The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Praphatson Singburan, 2022-06-01 00:28:37

แผนการสอนพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

แผนการสอนพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

แผนการจดั การเรียนรู้
มุ่งเน้นฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ชือ่ วชิ า ..พ้นื ฐานธุรกิจดจิ ทิ ลั รหัสวชิ า 30204-2001..

จัดทำโดย

นางสาวประภสั สร สิงหบ์ รุ าณ
ตำแหน่ง ครชู ำนาญการ

แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ

วิทยาลัยการอาชพี ขนุ หาญ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้
ช่อื วิชา ...พื้นฐานธุรกจิ ดิจทิ ัล รหัสวิชา 30204-2001
 ควรอนญุ าตให้ใช้การสอนได้
 ควรปรับปรุงเกยี่ วกบั ...................................................................................................................................
.................................................................................. ....................................................................... ........................
............................................................................................................................. ........................................
ลงชอื่ .....................................................

(นายณัฐพล ทองจนั ทร์)
หัวหน้าแผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ

 เหน็ ควรอนุญาตให้ใชก้ ารสอนได้
 ควรปรบั ปรุงดังเสนอ
 อน่ื ๆ ..........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชื่อ.....................................................
(นางสาวจามมจั จุรี มีศิลป์)

รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
 อนุญาตให้ใช้การสอนได้
 อ่นื ๆ ..........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................
(นายชาตรี สารบี ุตร)

รองผู้อำนวยการ รักษาการในตำแหน่ง
ผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลยั การอาชีพขุนหาญ

หลักสูตรรายวชิ า

ช่ือวชิ า พนื้ ฐานธุรกจิ ดจิ ทิ ลั รหสั วชิ า 30204-2001
ทฤษฎี 2 ปฏิบตั ิ 2 หนว่ ยกติ 3

หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สงู พทุ ธศกั ราช 2563
สาขาวชิ า เทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ลั สาขางาน เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ัล

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

1. เขา้ ใจเกย่ี วกับความรู้พน้ื ฐานทางธรุ กจิ ดจิ ิทัล โครงสรา้ งพื้นฐานธุรกจิ ดิจทิ ัล นวตั กรรม สำหรับธุรกจิ
ดิจทิ ัล ธุรกรรมในธุรกจิ ดจิ ทิ ัล สือ่ สังคมออนไลน์ ความปลอดภยั ในการทำธุรกจิ ดิจิทัล

2. มที กั ษะในการวิเคราะห์กรณีศกึ ษาทางธรุ กิจดจิ ิทัล
3. มเี จตคตแิ ละกจิ นิสัยทีด่ ีในการปฏิบัติงานด้วยความรบั ผิดชอบ ซือ่ สัตย์ ละเอยี ดรอบคอบ

สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรู้เกย่ี วกับธรุ กิจดิจิทลั และเทคโนโลยที ่ีเกีย่ วข้องกบั ธรุ กิจดจิ ทิ ัล
2. วิเคราะหก์ รณศี กึ ษาธรุ กิจดจิ ิทัล
3. ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพและการบริหารงานคุณภาพเพ่ือพฒั นาองค์การ

คำอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาและปฏิบตั เิ กี่ยวกับธรุ กิจดิจิทัล และโครงสรา้ งพืน้ ฐานธุรกิจดิจทิ ลั นวตั กรรมสำหรับธุรกจิ ดจิ ิทัล
ระบบการทำธรุ กรรมในธรุ กิจดิจิทัล ส่ือสงั คมออนไลนก์ ับธุรกิจดจิ ิทัล ธุรกิจดิจิทลั โมบาย ความม่ันคงปลอดภัย
ในการทำธรุ กรรมดจิ ทิ ลั กฎหมายและจริยธรรมและการทำธรุ กรรมดิจิทัล กรณีศึกษาธรุ กิจดจิ ิทัล

หน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ จำนวน สัปดาหท์ ี่
ช่ัวโมง
1 ความรู้พ้ืนฐานทางธรุ กจิ ดิจทิ ัล 1-2
2 โครงสร้างพนื้ ฐานธรุ กจิ ดิจิทลั 6 2-3
3 นวัตกรรมสำหรับธรุ กิจดจิ ทิ ัล 6 4-5
4 ระบบการทำธรุ กรรมในธุรกิจดิจิทลั . 8 6-7
5 สื่อสังคมออนไลนก์ บั ธุรกิจดจิ ิทัล 8 8-9
6 ธรุ กจิ ดิจทิ ลั โมบาย 8 10-11
7 ความมั่นคงปลอดภัยในการทำธรุ กรรมดิจทิ ัล 8 12-13
8 กฎหมายและจริยธรรมทางธรุ กิจดิจิทัล 8 14-15
9 กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัล 8 16-17
8 18
สอบปลายภาค 4

รวมท้ังหมด 72

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร

รหสั 30204-2001 วิชา พ้นื ฐานธรุ กจิ ดจิ ิทลั ท-ป-น 2-2-3
ช้นั ปวส. 1 สาขาวิชา เทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั

พฤตกิ รรม พุทธิพสิ ัย

ชอ่ื หน่วย ความรู้
ความเ ้ขาใจ
1. ความรู้พน้ื ฐานทางธรุ กิจดจิ ิทลั นำไปใช้
1.1 ความหมายของธุรกิจดจิ ทิ ัล วิเคราะห์
1.2 เทคโนโลยีทส่ี นบั สนนุ ธรุ กจิ ดิจิทัล สังเคราะห์
1.3 การเปลีย่ นผา่ นสู่ยุคเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ทักษะพิสัย
1.4 ดจิ ทิ ัลทรานสฟ์ อร์เมชนั จิตพิสัย
2. โครงสร้างพ้นื ฐานธุรกิจดจิ ทิ ัล รวม
2.1 ความหมายของโครงสรา้ งพ้นื ฐานดิจิทลั จำนวนคาบ
2.2 แนวคิดในการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล
2.3 โครงสรา้ งพนื้ ฐานในการทำธุรกิจดจิ ิทลั 2 0256
3. นวัตกรรมสำหรบั ธรุ กิจดิจทิ ัล 1 2366
3.1 ความหมายของนวัตกรรม 1 5378
3.2 องคป์ ระกอบของนวัตกรรม 1 5 3 12 8
3.3 ประเภทของนวตั กรรมธุรกิจ 5 4 12 8
4. ระบบการทำธรุ กรรมในธุรกจิ ดิจิทัล. 1
4.1 ความหมายของธรุ กรรม 12
4.2 ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 11
4.3 ระบบธรุ กรรมดจิ ทิ ัล
4.4 รปู แบบการทำธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 12
5. ส่ือสงั คมออนไลน์กบั ธุรกิจดจิ ทิ ลั 2
5.1 ความหมายของสอื่ สังคมออนไลน์ 2
5.2 ประเภทของสอื่ สังคมออนไลน์
5.3 อปุ กรณ์เคร่อื งมือทางสือ่ สังคมออนไลน์ 12
5.4 ประโยชนแ์ ละขอ้ จำกัดของสังคมออนไลน์ 12
12
12

12
12
12
12

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร

รหสั 30204-2001 วิชา พน้ื ฐานธุรกจิ ดจิ ทิ ลั ท-ป-น 2-2-3
ชน้ั ปวส. 1 สาขาวชิ า เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ัล

พฤติกรรม พทุ ธพิ ิสัย

ชอ่ื หน่วย ความรู้
ความเ ้ขาใจ
6. ธรุ กิจดจิ ิทลั โมบาย นำไปใช้
6.1 ความหมายของธุรกิจดิจทิ ัลโมบาย วิเคราะห์
6.2 ความสำคัญของธรุ กิจดิจิทัลโมบาย สังเคราะห์
6.3 แอพพลิเคชนั หลกั ของกลุ่มธรุ กจิ ดิจิทัลโมบาย ทักษะพิสัย
6.4 โครงสร้างพ้ืนฐานระบบอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ สเ์ คล่อื นท่ี จิตพิ ัสย
รวม
ไร้สาย จำนวนคาบ
7. ความมน่ั คงปลอดภัยในการทำธรุ กรรมดจิ ทิ ลั
7.1 ภัยคุกคามความม่ันคงในการทำธุรกิจดจิ ิทลั 12 5 5 12 8
7.2 ความม่ันคงปลอดภัยทางเทคโนโลยดี จิ ิทัล 12 3468
7.3 การทำธุรกรรมดิจทิ ลั อยา่ งปลอดภัย 12 5 4 12 8
7.4 แนวคิดเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยสำหรบั ธรุ กจิ ดิจทิ ลั 12
8. กฎหมายและจริยธรรมทางธรุ กิจดจิ ิทัล
8.1 กฎหมายดจิ ทิ ัล 1
8.2 พระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 1
12
2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) 1
8.3 พระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการกระทำความผดิ เกี่ยวกับ
12
คอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 12

8.4 จริยธรรมในการทำธรุ กจิ ดิจทิ ัล 12
12

ตารางวิเคราะห์หลักสตู ร

รหัส 30204-2001 วชิ า พ้ืนฐานธรุ กิจดจิ ทิ ลั ท-ป-น 2-2-3
ชนั้ ปวส. 1 สาขาวชิ า เทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ทิ ลั

พฤติกรรม พทุ ธิพสิ ัย

ช่ือหน่วย ความรู้
ความเ ้ขาใจ
9. กรณีศึกษาธรุ กจิ ดิจิทลั นำไปใช้
9.1 กรณศี ึกษาท่ี 1 การปรับตวั ของยูนิโคล่ (UNIQLO) ใน วิเคราะห์
สังเคราะห์
ยุคดิจิทลั ทักษะพิสัย
6.2 กรณีศึกษาท่ี 2 Netflix (เนต็ ฟลกิ ซ์) จิตพิ ัสย
6.3 จากรา้ นอาหาร สู่บริการ Food Delivery, Cloud รวม
จำนวนคาบ
Kitchen และ E-Marketplace
6.4 กรณีศึกษาที่ 4 Red Bull ทีใ่ ช้ Instargram เขา้ ถงึ 12 5 5 12 4
12 4
ผูบ้ ริโภคมากกว่า 1.2 ลา้ นคน 12
สอบปลายภาค
12

แผนการจดั การเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1
สอนครั้งท่ี 1-3
ชอ่ื หน่วย ความรู้พ้นื ฐานทางธรุ กิจดจิ ิทลั
ชวั่ โมงรวม 6
ชอื่ เรอื่ ง ความรู้พ้ืนฐานทางธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล จำนวนชั่วโมง 6

1. สาระสำคัญ

การสร้างธุรกิจให้เติบโต การปรับเปล่ียนธุรกิจให้ทันกระแสโลกเป็นสิ่งจำเป็น โดยเฉพาะ
ในขณะที่ทุกคนเข้าถึงโลกออนไลน์และการขายสินคา้ ผ่านโลกดิจิทัล ในขณะเดียวกันหลายคนก็ยังไม่ทราบ
ว่าดิจิทัลคืออะไร และสำคัญอย่างไรต่อผู้ประกอบการ ซึ่งความสำคัญของโลกดิจิทัลคือโอกาสในการเตบิ โต
อีกขั้นหนึ่งของเจ้าของธุรกิจ ซ่ึงถ้าสามารถจับจุดได้ และเปลี่ยนธุรกิจของตนเองให้เข้าสู่ธุรกิจดิจิทัลได้
ความสำเร็จอกี ขั้นก็อยไู่ ม่ไกล

2. สมรรถนะประจำหนว่ ย

2.1 แสดงความร้เู กย่ี วกับความหมายของธุรกิจดจิ ิทัล

2.2 อธบิ ายเทคโนโลยีทสี่ นบั สนุนธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั
2.3 อธิบายการเปลย่ี นผา่ นสู่ยุคเศรษฐกิจดจิ ิทัล
2.4 อธบิ ายดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชนั
2.5 เตรยี มวัสดุอปุ กรณเ์ หมาะสมกบั การปฏบิ ัติงาน
2.6 แสดงพฤตกิ รรมที่มเี จตคติทด่ี ี ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ซือ่ สัตย์ ละเอียดรอบคอบ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดา้ นความรู้

3.1.1 เพอ่ื ให้มคี วามรู้และความเขา้ ใจเกยี่ วกับความหมายของธุรกิจดิจทิ ลั
3.1.2 เพือ่ ให้เข้าใจเทคโนโลยที ่สี นับสนนุ ธรุ กจิ ดจิ ิทัล
3.1.3 เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจการเปลย่ี นผ่านสู่ยุคเศรษฐกิจดจิ ิทัล
3.1.4 เพื่อให้เขา้ ใจดจิ ิทลั ทรานสฟ์ อรเ์ มชัน
3.2 ด้านทักษะ

3.2.1 อธิบายความหมายของธรุ กิจดิจิทัลได้
3.2.2 อธบิ ายเทคโนโลยที ่สี นบั สนนุ ธรุ กิจดิจทิ ัลได้
3.2.3 อธบิ ายการเปล่ยี นผา่ นสยู่ คุ เศรษฐกิจดิจิทัลได้
3.2.4 อธิบายเกย่ี วกบั ดิจิทลั ทรานส์ฟอร์เมชนั ได้
3.2.5 แยกแยะลักษณะของธุรกิจยุคดั้งเดิม และธรุ กิจยุคดิจิทลั ได้

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุง่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1
สอนครัง้ ท่ี 1-3
ชื่อหน่วย ความรู้พื้นฐานทางธรุ กิจดจิ ทิ ลั
ช่วั โมงรวม 6
ชื่อเร่ือง ความรู้พ้นื ฐานทางธรุ กิจดจิ ทิ ลั จำนวนชวั่ โมง 6

3.3 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์
3.3.1 มีเจตคติท่ดี ี
3.3.2 ปฏิบัตงิ านดว้ ยความรับผิดชอบ
3.3.3 ซอ่ื สตั ย์
3.3.4 ละเอยี ดรอบคอบ

4. เนือ้ หาสาระการเรียนรู้

ความหมายของธุรกจิ ดจิ ิทัล (Digital Business)
ธุรกิจดิจิทัล (Digital Business) คือการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ เข้ามาพัฒนาธุรกิจที่ทำอยู่

ก าร ส ร้าง ส รร ค์ข องธุร กิจ ให ม่ที่อ อก แ บ บ โด ย ก า รท ำ ให้ภ าพ ข อ งโล ก ดิจิทัล แ ล ะโล ก ท า งก า ย ภ าพ เข้า
ด้วยกัน เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีดิจิทัลและการทำงานของคน ที่ทำให้เกิดสินค้า และ
บริการรูปแบบใหม่ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให้ทั้งผู้ประกอบการและผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้า
หรือบริการต่าง ๆ จุดประสงค์หลักคือการหาทางเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจนั่นเอง เช่น การนำแอพพลิเค
ชัน (Application) มาช่วยในการเข้าถึงผู้บริโภคยุคใหม่ที่ชอบใช้สมาร์ทโฟน (Smart Phone) การ
สร้างช่องทางขายผ่านสื่อสังคม (Social media) ต่าง ๆ และการทำโฆษณา รวมไปถึงการสั่งซื้อและ
จัดส่งสินค้าในแบบออนไลน์ เป็นต้น

