The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.OBEC AWARDS ครั้งที่ 9 ปีการศึกษา 2562 นายนฤชา สายหมี_1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pikzy zaqwer, 2021-03-14 13:42:26

รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.OBEC AWARDS ครั้งที่ 9 ปีการศึกษา 2562 นายนฤชา สายหมี_1

รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.OBEC AWARDS ครั้งที่ 9 ปีการศึกษา 2562 นายนฤชา สายหมี_1

1

ผู้ขอรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดนา้ พ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

2

แบบประเมนิ ผู้ทม่ี ผี ลงานดเี ดน่ ประสพผลสาเรจ็ เป็นท่ปี ระจกั ษ์

ครูผ้สู อนยอดเย่ียม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอนยอดเย่ียม
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

เพือ่ รบั รางวัลทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) คร้งั ที่ 9 ปีการศึกษา 2562

1. ชอ่ื รางวัลท่เี สนอขอ ครูผสู้ อนยอดเยย่ี ม

ช่ือ นายนฤชา นามสกลุ สายหมี

ตาแหน่ง ขา้ ราชการครู คศ.1

ประเภท บคุ คลยอดเย่ียม

สังกดั  สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา
 สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา

ดา้ น  ดา้ นวิชาการยอดเยีย่ ม

 ด้านบริหารจัดการยอดเยยี่ ม
 ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอนยอดเยี่ยม

ระดับ ( ) ก่อนประถมศึกษา

( ) ประถมศึกษา

() มัธยมศกึ ษาตอนต้น ( ) มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
กล่มุ สาระการเรียนรู้

( ) ภาษาไทย () คณิตศาสตร์
( ) วิทยาศาสตร์ ( ) สงั คมศึกษา

( ) ศิลปะ ( ) สุขศึกษาและพลศึกษา

( ) ภาษาต่างประเทศ ( ) การงานอาชีพและเทคโนโลยี

( ) บูรณาการ

กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน

( ) กิจกรรมแนะแนว

( ) กิจกรรมนักเรยี น (ระบุ ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพ็ญประโยชน์

นกั ศกึ ษาวิชาทหารกิจกรรมชมุ นมุ ชมรม)

( ) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

ผขู้ อรบั การประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดนา้ พุ(ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเย่ยี ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน
กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

3

2. เกณฑ์การประเมนิ
ตวั ช้วี ดั ท่ี 1 คณุ สมบัตเิ บื้องต้นเชิงประจกั ษ์

1. ดารงตาแหน่งครู ครผู ู้ชว่ ย พนักงานราชการ ครอู ตั ราจ้าง สังกดั สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

ปจั จุบนั ขา้ พเจ้าดารงตาแหน่ง ครู คศ.1 โรงเรียนวัดน้าพุ(สานักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์54)
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (สาเนา ก.ค.ศ.16)

2. ปฏิบัติหน้าท่ีในการจัดการเรียนการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี นับถึงวันที่ย่ืนขอรับ
การประเมิน

ข้าพเจ้าบรรจุรับราชการเมื่อ 14 สิงหาคม 2558 จนถงึ ปัจจบุ นั ณ โรงเรียนวดั นา้ พุ (สานักงาน
สลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) รวมเวลาท้ังส้ิน 4 ปี 2 เดอื น (สาเนา ก.ค.ศ.16)

3. เป็นผไู้ ม่เคยถูกลงโทษวนิ ยั ภายใน 2 ปี นับถึงวนั ทีย่ ื่นขอรับการประเมนิ ภายใน 2 ปี
นับถึงวนั ที่ยนื่ ขอรับการประเมิน

ข้าพเจ้าเป็นผู้ไม่เคยถูกลงโทษวินัยภายใน 2 ปี นับถึงวันที่ยื่นขอรับการประเมินภายใน 2 ปี
นับถงึ วันทย่ี ื่นขอรบั การประเมนิ (สาเนา ก.ค.ศ.16)

ตัวชีว้ ดั ท่ี 2 การครองตน (มีคณุ ธรรม จริยธรรมท่ีพึงประสงค)์

1. มีผลการประเมินมาตรฐานท่ี 9 จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสอง

หรอื รอบสาม ตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. 2550 อย่ใู นระดบั ดี

ตารางท่ี 1 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ผ่านมา (รอบสาม)

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ต้อง ระดับคุณภาพ ดมี าก
เพอ่ื การประเมินคุณภาพภายนอก ปรบั ปรงุ 
เรง่ ดว่ น ปรบั พอใช้ ดี 
ตัวบง่ ชพ้ี ้นื ฐาน (8 ตัวบ่งช้หี ลัก) ปรงุ
ตัวบง่ ชี้ท่ี 1 ผเู้ รยี นมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ี (10 คะแนน)
ตวั บ่งช้ที ี่ 1.1 ผู้เรยี นมีนา้ หนกั สว่ นสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์

รวมทัง้ รจู้ ักดูแลตนเองให้มีความปลอดภยั (5 คะแนน)
ตวั บ่งชีท้ ี่ 1.2 ผูเ้ รียนมสี นุ ทรียภาพ (5 คะแนน)
ตวั บ่งชท้ี ี่ 2 ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์
ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.1 ผูเ้ รยี นเปน็ ลกู ที่ดขี องพ่อแม่ ผู้ปกครอง ( 4 คะแนน)
ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.1 ผู้เรยี นเปน็ นกั เรยี นท่ดี ีของโรงเรยี น (4 คะแนน)
ตัวบง่ ชี้ที่ 2.3 ผ้เู รียนมีการบาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สังคม (4 คะแนน)

ผู้ขอรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พ(ุ ส้านกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเยีย่ ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

4

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตอ้ ง ระดบั คุณภาพ ดมี าก
ปรบั พอใช้ ดี
เพือ่ การประเมินคุณภาพภายนอก ปรับปรุง ปรงุ 

เร่งด่วน  

ตัวบ่งช้ีที่ 3 ผู้เรียนมคี วามใฝ่รู้ และเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง (10 คะแนน)  

ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.1 ผเู้ รียนค้นควา้ หาความรจู้ ากการอา่ นและใช้เทคโนโลยี 

สารสนเทศ (5 คะแนน)

ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.2 ผเู้ รียนเรยี นรู้ผ่านประสบการณต์ รงร่วมกบั ผูอ้ ื่นทงั้ ในและนอก

สถานศกึ ษา (5 คะแนน)

ตัวบง่ ช้ที ี่ 4 ผู้เรียนคดิ เป็น ทาเปน็ (10 คะแนน)

ตวั บง่ ชี้ท่ี 4.1 ผู้เรยี นมคี วามสามารถดา้ นการคดิ (5 คะแนน)

ตัวบ่งช้ที ี่ 4.2 ผเู้ รียนมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม (5 คะแนน)

ตวั บง่ ชที้ ่ี 5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รียน (20 คะแนน)

ตัวบ่งชท้ี ี่ 5.1–5.2 ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระ

(กลุ่มสาระละ 2.5 คะแนน เปน็ คะแนนผลสัมฤทธ์ิ 2 คะแนน

คะแนนพัฒนาการ 0.5 คะแนน

ตวั บง่ ช้ที ่ี 6 ประสทิ ธผิ ลของการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียน

เปน็ สาคัญ (10 คะแนน)

ตวั บง่ ชที้ ่ี 6.1 ประสทิ ธผิ ลการดาเนินการของสถานศกึ ษา (5 คะแนน)

ตัวบ่งชท้ี ่ี 6.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู (5 คะแนน)

ตัวบ่งช้ที ี่ 7 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนา

สถานศึกษา (5 คะแนน)

ขอ้ ที่ 1 ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การตามบทบาทหน้าท่ีของผบู้ รหิ าร

สถานศกึ ษา (2 คะแนน)

ขอ้ ท่ี 2 ประสทิ ธภิ าพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

(1 คะแนน)

ข้อที่ 3 บรรยากาศและสภาพแวดล้อม (2 คะแนน)

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 8 พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษา

และต้นสังกัด (5 คะแนน)

1. เกณฑ์การพิจารณาเชิงปริมาณ (2.5 คะแนน)

ใชค้ ะแนนของผลการตรวจสอบคณุ ภาพและมาตรฐาน

การศึกษาของ สถานศึกษาจากตน้ สังกัด 1 ปี

2. เกณฑก์ ารพจิ ารณาพัฒนาการ (2.5 คะแนน)

ใช้คะแนนผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 3 ปี ย้อนหลัง

ตวั บง่ ชี้อัตลักษณ์ (2 ตัวบง่ ชี้หลัก) (10 คะแนน)

ตัวบ่งชท้ี ่ี 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกจิ

และวัตถุประสงค์ของการจดั ต้งั สถานศกึ ษา (5 คะแนน)

กลมุ่ ตวั บ่งช้มี าตรการส่งเสรมิ (2 ตวั บง่ ชี้หลกั ) (10 คะแนน)

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่อื ส่งเสรมิ บทบาทของ

สถานศึกษา (5 คะแนน)

ผู้ขอรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั นา้ พุ(ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ตัวบ่งช้ีที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับ มาตรฐาน 5
รักษามาตรฐานและพัฒนา เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป
การศึกษา (5 คะแนน) 

โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ..........ดี...............โดยมีค่าเฉลี่ย 88.78
ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไมร่ ับรอง

ไดร้ ับการรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา รอบสาม จากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา
(องคก์ ารมหาชน)

ตวั ช้วี ดั ที่ 3 การครองคน (ทางานร่วมกับผู้อ่นื ไดด้ ี เปน็ ท่ียอมรบั รกั ใครข่ องศษิ ย์ ผรู้ ว่ มงาน)
(ปฏบิ ตั คิ รบทั้ง 3 กจิ กรรม รวมแล้วไมน่ ้อยกว่า 10 รายการ/ปีการศึกษา)

ขา้ พเจ้ามคี ุณลักษณะประจาตัวทแ่ี สดงถึงการครองคน ดงั น้ี
(1) มีบคุ ลิกภาพดี
ข้าพเจ้ามีบุคลิกภาพเหมาะสมกับการเป็นครู แต่งกายสะอาดถูกต้องตามระเบียบของ
ทางราชการกาหนด การวางตนถูกต้องตามกาลเทศะ ทาให้ผู้คบหาสมาคมสบายใจไม่เห็นแก่ตัว
เป็นคนมีเหตุผลมองโลกในแง่ดี ไม่ใช้อารมณ์ในแก้ไขปัญหา อุปนิสัยร่าเริง แจ่มใส อ่อนน้อมถ่อมตน
ไมเ่ คยเอาเปรียบผู้อน่ื รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่นมาพัฒนาตนเองในการปฏิบตั งิ านใหด้ ียิ่งขน้ึ
(2) มมี นษุ ยสัมพันธด์ ี
สร้างความคุ้นเคยกับผู้อ่ืนได้ง่าย เพราะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หรืองานในหน้าท่ีจะสาเร็จ
หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับการติดต่อประสานงานกับบุคคลอ่ืนเสมอ ตามปกติข้าพเจ้ามีมนุษย์สัมพันธ์
จึงสามารถ เข้ากับคนอ่ืนได้ง่าย ท้ังในวงราชการ เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครองเด็ก ผู้นาองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น และผู้มาติดต่อราชการ จึงทาให้งานส่วนตัวและงานราชการสาเร็จด้วยดี ใช้เหตุผล

ผู้ขอรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพุ(ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นการสอน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

6

ในการตัดสินใจ เม่ือมีปัญหาข้าพเจ้าจะปรึกษาผู้บังคับบัญชาและเพ่ือนร่วมงาน เป็นการตัดสินใจ
จากมติทปี่ ระชุมเป็นหลักการปฏิบตั ิงาน ในขณะเดียวกันเพื่อนร่วมงานเมื่อมีปัญหาหรือผิดพลาดในการ
ปฏิบัติงาน ข้าพเจ้าจะไม่ตาหนิ ในทางตรงกันข้าม ข้าพเจ้าได้ให้กาลังใจและช่วยเหลือแก้ปัญหา
ด้วยเหตุผล ทาให้การปฏิบัติงานสาเร็จไปได้ด้วยดี การยกย่องชมเชยผู้อื่น เม่ือบุคคลน้ันประพฤติตน
ได้ถูกต้องและประสบผลสาเร็จ รู้จักยกย่องชมเชยเพื่อนข้าราชการครู เด็กมีความประพฤติดี เรียนดี
มนี า้ ใจ เด็กทีแ่ ต่งกายสะอาดเรยี บร้อย การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ สาเร็จ จากการปฏิบัติงานของข้าพเจ้า
ในบางครั้ง มีปัญหาเฉพาะหน้าต้องทาการแก้ไข โดยอาศัยความเช่ือมั่นในตนเอง ข้าพเจ้าไม่ยอมให้
ปัญหาน้ันผ่านไปและทาความเสียหายให้กับส่วนรวมโดยเด็ดขาด ดังน้ันข้าพเจ้าจึงได้รับความไว้วางใจ
จากผ้บู ังคบั บัญชา เพือ่ นครแู ละบุคคลในชมุ ชนให้มสี ่วนรว่ มในการปฏิบตั ิงานตา่ งๆ มากมาย

