The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เปรมสินี ส., 2022-07-25 01:46:53

Sar63

Sar63

รายงานการประเมนิ ตนเอง

Self Assessment Report : SAR 2020

รา(ยSงeาlนfผ-ลกAาsรsปesรsะmเมeนิ nตtนเRอeงขpอoงrtสปถ:ากี SนAาศรRึก)ษศาึกษา 2563

ปีการศกึ ษา 2563

ระดับการศึกษาปฐมวยั
และ

ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

โรงเรียนมารวี ทิ ย์
เลขที่ 137/44 ม.2 ตำบลนาเกลอื อำเภอบางละมงุ

จงั หวดั ชลบรุ ี

โรงเรยี นมารวี ิทย์

ตำบลนาเกลอื อำเภอบางละมุง จงั หวดั ชลบุรี
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) โรงเรียนมารีวิทย์ ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 3

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปการศึกษา 2563

โรงเรยี น มารีวทิ ย
รหสั โรงเรยี น 1120100043
137/44 หมูท่ี 2 ถนน สุขมุ วทิ ตาํ บล/แขวง นาเกลอื เขต/อําเภอ บางละมุง จังหวัด ชลบรุ ี 20150
โทรศัพท 038-222-477 โทรสาร -

สังกดั
สํานักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปก ารศกึ ษา 2563

สว นที่ 1 : บทสรุปของผบู รหิ าร

ตอนท่ี 1  ขอมูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา                                                                        

         โรงเรยี นมารีวทิ ย รหสั 20100043 ทตี่ งั้ เลขท่ี 137/44 หมูท่ี 2 ตําบลนาเกลือ อําเภอบางละมุง จังหวดั ชลบุรี  สังกัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษา
เอกชน โทร 038 – 222477, 038 – 221927 เบอรมอื ถือ 081-945-6402,081-974-4475 หรอื แอดไลน @maryvitpattaya e-mail : [email protected]
website : www.maryvit.ac.th ไดร ับอนุญาตจดั ตั้งเมอ่ื วันที่ 1 พฤษภาคม 2534 เปด สอนระดบั ช้นั เตรยี มอนุบาล ถงึ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 6 จาํ นวนนักเรยี น 3,079
คน จาํ นวนครูและบุคลากรทางการศึกษา 536 คน ครูท่ีบรรจุ 247 คน อตั ราจา ง 289 คน 

ตอนท่ี 2  การนําเสนอผลการประเมินตนเอง
ระดับปฐมวยั
มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาปฐมวยั                     ระดับคุณภาพ    ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 1  คณุ ภาพของเด็ก                                                        ยอดเยี่ยม                   
มาตรฐานที่ 2  กระบวนการบริหารและการจัดการ                                ยอดเยีย่ ม                   
มาตรฐานที่ 3  การจดั ประสบการณท เ่ี นน เด็กเปน สาํ คัญ                       ยอดเยย่ี ม                   

ระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน               ระดับคณุ ภาพ    ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานที่ 1  คณุ ภาพของผูเรียน                                                     ยอดเย่ียม     
มาตรฐานที่ 2  กระบวนการบริหารและการจัดการ                                ยอดเย่ียม    
มาตรฐานท่ี 3  กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รยี นเปนสําคัญ     ยอดเย่ยี ม

 

ตอนที่ 1 ขอมลู พ้ืนฐาน อาคาร (Bldg) : -
ตรอก (Alley) : -
โรงเรียน (School Name) : มารีวิทย ถนน (Street) : สุขุมวทิ
ประเภทโรงเรียน (School Type) : ในระบบ (สามัญปกต)ิ เขต/อําเภอ (District) : บางละมงุ
รหสั โรงเรียน : 1120100043 รหสั ไปรษณยี  (Post Code) : 20150
ที่อยู (Address) : 137/44 โทรสาร (Fax.) : -
หมทู ่ี (Village No.) : 2
ซอย (Lane) : สขุ ุมวทิ 25 เฟซบุก (Facebook) : Maryvitschool
ตาํ บล/แขวง (Sub-district) : นาเกลือ
จังหวดั (Province) : ชลบรุ ี
โทรศัพท (Tel.) : 038-222-477
อีเมล (E-mail) : [email protected]
เวบ็ ไซต (Website) : http://maryvit.ac.th
ไลน (Line) : @maryvitpattaya

Page 2 of 78

ระดับท่ีเปดสอน

ปกติ (สามัญศึกษา) : เตรยี มอนุบาล, กอนประถมศกึ ษา, ประถมศึกษา, มัธยมศกึ ษาตอนตน , มัธยมศึกษาตอนปลาย

Page 3 of 78

ตอนท่ี 2 การนาํ เสนอผลการประเมินตนเอง

ระดบั ปฐมวัย ระดบั คุณภาพ
1. มาตรฐานการศึกษา ยอดเยย่ี ม
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
1. มีพัฒนาดา นรา งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนองได ยอดเยยี่ ม
2. มีพัฒนาการดา นอารมณ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณได ยอดเยย่ี ม
3. มพี ัฒนาการดา นสงั คม ชวยเหลอื ตนเองและเปนสมาชิกท่ดี ขี องสังคม ยอดเยี่ยม
4. มีพัฒนาการดา นสตปิ ญ ญา สอ่ื สารได มที ักษะการคิดพนื้ ฐาน และแสวงหาความรไู ด ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม
1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ังสดี่ าน สอดคลอ งกับบริบทของทอ งถน่ิ ยอดเยย่ี ม
2. จดั ครใู หเ พียงพอกบั ช้ันเรยี น ยอดเยี่ยม
3. สงเสริมใหครมู คี วามเชย่ี วชาญดานการจดั ประสบการณ ยอดเยี่ยม
4. จดั สภาพแวดลอ มและสอื่ เพอ่ื การเรยี นรูอยา งปลอดภัยและเพยี งพอ ยอดเยย่ี ม
5. ใหบรกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรยี นรเู พื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ ยอดเยี่ยม
6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปด โอกาสใหผเู ก่ยี วของทุกฝา ยมีสว นรว ม ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณทีเ่ นนเดก็ เปน สําคญั ยอดเยี่ยม
1. จดั ประสบการณทส่ี ง เสรมิ ใหเดก็ มพี ฒั นาการทุกดา น อยางสมดลุ เต็มศักยภาพ ยอดเยย่ี ม
2. สรางโอกาสใหเดก็ ไดร บั ประสบการณตรง เลนและปฏิบตั อิ ยางมคี วามสขุ
3. จดั บรรยากาศทเี่ ออื้ ตอการเรียนรู ใชส ือ่ และเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมกบั วยั
4. ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาํ ผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณแ ละพฒั นาเด็ก
สรุปผลการประเมนิ ระดบั ปฐมวัย

2. หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดบั คณุ ภาพ

1. แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (ฉบับปรบั ปรงุ ) ปการศึกษา 2562 – 2564
2. แผนปฏบิ ัติการประจําปก ารศกึ ษา 2563
3. สรุปแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาประจาํ ปก ารศึกษา 2563
4. สรปุ ผลการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
5. แบบบนั ทกึ ภาคสนาม
6. ขอมลู สารสนเทศ

 

3. โรงเรียนมแี ผนจะพัฒนาตนเองตอ ไปอยางไรใหไ ดมาตรฐานทีด่ ขี น้ึ กวาเดมิ 1 ระดับ

Page 4 of 78

แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 1  จัดกิจกรรมการเรียนการสอบแบบ Project Approach ใหม ากขึ้น ใหเดก็ เกิดการเรียนรูจ ากการไดล งมือสมั ผสั และปฏบิ ัติ
จรงิ
แผนปฏิบตั ิงานท่ี 2  ผเู รียนตองมีการพัฒนาทกั ษะตนเองดา นภาษาอังกฤษมากยิ่งขน้ึ โดยทางโรงเรยี นจดั ครูชาวตา งชาติเปนครูประจาํ ชั้นรวม
กบั ครไู ทย หมายความวา ในหนงึ่ ชนั้ เรยี น มคี รปู ระจาํ ในหองจํานวน 2 คน ซงึ่ เปน         ครูตางชาตแิ ละครูไทยรวมกัน ทําใหเดก็ ไดส ่ือสารดว ย
ภาษาอังกฤษกบั ครตู า งชาติตลอดทั้งวัน นอกจากน้ี  ยังมีการปรบั การเรียนการสอนวิชาคณติ ศาสตร วิทยาศาสตร และสุขศึกษาและพลศึกษา
เปนภาคภาษาองั กฤษอกี ดวย
แผนปฏบิ ัติงานท่ี 3  การพัฒนาบคุ ลากรโดยสงเขารบั การอบรมตามหนวยงานตา ง ๆ โดยเฉพาะการใชภ าษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสาร เพอื่ นาํ กลับ
มาใชพ ัฒนาเด็กอยา งตอเน่ือง
แผนปฏิบัตงิ านท่ี 4  การพฒั นาสื่อการเรยี นการสอนสําหรบั เดก็ ปฐมวยั ซึง่ เนน การสงเสรมิ ทักษะทางคณติ ศาสตรแ บบสิงคโปร ซ่ึงเปน การปูพื้น
ฐานทางคณติ ศาสตรเ พ่ือการพัฒนาในข้นั สูงตอไป

4. นวตั กรรม/แบบอยางท่ีดี (Innovation/Best Practice)
- นวตั กรรม/แบบอยางทีด่ ี : 1. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) สําหรบั เดก็ ปฐมวัย

มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
- นวัตกรรม/แบบอยางทด่ี ี : 2. การใชภ าษาอังกฤษในชวี ติ ประจาํ วันในการส่อื สาร สปั ดาหละ 1 ประโยค

มาตรฐานดา น : มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ, มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณทเ่ี นน เดก็ เปน สําคัญ
- นวตั กรรม/แบบอยา งทดี่ ี : 3. การจัดกจิ กรรมหลากหลายท่ีสงเสรมิ ใหเ ดก็ กลาแสดงออกและสามารถนําเสนอผลงานไดทกุ คน

มาตรฐานดาน : มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณที่เนนเด็กเปน สาํ คัญ
- นวัตกรรม/แบบอยางท่ีดี : 4. จัดกิจกรรม Our Project Presentation Day ทีเ่ ปด โอกาสใหผูปกครอง ชาวบา น และชมุ ชน เขา มามีสว นรวมในการจัดกจิ กรรมการ
เรียนการสอนของทางโรงเรียน

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ี่เนน เดก็ เปนสาํ คัญ

5. ความโดดเดนของสถานศกึ ษา
- สถานศึกษามรี ะบบบริหารจัดการทช่ี ัดเจนและเปนระบบ
- โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ มท่ีเออ้ื ตอ การจัดการเรยี นรู และมคี วามพรอ มดานส่อื สารสนเทศ เทคโนโลยที ่ีทันสมยั และปลอดภัย
- ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเปน คนรุนใหมท ม่ี ีความพรอมในการพัฒนาศักยภาพครู เพ่ือเตรียมรับการพัฒนาเปน ครยู ุคใหมในศตวรรษท่ี 21
- เนน ใหผูเรยี นมีคณุ ธรรมจริยธรรม และมีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข องผเู รยี น ปฏิบัติตนตามคานิยม มสี ขุ ภาวะที่ดี มสี ุนทรยี ภาพ ตามแนวมารวี ทิ ย (ความรคู ู
คุณธรรม นาํ วนิ ยั )
- หลกั สตู รท่ีหลากหลายเพือ่ ตอบสนองความตอ งการของนักเรยี นท่ีมคี ุณภาพมาตรฐานสากล และเนนการมสี วนรวม

6. โรงเรยี นดาํ เนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- จัดการศึกษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจดั การเรยี นรเู ชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพอื่ พัฒนาผเู รยี น ที่สอดคลองกบั
มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
- สงเสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดบั ทองถ่นิ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจําเปนของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลากหลายตามบริบทของพืน้ ที่
- พฒั นาผูเ รียนใหมที กั ษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรียนรเู ชงิ รุก (Active Learning) จาก
ประสบการณจริงหรือจากสถานการณจําลองผา นการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพื่อเปดโลกทศั นมมุ มองรว มกันของผู
เรียนและครูใหมากขึน้
- พฒั นาผเู รียนใหมคี วามรอบรูและทักษะชวี ิต เพ่ือเปนเครอื่ งมอื ในการดํารงชวี ติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทลั สุขภาวะและทศั นคตทิ ่ดี ตี อการดแู ล
สขุ ภาพ
- พฒั นาครูใหมีทักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ปญญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมทั้งการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื ฝกทักษะการคดิ

Page 5 of 78

วิเคราะหอยา งเปน ระบบและมเี หตผุ ลเปน ขนั้ ตอน
- สงเสริมใหใ ชภาษาทองถิ่นรว มกบั ภาษาไทยเปน สื่อจดั การเรียนการสอนในพื้นทท่ี ี่ใชภาษาอยา งหลากหลาย เพ่อื วางรากฐานใหผูเ รียนมีพฒั นาการดา นการคิด
วเิ คราะห รวมท้งั มีทกั ษะการสอ่ื สารและใชภ าษาท่สี ามในการตอยอดการเรยี นรูไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ
- ปลูกฝง ผเู รียนใหม ีหลกั คิดท่ถี ูกตอ งดานคณุ ธรรม จริยธรรม และเปนผมู คี วามพอเพยี ง วนิ ัย สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด
- พฒั นาแพลตฟอรมดิจิทัลเพ่ือการเรียนรู และใชดจิ ิทัลเปนเคร่ืองมอื การเรียนรู
- เสรมิ สรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสง เสริมคณุ ลักษณะและพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคด า นสงิ่ แวดลอม
- สง เสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐแ ละนวัตกรรมทีเ่ ปน มติ รกบั สิง่ แวดลอ ม ใหส ามารถเปนอาชพี และสรางรายได
- สนับสนนุ กจิ กรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ
- พฒั นาครทู กุ ระดบั ใหม ที ักษะ ความรูที่จาํ เปน เพือ่ ทําหนา ท่วี ิทยากรมอื อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผา นศูนยพ ฒั นาศักยภาพบคุ คลเพอ่ื
ความเปน เลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)
- ใหผ เู รียน ครู ผูบรหิ ารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผา นแผนพฒั นารายบุคคลสูค วามเปนเลิศ (Excellence Individual Development Plan :EIDP)