เทคโนโลยีทส่ี นับสนุนธุรกิจดิจทิ ลั
แพลตฟอร์มดิจิทัล หมายถงึ โครงสร้างพ้ืนฐาน หรือ แหล่งรวบรวมสินคา้ บริการ เครอ่ื งมือ และขอ้ มลู

ดิจิทัลเพื่อใช้ในการสร้างสินค้าหรือบริการใหม่ในทางธุรกิจ เป็นสิ่งท่ีช่วยสร้างผลกระทบเครือข่าย (Network
effects) คือย่ิงมีคนใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลจำนวนมาก จะส่งผลให้เกิดต้นทุนต่อผู้ใช้งานลดลง และ
ประโยชนต์ ่อผูใ้ ชง้ านเพิม่ ขนึ้

เทคโนโลยีแพลตฟอรม์ (Technology Platform) ไดแ้ ก่
1. ส่ือสังคม (Social Media) หรือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social technology) คือสื่อ

อิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงเป็นส่ือกลางท่ีให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปล่ียนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่าน
อนิ เตอร์เน็ตได้ เช่น เฟซบ๊คุ (Facebook) ไลน์ (Line) เปน็ ต้น

แผนการจดั การเรียนรูม้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 1
สอนคร้งั ที่ 1-3
ช่ือหน่วย ความรูพ้ ้นื ฐานทางธรุ กิจดิจทิ ัล
ช่ัวโมงรวม 6
ชอ่ื เร่อื ง ความรู้พื้นฐานทางธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั จำนวนชว่ั โมง 6

2. โมบาย (Mobile) คือ อุปกรณ์ส่ือสารไร้สายท่ีเคล่ือนท่ีได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ
สมาร์ทโฟน (Smart Phone) เท็บแล็ต (Tablet) หรืออุปกรณ์ที่มีความสามารถในการติดต่อสื่อสารแบบ
เคลอื่ นที่ได้ (Mobility) การใช้โมบายแอพพลิเคชัน (Mobile application)

3. การวเิ คราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analytics) คอื การใช้เคร่ืองมือวเิ คราะห์
ขอ้ มลู จำนวนมหาศาลในเชิงลึก

4. การประมวลผลกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) หรือ คลาวด์ (Cloud) คือบริการท่ี
ครอบคลุมถึงการใหใ้ ช้กำลังประมวลผล หน่วยจัดเก็บข้อมูล และระบบออนไลน์ตา่ ง ๆ จากผใู้ ห้บริการ เพ่อื ลด
ความยุ่งยากในการติดต้ัง ดูแลระบบ ช่วยประหยัดเวลา และลดต้นทุนในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์และ
เครือข่ายเอง

5. อิน เต อร์เน็ ต ข อ งส รรพ ส่ิง (Internet of Things : IoT) คือสภาพแวดล้อม
ประกอบด้วย สรรพส่ิงท่ีสามารถส่ือสารและเชื่อมต่อกันได้ ผ่านโปรโตคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย
โดยสรรพสิ่งต่าง ๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและ
ทำงานร่วมกันได้

- เซ็นเซอรภ์ ายในบา้ น ตรวจจับการเคล่ือนไหวของผอู้ ยู่อาศัย อาศยั และส่งสญั ญาณไปส่ัง
เปิด/ปดิ สวติ ซไ์ ฟตามห้องต่าง ๆ ทม่ี คี นหรอื ไม่มีคนอยู่

- เทคโนโลยีทช่ี ่วยให้สรรพสงิ่ รับรู้ข้อมลู ในบรบิ ททเ่ี กี่ยวข้อง เช่น เซ็นเซอร์ ระบบสมองกล
ฝงั ตวั

การเปลยี่ นผา่ นส่ยู คุ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล
สภาพยุคเศรษฐกจิ ทีม่ ีการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเปน็ ตวั นำ (Digital Economy) ในการสร้าง การ

เติบโตทางธรุ กจิ มีลกั ษณะเด่นอยู่ 3 ประการ คอื
1. การใชท้ รัพยากรเม่ือต้องการ (Resource on Demand) ภายใตเ้ ศรษฐกจิ แบง่ ปัน (Sharing

Economy) ซึง่ เปน็ การสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกิจจากกำลงั การผลติ ท่ีเหลอื ของทรัพยากรหรอื สนิ ทรัพยท์ ่ี มีอยู่
2. การใช้ศกั ยภาพของบุคลากรเม่อื ตอ้ งการ (Talent on Demand) ในรูปแบบของแรงงานอิสระ

(Freelance Workforce) คำวา่ “Freelance” หรอื “Freelancer” คอื ผมู้ อี าชีพอิสระไมข่ นึ้ ตรงต่อหน่วยงาน
องค์กรใด ๆ Freelance จะต้องจัดตารางเวลาการทำงานของตนเองและรับเงนิ จากผ้วู า่ จ้าง ซง่ึ ตกลงตามความ
พึงพอใจของทั้งสองฝา่ ย

แผนการจดั การเรยี นรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1
สอนครงั้ ที่ 1-3
ช่อื หน่วย ความรพู้ ืน้ ฐานทางธุรกจิ ดิจิทลั
ชัว่ โมงรวม 6
ชือ่ เรือ่ ง ความรู้พ้นื ฐานทางธรุ กจิ ดิจทิ ลั จำนวนช่ัวโมง 6

3. การแสวงหาความรู้และข้อมูลที่จำเป็นเม่ือต้องการ (Intelligence on Demand) ผ่านทาง
Crowds และ Cloud โดยการกระจายปัญหาไปยังชุมชนออนไลน์ หรือในโลกไซเบอร์ เพื่อค้นหาคำตอบและ
วิธีการในการแก้ปัญหาทางธุรกิจ เรียกว่า Crowdsourcing ส่วนระบบ Cloud คือ แอพพลิเคชันท่ีช่วยเก็บ
ข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลที่ต้องการด้วยรูปแบบ Saas (Software as a Service) ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานได้
ทุกที่ โดยไม่จำเป็นต้องติดต้ังเซิรฟ์ เวอรเ์ พือ่ เก็บขอ้ มูลทม่ี ากมาย ลดความยงุ่ ยาก ไม่ตอ้ งดูแลระบบไอที ปล่อย
ให้เป็นหน้าที่ของผู้ให้บริการ ซ่ึงจะคอยดูแลระบบตลอด 24 ช่ัวโมง ทำให้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต้ัง
ซอฟต์แวรต์ า่ ง ๆ สามารถเรยี กข้อมูลใชเ้ มือ่ ต้องการ

เทคโนโลยีท่เี ป็นหลกั ในยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล (Digital Economy) ประกอบด้วย ระบบไซเบอร์ (Cyber
Physical System) ระบบประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) การวเิ คราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big
Data Analytics) ระบบความปลอดภยั (System Security) ระบบการพิมพ์ 3 มติ ิ (3D Printing) เทคโนโลยี
การผสมผสานโลกเสมอื น (Augmented Reality) และหุ่นยนตท์ อ่ี อกแบบขึ้นมาโดยมพี ื้นฐานเลียนแบบ
ร่างกายมนุษย์ (Humanoid Robots) การเปลยี่ นผ่านไปสู่ยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั จะอาศัยการพัฒนาเทคโนโลยี
เหล่านีเ้ ปน็ ตัวนำ ซึ่งทำให้สภาพแวดลอ้ มในการทำงาน รูปแบบกระบวนการทำงานและ กลยทุ ธ์ ตลอดจน
โครงสร้างองค์กรแตกตา่ งออกไปจากเดิม โดยมลี ักษณะทีส่ ำคัญ คอื

1. มีการเช่ือมต่ออุปกรณ์ ต่าง ๆ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (Internet) และ แอพพลิเคชั น
(Applications) ทีอ่ อกแบบเพ่ือรองรับ ความต้องการของแตล่ ะบุคคล (The Internet of Me) เม่ือดิจิทัล และ
อินเตอร์เน็ตกลายเป็นส่วนหน่ึงของชีวิต หรือ Internet of Things (IoT) ผู้บริโภคต้องการให้มีการทำงาน
รว่ มกนั ระหว่าง
อุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างไร้รอยต่อ ส่ิงที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ ผู้บริโภคเริ่มคาดหวังว่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีทำงานน้ัน
จะต้องรู้จักตัวตนของผู้ใช้และเข้าใจว่าผู้ใช้ต้องการอะไร รวมท้ังสามารถส่ือสารกับอุปกรณ์อ่ืน ๆ รอบตัวเพื่อ
สง่ ผ่านข้อมลู นน้ั ไปได้

2. การเกิดขึ้นของแรงงานที่มีทักษะด้านดิจิทัล ซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ มีความสามารถในการใช้และเข้าถึง
เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างรวดเร็ว (Digital Natives) ในขณะท่ีคนรุ่นก่อนหน้าต้องใช้เวลาปรับตัวให้เข้ากับ
เทคโนโลยีดิจิทัลที่เกิดขึ้น (Digital Immigrants) ส่วนใหญ่ Digital Natives เป็นกลุ่มที่เกิดหลังปี 1994 ซึ่ง
ระบบอินเตอร์เน็ตมีการใช้อย่างแพร่หลาย ปัจจุบันมีอายุประมาณ 10-29 ปี คนกลุ่มน้ีจะคุ้นเคยกับการใช้
คอมพิวเตอร์ทำงาน หรือเพื่อเล่นเกม ทำการบ้าน ค้นหาข้อมูลเก่ียวกับสินค้าและกิจกรรม ตลอดจน
ตดิ ตอ่ ส่ือสารกับผอู้ ่ืนผ่านทางโซเซยี ลมีเดยี ต่าง ๆ

แผนการจัดการเรียนรมู้ ุง่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1
สอนครัง้ ที่ 1-3
ชอ่ื หน่วย ความรู้พื้นฐานทางธรุ กจิ ดจิ ิทัล
ชัว่ โมงรวม 6
ชอ่ื เรื่อง ความรู้พ้นื ฐานทางธรุ กจิ ดิจทิ ัล จำนวนชวั่ โมง 6

3. การทำงานและการใช้ชีวิต (Work and Life) เปล่ียนไป เนื่องจากมีการเช่ือมต่อการทำงานผ่าน
ระบบอนิ เตอรเ์ น็ตและโซเชยี ลมเี ดีย (Social Media) ทำให้พนกั งานจะอยู่ท่ีใด ใช้อุปกรณแ์ บบใด ในเวลาใดก็
สามารถทำงานได้ (Any Place Any Time Any Devices) การทำงานแบบ Telecommuting หรือ Work
Anywhere เป็นรูปแบบการทำงานท่ีพนักงานสามารถใช้อินเตอร์เน็ตและโซเชียลมีเดียทำงานได้จากที่บ้าน ท่ี
พักอาศัย หรือสถานที่อ่ืน ๆ ไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางไปท่ีทำงาน อย่างไรก็ตามองค์ประกอบท่ีสำคัญคือ
ต้องมีอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในราคาที่เหมาะสม จึงจะส่งเสริมให้เกิดการทำงานในลักษณ ะ
Telecommuting แพร่หลายมากขึ้น

4. งานในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เริ่มถูกแทนท่ีด้วยการใช้ระบบเคร่ืองจักรอัตโนมัติ
(Automation) ทำให้รูปแบบแรงงานในอนาคต (Future Workforce) แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ งานที่จะ
หายไปเนื่องจากถูกแทนที่ด้วยระบบเครื่องจักรอัตโนมัติ งานท่ีอาศัยทักษะและความรู้ควบคุมและใช้งาน
ระบบเคร่ืองจักรอัตโนมัติ งานท่ีเกิดข้ึนใหม่เน่ืองจากการใช้ระบบเคร่ืองจักรอัตโนมัติ และงานที่ยังไม่
เปล่ียนแปลงเนื่องจากไม่สามารถถกู แทนท่ีด้วยระบบเคร่ืองจักรอตั โนมัตเิ พ่ือไม่ให้ตกงานในยุคเศรษฐกิจดจิ ิทัล
แรงงานจำเป็นต้องพัฒนาทักษะใน 3 ด้าน คือ ทักษะในการใช้ประโยชน์จากสื่อ (Media Literacy Ability)
ทักษะในการจัดลำดับและแยกแยะข้อมูลข่าวสารต่างๆ ท่ีมีความสำคัญ (Cognitive Load Management
Ability) ทักษะในการแปลความหมายของข้อมูลท่ีมีอยู่อย่างมากมายมหาศาลไปสู่ส่ิงที่เป็นประโยชน์
(Computational Thinking Ability) ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (Virtual Collaboration)

5. รปู แบบการทำธุรกิจตอ้ งเผชญิ กับการกดดันจากเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและทำลาย
ธุรกิจที่ปรับตัวไม่ทันจนต้องล่มสลาย (Disruptive Technology) และถ้าตามพฤติกรรมของผู้บริโภคไม่ทันก็
จะลม่ สลายเร็ว เน่ืองจากสินทรพั ยส์ ว่ นใหญจ่ ับตอ้ งไมไ่ ดห้ รือไมม่ ีอยู่ในมือ

6. องค์กรในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) จะมีรูปแบบที่แบนราบและมีขั้นตอนการ
ตัดสินใจท่ีรวดเร็วขึ้น สายการบังคับบัญชาแบบบนลงล่าง (Top-down) ท่ีใช้กันท่ัวไปไม่สามารถตอบสนอง
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ทัน สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้ช้า ขณะเดียวกัน การจัดโครงสร้างแบบ
การแบ่งทีมตามโครงการ (Project based Organization) ก็ไม่ใช่คำตอบท่ีดีที่สุดสำหรับองค์กรยุคใหม่เสมอ
ไป เนื่องจากปัญหาความซับซ้อน เข้าใจยากและสร้างความสับสนให้พนักงาน แนวคิดใหม่ที่กำลังได้รับความ
สนใจคือ การบริหารองค์กรแบบไร้ลำดับช้ัน (Holacracy Organization) เพ่ือรองรับวิวัฒนาการของธุรกิจใน
ปัจจุบันที่เข้าสู่ยุคการทำงานร่วมกัน ( Collaborative) หรือ เศรษฐกิจแบบแบ่งปัน (Sharing Economy)
หลักการพน้ื ฐาน คือการยกเลิกอำนาจและโครงสรา้ งบริหาร ใหค้ วามสำคัญกับการกำหนดบทบาท (Roles) ที่

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1
สอนคร้ังท่ี 1-3
ช่ือหน่วย ความรพู้ ้ืนฐานทางธรุ กิจดจิ ทิ ลั
ชัว่ โมงรวม 6
ชื่อเร่ือง ความรู้พื้นฐานทางธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล จำนวนชว่ั โมง 6

