5 หนวยกติ

กอน กลาง หลัง ปลาย รวม
ช่อื หนวยการ มาตรฐานการเรียนร/ู เวลา กลา ภาค กลาง ภาค
ท่ี เรยี นรู ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู (ชัว่ โมง) ง ภาค

-หลักการอา นออกเสยี ง ภาค

ท 1.1 บทรอ ยแกว บทรอ ย
ม.2/1 อานออกเสียงบท กรอง
รอ ยแกวและรอยกรองได -จับใจความสําคญั สรปุ
ถูกตอง ม.2/8 มมี ารยาท ความและอธิบาย
ในการอา น รายละเอียดจากเรื่องท่ี
ท 2.1 อา น
ม.2/1 คดั ลายมอื ตวั -เขยี นแผนภาพ
บรรจงคร่ึงบรรทัด ความคิดเพอื่ แสดง
ศลิ ปะการ ท 3.1 พดู สรุปใจความ ความเขา ใจในบทเรยี น
1 ประพนั ธใ น สําคัญของเรือ่ งที่ฟง และดู -แสดงความคดิ เห็นและ 14 15 - - - 15
วรรณคดีไทย ม.2/6 มีมารยาทในการ ขอโตแ ยงกบั เรื่องที่อาน
ฟง การดแู ละการพดู -คดั ลายมือตัวบรรจง
ม. 2/3เขียนผังความคดิ คร่ึงบรรทัด
เพ่อื แสดงความเขา ใจใน -ความรูเ ก่ยี วกับ
บทเรียนตา งๆ ทีอ่ า น หลักการพูด
ท 5.1 สรปุ เนื้อหา -มารยาทในการพดู
วรรณคดีและวรรณกรรมที่
อา นในระดบั ทยี่ ากข้ึน
ม.2/2 วเิ คราะหและ
วจิ ารณว รรณคดี
ท 1.1 ลักษณะคาํ ประพันธ
ม.2/2 จบั ใจความสาํ คญั โคลงสสี่ ุภาพ
สรุปความและอธบิ าย -วิเคราะหค ณุ คา จาก
รายละเอยี ดจากเรือ่ งท่ี เรือ่ ง
อา น -ทอ งจําคําประพันธ
ม.2/6 ระบุขอ สงั เกตการ -การเขยี นยอความจาก
2 โคลงภาพพระ ชวนเช่อื การโนม นา วหรือ ส่ือตางๆ 14 10 - - - 10
ราชพงศาวดาร ความสมเหตสุ มผลของ -การเขียนเรียงความ

งานเขยี น
ท 2.1
ม.2/3 เขียนเรียงความ
ม.2/4 เขียนยอความ
ท 3.1

18

กอ น กลาง หลัง ปลาย รวม
ช่ือหนวยการ มาตรฐานการเรียนร/ู เวลา กลา ภาค กลาง ภาค
ที่ เรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู (ชว่ั โมง) ง ภาค

ม.2/3 วเิ คราะหและ ภาค
วิจารณเ รือ่ งท่ีฟงและดู

อยา งมเี หตผุ ล เพอ่ื นาํ 3 - 20 - - 20
ขอ คดิ มาประยกุ ตใ ชใน 8 - 10
การดาํ เนนิ ชีวิต 10
ท 5.1 12 -- 5
ม.2/5ทองจําบทอาขยาน 5
ตามทีก่ าํ หนดและบทรอ ย
กรองทมี่ ีคณุ คา ตามความ
สนใจ
สอบวดั ผลกลางภาค

ท 1.1 สรปุ ความรแู ละขอคดิ
ม.2/2จับใจความสาํ คญั จากเรอื่ ง
สรุปความและอธบิ าย -วิเคราะหคณุ คา จาก
3 บทเสภาสามัคคี รายละเอยี ดจากเรอ่ื งทีอ่ าน เร่อื ง
เสวก ตอนวศิ กรร ท 2.1 -แตง กลอนสภุ าพ
มาและสามคั คี ม. 2/2 การเขยี นบรรยาย -การเขยี นบรรยาย
เสวก และพรรณนา -การเขยี นพรรณนา

ม.2/8 มมี ารยาทในการ
เขียน
ท 1.1
ม. 2/3 เขียนผงั ความคดิ -วเิ คราะหคณุ คา ดาน
เพือ่ แสดงความเขา ใจใน เนือ้ หา ภาษา สงั คม
บทเรยี นตางๆ ที่อาน -พูดสรุปใจความสําคญั
ท 3.1 ของเรอื่ งทฟี่ งและดู
ม.2/2 วเิ คราะหขอเทจ็ จรงิ -วเิ คราะหขอ เทจ็ จรงิ
4 ศลิ าจารกึ ขอคดิ เห็นและความ ขอคิดเหน็
หลกั ท่ี 1 นา เช่อื ถือของขาวสารจาก -วิเคราะหว ิจารณเ รื่องที่

ส่ือตา งๆ ฟงและดู
ท 5.1
ม.2/1สรปุ เนือ้ หาวรรณคดี
และวรรณกรรมท่อี าน

บทละครเรื่อง ท 1.1 -การอานกลอนบท
รามเกียรติ์ ม.2/8 มมี ารยาทในการ ละคร
5 ตอน นารายณ อา น -การเลาเรอ่ื ง ยอ เร่ือง 8 - - 10 - 10
ปราบนนทก ท 2.1 -การพินิจคุณคา
ม2./7 เขยี นวเิ คราะห -การเขียนแสดงความ

19

กอน กลาง หลงั ปลาย รวม
ช่ือหนว ยการ มาตรฐานการเรยี นรู/ เวลา กลา ภาค กลาง ภาค
ที่ เรียนรู ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู (ชวั่ โมง) ง ภาค

วจิ ารณ และแสดงความรู คดิ เหน็ ภาค

ความคิดเหน็ - คําบาลี สันสกฤต
ท 4.1 -การสรา งคาํ สมาส
ม.2/1 สรา งคําใน -วิเคราะหโ ครงสรา ง
ภาษาไทย ประโยค
ท 5/1
ม.2/1 สรุปเนือ้ หา
วรรณคดแี ละวรรณกรรม
ม.2/3 อธิบายคณุ คาของ
วรรณคดีและวรรณกรรมท่ี
อา น

สอบวดั ผลปลายภาค 3 - - - 30 30

รวมเวลาเรียนและคะแนน 60 25 20 25 30 100

20

คําอธบิ ายรายวิชา

รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท22102 กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จํานวน 1.5 หนว ยกติ

การวิเคราะหจําแนกขอเท็จจริงขอคิดเห็น จากวรรณคดีในบทเรยี น บอกขอ สังเกตงานเขียนประเภท
โนมนาวใจและบทโฆษณา อานตามความสนใจจาก เชน หนังสืออานนอกเวลา หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
เหมาะสมกบั วัย หนงั สอื อา นทคี่ รแู ละนักเรยี นกําหนดรว มกัน

การเขียนรายงาน การเขียนรายงานจาการศึกษาคนควา เขียนรายงานโครงงาน การเขียนจดหมาย
กิจธุระ จดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห การเขียนวิเคราะหวิจารณ และแสดงความรู
ความคิดเห็น หรอื โตแยงจากสื่อตา ง ๆ จากบทความ บทเพลง หนงั สืออานนอกเวลา สารคดี บันเทิงคดี และมี
มารยาทในการเขียน

การพูดในโอกาสตาง ๆ เชน การพูดอวยพร การพูดโนมนาว การพูดโฆษณา การพูดรายงาน
การศึกษาคนควา จากแหลงเรียนรูตาง ๆ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด ศึกษาคําราชาศัพท คําท่ีมา
จากภาษาตางประเทศ การสรุปความรูและขอคิดจากการอานวรรณคดี วรรณกรรม สรุปความรูและขอคิด
จากการอาน ไปประยกุ ตใชในชวี ิตจริง ทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทรอ ยกรองท่ีมคี ุณคาตามความ
สนใจ

มีทักษะการอาน การเขียน การฟง ดูและการพูด การใชภาษา การศึกษา การสืบคน การประเมิน
โดยใชกระบวนการความรูความเขาใจ กระบวนการกลุม กระบวนการเรียนทางภาษา กระบวนการตระหนัก
กระบวนการสรางเจตคติ กระบวนการสรา งคานิยม กระบวนการแกปญหา

เพื่อใหเกิดความเขาใจและมีสมรรถนะสําคัญในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี
ทักษะชีวิต ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค รักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย มีนิสัยใฝเรียนรู
รักความเปน ไทย อยูอยางพอเพยี ง มุงมั่นในการทํางาน ซื่อสัตยสจุ ริต มวี นิ ยั และมจี ติ สาธารณะ

รหัสมาตรฐาน / ตวั ชีว้ ดั
ท 1.1 / ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7
ท 2.1 / ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8
ท 3.1 / ม.2/5 ม.2/6
ท 4.1 / ม.2/4 ม.2/5
ท 5.1 / ม.2/4 ม.2/5