Page 6 of 78

ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ระดบั คุณภาพ
1. มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเย่ียม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรียน ยอดเยยี่ ม
ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู รียน ยอดเยยี่ ม
ยอดเยย่ี ม
1. มคี วามสามารถในการอา น การเขียน การส่อื สาร และ การคดิ คาํ นวณ ยอดเยย่ี ม
2. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คิดอยางมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแกปญหา ยอดเยี่ยม
3. มีความสามารถในการสรา งนวัตกรรม
4. มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ยอดเยี่ยม
5. มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
6. มคี วามรูทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี องานอาชพี ยอดเยี่ยม
คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคของผูเรียน ยอดเยย่ี ม
7. การมคี ณุ ลักษณะและคา นิยมท่ดี ีตามที่สถานศึกษากาํ หนด ยอดเยีย่ ม
8. ความภมู ใิ จในทองถิ่นและความเปน ไทย ยอดเยี่ยม
9. การยอมรบั ที่จะอยรู วมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม
10. สุขภาวะทางรางกายและจิตสังคม ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยีย่ ม
1. มีเปา หมายวิสยั ทศั นแ ละพนั ธกิจท่ีสถานศึกษากาํ หนดชดั เจน ยอดเยี่ยม
2. มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม
3. ดาํ เนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เนนคณุ ภาพผูเ รยี นรอบดา นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุกกลมุ เปาหมาย ยอดเยี่ยม
4. พฒั นาครูและบคุ ลากรใหมคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี ยอดเยย่ี ม
5. จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออ้ื ตอ การจัดการเรียนรู อยางมคี ุณภาพ ยอดเยย่ี ม
6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบริหารจัดการและ การจดั การเรียนรู ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนนผเู รียนเปนสําคัญ ยอดเยี่ยม
1. จดั การเรียนรผู านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาํ ไปประยุกตใชในชวี ติ ได ยอดเยี่ยม
2. ใชส อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรยี นรูท ่ีเอื้อ ตอ การเรยี นรู ยอดเยี่ยม
3. มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก
4. ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยา งเปน ระบบ และ นาํ ผลมาพัฒนาผเู รยี น
5. มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรูและใหขอ มลู สะทอนกลบั เพ่อื พัฒนาปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู
สรุปผลการประเมินระดับข้นั พืน้ ฐาน

2. หลกั ฐานสนับสนุนผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ

Page 7 of 78

1. แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (ฉบับปรบั ปรุง) ปก ารศึกษา 2562 – 2564
2. แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปการศึกษา 2563
3. สรุปแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาประจําปก ารศึกษา 2563
4. สรุปผลการดําเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
5. หลักสูตรสถานศึกษา
6. แผนการจดั การเรยี นรู 8 กลมุ สาระการเรียนรู
7. แบบรายงานผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน ปก ารศึกษา 2563
8. ขอ มูลสารสนเทศ

3. โรงเรียนมแี ผนจะพัฒนาตนเองตอ ไปอยา งไรใหไดมาตรฐานทีด่ ขี ้นึ กวา เดิม 1 ระดบั

แผนปฏิบัตงิ านที่ 1  พัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 8 กลมุ สาระการเรยี นรูและการวัดผลระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-Net) ของผเู รยี นใหสูงขึ้น
แผนปฏิบตั ิงานที่ 2  การพฒั นาบคุ ลากรโดยสง เขา รับการอบรม โดยเฉพาะการใชภ าษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สารและพัฒนาแลกเปลี่ยนเรียนรใู น
งานที่ไดรับมอบหมาย ติดตามผลการนาํ ไปใชและผลที่เกดิ กับผูเ รียนอยางตอเนื่อง
แผนปฏบิ ัติงานท่ี 3  ผเู รียนอานหนงั สือออกและอา นคลอง รวมทัง้ สามารถเขียนเพื่อการส่ือสารไดทกุ คน สามารถใชเ ทคโนโลยใี นการแสวงหา
ความรไู ดด ว ยตนเอง
แผนปฏิบตั งิ านท่ี 4  ผเู รยี นตองมกี ารพัฒนาตนเองดานภาษาอังกฤษมาตรฐานสากล โดยเม่ือจบมธั ยมศึกษาปท่ี 6 ตอ งมีคะแนน TOEIC ไมต่ํา
กวา 400 คะแนน
แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 5  พฒั นาหลักสตู ร การเรยี นการสอน กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นและการวดั ผลอยางรอบดา นทมี่ ีคณุ ภาพมาตรฐานสากล สง เสริม
ใหครูผูสอนมกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นโดยเนน การมีปฏิสมั พนั ธเ ชิงบวกใหเ ดก็ รกั ครู ครูรักเด็ก และเดก็ รักเดก็ เด็กรักที่จะเรียนรูสามารถเรียนรู
รว มกันอยา งมีความสุข งานวดั ประเมินผล: พัฒนาครูและผมู ีสว นเก่ยี วขอ งรว มกันแลกเปลย่ี นความรูและประสบการณร วมทงั้ ใหขอ มูลปอ น
กลบั เพอื่ นําไปใชใ นการปรับปรุง และพฒั นาการจดั การเรียนรู

4. นวัตกรรม/แบบอยางทด่ี ี (Innovation/Best Practice)
- นวตั กรรม/แบบอยา งทด่ี ี : 1. งานสง เสริมความสามารถและทกั ษะทางดานภาษา เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของภาครัฐบาลท่ีตองการใหบริเวณภมู ิภาคตะวัน
ออกโดยเฉพาะชลบุรี และระยอง เปนระเบียงเศรษฐกิจของภมู ิภาคตะวนั ออก (EEC) โรงเรยี นจึงสง เสรมิ ผูเรยี นโดยเนนพัฒนาทกั ษะทางดานภาษาอังกฤษและภาษา
จนี เปน หลัก เพ่อื ใหผ เู รยี นใชเ ปนเปนพ้นื ฐานสาํ คัญในการศึกษาตอในระดับสูง ตอ ยอดการศกึ ษาสูก ารประกอบอาชพี และลดขอ จาํ กัด อุปสรรคทางดานการส่ือสาร
ทาํ ใหน กั เรียนสามารถใชภ าษาที่สามในการสื่อสารกับบุคคลท่วั ไปไดทกุ เช้อื ชาติ

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นนผเู รยี นเปน สําคัญ
- นวตั กรรม/แบบอยา งท่ดี ี : 2. นวตั กรรมการสอนแบบโครงการ Project Approach ระดบั ชัน้ ป.1 - ป.6

มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน
- นวัตกรรม/แบบอยางที่ดี : 3. การส่งั อาหารเปน ภาษาองั กฤษของนกั เรียนระดับชั้น ป.3 - ม.6

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรยี น
- นวตั กรรม/แบบอยางทด่ี ี : 4. การใชภ าษาองั กฤษในชีวติ ประจาํ วันในการสื่อสารสัปดาหล ะ 1 ประโยคของระดับชั้น ป.1 - ป.2

มาตรฐานดา น : มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น
- นวัตกรรม/แบบอยางทีด่ ี : 5. การจัดการเรียนการสอนแบบกลมุ ในระดับชั้น ม.4 - ม.6

มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผูเ รียนเปน สาํ คญั
- นวตั กรรม/แบบอยา งที่ดี : 6. จัดการเรียนการสอนเพ่ือฝกทักษะการคดิ แบบมเี หตผุ ลและเปนขน้ั ตอน (Coding)

มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผเู รียนเปน สาํ คญั
- นวตั กรรม/แบบอยา งทด่ี ี : 7. จดั การเรยี นรดู ว ยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม คณติ ศาสตร (STEM) และภาษาตางประเทศ (ภาษาทสี่ าม)

Page 8 of 78

มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นนผูเรยี นเปน สาํ คญั
- นวตั กรรม/แบบอยา งทด่ี ี : 8. เรยี นรูดวยวิธีการ Active Learning เพ่ือพัฒนากระบวนการคดิ การเรียนรูจากประสบการณจ ริงหรือจากสถานการณจําลองผา นการ
ลงมอื ปฏบิ ตั ิ และเปดโลกทัศนมมุ มองรวมกันของผเู รียนและครดู วยการจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคิดเห็นใหมากขึ้น

มาตรฐานดาน : มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปนสําคัญ
- นวตั กรรม/แบบอยา งทีด่ ี : 9. สรางแพลตฟอรม ดจิ ทิ ลั เพ่ือการเรียนรู และใชดิจิทัลเปนเครอื่ งมอื การเรยี นรู

มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน ผเู รียนเปนสําคญั
- นวัตกรรม/แบบอยา งทด่ี ี : 10. จดั ตั้งศนู ยป ระสานงานการผลิตส่ือการเรียนรูผา นระบบออนไลน

มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นนผเู รียนเปน สําคัญ

5. ความโดดเดนของสถานศึกษา
- มีการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่เี ปดโอกาสใหผปู กครองเขามามีสว นรวมในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รียน
- สถานศกึ ษามีสภาพแวดลอมท่ีเอ้อื ตอ การเรียนรู ทงั้ ภายในและภายนอกหอ งเรียน สะอาด ปลอดภยั และเหมาะสม
- จดั การเรียนการสอนท่ีสงเสรมิ ใหเ ดก็ ไดเ รียนรูท กั ษะทางภาษาอังกฤษ และภาษาจนี จากครูชาวตา งชาติ
- การจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร สุขศึกษาและพลศกึ ษาโดยใชภาษาอังกฤษ มีครูชาวตางชาตเิ ปนผูถายทอดความรใู หก ับนักเรยี น มี
การจดั กระบวนการเรยี นการสอนทีส่ อดคลอ งกบั กระทรวงศึกษาธกิ าร
- ผบู รหิ ารมกี ารแบงโครงสรางการบริหารอยางชดั เจน มกี ารกาํ หนดนโยบายและการวางแผนเพื่อการบรหิ ารอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และมกี ารตรวจตดิ ตามและ
ประเมนิ ผลอยา งเปน ระบบ
- จํานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเปนคนรนุ ใหม มุงม่ัน ตัง้ ใจในการพฒั นาการสอน มีความรู ความสามารถในการเรียนรู จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเพ่ือสง
เสรมิ พฒั นาทักษะผูเรยี น
- สถานศึกษาพัฒนาส่ือและเทคโนโลยที ่ใี ชใ นการจัดการเรยี นการสอน เพอ่ื ใหส อดคลอ งกับการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
- ใชเ ทคโนโลยีและดิจิทลั เปนเครื่องมือในการพฒั นาระบบงานทัง้ ระบบ เนนการเรยี นรแู ละการบริหารจดั การ
- เนน ใหผ ูเ รยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรม และมคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงคข องผเู รียน ปฏบิ ัติตนตามคานยิ ม มีสุขภาวะที่ดี มสี ุนทรียภาพ ตามแนวมารวี ทิ ย (ความรูคู
คณุ ธรรม นาํ วินัย)
- หลักสูตรทีห่ ลากหลายเพอื่ ตอบสนองความตอ งการของนกั เรยี นทม่ี คี ุณภาพมาตรฐานสากล และเนน การมสี ว นรว ม

6. โรงเรียนไดดําเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- จัดการศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัดการเรียนรเู ชิงรกุ และการวัดประเมินผลเพื่อพฒั นาผูเ รียน ที่สอดคลอ งกับ
มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดับทอ งถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาตามความตองการจาํ เปนของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลายตามบรบิ ทของพื้นท่ี
- พัฒนาผเู รยี นใหม ีทักษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนา ไดอยา งมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรยี นรูเชงิ รุก (Active Learning) จาก
ประสบการณจริงหรือจากสถานการณจ ําลองผา นการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพ่อื เปด โลกทัศนม มุ มองรวมกันของผู
เรยี นและครูใหมากข้นึ
- พฒั นาผูเรียนใหมีความรอบรแู ละทักษะชีวติ เพอื่ เปนเครอ่ื งมอื ในการดาํ รงชวี ิตและสรางอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยดี จิ ิทลั สุขภาวะและทัศนคติที่ดตี อ การดูแล
สุขภาพ
- พฒั นาครูใหม ที กั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัล ปญ ญาประดษิ ฐ และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การจดั การเรียนการสอนเพื่อฝก ทักษะการคดิ
วเิ คราะหอ ยางเปนระบบและมีเหตผุ ลเปนขั้นตอน
- สงเสริมใหใ ชภาษาทอ งถนิ่ รว มกบั ภาษาไทยเปนส่อื จัดการเรยี นการสอนในพน้ื ท่ีท่ีใชภาษาอยางหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผ ูเรยี นมพี ัฒนาการดานการคดิ
วิเคราะห รวมทงั้ มีทักษะการสอื่ สารและใชภ าษาทส่ี ามในการตอยอดการเรยี นรูไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
- ปลกู ฝง ผเู รยี นใหมีหลกั คิดทถ่ี กู ตอ งดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปน ผูมีความพอเพียง วินยั สุจริต จิตอาสา โดยกระบวนการลกู เสือ และยุวกาชาด
- พฒั นาแพลตฟอรม ดิจทิ ัลเพ่ือการเรียนรู และใชดิจิทัลเปน เครือ่ งมือการเรียนรู

Page 9 of 78

- เสรมิ สรางการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนัก และสง เสริมคุณลกั ษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงคดา นสง่ิ แวดลอ ม
- สง เสริมการพัฒนาสง่ิ ประดษิ ฐแ ละนวตั กรรมท่ีเปน มิตรกับสง่ิ แวดลอม ใหส ามารถเปน อาชพี และสรา งรายได
- สนับสนนุ กจิ กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ
- พัฒนาครูทุกระดบั ใหมีทกั ษะ ความรทู จ่ี าํ เปน เพ่ือทําหนาท่วี ทิ ยากรมอื อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผานศูนยพฒั นาศักยภาพบุคคลเพ่อื
ความเปน เลศิ (Human Capital Excellence Center: HCEC)
- ใหผเู รยี น ครู ผูบริหารทางการศึกษามีแผนพฒั นารายบคุ คลผานแผนพัฒนารายบุคคลสคู วามเปน เลิศ (Excellence Individual Development Plan :EIDP)

ลงช่ือ........................................
(........ดร.ศิรนิ า โพยประโคน........)