ต้องทำหรือความรับผิดชอบให้ชัดเจน หลังจากนั้นผู้ท่ีรับผิดชอบก็ดำเนินงานไปโดยไม่ต้องมีหัวหน้ ามาคอย
ควบคุม ความแตกต่างที่สำคัญจากการบริหารแบบเดิมคือ บทบาท (Roles) จะถูกกำหนดโดยงานเป็นหลัก
(ไม่ใช่ตัวคน) อีกท้ังยังมีการปรับเปล่ียนอยู่ตลอดเวลา และคนแต่ละคนก็สามารถทำงานได้หลายบทบาท
นอกจากน้ี

อำนาจในการตัดสินใจจะถูกกระจายไปยังทีมและผู้ที่ดำรงบทบาทต่างๆ การตัดสินใจจึงเกิดข้ึนในระดับ
ปฏิบัติการ เป็นการบริหารงานด้วยตนเองไม่ใช่ตามสายการบังคับบัญชา ท่ีสำคัญคือจะมีกฎและแนวทางใน
การทำงานท่ีเปิดเผย โปร่งใสและชัดเจน ซ่ึงทุกคนต้องปฏิบัติตาม มีการใช้แอพพลิเคชัน (Application) หรือ
เว็บไซต์(Website) ช่วยประสานร่วมมือการทำงานในลักษณะระบบเวิร์กโฟล์ว (Social Workflow) ซ่ึง
สามารถเช่อื มตอ่ ใชง้ านได้กับทุกอปุ กรณ์ (Any Device) ทำให้การทำงานแบบไร้ลำดบั ชั้นง่ายขึ้น

7. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานจะเปล่ียนจากรปู แบบปิรามิดท่มี ีการทำงานร่วมกนั ระหว่างผูน้ ำ
หนว่ ยงานหลกั และหนว่ ยงานสนับสนนุ ไปเป็นโครงสรา้ งแบบยืดหยุ่น มผี ้นู ำและทมี พัฒนานวัตกรรมทม่ี ีอสิ ระ
ตัดสินใจได้เอง นำไปสู่ความคิดสร้างสรรคใ์ หม่ ๆ ได้งา่ ยข้ึน

ดิจทิ ัลทรานสฟ์ อร์เมชนั (Digital Transformation)
ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน (Digital Transformation) คือ การเปลี่ยนแปลงองค์กรเพื่อให้เข้ากับ

เศรษฐกิจดิจิทัลที่แข่งขันกันด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ที่เป็นการปรับเปลี่ยนองค์กรให้ใช้ประโยชน์จากดิจิทัลให้ได้
มากที่สุด ตั้งแตก่ ารกำหนดเป้าหมายธุรกิจ วางแผน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ตลอดจนช่องทางการส่งมอบสินคา้ และ
บริการให้กับผู้บริโภค เพ่ือเปล่ียนองค์กรให้เป็นองค์กรดิจิทัลท่ีมีวัฒนธรรมดิจิทัล เป็นตัวต้ังต้น และพัฒนา
องคก์ รใหเ้ ตบิ โตด้วยเทคโนโลยีตอ่ ไป ซ่งึ ดิจทิ ัลทรานส์ฟอร์เมชนั ในธุรกิจสามารถเปลย่ี นแปลงไดใ้ น 3 ด้าน คอื

1. เปล่ียนแปลงด้านรปู แบบการดำเนนิ ธรุ กิจ (Business Model)
รูปแบบของธุรกิจ (Business Model) คือ ภาพรวมการทำงานของธุรกิจประเภทน้ัน ๆ ครอบคลุม
ตัง้ แต่วธิ ีการดำเนินธุรกิจ กลุ่มลูกค้า (Customer Segment) การได้รายรับ (Revenue) รายจ่าย(Cost) ซ่ึงแต่
ละธุรกิจจะแตกต่างกันออกไป เมื่อเกิดการดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันข้ึน บางธุรกิจโมเดลนี้จะเกิดการ
เปล่ียนแปลงในบางส่วนหรืออาจเกิดการเปลี่ยนแปลงหมดทั้งโมเดลก็ได้ อย่างธุรกิจที่เห็นได้ชัดเช่นการใช้
บริการรถยนต์โดยสาร เดิมโมเดลธุรกิจประเภทนี้คือการเรียกแท็กซี่ แต่ปัจจุบันเม่ือเกิดแอพพลิเคชั่นแบบ
แกรบ็ (Grab) รูปแบบธรุ กิจประเภทนีก้ เ็ ปลี่ยนไป หรอื จะเปน็ การสง่ อาหาร ทเ่ี ดมิ มีแตพ่ ซิ ซ่าและฟาสต์ฟูด้

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุง่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1
สอนคร้ังที่ 1-3
ชือ่ หน่วย ความรพู้ น้ื ฐานทางธรุ กิจดิจทิ ัล
ชัว่ โมงรวม 6
ชือ่ เรือ่ ง ความรู้พนื้ ฐานทางธรุ กิจดจิ ิทัล จำนวนชวั่ โมง 6

บางรายเท่านั้นท่ีให้บรกิ าร แต่ปัจจุบนั ร้านค้าขา้ งทางหรือในตลาดก็สามารถให้บริการในสว่ นนี้ได้ผ่านแอพลิเค
ชันสำหรับสง่ อาหารโดยเฉพาะ เชน่ แกร็บฟ้ดู (Grabfood), ไลน์แมน (Lineman) เป็นต้น

การเปลย่ี นรูปแบบการดำเนนิ ธรุ กิจสำหรับเจา้ ของธุรกจิ สามารถเรม่ิ จากเล็ก ๆ คือหยบิ ยืมธรุ กิจที่
มีโมเดลชว่ ยแก้ปญั หาต่าง ๆ มาใช้ได้ เชน่ เริม่ ต้นด้วยการใชช้ อ่ งทางออนไลนใ์ นการขาย และใช้บริการขนสง่
ตา่ ง ๆ จัดสง่ ใหก้ บั ลูกคา้ กเ็ ป็นการเพ่ิมชอ่ งทางและเปลีย่ นรปู แบบการดำเนินธุรกจิ ไปได้หลายสว่ นเช่นกนั

2. เปลีย่ นแปลงดา้ นการปฏิบัติการ (Business Operation)
ในการทำงานแบบยุคก่อนดิจิทัลน้ันพึ่งพากำลังมนุษย์เป็นหลัก อาจมีซอฟต์แวร์บางตัวท่ีช่วยให้

การทำงานง่ายขึน้ มีโปรแกรมบางอย่างท่ีชว่ ยในการเก็บสต็อกสินค้า นนั่ คือการนำเทคโนโลยมี าใช้ในยุคแรก ๆ
แต่เมื่อเกิดดิจิทัลทรานส์ฟอรเ์ มชนั ก็ได้ช่วยเปล่ียนวิธีการทำงานและระบบปฏิบัติการให้พึ่งพาเทคโนโลยีมาก
ขึ้น ลดทอนการใช้กำลังมนุษย์ และความซ้ำซ้อนในวิธีการทำงานให้น้อยลง เพราะธรรมชาติของดิจิทัลนั้นมี
ความแม่นยำมากกว่า และช่วยลดข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ในการทำงานลง เราจะทำงานท่ีไหนก็ได้
เพราะดจิ ทิ ลั เขา้ มาช่วยให้การสอื่ สารงา่ ยขนึ้ ซง่ึ ทำใหแ้ ตล่ ะสว่ นในองค์กรทำงานอย่างสอดประสานกนั ไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพมากข้ึน หากพูดถึงการนำดิจิทัลมาปรับใช้กับองค์กร หลายคนจะคิดถึงการนำมาปรับใช้กับ
การตลาด แตใ่ นความเป็นจริงดิจิทัลทรานสฟ์ อร์เมชัน สามารถพัฒนาองค์กรในภาพรวมได้ ไม่จำเป็นต้องเป็น
เฉพาะฝ่ายการตลาดเท่าน้ัน ฝ่ายบริหาร ฝ่ายบุคคล หรือแม้แต่ฝ่ายผลิตก็สามารถใช้ ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน
เพ่อื ปรบั ปรุงองค์กรให้ดขี ้นึ ได้

การเปลยี่ นแปลงด้านการปฏบิ ัติการเพ่ือใหส้ อดรบั กับดิจิทัลทรานสฟ์ อรเ์ มชัน่ นน้ั เปน็ ประโยชนต์ ั้งแต่
ด้านการวางแผน พฒั นานวัตกรรม ปรบั ปรงุ สนิ คา้ และบริการ การขาย การตลาด ไปจนถึงการวดั ผลการ
ทำงานของทั้งองค์กร

3. เปลี่ยนแปลงประสบการณ์ของลูกคา้ (Customer Experience)
เมื่อองค์กรผู้ผลิตสินค้าและบริการเร่ิมต้นด้วยการดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชนั สิ่งที่ลูกค้าจะได้รบั ย่อม

มีความต่างออกไป ส่ิงที่เทคโนโลยีดิจิทัลจะสามารถทำได้ในแง่ประสบการณ์เป็นได้ต้ังแต่ความรู้สึก เช่น ง่าย
กว่า เร็วกว่า มากกว่า ไปจนถึงสิ่งที่เป็นช้ินเป็นอันจับต้องได้จริง เช่น การใช้บริการผ่านแอพพลิเคชันโมบาย
แบงค์กิ้งในโทรศัพท์มอื ถือ ที่เปล่ียนและลดทอนการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ลงไปได้มาก ถ้าจะเปรียบเทียบใหเ้ ห็น
ภาพชัดขึ้นกค็ ือ ถ้าเป็นเมือ่ 10 ปที ี่แล้วใครสักคนต้องการโอนเงินจากบญั ชีเงินฝาก สง่ิ ที่ต้องทำคือเดินออกจาก
บา้ น ตามหาสาขาธนาคารหรือต้เู อทเี อ็ม สอดบัตรลงไป แล้วกดเลขบญั ชีปลายทาง กดโอน และอาจมี

แผนการจดั การเรียนร้มู ุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1
สอนครงั้ ท่ี 1-3
ชื่อหน่วย ความร้พู ้นื ฐานทางธุรกจิ ดิจทิ ัล
ช่ัวโมงรวม 6
ช่ือเร่อื ง ความรู้พน้ื ฐานทางธรุ กิจดิจทิ ัล จำนวนชั่วโมง 6

คา่ ธรรมเนียมเพ่ิมขึ้นมาหากเป็นการโอนต่างธนาคาร แต่ในปัจจุบันแต่ละธนาคารแข่งขันกันในด้านการพัฒนา
แอพพลิเคชั่นท่ีช่วยให้การใช้จ่ายสำหรับสินค้าบริการต่าง ๆ ง่ายข้ึน รวมถึงการเสียภาษี ธุรกรรมกับราชการ
การลงทุน ซ้ือประกันภัยประกันชีวิต แม้กระท่ังการบริจาคทำบุญ ก็ทำได้ผ่านโมบายแบงก้ิง ผลท่ีตามมาคือ
การเดินออกจากบ้าน บัตรเอทีเอ็ม ไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป ค่าธรรมเนียมที่ต้องจ่ายเมื่อไปธนาคารก็ถูกตัด
ทอนให้หายไปเช่นกัน ในเมื่อทุกส่ิงผู้ใช้ทำได้ด้วยตัวเอง ธนาคารก็ไม่มีเหตุผลอะไรในการเรียกเก็บ
คา่ ธรรมเนียมอกี ตอ่ ไป

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1 การนำเขา้ ส่บู ทเรียน
5.1.1 ผู้สอนเตรยี มการสอน
5.1.2 ผู้สอนเตรียมสื่อเพาเวอร์ พอยต์ (Power Point)
5.1.3 ผู้สอนทำการสอนกล่าวทักทายผเู้ รียน และแนะนำตวั เน่ืองจากเป็นการสอนครั้งแรก
5.1.4 ผสู้ อนตรวจสอบรายชอ่ื ผเู้ รยี น
5.1.5 ผสู้ อนบอกจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา
5.1.6 ผสู้ อนให้ผูเ้ รยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่อื ทดสอบความรขู้ องผูเ้ รยี น ผูส้ อนเตรียม
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
5.2 การเรียนรู้
5.2.1 ผสู้ อนอธิบายเกย่ี วกับความหมายของธุรกจิ ดิจทิ ลั โดยใชส้ ่ือ Power Point
5.2.2 ผสู้ อนตง้ั คำถามกับผู้เรยี นเกยี่ วกบั ความหมายของธรุ กจิ ดจิ ิทลั
5.2.3 ผ้เู รยี นตอบคำถาม
5.2.4 ผู้สอนอธิบายเกีย่ วกับเทคโนโลยีท่ีสนบั สนุนธุรกจิ ดิจทิ ลั โดยใชส้ อื่ Power Point
5.2.5 ผสู้ อนต้ังคำถามกับผู้เรยี น
5.2.6 ผูส้ อนอธบิ ายเกย่ี วกับการเปล่ียนผา่ นสยู่ ุคเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั โดยใชส้ ื่อ Power Point
5.2.7 ผสู้ อนอธิบายดจิ ทิ ัลทรานส์ฟอร์เมชนั (Digital Transformation) โดยใชส้ ่ือ Power
Point
5.2.8 ผูส้ อนต้งั คำถามกับผเู้ รียน
5.2.9 ผ้สู อนมอบหมายแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 1 ในเอกสารประกอบการเรยี น

แผนการจดั การเรยี นรูม้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1
สอนครง้ั ที่ 1-3
ชอ่ื หน่วย ความรู้พ้นื ฐานทางธรุ กิจดิจทิ ัล
ชื่อเร่ือง ความรู้พน้ื ฐานทางธรุ กิจดจิ ทิ ลั ชั่วโมงรวม 6
จำนวนชวั่ โมง 6

5.3 การสรปุ
5.3.1 ประเมินจากแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 1

5.4 วดั ผลและประเมินผล
5.4.1 ประเมนิ จากแบบทดสอบก่อนเรียน
5.4.2 ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรียน

6. สอื่ การเรียนร้/ู แหล่งการเรยี นรู้
6.1 สื่อสิ่งพมิ พ์
6.1.1 หนงั สอื พื้นฐานธรุ กจิ ดิจิทัล. ประภาวรรณ เกษวิรยิ ะการณ์. สำนักพิมพ์เมืองไทย

6.2 สื่อโสตทัศน์
6.2.1 สือ่ การเรียนการสอน Power Point วิชา พนื้ ฐานธรุ กิจดจิ ิทัล
6.2.2 เครือ่ งโปรเจค็ เตอร์
6.2.3 เครอ่ื งคอมพิวเตอร์
6.2.4 ระบบอินเตอรเ์ น็ตในการเรียนออนไลน์

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน)
แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 เรอื่ งความรพู้ ื้นฐานทางธุรกิจดจิ ิทัล

8. การบูรณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั วิชาอ่ืน
บรู ณาการรายวิชากับหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

9. การวดั และประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรียน
วดั ผลจากแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 1 เร่อื งความรู้พ้นื ฐานทางธรุ กิจดจิ ทิ ลั

แผนการจัดการเรียนรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 1
สอนครัง้ ท่ี 1-3
ชือ่ หน่วย ความรู้พืน้ ฐานทางธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล
ช่ัวโมงรวม 6
ช่อื เร่ือง ความรู้พืน้ ฐานทางธรุ กิจดิจทิ ลั จำนวนชว่ั โมง 6

9.2 ขณะเรียน
สงั เกตขณะนัง่ เรยี นและทำแบบฝกึ หดั
สงั เกตจากการตอบคำถาม

9.3 หลงั เรยี น
ประเมินจากการสรปุ บทเรียนและการตอบคำถาม

แผนการจัดการเรียนรูม้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 2
สอนครง้ั ที่ 4-6
ชื่อหน่วย โครงสร้างพ้ืนฐานธุรกิจดจิ ทิ ัล
ช่อื เร่อื ง โครงสรา้ งพื้นฐานธรุ กิจดจิ ิทัล ชัว่ โมงรวม 6
จำนวนชวั่ โมง 12

1. สาระสำคญั

การจะปรับเปล่ียนธุรกิจแบบดั้งเดิมมาเป็นธุรกิจในแบบดิจิทัล สิ่งสำคัญเริ่มต้นตั้งแต่
โครงสร้างพืน้ ฐานของเทคโนโลยีดจิ ิทัล เป็นการผสมสานเทคโนโลยจี นเป็นนวัตกรรมใหม่เพ่ือให้กลายเป็น
นวัตกรรมในการพัฒนาธุรกิจดิจิทัล ซึ่งทางภาครัฐได้ให้การสนับสนุนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและธุรกิจ
ดิจิทัลในหลาย ๆ ด้าน นอกจากนี้หน่วยงาน หรือองค์กรต้องเรียนรู้และพร้อมจะปรับเปล่ียนรูปแบบธุรกิจ
ทั้งผู้นำองค์กร พนักงาน กระบวนการทำงาน สิ่งแวดล้อมในองค์กรและรูปแบบการสื่อสารท้ังภายในและ
ภายนอกองค์กร

2. สมรรถนะประจำหน่วย

2.1 แสดงความรู้เก่ยี วกับโครงสรา้ งพ้ืนฐานดิจิทัล
2.2 จำแนกความแตกต่างของโครงสรา้ งพื้นฐานในการทำธรุ กิจดจิ ทิ ลั
2.3 จำแนกโครงสรา้ งธรุ กิจแบบธรุ กิจดัง้ เดิมและธุรกจิ ดจิ ิทลั
2.4 เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์เหมาะสมกบั การปฏบิ ตั ิงาน
2.5 แสดงพฤตกิ รรมที่มเี จตคติที่ดี ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความรับผิดชอบ ซอ่ื สัตย์ ละเอยี ดรอบคอบ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดา้ นความรู้

3.1.1 เพอ่ื ให้มีความรู้และความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ความหมายของโครงสรา้ งพื้นฐานดจิ ิทัล
3.1.2 เพ่อื ใหเ้ ข้าใจแนวคดิ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล
3.1.3 เพอื่ ให้เข้าใจโครงสรา้ งพื้นฐานในการทำธุรกจิ ดจิ ิทลั
3.1.4 เพื่อใหเ้ ขา้ ใจโครงสร้างธุรกจิ แบบธรุ กิจดงั้ เดิมและธุรกิจดจิ ทิ ัล
3.2 ดา้ นทักษะ

3.2.1 อธิบายความหมายของโครงสรา้ งพ้นื ฐานดจิ ทิ ัลได้
3.2.2 อธบิ ายแนวคดิ ในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจดิจิทลั ได้
3.2.3 อธิบายโครงสรา้ งพน้ื ฐานในการทำธรุ กจิ ดิจทิ ัลได้
3.2.4 จำแนกความแตกต่างของโครงสร้างพน้ื ฐานในการทำธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั ได้
3.2.5 จำแนกโครงสรา้ งธุรกจิ แบบธุรกจิ ด้ังเดิมและธุรกิจดิจิทลั ได้

แผนการจัดการเรยี นรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 2
สอนครัง้ ที่ 4-6
ช่ือหน่วย โครงสรา้ งพ้ืนฐานธุรกจิ ดิจทิ ัล
ชอ่ื เรื่อง โครงสร้างพ้ืนฐานธรุ กจิ ดิจิทลั ชว่ั โมงรวม 6
จำนวนชั่วโมง 12

3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์

3.3.1 มีเจตคตทิ ี่ดี
3.3.2 ปฏิบตั ิงานด้วยความรบั ผิดชอบ
3.3.3 ซ่ือสตั ย์
3.3.4 ละเอยี ดรอบคอบ

4. เนือ้ หาสาระการเรยี นรู้

ความหมายของโครงสรา้ งพนื้ ฐานดิจทิ ัล
โครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัล หมายถึง โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) โทรคมนาคม

(Telecommunication) และการแพร่ภาพกระจายเสียง (Broadcast) รวมท้ังการหลอมรวมของเทคโนโลยี
(Convergence) ทั้งสามด้านทเี่ ป็นนวตั กรรมใหมใ่ นการพฒั นาดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม

แนวคิดในการขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจดจิ ิทัล
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล หมายถึง เศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

(หรือท่ีเรียกว่าเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือให้ทันยุคสมัย) เป็นกลไกสำคัญในการขับเคล่ือนการปฏิรูปกระบวนการ
ผลิต การดำเนินธุรกิจ การค้า การบริการ การศึกษา การสาธารณสุข การบริหารราชการแผ่นดิน รวมท้ัง
กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอน่ื ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของคน
ในสงั คม และการจ้างงานท่เี พ่ิมขึน้

ในการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลจะมีการจัดต้ังคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ และมีคณะกรรมการเฉพาะด้ านทำหน้าที่
ช่วยเหลือคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่ีช้ีนำทิศทางของการพัฒนาให้แก่หน่วยงาน
ท้ังภาคเอกขนและภาครัฐ และกำหนดนโยบายสนับสนุนด้านการสร้างแรงจูงใจ (Incentive) นวัตกรรม
(Innovation) จัดหาตลาดให้แก่เอกชน เพื่อร่วมกันสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งและพัฒนาคนไทยท่ีมี
ความสามารถ โดยคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลแห่งชาติ ประกอบด้วย คณะกรรมการเฉพาะด้าน
5 ดา้ นคอื

แผนการจดั การเรยี นร้มู งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 2
สอนคร้งั ท่ี 4-6
ชอื่ หน่วย โครงสรา้ งพ้ืนฐานธุรกจิ ดิจิทัล
ชอ่ื เร่อื ง โครงสรา้ งพ้ืนฐานธุรกจิ ดิจิทลั ชัว่ โมงรวม 6
จำนวนช่วั โมง 12

1. การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานดจิ ิทัล (Hard Infrastructure)
2. การสร้างความมั่นคงปลอดภัย และความเชื่อม่ันในการทำธุรกรรมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Soft
Infrastructure)
3. โครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อส่งเสรมิ การใหบ้ ริการ (Service Infrastructure)
4. การกระตุ้นเศรษฐกจิ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Economy Promotion)
5. การสร้างสังคมดิจิทัลที่มีคุณภาพและการพัฒนาคลังทรัพยากรสารสนเทศของประเทศ (Digital
Society)

โครงสรา้ งพน้ื ฐานในการทำธุรกิจดิจทิ ัล
องค์กรและธุรกิจต่าง ๆ ต้องมีการปรับเปล่ียนรูปแบบการทำธุรกิจแบบเดิม เป็นรูปแบบธุรกิจดิจิทัล

ทำไดด้ ้วยการเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานของธุรกจิ ดังน้ี
1. ผู้นำองค์กร ในฐานะผู้กำหนดทิศทางและนำทางขององค์กร ผู้นำจึงต้องทำหน้าที่ในการส่งเสริม

การทำงานอย่างเข้มแข็งและเป็นรูปธรรมท่ีชัดเจน ในช่วงการเปล่ียนแปลงท่ีสำคัญขององค์กรพนักงานทุกคน
จะต้องเข้าใจเป้าหมายขององค์กรและมีการดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือลงมือปฏิบัติงานได้ทันทีและ
รวดเรว็ ดงั นั้น ผูน้ ำจะต้องแสดงใหเ้ หน็ ว่าตนใหก้ ารสนับสนุนกลยุทธต์ า่ ง ๆ อย่างเต็มที่ ซ่งึ รวมไปถงึ การกำหนด
วิสยั ทัศน์และกลยุทธ์ท่มี ีเป้าหมายและแนวทางท่ชี ัดเจน และเป็นต้นแบบที่ดี ในด้านบคุ ลกิ ภาพ ค่านิยมและวิธี
ในการบริหารน้ัน ผนู้ ำในทุกระดับจะต้องมีใจกว้าง มองโลกในแง่ดี เปิดรับฟงั ความคิดตา่ งอย่างจรงิ ใจ และตอ้ ง
ตัดสนิ ใจไดร้ วดเร็ว

2. พนักงาน พนักงานน้ันจะต้องมีทัศนคติท่ีดีต่อการปรับเปลี่ยน สิ่งที่มักพบได้บ่อย ๆ คือ พนักงาน
มักเข้าใจวา่ เมือ่ มีองคก์ รหรือ ธุรกิจมกี ารปรับเปลยี่ นเปน็ ดจิ ทิ ัล ก็แสดงว่าองคก์ รจะปรบั ลดจำนวนพนกั งานลง

ดังนั้น ลำดับแรกองค์กรจะต้องทำให้พนักงานเข้าใจตรงกันก่อนว่าเทคโนโลยีคือเคร่ืองมือท่ีช่วยให้
ทำงานได้ดีขึ้น ทำให้พนักงานมีเวลาให้ความสำคัญกับงานท่ีต้องการความคิดและความสามารถได้มากข้ึน
แทนที่จะคิดว่าเทคโนโลยีจะมาแทนและมาแย่งงานของตน เช่น การนำเคร่ืองมือการขาย (Sales Tool) มาใช้
กับการส่ังซื้อออนไลน์ และการติดตาม (online order และ tracking) น้ันจะช่วยให้ชีวิตการทำงานสะดวก
และรวดเร็วข้นึ

สร้างกระบวนการทำงานแบบแพลตฟอร์ม (Platform) เม่ือพนักงานมีความพร้อมด้านทัศนคติ
แล้ว ต้องมีการปรับวธิ ีการทำงานด้วยเช่นเดียวกนั เทคโนโลยีช่วยให้การตดิ ต่อประสานงานเป็นไปอยา่ งสะดวก
รวดเรว็ แต่ถา้ รูปแบบการทำงานยังเป็นแบบปดิ กน้ั เราก็จะไมส่ ามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ด้อย่างเต็มประสิทธภิ าพ

แผนการจดั การเรียนรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 2
สอนคร้ังท่ี 4-6
ชื่อหน่วย โครงสร้างพนื้ ฐานธรุ กิจดิจทิ ัล
ชอื่ เรือ่ ง โครงสร้างพื้นฐานธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล ชว่ั โมงรวม 6
จำนวนช่ัวโมง 12

โดยรูปแบบการทำงานท่ีเหมาะสมน้ัน จะต้องเป็นแบบ Open Platform และต้องไม่มีการทำงานเป็น ต่างคน
ต่างทำอีกต่อไป ต้องสร้าง การทำงานท่ีเชื่อมต่อกัน เพื่อใช้ประโยชน์ของความชำนาญท่ีแตกต่างกันของแต่ละ
แผนกให้สูงสุด

1. สร้างส่ิงแวดล้อมเพื่อความคล่องตัว นอกจากตัวคนซ่ึงเป็นส่วนสำคัญและวิธีการทำงานที่เป็น
ฟันเฟืองหลักแล้ว การสร้างส่ิงแวดล้อมในการทำงานที่ส่งเสริมธุรกิจดิจิทัลก็มีความสำคัญไม่แพ้ส่วนอื่น ๆ
สง่ิ แวดลอ้ มดังกล่าวน้ัน รวมถงึ การสร้างบรรยากาศ สง่ิ อำนวยความสะดวก และวิถีชีวติ ในท่ที ำงาน

2. สร้างการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม ส่ิงท่ีกล่าวมาท้ังหมดนั้น จะไม่สามารถประสบ
ความสำเร็จได้หากขาดการส่ือสารภายในองค์กรอย่างท่ัวถึงและต่อเนื่อง โดยต้องเร่ิมจากการส่ือสารถึง
ประโยชน์ของธรุ กิจดจิ ทิ ัล ด้วยคอนเทนต์ที่น่าสนใจ น่าตดิ ตาม กระชับ เข้าใจงา่ ยและตรงจดุ

ทั้งน้ี ไม่จำเป็นว่าการส่ือสารเร่ืองดิจิทัลจะต้องทำผ่านส่ือดิจิทัลเท่านั้น ส่ือต่าง ๆ ท่ีพนักงานพบเห็น
บอ่ ย ๆ กเ็ ป็นส่ิงที่ไม่ควรมองขา้ ม เช่น สโลแกนที่ช่วยใหจ้ ดจำ เสอ้ื ยดื สกรีนโลโก้ เปน็ ตน้

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1 การนำเขา้ สบู่ ทเรยี น
5.1.1 ผสู้ อนเตรียมสอ่ื เพาเวอร์ พอยต์ (Power Point)
5.1.2 ผู้สอนเตรียมส่ือเพาเวอร์ พอยต์
5.1.3 ผู้สอนทำการสอน และกลา่ วทกั ทายผู้เรยี น
5.1.4 ผูส้ อนตรวจสอบรายชื่อผู้เรียน
5.1.5 ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพื่อทดสอบความรู้ของผ้เู รยี น ผ้สู อนเตรียม
แบบทดสอบกอ่ นเรียน

5.2 การเรยี นรู้
5.2.1 ผู้สอนอธบิ ายเก่ียวกับความหมายของโครงสร้างพืน้ ฐานดิจิทัล โดยใชส้ ื่อ Power
Point
5.2.2 ผ้สู อนตงั้ คำถามกับผเู้ รยี นเกย่ี วกบั ความหมายของโครงสร้างพ้ืนฐานดจิ ิทลั
5.2.3 ผเู้ รยี นตอบคำถาม

แผนการจดั การเรยี นรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 2
สอนคร้งั ท่ี 4-6
ชอ่ื หน่วย โครงสร้างพื้นฐานธรุ กจิ ดิจิทัล
ช่ือเร่อื ง โครงสรา้ งพ้นื ฐานธรุ กิจดจิ ทิ ัล ชัว่ โมงรวม 6
จำนวนชัว่ โมง 12

5.2.4 ผสู้ อนอธบิ ายเกี่ยวกับแนวคดิ ในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล โดยใชส้ ่ือ Power
Point