รวมทงั้ หมด 14 ตัวชวี้ ดั

21

ตัวชวี้ ดั ท21102
1. พูดประเมินความนาเช่อื ถือ ระบุขอสงั เกต ความสมเหตสุ มผลของงานเขียนทีม่ ีเนื้อหาโนมนา ว
2. อานและปฏิบัติตามเอกสารคูมือ อานจบั ใจความสําคัญ สรุปความรู ขอคดิ เน้ือหาจากวรรณคดี
วรรณกรรม และส่ือตา ง ๆ
3. ทอ งจําบทอาขยานและบทรอยกรองทีม่ คี ุณคา
4. พดู รายงาน นาํ เสนอความรหู รอื ประเด็นทศ่ี ึกษาคนควาจากการฟง การดู การสนทนา
5. วเิ คราะหคุณคา ที่ไดร ับจากการอา นงานเขยี นอยางหลากหลายเพื่อนําไปใชแกป ญ หาในชวี ิตประจําวัน
6. เขียนเรยี งความเชงิ พรรณนา จดหมายสวนตวั จดหมายกิจธรุ ะโดยใชก ระบวนการเขยี นและมมี ารยาท
ในการเขยี น
7. เขียนรายงานการศึกษาคนควาและเขียนรายงานโครงงานไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ
8. แตงบทรอยกรองประเภทกาพยยานี 11 ไดถ ูกตองตามฉันทลกั ษณ
9. สรุปเน้ือหา อธบิ ายคุณคา และขอคิด วิเคราะหวรรณคดแี ละวรรณกรรมพรอ มยกเหตผุ ลประกอบ
10.เขียนยอความ และเขียนแสดงความคิดเห็นจากสอ่ื ตาง ๆ
11.ชนิดและหนา ทีข่ องคาํ ในประโยค
12.วเิ คราะหความแตกตางของภาษาพดู และภาษาเขียน

ตารางวิเคราะหเ พอ่ื กําหนดเวลาและอัตราสวนคะแนน
รายวิชา ภาษาไทยพ้นื ฐาน รหสั ท21102 ภาคเรียนท่ี 2 จาํ นวน 1.5 หนว ยกิต

อตั ราสว นคะแนน ระหวางภาค : ปลายภาค 70:30

หนวยการเรยี นรูที่ 1 1 4 2 8 3 รวม
ตวั ชี้วดั ขอท่ี 2 23 2 56 7 9 10 11 12
2 33 3 23 5 5 - - - - 25
คะแนนกอนสอบกลางภาค - 32 - 45 3
คะแนนวดั ผลกลางภาค - -- - -- - 3 - - - - 20
คะแนนหลังสอบกลางภาค 4 -- 5 -- -
คะแนนวัดผลปลายภาค 65 68 8 - 5 7 8 5 25

รวม - 10 5 10 5 30

8 15 12 13 10 100

22

โครงสรา งรายวิชากลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท21102 กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จํานวน 1.5 หนว ยกติ

ช่อื หนวยการ มาตรฐานการเรยี นรู/ เวลา กอน กลาง หลงั ปลาย รวม
ท่ี เรยี นรู ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู (ช่ัว กลาง ภาค กลาง ภาค
โมง) ภาค ภาค

ท 2.1 ลกั ษณะกาพยห อโคลง
ม.2/5 , ม.2/6 , -หลักการแตง คําประพันธ
ม.2/8 โคลงสส่ี ุภาพและกาพยย านี
ท 3.1 ๑๑
กาพยห อ โคลง ม.2/5 , ม.2/6 - ระบุขอสงั เกตการชวนเช่อื
ประพาสธาร ท 4.1 การโนมนา ว หรือความ
1 ทองแดง ม.2/5 สมเหตสุ มผลของงานเขยี น 14 10 - - - 10

-เขยี นรายงาน
-เขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ
-เขยี นวเิ คราะห วจิ ารณ
ความคิดเห็นหรือโตแยง ได
อยางมเี หตผุ ล

โคลงสุภาษิต ท 1.1 - โคลงสภุ าษติ
2 รัชกาลท่ี ๕ ม.2/7 -วเิ คราะหคณุ คาจากเรอ่ื ง
ท 2.1 -ทอ งจําคําประพนั ธ
ม.2/7 -อา นหนังสอื บทความ หรือ
ท 4.1 คําประพนั ธท่ีหลากหลาย 15 15 - - - 15
ม.2/1 และประเมนิ คุณคา หรอื
ท 5.1 แนวคิดเพ่อื นาํ ไปใชใน
ม.2/5 ชวี ิตประจําวนั

สอบวดั ผลกลางภาค 3 - 20 - - 20

ท 2.1 -สรปุ ความรูแ ละขอ คดิ จาก
ม.2/6 เร่ือง
ท 2.1 -การทอ งจําคําประพันธ
ม.2/4 -พระราชดาํ รสั
กลอนดอกสรอ ย ท 4.1 -คาํ ราชาศัพท 8 - - 15 15
3 ราํ พึงในปาชา ม.2/4 - พูดในโอกาสตางๆ

- พดู รายงานหรือประเด็นท่ี
ศึกษาคนควา
- มีมารยาทในการฟง ดู พูด

4 วรรณกรรม ท 1.1 14 - - 10 10

23

ช่ือหนวยการ มาตรฐานการเรียนรู/ เวลา กอน กลาง หลัง ปลาย รวม
ท่ี เรยี นรู ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู (ชวั่ กลาง ภาค กลาง ภาค
โมง) ภาค ภาค
ทองถิน่ ม.2/5 -วิเคราะหค ณุ คาดา นเน้อื หา
ท 4.1 ภาษา และสังคม
ม.2/2 -พนิ ิจคณุ คา จากวรรณกรรม
ท 5.1 ทองถนิ่
ม.2/2 , ม.2/4 - วเิ คราะหวิจารณแสดง
ความคิดเหน็ จากเรอ่ื งทอี่ า น
อยา งมีเหตผุ ล
-รวบรวมและอธบิ าย
ความหมายของคาํ
ภาษาตางประเทศทีใ่ ชใน
ภาษาไทย

สอบวดั ผลปลายภาค 3 - - - 30 30
รวมเวลาเรียนและคะแนน 60 25 20 25 30 10

0

24

คาํ อธบิ ายรายวิชา

รายวิชา ภาษาไทยพน้ื ฐาน รหัสวิชา ท23101 กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ช่วั โมง จํานวน 1.5 หนวยกิต

ศึกษาหลักการและฝกทักษะ การอา นออกเสยี งบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถ ูกตองและเหมาะสม
กับเร่ืองทอี่ า น ระบคุ วามแตกตางของคาํ ท่มี ีความหมายโดยตรงและความหายโดยนัย ระบใุ จความสําคัญและ
รายละเอียดของขอมลู ท่สี นบั สนนุ จากเรอ่ื งที่อาน อา นเรอ่ื งตาง ๆ แลวเขยี นกรอบแนวคด ผังความคดิ บันทึก
ยอความและรายงาน วเิ คราะห วิจารณและประเมนิ เรื่องที่อานโดยใชก ลวิธกี ารเปรยี บเทียบ เพ่ือใหผอาน
เขาใจไดดขี ้ึน ประเมนิ ความถูกตองของขอมลู ท่ีใชส นบั สนุนในเรอื่ งที่อาน คดั ลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทดั
เขยี นขอมูลโดยใชถอยคําไดถูกตอ งตามระดบั ภาษา เขียนชีวประวตั โิ ดยเลา เหตกุ ารณ ขอคดิ เห็นและทศั นคติ
ในเรือ่ งตาง ๆ เขียนยอ ความ เขยี นจดหมายกจิ ธุระ เขียนอธิบาย ชแี้ จง แสดงความคิดเห็นและโตแ ยงอยางมี
เหตผุ ล แสดงความคดิ เห็นและประเมินเรอ่ื งจากการฟงและการดู วิเคราะหแ ละวิจารณเรื่องท่ีฟงและดูเพ่ือนาํ
ขอ คิดมาประยกุ ตใชในการดาํ เนนิ ชวี ิต พดู รายงานเรอื่ งหรือประเด็นท่ีศกึ ษาคน ควาจากการฟง การดูและ
การสนทนา จําแนกและใชค ําภาษาตางประเทศทใ่ี ชในภาษาไทย วิเคราะหโครงรา งประโยคซบั ซอ น วเิ คราะห
ระดบั ภาษา สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ งถนิ่ ในระดบั ที่ยากย่ิงขึ้นโดยใชกระบวนการ
ทางภาษา การสบื คนความรู การจดบนั ทกึ ใชความสามารถในการคิด การอภิปรายเพื่อใหเ กิดความรู
ความเขาใจในการเรยี นรู ใชค วามสามารถในการส่อื สารกับผอู นื่ ใหเขา ใจตรงกัน

เพือ่ ใหนกั เรยี นมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคคือ รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย ซอื่ สตั ย มีวนิ ัย ใฝเ รียนรูอยู
อยา งพอเพียง มุง มัน่ ในการทํางาน รกั ความเปนไทยและมีจติ สาธารณะเพ่ือใหเกิดการเรยี นรอู ยา งมี
ประสิทธภิ าพ เห็นคณุ คาของภาษาไทย นําความรูอยา งมีประสิทธภิ าพ เหน็ คณุ คาของภาษาไทย นําความรู
ไปใชใ นการแกปญ หาใหเ กดิ ประโยชนในชีวิต

รหัสตัวช้ีวัด
ท1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ท2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ท3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ท4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ท5.1 ม.3/1 ม.3/2