ตาํ แหนง ผอู าํ นวยการ

Page 10 of 78

สวนท่ี 2 : ขอ มลู พื้นฐาน

1. โรงเรียน (School Name) : มารีวิทย (-) อาคาร (Bldg) : -
รหัสโรงเรียน : 1120100043 ตรอก (Alley) : -
ทอ่ี ยู (Address) : 137/44 ถนน (Street) : สุขมุ วทิ
หมูท่ี (Village No.) : 2 เขต/อําเภอ (District) : บางละมุง
ซอย (Lane) : สุขมุ วิท 25 รหสั ไปรษณีย (Post Code) : 20150
ตําบล/แขวง (Sub-district) : นาเกลอื โทรสาร (Fax.) : -
จังหวัด (Province) : ชลบุรี
โทรศัพท (Tel.) : 038-222-477 เฟซบกุ (Facebook) : Maryvitschool
อเี มล (E-mail) : [email protected]
เว็บไซต (Website) : http://maryvit.ac.th
ไลน (Line) : @maryvitpattaya

2. ระดบั ท่เี ปด สอน
ปกติ (สามญั ศึกษา): : เตรยี มอนบุ าล, กอ นประถมศกึ ษา, ประถมศกึ ษา, มธั ยมศกึ ษาตอนตน , มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

Page 11 of 78

3. ขอมูลพนื้ ฐานแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ปรชั ญา

ความรูค คู ุณธรรม นําวนิ ยั

วิสัยทศั น
โรงเรียนมารวี ทิ ย มงุ พัฒนาผเู รยี นใหมีความเปนเลิศทางวชิ าการ มีระเบียบวนิ ัย มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ดํารงชวี ติ อยางมคี วามสขุ สอดคลอ งกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอ
เพียง และความเปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21

พันธกจิ

1. มงุ พฒั นาผเู รยี นท้ัง 4 ดาน ไดแ ก ดานวิชาการ ดานสุขภาพ ดา นคุณธรรม และดานความปลอดภยั
2. จดั การเรยี นการสอนเหมาะสม สอดคลอ งกบั บริบทและสภาพแวดลอ มในสังคมยุคปจจบุ ัน
3. พัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาใหม ีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล
4. สง เสริมผูเรยี นใหเ ปนผูม รี ะเบียบวินัย ใฝคุณธรรมมีจิตสาธารณะ รจู กั การให และการแบงปน มคี วามรักและรจู ักเสียสละ
5. มงุ พัฒนาผูเ รยี นใหส ามารถใชชีวติ ในสังคมอยา งมคี วามสขุ โดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง
6. พัฒนาครู บุคลากร และสถานศึกษาใหเปนผูนาํ ทางการศึกษา เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21

เปา หมาย

1. ผเู รียนมีความเปนเลิศทางวชิ าการ
2. ผเู รียนมสี ขุ ภาพกายและจิตทดี่ ี
3. ผเู รียนไดรบั ความปลอดภัย รจู ักดูแลตนเองและผูอ่นื
4. สถานศกึ ษามกี ารจัดการเรยี นการสอนเหมาะสม สอดคลองกับบรบิ ทและสภาพแวดลอ มในสังคมยุคปจ จบุ นั
5. สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารสถานศึกษาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ และเกดิ ประสิทธผิ ล
6. ผูเรียนมีระเบียบวินัย ใฝคุณธรรม มีจิตสาธารณะ รจู ักการให และการแบง ปน มีความรักและรจู ักเสียสละ
7. ผูเรยี นมีทักษะในการใชช ีวติ ในสังคมอยางมคี วามสขุ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
8. ครู บุคลากร และผเู ก่ียวของทางการศกึ ษาปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนาท่ีอยางมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล
9. สถานศึกษามีอตั ลกั ษณ และเอกลักษณท ีโ่ ดดเดน เปนทีป่ ระจกั ษ
10. สถานศึกษาใหการสนบั สนุนโครงการ/กิจกรรมใหตอบสนองนโยบาย จุดเนน ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของรฐั บาลและหนว ยงานตน

สังกดั เพ่อื รองรบั พนื้ ที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก

ยุทธศาสตรหรอื กลยทุ ธ
กลยทุ ธท ี่ 1  พัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นสคู วามเปน เลิศ
กลยทุ ธท ่ี 2  สงเสริมสุขภาวะท่ดี ีและความปลอดภัยในการดําเนินชวี ิต
กลยุทธท ่ี 3  พฒั นากระบวนการบริหารและการจดั การของสถานศกึ ษา
กลยุทธท ี่ 4  เสรมิ สรา งคุณธรรม ระเบยี บวินยั สง เสริมการเปนผูให มคี วามรัก รูจักเสียสละ และแบง ปน
กลยุทธที่ 5  พัฒนาคณุ ภาพผูเรียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยทุ ธท ี่ 6  พฒั นาบคุ ลากรสถานศกึ ษา
กลยทุ ธท ่ี 7  สง เสรมิ อัตลักษณของสถานศกึ ษาใหโ ดดเดน
กลยทุ ธท ี่ 8  พัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษาตามแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษาของรฐั บาลและหนวยงานตน สังกดั

Page 12 of 78

เอกลักษณ
รกั   เมตตา  แบง ปนสูก ารให

อัตลกั ษณ
เปนเลิศทางวชิ าการ

Page 13 of 78

4. จาํ นวนนกั เรยี น

ระดบั ที่เปดสอน การจัดการเรยี น จํานวนหองเรียน จํานวนผเู รยี นปกติ จํานวนผูเรียนทมี่ ีความตอ งการ รวมจํานวนผู
การสอน พเิ ศษ เรียน
ชาย หญงิ
ชาย หญงิ
19 20
ระดับกอ นประถมการศกึ ษา 81 80
--
เตรยี มอนุบาล หอ งเรียนปกติ 4 108 99 -- 39
--
อนุบาลปท ่ี 1 หอ งเรยี นปกติ 7 99 98 - - 161
หองเรยี น EP - --
307 297 -- -

อนุบาลปท ่ี 2 หองเรยี นปกติ 7 120 112 - - 207
หองเรียน EP - --
117 129 -- -
--
อนบุ าลปที่ 3 หองเรียนปกติ 7 142 107 - - 197
หองเรยี น EP - --
130 118 -- -
--
รวม หอ งเรียนปกติ 25 หองเรยี น EP - 113 127 - - 604
--
ระดับประถมศกึ ษา 112 137
--
ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 หองเรยี นปกติ 8 734 730 - - 232
หอ งเรียน EP -
87 111 -- -
--
ประถมศึกษาปท ่ี 2 หองเรียนปกติ 8 107 99 - - 246
หองเรยี น EP - --
-- -

ประถมศึกษาปท่ี 3 หอ งเรยี นปกติ 8 - - 249
หองเรยี น EP -
-- -

ประถมศึกษาปที่ 4 หองเรยี นปกติ 8 - - 248
หอ งเรียน EP -
-- -

ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 หองเรียนปกติ 8 - - 240
หองเรียน EP -
-- -

ประถมศึกษาปท ี่ 6 หองเรยี นปกติ 8 - - 249
หอ งเรียน EP -
-- -

รวม หองเรียนปกติ 48 หองเรียน EP - - - 1,464

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

มธั ยมศึกษาปท่ี 1 หองเรยี นปกติ 7 - - 198
หองเรียน EP -
-- -

มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 หองเรียนปกติ 7 - - 206
หองเรียน EP -
-- -

Page 14 of 78

ระดบั ท่ีเปดสอน การจดั การเรยี น จาํ นวนหองเรียน จํานวนผูเรยี นปกติ จาํ นวนผเู รยี นทม่ี ีความตองการ รวมจํานวนผู
การสอน พเิ ศษ เรยี น
ชาย หญิง
81 104 ชาย หญงิ
--
มัธยมศึกษาปที่ 3 หองเรยี นปกติ 7 275 314 - - 185
หอ งเรยี น EP -
57 85 -- -
--
รวม หอ งเรยี นปกติ 21 หอ งเรยี น EP - 58 82 - - 589
--
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 67 73
--
มธั ยมศึกษาปท่ี 4 หองเรยี นปกติ 5 182 240 - - 142
หอ งเรยี น EP - 1,498 1,581
-- -

มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 หอ งเรยี นปกติ 5 - - 140
หองเรียน EP -
-- -

มัธยมศึกษาปท่ี 6 หอ งเรยี นปกติ 5 - - 140
หองเรียน EP -
-- -

รวม หองเรียนปกติ 15 หองเรียน EP - - - 422

รวมทงั้ ส้นิ หอ งเรียนปกติ 109 หองเรียน EP - - - 3,079

Page 15 of 78

5. จํานวนผูบรหิ ารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
5.1 ผบู ริหารสถานศึกษา
- นาย ชวน กติ เิ กียรติศกั ด์ิ
ตาํ แหนง : ผรู ับใบอนญุ าต (ผรู บั ใบอนุญาต)
ระดับการศึกษา : ตํ่ากวาปรญิ ญาตรี
- นาง ศิรนิ า โพยประโคน
ตําแหนง : ผอู ํานวยการโรงเรยี น (Thai School Director)
ระดบั การศกึ ษา : ปริญญาเอก
- นาง นันทยิ า วรรณชัยวงศ
ตาํ แหนง : ผูจัดการ (Thai School Manager)
ระดับการศกึ ษา : ปรญิ ญาตรี
- นาง สมุ นา มะลิหอม
ตาํ แหนง : รองผูอ ํานวยการโรงเรยี น (Deputy Thai Director)
ระดบั การศกึ ษา : ปรญิ ญาโท
- นางสาว สายสวาท พนั ธอุ ดุ ม
ตาํ แหนง : รองผูอ าํ นวยการโรงเรยี น (Deputy Thai Director)
ระดบั การศกึ ษา : ปริญญาโท
- นาง เพิม่ สขุ อนนั ตม งั่ คัง
ตําแหนง : รองผูอ ํานวยการโรงเรยี น (Deputy Thai Director)
ระดบั การศึกษา : ปรญิ ญาโท
- นาย วีรพงษ เคนผาพงษ
ตําแหนง : รองผูอํานวยการโรงเรียน (Deputy Thai Director)
ระดับการศกึ ษา : ปริญญาโท

5.2 จํานวนครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา (เฉพาะท่ีบรรจเุ ทา นั้น)

5.2.1 สรปุ จํานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จาํ แนกวฒุ กิ ารศึกษาและประเภท/ตําแหนง

ประเภท/ตาํ แหนง จํานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ป.เอก รวม

ตา่ํ กวา ป.ตรี ป.ตรี ป.บณั ฑติ ป.โท

ผสู อนเตรยี มอนุบาล

1. ครูไทย - 8 - - -8

2. ครูชาวตา งชาติ - 2 - - -2

ผูสอนการศกึ ษาปฐมวยั

1. ครูไทย - 39 1 1 - 41

2. ครชู าวตางชาติ - 20 - - - 20

ผสู อนการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

Page 16 of 78

ประเภท/ตาํ แหนง จํานวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ป.เอก รวม

ระดบั ประถมศึกษา ต่าํ กวา ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท
1. ครูไทย
2. ครูชาวตางชาติ - 70 4 2 - 76
ระดบั มธั ยมศึกษา - 20 - - - 20
1. ครไู ทย
2. ครูชาวตา งชาติ - 52 3 11 - 66
รวม - 14 - - - 14
บคุ ลากรทางการศึกษา - 225 8 14 - 247
- ไมบ รรจุ
บุคลากรอืน่ ๆ - 236 0 1 - 237
รวม
รวมท้ังส้ิน 52 - - - - 52

52 236 0 1 - 289

52 461 8 15 - 536

สรปุ อัตราสว น จํานวนหอ ง จาํ นวนนกั เรยี น จํานวนครู จํานวนผูเ รยี นตอ ครู จํานวนผเู รยี นตอหอ ง
4 39 10 4:1 10:1
สรุปอัตราสวน 21 565 61 10:1 27:1
ผูสอนเตรียมอนบุ าล
ผสู อนการศกึ ษาปฐมวยั 48 1,464 96 16:1 31:1
ผูสอนการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 36 1,011 80 13:1 29:1
ระดบั ประถมศกึ ษา
ระดับมธั ยมศกึ ษา

Page 17 of 78

5.2.2 จาํ นวนครจู ําแนกตามระดับและกลุม สาระการเรยี นรู

ระดับ/กลมุ สาระการเรยี นรู ปฐมวัย จํานวนครูผูสอน มัธยมศกึ ษา รวม
ตรงเอก ไมตรงเอก ประถมศกึ ษา ตรงเอก ไมต รงเอก
ปฐมวยั ตรงเอก ไมตรงเอก 268
ภาษาไทย 18 40 92 35 80 3 32
คณิตศาสตร -- 12 10 10 - 51
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี -- 23 10 15 3 43
สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม -- 16 10 17 - 23
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา -- 10 5 8- 9
ศลิ ปะ -- 5- 4- 13
การงานอาชพี -- 7- 6- 6
ภาษาตา งประเทศ -- 2- 4- 33
รวม -- 17 - 16 - 478
18 40 184 70 160 6

5.2.3 ตารางสรปุ จํานวนครูทส่ี อนกจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น จาํ นวนครผู สู อน รวม

กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา

กจิ กรรมนกั เรยี น 66 31 97
- ลูกเสอื 66 31 97
- เนตรนารี - --
- ยุวกาชาด - --
- ผบู าํ เพญ็ ประโยชน - 11
- รักษาดนิ แดน (ร.ด.) 60 50 110
- กจิ กรรมชุมนมุ ชมรม 46 28 74
48 26 74
กิจกรรมแนะแนว 286 167 453
กจิ กรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน
รวม