(3) มีสมั พนั ธภาพในการทางาน
การทางานร่วมกับผู้อ่ืน ข้าพเจ้าใช้หลักกัลยาณมิตร และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้ทุกกลุ่ม ทุกเพศ และทุกวัย จึงได้รับการยอมรับจากผู้บริหารโรงเรียน ผู้ร่วมงาน
นักเรียน ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป อีกท้ังมีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ มีบุคลิกภาพที่ดี มีความสามารถ
ในการประสานงาน มีเหตุผลสามารถแก้ปัญหาต่างๆได้ มีเทคนิคการพูด ชักชวน เสนอแนะ ให้กาลังใจ
ทางานร่วมกับผู้อื่นโดยสามารถวางตวั ในการเป็นผูน้ า ผูต้ าม และเป็นผู้ให้ ผู้รับ ท่ีดี มีหลักในการทางาน
มีความบริสุทธ์ิยุติธรรมและทางานอย่างโปร่งใส ปราศจากอคติ ยึดประโยชน์ของเด็กและส่วนรวม
เป็นที่ตั้ง จึงประสบความสาเร็จในการทางานเป็นทีมได้รับการยอมรับจากทุกฝุายที่เกี่ยวข้อง สามารถ
เป็นแบบอย่างทด่ี ไี ด้และมี ผลในการครองคน ดงั น้ี
1. ร่วมกิจกรรมกับผู้ร่วมงานในโรงเรยี น
ข้าพเจ้ามนุษยสัมพันธ์ดี เพราะมีความคิดที่ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หรืองานในหน้าที่
จะสาเร็จหรือไม่น้ัน ขึ้นอยู่กับการติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นเสมอ ตามปกติข้าพเจ้ามีมนุษย์
สัมพันธ์ท่ีดี จึงสามารถเข้ากับคนอื่นได้ง่าย ทั้งในวงราชการ เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครองเด็ก ผู้นาองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน และผู้มาติดต่อราชการ จึงทาให้งานส่วนตัวและงานราชการสาเร็จด้วยดีร่วม
กิจกรรมกบั ผู้รว่ มงานในโรงเรียน ดงั น้ี

ร่วมกับคณะครูและนกั เรยี นจดั กิจกรรม “รดนา้ ดาหัวผูใ้ หญ”่ เนื่องในวันสงกรานต์

ผ้ขู อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดนา้ พ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเยีย่ ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

7

รว่ มกับคณะครใู นโรงเรียนจัดกจิ กรรม “พิธไี หว้คร”ู เป็นประจาทุกปี

รว่ มกบั คณะครูและนกั เรยี นจัดกจิ กรรม “วนั สถาปนาลกู เสอื ไทย”

ร่วมกบั คณะครูและนักเรยี นจัดนทิ รรศการเพ่อื รับการนเิ ทศ ตดิ ตาม “โรงเรียนคณุ ธรรม มลู นิธยิ ุวสถิรคณุ ”

รว่ มกบั คณะครูและนักเรยี นจดั กจิ กรรมและฝกึ ซอ้ มการแสดง “วนั ภาษาไทยแห่งชาต”ิ

ผขู้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเยยี่ ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

8

ร่วมกับคณะครูและนกั เรยี นจดั กิจกรรม “งานมทุ ติ าจิต เกษียณอายุราชการ” ของคณุ ครโู รงเรยี นวดั นา้ พุ

ร่วมกับคณะครแู ละนกั เรียนจัดขบวนแห่ “ถ้วยรางวลั พระราชทานจากสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั
มหาวชริ าลงกรณ์ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ในการแขง่ ขนั “นาฏมวยไทยอซี ซู ุ” ปที ่ี ๙ ในโครงการ “รักชาติ
รกั ษม์ วยไทย”

รว่ มกับคณะครู นกั เรียนและชุมชนจัดกิจกรรม “ทอดผา้ ป่าเพอ่ื การศึกษา” โดยรับหนา้ ทฝี่ าุ ยการเงิน

รว่ มกบั คณะครใู นโรงเรยี นและนักเรยี นจดั กิจกรรม “กีฬาภายใน น้าพุเกม”

ผูข้ อรบั การประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พ(ุ ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเย่ียม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นการสอน
กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

9

รว่ มกบั คณะครูในโรงเรียนและนักเรียนจัดกจิ กรรม “โรงเรียนคุณธรรม” ฝึกซอ้ มนักเรียนนาเสนองานโรงเรียน

รว่ มกับคณะครแู ละนักเรียนจดั กิจกรรมค่ายการเรยี นรู้ “STEM Education”
รว่ มกับคณะครแู ละนกั เรยี นจดั กจิ กรรม “วนั ชาติ”

ร่วมกบั คณะครูและนักเรียนจัดกจิ กรรม “วนั ครสิ มาสต์” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ผ้ขู อรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดนา้ พุ(ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนการสอน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

10

รว่ มกบั คณะครูและนกั เรยี นจัดกิจกรรม “ถวายเทียนจานาพรรษา” เปน็ ประจาทุกปี

ร่วมกบั คณะครูและนักเรียนจัดกิจกรรม “วนั วิชาการน้าพุ 61” เปิดโลกการเรยี นรู้ สู่งานวิชาการน้าพุ

รว่ มกบั คณะครูและนักเรยี นจัดนิทรรศการนาเสนอผลงาน ต้อนรบั คณะศกึ ษาดูงาน
“โรงเรยี นวดั มาบขา่ (มาบข่าวิทยาคาร) สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระยอง เขต 1”

รว่ มกับคณะครจู ัดกิจกรรม “วนั ประทับใจ” ให้กบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา

ผู้ขอรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเย่ยี ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

11

2. จัด/รว่ มกิจกรรมตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
การแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของเดก็ ข้าพเจ้าจะศึกษาสาเหตุของปัญหาและจัดการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ
เพราะเด็กมีความแตกต่างระหว่างบุคคล บางคนมาจากครอบครัวยากจนขาดแคลน ข้าพเจ้าแก้ปัญหา
โดยรว่ มเปน็ คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนการศึกษาของโรงเรียนให้หรือขอความร่วมมือจากชุมชน
ในการสนับสนุนในการจัดหาทุนการศึกษาให้กับนักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจน ออกเย่ียมบ้านเด็ก จัดทา
เอกสารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การคัดเลือกเด็กเข้ารับทุนการศึกษาของโรงเรียน
ภาคเรยี นละ 1 ครั้ง
3. ร่วมกิจกรรมกับชมุ ชน
การติดต่อประสานงานกับผู้ปกครอง การประชุมพบผู้ปกครองในวันปฐมนิเทศของนักเรียน
ช้แี จงระเบยี บวนิ ยั ของโรงเรียนหลกั สูตร การจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล หลักเกณฑ์การเลื่อน
ชั้นเรียนและการจบการศึกษา ทาให้ผู้ปกครองพอใจและเข้าใจ ออกเย่ียมเด็กและผู้ปกครองที่บ้านเด็ก
ในชั้นที่สอนเพื่อทราบ ความเป็นอยู่ทางบ้านเด็กเป็นรายบุคคล สร้างสัมพันธ์กันดีระหว่างผู้สอน
กับผู้ปกครองเด็ก เชิญผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนเป็นวิทยากรภายนอกให้ความรู้แก่เด็ก เชิญ
ผู้ปกครองพัฒนาและร่วมงานกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ผู้ปกครองร่วมมือแก้ไขความประพฤติของ
เด็ก ติดตามเด็กที่ขาดเรียนโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยตามไปสอบถามที่บ้าน โทรศัพท์พูดคุยถึงปัญหา
และร่วมกันหาทางแก้ไปตอ่ ไป

ตวั ชีว้ ัดท่ี 4 การครองงาน (รับผดิ ชอบ มุ่งมน่ั ต้ังใจทางานตามภารกจิ /ทไี่ ดร้ บั มอบหมายจนเกิด
ความสาเรจ็

1. ไม่เคยขาดงาน
ข้าพเจ้าได้น้อมนาแนวพระราชดาริของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ผู้เป็น“ครูแห่งแผ่นดิน”
มาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตและการทางานโดยยึดม่ัน
ในพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9
ท่ีว่า “ผู้ท่ีเป็นครูจะต้องถือเป็นหน้าท่ีอันดับแรกที่จะต้องให้
การศึกษา คือ ส่ังสอนอบรมอนุชนให้ได้ผลแท้จริง ทั้งในด้าน
วิชาความรู้ ทั้งในด้านจิตใจและความประพฤติ ท้ังต้องคิดว่างานที่แต่ละคนกาลังทาอยู่นี้
คือความเปน็ ความตายของประเทศเพราะอนุชนท่ีมีความรู้ความดีเท่านั้นท่ีจะรักษาชาติบ้านเมืองไว้ได้”
จากพระราชดารัสดังกล่าวข้าพเจ้า จึงตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการตามบทบาทและหน้าท่ีของครู
อย่างเต็มกาลังความสามารถมีศรัทธาและยึดมั่นในอุดมการณ์แห่งวิชาชี พครูอุทิศเวลาให้กับการอบรม
ส่งั สอนเดก็ และไม่เคยขาดงานเลย

ผ้ขู อรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดน้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเย่ยี ม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

12

2. ลากิจไม่เกนิ 2 ครง้ั /ภาคเรียน และไม่เกนิ 4 คร้งั / ปีการศึกษา

ตารางที่ 2 แสดงสรุปการลา ระหว่างปีการศึกษา 2560 – 2561

ปกี ารศึกษา ลาปว่ ย (ครงั้ /วัน) ลากิจ (คร้งั /วนั รวม (ครั้ง/วัน)
0
2560 - - 0
0
2561 - -

2562 - -

3. มชี ั่วโมงสอนตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กาหนด

ตารางท่ี 3 แสดงชัน้ /ระดับ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ หรือรายวิชาท่ีสอน ภาคการศกึ ษาตน้

ภาคการศึกษาต้น ปกี ารศึกษา 2561

ที่ รายวชิ า รหัสวชิ า ระดบั ชนั้ จานวนช่ัวโมงต่อสปั ดาห์

1 คณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ค 21101 ม.1/1 3 ชั่วโมง/สัปดาห์

2 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ ค 21201 ม.1/1 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

3 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ค 21101 ม.1/2 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์

4 คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเติม ค 21201 ม.1/2 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

5 คณติ ศาสตร์พื้นฐาน ค 22101 ม.2/1 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์

6 คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเตมิ ค 22201 ม.2/1 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์

7 คณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน ค 22101 ม.2/2 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์

8 คณิตศาสตรเ์ พิม่ เตมิ ค 22201 ม.2/2 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

9 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 23101 ม.3 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์

10 คณติ ศาสตร์เพิ่มเติม ค 23201 ม.3 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

11 ลกู เสอื -เนตรนารี ม.1-3 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

12 แนะแนว ม.1-3 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์

13 ชมุ นมุ คณติ ศาสตร์ ม.1-3 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

14 ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ ม.1-3 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

รวมทั้งสนิ้ 24 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ผู้ขอรบั การประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเย่ยี ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นการสอน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

13

ภาคการศึกษาปลาย ปีการศกึ ษา 2562

ภาคการศกึ ษาปลาย ปีการศกึ ษา 2562
ท่ี รายวชิ า รหสั วิชา ระดับช้นั จานวนชว่ั โมงต่อสปั ดาห์

1 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน ค 21102 ม.1/1 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

2 คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เติม ค 21202 ม.1/1 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 21102 ม.1/2 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์

4 คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ ค 21202 ม.1/2 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

5 คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน ค 22102 ม.2/1 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

6 คณิตศาสตรเ์ พิม่ เตมิ ค 22202 ม.2/1 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์

7 คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน ค 22102 ม.2/2 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์

8 คณติ ศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ ค 22202 ม.2/2 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

9 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ค 23102 ม.3 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์

10 คณติ ศาสตร์เพ่มิ เตมิ ค 23202 ม.3 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

11 ลกู เสอื -เนตรนารี ม.1-3 1 ช่วั โมง/สัปดาห์

12 แนะแนว ม.1-3 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

13 ชุมนมุ คณิตศาสตร์ ม.1-3 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

14 ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ ม.1-3 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

รวมท้งั สน้ิ 24 ช่วั โมง/สปั ดาห์

4. มีผลงาน ดังนี้
1) มีแผนการจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั เปน็ ปจั จุบนั และครบชัว่ โมงสอน

ตลอดปีการศกึ ษา
ข้าพเจ้าได้จัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์มาตรฐาน

การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากมาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์บริบทของชุมชน บริบท
ของโรงเรียน และวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทาหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติ
การเรียนรู้ของนักเรียน กาหนดจานวนหน่วยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ย่อย
และจานวนชั่วโมง จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการดาเนินการสอน มุ่งให้เด็ก
มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมด้วยตนเองมากท่ีสุดผ่านกระบวนการกลุ่มการแสวงหาความรู้หลากหลาย
เ น้ น ทั ก ษ ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ท้ั ง ใ น เ ว ล า เ รี ย น แ ล ะ น อ ก เ ว ล า เ รี ย น มุ่ ง เ น้ น พั ฒ น า คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม
เรียนรู้แบบบูรณาการ มุง่ พัฒนาให้เดก็ เกดิ ปัญญา มีความสขุ