รวม 20 ตัวช้วี ัด

25

ตวั ชี้วดั ท23101
1. อานออกเสยี งบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถ ูกตอ งและเหมาะสมกับเรื่องทีอ่ าน ระบคุ วามแตกตา ง
ของ คาํ ทีม่ ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั
2. ระบุใจความสําคญั และรายละเอียดของขอ มูลท่สี นบั สนุนจากเร่อื งทอ่ี าน อา นเรื่องตางๆแลวเขียน
กรอบ แนวคดิ ผงั ความคิด บันทกึ ยอความและรายงาน
3. วิเคราะห วจิ ารณและประเมนิ เรื่องทอี่ า นโดยใชกลวธิ ีการเปรียบเทียบ เพ่ือใหผูอา นเขาใจไดด ีข้นึ ประเมิน
ความถกู ตองของขอมลู ทีใ่ ชส นับสนนุ ในการอา น
4. คดั ลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทัด เขียนขอความโดยใชถ อยคําไดถกู ตองตามระดับภาษา
5. เขยี นชวี ประวตั ิหรืออตั ชวี ประวัตโิ ดยเลาเหตกุ ารณ ขอคดิ เห็นและทศั นคติในเรอ่ื งตางๆ
6. เขยี นยอ ความ เขยี นจดหมายกิจธุระ เขยี นอธบิ าย ชี้แจง แสดงความคดิ เหน็ และโตแยงอยางมีเหตุผล
7. พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ท่ีศกึ ษาคนควา จากการฟง การดูและการสนทนา แสดงความคิดเหน็ และ
ประเมนิ เร่ืองจากการฟงและการดู วิเคราะหและวิจารณเ รอื่ งทีฟ่ ง และดู เพ่ือน าขอคดิ มาประยกุ ตใ ช ในการ
ดาํ เนินชวี ิต
8. จําแนกและใชคาํ ภาษาตา งประเทศท่ีใชในภาษาไทย
9. วเิ คราะหโ ครงสรางประโยคซับซอนและวเิ คราะหระดับภาษา
10. สรปุ เนอื้ หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทอ งถน่ิ ในระดบั ท่ียากยิ่งขึ้น วิเคราะหว ถิ ีไทยและคณุ คา
จากวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อาน

ตารางวเิ คราะหเพ่อื กาํ หนดเวลาและอัตราสวนคะแนน
รายวชิ า ภาษาไทยพืน้ ฐาน รหสั ท23101 จํานวน 1.5 หนว ยกิต

อตั ราสว นคะแนน ระหวางภาค : ปลายภาค 70 : 30

ตวั ชว้ี ัดขอ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม
คะแนนกอ นสอบกลางภาค 5 5 3 3 3 6 - - - - 25
คะแนนวดั ผลกลางภาค 7 5 - 3 - 5 - - - - 20
คะแนนหลงั สอบกลางภาค - - - - - - 5 6 7 7 25
คะแนนวัดผลปลายภาค - - - - - - - 8 7 15 30
รวม 12 10 3 6 3 11 5 14 14 22 100

26

โครงสรา งรายวชิ ากลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จํานวน 1.5 หนวยกติ

หนวย มาตรฐาน/สาระการเรยี นรู ตวั ชวี้ ดั คาบ กอ น กลาง หลงั ปลาย รวม
การ กลาง ภาค กลาง ภาค
เรียนรู ภาค ภาค
ที่
1 ท1.1 1.อานออกเสียง บทรอ ย 7 5 7 - - 12
ม.3/1 อา นออกเสยี งบทรอ ย แกว และ บทรอยกรองได
แกวและ บทรอยกรองได ถกู ตอ ง และเหมาะสมกบั
ถกู ตองและเหมาะสมกับ เร่ือง เรอื่ ง ท่อี าน ระบุความ
ท่ีอา น แตกตางของ คาํ ทีม่ ี
• บทรอยแกวทเ่ี ปน บทความ ความหมาย โดยตรงและ
ทั่วไป และบทความปกณิ กะ ความหมาย โดยนัย
• บทรอ ยกรองเชน กลอนบท
ละคร กลอนเสภา กาพยยานี
11 กาพยฉ บงั 16 และโคลงส่ี
สุภาพ ม.3/2 ระบุความ
แตกตางของคําท่มี ี
ความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนยั • อานจับ
ใจความจากสือ่ ตางๆ เชน
วรรณคดใี นบทเรยี น ขาวและ
เหตกุ ารณ สําคญั
- บทละครพดู เร่ือง เหน็ แกลูก
2 ท1.1 ม.3/3 ระบใุ จความ 2. ระบุใจความสาํ คญั และ 7 5 5 - - 10
สาํ คญั และ รายละเอียดของ รายละเอียดของ ขอ มลู ท่ี
ขอ มลู ที่สนับสนุนจากเรื่อง ที่ สนับสนุนจาก เรอ่ื งที่อาน
อา น ม.3/4 อานเรอ่ื งตา งๆ อานเร่อื งตา งๆแลว เขยี น
แลว เขยี นกรอบแนวคิด ผัง กรอบแนวคดิ ผงั ความคิด
ความคิด บันทึก ยอ ความและ บนั ทึก ยอความและ
รายงาน รายงาน
• อานจบั ใจความจากส่อื ตางๆ
เชน บทความ บันเทิงคดี สาร
คดี สารคดีเชิงประวตั ิ ตํานาน
งานเขยี นเชงิ สรา งสรรค
เรือ่ งราวจากบทเรยี นใน กลมุ
สาระฯภาษาไทยและกลมุ
สาระฯ อน่ื
3 ท1.1 ม.3/5 วิเคราะห 3. วิเคราะห วิจารณ และ 3 3 - - - 3
วจิ ารณและประเมนิ เรอ่ื งท่ี ประเมนิ เรื่องท่อี าน โดยใช
อา นโดยใชกลวิธีการ กลวธิ ีการ เปรียบเทยี บ

27

หนว ย มาตรฐาน/สาระการเรยี นรู ตวั ชวี้ ัด คาบ กอ น กลาง หลงั ปลาย รวม
การ กลาง ภาค กลาง ภาค
เรียนรู ภาค ภาค
ท่ี
เปรยี บเทยี บ เพือ่ ใหผ ูอา น เพ่ือให ผูอ า นเขาใจไดด ีขน้ึ
เขา ใจไดด ขี ึ้น ม.3/6 ประเมนิ ประเมนิ ความถกู ตอง ของ
ความถกู ตองของขอมูล ทีใ่ ช ขอ มูลท่ใี ชสนบั สนุน ในการ
สนบั สนุนในการอา น อาน
• อา นจบั ใจความจากสื่อตา งๆ
เชน บทความ บันเทิงคดี สาร
คดี สารคดีเชงิ ประวตั ิ ตeนาน
งานเขยี นเชงิ สรา งสรรค
เรอ่ื งราวจากบทเรียนใน กลมุ
สาระฯภาษาไทยและกลมุ
สาระฯอืน่
- การวเิ คราะห วิจารณแ ละ
ประเมนิ เร่ืองที่อา น
4 ท2.1 ม.3/1 คดั ลายมอื ตวั 4. คัดลายมอื ตวั บรรจงครงึ่ 3 3 3 - - 6
บรรจง ครึง่ บรรทัด บรรทัด เขียนขอ ความ โดย
• คัดลายมอื ตัวบรรจงคร่ึง ใชถอยคาํ ไดถ กู ตองตาม
บรรทดั ตามรปู แบบการเขียน ระดับภาษา
ตัวอักษรไทย ม.3/2 เขียน
ขอความโดยใช ถอ ยคาํ ได
ถูกตอ งตามระดับภาษา
• การเขียนขอความ ตาม
สถานการณและโอกาสตา งๆ
เชน คําอวยพรในโอกาสตา งๆ
คําขวัญ คาํ คม โฆษณา คติ
พจน สนุ ทรพจน
5 ท2.1 ม.3/3 เขียนชวี ประวตั ิ 5. เขยี นชีวประวัติหรอื 2 3 - - - 3
หรือ อัตชีวประวตั โิ ดยเลา อัตชวี ประวัติโดยเลา
เหตกุ ารณ ขอ คดิ เห็นและ เหตุการณ ขอ คิดเหน็ และ
ทศั นคติ ในเร่ืองตา งๆ ทัศนคติ ในเรือ่ งตา งๆ
• การเขยี นอตั ชีวประวัตหิ รอื
ชีวประวตั ิ
6 ท2.1 ม.3/4 เขยี นยอ ความ 6. เขยี นยอความ เขยี น 5 6 5 - - 11
• การเขียนยอ ความจากสื่อ จดหมายกจิ ธรุ ะ เขยี น
ตา งๆ เชน นิทาน ประวตั ิ อธิบาย ชี้แจง แสดงความ
ตาํ นาน สารคดีทางวชิ าการ คดิ เห็นและ โตแ ยงอยางมี
พระราชดาํ รัส พระบรม เหตุผล
ราโชวาท จดหมายราชการ ม. สอบ
3/5 เขียนจดหมายกจิ ธุระ วดั ผล
• จดหมายเชญิ วิทยากร กลาง