Page 18 of 78

5.2.4 สรุปจํานวนครูและบุคลากรทางการลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาดและผบู าํ เพญ็ ประโยชน

ลกู เสอื /เนตรนารี /ยุวกาชาด/ผบู าํ เพญ็ ประโยชน จํานวนผบู ังคับบญั ชา จาํ นวนวฒุ ทิ างลกู เสอื สถานะการจัดต้งั กองลูกเสอื
มวี ุฒิ ไมม ีวุฒิ
ลูกเสอื เนตรนารี สาํ รอง 36 30 6 ไมจ ดั ตั้ง
ลกู เสือ เนตรนารี สามญั 44 40 4 ไมจ ัดตั้ง
ลกู เสือ เนตรนารี สามัญรุนใหญ 42 36 6 ไมจัดต้งั
ลกู เสอื เนตรนารี วสิ ามัญ -
ยุวกาชาด - -- -
ผูบําเพญ็ ประโยชน - -- -
รวม 122 -- -
106 16

5.2.5 สรุปจํานวนครูทที่ ําหนาท่ีคัดกรอง และนกั เรียนทมี่ คี วามตองการจําเปนพิเศษ (กรณีโรงเรียนมีนกั เรยี นพเิ ศษเรยี นรวม)

จาํ นวนครูท่ีทําหนาทคี่ ดั กรอง จํานวนนกั เรียนพิเศษ

ครทู ่ไี ดร บั การขน้ึ ทะเบยี น เปน ผคู ัดกรองของกระทรวงศึกษาธกิ าร ครทู ม่ี ีวฒุ ิทางการศกึ ษาพเิ ศษ ทั้งหมด ข้นึ ทะเบยี น ไมข้ึนทะเบยี น

- - -- -

5.2.6 สรุปจํานวนครทู เ่ี ขา รับการอบรมเกีย่ วกบั โรงเรยี นคณุ ธรรม จาํ นวนครูทีเ่ ขา รับ การอบรม ปทอ่ี บรม
- -
หนวยงานทเ่ี ขารบั การอบรม
-

Page 19 of 78

สวนที่ 3 : ผลการดาํ เนนิ งาน

1. ผลการดาํ เนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจําปข องสถานศกึ ษา

1.1 ระดบั ปฐมวยั

ยุทธศาสตรท ี่ 1
พฒั นาคณุ ภาพผูเรยี นสคู วามเปนเลิศ
โครงการ
1. โครงการสงเสริมและพัฒนาศกั ยภาพ สคู ความเปนเลิศ

คา เปาหมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสําเรจ็

95.45 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
ศึกษา - มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท่ีเนนเดก็ เปน สาํ คญั

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสริมสรางประสิทธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลอ งกับตัว - พัฒนาผเู รียนใหม ีทักษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนา ไดอยา งมีประสิทธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรูเชิงรกุ (Active
ชี้วัดกระทรวง Learning) จากประสบการณจริงหรือจากสถานการณจ ําลองผานการลงมอื ปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคิดเห็นเพื่อเปด
ศกึ ษาธิการ โลกทัศนม มุ มองรว มกันของผูเรยี นและครใู หมากขึ้น

- พฒั นาผเู รยี นใหม คี วามรอบรแู ละทกั ษะชวี ิต เพื่อเปนเครอื่ งมือในการดํารงชีวติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สขุ ภาวะและทัศนคติ
ท่ดี ีตอการดแู ลสขุ ภาพ

ยทุ ธศาสตรที่ 2
สงเสริมสุขภาวะทด่ี ีและความปลอดภัยในการดําเนนิ ชีวิต
โครงการ
1. โครงการดแู ลความปลอดภยั และสง เสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัย

คาเปาหมาย

87.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เรจ็

90.62 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็

สอดคลองกับยุทธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน
สช.

สอดคลอ งกบั ตวั ช้ีวัด - จดั การศกึ ษาทุกระดับ ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจดั การเรียนรูเชิงรกุ และการวัดประเมินผลเพ่อื
กระทรวงศึกษาธกิ าร พฒั นาผเู รียน ทีส่ อดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

- สงเสริมการพัฒนากรอบหลกั สูตรระดับทอ งถ่ินและหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปนของกลมุ เปาหมายและแตกตา ง
หลากหลายตามบรบิ ทของพื้นท่ี

ยทุ ธศาสตรท ่ี 3

Page 20 of 78

พฒั นากระบวนการบรหิ ารและการจัดการของสถานศึกษา
โครงการ
1. โครงการพัฒนาหลกั สตู รและการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู

คาเปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสาํ เรจ็

90.18 : ยอดเยยี่ ม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
สช.

สอดคลองกบั ตวั ช้ีวัด - เสรมิ สรา งการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรมทพี่ ึงประสงคด า นสิง่ แวดลอ ม
กระทรวงศึกษาธิการ
- สงเสรมิ การพฒั นาส่งิ ประดิษฐแ ละนวตั กรรมท่ีเปน มิตรกับสง่ิ แวดลอ ม ใหสามารถเปน อาชีพและสรางรายได

- สนับสนุนกิจกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ

- พฒั นาครทู กุ ระดบั ใหม ีทกั ษะ ความรทู ี่จําเปน เพอ่ื ทาํ หนา ท่ีวทิ ยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผานศนู ย
พฒั นาศกั ยภาพบุคคลเพื่อความเปน เลศิ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

2. โครงการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา

คา เปาหมาย

87.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เรจ็

90.05 : ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็
ศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท เี่ นน เดก็ เปนสําคัญ

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกับตวั - พัฒนาผูเรียนใหมที กั ษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอยา งมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรูเชงิ รุก (Active
ชว้ี ดั กระทรวง Learning) จากประสบการณจริงหรอื จากสถานการณจําลองผา นการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพือ่ เปด
ศึกษาธกิ าร โลกทศั นม มุ มองรวมกนั ของผเู รยี นและครใู หมากข้นึ

- พัฒนาผูเรยี นใหม ีความรอบรแู ละทักษะชีวติ เพื่อเปน เคร่ืองมือในการดํารงชวี ติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดิจิทลั สขุ ภาวะและทศั นคติ
ที่ดีตอการดูแลสุขภาพ

ยุทธศาสตรท ่ี 4
เสริมสรางคณุ ธรรม ระเบียบวินัย สง เสริมการเปนผใู ห มีความรกั รจู ักเสยี สละ และแบงปน
โครงการ
1. โครงการสรา งเสรมิ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค ดา นคุณธรรมจริยธรรม

คา เปา หมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสําเร็จ

88.35 : ยอดเยี่ยม

Page 21 of 78

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
- มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
- มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท เี่ นน เด็กเปนสาํ คญั

สอดคลอ งกบั - ยทุ ธศาสตรท ี่ 5 การสง เสริมการศึกษานอกระบบเพือ่ สรางสงั คมแหง การเรยี นรู
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกบั ตวั ชวี้ ัด - พฒั นาครใู หม ีทักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยีดิจิทัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การจดั การเรียนการสอน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพือ่ ฝกทักษะการคิดวิเคราะหอยา งเปนระบบและมีเหตผุ ลเปน ขน้ั ตอน

- สงเสรมิ ใหใชภาษาทองถิ่นรว มกบั ภาษาไทยเปนสอื่ จัดการเรียนการสอนในพ้ืนท่ีทีใ่ ชภ าษาอยางหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานใหผูเรียนมี
พฒั นาการดา นการคิดวิเคราะห รวมทัง้ มที กั ษะการส่อื สารและใชภ าษาท่สี ามในการตอ ยอดการเรยี นรไู ดอ ยางมีประสิทธิภาพ

2. โครงการวันสาํ คญั

คาเปา หมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เรจ็

87.05 : ดเี ลศิ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็
- มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
- มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท่เี นนเดก็ เปนสาํ คญั

สอดคลองกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 5 การสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบเพ่ือสรางสังคมแหงการเรยี นรู

สอดคลองกับตัวชว้ี ดั กระทรวง - ปลูกฝงผเู รยี นใหม ีหลักคดิ ท่ีถูกตอ งดานคุณธรรม จริยธรรม และเปน ผมู คี วามพอเพยี ง วนิ ัย สุจริต จติ อาสา โดยกระบวนการ
ศกึ ษาธิการ ลกู เสือ และยุวกาชาด

- พัฒนาแพลตฟอรม ดจิ ิทัลเพ่อื การเรยี นรู และใชด จิ ิทลั เปน เครื่องมือการเรยี นรู

ยทุ ธศาสตรที่ 5
พฒั นาคุณภาพผเู รียนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
โครงการ
1. โครงการปฐมวัยนอมนําหลกั ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง

คาเปาหมาย

87.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เรจ็

89.09 : ยอดเย่ียม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรท่ี 4 การสง เสรมิ การมสี ว นรวมในการจดั และสนับสนนุ การศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตัวชว้ี ดั - พัฒนาครูใหมที กั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั ปญญาประดษิ ฐ และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การจัดการเรยี นการสอน
กระทรวงศึกษาธิการ เพอื่ ฝกทักษะการคดิ วเิ คราะหอ ยางเปนระบบและมีเหตผุ ลเปน ขน้ั ตอน

- สง เสริมใหใชภาษาทอ งถิ่นรวมกบั ภาษาไทยเปน สือ่ จัดการเรยี นการสอนในพื้นที่ทใี่ ชภาษาอยางหลากหลาย เพอ่ื วางรากฐานใหผเู รยี นมี
พฒั นาการดา นการคิดวเิ คราะห รวมท้งั มที กั ษะการสื่อสารและใชภาษาทส่ี ามในการตอยอดการเรยี นรไู ดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

Page 22 of 78

ยุทธศาสตรท ่ี 6
พัฒนาบุคลากรสถานศึกษา
โครงการ
1. โครงการพฒั นาบุคลากร

คา เปา หมาย

87.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เรจ็

90.38 : ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ศึกษา

สอดคลองกบั - ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การปฏิรูประบบทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตัว - จดั การศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจดั การเรยี นรเู ชิงรุกและการวัดประเมนิ ผลเพอ่ื พัฒนาผเู รียน
ชว้ี ดั กระทรวง ที่สอดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลกั สตู รระดับทอ งถิ่นและหลักสตู รสถานศึกษาตามความตองการจําเปน ของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลายตาม
บริบทของพน้ื ที่

- พัฒนาผูเ รยี นใหม ีทักษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนา ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรเู ชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคิดเห็นเพอ่ื เปด
โลกทัศนม ุมมองรว มกนั ของผเู รียนและครใู หม ากขน้ึ

- พัฒนาผเู รียนใหม คี วามรอบรูแ ละทกั ษะชีวติ เพ่ือเปนเคร่ืองมอื ในการดํารงชีวิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สุขภาวะและทศั นคติ
ทดี่ ตี อการดแู ลสุขภาพ

- พฒั นาครูใหม ที กั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทัล ปญญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การจดั การเรยี นการสอนเพ่ือ
ฝกทกั ษะการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบและมเี หตผุ ลเปนข้ันตอน

- สงเสรมิ ใหใชภ าษาทอ งถิ่นรว มกบั ภาษาไทยเปนสอื่ จัดการเรียนการสอนในพน้ื ทีท่ ี่ใชภ าษาอยางหลากหลาย เพือ่ วางรากฐานใหผ ูเรยี นมีพฒั นาการ
ดานการคิดวิเคราะห รวมทงั้ มีทกั ษะการสื่อสารและใชภาษาท่สี ามในการตอยอดการเรียนรไู ดอ ยางมีประสิทธภิ าพ

- ปลกู ฝง ผเู รียนใหม หี ลกั คดิ ท่ีถูกตอ งดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูมีความพอเพียง วินัย สจุ รติ จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสอื และยุว
กาชาด

- พฒั นาแพลตฟอรม ดจิ ทิ ลั เพือ่ การเรยี นรู และใชดิจิทัลเปน เคร่ืองมอื การเรยี นรู

- เสริมสรางการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พงึ ประสงคด านสงิ่ แวดลอม

- สง เสริมการพัฒนาส่ิงประดษิ ฐและนวัตกรรมท่ีเปน มิตรกบั ส่งิ แวดลอม ใหส ามารถเปนอาชพี และสรา งรายได

- สนับสนุนกจิ กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ

- พัฒนาครทู กุ ระดบั ใหม ที ักษะ ความรูท ี่จําเปน เพอ่ื ทาํ หนาทีว่ ิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผา นศูนยพ ฒั นา
ศกั ยภาพบุคคลเพื่อความเปนเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

ยุทธศาสตรที่ 7
สงเสรมิ อตั ลักษณของสถานศกึ ษาใหโ ดดเดน
โครงการ
1. โครงการปฐมวยั ใสใ จโรงเรยี นและชุมชน

คา เปาหมาย

87.00 : ดีเลศิ

ผลสําเรจ็

Page 23 of 78

90.73 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาการศกึ ษาเอกชนในพ้ืนท่จี งั หวัดชายแดนภาคใต
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตัว - พฒั นาผเู รียนใหม ที กั ษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรียนรูเ ชงิ รุก (Active
ชวี้ ดั กระทรวง Learning) จากประสบการณจริงหรือจากสถานการณจําลองผา นการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพ่อื เปด
ศึกษาธิการ โลกทศั นม มุ มองรว มกันของผูเรยี นและครใู หมากขึ้น

- พัฒนาผูเรียนใหม คี วามรอบรูและทักษะชวี ิต เพอ่ื เปนเคร่ืองมือในการดาํ รงชีวติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยดี ิจิทัล สขุ ภาวะและทัศนคติ
ทด่ี ีตอการดูแลสขุ ภาพ

ยุทธศาสตรท่ี 8
พัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาตามแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษาของรัฐบาลและหนวยงานตน สังกดั
โครงการ
1. โครงการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาตามนโยบายเรยี นฟรี 15 ป อยา งมคี ุณภาพ

