The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริการทางการแพทย์ในสงคราม คชรน สำหรับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การบริการทางการแพทย์ในสงคราม คชรน สำหรับ

การบริการทางการแพทย์ในสงคราม คชรน สำหรับ

การบริการแพทย์ในสงคราม
เคมี ชวี ะ รงั สี นวิ เคลียร์ (คชรน.)

พ.อ.หญิง จริ าภรณ์ ชมศรี
อจ.หน.รร.สร.พบ.
ธนั วาคม ๒๕๖๑

ขอบเขตเนอื้ หา

1. ลักษณะเฉพาะของอาวธุ คชรน.

2. การใช้อาวุธ คชรน.

3. อาวธุ เคมี อาวธุ ชวี ะ อาวธุ รังสี อาวุธนิวเคลยี ร์

4. การปฐมพยาบาลในสถานการณ์ คชรน.
5. หลกั พืน้ ฐานการป้องกนั
6. การทาลายลา้ งพิษผู้ป่วยเจบ็ จากอาวธุ คชรน.

กล่าวท่ัวไป อาวธุ คชรน.

• อาวธุ คชรน.เปน็ อาวธุ ทม่ี อี านภุ าพทาลายลา้ งสูง

• ถูกออกแบบมาเพื่อทาใหเ้ กิดจานวนผูป้ ่วยเจบ็ เปน็
จานวนมาก (Mass casualties)

• เป็นอาวธุ ใช้ในการขวู่ า่ จะใช้อาวุธ หรือ ใชจ้ รงิ กท็ า
ให้หนทางปฏิบตั ิเปล่ียนไปได้เป็นอย่างมาก

ลักษณะเฉพาะของอาวธุ คชรน.*

1. อนั ตรายตกค้าง ฝุน่ กมั มนั ตรังสี

พื้นที่โจมตี เชอ้ื โรค
สารเคมี
(Attack
Area)

พื้นท่ีอนั ตรายตามลม

เส้นทศิ ทางลม (Downwind Hazard Area)

10 Km

15 Km
30 Km 50 Km

ลกั ษณะเฉพาะของ อาวุธ คชรน.

2. ใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกนั และ สิ่งอุปกรณ์พเิ ศษ

วัตถปุ ระสงค์ในการใช้อาวธุ

• ทาใหม้ นุษย์ สัตว์ พืช เจ็บป่วย บาดเจ็บ ตาย
• เพอื่ ขดั ขวางการใช้พืน้ ที่ ส่ิงอานวยความ

สะดวก และยุทโธปกรณ์

การใชอ้ าวุธ คชรน. *

อาวธุ เคม-ี เป็นอาวธุ ทางยทุ ธวธิ ี
อาวุธชวี ะ-เปน็ อาวุธทางยทุ ธศาสตร์

อาวธุ รงั สี/นิวเคลยี ร์ – เปน็ ทง้ั อาวธุ

ทางยทุ ธศาสตร์ และ ทางยุทธวิธี

ทางทส่ี าร คชรน. เข้าสรู่ า่ งกาย

• ทางเดินหายใจ (ลอ่ แหลมมากท่ีสดุ )*
• ผวิ หนงั /นยั นต์ า ผิวหนัง รอยฉกี ขาด

วันทอี่ ากาศรอ้ นช้นื เกดิ อันตรายต่อผวิ หนงั มากกว่าปกติ

• ระบบทางเดินอาหาร

ผลจากการใช้อาวุธ

• ทาใหเ้ กิดการสญู เสยี กาลังพล
• ลดประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั งิ าน
• ลดความคลอ่ งแคล่วในการดาเนนิ กลยุทธ์
• จากดั การใช้ภมู ิประเทศ
• ตดั การสนบั สนนุ การสง่ กาลงั

อาวธุ คชรน.