ผ้ขู อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพุ(ส้านกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน
กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

14

ตารางท่ี 4 โครงสรา้ งการจดั เวลาเรยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาคณิตศาสตรพ์ นื้ ฐาน

รหัสวิชา ค 23101 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 60 ช่วั โมง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี/แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลาเรยี น (ช่วั โมง

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 พืน้ ทีผ่ ิวและปรมิ าตร

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 พืน้ ทผี่ ิวและปรมิ าตร : 1 1

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 พื้นทีผ่ วิ และปรมิ าตร : 2 1

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 พืน้ ท่ผี วิ และปรมิ าตร : 3 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 พนื้ ทผ่ี ิวและปริมาตร : 4 1

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5 พน้ื ทีผ่ วิ และปริมาตรของปริซมึ : 1 1

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6 พ้นื ทผ่ี ิวและปรมิ าตรของปรซิ มึ : 2 1

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 พื้นทผ่ี วิ และปริมาตรของปรซิ มึ : 3 1

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8 พ้ืนที่ผวิ และปรมิ าตรของปริซึม : 4 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 พ้ืนทผี่ วิ และปรมิ าตรของทรงกระบอก : 1 1

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10 พน้ื ที่ผวิ และปรมิ าตรของทรงกระบอก : 2 1

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 พน้ื ทผี่ ิวและปรมิ าตรของทรงกระบอก : 3 1

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12 พน้ื ทผ่ี ิวและปรมิ าตรของทรงกระบอก : 4 1

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 13 พน้ื ทผ่ี ิวและปริมาตรของพรี ะมดิ : 1 1

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 14 พน้ื ทผ่ี วิ และปริมาตรของพีระมดิ : 2 1

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 15 พน้ื ทผ่ี ิวและปริมาตรของพีระมดิ : 3 1

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 พนื้ ที่ผิวและปรมิ าตรของพรี ะมดิ : 4 1

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17 พน้ื ทผ่ี วิ และปรมิ าตรของกรวย : 1 1

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 18 พนื้ ท่ีผวิ และปรมิ าตรของกรวย : 2 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 19 พน้ื ที่ผวิ และปริมาตรของกรวย : 3 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 20 พนื้ ทีผ่ วิ และปริมาตรของกรวย : 4 1

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 21 พน้ื ที่ผิวและปริมาตรของทรงกลม : 1 1

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 22 พน้ื ที่ผวิ และปริมาตรของทรงกลม : 2 1

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 23 พน้ื ทผ่ี วิ และปรมิ าตรของทรงกลม : 3 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 24 พนื้ ทผ่ี วิ และปรมิ าตรของทรงกลม : 4 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 25 การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั พนื้ ท่ผี วิ และปรมิ าตรของปริซมึ 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 26 การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผวิ และปริมาตร 1

ของทรงกระบอก

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 27 การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับพน้ื ที่ผวิ และปรมิ าตรของพีระมิด 1

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 28 การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกับพ้นื ทผ่ี วิ และปริมาตรของกรวย 1

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 29 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นท่ผี วิ และปริมาตรของทรงกลม 1

ผู้ขอรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพ(ุ ส้านักงานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยย่ี ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

15

หนว่ ยการเรียนรู้ท่/ี แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลาเรียน (ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 กราฟ 1
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 การเขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปรมิ าณสองชดุ 1
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 กราฟเสน้ 1
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 การเขียนกราฟของสมการเชงิ เส้นสองตวั แปร : 1 1

(กรณี a > 0 และ b = 0 หรอื b  0) 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 การเขยี นกราฟของสมการเชงิ เสน้ สองตัวแปร : 2
1
(กรณี a < 0 และ b = 0 หรือ b  0)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 การเขยี นกราฟของสมการเชงิ เส้นสองตัวแปร : 3 1
1
(กรณี a = 0 และ b = 0 หรอื b  0) 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 การเขียนกราฟของสมการเชิงเสน้ สองตวั แปร เพอื่ หาคาตอบ
1
ของสมการ 1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 การอา่ นและแปลความหมายของกราฟ 1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8 กราฟเสน้ ตรงและกราฟอนื่ ๆ กับการนาไปใช้ 1
1
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 ระบบสมการเชิงเส้น 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 ระบบสมการเชิงเส้น : 1 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 ระบบสมการเชิงเสน้ : 2
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 ระบบสมการเชิงเสน้ : 3 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 ระบบสมการเชงิ เส้น : 4
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 การแกร้ ะบบสมการเชงิ เส้นดว้ ยวธิ กี ารแทนคา่ : 1 1
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 การแก้ระบบสมการเชิงเสน้ ด้วยวิธกี ารแทนคา่ : 2 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การแกร้ ะบบสมการเชงิ เสน้ โดยวธิ ที าให้ สัมประสทิ ธิ์ 1
1
ตวั แปรเท่ากนั : 1 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 การแก้ระบบสมการเชงิ เสน้ โดยวิธที าให้สัมประสทิ ธิ์
1
ตัวแปรเท่ากนั : 2 1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 9 การแกร้ ะบบสมการเชิงเสน้ สองตัวแปร : 1 1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 10 การแก้ระบบสมการเชิงเสน้ สองตัวแปร : 2 1
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 11 โจทยป์ ัญหาการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร : 1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 12 โจทยป์ ัญหาการแกร้ ะบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปร : 2
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 13 โจทย์ปญั หาการแกร้ ะบบสมการเชงิ เส้นสองตัวแปร : 3

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ความคล้าย
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 ความคล้าย
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 รูปสามเหลย่ี มทีค่ ลา้ ย : 1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 รปู สามเหลีย่ มที่คลา้ ย : 2
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4 รูปสามเหลีย่ มท่คี ลา้ ย : 3

ผขู้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเย่ียม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

16

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 สมบตั ขิ องรปู สามเหลยี่ มที่คล้ายกัน : 1 1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 สมบัตขิ องรปู สามเหล่ยี มทีค่ ล้ายกัน : 2 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 สมบตั ขิ องรปู สามเหลีย่ มทค่ี ลา้ ยกนั : 3 1
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 8 การนาไปใช้ : 1 1
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 9 การนาไปใช้ : 2 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 การนาไปใช้ : 3
60
รวมเวลาเรยี น

2) มคี วามสาเร็จในการพัฒนาตามแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan)
ขา้ พเจ้าได้พฒั นาตนเองตามสมรรถนะหลักและประจาสายงาน (ภาคผนวก : ID Plan)

ตัวช้วี ัดที่ 5 มผี ลงานท่ีเกิดจากการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
1. มีผลการประเมินมาตรฐานท่ี 10 จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสาม

ตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2550 อยใู่ นระดับดี
โรงเรียนวัดน้าพุ(สานักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) มีผลการประเมินมาตรฐานที่ 10

จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสามตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2550
อย่ใู น ระดบั ดี

ไดร้ บั การรับรองมาตรฐานการศึกษา รอบสาม จากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา

(องค์การมหาชน)

2. มีงานวิจัยในช้นั เรียนที่สาเรจ็ เผยแพร่แลว้

ตารางที่ 5 แสดงรายชื่องานวิจัยทสี่ าเร็จและเผยแพรแ่ ลว้

ชือ่ เรอ่ื งวจิ ยั ระดับชั้น

การพัฒนาบทเรยี นสาเร็จรปู กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ เรือ่ ง ทศนิยมและเศษสว่ น ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

ผขู้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั นา้ พุ(ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเยยี่ ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นการสอน
กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

17

ตัวช้ีวัดที่ 6 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน เป็นท่ียอมรับในวิชาชีพ

และสงั คม

1. ได้รับรางวลั เชิดชูเกียรติจากหนว่ ยงานภาครัฐ/เอกชน เปน็ ท่ยี อมรบั ในวงวิชาชพี

(ภายใน 2 ปี นับถงึ วนั ยน่ื ขอรับการประเมิน) ดังน้ี

ตารางที่ 6 แสดงรางวลั ยกย่องเชิดชเู กียรติจากหน่วยงานภาครฐั /เอกชน

พ.ศ. ชอื่ รางวลั /เกียรติบัตร/การยกย่องเชดิ ชู หนว่ ยงาน ระดบั /อ้างอิง

2560 คณะกรรมการตดั สินการแข่งขนั อจั ฉริยภาพทางคณติ ศาสตร์ สพฐ. ภูมิภาค/
ระดบั ชน้ั ม.1-ม.3 งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดบั ภาคกลาง เกียรติบัตร
และภาคตะวนั ออก ครัง้ ท่ี 67 จงั หวดั นครนายก

2560 รางวัล ครูผู้สอนเทคนคิ การคดิ เลขเรว็ แบบอินเดีย (เวทคณิต) สพฐ. ประเทศ/
ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ มลู นธิ ิรม่ ฉตั ร เกยี รติบตั ร
สพป.ราชบรุ ี เขต 1 ประเทศ/
2560 รางวัล ครผู สู้ อนนักเรียนแข่งขนั คณิตศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ เกยี รตบิ ัตร
รอบเจียระไนเพชร ครงั้ ที่ 19 ชงิ ถว้ ยรางวลั พระราชทาน
สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงั หวดั /
เกยี รติบัตร
2560 รางวลั ครูผู้สอนนักเรยี นไดร้ บั รางวัล เหรยี ญทอง ชนะเลิศ
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสรา้ งทฤษฎี สพป.ราชบุรี เขต 1 จงั หวดั /
หรือคาอธบิ ายทางคณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั ม.1–ม.3 เกียรติบตั ร
งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ครงั้ ท่ี 67 ระดบั เขตพ้ืนที่
สพฐ. ภูมิภาค/
2560 รางวลั ครผู สู้ อนนกั เรียนไดร้ บั รางวลั เหรียญทอง ชนะเลิศ เกียรตบิ ตั ร
การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎี
หรือคาอธบิ ายทางคณิตศาสตร์ ระดบั ชน้ั ม.1–ม.3 สพป.ราชบรุ ี เขต 1 จังหวัด/
งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน คร้งั ท่ี 67 ระดบั เขตพน้ื ที่ เกียรตบิ ัตร

2560 รางวลั ครูผูส้ อนนกั เรยี นไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง
การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทสรา้ งทฤษฎี
หรือคาอธิบายทางคณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั ม.1–ม.3
งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ครงั้ ท่ี 67 ระดบั ภาคกลาง
และภาคตะวนั ออก จังหวดั นครนายก

2561 รางวัล ครูผู้สอนนักเรียนได้รบั รางวลั เหรยี ญทอง ชนะเลิศ
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสรา้ งทฤษฎี
หรอื คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดบั ชนั้ ม.1–ม.3
งานมหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วชิ าการ
และเทคโนโลยีของนกั เรยี น ครง้ั ท่ี 68 ระดบั เขตพนื้ ท่ี

ผ้ขู อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดนา้ พุ(ส้านักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเยี่ยม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นการสอน
กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

18

พ.ศ. ชื่อรางวัล/เกียรตบิ ัตร/การยกย่องเชดิ ชู หนว่ ยงาน ระดบั /อา้ งอิง
จงั หวัด/
2561 รางวลั ครผู สู้ อนนกั เรยี นได้รบั รางวลั เหรียญทอง ชนะเลิศ เกยี รตบิ ตั ร

การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทบรู ณาการ สพป.ราชบรุ ี เขต 1 ประเทศ/
ความรู้ ในคณิตศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้ ระดบั ชนั้ ม.1–ม.3 เกยี รตบิ ตั ร

งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วชิ าการ ประเทศ/
เกยี รติบตั ร
และเทคโนโลยขี องนกั เรยี น ครงั้ ท่ี 68 ระดบั เขตพน้ื ท่ี
เกียรติบตั ร
2561 รางวลั ครูผสู้ อนนักเรยี นไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง ประเทศ/
เกียรตบิ ตั ร
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎี สพฐ. ภูมภิ าค/
หรือคาอธบิ ายทางคณิตศาสตร์ ระดับชนั้ ม.1–ม.3 เกยี รตบิ ตั ร

งานมหกรรมความสามารถทางศลิ ปหัตถกรรม วชิ าการ ประเทศ/
เกียรตบิ ตั ร
และเทคโนโลยขี องนกั เรียน ครง้ั ท่ี 68 ระดับชาติ
จงั หวัด/
จังหวัดนครปฐม เกยี รติบตั ร

2561 รางวลั ครผู สู้ อนนกั เรยี นได้รบั รางวัล เหรียญทอง

การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทบูรณาการความรู้ สพฐ.