คา เปา หมาย

87.00 : ดิเี ลิศ

ผลสาํ เรจ็

90.87 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
ศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลองกับ - ยทุ ธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสง เสรมิ การศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกับตวั - จดั การศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชหลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจดั การเรียนรเู ชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพ่อื พฒั นาผเู รยี น
ช้วี ัดกระทรวง ท่ีสอดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศกึ ษาธกิ าร
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถิน่ และหลักสตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลากหลายตาม
บรบิ ทของพื้นที่

- พัฒนาผูเรียนใหม ที ักษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนาไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรูเ ชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจาํ ลองผา นการลงมอื ปฏิบตั ิ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื เปด
โลกทัศนมุมมองรว มกนั ของผูเรียนและครูใหมากขนึ้

- พัฒนาผเู รยี นใหม คี วามรอบรูแ ละทักษะชวี ิต เพอื่ เปนเคร่ืองมอื ในการดํารงชวี ติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล สขุ ภาวะและทัศนคติ
ทด่ี ีตอ การดแู ลสขุ ภาพ

- พฒั นาครูใหม ที ักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยดี จิ ิทัล ปญญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพื่อ
ฝก ทกั ษะการคิดวเิ คราะหอ ยางเปน ระบบและมเี หตผุ ลเปนขน้ั ตอน

- สงเสรมิ ใหใชภาษาทองถิน่ รวมกบั ภาษาไทยเปนสอื่ จดั การเรียนการสอนในพ้นื ทีท่ ี่ใชภ าษาอยางหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานใหผเู รียนมีพฒั นาการ
ดานการคดิ วิเคราะห รวมทงั้ มที ักษะการสือ่ สารและใชภาษาทีส่ ามในการตอยอดการเรียนรูไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

- ปลกู ฝง ผเู รยี นใหม หี ลกั คิดท่ถี ูกตองดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูมีความพอเพียง วนิ ยั สจุ รติ จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสอื และยวุ
กาชาด

- พัฒนาแพลตฟอรม ดจิ ทิ ลั เพอื่ การเรียนรู และใชดิจิทลั เปนเครื่องมอื การเรยี นรู

- เสรมิ สรา งการรับรู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสง เสริมคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงคดานสงิ่ แวดลอม

- สง เสริมการพฒั นาส่ิงประดษิ ฐและนวตั กรรมทีเ่ ปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอม ใหสามารถเปน อาชีพและสรางรายได

Page 24 of 78

- สนับสนุนกิจกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ

- พัฒนาครทู ุกระดบั ใหมีทักษะ ความรูท่จี าํ เปน เพ่อื ทาํ หนา ท่วี ิทยากรมืออาชพี (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผานศนู ยพ ัฒนา
ศักยภาพบคุ คลเพื่อความเปนเลศิ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

1.2 ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1
พฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นสคู วามเปนเลิศ
โครงการ
1. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างวิชาการ

คาเปาหมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสาํ เร็จ

90.08 : ยอดเย่ียม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รียน

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
สช.

สอดคลอ งกับตัวชว้ี ัด - จัดการศึกษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจัดการเรยี นรเู ชงิ รกุ และการวดั ประเมินผลเพื่อ
กระทรวงศึกษาธิการ พฒั นาผเู รียน ทส่ี อดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

- สง เสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถ่นิ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลาก
หลายตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี

- พัฒนาครูใหม ที ักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั ปญญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมทั้งการจัดการเรยี น
การสอนเพอ่ื ฝก ทักษะการคดิ วิเคราะหอยางเปน ระบบและมเี หตุผลเปน ข้นั ตอน

2. โครงการ ICT สูการเรยี นในศตวรรษท่ี 21

คาเปาหมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสําเร็จ

90.09 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น
ศึกษา

สอดคลอ งกับ - ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตวั - พฒั นาผเู รียนใหม ีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนาไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรียนรเู ชงิ รุก (Active
ชี้วดั กระทรวง Learning) จากประสบการณจรงิ หรือจากสถานการณจาํ ลองผา นการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพื่อเปด
ศกึ ษาธิการ โลกทัศนมุมมองรว มกนั ของผเู รียนและครใู หมากขึน้

- พัฒนาผเู รียนใหมีความรอบรูและทกั ษะชีวติ เพื่อเปน เครื่องมือในการดาํ รงชีวติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยดี ิจิทัล สุขภาวะและทศั นคติ
ทดี่ ตี อการดูแลสุขภาพ

ยุทธศาสตรท ี่ 2
สงเสรมิ สุขภาวะท่ดี แี ละความปลอดภัยในการดาํ เนนิ ชีวติ
โครงการ

Page 25 of 78

1. โครงการสงเสรมิ สุขภาวะและสุนทรียภาพ

คาเปา หมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เร็จ

90.37 : ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รียน
ศึกษา

สอดคลอ งกบั - ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การปฏริ ปู ระบบทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกบั ตัว - จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจดั การเรยี นรูเชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผเู รียน
ชวี้ ดั กระทรวง ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศกึ ษาธกิ าร
- สง เสริมการพัฒนากรอบหลักสตู รระดบั ทอ งถิน่ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปนของกลมุ เปาหมายและแตกตางหลากหลายตาม
บรบิ ทของพืน้ ที่

- พฒั นาผเู รยี นใหมีทักษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรูเชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรือจากสถานการณจาํ ลองผานการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื เปด
โลกทัศนม มุ มองรว มกันของผูเรียนและครใู หมากขึ้น

- พฒั นาผเู รยี นใหมีความรอบรูและทกั ษะชีวิต เพ่อื เปน เครื่องมือในการดํารงชีวติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สุขภาวะและทศั นคติ
ทด่ี ตี อ การดแู ลสุขภาพ

ยุทธศาสตรท่ี 3
พฒั นากระบวนการบริหารและการจัดการของสถานศกึ ษา
โครงการ
1. โครงการพัฒนาสภาพ แวดลอ มภายในโรงเรยี น

คา เปา หมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสาํ เร็จ

95.40 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรางประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน
สช.

สอดคลอ งกับตวั ชี้วดั - พฒั นาครใู หม ที ักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจดั การเรยี น
กระทรวงศึกษาธิการ การสอนเพอ่ื ฝกทกั ษะการคดิ วเิ คราะหอ ยา งเปน ระบบและมเี หตผุ ลเปน ขนั้ ตอน

2. โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา

คาเปาหมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสําเรจ็

96.00 : ยอดเย่ียม

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

Page 26 of 78

ศึกษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรางประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตวั - จดั การศึกษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจัดการเรียนรูเ ชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผลเพือ่ พัฒนาผูเรียน
ช้ีวดั กระทรวง ท่สี อดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธิการ
- สง เสรมิ การพฒั นากรอบหลกั สตู รระดบั ทองถิน่ และหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลายตาม
บริบทของพืน้ ที่

- พัฒนาผเู รยี นใหมีทกั ษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอยางมีประสทิ ธิภาพ โดยจัดการเรยี นรูเชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรอื จากสถานการณจาํ ลองผา นการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเหน็ เพอ่ื เปด
โลกทศั นมมุ มองรวมกันของผเู รียนและครใู หม ากข้นึ

- พฒั นาผูเรยี นใหม ีความรอบรแู ละทักษะชีวิต เพื่อเปน เครื่องมอื ในการดํารงชีวติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สุขภาวะและทัศนคติ
ท่ดี ีตอการดแู ลสขุ ภาพ

- สงเสรมิ ใหใชภ าษาทอ งถิ่นรว มกบั ภาษาไทยเปนสอ่ื จดั การเรียนการสอนในพื้นท่ที ี่ใชภ าษาอยา งหลากหลาย เพอ่ื วางรากฐานใหผเู รียนมีพัฒนาการ
ดานการคดิ วิเคราะห รวมทง้ั มที ักษะการสือ่ สารและใชภาษาท่สี ามในการตอยอดการเรยี นรไู ดอ ยา งมีประสิทธิภาพ

3. โครงการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ตามหลัก ธรรมาภบิ าล

คาเปา หมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เร็จ

90.16 : ยอดเย่ียม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

สอดคลองกับยุทธศาสตร - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
สช.

สอดคลอ งกบั ตวั ชี้วัด - จดั การศึกษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจัดการเรียนรเู ชงิ รุกและการวัดประเมินผลเพื่อ
กระทรวงศึกษาธกิ าร พฒั นาผเู รียน ที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ

- พัฒนาผูเรยี นใหมีความรอบรูและทักษะชีวติ เพอ่ื เปนเคร่อื งมอื ในการดาํ รงชวี ิตและสรางอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจิทัล สขุ
ภาวะและทัศนคติท่ีดตี อการดูแลสขุ ภาพ

4. โครงการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

คาเปา หมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสาํ เรจ็

95.80 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

สอดคลองกับยุทธศาสตร - ยุทธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรา งประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
สช.

สอดคลอ งกับตัวชว้ี ดั - จัดการศึกษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชหลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการเรยี นรูเชิงรุกและการวดั ประเมนิ ผลเพื่อ
กระทรวงศึกษาธกิ าร พฒั นาผูเรียน ท่ีสอดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

- สง เสรมิ การพฒั นากรอบหลักสูตรระดับทองถ่ินและหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจําเปน ของกลุม เปาหมายและแตกตา ง
หลากหลายตามบริบทของพ้ืนท่ี

Page 27 of 78

ยุทธศาสตรท่ี 4
เสรมิ สรา งคุณธรรม ระเบยี บวินัย สงเสริมการเปน ผใู ห มีความรกั รูจ กั เสยี สละ และแบง ปน
โครงการ
1. พัฒนาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคและพัฒนาสขุ ภาวะทางกายและใจ

คาเปาหมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสําเร็จ

90.73 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น
ศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลอ งกบั - ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสง เสรมิ การมีสว นรวมในการจัดและสนับสนนุ การศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกับตัว - จดั การศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจดั การเรียนรเู ชงิ รุกและการวัดประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผูเรยี น
ช้วี ดั กระทรวง ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศกึ ษาธกิ าร
- สง เสรมิ การพฒั นากรอบหลกั สตู รระดบั ทองถน่ิ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปน ของกลุม เปาหมายและแตกตางหลากหลายตาม
บริบทของพนื้ ที่

- พฒั นาผเู รียนใหม ีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรียนรเู ชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจําลองผานการลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพ่อื เปด
โลกทศั นม ุมมองรวมกันของผเู รยี นและครใู หม ากขนึ้

- พฒั นาผูเรยี นใหมคี วามรอบรแู ละทักษะชวี ติ เพือ่ เปน เคร่อื งมือในการดาํ รงชวี ติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดิจิทลั สขุ ภาวะและทศั นคติ
ที่ดีตอ การดแู ลสุขภาพ

2. โครงการวันสาํ คญั สรา งสรรคส ังคม

คา เปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสําเร็จ

90.01 : ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รียน
ศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลองกบั - ยุทธศาสตรท ี่ 4 การสงเสรมิ การมีสวนรวมในการจัดและสนบั สนุนการศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกับตวั - จดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจัดการเรยี นรเู ชงิ รกุ และการวัดประเมนิ ผลเพอื่ พัฒนาผเู รียน
ช้วี ัดกระทรวง ที่สอดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
ศึกษาธิการ
- สง เสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ทองถนิ่ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปน ของกลมุ เปาหมายและแตกตา งหลากหลายตาม
บรบิ ทของพ้ืนที่

- พัฒนาผูเรียนใหมที กั ษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดการเรยี นรูเชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรอื จากสถานการณจ ําลองผา นการลงมอื ปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคิดเหน็ เพ่อื เปด
โลกทัศนมมุ มองรว มกันของผเู รยี นและครูใหมากข้นึ

Page 28 of 78

- พฒั นาผูเรยี นใหม คี วามรอบรแู ละทกั ษะชีวิต เพ่ือเปนเคร่อื งมือในการดํารงชีวติ และสรางอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทลั สขุ ภาวะและทัศนคติ
ทีด่ ตี อ การดแู ลสุขภาพ

- พฒั นาครใู หมที กั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ปญ ญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทั้งการจดั การเรียนการสอนเพ่อื
ฝกทักษะการคิดวเิ คราะหอ ยา งเปน ระบบและมีเหตุผลเปนข้ันตอน

ยทุ ธศาสตรท ี่ 5
พฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
โครงการ
1. ตามรอยพอ

คา เปา หมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เร็จ

87.00 : ดีเลศิ

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รียน
ศกึ ษา

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรที่ 5 การสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบเพือ่ สรางสังคมแหง การเรยี นรู
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกบั ตัว - จัดการศกึ ษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัดการเรยี นรเู ชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผเู รียน
ช้ีวดั กระทรวง ทส่ี อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศกึ ษาธกิ าร
- สง เสริมการพัฒนากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถน่ิ และหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปน ของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลายตาม
บรบิ ทของพืน้ ท่ี

- พฒั นาผเู รยี นใหม ีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรูเ ชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจรงิ หรือจากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพอื่ เปด
โลกทศั นมุมมองรวมกันของผูเรียนและครใู หม ากข้นึ

- พัฒนาผูเ รียนใหมีความรอบรูและทักษะชวี ติ เพ่ือเปนเครอ่ื งมอื ในการดาํ รงชวี ิตและสรา งอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สุขภาวะและทัศนคติ
ทีด่ ีตอการดูแลสุขภาพ

ยุทธศาสตรท่ี 6
พฒั นาบคุ ลากรสถานศกึ ษา
โครงการ
1. โครงการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรในศตวรรษท่ี 21

คา เปา หมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เร็จ

93.53 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน ผูเรียนเปนสําคญั

สอดคลอ งกับ - ยทุ ธศาสตรท่ี 6 การพฒั นาการศึกษาเอกชนในพื้นทจี่ งั หวัดชายแดนภาคใต
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกับตวั ช้ีวัด - พัฒนาผูเรียนใหม ีความรอบรูและทักษะชวี ติ เพ่อื เปนเครอื่ งมือในการดํารงชีวิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สขุ ภาวะและ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทศั นคตทิ ่ีดีตอ การดแู ลสุขภาพ