28

หนว ย มาตรฐาน/สาระการเรยี นรู ตัวชี้วดั คาบ กอ น กลาง หลัง ปลาย รวม
การ กลาง ภาค กลาง ภาค
เรยี นรู ภาค ภาค
ท่ี
• จดหมายขอความ ภาค 3
อนเุ คราะห คาบ
• จดหมายแสดงความขอบคณุ
ม.3/6 เขียนอธบิ าย ชีแ้ จง
แสดงความคดิ เหน็ และโตแยง
อยางมเี หตผุ ล
• เขียนอธบิ าย ชี้แจง แสดง
ความคดิ เห็นและโตแยง ใน
เรอ่ื งตางๆ
7 ท3.1 ม.3/1 แสดงความ 7. พูดรายงานเรอ่ื งหรือ 5 - - 5 - 5
คดิ เหน็ และ ประเมินเร่ืองจาก ประเด็น ทศ่ี กึ ษาคน ควา
การฟงและการดู จากการฟง การดูและการ
• การพูดแสดงความคดิ เห็น สนทนา แสดง ความ
และ ประเมินเรือ่ งจากการฟง คดิ เหน็ และประเมินเรื่อง
และการดู ม.3/2 วิเคราะห จากการฟง และการดู
และวิจารณเ รอื่ ง ท่ฟี งและดู วเิ คราะห และวจิ ารณเ รอ่ื ง
เพอ่ื น าขอคดิ มา ประยกุ ตใช ทฟ่ี ง และดู เพือ่ น าขอคิด
ในการดาํ เนินชีวิต มาประยุกตใช ในการ
• การพูดวเิ คราะห วจิ ารณ ดําเนินชวี ิต
จากเรือ่ งทฟี่ ง และดู ม.3/3
พูดรายงานเรื่องหรือ ประเด็น
ที่ศกึ ษาคนควาจากการฟง การ
ดูและการสนทนา
• การพูดรายงานการศกึ ษา
คน ควาเกย่ี วกับภมู ิปญญา
ทอ งถ่ิน
8 ท4.1 ม.3/1 จําแนกและใช 8. จําแนกและใชค าํ 6 - - 6 8 14
คําภาษาตา งประเทศทใ่ี ช ใน ภาษาตางประเทศทใ่ี ช ใน
ภาษาไทย ภาษาไทย
• ค าทมี่ าจาก
ภาษาตางประเทศ
9 ท4.1 ม.3/2 วิเคราะห 9. วเิ คราะหโครงสราง 6 - - 7 7 14
โครงสราง ประโยคซบั ซอ น ประโยค ซับซอ นและ
• ประโยคซบั ซอ น ม.3/3 วิเคราะหร ะดับ ภาษา
วเิ คราะหร ะดบั ภาษา
• ระดบั ภาษา
10 ท5.1 ม.3/1 สรปุ เนือ้ หา 10. สรุปเนื้อหาวรรณคดี 10 - - 7 15 22
วรรณคดี วรรณกรรมและ วรรณกรรมและวรรณกรรม สอบ
วรรณกรรม ทองถน่ิ ในระดบั ที่ ทอ งถน่ิ ในระดับทย่ี าก วัดผล

29

หนว ย มาตรฐาน/สาระการเรียนรู ตวั ชี้วดั คาบ กอ น กลาง หลงั ปลาย รวม
การ กลาง ภาค กลาง ภาค
เรยี นรู ภาค ภาค
ท่ี
ย่ิงขนึ้ วิเคราะหว ถิ ไี ทยและ ปลาย
ยากยิ่งขึน้ คณุ คา จากวรรณคดแี ละ ภาค 3
• วรรณคดี วรรณกรรมและ วรรณกรรม ที่อาน คาบ
วรรณกรรมทองถนิ่ เกยี่ วกับ
ศาสนา ประเพณี พธิ กี รรม 60 25 20 25 30 100
สภุ าษติ คําสอน เหตกุ ารณใ น
ประวัติศาสตร บันเทิงคดี
- การศึกษาวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- นิทานค ากลอนเรอื่ ง พระ
อภยั มณี ตอน พระอภยั มณี
หนนี างผีเสอ้ื สมทุ ร ม.3/2
วเิ คราะหวถิ ไี ทยและคณุ คา
จากวรรณคดีและวรรณกรรม
ท่ีอาน
• การวิเคราะหวิถไี ทยและ
คณุ คา จากวรรณคดีและ
วรรณกรรม
รวม

30

คาํ อธิบายรายวิชา

รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน รหัสวิชา ท23102 กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชว่ั โมง จาํ นวน 1.5 หนวยกิต

ศึกษาหลักการและฝกทักษะ วิจารณความสมเหตุสมผล การลําดับความและความเปนไปไดของเรอ่ื ง
วิเคราะหเพ่ือแสดงความคิดเห็น โตแยงเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอาน ตีความและประเมินคุณคา แนวคิดที่ไดจาก
การเขียนอยางหลากหลาย เพ่ือนําไปใชแกปญหาในชีวิต มีมารยาทในการอาน เขียนวิเคราะห วิจารณและ
แสดงความรูความคิดเห็นหรือโตแยงในเรื่องเรื่อง ๆ กรอกแบบสมัครงานพรอมเขียนบรรยายเก่ียวกับความรู
และทักษะของตนเองท่ีเหมาะสมกับงาน เขียนรายงานศึกษาคนควาและโครงงาน มีมารยาทในการเขียน พูด
ในโอกาสตาง ๆ ไดตรงตามวัตถปุ ระสงค พูดโนมนาวโดยนําเสนอหลักฐานตามลําดับเนื้อหาอยางมเี หตุผลและ
นาเช่ือถือ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูดใชคําทับศัพทและศัพทบัญญัติ อธิบายความหมายคําศัพท
ทางวิชาการและวชิ าชีพ แตงบทรอยกรอง สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพ่ือนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง
ทอ งจาํ และบอกคุณคา บทอาขยานตามทีส่ นใจและนาํ ไปใชอางองิ

โดยใชก ระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุมสัมพันธ จัดการเรียนรเู พื่อพัฒนาความคิด เรียนรูแบบ
โครงงาน ใหเรียนรูวิธีการแกปญหาอยางเปนระบบ วางแผน คิดวิเคราะห ประเมินผล ฝกการเปนผูนําและ
ผูตามมคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยี สมารถสรา งองคความรไู ปใชประโยชนใ นชวี ติ ประจาํ วนั

เพ่ือใหผเู รียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค คือรักชาติ ศาสน กษัตริย มีคุณธรรม จริยธรรม มีมารยาท
ในการใชภาษา เห็นคุณคาภาษาไทยซึ่งเปนเอกลักษณของชาติ ภาคภูมิใจในภาษาไทยและรักษาไวเปนสมบัติ
ของชาติ

รหสั ตัวช้ีวัด
ท1.1 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10
ท2.1 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10
ท3.1 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ท4.1 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ท5.1 ม.3/3 ม.3/4

รวม 16 ตัวชว้ี ัด

31
ตัวช้ีวดั ท23102
1.วิจารณค วามสมเหตสุ มผล การลําดบั ความและความเปนไปไดของเรื่อง วิเคราะหเพื่อแสดงความ
คิดเหน็ โตแยง เกย่ี วกับเร่ืองที่อาน
2.ตคี วามและประเมินคณุ คา แนวคดิ ทีไ่ ดจ ากงานเขียนอยางหลากหลาย เพ่ือนาํ ไปใชแ กปญหาใน
ชวี ิตและมี มารยาทในการอา น
3.เขียนวเิ คราะห วจิ ารณและแสดงความรู ความคดิ เห็นหรือโตแยง ในเรื่องตางๆ
4.กรอกแบบสมัครงานพรอ มเขยี นบรรยายเก่ียวกับความรูและทักษะของตนเองทเี่ หมาะสมกับงาน
5.เขยี นรายงานการศึกษาคน ควา และโครงงานและมีมารยาทในการเขียน
6.พดู ในโอกาสตา งๆไดตรงตามวตั ถุประสงค พดู โนมนา วโดยนําเสนอหลกั ฐานตามลําดับเน้ือหาอยาง
มีเหตุผลและ นา เช่อื ถอื มีมารยาทในการฟง การดูและการพดู
7.ใชคําทบั ศพั ทและศัพทบ ญั ญัติ อธิบายความหมายคําศัพททางวิชาการและวิชาชพี
8.แตงบทรอยกรอง
9.สรปุ ความรูแ ละขอ คิดจากการอาน เพ่ือนําไปประยกุ ตใชในชีวติ จริง
10.ทอ งจาํ และบอกคุณคาบทอาขยานตามที่กาํ หนดและบทรอยกรองที่มคี ุณคาตามความสนใจและ
นาํ ไปใชอางองิ

ตารางวเิ คราะหเ พ่อื กาํ หนดเวลาและอตั ราสวนคะแนน
รายวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหสั ท23102 จํานวน 1.5 หนว ยกิต

อัตราสว นคะแนน ระหวางภาค : ปลายภาค 70 : 30

ตวั ชี้วัดขอ ท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม
คะแนนกอนสอบกลางภาค 5 5 3 3 3 6 - - - - 25
คะแนนวัดผลกลางภาค 7-5 3 5 - - - - 20
คะแนนหลังสอบกลางภาค - - - - - - 5 5 10 5 25
คะแนนวัดผลปลายภาค - - - - - - 20 - 20 - 30
รวม 12 5 8 2 8 10 55 5 30 5 100

32

โครงสรา งรายวิชากลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จํานวน 1.5 หนวยกิต