ในคณติ ศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดบั ชน้ั ม.1–ม.3

งานมหกรรมความสามารถทางศลิ ปหัตถกรรม วชิ าการ

และเทคโนโลยีของนกั เรยี น ครงั้ ที่ 68 ระดบั ชาติ

จงั หวัดนครปฐม

2561 รางวัล ศษิ ย์เกา่ ดีเด่น สาขาคณติ ศาสตร์ ประจาปี 2561 มหาวทิ ยาลยั

งานสัปดาห์ ราชภฏั เพชรบุรี

2561 รางวัล ครูผสู้ อนนักเรียนแข่งขนั คณิตศาสตรเ์ พชรยอดมงกฎุ มลู นธิ ิร่มฉัตร

รอบเจียระไนเพชร ครัง้ ที่ 20 ชงิ ถ้วยรางวลั พระราชพระราชทาน

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

2562 รางวัล ชนะเลิศ เหรยี ญทอง ครผู ้สู อนยอดเยย่ี ม สพฐ.

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นการสอน

รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. OBEC AWARDS คร้งั ท่ี 8

ระดบั ภาคกลางและภาคตะวนั ออก

2562 รางวัล รองชนะเลิศ เหรยี ญทอง ครผู ้สู อนยอดเย่ยี ม สพฐ.

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นการสอน

รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. OBEC AWARDS ครัง้ ที่ 8

ระดบั ชาติ

2562 รางวัล ครูผสู้ อนนักเรียนได้รบั รางวัล เหรยี ญทอง ชนะเลิศ สพป.ราชบรุ ี เขต 1

การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทสรา้ งทฤษฎี

หรอื คาอธบิ ายทางคณิตศาสตร์ ระดับชนั้ ม.1–ม.3

งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ครง้ั ท่ี 69 ระดบั เขตพนื้ ท่ี

ผขู้ อรบั การประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยยี่ ม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

19

พ.ศ. ชื่อรางวลั /เกยี รติบตั ร/การยกยอ่ งเชิดชู หนว่ ยงาน ระดับ/อา้ งองิ

2562 รางวัล ครูผ้สู อนนกั เรยี นได้รบั รางวลั เหรียญทอง ชนะเลิศ สพป.ราชบุรี เขต 1 จังหวดั /
การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทบูรณาการความรู้ เกยี รติบัตร
ในคณิตศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้ ระดับชนั้ ม.1–ม.3
งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน คร้งั ที่ 69 ระดับเขตพน้ื ท่ี มูลนิธิ ประเทศ/
ครดู ีของแผน่ ดนิ เกยี รติบัตร
2562 ได้รบั รางวลั “ครดู ขี องแผน่ ดนิ ขั้นพนื้ ฐาน”
จากท่านพลเอกสรุ ยุทธ์ จฬุ านนท์ องคมนตรี สพป.ราชบรุ ี เขต 1 จังหวดั /
โครงการเครือขา่ ยครูดีของแผ่นดนิ เจรญิ รอยตาม เกียรตบิ ตั ร/
เบ้ืองพระยคุ ลบาท โล่รางวลั

2562 ได้รบั รางวลั ครผู ูส้ อนดีเดน่ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ สพฐ. ประเทศ/
เกียรติบตั ร
ประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา
สพฐ. ประเทศ/
ราชบุรี เขต 1 เกยี รติบัตร

2562 รางวลั ครูผสู้ อนนักเรยี นได้รบั รางวลั เหรยี ญทอง
รองชนะเลิศ อันดบั 2 การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์
ประเภทสร้างทฤษฎหี รือคาอธิบายทางคณติ ศาสตร์
ระดับชน้ั ม.1–ม.3 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ครงั้ ท่ี 69
ระดบั ชาติ จงั หวัดสมุทรปราการ

2562 รางวัล ครผู ูส้ อนนักเรยี นได้รบั รางวลั เหรยี ญเงนิ
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
ประเภทบูรณาการความร้ใู นคณติ ศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้
ระดับชน้ั ม.1–ม.3 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน คร้ังท่ี 69
ระดับชาติ จังหวัดสมุทรปราการ

ไดร้ ับเกยี รตริ ว่ มเป็นคณะกรรมการตดั สินการแข่งขัน อจั ฉรยิ ภาพทางคณิตศาสตร์ ระดบั ช้นั ม.1-ม.3
งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นระดบั ภาคกลางกลางและตะวนั ออก ครงั้ ที่ 67 จังหวัดนครนายก ปีการศกึ ษา 2560

ผู้ขอรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยยี่ ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรียนการสอน
กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

20

รางวลั “ศิษย์เก่าดเี ด่น สาขาคณิตศาสตร์ ประจาปี 2561” มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

รางวัล ครผู ูส้ อนนกั เรยี นไดร้ ับรางวัล เหรียญทอง ระดับชาติ การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์
ประเภท สร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณติ ศาสตร์ ระดับชัน้ ม.1–ม.3

งานมหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยขี องนักเรยี น คร้ังท่ี 68 ระดบั ชาติ ปกี ารศึกษา 2561

รางวัล ครผู ู้สอนนกั เรยี นไดร้ ับรางวัล เหรียญทอง ระดบั ชาติ การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์
ประเภท บรู ณาการความรใู้ นคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับชัน้ ม.1–ม.3

งานมหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยขี องนกั เรยี น ครัง้ ท่ี 68 ระดับชาติ ปกี ารศึกษา 2561

ผูข้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั นา้ พุ(ส้านักงานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเยย่ี ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นการสอน
กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

21

ไดร้ ับเกยี รตริ ว่ มเป็นคณะกรรมการตัดสนิ การแขง่ ขนั อัจฉรยิ ภาพทางคณิตศาสตร์ ระดบั ชั้น ป.4-ป.6
การประกวดแขง่ ขันทกั ษะวชิ าการและประกวดสง่ิ ประดษิ ฐ์นักเรียนโรงเรียนเอกชน ภาคกลาง ครั้งที่ 3

ประจาปี 2561 เน่อื งในวันการศึกษาเอกชน ประจาปี 2562 ณ จงั หวัดนครปฐม

รางวัล ชนะเลศิ เหรียญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครูผู้สอนยอดเยยี่ ม
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอน

การประกวดหนว่ ยงานและผมู้ ีผลงานดเี ด่นประสพผลสาเร็จเป็นท่ปี ระจักษ์ คร้งั ท่ี 8 ปีการศึกษา 2561
ระดบั ภาคกลางและตะวันออก

ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนาครูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ผขู้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดนดา้ ้าพนุ(สก้าานรกั สงารนา้ สงลขาอ้ กกสินอแบบวง่ สัดงสเคมรราระหถ์น54ะ)กสา้ารนรกั เู้ งราื่อนงเข(ตLพitืนeทrี่กaาcรศyกึ )ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
รกาลงมุ่ วสลั าทรระงกคาณุ รเครยี่านสรพู้คฐณ.ิต(OศาBสEตCร์AรWะดAบั RมDตัธSยา)มมคศแรึกงันษทวาี่ณต1ท0อาโนปงรตกกีง้นาาแรรรศปมึกษรคะาิงเป2ม5าิน6ร3ค์ PคIอรSูผเAวสู้ นอ2นิว0ย2อศ1ดรเีนยรี่ยะคมหรดินวา้ ่าทนงรนว์วันกัตทรกุงรี่ รเ9ทม-แ1พล3มะเหสทาิงคหนโนาคโคลรยมีเพ2อื่ 5ก6าร2เรียนการสอน

22

รางวัล รองชนะเลิศ เหรยี ญทอง รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครผู ้สู อนยอดเยย่ี ม
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน
การประกวดหน่วยงานและผ้มู ีผลงานดเี ด่นประสพผลสาเรจ็ เป็นท่ีประจักษ์ คร้งั ที่ 8 ปีการศกึ ษา 2561 ระดับชาติ

รางวัล ครูผู้สอนนกั เรยี นไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง รองชนะเลิศอนั ดบั ที่ 2 ระดบั ชาติ
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสรา้ งทฤษฎีหรอื คาอธิบายทางคณติ ศาสตร์ ระดับชัน้ ม.1–ม.3

งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน คร้งั ที่ 69 ระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษา 2562

รางวลั ครผู สู้ อนนกั เรยี นไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงิน ระดับชาติ
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทบรู ณาการความร้ใู นคณิตศาสตร์ไปประยกุ ตใ์ ช้ ระดับชั้น ม.1–ม.3

งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน คร้ังที่ 69 ระดับชาติ ปีการศกึ ษา 2562

ผูข้ อรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดนา้ พุ(ส้านกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ียม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอน
กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

23

2. ได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อที่ตรงกับภารกิจ/งานท่ีได้รับมอบหมายอย่างน้อย

2 คร้งั /ปีการศึกษา ระดับสถานศึกษา/เขต ครบตามเกณฑ์

ตารางที่ 7 แสดงข้อมูลการเป็นวิทยากร

พ.ศ. ที่ หัวขอ้ บรรยาย/งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย หนว่ ยงานทีเ่ ชิญ อา้ งองิ

2559 1 เตรยี มความพร้อมสู่การเปน็ ครคู ณิตศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี หนงั สอื เชญิ

ในศตวรรษท่ี 21 สาขาคณติ ศาสตรแ์ ละคอมพิวเตอร์

คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

2 ทกั ษะชวี ติ และทักษะอาชีพให้พรอ้ มเขา้ สูโ่ ลก มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี หนังสือเชิญ

ของการทางานในศตวรรษท่ี 21 สาขาคณิตศาสตร์

และคอมพิวเตอร์

3 โครงค่ายตวิ เขม้ นักเรยี นห้องเรยี นพิเศษ โรงเรยี นอนบุ าลราชบุรี หนังสือเชญิ

คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Gifted)

2560 1 โครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การเรยี น

การสอนตามแนวทาง STEM Education มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ หนังสือเชญิ

และการใช้สอ่ื เทคโนโลยี ICT สาหรับทกั ษะ หมู่บา้ นจอมบึง

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

2 โครงการเตรยี มความพร้อมก่อนสอบบรรจุครูผู้ชว่ ย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี หนงั สือเชิญ

ของนกั ศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู

3 “การจดั การเรยี นรสู้ ู่ Active Learning” สพป.ราชบุรี เขต 1 หนังสอื เชิญ/

เกียรติบัตร

4 การเสริมสร้างทักษะการคิดผา่ นกจิ กรรมการเรียนรู้

ประวัติศาสตรแ์ ละพฒั นาความร้สู ู่เศรษฐศาสตร์อย่าง สพป.ราชบรุ ี เขต 1 หนงั สอื เชิญ

สรา้ งสรรค์

5 โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนตาม มหาวิทยาลัยราชภฏั หนงั สอื เชิญ

แนวทาง STEM Education และการใช้สือ่ เทคโนโลยี หมู่บ้านจอมบึง

ICT สาหรับทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษ

ท่ี 21

2561 1 กจิ กรรมเตรยี มความพรอ้ มก่อนสอบบรรจุครผู ชู้ ว่ ย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี หนงั สอื เชิญ

และเทคนคิ การสอบสัมภาษณ์ สาขาคณติ ศาสตรแ์ ละ

คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

2 โครงการอบรมนกั เรยี นหอ้ งเรียนพิเศษคณติ ศาสตร์ โรงเรียนอนุบาลราชบุรี หนังสือเชิญ

2562 1 โครงการตวิ เข้มเตมิ เตม็ ความรสู้ กู่ ารทดสอบO-NET โรงเรยี นอนบุ าลราชบุรี หนังสือเชญิ

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ห้องเรียน English Program

2 กจิ กรรมเตรยี มความพรอ้ มก่อนสอบบรรจคุ รูผชู้ ว่ ย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี หนังสือเชิญ

และเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ สาขาคณิตศาสตรแ์ ละ

คอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3 การสรา้ งข้อสอบมาตรฐานตามตัวชว้ี ัด โรงเรยี นอนุบาลราชบุรี หนังสือเชิญ

ผู้ขอรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเย่ียม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

24

3. ได้รับเชิญ/คดั เลือกใหแ้ สดงผลงานตนเองในระดบั ชาติ/นานาชาติ หนว่ ยงานท่ีเชญิ
สานักงาน
ตารางท่ี 8 แสดงข้อมูลการแสดงผลงานในระดบั ชาติ
คณะกรรมการ
ท่ี ชือ่ ผลงาน การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
1 นาเสนอผลงาน เคร่ืองมือวจิ ัยนวัตกรรมการเรียนการสอนส่กู ารขบั เคล่อื นนโยบาย
สานักงาน
“ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลาร”ู้ รว่ มกบั ภาคีเครือข่ายองคก์ รและหน่วยงานภายนอก คณะกรรมการ
อยา่ งสร้างสรรค์และย่งั ยนื
2 นาเสนอผลงาน กิจกรรมการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ตามแนวทาง Active learning อดุ มศึกษา
โดยกิจกรรมสร้างชุมชนแหง่ การเรยี นรวู้ ิชาชีพทย่ี ง่ั ยนื โครงการพฒั นาคุณภาพ สานักงาน
การศึกษาและการพฒั นาทอ้ งถิ่นโดยมีสถาบนั อดุ มศกึ ษาเป็นพ่ีเลีย้ ง คณะกรรมการ
3 นาเสนอผลงาน กจิ กรรมการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ตามแนวทาง STEM Education อดุ มศกึ ษา
และการใชส้ ่อื เทคโนโลยี ICT โดยกิจกรรมสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูว้ ิชาชพี ทย่ี ่ังยนื
โครงการ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและการพฒั นาท้องถิน่ โดยมสี ถาบนั อุดมศกึ ษา สานกั งาน
เป็นพี่เล้ยี ง คณะกรรมการ
4 นาเสนอผลงาน นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน ระดับมธั ยมศึกษา การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
ตอนต้น กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. OBEC AWARDS
ครัง้ ที่ 8 ระดับชาติ