อาวุธเคมี

การแบง่ สารทใี่ ชใ้ นสงครามเคมี

• สารสงั หาร –มีผลทาใหม้ นุษย์ สตั ว์ตาย เจ็บปว่ ยอย่าง
รุนแรง แบง่ ย่อยเป็น สารประสาท สารโลหิต
สารพพุ อง สารสาลกั ทอกซิน

• สารทาใหไ้ รส้ มรรถภาพ- เป็นสารท่ที าให้หมด
ความสามารถในการปฏิบัติภารกิจชั่วคราว แบ่งเป็น
สารออกฤทธ์ิทางจิต สารอาเจยี น tear gas/RCA

• สารทาลายพืช- เป็นสารทท่ี าให้พืชตาย ทาใหด้ นิ เสือ่ ม
สารนีถ้ กู นามาใชใ้ นการสนบั สนนุ การรบ

อาวุธเคมี สารสงั หาร

1. สารประสาท : สาร G และ สาร V
2. สารโลหิต : ไซยาไนด์ และ คลอไรด์
3. สารพุพอง : มัสตารด์ และ ลวิ ไิ ซด์
4. สารทาให้สาลกั : คลอรนี ฟอสจนี
5. ทอกซิน : Botulin A, Ricin, trichotecene

Agent สมบัติทางเคมี ทางเขา้ สู่ อาการ การปฐม
ร่างกาย พยาบาล
สาร G
ของเหลว ระยะแรก ฉดี ยาแกพ้ ษิ
GB * ซาริน เป็นไอได้ง่าย แน่นหนา้ อก ผายปอด
หายใจไมส่ ะดวก ทลล.ท่ีเส้อี
สาร G ของเหลวไมม่ ีสี ผ้าและ
ผิวหนัง
GD โซแมน ระเหยยากเปน็ ไอยาก ระยะหลัง M 13

สาร G ไมม่ กี ลิน่ รนุ แรงทสี่ ุด ปวดศรี ษะ

GA ทาบนู ของเหลว ไม่มีสี หายใจ ความคิดสบั สน
ระเหยเปน็ ไอยาก
สาร V ปวดทอ้ ง คล่ืนไส้
กล่ินผลไม้ อาเจยี น

ชัก เกรง็ กระตกุ

ของเหลวไมม่ สี ี หยดุ หายใจ
พิษมากกว่าสารจี ร่างกายอ่อนปวกเปียก
เสยี ชีวิต

อาการจากสารประสาท (SLUDGEM)

• S Salivation นา้ ลายไหล
• L Lacrimation นา้ ตาไหล สายตาพร่า
• U Urination ปัสสาวะไหล โดยไม่รู้ตัว
• D Defecation อุจจาระไหล โดยไมร่ ู้ตวั
• G GI distress คล่นื ไส้
• E Emesis (vomiting) การอาเจยี น
• M Miosis (pupil constriction) รมู ่านตาหดเล็กผดิ ปกติ

การปฐมพยาบาลผปู้ ่วยจากสารประสาท

ยาแกพ้ ษิ Nerve Agent Antidote Kits; (NAAKs)
• Atropine

–ใช้เพอื่ ขวางการกระตนุ้ ตอ่ ระบบประสาท
– ลดอาการชักเกรง็

• 2-PAM chloride

– เพ่ือกาจัดสารประสาทออกจากร่างกาย
–มผี ลในการผอ่ นคลายกลา้ มเน้อื ระบบหายใจไมใ่ ห้หยดุ ชะงัก

และกระตุกจากสารประสาท

ยาแก้พิษ (Antidote)

-เปน็ ยาทใ่ี ห้เมือ่ เกดิ อาการป่วยจากพิษของสารเคมี
-ใชใ้ นข้นั การปฐมพยาบาลตนเองหรอื เพ่อื นทหาร
เพื่อบรรเทาอาการเจบ็ ปว่ ยก่อนจะได้รับการดแู ลจาก
เจา้ หนา้ ทเี่ หล่าแพทย์

*ใชบ้ รรเทาอาการท่เี กดิ จากพษิ ของสารประสาทไม่ใชย่ าทใ่ี ชร้ กั ษาให้หายขาด

การฉดี ยาอโทรปนี (Atropine)