หนวย มาตรฐาน/สาระการเรยี นรู ตัวชว้ี ัด คาบ กอน กลาง หลัง ปลาย รวม
การ กลาง ภาค กลาง ภาค
เรยี นรู ภาค ภาค
ท่ี
1 ท1.1 1.วิจารณ ความ 7 5 7 - - 12
ม.3/7 วจิ ารณค วาม สมเหตสุ มผล การลาํ ดบั
สมเหตุสมผล การลาํ ดบั ความ ความและ ความเปนไปได
และความเปน ไปได ของเรือ่ ง ของเรือ่ ง วเิ คราะหเ พื่อ
ม.3/8 วิเคราะหเ พื่อแสดง แสดงความคดิ เห็น โตแ ยง
ความคดิ เหน็ โตแยงเกย่ี วกบั เก่ียวกับเรอื่ งทอี่ า น
เรอื่ งทีอ่ าน
• วิจารณ การลําดับความและ
ความเปนไปได วิเคราะหเ พอ่ื
แสดงความคดิ เห็น จากส่อื
ตางๆ เชน วรรณคดใี นบทเรียน
ขา วและเหตุการณ- สําคญั
บทความ บนั เทงิ คดี สารคดี
สารคดีเชิงประวตั ิ ตํานาน งาน
เขียนเชิงสรางสรรค เรื่องราว
จาก บทเรยี นในกลมุ สาระฯ
ภาษาไทยและ กลุมสาระฯอ่ืน
- พระบรมราโชวาท
2 ท1.1 2.ตีความและประเมิน 35- - -5
ม.3/9 ตีความและประเมิน คุณคา แนวคิดทไ่ี ด จาก
คณุ คา แนวคดิ ทไี่ ดจ ากงาน งานเขียน อยา งหลากหลาย
เขยี นอยา งหลากหลาย เพอ่ื เพอื่ นําไปใชแ กปญ หา ใน
นาํ ไปใชแกปญหาในชวี ติ ชีวิตและมมี ารยาท ในการ
• การอานตามความสนใจ เชน อา น
หนงั สืออา นนอกเวลา หนังสือ
อานตามความสนใจและตามวยั
ของนักเรียน หนงั สืออานทค่ี รู
และนกั เรียนรว มกัน กําหนด -
การอา นตคี วามและประเมนิ
คณุ คา แนวคิด
ม.3/10 มมี ารยาทในการอา น
• มารยาทในการอา น
3 ท2.1 3.เขียนวิเคราะห วิจารณ 5 3 5 - - 8
ม.3/7 เขียนวิเคราะห วจิ ารณ และแสดงความรู ความ

33

หนวย มาตรฐาน/สาระการเรียนรู ตวั ชว้ี ัด คาบ กอ น กลาง หลงั ปลาย รวม
การ กลาง ภาค กลาง ภาค
เรยี นรู ภาค ภาค
ที่
และแสดง ความรู ความ คดิ เหน็ หรอื โตแ ยง ในเรอื่ ง
คดิ เห็นหรอื โตแ ยง ในเร่ือง ตางๆ
ตางๆ
• การเขยี นวเิ คราะห วจิ ารณ
และแสดง ความรู ความ
คดิ เหน็ หรือโตแ ยง จากสื่อ
ตา งๆ เชน บทโฆษณา
บทความทางวิชาการ
4 ท2.1 4.กรอกแบบสมคั รงาน 23- - -3
ม.3/8 กรอกแบบสมัครงาน พรอม เขียนบรรยาย
พรอ มเขยี นบรรยายเก่ยี วกบั เก่ียวกบั ความรู และทกั ษะ
ความรแู ละทักษะของตนเอง ของตนเองที่ เหมาะสมกบั
ทเ่ี หมาะสมกบั งาน งาน
• การกรอกแบบสมัครงาน
5 ท2.1 5.เขยี นรายงานการศึกษา 5 5 3 - - 8
ม.3/9 เขยี นรายงานการศึกษา คนควาและโครงงานและมี
คนควา และโครงงาน มารยาทในการเขียน
• การเขยี นรายงานจาก
การศึกษาคน ควา
• การเขียนรายงานโครงงาน
ม.3/10 มีมารยาทในการ
เขยี น
• มารยาทในการเขยี น
6 ท3.1 6.พูดในโอกาสตางๆไดต รง 5 4 5 - - 9
ม.3/4 พดู ในโอกาสตา งๆได ตาม วตั ถปุ ระสงค พดู โนม
ตรงตามวตั ถุประสงค นา วโดย นําเสนอหลักฐาน
• การพดู ในโอกาสตางๆ เชน ตามลาํ ดับ เนอ้ื หาอยา งมี
การพดู โตว าที การอภปิ ราย เหตุผลและ นา เชือ่ ถอื มี
การพดู ยอวาที มารยาทในการฟง การดู สอบ
ม.3/5 พูดโนมนาวโดย และการพดู วัดผล
นําเสนอ หลกั ฐานตามลาํ ดบั กลาง
เนื้อหา อยางมีเหตผุ ลและ ภาค 3
นาเชื่อถือ คาบ
• การพูดโนมนา ว
ม.3/6 มมี ารยาทในการฟง
การ ดูและการพูด
• มารยาทในการฟง การดแู ละ
การพดู

34

หนวย มาตรฐาน/สาระการเรียนรู ตวั ชี้วดั คาบ กอน กลาง หลัง ปลาย รวม
การ กลาง ภาค กลาง ภาค
เรยี นรู ภาค ภาค
ท่ี
7 ท4.1 7.ใชคําทับศพั ทแ ละศัพท 7 - - 5 10 15
ม.3/4 ใชคําทับศพั ทแ ละ ศพั ท บญั ญตั ิ อธิบายความหมาย
บญั ญัติ • คําทบั ศัพท คาํ ศพั ท ทางวชิ าการและ
• คาํ ศพั ทบ ญั ญัติ ม.3/5 วชิ าชพี
อธิบายความหมายคาํ ศพั ท
ทางวชิ าการและวิชาชพี
• คําศพั ททางวิชาการและ
วิชาชพี
8 ท4.1 8.แตงบทรอ ยกรอง 3 - -5-5
ม.3/6 แตงบทรอยกรอง
• โคลงส่สี ภุ าพ
9 ท5.1 9.สรุปความรแู ละขอคิด 14 - - 10 20 30
ม.3/3 สรุปความรแู ละขอ คิด จากการ อา น เพื่อนําไป
จาก การอาน เพ่อื นาํ ไป ประยุกตใ ช ในชีวติ จริง
ประยกุ ตใ ช ในชวี ิตจรงิ
• การวเิ คราะหว ิถไี ทยและ
คุณคาจากวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- อศิ รญาณภาษติ
– บทพากยเ อราวณั
10 ท5.1 10.ทอ งจําและบอกคณุ คา 3 - - 5 - 5
ม.3/4 ทองจําและบอกคุณคา บทอาขยานตามท่กี าํ หนด สอบ
บทอาขยานตามที่กําหนดและ และ บทรอยกรองทม่ี ี วดั ผล
บทรอ ยกรองทมี่ ีคุณคา ตาม คุณคา ตามความสนใจและ ปลาย
ความสนใจและนําไปใชอางองิ นําไปใช อางอิง ภาค 3
• บทอาขยานและบทรอยกรอง คาบ
ท่มี ีคุณคา
-บทอาขยานตามทีก่ ําหนด
-บทรอยกรองตามความสนใจ
รวมคะแนนเวลาเรยี น 60 25 20 25 30 100

35

โครงสรา งหลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ( ม. 4 – 6 )

36

โครงสรา งหลักสูตรกลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม. 4 – 6 )
วิชาพน้ื ฐาน
ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4
ท31101 ภาษาไทย 40 ช่วั โมง / ภาคเรียน 1.0 หนว ยกิต
ท31102 ภาษาไทย 40 ช่ัวโมง / ภาคเรยี น 1.0 หนวยกติ
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 5
ท32101 ภาษาไทย 40 ช่ัวโมง / ภาคเรียน 1.0 หนวยกิต
ท32102 ภาษาไทย 40 ชวั่ โมง / ภาคเรียน 1.0 หนวยกิต
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 6
ท33101 ภาษาไทย 40 ชั่วโมง / ภาคเรยี น 1.0 หนว ยกิต
ท33102 ภาษาไทย 40 ชว่ั โมง / ภาคเรียน 1.0 หนวยกิต

วิชาเพม่ิ เตมิ หลักภาษาไทย 40 ชว่ั โมง / ภาคเรียน 1.0 หนวยกติ
ท30201 การอา นเชงิ สรางสรรค 40 ชวั่ โมง / ภาคเรยี น 1.0 หนว ยกิต
ท30202 การเขยี นเชงิ สรา งสรรค 40 ชั่วโมง / ภาคเรียน 1.0 หนว ยกติ
ท30203 วรรณกรรมพื้นบาน 40 ช่วั โมง / ภาคเรียน 1.0 หนว ยกติ
ท30204 การพดู ตอ หนาประชมุ ชน 40 ชั่วโมง / ภาคเรียน 1.0 หนวยกติ
ท30205 การอานและพจิ ารณาวรรณกรรม 40 ช่วั โมง / ภาคเรียน 1.0 หนว ยกติ
ท30206

วิชาเพ่มิ เตมิ lสคู วามเปนสากล

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 4
IS 1 30201 การศกึ ษาคนควาและสรางองคค วามรู 40 ช่วั โมง / ภาคเรยี น 1.0 หนว ยกิต

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 5 40 ช่ัวโมง / ภาคเรยี น 1.0 หนวยกิต
IS 2 30202 การสอ่ื สารและการนาํ เสนอ

37

คาํ อธบิ ายรายวิชา

รายวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน รหัสวิชา ท31101 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.0 หนวยกติ

อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดอยา งถูกตอง ไพเราะและเหมาะสมกับเรือ่ งที่อา น เชน
อา นบทความ ฉันท กาพย กลอน วิเคราะห วิจารณ แสดงความคดิ เห็นโตแยงเก่ียวกับเร่ืองท่อี าน และเสนอ
ความคิดใหมอยางมเี หตุผล เชน อา นวรรณคดีในบทเรยี น บทความ นิทาน พระบรมราโชวาท คาํ สอน และมี
มารยาทในการอาน เขียนส่ือสารในรูปแบบตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตอง
มีขอมูลและสาระสําคัญชัดเจน เชน การเขียนหนังสือเชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ และมีมารยาท
ในการเขียน วิเคราะหแนวคิด การใชภาษา และความนาเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟง และดูอยางมีเหตุผล วิเคราะห
แนวคิด การใชภาษา และความนาเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟง และดู อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา
และลักษณะของภาษา เสียงในภาษา สวนประกอบของภาษา องคประกอบของพยางคและคํา แตงบทรอย
กรอง ประเภท โคลง ฉันท วิเคราะหแ ละวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณเบ้ืองตน เชน
จุดมุงหมายการแตง พิจารณารูปแบบ เน้ือหา กลวิธี วิเคราะหและวิจารณ วรรณคดีและวรรณกรรม
สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง ทองจําและบอกคุณคา
บทอาขยานตามท่ีกําหนด และบทรอ ยกรองที่มคี ุณคาตามความสนใจและนาํ ไปใชอางอิง

โดยใชทักษะกระบวนการเรียนความรูความเขาใจ กระบวนการกลุม กระบวนการเรียนทางภาษา
กระบวนการตระหนัก กระบวนการเจตคติ กระบวนการสรางคานิยม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ
แกปญหา

เพ่อื ใหเกิดความเขา ใจและมสี มรรถนะสําคญั ในการส่อื สาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี
ทกั ษะชีวิต ตลอดจนมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค รกั ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ  มีนสิ ัยใฝเรียนรู
รกั ความเปนไทย อยูอยา งพอเพียง มุงมัน่ ในการทาํ งาน ซ่ือสัตยส ุจรติ มวี ินยั และมจี ติ สาธารณะ

รหัสมาตรฐาน / ตัวช้วี ัด
ท 1.1 / ม. 4/1 , 4/5 , 4/9
ท 2.1 / ม. 4/1 , 4/8
ท 3.1 / ม. 4/2 , 4/6
ท 4.1 / ม. 4/1 , 4/4
ท 5.1 / ม. 5/1 , 5/4 ,5/6

รวมทั้งหมด 12 ตัวชี้วัด

38

ตัวช้ีวดั / จุดประสงค
1. มีมารยาทในการอา น อา นออกเสียงรอยแกว และรอ ยกรองไดถูกตอ ง
2. ทอ งจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมคี ุณคาและนาํ ไปใชอา งองิ ไดถูกตอง
3. พิจารณารปู แบบ เนือ้ หา และกลวธิ ีในวรรณคดแี ละวรรณกรรมไดถ ูกตอง
4. เขยี นสอื่ สารในรปู แบบตา งๆ ไดต รงตามวัตถปุ ระสงค โดยใชภาษาเรียบเรยี งถูกตอ ง
5. วิเคราะหแ นวคดิ การใชภ าษา และความนา เชื่อถือจากเร่ืองทีฟ่ ง และดอู ยา งมเี หตผุ ลไดถูกตอ ง
6. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา เสยี งในภาษา สวนประกอบ
ของภาษา องคป ระกอบของพยางคแ ละคําไดถ ูกตอ ง

ตารางวเิ คราะหเ พ่อื กําหนดเวลาและอัตราสวนคะแนน
รายวชิ า ภาษาไทยพน้ื ฐาน ม. 4 ท31101 จาํ นวน 1 หนวยกติ

อัตราสวนคะแนน ระหวา งภาค : ปลายภาค 70 : 30

ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรูขอ ท่ี 123456 รวม
คะแนนตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู 10 10 5 - - - 25
5 5 10 - - - 20
กอ นสอบกลางภาค - - - 10 5 10 25
คะแนนวัดผลกลางภาค - - - 10 10 10 30
คะแนนตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู 10 15 20 20 20 15 100

หลงั สอบกลางภาค
คะแนนวัดผลปลายภาค

รวม

39

โครงสรางรายวชิ ากลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท 31101 กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จาํ นวน 1.0 หนวยกิต

ที่ ชอ่ื หนวย มาตรฐานการ ตวั ชี้วดั / จุดประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู เวลา คะแนน
การเรียนรทู ี่ เรยี นรู / ตวั ช้วี ัด /

ชวั่ โมง

1 ท ๑.๑ - อา นออกเสยี งบทรอ ยแกว และบทรอย -อา นบทรอ ยแกว ๘ ๒๐
การอา นออก ม.๔ /๑ กรองไดอยา งถกู ตอง ไพเราะ และ ประเภทตางๆ เชน ๑๕
เสยี งบทรอ ย ม.๔ /๕ เหมาสมกบั เรือ่ งท่อี า น บทความ นทิ าน
แกว และบท -วิเคราะห วิจารณ แสดงความคดิ เหน็ พระบรมราโชวาท ๑๕
รอยกรอง โตแ ยงเกีย่ วกบั เรอื่ งท่อี าน และเสนอ คาํ สอน ๑๕
ม.๔ /๙ ความคิดใหมอยา งมีเหตผุ ล -อา นบทรอ ยกรองเชน
-มีมารยาทในการอา น ฉันท กาพย กลอน
2 ท ๕.๑ - วเิ คราะหแ ละวิจารณว รรณคดแี ละ - คํานมสั การคณุ านุคณุ ๖
คํานมสั การ ม.๔ /๑ วรรณกรรมตามหลกั การวิจารณเบอ้ื งตน
คณุ านุคณุ ม.๔ /๔ - สังเคราะหขอ คดิ จากวรรณคดีและ
วรรณกรรมเพอ่ื นําไปประยกุ ตใ ชในชวี ิต
ม.๔ /๖ จรงิ
-ทองจาํ และบอกคณุ คาบทอาขยาน
ตามที่กาํ หนด และบทรอยกรองท่มี ี
คณุ คา ตามความสนใจและนาํ ไปใช
อางอิง
3 ท ๕.๑ - วิเคราะหและวิจารณว รรณคดแี ละ - อเิ หนา ๖
อิเหนา ม.๔ /๑ วรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ บ้ืองตน
ม.๔ /๖ - สงั เคราะหข อ คดิ จากวรรณคดีและ
วรรณกรรมเพ่ือนําไปประยกุ ตใ ชใน
ชวี ิตจรงิ
4 ท ๒.๑ -เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ ไดต รง -การเขียนส่ือสารใน ๖
การเขยี น ม.๔/๑ ตามวัตถปุ ระสงค โดยใชภาษาเรียบเรียง รปู แบบตางๆเชน
สือ่ สาร ม.๔/๘ ถูกตอ ง มขี อ มลู และสาระสาํ คญั ชดั เจน -เขยี นอธบิ าย บรรยาย
ท ๓.๑ -มีมารยาทในการเขียน พรรณนา
ม.๔/๒ -วเิ คราะห การใชภาษา และความ -บนั ทึกความรู
ม.๔/๖ นาเช่อื ถือจากเร่อื งฟง และดูอยา งมี -จดหมายกิจธรุ ะ
เหตุผล -มีมารยาทในการเขียน
-มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด -การเลือกเรือ่ งฟง และ
ดูอยา งมีเหตุผล
-มารยาทในการฟง
การดู และการพดู

40

5 ท ๕.๑ - วเิ คราะหและวจิ ารณวรรณคดแี ละ - มหาชาติ ๔ ๑๕
มหาชาติ ม.๔ /๑ วรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ บ้อื งตน - ธรรมชาติของภาษา ๑๐ ๒๐
ม.๔ /๖ - สังเคราะหขอ คดิ จากวรรณคดแี ละ - พลงั ของภาษา
6 ท ๔.๑ วรรณกรรมเพื่อนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นชีวิต -ลักษณะของภาษา ๔๐ ๑๐๐
ธรรมชาติ ม.๔ /๑ จรงิ -ระดับของภาษา ๔๐
ของภาษา ม.๔/๔ - อธบิ ายธรรมชาติของภาษา พลงั ของ -คาํ ราชาศพั ท
พลงั ของ ภาษา และลกั ษณะของภาษา -คาํ ภาษาตา งประเทศ
ภาษาและ - อธิบายระดบั ของภาษา คาํ ราชาศัพท ในภาษาไทย
ลกั ษณะของ และคําภาษาตา งประเทศในภาษาไทย
ภาษา
วดั ผลประเมนิ ผล กลางภาค ปลายภาค
รวม

41

คาํ อธิบายรายวิชา

รายวิชา ภาษาไทยพืน้ ฐาน รหสั วิชา ท31102 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จาํ นวน 1.0 หนวยกติ

อานตีความ แปลความ และขยายความ เรื่องที่อาน เชน ขาวสารจากสื่อสิ่งพิมพ ส่ืออิเล็กทรอนิกส
และแหลงเรียนรูตางๆ บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี บทเพลง มีมารยาทในการอาน เขียนเรียงความ
เขียนยอความจากส่ือที่มีรูปแบบและเน้ือหาหลากหลาย เชน เรื่องส้ัน สารคดี บทความทางวิชาการ และมี
มารยาทในการเขียน พูดในโอกาสตางๆ เชน การพูดตอที่ประชุมชน และมีมารยาทในการพูด วิเคราะหและ
ประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม
ตามหลักการวิจารณเบื้องตน เชน จุดมุงหมายการแตง พิจารณารูปแบบ เน้ือหา กลวิธี วิเคราะหและ
วิจารณ วรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่อื นําไปประยกุ ตใชในชีวิต
จริง ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจและนําไปใช
อางองิ

โดยใชทักษะกระบวนการเรียนความรูความเขาใจ กระบวนการกลุม กระบวนการเรียนทางภาษา
กระบวนการตระหนัก กระบวนการเจตคติ กระบวนการสรางคานิยม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ
แกป ญหา