5.2.5 ผสู้ อนตง้ั คำถามกับผู้เรยี น
5.2.6 ผสู้ อนอธิบายเกีย่ วกบั โครงสร้างพนื้ ฐานในการทำธุรกจิ ดิจิทัลโดยใชส้ อ่ื Power Point
5.2.7 ผู้สอนมอบหมายแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 2 ในเอกสารประกอบการเรยี น
5.2.8 ผสู้ อนเตรยี มแบบฝกึ หดั

5.3 การสรุป
5.3.1 ประเมินจากแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 2

5.4 วัดผลและประเมนิ ผล
5.4.1 ประเมินจากแบบทดสอบก่อนเรยี น
5.4.2 ประเมนิ จากแบบทดสอบหลังเรยี น

6. สอ่ื การเรียนรู/้ แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อสิ่งพิมพ์
6.1.1 หนังสอื พ้นื ฐานธุรกิจดิจทิ ลั . ประภาวรรณ เกษวริ ยิ ะการณ.์ สำนักพิมพเ์ มืองไทย

6.2 สื่อโสตทัศน์
6.2.1 ส่ือการเรียนการสอน Power Point วชิ า พน้ื ฐานธุรกจิ ดิจิทัล
6.2.2 เครื่องโปรเจค็ เตอร์
6.2.3 เครอื่ งคอมพวิ เตอร์
6.2.4 ระบบอนิ เตอรเ์ น็ตในการเรียนออนไลน์

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน)
แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 2 เรือ่ ง โครงสร้างพนื้ ฐานธรุ กจิ ดิจิทัล

8. การบูรณาการ/ความสมั พันธก์ บั วิชาอน่ื
บูรณาการรายวิชากบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

แผนการจัดการเรยี นรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 2
สอนครัง้ ท่ี 4-6
ชอื่ หน่วย โครงสรา้ งพื้นฐานธรุ กิจดิจทิ ัล
ชั่วโมงรวม 6
ช่ือเรอ่ื ง โครงสรา้ งพนื้ ฐานธุรกิจดิจิทัล จำนวนชั่วโมง 12

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรียน
วัดผลจากแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 2
9.2 ขณะเรียน
สงั เกตขณะน่ังเรยี นและทำแบบฝึกหัด
สงั เกตจากการตอบคำถาม
9.3 หลังเรียน
ประเมินจากการสรุปบทเรียนและการตอบคำถาม
ประเมนิ จากแบบทดสอบหลงั เรยี น

แผนการจดั การเรยี นร้มู ่งุ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 3
สอนครงั้ ที่ 7-10
ชอ่ื หน่วย นวัตกรรมสำหรับธรุ กจิ ดจิ ิทัล
ชอื่ เร่อื ง นวัตกรรมสำหรบั ธุรกิจดิจิทัล ชัว่ โมงรวม 8
จำนวนชั่วโมง 20

1. สาระสำคญั

เทคโนโลยีดิจิทัล ทำให้รูปแบบธุรกิจท่ีมีอยู่เกิดความต่อเน่ืองมากขึ้น หรือเกิดเป็นธุรกิจ
รูปแบบใหม่ ท่ีทำให้ธุรกิจท่ีแตกต่างกันสามารถเชื่อมถึงกันได้ท้ังหมด ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ บริการใหม่
หรือประสบการณ์ใหม่ ๆ ด้านข้อมูลและเทคโนโลยีท่ีสามารถตอบสนองการส่ือสารสองทาง และเรียลไทม์
ให้แก่ลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ นวัตกรรมด้านดิจิทัลท่ีเกิดข้ึนก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบ
เศรษฐกิจและธุรกิจ ทำให้องค์กรต่าง ๆ เห็นถึงความจำเป็นที่ต้องพัฒนากลยุทธ์เพื่อให้สามารถรักษาการ
ตลาดไว้โดยอาศัยเทคโนโลยดี ิจิทลั

2. สมรรถนะประจำหนว่ ย

2.1 แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับความหมายของนวัตกรรมธรุ กจิ ดจิ ิทัล
2.2 จำแนกข้อดแี ละข้อควรคำนึงถึงของนวตั กรรมธุรกิจดิจิทัล
2.3 อธบิ ายนวตั กรรมโมเดลธุรกิจดจิ ิทัล
2.4 เรยี งลำดับนวตั กรรมโมเดลธรุ กจิ ดจิ ิทัล
2.5 เตรยี มวัสดุอุปกรณเ์ หมาะสมกบั การปฏิบตั งิ าน
2.6 แสดงพฤติกรรมที่มเี จตคตทิ ดี่ ี ปฏิบตั งิ านด้วยความรบั ผิดชอบ ซ่ือสัตย์ ละเอียดรอบคอบ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดา้ นความรู้

3.1.1 เพอ่ื ใหม้ ีความรู้และความเข้าใจเกีย่ วกบั ความหมายของนวตั กรรมธรุ กิจดิจิทลั
3.1.2 เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจข้อดีและข้อควรคำนงึ ถงึ ของนวัตกรรมธรุ กจิ ดิจิทลั
3.1.3 เพอื่ ให้เข้าใจนวตั กรรมโมเดลธุรกจิ ดิจิทัล
3.1.4 เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจนวัตกรรมโมเดลธรุ กิจดิจิทัล
3.1.5 เพอ่ื ให้เข้าใจลำดับนวัตกรรมโมเดลธรุ กจิ ดิจิทัล
3.2 ด้านทกั ษะ

3.2.1 อธบิ ายความหมายของนวัตกรรมธรุ กิจดิจทิ ัลได้
3.2.2 จำแนกข้อดแี ละข้อควรคำนงึ ถงึ ของนวัตกรรมธุรกิจดิจิทลั ได้
3.2.3 อธบิ ายนวัตกรรมโมเดลธุรกจิ ดิจทิ ลั ได้
3.2.4 เรยี งลำดับนวัตกรรมโมเดลธุรกจิ ดจิ ทิ ัลได้

แผนการจัดการเรยี นร้มู งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 3
สอนครง้ั ท่ี 7-10
ชอ่ื หน่วย นวตั กรรมสำหรับธุรกิจดจิ ทิ ลั
ชื่อเรอื่ ง นวตั กรรมสำหรบั ธุรกิจดจิ ิทลั ชว่ั โมงรวม 8
จำนวนชว่ั โมง 20

3.3 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์

3.3.1 มีเจตคติทดี่ ี
3.3.2 ปฏิบัติงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ
3.3.3 ซ่ือสตั ย์
3.3.4 ละเอยี ดรอบคอบ

4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้

นวัตกรรมธรุ กจิ ดิจิทัล

นวัตกรรมธุรกิจดจิ ิทัล (Digital Business Innovation) หมายถึง ธรุ กจิ ผลิตภณั ฑ์และบริการใหม่ ๆ
ท่ีเกิดจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ตอบสนองความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภค ท่ี ปรับ
เปลี่ยนไปตามบริบทของเทคโนโลยีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่ท่ีไม่
เคยมมี าก่อนบนพน้ื ฐานของการหลอมรวมเทคโนโลยี ทเี่ รยี กว่า สแมคไอ (SMACI)

สแมคไอ (SMACI) หวั ใจสำคัญของธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั เพ่ือสนับสนุนธรุ กจิ ดิจทิ ัลอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
องค์ประกอบสำคัญท้งั 5 ประการนเี้ ป็นสิง่ ท่ีองค์กรควรนำมาใชเ้ พอื่ กอ่ ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด

1. Social (S) ฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลกที่เกบ็ โปรไฟลข์ องลกู ค้า
2. Mobile (M) ชอ่ งทางการตดิ ต่อส่ือสารและเชอ่ื มต่อกับอนิ เทอร์เน็ตที่ใหญ่ทส่ี ดุ ในปัจจุบนั
3. Analytics (A) วิเคราะห์ความตอ้ งการและคน้ หาความสมั พันธต์ ่าง ๆ จากฐานข้อมลู โปรไฟล์
ลกู ค้า
4. Cloud (C) เทคโนโลยสี ำคัญท่ีชว่ ยใหส้ ามารถเปดิ ธรุ กจิ ใหมแ่ ละกระจายสู่ภูมภิ าคต่าง ๆ ไดอ้ ย่าง
รวดเรว็
Internet of Things (I) อุปกรณ์สำหรับจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมต่าง ๆ เช่น การขับรถ เพื่อให้
สามารถคำนวณเบี้ยประกันจากวิธกี ารขบั รถได้ เป็นต้น

ขอ้ ดแี ละข้อควรคำนงึ ถงึ ของนวัตกรรมธรุ กจิ ดิจิทัล
1. สว่ นแบ่งตลาดเพม่ิ มากขน้ึ
2. กำไรทีเ่ พ่มิ ขนึ้
3. ประสบการณ์ของความสำเร็จจาการล้มเหลว
4. สร้างคณุ คา่ ต่อชีวิตและสังคม

แผนการจดั การเรียนรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 3
สอนคร้งั ที่ 7-10
ช่อื หน่วย นวตั กรรมสำหรับธุรกิจดจิ ทิ ัล
ช่ือเร่อื ง นวตั กรรมสำหรับธุรกิจดิจทิ ัล ชัว่ โมงรวม 8
จำนวนชัว่ โมง 20

ขอ้ ควรคำนึงถึงของนวตั กรรมธุรกิจดจิ ทิ ลั
1. นวัตกรรมธรุ กิจดิจทิ ัลเป็นค่าใชจ้ ่าย
2. ตลาดผู้บรโิ ภคไมพ่ งึ ประสงค์
3. พนกั งานวิกฤติ

นวัตกรรมโมเดลธุรกิจดจิ ิทลั
นวัตกรรมโมเดลธุรกจิ ดิจทิ ลั หมายถงึ นวัตกรรมเก่ียวกับแนวทางในการพฒั นาประเทศหรือดำเนนิ

ธุรกจิ ให้ประสบผลสำเร็จ ซ่งึ ในระดับประเทศหมายถงึ แนวทางใหม่ ๆ ในการเปลีย่ นหรอื พฒั นาประเทศให้
เติบโตอย่างย่งั ยนื และกา้ วไกลบนเวทีโลก

ระดับองค์กรนวัตกรรมโมเดลธุรกิจดิจิทัล คือ กลไกสำคัญที่จะเปล่ียนและนำองค์กรให้ประสบ
ความสำเร็จอย่างมีคุณค่าต่อสังคมและเติบโตอย่างยั่งยืน โดยในปัจจุบันนวัตกรรมโมเดลธุรกิจดิจิทัลส่วนใหญ่
ในประเทศไทย มักเปน็ การพัฒนามาจากโมเดลธรุ กิจแบบดงั้ เดิมแล้วนำมาทำงานอย่บู นแพลตฟอร์มออนไลน์

 การเรียนการสอนออนไลน์ที่เป็นการนำคลิปวิดีโอของผู้สอนหรือติวเตอร์มาอยู่บน แพลตฟอร์ม
ออนไลน์ โดยผเู้ รียนสามารถเลือกเรียนวิชาหรอื เน้ือหาใดก็ไดต้ ามความต้องการแลว้ ชำระเงนิ เป็นรายครงั้

 สังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบัน ได้เอ้ือให้เกิดข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) โดยหากผู้ประกอบการรายใด
สามารถนำข้อมูลดังกล่าวมาทำการสังเคราะห์และวิเคราะห์ได้ ก็จะสามารถสร้างความได้เปรียบทางการ
แขง่ ขนั และยงั สามารถสรา้ งโมเดลธรุ กิจใหม่ ๆ ทม่ี ีความเชื่อมโยงระหวา่ งอตุ สาหกรรมได้ มากข้ึน

 การวิเคราะห์ฐานข้อมูลทางดา้ นการรักษาพยาบาลและการดแู ลสขุ ภาพของผู้ป่วยตามโรงพยาบาล
ต่าง ๆ เพื่อนำเสนอแพค็ เกจประกนั ชีวติ หรอื ประกนั สขุ ภาพผา่ นทางแพลตฟอร์มออนไลน์

ขอ้ เสนอแนะในการสร้างนวตั กรรมโมเดลธุรกจิ ดิจทิ ัล
1. การออกแบบโมเดลธุรกจิ ใหม่หมด โดยการพิจารณาองค์ประกอบตา่ ง ๆ วา่ ในปจั จุบันจะ

สามารถเปลี่ยนแนวคิดหรือนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้แทนได้อย่างไร หรือมีโอกาสทางธุรกิจใหม่และธุรกิจ
สามารถแสวงหาผลตอบแทนทเี่ พิม่ ข้ึนได้จากการนำเสนอโมเดลธรุ กจิ ใหม่ที่พลิกโฉมหนา้ ไปอยา่ งสิ้นเชงิ

2. การปรับเปลี่ยนรูปแบบโมเดลธุรกิจเดิมให้มีประสิทธิภาพและตอบโจทย์ทางธุรกิจได้ดีข้ึน ซึ่งเป็น
การเปล่ียนแปลงในระดับน้อยกว่าวิธีแรก อาจทำได้โดยการทบทวน ปรับเปลี่ยน เพ่ิมความคล่องตัวหรือสร้าง
ความยืดหยุน่ เพ่มิ ขน้ึ

แผนการจดั การเรียนร้มู ุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 3
สอนคร้งั ที่ 7-10
ช่อื หน่วย นวตั กรรมสำหรับธุรกจิ ดิจทิ ัล
ชื่อเร่อื ง นวัตกรรมสำหรับธุรกิจดจิ ิทลั ชว่ั โมงรวม 8
จำนวนชวั่ โมง 20

กระบวนการสรา้ งนวตั กรรมสำหรบั ธรุ กิจดจิ ทิ ลั
1. การจดั การประสบการณ์ลูกค้า เปน็ กลยุทธ์ นโยบาย และกระบวนการทบี่ ริษัทใชใ้ นการ

ออกแบบ และส่งมอบการโตต้ อบระหว่างลกู ค้ากับองคก์ ร
ประสบการณ์ของลูกค้า คือการรับรู้ที่สะสมของลูกค้า ทั้งในอดีตและในอนาคตของบริษัท

ผลิตภัณฑ์หรือบริการจากการสังเกตการณ์ การเผชิญหน้า และการทำธุรกรรม การขายสินค้าและบริการใน
ตลาดท่มี ีการแขง่ ขันมากขนึ้ ภาวะเศรษฐกจิ ที่ซบเซาและความตอ้ งการทีช่ ะลอตัว ความเป็นไปได้ในการเติบโต
ของธุรกจิ ผ่านคุณสมบัติผลิตภัณฑ์และบริการท่ีเป็นนวัตกรรมมักจำกัดอยู่ ในขณะเดียวกัน ธุรกิจมีแนวโน้มที่
จะได้รบั ผลดีจากคู่แข่งและแนวคิดทมี่ ีต้นทุนต่ำกว่า และในขณะที่ข้อเสนอที่นา่ สนใจมากมาย ทำให้ความภักดี
ของลูกค้าโดยรวมลดลง นอกจากนี้บริษัทต่าง ๆ ยังมีการเปิดรับและเปิดเผยต่อสาธารณชนทั่วไปมากข้ึน
รวมถึงความคิดเห็นท่ีไม่เป็นท่ีพอใจของผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ตีพิมพ์บนอินเตอร์เน็ต หรือประสบการณ์ใน
การให้บริการลูกค้าทีไ่ มด่ ีที่แชร์กนั ในส่ือสังคมออนไลน์ทมี่ ีการแพร่ขยายอาจส่งผลตอ่ ยอดขายและผลกำไรของ
องค์กร บริษัทท่ีต้องการเพิ่มความเป็นศูนย์กลางของลูกค้า และความพึงพอใจของลูกค้า รวมถึงการบริหาร
ประสบการณ์ลกู ค้าเป็นสว่ นสำคญั ของยุทธศาสตรท์ างธุรกิจ และแปลงกลยุทธ์ ใหเ้ ป็นธุรกิจจริง แม้ว่าแนวทาง
การจดั การประสบการณ์ลูกค้า จะมงุ่ เน้นไปทีล่ กู ค้า และพนกั งาน โดยคำนึงถึงเทคโนโลยดี ้วย