การปฐมพยาบาลเมือ่ การหายใจลม้ เหลว

• การผายปอดด้วยวธิ ีกดหลังยกแขน
จัดทา่ ทางของผ้ปู ว่ ย

วางมือลงบนแผ่นหลังของผ้ปู ว่ ย

การปฐมพยาบาลเม่อื การหายใจลม้ เหลว

จังหวะที่ 1 กด

จังหวะที่ 2 จบั ตน้ แขน
จงั หวะที่ 3 ดงึ แขนขึ้น

การปฐมพยาบาลสาหรบั สารพุพอง

เมอื่ สารพพุ องเปรอะเป้ือนผิวหนงั
1. สวมหนา้ กากปอ้ งกนั ทนั ทีถ้ายงั ไมไ่ ด้สวม
2. ถ้านัยนต์ าเป็นอันตราย ใชน้ ้าสะอาดล้างตาหลาย ๆ ครง้ั
3. ทาลายลา้ งพษิ ทผ่ี ิวหนงั ดว้ ยชดุ ทาลายลา้ งพิษส่วนบคุ คล
4. ถ้าเกดิ บาดแผลท่ีผวิ หนังแลว้ ให้ใช้ผา้ พันแผลสะอาดปิด

บาดแผล ระวงั อย่าให้ตมุ่ พุพองแตกรีบไปพบแพทย์

การปฐมพยาบาลสาหรับสารโลหติ

เม่ือมอี าการป่วยจากสารโลหิต
1. สวมหน้ากากปอ้ งกันทันทถี ้ายังไม่ได้สวม
2. ดมยาเอมลิ ไนไตรท์ แต่รวมกนั แล้วตอ้ งไม่เกนิ ๘ หลอด

โดยเว้นระยะเวลาหา่ งกนั ประมาณ ๓ ถึง ๘ นาที
3. ผายปอดถา้ การหายใจล้มเหลว
4. ใหค้ วามอบอนุ่ แกร่ า่ งกาย
5. รอทาการสง่ กลบั ทางแพทย์

การปฐมพยาบาลสาหรบั สารสาลกั

เม่อื มีอาการปว่ ยจากสารสาลัก
1. สวมหนา้ กากป้องกันทันทถี ้ายังไม่ไดส้ วม
2. หยุดการกระทาทุกอยา่ ง น่ังพกั ให้ท่านง่ั พิง อย่าเคลือ่ นท่ี

ไปไหนถ้าไม่จาเป็นจริง ๆ
3. ให้ความอบอนุ่ แก่ร่างกาย
4. รอการสง่ กลบั ทางแพทย์



• UN ใหน้ ิยามว่า “สง่ิ มีชวี ิตไมว่ า่ จะมี
ธรรมชาตเิ ป็นเชน่ ไร รวมถงึ สว่ นที่ทาให้เกดิ
การตดิ เช้ือซ่ึงนามาจากสิง่ มชี วี ิตนัน้ ถกู
นาไปใชโ้ ดยเจตนาเพ่อื ให้เขา้ ไปเจริญและ
เพมิ่ จานวนในรา่ งกาย มนุษย์ สตั ว์ พืช
เป็นผล ให้ปว่ ยเปน็ โรคจนกระทัง่ เสยี ชวี ิต

ลักษณะท่ีเปน็ ข้อไดเ้ ปรยี บ

- แพรพ่ นั ธ์ุไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
- ตรวจจบั หรอื พิสจู น์ทราบไดช้ า้
- เหมาะสาหรบั ใช้ในการกอ่ การรา้ ย ก่อวนิ าศกรรม
หรอื ปฏิบตั กิ ารในทางลับ

1. รนุ แรง (Severity)
2. มีชวี ติ (Viability)
3. ทาใหเ้ กดิ การติดต่อ(Communicability)

แอนแทรกซ์ (Anthrax)

• เกิดจากแบคทีเรีย Bacillus anthracis
• เข้าสรู่ า่ งกายทางการหายใจ ผวิ หนัง กระเพาะอาหาร
• แอนแทรกซท์ ป่ี อดมอี ันตรายถึงชวี ติ สงู สดุ
• รกั ษาด้วยยาปฏิชวี นะ

ไข้ทรพษิ /ฝดี าษ– Smallpox

• เชอื้ ไวรัส Variola
• ทาให้เกิดโรคฝดี าษ เป็นโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง ระหว่าง

มนุษย์
• อาการเจ็บปว่ ยจะเริม่ ด้วยไขส้ งู ปวดตัว ปวดศีรษะ
• ผืน่ และตมุ่ พอง
• ตุ่มพองในฝีดาษจะเรมิ่ ท่ีใบหน้าและสว่ นปลายแขน