Page 29 of 78

- สงเสรมิ ใหใชภ าษาทอ งถิน่ รวมกับภาษาไทยเปนสอ่ื จดั การเรยี นการสอนในพื้นทีท่ ีใ่ ชภ าษาอยางหลากหลาย เพอ่ื วางรากฐานใหผูเ รียนมี
พัฒนาการดานการคดิ วิเคราะห รวมท้งั มที ักษะการสอื่ สารและใชภาษาทสี่ ามในการตอ ยอดการเรยี นรูไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

ยทุ ธศาสตรท ่ี 7
สงเสรมิ อตั ลกั ษณของสถานศกึ ษาใหโ ดดเดน
โครงการ
1. โครงการสงเสรมิ อตั ลักษณแ ละเอกลกั ษณข องสถานศกึ ษา

คา เปา หมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสาํ เร็จ

90.37 : ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน
ศึกษา

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตัว - จัดการศกึ ษาทุกระดบั ทกุ ประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัดการเรยี นรเู ชิงรกุ และการวัดประเมนิ ผลเพ่ือพัฒนาผูเรยี น
ช้ีวดั กระทรวง ท่ีสอดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ
ศกึ ษาธกิ าร
- สงเสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดับทอ งถิน่ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจําเปน ของกลุม เปาหมายและแตกตา งหลากหลายตาม
บรบิ ทของพ้นื ที่

- พัฒนาผเู รยี นใหม ีทักษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนา ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจาํ ลองผานการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพื่อเปด
โลกทัศนมมุ มองรวมกนั ของผูเ รียนและครใู หมากข้ึน

2. โครงการพัฒนาความสามารถดานภาษา

คา เปาหมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสําเร็จ

87.46 : ดีเลศิ

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท ่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการสง เสริมการศึกษาเอกชน
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลองกบั ตวั - สงเสริมการพฒั นากรอบหลักสูตรระดบั ทอ งถน่ิ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลากหลายตาม
ช้วี ดั กระทรวง บริบทของพนื้ ที่
ศกึ ษาธกิ าร
- พฒั นาผูเ รยี นใหม ที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยจัดการเรียนรูเ ชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่ือเปด
โลกทัศนมุมมองรว มกนั ของผเู รียนและครูใหม ากขึ้น

3. โครงการสรา งภาคีเครอื ขายและบริการชมุ ชน

คาเปา หมาย

87.00 : ดเี ลิศ

Page 30 of 78

ผลสาํ เรจ็

92.35 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรที่ 7 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน
สช.

สอดคลอ งกบั ตวั ชวี้ ดั - จดั การศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชหลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจดั การเรียนรเู ชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพอ่ื
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พฒั นาผเู รยี น ทีส่ อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

- พฒั นาผเู รยี นใหมีความรอบรแู ละทกั ษะชวี ติ เพอ่ื เปนเคร่อื งมอื ในการดาํ รงชีวติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจิทัล สขุ ภาวะ
และทัศนคติทดี่ ีตอ การดแู ลสุขภาพ

- พฒั นาครใู หม ที กั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยีดจิ ิทัล ปญ ญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมทง้ั การจัดการเรียน
การสอนเพอื่ ฝก ทักษะการคิดวิเคราะหอ ยา งเปนระบบและมีเหตุผลเปน ข้นั ตอน

ยทุ ธศาสตรที่ 8
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาของรฐั บาลและหนว ยงานตน สงั กัด
โครงการ
1. โครงการสง เสริมนโยบาย จดุ เนน ตามแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา

คา เปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสําเรจ็

91.52 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การปฏริ ปู ระบบทรัพยากรเพื่อการศึกษาเอกชน
สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 7 การพัฒนาระบบการบริหารจดั การสงเสริมการศึกษาเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ชว้ี ัด - จดั การศกึ ษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจัดการเรียนรูเชงิ รุกและการวัดประเมนิ ผลเพ่อื
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พฒั นาผเู รียน ทส่ี อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

- สงเสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถ่ินและหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลุมเปา หมายและแตกตา งหลาก
หลายตามบริบทของพืน้ ท่ี

- พฒั นาผูเรยี นใหม คี วามรอบรูและทกั ษะชีวติ เพอ่ื เปนเครอื่ งมือในการดาํ รงชีวิตและสรา งอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ิทัล สุขภาวะ
และทัศนคติทีด่ ีตอ การดแู ลสุขภาพ

- พัฒนาครใู หมีทักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจิทลั ปญญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมทง้ั การจดั การเรียน
การสอนเพ่ือฝกทกั ษะการคดิ วเิ คราะหอ ยา งเปนระบบและมเี หตผุ ลเปนขนั้ ตอน

2. โครงการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปอยางมีคณุ ภาพ

คาเปาหมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสําเรจ็

94.33 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รียน
- มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

Page 31 of 78

สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
สช.
- ยุทธศาสตรท ่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสงเสริมการศึกษาเอกชน
สอดคลอ งกบั ตัวช้วี ดั
กระทรวงศึกษาธิการ - จัดการศกึ ษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการเรียนรเู ชิงรุกและการวัดประเมนิ ผลเพ่อื
พฒั นาผูเรยี น ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
- สง เสริมการพัฒนากรอบหลกั สูตรระดบั ทองถน่ิ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจําเปนของกลุมเปาหมายและแตกตาง
หลากหลายตามบรบิ ทของพนื้ ที่

Page 32 of 78

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน
2.1 ระดับปฐมวัย
ผลการพฒั นาเดก็

รอ ยละของเดก็ ตามระดับคุณภาพ

ผลพฒั นาการดาน จํานวนเดก็ ทงั้ หมด ดี พอใช ปรบั ปรงุ

จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. ดา นรา งกาย 565 562 99.47 3 0.53 - -
2. ดา นอารมณ-จิตใจ 565
3. ดา นสังคม 565 562 99.47 3 0.53 - -
4. ดา นสติปญญา 565
563 99.65 2 0.35 - -

556 98.41 9 1.59 - -

2.2 ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

2.2.1 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน O-NET
เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6
จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 249

วชิ า จํานวน คะแนนเฉลยี่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี ผลการ ผลตา งคะแนนเฉลย่ี รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นกั เรยี นทเ่ี ขา ประเทศป 2563 ทดสอบ O-NET ป 63 เทียบป 62 เฉล่ยี ป 63 เทยี บป 62 เทียบกบั รอยละ 3

สอบ 2561 2562 2563

คณิตศาสตร 248 29.99 63.10 46.51 36.23 -10.28 -22.10 ไมม ีพฒั นาการ

วทิ ยาศาสตร 248 38.78 54.82 51.38 46.78 -4.60 -8.95 ไมม พี ฒั นาการ

ภาษาไทย 248 56.20 71.17 62.32 68.61 +6.29 10.09 มพี ฒั นาการ

ภาษา 248 43.55 77.77 71.25 77.45 +6.20 8.70 มพี ัฒนาการ
องั กฤษ

โรงเรยี นไมสอบวัดผล หรือสอบไมค รบ
-

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3
จาํ นวนนักเรียนท้ังหมด : 185

วชิ า จาํ นวน คะแนนเฉลย่ี ระดบั คะแนนเฉล่ียผลการ ผลตา งคะแนนเฉลีย่ รอยละของคะแนน แปลผลพัฒนาการ
นกั เรียนที่เขา ประเทศป 2563 ทดสอบ O-NET ป 63 เทียบป 62 เฉลี่ย ป 63 เทยี บป 62 เทียบกับรอ ยละ 3

สอบ 2561 2562 2563

คณิตศาสตร 159 25.46 49.49 49.77 42.44 -7.33 -14.73 ไมม พี ฒั นาการ

วิทยาศาสตร 157 29.89 47.50 37.46 37.09 -0.37 -0.99 ไมม ีพฒั นาการ

ภาษาไทย 159 54.29 74.18 73.89 71.84 -2.05 -2.77 ไมม ีพัฒนาการ

Page 33 of 78

วชิ า จาํ นวน คะแนนเฉล่ียระดับ คะแนนเฉลี่ยผลการ ผลตางคะแนนเฉลยี่ รอ ยละของคะแนน แปลผลพัฒนาการ
นกั เรยี นท่เี ขา ประเทศป 2563 ทดสอบ O-NET ป 63 เทียบป 62 เฉลย่ี ป 63 เทียบป 62 เทยี บกบั รอ ยละ 3
ภาษา
อังกฤษ สอบ 2561 2562 2563

157 34.38 49.05 60.33 62.66 +2.33 3.86 มพี ัฒนาการ

โรงเรียนไมสอบวดั ผล หรือสอบไมค รบ
-

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 6
จาํ นวนนักเรียนท้ังหมด : 140

วิชา จํานวน คะแนนเฉลี่ยระดับ คะแนนเฉล่ยี ผลการ ผลตางคะแนน รอ ยละของคะแนน แปลผลพัฒนาการ
นกั เรียนท่เี ขา ประเทศป 2563 ทดสอบ O-NET เฉล่ยี ป 63 เทียบป เฉลี่ย ป 63 เทยี บป เทยี บกับรอยละ 3

สอบ 2561 2562 2563 62 62

คณิตศาสตร 140 26.04 57.02 43.47 37.54 -5.93 -13.64 ไมม พี ัฒนาการ

วทิ ยาศาสตร 140 32.68 40.72 38.79 41.37 +2.58 6.65 มพี ัฒนาการ

ภาษาไทย 140 44.36 61.29 55.14 55.03 -0.11 -0.20 ไมมีพัฒนาการ

ภาษาอังกฤษ 140 29.94 52.14 49.26 48.75 -0.51 -1.04 ไมม พี ัฒนาการ

สังคมศกึ ษา 0.45 มพี ัฒนาการแตไม
ศาสนา และ 140 35.93 41.88 42.06 42.25 +0.19 ถงึ รอ ยละ 3
วัฒนธรรม

โรงเรียนไมส อบวดั ผล หรือสอบไมครบ
-

Page 34 of 78

2.2.2 จํานวนและรอ ยละของนกั เรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขน้ึ ไป

ระดับประถมศึกษา

ระดับผลการเรียน

กลุมสาระการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
เรยี นรู/
รายวชิ า จาํ นวน นักเรียน รอ ยละ จํานวน นักเรยี น รอยละ จาํ นวน นกั เรียน รอยละ จาํ นวน นกั เรยี น รอยละ จาํ นวน นักเรยี น รอ ยละ จาํ นวน นกั เรยี น รอ ยละ
นกั เรียน ผลเรียน นกั เรยี น ผลเรยี น นักเรยี น ผลเรยี น นักเรยี น ผลเรยี น นกั เรียน ผลเรียน นกั เรยี น ผลเรยี น
3 ขน้ึ ไป 3 ขึน้ ไป 3 ข้นึ ไป 3 ข้นึ ไป 3 ขึ้นไป 3 ขึน้ ไป

ภาษาไทย 232 232 100.00 246 246 100.00 249 248 99.60 248 246 99.19 240 239 99.58 249 249 100.00

คณิตศาสตร 232 232 100.00 246 246 100.00 249 249 100.00 248 247 99.60 240 240 100.00 249 247 99.20

วทิ ยาศาสตร
และ 232 232 100.00 246 246 100.00 249 249 100.00 248 248 100.00 240 240 100.00 249 249 100.00
เทคโนโลยี

สังคมศกึ ษา
ศาสนา และ 232 232 100.00 246 246 100.00 249 248 99.60 248 248 100.00 240 240 100.00 249 249 100.00
วัฒนธรรม

ประวตั ิศาสตร 232 232 100.00 246 246 100.00 249 248 99.60 248 246 99.19 240 240 100.00 249 248 99.60

สุขศึกษาและ 232 232 100.00 246 246 100.00 249 249 100.00 248 248 100.00 240 240 100.00 249 249 100.00
พลศึกษา

ศิลปะ 232 232 100.00 246 246 100.00 249 249 100.00 248 240 96.77 240 240 100.00 249 249 100.00

การงานอาชพี 232 232 100.00 246 246 100.00 249 247 99.20 248 247 99.60 240 239 99.58 249 249 100.00

ภาษาตาง 232 232 100.00 246 246 100.00 249 249 100.00 248 246 99.19 240 240 100.00 249 248 99.60
ประเทศ

Page 35 of 78

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ระดับผลการเรยี น
เทอม 1
ม.1 ม.2 ม.3
กลุมสาระการเรียนร/ู
รายวชิ า จํานวน นักเรียนผลเรียน รอ ย จํานวน นักเรียนผลเรยี น รอ ยละ จาํ นวน นกั เรยี นผลเรยี น รอ ย
นกั เรยี น 3 ข้ึนไป ละ นกั เรยี น 3 ขึ้นไป นกั เรยี น 3 ขึ้นไป ละ
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร 198 136 68.69 208 95 45.67 185 138 74.59
วิทยาศาสตรแ ละ 198
เทคโนโลยี 123 62.12 208 177 85.10 185 129 69.73
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 198
วฒั นธรรม 188 94.95 208 66 31.73 185 129 69.73
ประวัติศาสตร 198
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 192 96.97 208 144 69.23 185 116 62.70
ศลิ ปะ 198
การงานอาชีพ 198 130 65.66 208 141 67.79 185 103 55.68
ภาษาตางประเทศ 198 188 94.95 208 208 100.00 185 184 99.46
198 190 95.96 208 205 98.56 185 164 88.65
198 174 87.88 208 195 93.75 185 165 89.19
183 92.42 208 193 92.79 185 172 92.97