2. นวัตกรรมทางสินค้าและบริการ นวัตกรรมทางสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ เป็นการนำนวัตกรรมมา
พัฒนาและปรับปรุงสินค้าใหม่ เพ่ือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและ คุณสมบัติใน
การใช้งาน วิธีใช้งาน หรือยืดอายุการใช้งาน/การเก็บรักษา เพ่ือสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าเพ่ือตอบสนอง
ความ ตอ้ งการของลูกค้าได้มากขึ้น และเพิม่ โอกาสในการกําหนดราคาขายไดส้ ูงข้ึน

นวัตกรรมการบริการ เป็นการนำนวัตกรรมมาพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบและข้ันตอนการ
ให้บริการ เพ่ือบริการที่ตรงกับความต้องการลูกค้า โดยเน้นการอํานวยความสะดวก และความรวดเร็วในการ
เข้ารับบรกิ าร เพื่อสรา้ งความแตกตา่ งในการบริการ เพื่อความพงึ พอใจให้กบั ลกู ค้า

3. เทคโนโลยีดิจิทัล บริษัทและองค์กรได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อปรับปรุงส่วนงาน
ต่าง ๆ เช่น การตลาด รูปแบบการทำงาน การดำเนินงาน และการบำรุงรักษาย่ิงไปกว่านั้น โครงการปรับปรุง
ดังกล่าวได้ก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางด้านธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม เช่น รายได้เพิ่มข้ึน สัมพันธภาพกับลูกค้าดีขึ้น
กว่าเดิม เป็นต้น การเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรโดยอาศัยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสร้างคุณประโยชน์ท่ี
สำคญั สำหรบั ธรุ กจิ และสังคม จะถอื เป็นกุญแจสำคัญในการขับเคลอ่ื นธุรกิจ

แผนการจดั การเรียนร้มู งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 3
สอนครง้ั ท่ี 7-10
ชอื่ หน่วย นวตั กรรมสำหรับธรุ กิจดิจทิ ลั
ช่ือเรอื่ ง นวัตกรรมสำหรับธุรกิจดจิ ทิ ลั ชั่วโมงรวม 8
จำนวนช่วั โมง 20

4. การปฏิบัติตามดิจิทัล ผู้ใช้งานสื่อดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์ท่ีเข้าใจบรรทัดฐานของการปฏิบัติ
ตัวให้เหมาะสมและมคี วามรบั ผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการส่ือสารในยคุ ดิจทิ ลั เป็นการ

สื่อสารท่ีไร้พรมแดน พลเมืองดิจิทัลจึงต้องเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม เห็นอกเห็นใจและ
เคารพผูอ้ นื่ มสี ว่ นร่วม และมุ่งเนน้ ความเปน็ ธรรมในสังคม

5. การจัดการความเสี่ยง เป็นกระบวนการในการระบุ (Risk Identification) การวิเคราะห์ (Risk
Analysis) การประเมิน (Risk Assessment) การดูแลตรวจสอบและควบคุมความเสี่ยง (Risk Control) ที่
สัมพันธ์กับกิจกรรมและกระบวนการทำงาน เพ่ือให้องค์กรลดความเสียหาย จากความเส่ียงมากที่สุด อัน
เนื่องมาจากความเสี่ยงท่ีองค์กรต้องเผชิญในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ในการทำธุรกิจ องค์กรย่อมมีการกำหนด
วัตถุประสงค์ของภาพรวม (Objective Establishment) องค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีชัดเจน และสามารถ
วัดผลได้

6. การปรับปรุง การควบคุมดูแลกิจการ การกำกับดูแลกิจการเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพขององคก์ ร ซึ่งเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ เจ้าของและผู้มี
ส่วนได้เสียอ่ืน การกำกับ ดูแลกิจการยังช่วยให้เกิดโครงสร้างท่ีสำคัญ ซึ่งเป็นกลไกในการกำหนดวัตถุประสงค์
ของกิจการ และการกำหนดวิธีท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์เหล่านั้น รวมถึงการสอดส่องดูแลผลการปฏิบัติงานของ
กิจการ

วัตถุประสงค์หลักในการกำกับดูแลกิจการ คือ การกำกับ การติดตาม การควบคุม และการดูแล ผู้ที่
ได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้ไปทำหน้าท่ีทางการบริหาร เพ่ือให้ทรัพยากรขององค์กรได้นำไปใช้ อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล ตรงตามเป้าหมาย อย่างค้มุ ค่า ท้งั น้ีเพอ่ื ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ตอบแทนกลับไปยังผู้
มีสว่ นไดเ้ สยี ทุกฝ่ายอยา่ งเป็นธรรม กล่าวโดยสรุป การกำกบั ดแู ลกิจการชว่ ย สร้างมลู ค่าของกิจการ

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1 การนำเข้าสู่บทเรยี น
5.1.1 ผู้สอนเตรียมสอื่ เพาเวอร์ พอยต์ (Power Point) ตามลิงค์
5.1.2 ผ้สู อนเตรียมสือ่ เพาเวอร์ พอยต์ ตาม QR-CODE
5.1.3 ผูส้ อนทำการสอนทง้ั ในห้องเรียน และ ทางออนไลน์ กล่าวทักทายผู้เรียน
5.1.4 ผู้สอนตรวจสอบรายชื่อผูเ้ รียน

แผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 3
สอนครง้ั ท่ี 7-10
ช่ือหน่วย นวัตกรรมสำหรับธุรกจิ ดิจิทลั
ชื่อเรื่อง นวตั กรรมสำหรบั ธุรกิจดจิ ทิ ลั ชวั่ โมงรวม 8
จำนวนชวั่ โมง 20

5.1.5 ผสู้ อนใหผ้ ู้เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพือ่ ทดสอบความรขู้ องผเู้ รียน
5.1.6 ผู้สอนเตรยี มแบบทดสอบก่อนเรียน ตาม QR-CODE
5.2 การเรียนรู้
5.2.1 ผู้สอนอธบิ ายนวัตกรรมธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั โดยใช้ส่อื Power Point
5.2.2 ผู้สอนตั้งคำถามกับผู้เรยี นเกี่ยวกับนวตั กรรมธุรกิจดิจิทลั

5.2.3 ผู้เรยี นตอบคำถาม
5.2.4 ผู้สอนอธบิ ายข้อดแี ละข้อควรคำนงึ ถงึ ของนวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล โดยใช้ส่อื Power

Point
5.2.5 ผู้สอนตงั้ คำถามกับผเู้ รยี น
5.2.6 ผู้สอนอธิบายเก่ียวกบั นวตั กรรมโมเดลธรุ กจิ ดจิ ิทัลโดยใชส้ ื่อ Power Point
5.2.7 ผู้สอนอธิบายเก่ยี วกับข้อเสนอแนะในการสร้างนวตั กรรมโมเดลธรุ กิจดจิ ิทัล โดยใชส้ ือ่

Power Point
5.2.8 ผสู้ อนอธิบายเกีย่ วกับกระบวนการสร้างนวตั กรรมสำหรับธุรกิจดิจทิ ัล โดยใชส้ ่ือ

Power Point
5.2.9 ผสู้ อนมอบหมายแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 3 ในเอกสารประกอบการเรยี น
5.2.10 ผสู้ อนเตรียมแบบฝึกหดั

5.3 การสรุป
5.3.1 ประเมินจากแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 3

5.4 วดั ผลและประเมนิ ผล
5.4.1 ประเมนิ จากแบบทดสอบก่อนเรียน
5.4.2 ประเมนิ จากแบบทดสอบหลังเรยี น

6. สื่อการเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
6.1 สื่อสิ่งพมิ พ์
6.1.1 หนังสอื พน้ื ฐานธุรกจิ ดิจทิ ลั . ประภาวรรณ เกษวริ ิยะการณ์. สำนักพิมพ์เมืองไทย

แผนการจัดการเรยี นร้มู งุ่ เน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 3
สอนคร้งั ที่ 7-10
ช่ือหน่วย นวตั กรรมสำหรับธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล
ชอ่ื เร่อื ง นวตั กรรมสำหรบั ธุรกิจดิจทิ ัล ช่ัวโมงรวม 8
จำนวนชวั่ โมง 20

6.2 ส่ือโสตทศั น์
6.2.1 สื่อการเรยี นการสอน Power Point วิชา พน้ื ฐานธรุ กจิ ดจิ ิทัล
6.2.2 เครอื่ งโปรเจ็คเตอร์
6.2.3 เครื่องคอมพิวเตอร์
6.2.4 ระบบอินเตอร์เน็ตในการเรียนออนไลน์

7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน)
แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 3 เร่อื ง นวัตกรรมสำหรับธุรกจิ ดจิ ิทลั

8. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอืน่
บูรณาการรายวชิ ากับหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรยี น
วัดผลจากแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 3

9.2 ขณะเรียน
สงั เกตขณะน่งั เรียนและทำแบบฝึกหัด
สังเกตจากการตอบคำถาม

9.3 หลงั เรยี น
ประเมินจากการสรปุ บทเรียนและการตอบคำถาม
ประเมนิ จากแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยที่ 3

แผนการจัดการเรียนรูม้ ุง่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 4
สอนครัง้ ที่ 11-14
ชอ่ื หน่วย ระบบการทำธุรกรรมในธรุ กิจดจิ ิทลั
ชอื่ เรือ่ ง ระบบการทำธุรกรรมในธรุ กิจดจิ ิทลั ชัว่ โมงรวม 8
จำนวนช่ัวโมง 28

1. สาระสำคญั

โลกออนไลน์ได้สร้างการเปล่ียนแปลงด้านพฤติกรรมและทัศนคติของผู้บริโภคในการทำ
ธุรกรรมทางการเงนิ และการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีในโลกการเงินได้ส่งผลให้เกดิ รูปแบบการให้บริการทาง
การเงินต่าง ๆ ท่ีอำนวยความสะดวก และตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคยุคใหม่ โดยเฉพาะการ
ทำธุรกรรมทางการเงินสมัยใหม่ท่ีสามารถทำธุรกรรมการเงินได้ทุกท่ี ทุกเวลา รวดเร็ว และสะดวกสบาย
ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต เป็นต้น โดยผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะใช้
บรกิ ารดิจติ อลแบงค์ก้ิง (Digital Banking) เพม่ิ ขน้ึ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการใชบ้ รกิ ารอินเตอร์เนต็ แบงค์
ก้ิง (Internet Banking) และโมบายแบงค์กิ้ง (Mobile Banking) เพราะสะดวกสบายกว่า และสามารถทำ
ธุรกรรมได้อยา่ งรวดเรว็ ตลอดเวลาด้วยตนเองโดยไมต่ ้องไปทีส่ าขาของธนาคาร

2. สมรรถนะประจำหน่วย

2.1 แสดงความรเู้ กยี่ วกับความหมายของของธรุ กรรมและธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
2.2 จำแนกความแตกต่างของรูปแบบการทำธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
2.3 เลือกใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีในการทำธุรกรรมดิจิทัล
2.4 จำแนกข้อดีและขอ้ เสียของการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีเพือ่ ทำธรุ กรรม
2.5 เตรียมวสั ดุอปุ กรณเ์ หมาะสมกบั การปฏบิ ัตงิ าน
2.6 แสดงพฤตกิ รรมท่ีมีเจตคติท่ดี ี ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรับผิดชอบ ซอ่ื สัตย์ ละเอียดรอบคอบ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 ดา้ นความรู้

3.1.1 เพื่อใหม้ คี วามรู้และความเข้าใจเกีย่ วกับความหมายของของธุรกรรมและธุรกรรมทาง
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

3.1.2 เพ่อื ให้เขา้ ใจความแตกต่างของรูปแบบการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
3.1.3 เพ่ือให้เขา้ ใจนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการทำธรุ กรรมดิจิทัล
3.1.4 เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจขอ้ ดีและขอ้ เสียของการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อทำธรุ กรรม

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 4
สอนครง้ั ท่ี 11-14
ชือ่ หน่วย ระบบการทำธุรกรรมในธรุ กจิ ดิจิทัล
ช่ือเรอื่ ง ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล ชวั่ โมงรวม 8
จำนวนช่ัวโมง 28

3.2 ด้านทกั ษะ

3.2.1 อธิบายความหมายของธรุ กรรมและธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ได้
3.2.2 จำแนกความแตกต่างของรูปแบบการทำธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้
3.2.3 เลอื กใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยใี นการทำธุรกรรมดิจทิ ัลได้
3.2.4 จำแนกข้อดีและข้อเสียของการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื ทำธุรกรรมได้

3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์

3.3.1 มเี จตคติทด่ี ี
3.3.2 ปฏิบตั งิ านด้วยความรับผดิ ชอบ
3.3.3 ซอ่ื สตั ย์
3.3.4 ละเอียดรอบคอบ

4. เนอื้ หาสาระการเรยี นรู้

ความหมายของธรุ กรรม
ธรุ กรรม (transaction) หมายถึง กจิ กรรมท่ีเก่ียวกบั การทำนิติกรรม สัญญา หรอื การดำเนนิ การใด ๆ

กบั ผู้อ่ืน การประกอบกิจกรรมอยา่ งใดอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะดา้ นธรุ กจิ และการเงิน เช่น การฝากเงนิ ในธนาคาร
เป็นการทำธุรกรรมอย่างหน่ึง การจ่ายค่าบริการโดยหักบัญชีจากธนาคาร เป็นธุรกรรมที่นิยมกันมากใน
ปัจจุบนั อนิ เตอร์เน็ตทำใหเ้ ราสามารถทำธุรกรรมไดโ้ ดยไม่ต้องใชก้ ระดาษ

ธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำข้ึนระหว่าง

หน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรฐั ใด ๆ เพ่ือวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การคา้ และ
การติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ท้ังหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซ้ือ-ขาย
สินค้าผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์ การตกลง
ทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่าง ๆ บนเครือข่าย การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่าน
ระบบเครือข่าย การสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการส่ือสาร และการสอบถามข้อมูลผ่าน
ระบบออนไลน์ เป็นตน้