ขาและเลอ่ื นเขา้ สู่ทรวงอกและช่วงทอ้ ง

การแพรก่ ระจายของสารชวี ะ

• การปล่อยกระจายเปน็ แอโรซอล โดยการใชส้ เปรย์
หรือวัตถุใหก้ ระจายอยใู่ นอากาศ

• การปล่อยกระจายไปกับสตั วพ์ าหะ ทาใหส้ ตั วต์ ดิ เชื้อ
แล้วปล่อยเข้าพ้ืนทเ่ี ปา้ หมาย

• วิธีการกอ่ วนิ าศกรรม หรือปล่อยกระจายโดยวิธีปกปิด เชน่
การปล่อยสารอย่างลับๆลงในน้า อาหาร

• เข้าสู่ร่างกายทาง-การหายใจ ผิวหนัง บาดแผล ทางเดินอาหาร

ทาใหเ้ กดิ โรคตดิ เชอ้ื

• เปน็ อันตรายแบบหน่วงเวลา
• เมือ่ สารชวี ะเขา้ สรู่ า่ งกายจะทวจี านวนมากขึ้น

เอาชนะภมู คิ มุ้ กนั ของรา่ งกาย

เกิดอาการเจ็บปว่ ย

อาวธุ รงั สี

อาวธุ รังสี

• การจู่โจมด้วยรงั สที มี่ อี นั ตรายถึงตาย
• วธิ กี ารจโู่ จมโดยทาใหเ้ กิดการกระจายของรังสี ทาให้เกิด

กระจายในอากาศ หรอื ใสล่ งในอาหารและน้า
• ปี ค.ศ. 1995 กลุ่มชเี ชน่ (Chechen) ได้ฝังสิ่งบรรจุที่มี

Cesium-137 ไว้ในสวนสาธารณะของกรงุ มอสโค เพยี ง
เพื่อ จุดประสงคท์ างจติ วทิ ยา (เพอ่ื ทาลายความเชอื่ มน่ั )

แหล่งกาเนิดกมั มนั ตรังสี

ปี ค.ศ. 1896
นักวทิ ยาศาสตร์ชาวฝร่ังเศส อองรี เบคเคอเรล
ตรวจสอบสารเรืองแสงพบโดยบังเอญิ
เกลอื ยูเรเนียม เปล่งพลงั งานออกมารูปหนึ่ง
ไม่ใช่แสงสว่าง

อานาจการทะลุทะลวงของรังสี

รังสี และวสั ดุป้ องกนั

รังสี วสั ดุป้ องกนั

อลั ฟา กระดาษ เสื้อผ้า
เบต้า พลาสติก แก้ว โลหะเบา
แกมมา โลหะหนัก คอนกรีต ดนิ
นิวตรอน คอนกรีต

อาวธุ นิวเคลยี ร์

ผลอันตรายจากอาวธุ นิวเคลยี ร์ *

1. แรงระเบิด –มีอานาจการทาลายมากท่สี ุด 50%
2. รงั สีความร้อน–แสงวาบ(ทาลายนัยตต์ า)ลูกไฟ 35%
3. รังสนี ิวเคลียร์–อัลฟา เบตา้ แกมมา นวิ ตรอน 14%
4. พลัส์แมเ่ หล็กไฟฟ้า – มีผลต่ออุปกรณ์

อเิ ลคทรอนิก แต่ไมม่ ีผลอันตรายต่อคน 1%

ผลอนั ตรายจากแรงระเบิด

• ทางตรง จากความดันจานวนมหาศาล shock

wave, mach effect

–ร่างกายถกู กระแทก ถกู บีบอดั อย่างแรง และ
พองกลบั คืน

–ทาใหอ้ วัยวะที่มชี ่องอากาศอยูภ่ ายในฉีกขาด เชน่
ปอด กระเพาะ ลาไส้ เกดิ ภาวะตกเลือด

–แก้วหูแตก

ผลอันตรายจากแรงระเบดิ

•ทางออ้ ม

– รา่ งกายถูกพดั กระเดน็ ลมหอบขนึ้ ไปใน
อากาศ ปะทะกับของแข็ง ลากครูดไปกบั พื้น

– ซากสิ่งปรักหักพังปลวิ มาทับร่างกาย ทาให้
ได้รบั บาดเจบ็ เพิ่มเตมิ

ผลอนั ตรายจากรังสีความรอ้ น *

• พลังงานทป่ี ลดปล่อยออกมาจากการระเบดิ

ประกอบดว้ ย แสงวาบ ลกู ไฟ ความรอ้ น
• เดนิ ทางด้วยความเร็วแสง 350,000 km/s
• แสงสวา่ งมากกว่าแสงดวงอาทิตย์ อนั ตรายต่อ