นาเสนอผลงาน นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นการสอน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. OBEC AWARDS ครัง้ ท่ี 8 ระดบั ชาติ

ผขู้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดน้าพ(ุ ส้านักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

25

4. มีงานเขียนแสดงผลงาน/ความคิดสร้างสรรค์เก่ียวข้องกับการเรียนการสอน/การพัฒนา

ผู้เรียนตามหลักสูตร/ระบบประกันคุณภาพภายใน เผยแพร่ผ่านส่ือธารณะไม่น้อยกว่า 1 คร้ัง

ต่อภาคเรยี น

ตารางที่ 9 แสดงข้อมูลผลงานเขียนเชิงสร้างสรรค์

ที่ งาน หมายเหตุ

1 ทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 การพัฒนาผู้เรียน

2 ประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาภายนอกรอบ 4 ระบบประกนั คุณภาพ

3 การเรียนร้ตู ามแนวทางสะเต็มศึกษา STEM Education การพฒั นาผูเ้ รยี น

4 การสอนโดยใช้กระบวนการ QSCCS การพัฒนาผเู้ รยี น

มงี านเขียนแสดงผลงาน/ความคดิ สร้างสรรคเ์ กีย่ วขอ้ งกับการเรยี นการสอน/การพฒั นาผเู้ รยี นตามหลกั สตู ร/
ระบบประกนั คณุ ภาพภายใน เผยแพรผ่ า่ นส่อื ธารณะ Facebook

ผขู้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดนา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเยีย่ ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

26

ตัวชวี้ ัดเฉพาะ (3 องคป์ ระกอบ)

ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอนยอดเยย่ี ม

นวตั กรรมทนี่ าเสนอ
การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณติ ศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model

องคป์ ระกอบท่ี 1 คุณภาพ

ตัวช้วี ดั ท่ี 1 คุณลกั ษณะของนวตั กรรม
1. มีรปู แบบนวัตกรรมถูกตอ้ ง ครบถว้ นตามประเภทของนวตั กรรมทร่ี ะบุ
นวัตกรรมประเภทรูปแบบกระบวนทัศน์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษา มีรูปแบบ

การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงาน
คณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model มีแนวทางการดาเนินการเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิด
คุณลกั ษณะดงั นี้

การใช้กจิ กรรมโครงงานคณติ ศาสตร์
ตามแนวทาง O-PICK Model เปน็ แนวทาง
การดาเนนิ การเพ่อื ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นเกดิ การ
พฒั นาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี
1. Openness เปดิ ใจเรยี นรสู้ ่งิ ใหมๆ่
2. Perception ความคิด
3. Problem-Solving method วิธีแกป้ ัญหา
4. Participation ให้ทกุ คนมีสว่ นร่วม
5. Initiative ความคดิ รเิ รม่ิ
6. Innovation สร้างนวตั กรรม
7. Creativity ใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์
8. Collaboration เนน้ ความรว่ มมือ
9. Knowing มคี วามรอบรู้
10. Knowledge Creation สรา้ งองคค์ วามรู้

นวัตกรรม “การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21
โดยใช้กจิ กรรมโครงงานคณติ ศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model”

ผ้ขู อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพุ(ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยีย่ ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

27

ครูผู้สอนได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บันได 5 ขั้น (QSCCS) ซ่ึงเริ่มต้นจากการ
ตั้งคาถาม 1) การตั้งคาถาม/สมมติฐาน (Learning to Question: Q) ซ่ึงในกระบวนการนี้นักเรียนฝึก
การคิดวิเคราะห์ในการต้ังคาถามโดยใช้ 5W1H มาเป็นพื้นฐานในการกาหนดปัญหาหรือความสนใจ
ข้ันพื้นฐาน หลังจากที่กาหนดปัญหาหรือต้ังคาถามที่สนใจในการค้นคว้าหาคาตอบของความรู้แล้วน้ัน
เข้าสู่กระบวนการระดมแนวคิดร่วมกันผ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่มเพ่ือวางแผนเพื่อสืบค้นผ่าน
แหล่งเรียนรู้ หรือแหล่งสารสนเทศต่างๆ 2) การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Learning to Search
:S) ตามความถนัดของแต่ละบุคคลและนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและในชั้นเรียนโดยครู
คอยติดตามและอานวยความสะดวกและแนะแนวทางให้นักเรียนเกิดแนวคิดเพิ่มเติมด้วยตัวของ
นักเรียนเองในการค้นคว้าหาความรู้ และสรุปองค์ความรู้ที่ได้ด้วยตนเอง 3)การสร้างองค์ความรู้
(Learning to Construct: C) ตามแนวทางทตี่ นเองสนใจ จากนั้นนามานาเสนอด้วยรูปแบบและวิธีการ
ต่างด้วยเทคโนโลยี 4) การส่ือสารและนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Learning to Communicate:
C) เช่น PowerPoint แผ่นพับสรุปความรู้ mind mapping ซ่ึงต้องเน้นให้ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสม
และสามารถส่ือสารขยายความได้อย่างม่ันใจ ไม่ใช่อ่านเอกสารหน้าช้ันเรียนและไม่เน้นการทารายงาน
ทารูปเล่ม ซ่ึงเน้นเชิงปริมาณแต่ขาดคุณภาพทางวิชาการ มีการอ้างอิงแหล่ง ท่ีมาได้ถูกต้อง โดยหลัง
จากที่นักเรียนแต่ละกลุ่มได้นาเสนอเสร็จส้ินในชั้นเรียนแล้ว ครูผู้สอนจะทาหน้าที่คอย Coaching &
Mentoring (C&M) ซึ่งในการ Coaching & Mentoring ครูผู้สอนจะทาในทุกข้ันตอนของกระบวนการ
บนั ได 5 ขัน้ เพอ่ื ฝกึ การคิดให้กบั นักเรียน ซ่ึงในข้ันนี้ครูจะสะท้อนผลการเรียนรู้ทันทีหลังจากที่นาเสนอ
ให้เห็นจดุ เด่นจดุ ด้อย และเปล่ียนเรยี นร้ซู ึ่งกนั และกันเพื่อนาไปปรับปรุงและพัฒนางานของตนเองต่อไป
ใหด้ ขี นึ้ ซึ่งจะเหน็ ลาดบั พฒั นาการการเรียนรู้ของนักเรียนในการคิดแก้ปัญหาและพัฒนางานของตนเอง
อย่างเหน็ ได้ชดั เม่ือได้ดาเนินการนาเสนองานใหม่ เม่ือครูผู้สอนเห็นว่านักเรียนมีความพร้อมและช้ินงาน
ท่ีได้ศึกษามาความสมบูรณ์เหมาะสมแล้วจะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้นาความรู้ของตนเองไปเสนอต่อ
สาธารณะ 5)การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve :S) หรือในเวทีต่างๆต่อไป
เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง การเผยแพรใ่ นเว็บไซต์ เป็นตน้

จากการดาเนินการข้างต้นจึงทาให้เกิด O-PICK ในขั้นตอนต่างๆ แทรกอยู่ในแต่ละกิจกรรม
การเรยี นรู้ จึงหลอมรวมเกิดเป็นนวัตกรรมการเรยี นรู้ ดงั แผนภาพดงั นี้

ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
- การแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์
- การใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตร์
- การส่อื สารและการส่ือความหมาย
ทางคณิตศาสตร์
- การเชื่อมโยงทางคณติ ศาสตร์
- ความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ทางคณิตศาสตร์

ผู้ขอรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดน้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเย่ียม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

28

21st century student characteristics

เนอ้ื หา ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะ

• สาระวชิ าหลัก • ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม • คุณลกั ษณะด้านการทางาน
- การอ่าน
- การเขียน - การคิดสร้างสรรค์ - ความเปน็ ผูน้ า
- การคานวณ
- การแก้ปญั หา • ทักษะชวี ติ และการทางาน
• ความรู้เชิงบูรณาการ
โลก การเงิน เศรษฐกจิ - การสอื่ สาร - การชน้ี าตนเอง
ธุรกิจ ผู้ประกอบการ
สทิ ธิพลเมอื ง สุขภาพ - ร่วมงานกบั ผูอ้ ่นื - ตรวจสอบการเรยี นรู้
และส่ิงแวดล้อม
• ทกั ษะชีวิตและการทางาน ของตนเอง

- การปรบั ตวั • คุณลักษณะดา้ นศีลธรรม

- ทักษะสังคม - ความเคารพผู้อื่น

- การเรยี นรขู้ า้ ม - ความซ่อื สัตย์

วฒั นธรรม - สานึกพลเมือง

• ทกั ษะสารสนเทศสื่อเทคโนโลยี

ผู้ขอรบั การประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดนา้ พุ(ส้านกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยย่ี ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

กรอบแนวคดิ นวตั กรรม 29

แนวคิดทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 การพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21
ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
โดยใช้กจิ กรรมโครงงานคณติ ศาสตร์
การจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน ตามแนวทาง O–PICK Model
Project-based Learning

แนวคิดการจดั การเรียนการสอนตามแนวทาง
Active Learning

แนวคดิ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้
กระบวนการเรยี นรู้บนั ได 5 ข้นั (QSCCS)

ผูข้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดน้าพ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

30

นวัตกรรม “การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model” ส่งผลให้ข้าพเจ้าและนักเรียน
ประสบความสาเรจ็ ไดร้ ับรางวลั เหรยี ญทอง “ระดบั ประเทศ” หรือ “ระดบั ภาค” ดังนี้

1) รางวัล ครูผสู้ อนนักเรยี นได้รบั รางวลั เหรียญทอง รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 2
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ช้ัน ม.1–ม.3
งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 69 ปีการศึกษา 2562 จงั หวัดสมุทรปราการ

2) รางวลั ครูผู้สอนนักเรียนไดร้ บั รางวัล เหรียญเงิน
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภท บรู ณาการความรใู้ นคณติ ศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้ ช้ัน ม.1–ม.3
งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดับชาติ คร้ังท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา 2562 จังหวดั สมุทรปราการ

3) รางวัล รองชนะเลิศ เหรยี ญทอง
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับชาติ คร้ังท่ี 8
ปีการศกึ ษา 2561

4) รางวัล ชนะเลิศ เหรียญทอง
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน ระดับภาคกลางและภาค
ตะวนั ออก คร้งั ที่ 8 ปกี ารศึกษา 2561

5) รางวัล ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัล เหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภท
สร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับช้ัน ม.1–ม.3 งานมหกรรมความสามารถ
ทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียน ระดับชาติ ครั้งท่ี 68 ปีการศึกษา 2561
จังหวดั นครปฐม

6) รางวัล ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัล เหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภท
บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับชั้น ม.1–ม.3 งานมหกรรมความสามารถ
ทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียน ระดับชาติ คร้ังที่ 68 ปีการศึกษา 2561
จงั หวัดนครปฐม

7) รางวัล ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัล เหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1–ม.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ระดบั ภาคกลางและตะวันออก ครั้งที่ 67 ปกี ารศึกษา 2560 จังหวดั นครนายก

ผขู้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พุ(ส้านกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยย่ี ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

31

8) รางวัล ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัล เหรียญทอง ชนะเลิศ การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับช้ัน ม.1–ม.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นตัวแทนของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
เป็นตัวแทนเขา้ แขง่ ขนั ในระดบั ภาคและระดบั ชาติ 4 ปตี ิดต่อกัน(ปีการศกึ ษา 2559-2562)

9) นกั เรียนไดร้ ับรางวลั เหรยี ญทอง รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 2 การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
ประเภทสร้างทฤษฎหี รอื คาอธบิ ายทางคณิตศาสตร์ ระดับช้นั ม.1–ม.3 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน
ระดับชาติ ครั้งที่ 69 ปีการศึกษา 2562 จงั หวดั สมทุ รปราการ

10) นกั เรยี นไดร้ ับรางวลั เหรยี ญเงิน การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทบูรณาการความรู้
ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับชั้น ม.1–ม.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ คร้ังท่ี 69
ปีการศึกษา 2562 จังหวัดสมุทรปราการ

11) นกั เรยี นไดร้ ับรางวัล เหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือ
คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1–ม.3 งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ
และเทคโนโลยีของนกั เรยี น ระดับชาติ คร้งั ท่ี 68 ปกี ารศึกษา 2561 จังหวัดนครปฐม