แผนการจดั การเรยี นรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 4
สอนครั้งที่ 11-14
ช่อื หน่วย ระบบการทำธุรกรรมในธรุ กิจดิจิทลั
ชือ่ เร่ือง ระบบการทำธรุ กรรมในธรุ กิจดจิ ทิ ัล ชว่ั โมงรวม 8
จำนวนชว่ั โมง 28

ระบบธรุ กรรมดิจิทลั
ในยุคดิจิทัลที่แทบจะกลายเป็นสังคมไร้เงินสดอย่างเบ็ดเสร็จ เพราะไม่ว่าจะทำธุรกรรมใด ๆ ก็

สามารถทำผ่านแค่ปลายน้ิว ผ่านสมาร์ทโฟน ได้แทบทุกท่ีและทำได้ทุกคนที่มีบัญชีธนาคารหรือมีพร้อมเพย์
ร้านค้าร้านอาหารต่างก็มีบริการระบบจ่ายเงิน ชำระเงินผ่านคิวอาร์โค้ด (QR code) ซ่ึงสร้างความ
สะดวกสบาย อีกท้ังทุกการจ่ายและชำระเงินน้ันก็จะบันทึกลงไปอย่างอัตโนมัติ สามารถตรวจสอบการโอนได้
แบบ เรียลไทม์ (Real Time) ไม่ตอ้ งคอยเช็คสมุดเงนิ ฝาก (Bank book) ให้เสียเวลา กล่าวได้วา่ ระบบธุรกรรม
ดิจทิ ัลนัน้ ได้เข้ามามีบทบาทกบั สังคมไทย ทกุ ธนาคารนั้นต่างก็มแี อพพลิเคชนั่ ที่ใช้ในการทำธรุ กรรม

รูปแบบการทำธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์
นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการทำธรุ กรรม มี ดงั นี้
1. คิวอาร์โค้ด (QR Code) ระบบชำระเงินรูปแบบใหม่ ไม่ต้องใช้เงินสด QR Code มาจากคำ

ว่า "Quick Response Code" ซ่ึงเป็นรหัสที่พัฒนาต่อยอดมาจากบาร์โค้ด (Barcode) ให้สามารถใช้งานง่าย
ขน้ึ เก็บข้อมูลได้มากกว่า เพียงแค่มสี มาร์ทโฟน ก็สามารถสแกนข้อมูลผ่าน QR Code ได้แล้ว ทำให้จะเห็นว่า
ปจั จุบันนิยมนำ QR Code มาเป็นช่องทางเข้าถงึ ขอ้ มูลในเว็บไซต์หรอื แอพพลิเคชนั ต่าง ๆ เชน่ การเพ่ิมเพื่อน
ในไลนก์ ็เป็นหนึ่งในความสามารถของ QR Code เชน่ กนั

2. อินเทอร์เน็ตแบงค์กิ้ง (Internet Banking) การธนาคารอินเทอร์เน็ต โดยมีช่ือเรียกมากมาย
เช่น อีแบงค์กิ้ง (E-Bankin) การธนาคารเสมือนจริง (Virtual Banking) การธนาคารออนไลน์ (Online
Banking) การธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Banking) เป็นระบบที่ใช้ในการชำระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์
โดยมีลูกค้าของสถาบันการเงินทำธุรกรรมทางด้านการเงิน เช่น ซื้อสินค้า เสื้อผ้า กระเป๋า ไดห้ ลายรูปแบบโดย
ผ่านเว็บไซน์ของสถาบันการเงินนั้น ๆ ที่ลูกค้าเป็นสมาชิกอยู่ โดยตัวระบบการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์มัก
เช่ือมตอ่ กบั ระบบธนาคารแกน โดยระบบธนาคารแกนจะมสี ถาบันการเงินเป็นผบู้ รหิ ารจัดการ โดยจะมคี วาม
แตกตา่ งจากการธนาคารสาขาซ่งึ การธนาคารสาขาจะมวี ิธีการแบบด้ังเดิมคอื ตอ้ งให้ลูกค้าเข้าถงึ การบริการของ
การธนาคารเอง

3. โมบายแบงค์ก้ิง (Mobile Banking) โมบายแบงค์กิ้ง (Mobile Banking) คล้ายอินเตอร์เน็ตแบงค์
ก้ิง (Internet Banking) เพียงแต่เป็นการใช้บริการผ่านแอพพลิเคชันของธนาคาร ทำให้สามารถโอนเงิน
สอบถามยอดในบัญชี ซื้อสินค้าและบริการจ่ายบิลต่าง ๆ ผ่านแอพพลิเคชันบนโทรศัพท์มอื ถือหรือสมาร์ทโฟน
ได้เลย ซง่ึ แต่ละธนาคารมีการพฒั นาแอพพลเิ คชนั โมบายแบงค์ก้ิง ใหอ้ ำนวยความสะดวกในการซือ้ ขายของ

แผนการจดั การเรียนรู้ม่งุ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 4
สอนครง้ั ท่ี 11-14
ช่อื หน่วย ระบบการทำธรุ กรรมในธุรกิจดิจิทลั
ชื่อเรือ่ ง ระบบการทำธรุ กรรมในธุรกจิ ดิจิทลั ชัว่ โมงรวม 8
จำนวนช่วั โมง 28

ออนไลน์มากข้ึนเพื่อเข้ากับพฤติกรรมการใช้งานของผู้บริโภคในปัจจุบัน เช่น K PLUS ของธนาคารกสิกรไทย
เป็นต้น

4. พรอมต์เพย์ (PromptPay) เดิมมีชื่อว่า AnyID คือ ระบบการทำธุรกรรมแบบ E-Payment ท่ีผูก
บญั ชีเงินฝากไว้กบั หมายเลขโทรศัพทม์ ือถือ หรอื เลขบัตรประชาชน ทำให้ไม่ตอ้ งเสียเวลาจำเลขบัญชีท่ียาวและ
จำยาก โดยเกดิ จากความรว่ มมือระหวา่ งธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทย

5. บัตรเครดิต (Credit Card) คือ บัตรท่ีธนาคารพาณิชย์ หรือผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิตออก
ให้กับลูกค้าที่รายได้ต่อเดือนถึงเกณฑ์ เพ่ือท่ีจะสามารถนำเงนิ มาใชจ้ ่ายล่วงหน้า ท้ังซอ้ื สินค้าและบริการต่าง ๆ
ทั้งยังซ้ือของออนไลน์ จองต๋ัวเครื่องบิน และจ่ายค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ โดยต้องชำระหนี้ในภายหลังพร้อม
อัตราดอกเบี้ยทก่ี ำหนดไว้ นอกจากนี้บตั รเครดิตยังชว่ ยลดการพกพาเงินสดจำนวนมากท่ีเสี่ยงต่อการสูญหาย

6. บัตรกดเงินสด (Cash Card) คือ บัตรท่ีใช้กดเงินสดออกจากตู้เอทีเอ็มในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ
ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนยี มการกดเงินสดเหมือนกับบัตรเครดติ แต่ไม่สามารถใช้ซื้อสินค้าหรือซ้ือสนิ คา้ ออนไลน์ได้
ยกเว้นสำหรับบางบตั รท่ีใชผ้ ่อนสินค้ากับรา้ นค้าท่ีรว่ มรายการได้

7. อีวอลเล็ท (e - Wallet) มีชื่อเรียกอย่างอื่นว่า โมบายวอลเล็ท (Mobile Wallet) หรือ ดิจิทัล
วอลเล็ท (Digital Wallet) คือ กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ โดยเติมเงินจากบัญชีธนาคารเข้าแอพพลิเคช่ัน อี
วอลเล็ท ไม่มีกำหนดขั้นต่ำ สำหรับผู้ที่เคยสมัครพรอมต์เพย์ (PromptPay) โดยใช้เบอร์โทรศัพท์มือถือ
สามารถนำมาสมัครได้เช่นกัน โดยจะเพ่ิมรหัสบริษัทผู้ให้บริการอีก 5 หลัก รวมเป็น 15 หลัก เวลาจะเติมเงิน
เข้าอีวอลเล็ทตอ้ งระบุหมายเลข 15 หลกั ไมอ่ ย่างนัน้ จะเป็นการโอนเงนิ เขา้ บัญชธี นาคารแทน

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 การนำเขา้ ส่บู ทเรียน
5.1.1 ผูส้ อนเตรียมส่ือเพาเวอร์ พอยต์ (Power Point)
5.1.2 ผสู้ อนเตรยี มสื่อเพาเวอร์ พอยต์
5.1.3 ผสู้ อนทำการสอนทั้งในห้องเรียน และ ทางออนไลน์ กล่าวทกั ทายผเู้ รยี น
5.1.4 ผูส้ อนตรวจสอบรายชือ่ ผู้เรยี น
5.1.5 ผสู้ อนให้ผ้เู รียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพอ่ื ทดสอบความร้ขู องผู้เรียน
5.1.6 ผ้สู อนเตรียมแบบทดสอบก่อนเรียน

แผนการจดั การเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 4
สอนครัง้ ที่ 11-14
ชอ่ื หน่วย ระบบการทำธรุ กรรมในธรุ กิจดจิ ิทัล
ชอ่ื เรอ่ื ง ระบบการทำธุรกรรมในธรุ กจิ ดิจิทัล ช่วั โมงรวม 8
จำนวนชวั่ โมง 28

5.2 การเรยี นรู้
5.2.1 ผู้สอนอธิบายความหมายของธรุ กรรมโดยใชส้ ่ือ Power Point
5.2.2 ผู้สอนตง้ั คำถามกับผู้เรยี นเกย่ี วกบั ความหมายของธุรกรรม
5.2.3 ผเู้ รียนตอบคำถาม

5.2.4 ผสู้ อนอธบิ ายธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยใชส้ ่ือ Power
5.2.5 ผสู้ อนต้งั คำถามกับผ้เู รียน
5.2.6 ผู้สอนอธิบายเก่ียวกบั ระบบธุรกรรมดจิ ทิ ัล โดยใช้สื่อ Power Point ผสู้ อนอธิบาย

เกย่ี วกบั รูปแบบการทำธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ โดยใชส้ ่ือ Power Point
5.2.7 ผสู้ อนอธิบายยกตัวอยา่ งรูปแบบการทำธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยใชส้ อ่ื Power

Point
5.2.8 ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 4 ในเอกสารประกอบการเรียน
5.2.9 ผสู้ อนเตรียมแบบฝกึ หัด

5.3 การสรปุ

5.3.1 ประเมินจากแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 4

5.4 วดั ผลและประเมินผล
5.4.1 ประเมินจากแบบทดสอบก่อนเรยี น
5.4.2 ประเมนิ จากแบบทดสอบหลังเรียน

6. สือ่ การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
6.1 ส่ือสง่ิ พมิ พ์
6.1.1 หนงั สอื พน้ื ฐานธุรกิจดจิ ทิ ลั . ประภาวรรณ เกษวริ ยิ ะการณ์. สำนักพิมพเ์ มืองไทย

6.2 ส่ือโสตทัศน์
6.2.1 สอื่ การเรยี นการสอน Power Point วิชา พนื้ ฐานธุรกิจดิจทิ ัล
6.2.2 เคร่ืองโปรเจค็ เตอร์
6.2.3 เครื่องคอมพวิ เตอร์
6.2.4 ระบบอินเตอร์เน็ตในการเรียนออนไลน์

แผนการจดั การเรยี นร้มู งุ่ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 4
สอนครงั้ ท่ี 11-14
ช่อื หน่วย ระบบการทำธรุ กรรมในธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล
ชอ่ื เรื่อง ระบบการทำธรุ กรรมในธรุ กิจดจิ ทิ ลั ช่ัวโมงรวม 8
จำนวนชวั่ โมง 28

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน)
แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 4 เรอ่ื งระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดจิ ิทัล

8. การบรู ณาการ/ความสมั พันธ์กบั วิชาอ่นื
บูรณาการรายวิชากับหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

9. การวัดและประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรียน
วดั ผลจากแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยท่ี 4

9.2 ขณะเรียน
สงั เกตขณะนง่ั เรยี นและทำแบบฝึกหัด
สงั เกตจากการตอบคำถาม

9.3 หลังเรียน
ประเมนิ จากการสรุปบทเรียนและการตอบคำถาม
ประเมินจากแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยที่ 4

แผนการจดั การเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 5
สอนครง้ั ท่ี 15-18
ชื่อหน่วย สื่อสังคมออนไลน์กบั ธรุ กจิ ดิจทิ ลั
ช่ือเรื่อง สื่อสงั คมออนไลน์กับธุรกจิ ดิจิทลั ชั่วโมงรวม 8
จำนวนชั่วโมง 36

1. สาระสำคญั

ปัจจุบันการสื่อสารของมนุษย์ได้รับการพัฒนาให้ส่ือสารถึงกันอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลมาจาก
ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ทีไ่ ด้เข้ามามีบทบาทในชีวติ ประจำวนั ของมนุษย์มากขึ้น สื่อชนิดหน่ึง
ท่ีผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมสร้าง และแลกเปล่ียนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ คือ ส่ือสังคม
(social media) หรอื ที่นยิ มเรยี กว่า สอ่ื ออนไลน์ หรอื สื่อสงั คมออนไลน์

ส่ือสังคมออนไลน์(Social Media) เป็นรูปแบบการสื่อสารข้อมูลที่เข้าถึงผู้คนทุกระดบั ในปัจจุบัน โดย
มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ภายใต้การพัฒนาตลอดเวลาของเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ซ่ึงมีแนวโน้มจะ
กลายเปน็ สือ่ หลักสำหรับผคู้ นในโลกอนาคต

2. สมรรถนะประจำหนว่ ย

2.1 แสดงความรู้เก่ยี วกับความหมายของสื่อสงั คมออนไลน์
2.2 จำแนกประเภทของส่ือสงั คมออนไลน์
2.3 เลือกใช้อปุ กรณ์เคร่ืองมือทางส่ือสังคมออนไลน์
2.4 จำแนกประโยชน์และข้อจำกดั ของสงั คมออนไลน์
2.5 จำแนกขอ้ ดีและข้อเสยี ของสอ่ื สงั คมออนไลน์
2.6 เลอื กใชส้ ่อื สังคมออนไลน์
2.7 เตรยี มวัสดอุ ปุ กรณเ์ หมาะสมกับการปฏบิ ัติงาน
2.8 แสดงพฤติกรรมที่มเี จตคติทดี่ ี ปฏิบัติงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ ซ่ือสตั ย์ ละเอยี ดรอบคอบ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