เพื่อใหเ กิดความเขาใจและมสี มรรถนะสาํ คญั ในการสื่อสาร การคดิ การแกป ญ หา การใชเทคโนโลยี
ทักษะชวี ิต ตลอดจนมคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค รกั ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย มีนิสยั ใฝเรียนรู รัก
ความเปน ไทย อยูอยางพอเพียง มงุ มัน่ ในการทํางาน ซ่อื สตั ยส ุจริต มวี นิ ัยและมจี ิตสาธารณะ

รหัสมาตรฐาน / ตัวชวี้ ัด

รวมท้ังหมด ท 1.1 / ม. 4/2 , 4/5 , 4/9
ท 2.1 / ม. 4/2 , 4/3, 4/8
ท 3.1 / ม. 4/5 , 4/6
ท 4.1 / ม. 4/7
ท 5.1 / ม. 5/1 , 5/4 ,5/6
12 ตวั ช้ีวัด

42

ตัวชีว้ ัด / จดุ ประสงค

1. มมี ารยาทในการอาน อา นตีความ แปลความ และขยายความ เรอ่ื งที่อา น
2. ทองจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมคี ุณคา และนําไปใชอางองิ ไดถกู ตอง
3. เขยี นเรียงความ เขียนยอ ความจากสอื่ ที่มีรปู แบบและเน้ือหาหลากหลายไดถูกตอง
4. มีมารยาทในการพูด พูดในโอกาสตา งๆ เชน การพูดตอ ท่ีประชมุ ชนไดถ ูกตอ ง
5. วิเคราะหแ ละวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ บอื้ งตน ไดถูกตอ ง
6. สงั เคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนําไปประยกุ ตใ ชในชีวิตจริงไดถูกตอง

ตารางวิเคราะหเพอื่ กําหนดเวลาและอัตราสวนคะแนน
รายวิชา ภาษาไทยพนื้ ฐาน ม. 4 ท31102 จํานวน 1 หนวยกติ

อตั ราสวนคะแนน ระหวางภาค : ปลายภาค 70 : 30

ตัวชวี้ ดั /ผลการเรียนรูขอที่ 123456 รวม
คะแนนตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู 10 10 5 - - - 25
5 5 10 - - - 20
กอ นสอบกลางภาค - - - 10 5 10 25
คะแนนวดั ผลกลางภาค - - - 10 10 10 30
คะแนนตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู 10 15 20 20 20 15 100

หลังสอบกลางภาค
คะแนนวดั ผลปลายภาค

รวม

43

โครงสรางรายวชิ ากลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย

รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 31101 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จํานวน 1.0 หนวยกติ

ท่ี ช่อื หนว ยการ มาตรฐานการ ตัวชว้ี ดั / จดุ ประสงคการเรยี นรู สาระการเรียนรู เวลา / คะแนน
เรียนรูท่ี เรยี นรู / ตัวชว้ี ดั ชว่ั โมง

1 การอา นเพื่อ ท ๑.๑ - การอา นจบั ใจความ -ขาวสารจากส่อื ส่ิงพมิ พ ๘ ๒๕
พัฒนาตน ม.๔ /๒ - ตีความ แปลความ และขยายความ และสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส
ม.๔ /๕ เร่อื งทอ่ี าน และแหลง เรียนรตู า งๆ
ม.๔ /๙ -วิเคราะห วจิ ารณ แสดงความ ในชุมชน
ท ๔.๑ คิดเหน็ โตแยงเก่ียวกบั เรื่องทอ่ี าน -หวั ใจชายหนมุ
ม.๔ /๙ และเสนอความคดิ ใหมอ ยางมเี หตผุ ล - การอา นจบั ใจความ
– มมี ารยาทในการอาน -การอานแปลความ
-วิเคราะหและประเมินการใชภาษา ตคี วาม ขยายความ
จากสอ่ื สิ่งพมิ พและสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส -การประเมินการใช
ภาษาจากสื่อสงิ่ พมิ พ
และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส
2 มงคลสตู ร ท ๕.๑ - วิเคราะหและวจิ ารณวรรณคดีและ - มงคลสูตรคําฉันท ๖ ๑๕
คําฉันท ม.๔ /๑ วรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ
ม.๔ /๔ เบื้องตน
ม.๔ /๖ - สังเคราะหขอ คดิ จากวรรณคดีและ
วรรณกรรมเพอื่ นาํ ไปประยกุ ตใชใ น
ชีวิตจรงิ
-ทองจาํ และบอกคุณคาบทอาขยาน
ตามท่กี าํ หนด และบทรอยกรองทมี่ ี
คณุ คา ตามความสนใจและนาํ ไปใช
อา งอิง
3 ทุกขของ ท ๕.๑ - วเิ คราะหแ ละวิจารณวรรณคดแี ละ - ทุกขของชาวนาในบท ๖ ๑๕
ชาวนาในบท ม.๔ /๑ วรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ กวี
กวี ม.๔ /๖ เบ้อื งตน
- สงั เคราะหขอ คดิ จากวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมเพอื่ นําไปประยกุ ตใชใ น
ชวี ติ จรงิ
4 การพูดใน ท ๓.๑ -พูดในโอกาสตา งๆ พดู แสดง -การพดู สรปุ แนวคิด ๖ ๑๕
โอกาสตางๆ ม.๔/๕ ทรรศนะ โตแยง โนม นาวใจ และ จากเรื่องท่ฟี ง และดู
ม.๔/๖ เสนอแนวคิดใหมด วยภาษาถกู ตอง -การพดู ในโอกาสตา งๆ
เหมาะสม -มารยาทในการฟง การ
-มมี ารยาทในการฟง การดูและการ ดู และการพูด
พดู

44

5 นทิ านเวตาล ท ๕.๑ - วเิ คราะหแ ละวจิ ารณวรรณคดแี ละ - นิทานเวตาล ๔ ๑๕
เรือ่ งท่ี ๑๐ ม.๔ /๑ วรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ - การเขยี นเรียงความ ๖ ๑๕
ม.๔ /๖ เบือ้ งตน -การเขียนยอความ
6 การสงสาร - สงั เคราะหข อ คดิ จากวรรณคดแี ละ -การเขียนรายงานทาง
ดวย ท ๒.๑ วรรณกรรมเพื่อนําไปประยุกตใชใ น วชิ าการ
ม.๔ /๒ ชวี ิตจริง -มีมารยาทในการเขียน
การเขยี น ม.๔/๓ - เขียนเรยี งความ
ม.๔/๘ - เขยี นยอ ความจากสอ่ื ทมี่ ีรปู แบบ
และเน้ือหาหลากหลาย
-การเขยี นรายงานทางวชิ าการ
-มีมารยาทในการเขียน

วัดผลประเมนิ ผล กลางภาค ปลายภาค ๔ ๑๐๐
รวม ๔๐

45

คาํ อธบิ ายรายวิชา
รายวชิ า ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัสวชิ า ท32101 กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.0 หนวยกิต
อา นออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดอยางถูกตอง ไพเราะและเหมาะสมกบั เรื่องท่อี าน เชน
นวนิยาย โคลง ฉันท ราย ลิลติ จับใจความ ตคี วาม แปลความ และขยายความ วิเคราะหและวิจารณ
เรอ่ื งที่อานในทุกๆ ดานอยางมีเหตุผล เชน วรรณกรรมพน้ื บาน คาํ ขวญั และมีมารยาทในการอา น เขยี น
ส่อื สารในรปู แบบตางๆ ไดตรงตามวตั ถปุ ระสงค โดยใชภ าษาเรียบเรียงถูกตอ ง มขี อมูลและสาระสาํ คัญชัดเจน
เชน โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ เขยี นรายงานการศึกษาคนควา เรอ่ื งทส่ี นใจตามหลกั การเขียน
เชงิ วชิ าการ และใชขอ มลู สารสนเทศ อา งองิ อยางถกู ตอง บันทกึ การศึกษาคน ควา เพ่ือนําไปพัฒนาตนเอง
อยา งสมํา่ เสมอ เชน การเขยี นบันทกึ ความรจู ากแหลงเรยี นรูทีห่ ลากหลาย และมีมารยาทในการเขยี น
พูดสรุปแนวคดิ และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ฟี ง และดู ประเมินเร่ืองที่ฟง และดู แลวกาํ หนดแนวทางนําไป
ประยุกตใชใ นการดาํ เนินชีวิต โดยการเลอื กเร่ืองที่ฟงและดู อยางมีวจิ ารณญาณ และมมี ารยาทในการฟง
การดู และการพูด แตง บทรอยกรอง ประเภท ราย อธบิ ายและวิเคราะหห ลักการสรางคําในภาษาไทย
วเิ คราะหและวิจารณว รรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณเบื้องตน เชนจุดมุงหมายการแตง
พจิ ารณารปู แบบ เนอ้ื หา กลวธิ ี วิเคราะหและวิจารณ วรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรม
พ้นื บา นและอธิบายภูมปิ ญญาทางภาษา ทแี่ สดงถึงภาษากับวัฒนธรรม ภาษาถ่นิ ทอ งจาํ และบอกคุณคา
บทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองทีม่ ีคณุ คาตามความสนใจและนําไปใชอางอิง
โดยใชทักษะกระบวนการเรียนความรูความเขาใจ กระบวนการกลุม กระบวนการเรียนทางภาษา
กระบวนการตระหนัก กระบวนการเจตคติ กระบวนการสรางคานิยม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ
แกปญหา
เพ่อื ใหเ กดิ ความเขา ใจและมีสมรรถนะสาํ คัญในการสอ่ื สาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี
ทกั ษะชีวติ ตลอดจนมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค รักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย มีนสิ ยั ใฝเ รียนรู
รักความเปน ไทย อยูอยา งพอเพียง มงุ ม่ันในการทํางาน ซื่อสตั ยส จุ รติ มวี นิ ัยและมจี ิตสาธารณะ