12) นักเรียนได้รับรางวัล เหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภท บูรณาการ
ความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับช้ัน ม.1–ม.3 งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม
วชิ าการและเทคโนโลยขี องนักเรียน ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 68 ปกี ารศึกษา 2561 จังหวัดนครปฐม

13) นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือ
คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.1–ม.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคกลาง
และภาคตะวันออก คร้ังที่ 67 ปีการศกึ ษา 2560 จงั หวดั นครนายก

14) นกั เรียนไดร้ ับรางวลั เหรยี ญทอง ชนะเลศิ การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสรา้ ง
ทฤษฎีหรอื คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดบั ชน้ั ม.1–ม.3 เป็นตวั แทนของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 เป็นตัวแทนของสา้ นักงานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
เข้าแขง่ ขนั ต่อในระดบั ภาคและระดบั ชาติ 4 ปซี ้อน (ปีการศึกษา 2559-2562)

2. นวัตกรรมมีความสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถและการปฏิบัติหน้าที่ในด้าน
ท่ขี อรับการประเมนิ คัดเลอื ก

ขา้ พเจา้ สาเรจ็ การศึกษาครุศาสตรบณั ฑติ สาขาคณติ ศาสตร์และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบุรี รับราชการครูโรงเรียนวัดน้าพุ(สานักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54)
ปจั จุบนั กาลงั ศกึ ษาในหลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ปฏิบัติหน้าท่ีครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 1–3 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 จนถึงปัจจุบัน ทั้งน้ีได้รับแต่งต้ังให้เป็นหัวหน้ากลุ่มสาระ

ผขู้ อรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพุ(ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเยีย่ ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

32

การเรียนรู้คณิตศาสตร์ พัฒนางานด้านวิชาการของสถานศึกษา และได้ร่วมเป็นคณะทางานระดับชาติ
สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในการสร้างเคร่ืองมือ
ประเมินคุณภาพการศึกษาข้อสอบวัดสัมฤทธ์ิทางการศึกษาระดับชาติ สาหรับเตรียมความพร้อมการ
สอบ O-NET ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร่วมเป็นคณะทางานของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
ในโครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพ่ือพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามแนวทาง
Active Learning หน่ึงในโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถ่ิน
โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพ่ีเลี้ยง ส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนเข้าแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์
ได้รบั รางวลั เหรียญทอง ระดับชาติ

จากประสบการณ์และความสามารถ ข้าพเจ้าได้สร้างนวัตกรรม “การพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตาม
แนวทาง O–PICK Model” ซึ่งสอดคล้องกับความรู้ความสามารถและการปฏิบัติหน้าท่ีในด้านที่ขอรับ
การประเมินคดั เลือก

3) รูปแบบการจดั พิมพ์ จดั รปู เล่มนวัตกรรมการนาเสนอน่าสนใจ มกี ารจดั เรียงลาดบั
อยา่ งเปน็ ข้ันตอน

มกี ระบวนการวจิ ยั ตามขน้ั ตอนทางทฤษฎขี องนักการศึกษาและคณะกรรมการตรวจสอบ
และทีป่ รึกษางานวิจยั ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
โดยมโี ครงสร้างรูปเลม่ ดงั น้ี

1 บทนา
ที่มาและความสาคัญของปญั หา
วตั ถปุ ระสงคน์ วัตกรรม
ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั
ขอบเขตของการศึกษา
นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
กรอบแนวคิดนวตั กรรม

2 การพฒั นานวัตกรรม
แนวคดิ ทฤษฎี
ข้ันตอนการดาเนนิ การ
ผลงานนวตั กรรม
แนวทางการนานวัตกรรมไปใช้

ผู้ขอรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดน้าพุ(ส้านกั งานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยย่ี ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

33

3 การทดลองใช้นวัตกรรม
รูปแบบการทดลอง
วิธีการทดลอง
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มลู
การวิเคราะห์ข้อมลู
สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล

4 ผลการทดลองใชน้ วัตกรรม
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรข์ องผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21
โดยใช้กจิ กรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model

ตวั ชีว้ ัดที่ 2 คุณภาพขององค์ประกอบในนวตั กรรม
1. มีวัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายของนวัตกรรมสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาความตอ้ งการพัฒนา
วัตถปุ ระสงค์
1) เพื่อหาประสิทธิภาพการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน

ในศตวรรษที่ 21 โดยใชก้ ิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ให้มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80

2) เพอื่ เปรยี บเทียบผลการพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษ
ท่ี 21 ก่อนเรยี นและหลงั เรียน โดยใชก้ จิ กรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model

3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณติ ศาสตรข์ องผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK
Model

2. ความสมบูรณ์ในเนอ้ื หาสาระของนวตั กรรม
นวัตกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model มีความสมบูรณ์ในเน้ือหาสาระ
เนื่องจากข้าพเจ้าได้กาหนดขนั้ ตอนในการสรา้ งนวตั กรรม ดงั น้ี

ขน้ั ตอนท่ี 1 ศึกษาสารวจ/สารวจสภาพของปญั หา
ขนั้ ตอนท่ี 2 สร้างกรอบแนวคิดในการพฒั นา
ขนั้ ตอนที่ 3 วเิ คราะห์หลกั สูตรสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
ขน้ั ตอนที่ 4 กาหนดวตั ถปุ ระสงค/์ เปูาหมายการเรยี นรู้
ขน้ั ตอนที่ 5 ศึกษาและกาหนดคณุ ลักษณะนวตั กรรมการเรียนรู้

ผู้ขอรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดนา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

34

ขั้นตอนที่ 6 สารวจทรัพยากรการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
ขน้ั ตอนที่ 7 ออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ตอนท่ี 8 วางแผนและดาเนินการพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้
ข้นั ตอนท่ี 9 ตรวจสอบ ทดลอง หาคุณภาพ และพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้

3. ความถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ
นวัตกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

โดยใชก้ ิจกรรมโครงงานคณติ ศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ใชร้ ปู แบบการทดลองแบบกลุ่มเดียว
(One Group Pretest-Postest Design) ดงั นี้

O1 x O2

O1 หมายถึง การวดั ตวั แปรตาม ก่อนการทดลองใชน้ วตั กรรม
X หมายถงึ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใชน้ วัตกรรมการพฒั นาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณติ ศาสตร์ตามแนวทาง
O–PICK Model
O2 หมายถงึ การวัดตัวแปรตาม หลังการทดลองใชน้ วัตกรรม
O1 และ O2 เปน็ การวดั ด้วยเครอ่ื งมือวัดเดียวกัน มีมาตรวัดเดยี วกัน การวเิ คราะห์
เป็นการเปรยี บเทยี บผลระหว่าง O2 และ O1
ตัวชว้ี ดั ที่ 3 การออกแบบนวัตกรรม
1. มีแนวคิดทฤษฎีรองรับอยา่ งสมเหตุสมผลสามารถอ้างอิงได้

1) แนวคิดทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2) แนวคิดการจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงาน (Project-Based Learning)
3) แนวคิดการจดั การเรียนการสอน Active Learning
4) แนวคดิ การจดั การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนรบู้ นั ได 5 ขนั้ (QSCCS)

2. แนวคดิ ทฤษฎีทีร่ ะบุมคี วามเป็นไปไดใ้ นการพัฒนานวัตกรรมใหส้ มั ฤทธิ์ผล
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรม
โครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model เป็นนวัตกรรมท่ีไม่มีผู้วิจัยคนใดเคยคิดมาก่อน
และเป็นนวัตกรรมท่ีแปลกใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับคากล่าวของ กมลรัตน์ ฉิมพาลี (2559:36) ได้กล่าวถึง
การคิดค้นและสร้างรูปแบบการสอนใหม่ (new learning model) เพ่ือใช้แทนการสอนแบบเดิม
โดยคาดหวังว่าการสอนแบบใหม่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความตื่นตัวในห้องเรียน คือ เป็นผู้เรียนท่ีตื่นตัว
(active learner) การเรียนรู้ของคนในศตวรรษที่ 21 เป็นความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผขู้ อรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดนา้ พ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเย่ยี ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

35

และการส่ือสาร ปัจจัยที่สาคัญท่ีทาให้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้สะดวก ง่าย หลากหลายช่องทาง สามารถ
รับรู้ได้จากการอ่าน ฟัง ดู มีการนาเสนอในรูปแบบอักษร ภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว รวมถึงการสร้าง
สถานการณ์เสมือนจริง (Virtual Situation) รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์(Interaction) และสร้างเครือข่าย
ให้สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่างไร้ขอบเขต ทาให้การเรียนรู้และสมรรถนะของคนในยุคศตวรรษที่ 21
เปลี่ยนไป การเรียนรู้ไม่ได้มีลักษณะเรียนเป็นแถวจากความรู้ (Knowledge) ไปสู่ความเข้าใจ
(Comprehension) การประยุกต์ใช้ (Application) การวิเคราะห์ (analysis) การสังเคราะห์
(synthesis) และการประเมิน (evaluate) ตามลาดับ แต่การเรียนรู้เป็นกระบวนการเรียนรู้เนื้อหา
ไปสู่ความเข้าใจแท้จริงในระดับที่นาไปใช้ได้ในสถานการณ์จริง เรียนรู้เน้ือหาพร้อมๆ กัน การใช้
ประโยชน์ ในสถานการณ์จริง ผลการเรียนรู้ คือ จาได้ (remember) เข้าใจ (understand ประยุกต์ใช้
(apply) วิเคราะห์ (analyze) ประเมิน (evaluate) และสร้างสรรค์ (create) โดยที่ขั้นตอนเหล่านี้เกิด
พร้อมๆกันได้ หรืออะไรเกิดก่อนหลังได้ท้ังส้ิน รวมทั้งเรียงลาดับจากหนังไปหน้าก็ได้ โดยสมรรถนะ
ทสี่ าคัญของผู้เรียนมี 5 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถ
ในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สอดคล้องกับวิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ (2559 :51) ที่ได้กล่าวถึงการเรียนแบบโครงงานจะช่วยกระตุ้น
ให้ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้า คิด เป็นผู้ตัดสินใจ ซึ่งผู้เรียนจะเกิดทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะในการ
ทางานเป็นทมี และทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์

การจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงาน เป็นอีกรูปแบบหนึ่งท่ีมีผู้ให้ความสนใจมากในปัจจุบัน
McDonell (2007) ได้กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เป็นรูปแบบหน่ึง
ของ Child- centered Approach ทเ่ี ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นไดท้ างานตามระดับทกั ษะที่ตนเองมีอยู่ เป็น
เรื่องท่ีสนใจและรู้สึกสบายใจที่จะทา นักเรียนได้รับสิทธ์ิในการเลือกว่าจะต้ังคาถามอะไร และต้องการ
ผลผลิตอะไรจากการทางานชิ้นนี้ โดยครูทาหน้าท่ีเป็นผู้สนับสนุนอุปกรณ์และจัดประสบการณ์ให้แก่
นักเรียน สนับสนุนการแก้ไขปัญหา และสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียน โดยลักษณะของการเรียนรู้แบบ
โครงงาน มีดงั นี้

การเรียนรู้แบบโครงงานน้ัน จึงมีแนวคิดสอดคล้องกับ John Dewey เร่ือง “learning
by doing” ซ่ึงได้กล่าวว่า “Education is a process of living and not a preparation for future
living.” (Dewey John, 1897: 79 cite in Douladeli Efstratia, 2014) ซึ่งเป็นการเน้นการจัดการ
เรียนรู้ ท่ีให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ชีวิตขณะท่ีเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะต่างๆ
ซ่ึงสอดคล้องกับหลักพัฒนาการคิดของ Bloom ทั้ง 6 ข้ัน คือ ความรู้ความจา (Remembering)
ความเข้าใจ (understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมินค่า
(Evaluating) และการคิดสร้างสรรค์ (Creating) ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานนั้นจึงเป็นเป็นอีก
รูปแบบหนึ่ง ทถี่ ือได้ว่าเป็นการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั เนื่องจากผเู้ รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ

ผู้ขอรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

36

เพื่อฝกึ ทักษะตา่ งๆ ด้วยตนเองทุกขน้ั ตอน โดยมคี รูเปน็ ผจู้ ัดประสบการณ์การเรียนรู้ สอดคล้อง
กับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ซ่ึงเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะและเช่ือมโยงองค์ความรู้นาไปปฏิบัติเพื่อแก้ไข
ปัญหาหรือประกอบอาชีพในอนาคต หลักการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ข้าพเจ้า
ดาเนินกิจกรรมด้วยการนาเอาวิธีการสอน เทคนิคการสอนท่ีหลากหลายหรือกิจกรรมต่างๆ
มาใช้ออกแบบแผนการสอนและกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งผเู้ รยี นกับผู้เรยี นและผเู้ รยี นกบั ผสู้ อน ข้าพเจา้ ในฐานะผสู้ อนมบี ทบาทเปน็ ผู้อานวยความสะดวก
และจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง จนเกิดเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
(Meaningful Learning) Active Learning ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะสอดคล้องกับการ
เปล่ียน แปลงในยุคปัจจุบัน อีกท้ังยังช่วยส่งเสริม student engagement , enhance relevance,
and improve motivation ของผู้เรียนอีกด้วย และได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
กระบวนการเรียนรู้บันได 5 ขัน (QSCCS) ซึ่งเป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐาน
สากล รูปแบบการสอนดังกล่าว มีแนวทางเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและศักยภาพความเป็นสากล
คอื เป็นบคุ คลท่มี ีคณุ ภาพ มีทกั ษะในการคน้ คว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้พื้นฐานท่ีจาเป็น สามารถ
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล มีทักษะชีวิต ร่วมมือในการ
ทางานกับผู้อ่ืนได้เป็นอย่างดี ซ่ึงจะต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีลาดับขั้นตอน
ทีเ่ หมาะสมและสอดคลอ้ งกับพัฒนาการของผ้เู รียนในแตล่ ะระดบั