Page 36 of 78

เทอม 2 ระดับผลการเรยี น

กลุมสาระการเรยี นร/ู ม.1 ม.2 ม.3
รายวิชา
จาํ นวน นกั เรยี นผลเรยี น รอ ยละ จาํ นวน นกั เรยี นผลเรียน รอ ยละ จํานวน นักเรียนผล รอยละ
ภาษาไทย นกั เรียน 3 ขึน้ ไป นักเรยี น 3 ข้นึ ไป นกั เรยี น เรียน 3 ข้ึนไป
คณิตศาสตร
วทิ ยาศาสตรแ ละ 198 198 100.00 208 207 99.52 185 185 100.00
เทคโนโลยี
สงั คมศกึ ษา ศาสนา 198 194 97.98 208 207 99.52 185 183 98.92
และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร 198 197 99.49 208 208 100.00 185 179 96.76
สุขศึกษาและพลศกึ ษา
ศลิ ปะ 198 198 100.00 208 208 100.00 185 185 100.00
การงานอาชพี
ภาษาตา งประเทศ 198 198 100.00 208 208 100.00 185 184 99.46

198 198 100.00 208 208 100.00 185 185 100.00

198 195 98.48 208 208 100.00 185 185 100.00

198 198 100.00 208 208 100.00 185 184 99.46

198 198 100.00 208 202 97.12 185 185 100.00

Page 37 of 78

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
เทอม 1

ระดบั ผลการเรยี น

กลมุ สาระการเรียนร/ู ม.4 ม.5 ม.6
รายวิชา
จาํ นวน นักเรยี นผลเรียน รอ ยละ จาํ นวน นักเรยี นผลเรียน รอยละ จํานวน นกั เรยี นผล รอ ยละ
นักเรียน 3 ขึ้นไป นกั เรียน 3 ขึ้นไป นักเรยี น เรยี น 3 ขึ้นไป

ภาษาไทย 142 127 89.44 140 117 83.57 140 130 92.86

คณติ ศาสตร 142 123 86.62 140 68 48.57 140 111 79.29

วิทยาศาสตรแ ละ 142 138 97.18 140 108 77.14 140 78 55.71
เทคโนโลยี

สังคมศึกษา ศาสนา 142 131 92.25 140 94 67.14 140 72 51.43
และวัฒนธรรม

ประวัติศาสตร 142 129 90.85 140 91 65.00 - --

สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 142 142 100.00 140 140 100.00 140 140 100.00

ศลิ ปะ 142 138 97.18 140 137 97.86 140 139 99.29

การงานอาชีพ 142 141 99.30 140 130 92.86 140 140 100.00

ภาษาตางประเทศ 142 128 90.14 140 113 80.71 140 98 70.00

Page 38 of 78

เทอม 2 ระดับผลการเรยี น

กลุมสาระการเรียนรู/ ม.4 ม.5 ม.6
รายวิชา
จํานวน นักเรียนผลเรยี น รอ ยละ จาํ นวน นกั เรียนผลเรียน รอยละ จาํ นวน นกั เรียนผล รอ ยละ
ภาษาไทย นกั เรียน 3 ข้นึ ไป นกั เรยี น 3 ขึ้นไป นกั เรียน เรียน 3 ขึน้ ไป
คณิตศาสตร
วทิ ยาศาสตรและ 142 142 100.00 140 140 100.00 140 140 100.00
เทคโนโลยี
สงั คมศกึ ษา ศาสนา 142 141 99.30 140 137 97.86 140 139 99.29
และวฒั นธรรม
ประวตั ศิ าสตร 142 141 99.30 140 140 100.00 140 139 99.29
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศลิ ปะ 142 142 100.00 140 140 100.00 140 140 100.00
การงานอาชพี
ภาษาตา งประเทศ 142 139 97.89 140 140 100.00 - --

142 142 100.00 140 140 100.00 140 140 100.00

142 141 99.30 140 140 100.00 140 140 100.00

142 142 100.00 140 138 98.57 140 140 100.00

142 142 100.00 140 134 95.71 140 140 100.00

Page 39 of 78

2.2.3 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)
เปรียบเทยี บผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 3
จาํ นวนนกั เรยี นทงั้ หมด : 249

สมรรถนะ จํานวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ ผลการ ผลตา งคะแนน รอยละของคะแนน แปลผลพฒั นา
นกั เรียน ระดบั ประเทศป ทดสอบสมรรถนะ เฉล่ยี (ป 63 - เฉล่ยี ป 63 เทยี บป การเทียบกับรอย
เขาสอบ
2563 2561 2562 2563 62) 62 ละ 3

ดานภาษา (Literacy) / ดาน - 47.46 - - - - - -
ภาษาไทย (Thai Language)

ดานคํานวณ (Numeracy) / - 40.47 - - - - - -
ดา นคณิตศาสตร
(Mathematics)

ดา นเหตผุ ล (reasoning) - - --- - - -

โรงเรยี นไมส อบวดั ผล หรือสอบไมครบ
-

2.2.4 ผลการประเมนิ ความสามารถดา นการอา นของผเู รียน (Reading Test : RT)
เปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถดานการอา นของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 1
จํานวนนกั เรียนทั้งหมด : 232

ความสามารถ จํานวน คะแนนเฉล่ียระดบั คะแนนเฉลย่ี ผลการ ผลตางคะแนน รอยละของคะแนนเฉลี่ย แปลผลพัฒนาการ
ดา นการอา น นักเรียนเขา ประเทศป 2563 ทดสอบสมรรถนะ เฉล่ยี (ป 63 - 62) ป 63 เทียบป 62 เทยี บกับรอ ยละ 3

สอบ 2561 2562 2563

อา นรเู รอ่ื ง - 71.86 - - - - - -

อา นออกเสยี ง - 74.14 - - - - - -

โรงเรยี นไมส อบวดั ผล หรอื สอบไมค รบ
-

Page 40 of 78

2.2.5 ผลการประเมนิ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดานอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม
เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตดิ า นอสิ ลามศึกษา (I-NET) ของนกั เรียนระดับตอนตน
จํานวนนกั เรยี นทัง้ หมด : 249

จํานวน คะแนนเฉล่ยี ระดับ คะแนนเฉลีย่ ผลการ ผลตา งคะแนนเฉลีย่ รอ ยละของคะแนนเฉล่ีย แปลผลพัฒนาการ
นกั เรียนเขา ประเทศป 2563 (ป 63 - 62) ป 63 เทยี บป 62 เทยี บกับรอ ยละ 3
วชิ า ทดสอบสมรรถนะ
สอบ 2561 2562 2563 -

อัลกุ - 38.54 - - - - - -
รอานฯ
-
อลั หะ - 44.74 - - - - -
ดีษ -

อลั อะ - 37.38 - - - - - -
กีดะห
-
อัลฟก - 31.93 - - - - - -
ฮ -

อตั ตา - 37.60 - - - - -
รคี

อลั อคั - 40.86 - - - - -
ลาก

มลายู - 35.17 - - - - -

อาหรับ - 30.65 - - - - -

โรงเรยี นไมสอบวดั ผล หรอื สอบไมค รบ
-

Page 41 of 78

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตดิ านอิสลามศึกษา (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนกลาง
จาํ นวนนักเรียนทั้งหมด : 185

วชิ า จํานวน จํานวน คะแนนเฉลี่ยระดับ คะแนนเฉลี่ยผลการ ผลตางคะแนน รอยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นกั เรยี น นกั เรยี นเขา ประเทศป 2563 ทดสอบสมรรถนะ เฉลี่ย (ป 63 - เฉลีย่ ป 63 เทยี บป 62 เทียบกับรอยละ 3
ทัง้ หมด
สอบ 2561 2562 2563 62)

อัลกุ 185.00 - 41.83 - - - - - -
รอานฯ

อลั หะ 185.00 - 44.11 - - - - - -
ดีษ

อลั อะ 185.00 - 50.70 - - - - - -
กดี ะห

อัลฟก 185.00 - 39.40 - - - - - -


อัตตา 185.00 - 37.45 - - - - - -
รีค

อัลอคั 185.00 - 38.21 - - - - - -
ลาก

มลายู 185.00 - 35.91 - - - - - -

อาหรบั 185.00 - 30.04 - - - - - -

โรงเรยี นไมสอบวดั ผล หรือสอบไมครบ
-

Page 42 of 78

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตดิ า นอิสลามศกึ ษา (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนปลาย
จาํ นวนนกั เรียนทั้งหมด : 140

วชิ า จาํ นวน คะแนนเฉลยี่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี ผลการ รอ ยละของคะแนนเฉลย่ี แปลผลพฒั นาการ
นักเรยี นเขา ประเทศป 2563 ทดสอบสมรรถนะ ผลตางคะแนนเฉล่ยี ป 63 เทียบป 62 เทยี บกับรอยละ 3
2561 2562 2563 (ป 63 - 62)
สอบ -

อัลกุ - 39.81 - - - - - -
รอานฯ
-
อลั หะ - 42.59 - - - - -
ดีษ -

อลั อะ - 31.82 - - - - - -
กดี ะห
-
อัลฟก - 36.18 - - - - - -
ฮ -

อัตตา - 39.26 - - - - -
รีค

อัลอคั - 48.63 - - - - -
ลาก

มลายู - 25.43 - - - - -

อาหรบั - 32.00 - - - - -

โรงเรียนไมสอบวดั ผล หรอื สอบไมค รบ
-

Page 43 of 78

2.2.6 ผลการทดสอบความสามารถดา นภาษาอังกฤษ
คา ประเมินมาตรฐานภาษาอังกฤษ จากหนว ยงานทดสอบภาษาอังกฤษท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการรับรอง
ระดับประถมศึกษา

ระดบั จาํ นวน จาํ นวน ระดบั ผลการทดสอบความสามารถดานภาษาอังกฤษ (Common ผา นการทดสอบอน่ื ๆ (TOEIC, IEFL,
ช้นั นกั เรยี น นักเรียนเขา European Framework of Reference for Languages : CEFR) TOEFL เปรียบเทยี บตารางมาตรฐาน)
ทัง้ หมด
สอบ Pre A1 A1 A2 B1 B2 C1 C2 -
-
ป.1 232 - - ------ -
-
ป.2 246 - - ------ -
-
ป.3 249 - - ------

ป.4 248 - - ------

ป.5 240 - - ------

ป.6 249 - - ------

ระดับมัธยมศกึ ษา

ระดับ จํานวน จาํ นวน ระดับผลการทดสอบความสามารถดานภาษาอังกฤษ (Common ผา นการทดสอบอ่ืน ๆ (TOEIC, IEFL,
ชนั้ นกั เรียน นกั เรยี นเขา European Framework of Reference for Languages : CEFR) TOEFL เปรยี บเทียบตารางมาตรฐาน)
ท้ังหมด
สอบ Pre A1 A1 A2 B1 B2 C1 C2 -
-
ม.1 198 - - - - ---- -
-
ม.2 206 - - - - ---- 88
4
ม.3 185 - - - - ----

ม.4 142 - - - - ----

ม.5 140 142 - - 126 13 2 1 -

ม.6 140 4 - - 1 111-

Page 44 of 78

3. นวตั กรรม/แบบอยางทด่ี ี (Innovation/Best Practice )

ชอ่ื นวัตกรรม/แบบอยางท่ดี ี ระดบั การศึกษา มาตรฐานดา น
ระดบั ปฐมวยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
1. จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบ ระดบั ปฐมวยั มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ, มาตรฐานที่ 3
โครงการ (Project Approach) สาํ หรับ ระดับปฐมวยั การจัดประสบการณทเ่ี นนเดก็ เปน สาํ คัญ
ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท เี่ นนเด็กเปนสําคญั
เด็กปฐมวยั
ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณที่เนน เด็กเปน สาํ คญั
2. การใชภ าษาองั กฤษในชีวติ ประจําวันใน
การสือ่ สาร สัปดาหล ะ 1 ประโยค ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน ผูเ รียนเปน
ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สําคญั
3. การจดั กิจกรรมหลากหลายท่ีสงเสรมิ ให ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
เดก็ กลาแสดงออกและสามารถนําเสนอผล ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รียน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น
งานไดท ุกคน มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรยี น
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน ผูเ รียนเปน
4. จดั กิจกรรม Our Project
Presentation Day ทเ่ี ปด โอกาสใหผ ู สาํ คญั
ปกครอง ชาวบาน และชุมชน เขามามสี ว น
รว มในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ของทางโรงเรียน

1. งานสง เสริมความสามารถและทกั ษะ
ทางดานภาษา เพื่อใหสอดคลองกับ
นโยบายของภาครฐั บาลทต่ี อ งการให

บริเวณภมู ภิ าคตะวนั ออกโดยเฉพาะชลบรุ ี
และระยอง เปน ระเบยี งเศรษฐกจิ ของ
ภูมภิ าคตะวันออก (EEC) โรงเรยี นจึงสง
เสรมิ ผูเ รยี นโดยเนน พัฒนาทกั ษะทางดาน
ภาษาอังกฤษและภาษาจีนเปน หลัก เพ่ือ
ใหผเู รยี นใชเปน เปน พ้นื ฐานสําคัญในการ
ศึกษาตอ ในระดบั สงู ตอยอดการศึกษาสู
การประกอบอาชพี และลดขอ จาํ กัด
อปุ สรรคทางดานการสอ่ื สาร ทาํ ให
นักเรยี นสามารถใชภ าษาทส่ี ามในการ
สอื่ สารกบั บุคคลทว่ั ไปไดทุกเช้ือชาติ

2. นวตั กรรมการสอนแบบโครงการ
Project Approach ระดบั ช้ัน ป.1 - ป.6

3. การสัง่ อาหารเปนภาษาองั กฤษของ
นกั เรยี นระดบั ช้นั ป.3 - ม.6

4. การใชภาษาองั กฤษในชวี ิตประจําวนั ใน
การสอ่ื สารสัปดาหละ 1 ประโยคของ
ระดบั ช้ัน ป.1 - ป.2

5. การจดั การเรยี นการสอนแบบกลมุ ใน
ระดับชั้น ม.4 - ม.6

Page 45 of 78

ชอ่ื นวตั กรรม/แบบอยา งที่ดี ระดบั การศกึ ษา มาตรฐานดา น
ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผูเรยี นเปน
6. จัดการเรียนการสอนเพอ่ื ฝกทกั ษะการ ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
คิดแบบมเี หตผุ ลและเปน ขน้ั ตอน สําคญั
(Coding) ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน
7. จัดการเรยี นรูดว ยวิธีการทาง ระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน สาํ คัญ
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วศิ วกรรม ระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
คณิตศาสตร (STEM) และภาษาตาง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน ผูเ รยี นเปน
สาํ คญั
ประเทศ (ภาษาท่สี าม)
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปน
8. เรยี นรดู วยวิธีการ Active Learning สาํ คัญ
เพ่อื พัฒนากระบวนการคิด การเรยี นรจู าก
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน
ประสบการณจริงหรือจากสถานการณ สาํ คัญ
จําลองผานการลงมอื ปฏบิ ัติ และเปด โลก
ทัศนมุมมองรวมกันของผเู รยี นและครดู วย
การจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความ

คดิ เหน็ ใหม ากข้นึ

9. สรางแพลตฟอรมดิจิทลั เพ่อื การเรยี นรู
และใชด จิ ทิ ลั เปน เครือ่ งมือการเรยี นรู

10. จัดตงั้ ศนู ยประสานงานการผลติ ส่อื
การเรียนรผู า นระบบออนไลน

4. รางวลั ทสี่ ถานศึกษาไดรบั

ชื่อรางวัล ประเภท ระดับ หนว ยงานที่มอบ ปท่ีได
รางวลั รางวัล รับ
รางวลั

ผูบ รหิ ารดเี ดน ผู เขต สาํ นักงานสงเสรมิ 2560
บรหิ าร พื้นที่/ การศึกษาเอกชน
จังหวดั
จังหวัดชลบรุ ี

ครูเอกชนดเี ดน เขต สาํ นกั งานสง เสรมิ
ครู พื้นที่/ การศกึ ษาเอกชน 2563

จังหวัด จังหวดั ชลบรุ ี

เข็มเชิดชูเกยี รติผูบริหาร ผู เขต สํานกั งานสงเสริม 2560
บรหิ าร พน้ื ที่/ การศกึ ษาเอกชน
จงั หวดั
จงั หวดั ชลบุรี

ครทู อ่ี ายคุ รบ 60 ป เขต สาํ นักงานสง เสริม
ครู พนื้ ท่ี/ การศึกษาเอกชน 2563

จงั หวัด จังหวดั ชลบุรี

ครูที่ไดร ับการบรรจุแตง ตัง้ 20 ป เขต สํานักงานสง เสรมิ
ครู พน้ื ท่ี/ การศึกษาเอกชน 2563

จงั หวัด จงั หวัดชลบุรี

Page 46 of 78

ชื่อรางวลั ประเภท ระดับ หนวยงานท่ีมอบ ปท ีไ่ ด
รางวลั รางวลั รบั
รางวัล

ครูดีเดน เขต สาํ นักงานสงเสรมิ
ครู พน้ื ที่/ การศึกษาเอกชน 2563

จงั หวัด จงั หวดั ชลบุรี

ผลคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-Net) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 วิชา เขต สํานกั งานเขตพ้นื ที่
ภาษาไทย ได 100 คะแนนเตม็ นกั เรียน พน้ื ที่/ การศกึ ษษชลบุรี 2561

จังหวัด เขต 3

ผลคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-Net) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 วิชา เขต สํานกั งานเขตพ้ืนที่
คณติ ศาสตร ได 100 คะแนนเตม็ นกั เรียน พื้นที/่ การศกึ ษษชลบุรี 2561

จังหวัด เขต 3

ผลคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-Net) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 วชิ าภาษา นักเรยี น เขต สาํ นกั งานเขตพื้นที่ 2561
องั กฤษ ได 100 คะแนนเตม็ พื้นท/่ี การศกึ ษษชลบรุ ี
จังหวัด
เขต 3

ผลคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-Net) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 วิชา เขต สาํ นักงานเขตพน้ื ที่
คณติ ศาสตร ได 100 คะแนนเตม็ นักเรียน พน้ื ที/่ การศึกษษชลบุรี 2561

จังหวดั เขต 3

ผลคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-Net) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 วิชา เขต สํานกั งานเขตพนื้ ท่ี
คณิตศาสตร ได 100 คะแนนเตม็ นกั เรียน พื้นที/่ การศกึ ษษชลบุรี 2561

จังหวดั เขต 3

ผลคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-Net) ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 6 วชิ า เขต สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่
คณิตศาสตร ได 100 คะแนนเต็ม นักเรยี น พ้ืนที่/ การศกึ ษษชลบรุ ี 2561

จงั หวดั เขต 3

กบจูเนียร The Green Zero Waste เด็กยคุ ใหมสรางสงั คมไทยไรข ยะ ช่อื ผลงาน “รกั นะสชี ัง” นกั เรยี น - กรมสง เสรมิ คณุ ภาพ 2562
รางวัลยอดเย่ียมดา นเน้อื หา Social & Community สิ่งแวดลอม

รางวลั กฬี าวา ยน้าํ 6 เหรียญทอง และรางวัลชนะเลิศจากคะแนนรวมบคุ คลสูงสดุ อนั ดับ 1 รนุ นกั เรยี น - เทศบาลนครแหลม 2562
14 ป (หญิง) ฉบงั

รางวัลการแขงขนั มวยไทย Gold Medal สมคั รเลน รนุ 13-14 ป (ชาย) น้าํ หนักไมเกนิ 38 นกั เรยี น - IFMA World
กิโลกรมั Amateur 2562
Championships

รางวัล Gold Medal การแขงขนั เทควนั โค รนุ 15-17 ป Male A45-48 kg. นักเรยี น - ศูนยการคาแปซิฟค 2562
พารค ศรีราชา

รางวัล Gold Medal การแขง ขันเทควันโด ตอ สเู กราะไฟฟา A เยาวชน 15-17 ป หญิง A-42 นักเรียน - The 15 AU 2562
kg. Takewondo
Championship

Page 47 of 78

ช่ือรางวลั ประเภท ระดบั หนว ยงานทมี่ อบ ปท ไ่ี ด
รางวลั รางวัล รับ
รางวลั

รางวัล Gold Medal การแขงขันเทควันโด ตอ สูเกราะไฟฟา B เยาวชน 15-17 ป หญงิ B-42 นักเรยี น - The 15 AU 2562
kg. Takewondo
Championship

รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับที่ 1 การแขง ขัน เทควนั โด รนุ อายุ 9-10 ป หญิง นักเรียน - Eastern League
Taekwondo 2562

Championships

รางวลั ชนะเลศิ แขง ขนั Modern Troupe 9 & under 6th CSTD Thailand Dance Grand นักเรียน ภาค/ ศนู ยวัฒนธรรมแหง 2562
Prix 2019 ประเทศ ประเทศไทย

รางวลั เหรยี ญเงิน การแขง ขันเทควนั โด Harbor Tae Kwon Do Championship 2019 นักเรียน - ศนู ยก ารคา ฮาร 2562
เบอร พัทยา

รางวัลเหรยี ญทอง การแขงขันไอซสเก็ต นกั เรยี น ภาค/ กรงุ เทพมหานคร 2562
ประเทศ

รางวัลเหรยี ญทอง การแขงขันเทควนั โด ครู - อําเภอศรีราชา 2562

รางวันเหรียญทอง FC PLANET รายการแขง ขันฟุตบอลนานาชาติ นกั เรยี น ภาค/ กรงุ เทพมหานคร 2562
ประเทศ

รางวัลเหรยี ญทอง FC PLANET รายการแขง ขนั ฟตุ บอลนานาชาติ นกั เรยี น ภาค/ กรุงเทพมหานคร 2562
ประเทศ

รางวลั เหรียญเงิน การแขงขนั ฟุตบอลอายไุ มเกนิ 10 ป งานแขง ขันฟุตบอลรนุ เยาวชน นักเรียน - อาํ เภอศรรี าชา 2562

การประกวดผลติ ส่อื คลปิ วิดีโอ และอินโฟกราฟก โครงการรวมพลงั เยาวชนไทย ชว ยชาติสภู ยั โค นักเรยี น ภาค/ สาํ นกั งานคณะ 2563
วิด-19 ประเทศ กรรมการสขุ ภาพ

แหงชาติ
กรุงเทพมหานคร

การแขง ขนั เทควันโดยุวชนชาย 7-8 รุน D นํ้าหนกั เกนิ 26–30 กก. KYORUGI นกั เรียน - โรงเรียนประภสั สร 2563
วิทยา จงั หวัดชลบรุ ี

การแขง ขันเทควนั โด Bangkok Open International All Thailand Hapkido นกั เรียน - Island Hall 3FL. 2563
Championship 2020 ประเภทตอสู C 7–8 ป ชาย E 27–30 กก. กรุงเทพมหานคร

การแขง ขันศิลปะการเตนระดับประเทศครง้ั ท่ี 7 ชิงถวยพระราชทาน สมเด็จพระขนิษฐาธริ าช - โรงละครอัศรา คิง
เจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และคดั เลือกตวั แทนประเทศไทยเขา นักเรยี น พาวเวอร 2563

แขง ขนั ทเ่ี วทนี านาชาติ ประเทศสงิ คโปร เวที CSTD Thailand Dance Grand Prix กรงุ เทพมหานคร

การแขงขนั เทควันโดชิงแชมปภ าคตะวนั ออกครัง้ ที่ 1 ประเภทตอ สู รุนอายุ 9–10 ชาย รุนนํ้า นักเรยี น - ศูนยก ารคาแปซฟิ ก
หนัก 31-34 กก. พารค ศรรี าชา 2563
จงั หวัดชลบุรี

การแขงขนั เทควันโด รายการ Bangkok Open International All Thailand Hapkido นักเรยี น - Island Hall 3FL. 2563
Championship 2020 รนุ อายุ 9-10 ป G1 ชาย รุน H+40 Kgs. กรงุ เทพมหานคร

Page 48 of 78

ชือ่ รางวลั ประเภท ระดบั หนว ยงานทมี่ อบ ปทไ่ี ด
รางวลั รางวัล รับ
รางวัล

การแขงขนั วา ยนา้ํ Arena Thailand Open Water Swimming Championships 2020 Race นักเรียน ภาค/ ชายหาดบานอําเภอ 2563
1 รุนอายุ 11 ป ระยะทาง 1 กิโลเมตร ประเทศ จังหวัดชลบุรี

การแขงขนั วายนํ้า Arena Thailand Open Water Swimming Championships 2020 Race นักเรยี น - พฒั นากอลฟคลบั &
2 รนุ อายุ 11 ป ระยะทาง 1 กิโลเมตร รสี อรท จังหวัด 2563
ชลบุรี

การแขงขันวา ยนํ้า Arena Thailand Open Water Swimming Championships 2020 Race นักเรยี น - หาดดงตาล ฐานทัพ
3 รุนอายุ 11 ป ระยะทาง 1 กโิ ลเมตร เรอื สตั หบี จังหวัด 2563

ชลบรุ ี

สวนหลวง

รายการ Thai oil Swimming Championships 2020 รุน อายุ 11-12 ปหญิง นกั เรยี น - เฉลิมพระเกียรติ 2563
รชั กาลที่ 9 จงั หวดั

ชลบุรี

การแขงขนั เทควันโด ชิงแชมปภาคตะวันออก ครงั้ ที่ 1 ประเภท ตอ สู รนุ อายุ 15-17 ป หญิง นํ้า นักเรียน - ศูนยการคา แปซฟิ ก
หนัก 42 กก. พารค ศรีราชา 2563
จงั หวดั ชลบุรี

คณะวทิ ยาศาสตร

"Science for New Normal การลําเลยี งสารและการแลกเปลี่ยนแกสของมนษุ ย" นิทรรศการ ครู ภาค/ สถาบนั เทคโนโลยี 2563
วนั วิทยาศาสตร ประเทศ พระจอมเกลา เจา

คณุ ทหาร

ลาดกระบงั

5. ดาํ เนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ปรับตามนโยบายแตละป)

ประเด็นตวั ชว้ี ัด

- จดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชห ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจัดการเรยี นรูเชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพื่อพัฒนาผเู รยี น ทสี่ อดคลอ งกับ
มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

- สง เสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดับทอ งถน่ิ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจาํ เปนของกลุมเปา หมายและแตกตางหลากหลายตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี

- พัฒนาผูเ รยี นใหมที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนา ไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดการเรยี นรูเชงิ รกุ (Active Learning) จากประสบการณ
จริงหรอื จากสถานการณจ าํ ลองผา นการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพื่อเปดโลกทัศนมุมมองรว มกันของผเู รยี นและครูใหมากขึน้

- พัฒนาผเู รยี นใหม คี วามรอบรูแ ละทักษะชีวิต เพอื่ เปนเครือ่ งมือในการดํารงชีวิตและสรางอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ลั สขุ ภาวะและทัศนคตทิ ีด่ ีตอ การดูแล
สขุ ภาพ

- พฒั นาครูใหมที ักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล ปญญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมทง้ั การจดั การเรียนการสอนเพอื่ ฝก ทักษะการคิด
วเิ คราะหอยางเปนระบบและมเี หตุผลเปน ขนั้ ตอน

- สง เสริมใหใชภาษาทอ งถิน่ รวมกบั ภาษาไทยเปนส่อื จัดการเรียนการสอนในพื้นท่ที ่ใี ชภาษาอยา งหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผเู รยี นมพี ัฒนาการดานการคิดวิเคราะห
รวมทง้ั มที กั ษะการสื่อสารและใชภาษาท่ีสามในการตอ ยอดการเรยี นรูไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

- ปลกู ฝง ผเู รยี นใหม ีหลักคิดทถ่ี กู ตอ งดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปน ผมู ีความพอเพียง วนิ ยั สจุ รติ จติ อาสา โดยกระบวนการลกู เสือ และยวุ กาชาด

- พัฒนาแพลตฟอรม ดจิ ทิ ัลเพอ่ื การเรียนรู และใชด ิจิทลั เปน เครอ่ื งมอื การเรียนรู

- เสรมิ สรางการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสริมคุณลกั ษณะและพฤติกรรมทพ่ี ึงประสงคดา นสิง่ แวดลอ ม

- สง เสรมิ การพัฒนาส่ิงประดิษฐและนวตั กรรมทเ่ี ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอม ใหส ามารถเปนอาชพี และสรางรายได

Page 49 of 78


Click to View FlipBook Version