นยั น์ตา จอตาไหม้ อาการนยั น์ตาพรา่
• แผลไหม้

ผลอันตรายจากรังสนี ิวเคลยี ร์

• รังสนี ิวเคลยี รเ์ รมิ่ แรก เปล่งออกมาภายใน 1 นาที

–อลั ฟา เบต้า แกมมา นิวตรอน

• รงั สีนวิ เคลียรต์ กคา้ ง

–ฝนุ่ กมั มนั ตรงั สี - ไม่แตกตัวปลอ่ ยอัลฟา,
- แตกตวั ปลอ่ ยเบต้า แกมมา

–รงั สีนวิ ตรอนเหน่ยี วนา ดินจบั อนุภาคนิวตรอนไว้
กลายเปน็ ธาตกุ มั มันตรังสี ปลอ่ ยเบตา้ แกมมา

ผลอันตรายจากรงั สีนิวเคลียร์

• อันตรายเฉียบพลัน เสียชวี ิตภายใน 24 วนั

-ระบบเลือด ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบประสาท
สว่ นกลาง

• อันตรายระยะยาว

อายุสนั้ มะเรง็ ตอ้ กระจก ผิวหนงั อักเสบเรอ้ื รงั

ผลอันตรายจากพลสั ์แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

• ถกู แผอ่ อกจากลกู ไฟดว้ ยความเร็วแสงทุกทิศทาง
• พลงั งานของพลัส์แม่เหล็กไฟฟา้ ถา่ ยทอดใหก้ ับวัตถุท่ี

เปน็ ตัวนาไฟฟา้ กลายเปน็ กระแสไฟฟา้ ที่มีแรงดนั ไฟฟา้
เปรียบไดก้ ับฟ้าผ่า แตร่ ุนแรงมากกว่า
• มีผลต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์
• ไมม่ ผี ลเป็นอันตรายต่อมนุษย์ *

ปัจจัยทสี่ ่งผลอันตราย
จากอาวุธรงั สี/นิวเคลียร์*

1. ระยะเวลา (time)
2. การกาบงั /การก้ัน (Shielding)
3. ระยะทาง (Distance)

การลดปริมาณรังสรี วม (total dose reduction)

1. หลกี เลีย่ งพน้ื ทเี่ ปือ้ นพษิ กัมมันตรังสี

– ใชก้ ารเคล่ือนทีท่ างอากาศ
– เลอื กเส้นทางทมี่ ีอัตรารังสีตา่ ท่สี ดุ
– ใชก้ าลงั พลจานวนนอ้ ยท่สี ุด

2. ลดเวลาการรับรงั สี อยใู่ น พท.เปือ้ นพษิ ใหน้ อ้ ยท่ีสุด
3. เลอื่ นเวลาเขา้ พ้ืนท่ี รอใหก้ ัมมันตรงั สสี ลายตัวลงก่อน
4. ใช้การก้นั รงั สี ใช้กระสอบทรายวางดา้ นขา้ งของรถ

หลกั พื้นฐานการป้องกนั

หลักพื้นฐานการปอ้ งกัน

ความมงุ่ หมาย

 ใหก้ าลงั พลและหน่วยอยรู่ อด หรอื ได้รับอนั ตราย
น้อยท่สี ุดเมอื่ ถกู โจมตี

ดารงความสามารถในการปฏิบตั กิ ารยทุ ธ

ความรบั ผิดชอบการปอ้ งกัน คชรน.

 ทหารทุกนาย ทุกหน่วย ทุกเหลา่ ผบ.
 หนว่ ยทหารวทิ ยาศาสตร์ /วศ.ทบ. ควัน/ทลล.
 หนว่ ยแพทย์ เวชภณั ฑ์ เวชกรรมปอ้ งกนั
 หนว่ ยพลาธกิ าร การศพ
 ฯลฯ


Click to View FlipBook Version