3. นวัตกรรมมีความสอดคลอ้ งตามแนวคดิ ทฤษฎที ี่ระบุ
จากแนวคิดทฤษฎที ร่ี ะบุขา้ งต้นส่งผลให้เกิด O– PICK Model แทรกอยู่ในกระบวนการเรียนรู้

และหลอมรวมเกิดเป็นนวัตกรรมการเรยี นรู้ จึงสรปุ ได้วา่ นวตั กรรมมีความสอดคล้องตามแนวคดิ ทฤษฎี
ทร่ี ะบุ ดังแผนภาพดงั นี้

ผขู้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพุ(ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

37

จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ส่งผลให้เกิด
การพัฒนาผู้เรียนทั้งในด้านเน้ือหา ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อม
ต่อการเปน็ นักเรียนในศตวรรษท่ี 21 ตอ่ ไปได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ตัวทวี่ ัดที่ 4 ประสิทธภิ าพของนวัตกรรม
1. กระบวนการหาประสิทธิภาพของนวตั กรรมถกู ต้องตามหลกั วิชา

นวัตกรรมผ่านการคัดสรร คดั กรอง ตรวจสอบจากผู้เชย่ี วชาญทางการศึกษา ดงั รายนามต่อไปน้ี
1) ดร.นพดล ทมุ เช้ือ อาจารย์สาขาคณติ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ
2) ดร.เชาวฤทธ์ิ พันธ์ทุ อง อาจารย์สาขาคณติ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง
3) นางปัทมา บารุงกจิ ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ
โรงเรียนวดั เขาวัง (แสง ช่วงสุวนิช)

2. นวตั กรรมมีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ท่กี าหนด
“นวัตกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้
กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model” พัฒนาและหาประสิทธิภาพของ
นวัตกรรม การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรม
โครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ท่ีสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ
81.33/83.66 อยู่ในเกณฑ์ที่ต้ังไว้ คือ 80/80 และมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.42 และมีผลการ
พฒั นาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนมีความรู้เพิ่มข้ึน คะแนนเฉลี่ยผลการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียน
แสดงว่านวัตกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้
กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพสามารถ
ทาให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ได้เป็นอยา่ งดี

ผขู้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พุ(ส้านกั งานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยย่ี ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

38

3. วธิ ีการหาประสิทธิภาพของนวตั กรรมครอบคลุมในดา้ นเน้อื หา (Content validity)

และโครงสร้าง (Construct validity)

นวัตกรรมตามระเบยี บวิธีวจิ ยั เชน่ ประสทิ ธิภาพของนวัตกรรมชดุ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ใช้สตู ร E1/E2 โดยใช้สูตรการคานวณหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสทิ ธิภาพของ

ผลลพั ธ์ (E2) โดยมวี ธิ กี ารคานวณ ดังนี้

1) การคานวณหาประสิทธภิ าพของกระบวนการ (E1)

E1   x1 100 เมื่อ E1 คอื ประสิทธภิ าพของกระบวนการ
คอื คะแนนรวมของแบบฝึกหดั หรอื กจิ กรรมในบทเรยี น
NA  x1

Ä คอื คะแนนเตม็ ของแบบฝึกหัดหรอื กจิ กรรมในบทเรยี น

N คอื จานวนผเู้ รยี น

2) การคานวณหาประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E2)
 x2 100 เมือ่
E2  E2 คือ ประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์
NA คือ คะแนนรวมของแบบฝึกหัดหรือกิจกรรมในบทเรียน
 x2

Ä คอื คะแนนเตม็ ของแบบฝึกหัดหรอื กิจกรรมในบทเรียน

N คอื จานวนผู้เรียน

ท้ังน้ีผลการใช้นวัตกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน ในศตวรรษ

ที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model โดยทดลองใช้เพ่ือหา

ประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่างจริง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 30 คน โรงเรียนวัดน้าพุ

(สานักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน

ในศตวรรษ ที่ 21 และหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาคณิตศาสตร์

มีประสิทธิภาพ (E1/E2) คือ 81.33/83.66 อยู่ในเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ คือ 80/80 ค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.)

เท่ากับ 0.42 ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ของนักเรียนทกุ คนสูงขึ้น จึงถอื ไดว้ ่าแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระสิทธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน

ผู้ขอรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยย่ี ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

39

ตารางที่ 10 ตารางแสดงประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) ประสิทธิภาพของผลลัพธ์(E2) และดัชนี
ประสิทธิผล (E.I.)

คะแนนระหว่างการปฏิบัติโครงงานคณติ ศาสตร์
คะแนนสอบ คะแนนสอบ
กอ่ นเรียน หลังเรยี น
แผนกิจกรรมท่ี 1
แผนกิจกรรมที่ 2
แผนกิจกรรมที่ 3
แผนกิจกรรมที่ 4
แผนกิจกรรมที่ 5
คะแนนรวม

10 10 10 10 10 50 50 50

รวม 238 251 231 242 258 1220 1074 1255
คา่ เฉลย่ี 7.93 8.37 7.70 8.07 8.60 40.67 35.80 41.83
รอ้ ยละ 79.33 83.67 77.00 80.67 86.00 81.33 71.60 83.67

คา่ ประสทิ ธิภาพ E1 = 81.33 E2 = 83.66

ดชั นีประสิทธผิ ล (E.I.) = 0.42

ความพึงพอใจตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model

ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 30 คน ดังแสดงตาราง ดงั น้ี

ตารางที่ 11 ความพึงพอใจต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์

ของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 โดยใชก้ ิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model

ขอ้ รายการประเมนิ ระดับความพึงพอใจ

1 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน คา่ เฉลี่ย ความหมาย
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์
ตามแนวทาง O–PICK Model ทาให้นักเรียนมีความสนใจ 4.76 มากที่สดุ
ท่จี ะเรียนวชิ าคณิตศาสตรม์ ากข้นึ
4.70 มากทส่ี ดุ
2 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ 4.96 มากทส่ี ดุ
ตามแนวทาง O–PICK Model ทาให้นักเรียนมีความ
กระตือรือรน้ ในการเรียนวชิ าคณิตศาสตรม์ ากข้ึน

3 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์
ตามแนวทาง O–PICK Model ทาให้นักเรียนเกิดความรู้
ความเขา้ ใจในเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์มากขนึ้

ผูข้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั นา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเยย่ี ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

40

ขอ้ รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ

ค่าเฉลย่ี ความหมาย

4 การพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ของผเู้ รียน 4.70 มากทสี่ ดุ
ในศตวรรษที่ 21 โดยใชก้ จิ กรรมโครงงานคณิตศาสตร์ 4.43 มากที่สดุ
ตามแนวทาง O–PICK Model ชว่ ยสรา้ ง สังคมแหง่ การ 4.53 มากที่สุด
เรยี นรู้และพัฒนาทักษะการส่ือสาร 4.63 มากทีส่ ดุ
4.50 มากทส่ี ดุ
5 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน 4.70 มากที่สุด
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์
ตามแนวทาง O–PICK Model ช่วยให้นักเรียนได้คิด 4.86 มากทส่ี ุด
และแกป้ ัญหาได้อย่างเหมาะสม 4.68 มากท่สี ดุ

6 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตาม
แนวทาง O–PICK Model เน้นกิจกรรมการสอนให้คิด
เป็นกลุ่ม ช่วยสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นคิดเป็น

7 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์
ตามแนวทาง O–PICK Model ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน
เชอื่ มโยงองค์ความรู้และนาไปปฏบิ ัติเพ่ือแกไ้ ขปญั หา

8 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษท่ี 21 โดยใชก้ ิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์
ตามแนวทาง O–PICK Model ช่วยให้นกั เรยี นไดม้ โี อกาส
แลกเปลยี่ นเรยี นร้ซู ึ่งกันและกนั

9 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตาม
แนวทาง O–PICK Model ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดง
ความรู้ ความสามารถและความคิดสรา้ งสรรค์

10 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตาม
แนวทาง O–PICK Model ชว่ ยให้นักเรียนเกิดทักษะในการ
แสวงหาความรู้ ทักษะในการทางานเป็นทีมและทักษะการ
คดิ วิเคราะห์

สรปุ

จากตารางที่ 11 พบว่าความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์
ตามแนวทาง O–PICK Model ทาให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและมีทักษะกระบวนการ

ทางคณิตศาสตร์มากขนึ้ อยู่ในระดับ พึงพอใจมากท่ีสดุ

ผขู้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเยี่ยม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

41

องค์ประกอบท่ี 2 คุณประโยชน์

ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 ความสามารถในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนา
1. สอดคล้องตามวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายท่ีระบุไดค้ รบถว้ น
ข้าพเจ้าได้สร้างนวัตกรรมท่ีใช้ช่ือ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน

ในศตวรรษที่ 21 โดยใชก้ ิจกรรมโครงงานคณติ ศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model รูปแบบการสอนนี้
เป็นนวัตกรรมทช่ี ว่ ยปรบั การเรียนเปล่ยี นการสอนให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยทุกข้ันตอนผู้เรียนจะต้อง
ได้ลงมือปฏิบัติ ความรู้ท่ีได้มาจากการค้นคว้า วิเคราะห์ความถูกต้องด้วยกระบวนการเป็นข้ันตอน
คล้ายกับฝึกให้ผู้เรียนทาวิจัยแบบง่าย เป็นการได้เรียนรู้ทักษะการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม จากการนา
ไปทดลองใช้ พบว่านวัตกรรม “การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน ในศตวรรษ
ท่ี 21 โดยใช้กจิ กรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model” มีประสิทธิภาพ
(E1/E2) คือ 81.33/83.66 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ผลการเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตาม
แนวทาง O–PICK Model หลังเรียนมีค่ามากกว่าก่อนเรียน และความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรม
โครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model มีค่าเฉลี่ย 4.68 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
จึงสรุปได้ว่านวัตกรรม “การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model” สอดคล้องตามวัตถุประสงค์
และเปาู หมายทีร่ ะบุไว้ได้ครบถว้ น

2. แกป้ ัญหาหรือพัฒนาไดต้ รงตามกลุ่มเป้าหมาย
ผลการใช้นวัตกรรม”การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษ
ที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model” ได้ค่าประสิทธิภาพเท่ากับ
81.33/83.66 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด พัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
จากคะแนนเฉล่ียผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่เรียน สูงกว่าค่าเฉล่ีย
ของการทดสอบก่อนเรียน แสดงวา่ นวัตกรรม การพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนมี
ประสิทธิภาพสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี การประเมินความพึงพอใจต่อการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้นวตั กรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model มีระดับความพึงพอใจ เฉลี่ยรวม
4.68 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด จึงสรุปได้ว่านวัตกรรมที่ข้าพเจ้าได้สร้างขึ้นน้ัน สามารถนาไป
แกป้ ัญหาหรอื พฒั นาได้ตรงตามกล่มุ เปูาหมาย

ผขู้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยยี่ ม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

42

3. นาไปประยกุ ตใ์ ช้ในสภาพบริบทที่มลี ักษณะใกลเ้ คยี งกัน
ขา้ พเจา้ ไดเ้ ผยแพร่งานวจิ ัย เร่ือง การพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรยี น
ในศตวรรษที่ 21 โดยใชก้ จิ กรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ใหก้ ับโรงเรยี นท่มี ี
สภาพบรบิ ทท่มี ีลักษณะใกล้เคยี งกัน ดงั นี้

1) โรงเรยี นวัดดอนตลงุ (ราษฎร์ศรัทธาทาน) จังหวัดราชบุรี
2) โรงเรียนวดั เกาะลอย(ชุณหะวตั ราษฎรร์ งั สรรค์) จงั หวดั ราชบุรี
3) โรงเรียนคุรุราษฎร์รังสฤษฎ์ จงั หวัดราชบรุ ี
4) โรงเรียนช่องพรานวทิ ยา จงั หวดั ราชบรุ ี
5) โรงเรียนวัดพกิ ุลทอง(แปลกประชาคาร) จังหวดั ราชบรุ ี
6) โรงเรียนวัดพเนนิ พลู จังหวดั ราชบุรี
7) โรงเรยี นเขาย้อยวิทยา จงั หวัดเพชรบุรี