รหสั มาตรฐาน / ตวั ชี้วัด
ท 1.1 / ม. 5/1 , 5/2 , 5/3 , 5/9
ท 2.1 / ม. 5/1 , 5/6 , 5/7 , 5/8
ท 3.1 / ม. 5/1 , 5/3 , 5/6
ท 4.1 / ม. 5/4 , 5/6
ท 5.1 / ม. 5/1 , 5/5 ,5/6

รวมท้ังหมด 16 ตัวช้ีวัด

46
ตัวช้วี ัด / จดุ ประสงค

7. มมี ารยาทในการอา น อานออกเสยี งรอยแกวและรอ ยกรองไดถ ูกตอ ง
8. ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมีคุณคา และนําไปใชอา งองิ ไดถกู ตอง
9. จับใจความ ตคี วาม แปลความ ขยายความ วิเคราะห วิจารณเรือ่ งทอ่ี านไดอยา งมีเหตผุ ล
10.มีมารยาทในการเขียนรายงานตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ โดยใชข อ มูลสารสนเทศอางอิงอยา ง

ถกู ตอง
11.มีมารยาทและคุณธรรมในการส่ือสาร แตง คาํ ประพันธป ระเภทราย และอธิบาย วิเคราะหหลักการ

สรางคําในภาษาไทยได
12.มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู พดู สรปุ แนวคิดและแสดงความคดิ เห็นจากเรื่องที่ฟง และดู

ไดถกู ตอง

ตารางวิเคราะหเ พื่อกาํ หนดเวลาและอตั ราสวนคะแนน
รายวชิ า ภาษาไทยพน้ื ฐาน ม. 5 ท32101 จํานวน 1 หนวยกติ

อัตราสว นคะแนน ระหวางภาค : ปลายภาค 70 : 30

ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรูขอที่ 1 2 3 4 5 6 รวม
คะแนนตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู 5 10 10 - - - 25
4 6 10 - - - 20
กอนสอบกลางภาค - - - 10 10 5 25
คะแนนวัดผลกลางภาค - - - 10 10 10 30
คะแนนตวั ชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู 9 16 20 20 20 15 100

หลังสอบกลางภาค
คะแนนวัดผลปลายภาค

รวม

47

โครงสรางรายวิชา
รายวชิ า ภาษาไทยพืน้ ฐาน รหัสวิชา ท32101 กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย
ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จํานวน 1.0 หนว ยกิต

หนว ยการ สาระการเรยี นรู ตวั ช้วี ัด/จดุ ประสงคการเรยี นรู เวลา คะแนน
เรียนรทู ่ี (คาบ)
1 มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑมัทรี 1. มีมารยาทในการอาน อานออกเสยี ง 5 10

รอยแกวและรอ ยกรองไดถูกตอง
2. ทองจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองทีม่ ี 5 15

คณุ คาและนาํ ไปใชอ างอิงไดถูกตอง

2 การพจิ ารณาวรรณคดวี รรณกรรม 3. จับใจความ ตีความ แปลความ ขยาย 8 20
- นวนยิ าย
- วรรณกรรมพืน้ บาน ความ วเิ คราะห วจิ ารณเ ร่ืองทีอ่ า นได
- บทละครพูดคาํ ฉนั ท อยางมีเหตุผล

เรื่อง มทั นะพาธา สอบกลางภาค 2

3 โคลนติดลอ 4. 10 4 20
ตอน ความนยิ มเปน เสมยี น
- การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ
- การเขยี นอางอิงขอมูล
4 การพฒั นาการส่อื สาร 5. มมี ารยาทและคุณธรรมในการสือ่ สาร 6 20
- มารยาทและคุณธรรมใน
การส่อื สาร แตง คําประพนั ธป ระเภทราย และ
- แตง คาํ ประพนั ธป ระเภท ราย อธบิ าย วิเคราะหหลกั การสรางคํา
- การสรางคาํ ในภาษาไทย ในภาษาไทยได

5 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 6. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู 4 15
- การถามและการตอบ
- การฟง และการอานใหเ กิด พูดสรุปแนวคดิ และแสดงความคดิ เหน็
จากเรือ่ งที่ฟงและดูไดถ ูกตอง
วิจารณญาณ

สอบปลายภาค 2
รวม 40 100

48

คาํ อธบิ ายรายวิชา กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย
รายวชิ า ภาษาไทยพ้นื ฐาน รหัสวชิ า ท32102
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จํานวน 1.0 หนว ยกติ

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดอยา งถกู ตอง ไพเราะและเหมาะสมกบั เร่ือง
ทอ่ี าน เชน นวนยิ าย โคลง ลลิ ิต อานเร่ืองตา งๆ แลวเขยี นกรอบแนวคิด ผงั ความคิด บันทึก ยอความ และ
รายงาน เชน ปาฐกถา เทศนา และมมี ารยาทในการอา น อาน เขยี นส่อื สารในรูปแบบตา งๆ ไดตรงตาม
วตั ถปุ ระสงค โดยใชภ าษาเรียบเรียงถูกตอง มีขอมูลและสาระสําคัญชัดเจน เชน รายงานการประชมุ กรอก
แบบรายการตางๆ เขียนเรียงความ เขยี นยอ ความจากส่ือท่มี ีรูปแบบและเนอื้ หาหลากหลาย เชน นวนยิ าย
และวรรณกรรมพนื้ บาน และมีมารยาทในการเขยี น พดู ในโอกาสตา งๆ พดู แสดงทรรศนะ โตแ ยง โนม นา วใจ
และเสนอแนวคิดใหมดว ยภาษาถูกตองเหมาะสม เชน พดู อภิปราย และมีมารยาทในการฟง การดู และการพูด
ใชคําและกลุมคําสรางประโยค ตรงตามวัตถปุ ระสงค คําและสํานวน การรอ ยเรยี งประโยค การเพ่มิ คํา
การใชค าํ การเขยี นสะกดคํา แตง บทรอ ยกรอง ประเภท โคลง วเิ คราะหและวิจารณว รรณคดแี ละ
วรรณกรรมตามหลกั การวจิ ารณเบอื้ งตน เชน จุดมุงหมายการแตง พิจารณารปู แบบ เน้อื หา กลวิธี วิเคราะห
และวจิ ารณ วรรณคดีและวรรณกรรม วเิ คราะหล กั ษณะเดนของวรรณคดเี ชอื่ มโยงกบั การเรยี นรทู าง
ประวตั ศิ าสตรแ ละวถิ ีชีวิตของสังคมในอดีต

โดยใชทักษะกระบวนการเรียนความรคู วามเขาใจ กระบวนการกลุม กระบวนการเรียนทาง
ภาษา กระบวนการตระหนัก กระบวนการเจตคติ กระบวนการสรางคานิยม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ
แกปญหาเพ่ือใหเกิดความเขาใจและมีสมรรถนะสําคัญในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี
ทักษะชีวิต ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค รักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย มีนิสัยใฝเรียนรู
รกั ความเปนไทย อยูอยางพอเพียง มุง มนั่ ในการทํางาน ซ่ือสัตยสุจริต มวี ินัยและมจี ิตสาธารณะ

รหัสมาตรฐาน / ตวั ชี้วดั
ท 1.1 / ม. 5/1 , 5/7 , 5/9
ท 2.1 / ม. 5/1 , 5/2 , 5/3 , 5/8
ท 3.1 / ม. 5/5 , 5/6
ท 4.1 / ม. 5/2 , 5/4
ท 5.1 / ม. 5/1 , 5/2

รวมท้ังหมด 13 ตัวช้ีวัด

49

ตวั ชวี้ ัด
13.มีมารยาทในการอาน อานออกเสยี งรอยแกว รอ ยกรอง และวิเคราะหเ นื้อหาบทประพันธไ ด
14.จับใจความเร่อื งที่อานโดยการเขยี นกรอบแนวคิดในรูปแบบผังความคิดได
15.มมี ารยาทในการเขยี น เขียนรายงานการประชมุ กรอกแบบรายการตางๆ เขยี นเรียงความ
และเขยี นยอความได
16.มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู พูดแสดงทรรศนะในเชิงอภปิ รายได
17.ใชค าํ กลุมคํา สาํ นวน เพมิ่ คํา เขียนสะกดคํา สรา งประโยคเพือ่ การสื่อสารไดถูกตอง
18.วเิ คราะหและประเมินคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมดา นวรรณศิลป ดานสังคมและวฒั นธรรม
ไดถ ูกตอ ง

ตารางวเิ คราะหเพอ่ื กําหนดเวลาและอัตราสวนคะแนน
รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ม. 5 ท32102 จํานวน 1 หนวยกิต

อตั ราสว นคะแนน ระหวา งภาค : ปลายภาค 70 : 30

ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรูขอ ท่ี 123456 รวม
คะแนนตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู 5 5 15 - - - 25
10 4 6 - - - 20
กอนสอบกลางภาค - - - 5 10 10 25
คะแนนวัดผลกลางภาค - - - 10 10 10 30
คะแนนตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู 9 10 21 15 20 20 100

หลังสอบกลางภาค
คะแนนวัดผลปลายภาค

รวม


Click to View FlipBook Version