ตวั ชวี้ ัดท่ี 2 ประโยชนต์ ่อบุคคล
1. ผลงานส่งผลใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี น
งานวิจัย เร่ือง การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน
โดยตรง ดงั น้ี

1) ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ มีทักษะความรู้พ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ที่สามารถ
นาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ นักเรียนจะมีการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น สร้างสรรค์ และท้าทาย
มองเห็นปัญหาเป็นโจทย์ให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการแก้ไข ซ่ึงทักษะที่จาเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษ
ที่ 21 คือ 3R8C โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้

อยา่ งแรก คือ 3R ก็คอื ทักษะพน้ื ฐานท่ีจาเป็นต่อผ้เู รยี นทุกคน
1. Reading คือ สามารถอ่านออก
2. (W)Riteing คือ สามารถเขยี นได้
3. (A)Rithmatic คอื มีทักษะในการคานวณ

และอีกอยา่ งทีส่ าคัญไม่แพ้ 3R คือ 8C ซ่งึ เป็นทักษะตา่ งๆท่จี าเป็นเชน่ กนั ซ่งึ ทุกทักษะสามารถ
นาไปปรับใชใ้ นการเรยี นรู้ได้ทุกวิชา มดี ังน้ี

1. Critical thinking and problem solving คอื มที ักษะการคิดวเิ คราะห์ การคิด
อย่างมีวจิ ารณญาณและสามารถแกไ้ ขปัญหาได้

2. Creativity and innovation คอื การคดิ อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละคดิ เชงิ นวตั กรรม

ผู้ขอรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดนา้ พ(ุ ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผ้สู อนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

43

3. Cross-cultural understanding คือ ความเขา้ ใจในความแตกต่างของวัฒนธรรม
และกระบวนการคิดขา้ มวัฒนธรรม

4. Collaboration teamwork and leadership คือ ความร่วมมือ การทางาน
เป็นทมี และภาวะความเป็นผู้นา

5. Communication information and media literacy คอื มที กั ษะในการส่อื สาร
และการรู้เทา่ ทนั ส่อื

6. Computing and IT literacy คือ มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และรู้เท่าทัน
เทคโนโลยี

7. Career and learning skills คอื มีทกั ษะอาชพี และการเรียนรู้
8. Compassion คอื มคี วามเมตตากรุณา มคี ุณธรรม และมีระเบยี บวนิ ัย
ทักษะทัง้ หมดท่ีไดก้ ล่าวมาเป็นสง่ิ ท่ีจาเป็นสาหรับนกั เรียนในยุคการเรยี นรแู้ หง่ ศตวรรษท่ี 21
เป็นอย่างมาก ซงึ่ มคี วามแตกต่างจากการเรียนรู้ในสมัยก่อน ทาให้การเรียนรขู้ องนักเรยี นในศตวรรษ
ที่ 21 มีความเขา้ ใจ มีทักษะความรู้พนื้ ฐานทางคณิตศาสตร์ทส่ี ามารถนาความรูไ้ ปใช้ในการแกป้ ัญหา
ตา่ ง ๆ ได้ นกั เรยี นจะมีการเรียนรูท้ ่ียดื หยุ่น สรา้ งสรรค์และทา้ ทาย

ผลงานสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อผู้เรียนอย่างแทจ้ ริง นักเรียนมภี าวะความเปน็ ผทู้ า รจู้ กั ทางานเป็นทีม
มีทักษะในการสอ่ื สาร เปน็ ตวั แทนนาเสนองานของโรงเรยี น

ผูข้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพุ(ส้านักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผู้สอนยอดเยยี่ ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

44
2) นักเรียนประสบความสาเร็จได้รับรางวัลต่างๆ เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นตัวแทน
ของสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เข้าแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภท
สร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดบั ชั้น ม.1-ม.3 ในระดับภาคและระดับประเทศ 4 ปีซ้อน
(ปีการศึกษา 2559–2562

ผู้ขอรบั การประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวดั น้าพ(ุ ส้านกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังท่ี 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเยี่ยม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การเรียนการสอน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

45

นักเรียนประสบความสาเรจ็ ไดร้ ับรางวลั เหรยี ญทอง ชนะเลศิ 4 ปซี อ้ น (ปี 2559–2562 ) ระดบั เขตพนื้ ท่ี

นกั เรยี นประสบความสาเรจ็ ไดร้ ับรางวัล เหรยี ญทอง ระดับชาติ

ผขู้ อรับการประเมนิ นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดน้าพุ(ส้านกั งานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) สา้ นกั งานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปีการศกึ ษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเย่ียม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

46

2. ผลงานส่งผลใหเ้ กิดประโยชน์ต่อเพอื่ นครู
เพื่อนครูสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินกิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ได้อย่างมีประสิทธิภาพกับผู้เรียน อันเป็น “ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” ซึ่งผลงานของข้าพเจ้า
ได้เผยแพร่ทง้ั ในระดบั โรงเรียน ระดบั จงั หวดั ระดับเขตพ้นื ท่ี และระดับประเทศ โดยขอแนะนาดังน้ี
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรม “การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 2 โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model”
สามารถใช้นวตั กรรมเขา้ กบั การเรียนรแู้ บบโครงงานที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานคุณธรรม เปน็ ต้น

. ผลงานสง่ ผลให้เกดิ ประโยชนต์ ่อเพื่อนครู

3) ผลงานส่งผลใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
สง่ เสรมิ และสร้างแรงบนั ดาลใจให้กับคณะครู ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา
ทุกคนได้นาไปเป็นแบบอย่างปฏิบัติตามเป็น“วิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้” เป็นท่ีปรึกษางาน
ด้านวิชาการคอยแนะนาให้ความรู้แก่เพ่ือนครู อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนและองค์กร
อยา่ งต่อเนอื่ ง

ผขู้ อรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดนา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) สา้ นักงานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ียม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

47

ตัวชี้วดั ท่ี 3 ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
1. ผลงานสง่ ผลให้เกิดประโยชน์ต่อสถานศึกษา
ผลงานนวัตกรรม “การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

โดยใชก้ ิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model” ส่งผลให้เกิดประโยชน์กับโรงเรียน
ดงั น้ี

1) โรงเรียนมคี รูท่ีถอื วา่ เป็นทรัพยากรต้นทนุ ในการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั
2) โรงเรียนมีนักเรียนที่ได้เรียนรู้กระบวนการของโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK
Model ซ่ึงเป็นนวัตกรรมท่ีนามาใช้พัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในศตวรรษ
ท่ี 21 ของนักเรียนโรงเรียนวัดน้าพุ(สานักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) นับเป็นหน่ึงนวัตกรรม
หน่ึงโรงเรยี นอยา่ งแทจ้ ริง
3) โรงเรียนได้รับชื่อเสียง เป็นท่ียอมรับของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี
เขต 1 เป็นตัวแทนของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ไปแข่งขันโครงงาน
คณิตศาสตร์ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ระดับประเทศ นาช่ือเสียงและความภาคภูมิใจกลับสู่โรงเรียน
ส่งผลให้ผู้ปกครองมีความเช่ือมั่น จึงส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนต่อในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1
ในปกี ารศึกษานี้ จานวนถึง 50 คน เพม่ิ ขึน้ จากปีกอ่ นๆ เป็นความย่ังยนื ของโรงเรยี น
2. ผลงานส่งผลให้เกดิ ประโยชน์ต่อวงการวชิ าชีพ
ผลงานมีคุณภาพเปน็ แบบอยา่ งแก่เพื่อนครูและผูท้ สี่ นใจไปพฒั นาต่อยอดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แก่ประเทศชาติด้านการศึกษา ได้รับเชิญจากหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นวิทยากรให้ความรู้และได้ร่วมเป็น
คณะทางานในโครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพ่ือพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้คณิตศ าสตร์
ตามแนวทาง Active Learning หนึ่งในโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถ่ิน
โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพ่ีเล้ียง มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง นาความรู้ ความสามารถและ
ประสบการณ์ จากการสร้างนวัตกรรม “การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 โดยใชก้ จิ กรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model” ส่งผลให้ข้าพเจ้า
และนักเรียนประสบความสาเร็จใน“ระดับประเทศ” จึงได้เผยแพร่ความรู้ให้กับผู้ร่วมวิชาชีพ
ทางการศึกษาและคณะครูจากโรงเรียนต่างๆ เข้ามาศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
โดยนาความรู้ นวัตกรรมทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และเทคนิคการสอนท่ีข้าพเจ้าได้สร้างข้ึน
ไปปรับประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดแก่ผ้เู รียนต่อไป

ผูข้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพุ(ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปีการศึกษา 2563 ครูผูส้ อนยอดเยี่ยม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

48

โรงเรยี นวดั มาบขา่ (มาบขา่ วิทยาคาร) สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต 1
มาศกึ ษาดงู านการจดั การเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ ส่งผลให้เกิดประโยชนต์ ่อวงการวชิ าชีพ

3. ผลงานสง่ ผลให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ชุมชน
ผลงานนวัตกรรม “การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรข์ องผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21
โดยใช้กจิ กรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Mode” ต่อยอดสู่การนานักเรียนไปแข่งขัน
โครงงานคณิตศาสตร์ ส่งผลให้ครูและนักเรียนประสบความสาเร็จได้รับรางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ
เป็นส่วนสาคัญทาให้โรงเรียนวัดน้าพุ(สานักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) โรงเรียนขยายโอกาส
ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล (1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ) ของ สพฐ.
เป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นต้นแบบท่ีมีความพร้อมในการให้บริการทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
มีความพร้อมในด้านการจัดการเรียนการสอน มีอุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวกท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้
ผู้บริหารและครูท่ีมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานอ่ืน ๆ
ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพให้กับผู้เรียน
ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทางการศึกษาที่เป็นประโยชน์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับชุมชนได้
อย่างต่อเนื่อง สร้างโอกาสให้นักเรียนในพื้นที่ ได้พัฒนาอย่างเต็มที่ โรงเรียนกลายเป็นศูนย์รวม
หรือเป็นแหล่งการเรียนรู้ของชุมชนคนในชุมชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ ตลอดจนสามารถ
สร้างความเช่ือมัน่ และศรัทธาในการพฒั นาคณุ ภาพของโรงเรยี นในการส่งบตุ รหลานเขา้ มาเรยี น

ผขู้ อรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวัดนา้ พ(ุ ส้านักงานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครังที่ 10 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเยีย่ ม ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

49

องคป์ ระกอบที่ 3 ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์

ตัวชวี้ ดั ที่ 1 ความแปลกใหม่ของนวัตกรรม
1. เกดิ จากแนวคดิ แปลกใหม่ ไมเ่ คยปรากฏมากอ่ น
นวัตกรรมทีน่ าเสนอน้ี ข้าพเจ้าได้สงั เคราะห์และประยุกตท์ ฤษฎีทางการศึกษาใหเ้ กิด

ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ แกผ่ เู้ รยี น ดังรปู แบบต่อไปน้ี

นวัตกรรม “การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรยี น ในศตวรรษท่ี 21
โดยใช้กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model”

2. เป็นการพฒั นาตอ่ ยอดจากแนวคดิ เดมิ

ผู้ขอรบั การประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรียนวัดน้าพุ(ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านกั งานเขตพนื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ท่ี 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผสู้ อนยอดเย่ียม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

50

3. มีการปรบั ปรงุ จากแนวคิดเดิมและนามาพัฒนาใหม่
นวัตกรรม การพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ของผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21

โดยใชก้ จิ กรรมโครงงานคณติ ศาสตร์ตามแนวทาง O–PICK Model มกี ารปรับปรุงจากแนวคิด
เดิมและนามาพฒั นาใหม่ ดงั นี้

21st century student characteristics

เนอื้ หา ทักษะ คณุ ลกั ษณะ

• สาระวิชาหลกั • ทักษะการเรียนรแู้ ละนวตั กรรม • คุณลักษณะด้านการทางาน
- การอา่ น - การคิดสร้างสรรค์ - ความเปน็ ผนู้ า
- การเขยี น - การแกป้ ัญหา
- การคานวณ - การส่ือสาร • ทกั ษะชวี ติ และการทางาน
- ร่วมงานกบั ผู้อืน่ - การชน้ี าตนเอง
• ความร้เู ชิงบรู ณาการ - ตรวจสอบการเรียนรู้
โลก การเงนิ เศรษฐกจิ • ทักษะชีวติ และการทางาน ของตนเอง
ธุรกจิ ผู้ประกอบการ - การปรบั ตวั
สทิ ธิพลเมอื ง สุขภาพ - ทกั ษะสงั คม • คณุ ลักษณะดา้ นศีลธรรม
และสงิ่ แวดล้อม - การเรียนร้ขู ้ามวัฒนธรรม - ความเคารพผู้อน่ื
- ความซือ่ สัตย์
• ทักษะสารสนเทศส่ือเทคโนโลยี - สานกึ พลเมือง

ผูข้ อรับการประเมิน นายนฤชา สายหมี ครู โรงเรยี นวดั น้าพุ(ส้านกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ 54) ส้านักงานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั ที่ 10 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นการสอน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


Click to View FlipBook Version