3.1 ดา้ นความรู้

3.1.1 เพื่อใหม้ คี วามรู้และความเข้าใจเกยี่ วกับความหมายของสื่อสังคมออนไลน์
3.1.2 เพอ่ื ให้เขา้ ประเภทของส่อื สังคมออนไลน์
3.1.3 เพื่อให้เข้าใจอุปกรณ์เคร่ืองมือทางส่อื สงั คมออนไลน์
3.1.4 เพอื่ ให้เขา้ ใจประโยชน์และข้อจำกดั ของสงั คมออนไลน์
3.1.5 เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจข้อดีและข้อเสียของสื่อสงั คมออนไลน์
3.1.6 เพือ่ ให้เขา้ ใจการใช้สื่อสังคมออนไลน์

แผนการจดั การเรยี นร้มู ุง่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 5
สอนครั้งที่ 15-18
ช่ือหน่วย สื่อสังคมออนไลน์กับธรุ กิจดิจิทลั
ชอื่ เรื่อง สอ่ื สงั คมออนไลน์กับธรุ กิจดจิ ทิ ัล ชัว่ โมงรวม 8
จำนวนชว่ั โมง 36

3.2 ด้านทกั ษะ

3.2.1 อธิบายความหมายของสอ่ื สงั คมออนไลน์ได้
3.2.2 จำแนกประเภทของสอ่ื สังคมออนไลน์ได้
3.2.3 เลอื กใช้อุปกรณ์เคร่อื งมือทางสอื่ สังคมออนไลน์ได้
3.2.4 จำแนกประโยชน์และขอ้ จำกัดของสงั คมออนไลน์ได้
3.2.5 จำแนกข้อดแี ละข้อเสียของส่ือสงั คมออนไลน์ได้
3.2.6 เลอื กใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้

3.3 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์

3.3.1 มีเจตคตทิ ีด่ ี
3.3.2 ปฏิบัตงิ านดว้ ยความรับผิดชอบ
3.3.3 ซือ่ สตั ย์
3.3.4 ละเอียดรอบคอบ

4. เนอ้ื หาสาระการเรียนรู้

ความหมายของส่อื สงั คมออนไลน์
ส่อื สังคมออนไลน์ (social media) หมายถึง สอ่ื ดิจทิ ัลซ่ึงเปน็ ส่ือกลางท่ีให้บุคคลทั่วไปมีส่วนรว่ มสร้าง

และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่านอินเตอร์เน็ตได้ เป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม (Social
Tool) เพื่อใช้ส่ือสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรม
ประยุกต์บนส่ือใด ๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วน
รว่ ม (Collaborative) อยา่ งสร้างสรรค์ ในการผลิตเน้อื หาขึ้นเอง (User-GenerateContent: UGC) ในรูปของ
ขอ้ มูล ภาพ และเสียง ส่ือเหล่านี้เป็นของบริษัทต่าง ๆ ที่ให้บริการผา่ นเว็บไซต์ของตน เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์
วกิ พิ ีเดยี เป็นตน้

ประเภทของสอ่ื สงั คมออนไลน์
1. เว็บบล็อก (Weblogs) หรือเรียกส้ัน ๆ ว่า บล็อก (Blogs) คือ สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตท่ี

ใชเ้ ผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสาร ความรู้ ขอ้ คดิ เหน็ บนั ทึกสว่ นตวั โดยสามารถแบ่งปันใหบ้ คุ คลอื่น ๆ โดยผรู้ บั สาร

แผนการจัดการเรียนรูม้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 5
สอนครง้ั ท่ี 15-18
ช่อื หน่วย สื่อสังคมออนไลนก์ บั ธุรกจิ ดจิ ิทัล
ช่ือเร่ือง ส่อื สังคมออนไลน์กับธุรกิจดิจิทัล ช่ัวโมงรวม 8
จำนวนชวั่ โมง 36

สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ ซึ่งการแสดงเนื้อหาของบล็อกนั้นจะเรียงลำดับจาก
เนอื้ หาใหม่ไปสเู่ น้อื หาเกา่ ผู้เขียนและผอู้ า่ นสามารถค้นหาเนอ้ื หายอ้ นหลังเพอ่ื อ่านและแก้ไขเพ่ิมเติมได้

ตลอดเวลา เช่น เอ็กซ์ทีน (Exteen) บล็อกแก๊งค์ (Bloggang) เวิร์ดเพรส (Wordpress) บล็อกเกอร์
(Blogger) เป็นต้น

2. เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking) หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็น
เครือข่ายทางสังคมท่ีใช้สำหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพ่ือให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social
Community) เพ่ือร่วมกันแลกเปล่ียนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา
เชน่ เฟสบุค๊ (Facebook) ลิงคอ์ นิ (Linkedin) มายสเปซ (MySpace) เป็นต้น

3. บล็อกจิ๋ว (Micro Blogging และ Micro Sharing) ซึ่งเป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการ
แก่บุคคลท่ัวไป สำหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้น ๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status”
หรือ “Notice” เพ่ือแสดงสถานะของตัวเองว่ากำลังทำอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ แก่กลุ่มเพื่อนในสังคม
ออนไลน์ (Online Social Network) ทั้งน้ีการกำหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปข้อความส้ัน ๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ท่ีเป็นท้ัง
ผเู้ ขียนและผ้อู ่านเข้าใจง่าย ทน่ี ยิ มใช้กันอย่างแพร่หลายคอื ทวติ เตอร์ (Twitter)

4. วิดีโอออนไลน์ (Online Video) เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซ่ึง
ปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างแพรห่ ลายและขยายตัวอย่างรวดเรว็ เนื่องจากเน้ือหาท่ีนำเสนอในวิดีโอออนไลน์
ไม่ถกู จำกดั โดยผังรายการท่ีแนน่ อนและตายตัว ทำให้ผูใ้ ชบ้ ริการสามารถติดตามชมได้อย่างต่อเน่ือง เพราะไมม่ ี
โฆษณาคั่น รวมทง้ั ผู้ใชส้ ามารถเลอื กชมเน้อื หาได้ตามความต้องการและยงั สามารถเชอื่ มโยงไปยังเวบ็ วิดีโออ่นื ๆ
ที่เกยี่ วขอ้ งไดจ้ ำนวนมากอกี ดว้ ย เชน่ ยูทปู (Youtube) เอม็ เอสเอ็น (MSN) ยาฮู (Yahoo) เป็นต้น

5. บริการแชร์ภาพ (Photo Sharing) เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพ หรือวิดีโอผ่าน ไอ
คลาวด์ (iCloud)โดยผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลดรูปภาพเพ่ือนำมาใช้งานได้ ที่สำคัญ
นอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพื้นท่ีเพื่อเสนอขายภาพที่ตนเอง
นำเขา้ ไปฝากได้อกี ด้วย เช่น ฟลิคเกอร์ (Flickr) โฟโตบัคเก็ต ( Photo bucket) เปน็ ตน้

6. วิกิ (Wikis) เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซ่ึงผู้เขียน
ส่วนใหญ่อาจจะเป็นนกั วชิ าการ นักวิชาชีพหรือผ้เู ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นตา่ ง ๆ ท้ังการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม ซ่ึงผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น วิกิพีเดีย (Wikipedia) กูเกิ้ลเอิร์ท
(Google Earth) เป็นต้น

แผนการจดั การเรียนรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 5
สอนครงั้ ที่ 15-18
ชื่อหน่วย สื่อสังคมออนไลนก์ บั ธุรกิจดิจิทัล
ชือ่ เรอื่ ง สื่อสงั คมออนไลน์กับธรุ กิจดิจทิ ัล ชวั่ โมงรวม 8
จำนวนช่ัวโมง 36

7. โลกเสมือน (Virtual Worlds) คือ การสร้างโลกจินตนาการโดยจำลองส่วนหน่ึงของชีวิตลงไป
จัดเป็นส่ือสังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพ่ือสื่อสารระหว่างกันบนอินเตอร์เน็ตในลักษณะโลก
เสมือนจริง (Virtual Reality : VR) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้าน
การศึกษา รวมถึงองค์การด้านส่อื เช่น สำนักขา่ วรอยเตอร์ สำนักขา่ วซเี อ็นเอน็ ตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่ายในการซ้อื

พ้ืนที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กรได้มีช่องทางในการนำเสนอเร่ืองราวต่าง ๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้ส่ือ
ออนไลน์

8. ปัญญารวมหมู่ (Crowd Sourcing) มาจากการรวมของคำสองคำ คือ Crowd และ Out
sourcing เป็นหลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรูปของ
เว็บไซต์ท่มี วี ัตถุประสงคห์ ลักเพ่ือค้นหาคำตอบและวิธีการแก้ปญั หาต่าง ๆ ทงั้ ทางธุรกิจ การศึกษา รวมทงั้ การ
สื่อสาร

9. พอดแคสต้ิง (Podcasting หรอื Podcast) มาจากการรวมตัวของสอง คือ “Pod” กับ “Broad
casting คำ” ซึ่ง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการส่วนบุคคล ส่วน
“Broadcasting” เป็นการนำสื่อต่าง ๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าวง่าย ๆ พอดแคสท์ คือ
การบันทึกภาพและเสียงแล้วนำมาไวใ้ นเว็บเพจ (Web Page) เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in
general) ทสี่ นใจดาวน์โหลดเพือ่ นำไปใชง้ าน เช่น วิกกลพี อดคาสท์ (Wiggly Podcast) เป็นต้น

10. การแลกเปล่ียนความเห็น/การทบทวน/ ความคิดเห็น (Discuss / Review/ Opinion) เป็น
เว็บบอร์ดท่ีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดยอาจจะเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ประเด็น
สาธารณะทางการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม เช่น พนั ทิป (Pantip) เย็ลพ (Yelp) เปน็ ต้น

ปัญหาการใชส้ ือ่ สังคมออนไลน์
สื่อสังคมออนไลน์ อาจไม่เป็นกลาง สามารถที่จะก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้างท้ังด้านความคิด

อารมณ์ ความรู้สึกของสมาชิก หรือผู้รับส่ือสังคมออนไลน์ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นอาจมีทั้งข้อดีและข้อเสียและไม่
สามารถควบคุมได้ กรณีที่เผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ผู้สร้างข้อมูลสามารถเปลี่ยนแปลง แก้ไข และสามารถ
กาํ หนดเงื่อนไข ความรบั ผิดชอบ การควบคุมเนื้อหาสาระได้ขณะท่ีการเผยแพร่ข้อมูลผ่าน สื่อสังคมออนไลน์ผู้
เผยแพร่ไม่สามารถเป็นผู้กําหนดขอบเขตความรับผิดชอบได้เองแต่ผู้ให้บริการส่ือสังคมออนไลน์จะเป็นผู้
กาํ หนดขอบเขตความรบั ผิดชอบ ผู้ใช้ไมส่ ามารถเปลย่ี นแปลงขอ้ มลู ไดซ้ ึง่ มที ั้งที่ เป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ

แผนการจัดการเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 5
สอนครัง้ ที่ 15-18
ช่ือหน่วย ส่ือสังคมออนไลน์กบั ธุรกจิ ดจิ ทิ ัล
ช่ือเร่อื ง ส่ือสงั คมออนไลน์กับธรุ กิจดจิ ิทัล ชวั่ โมงรวม 8
จำนวนชั่วโมง 36

ส่ือสังคมออนไลน์มีความเป็นทางการ และควบคุมการทํางานได้น้อย ขาดความยืดหยุ่น แต่เปิด
กว้าง ทาํ ให้ขาดความนา่ เชอ่ื ถือ ขาดการเคารพกฎเกณฑ์ของสงั คม การสอ่ื สารและการแลกเปลี่ยนขอ้ มูล มีการ
เคลอ่ื นไหวรวดเร็วกว่าสื่อในรปู แบบเดมิ ทาํ ใหส้ ามารถสร้างกระแสต่อสงั คมในด้านต่าง ๆ ท้งั กระแสท่ดี ีและไม่ดี
การละเมิดลิขสิทธิ์และสิทธิส่วนบุคคล อาญากรรมคอมพิวเตอร์ รวมท้ัง อาจเป็นภัยคุกคาม ทางความมั่นคง
แต่เป็นความท้าทายของหน่วยงานของรัฐ หรือ หน่วยงานที่เป็นทางการ เช่น รัฐสภา รัฐบาล ที่จะนํามา
ประยุกตใ์ ช้ เป็นตน้

ข้อดีและขอ้ เสยี ของสอื่ สงั คมออนไลน์
ข้อดขี องส่ือสงั คมออนไลน์

1. สามารถใชส้ ร้างเปน็ พนื้ ทใ่ี นการสนทนา/ สื่อสารแกส่ าธารณะได้
2. หน่วยงานหรอื องค์กรตา่ ง ๆ สามารถเขา้ ไปใกล้ชิดกบั สาธารณชนมากขนึ้
3. สามารถสร้างความน่าเชอื่ ถอื และความไวว้ างใจ
4. สนบั สนุนความโปรง่ ใส และธรรมาภบิ าล
5. สรา้ งโอกาสให้บุคคลหรอื กลุม่ ที่ 3 ในการเขา้ มามสี ่วนร่วม และสนับสนุนเผยแพร่
6. การสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ในลกั ษณะทําซำ้ ตัวเองเป็นทอดๆ (Viral distribution) ทาํ ใหม้ ีการ กระจาย

ขอ้ มลู อย่างรวดเร็ว
7. ลดต้นทนุ การดำเนินการ
8. ช่วยใหเ้ ข้าใจความคดิ เหน็ ของประชาชนไดม้ ากขึน้
9. สามารถติดตามความเคล่อื นไหวได้ ตลอดเวลา
10. ลดเวลาทีจ่ ะได้รบั ข้อมูลขา่ วสารลง
11. สามารถที่จะนำมาเป็นส่วนหนึ่งของกลยทุ ธใ์ น การสือ่ สาร และเป็นส่ือกลางในการขยายการ

เข้าถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารและเผยแพรข่ า่ วสาร

ขอ้ เสียของสงั คมออนไลน์
1. มารยาทและรปู แบบการใชง้ านแตกตา่ งจากสอื่ รูปแบบอนื่
2. มีความเสีย่ งของความไมแ่ ทจ้ รงิ การหลอกลวง ความซ่ือสัตย์และความไม่ โปรง่ ใสในการ
ใช้งาน

แผนการจดั การเรยี นรูม้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 5
สอนคร้ังที่ 15-18
ช่อื หน่วย ส่ือสังคมออนไลน์กบั ธุรกจิ ดจิ ทิ ลั
ชื่อเรื่อง สอื่ สังคมออนไลน์กับธรุ กิจดจิ ิทัล ชว่ั โมงรวม 8
จำนวนช่วั โมง 36

3. มีศกั ยภาพในการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ และอย่เู หนอื การควบคุมของเจา้ ของ
4. การหาเครอื ข่ายใหม่ การสรา้ งเรื่องใหม่ ๆ เปน็ เรื่องยากทจ่ี ะคาดเดาได้ว่าจะมจี ํานวน ผ้ใู ช้

เท่าใดและไมม่ ีการรบั รองผลวา่ การ สือ่ สารจะเกิดข้ึนและสง่ สารไปยงั ผรู้ ับสาร
5. สื่อสงั คมออนไลนไ์ ม่ใชท่ างลดั ท่ีมปี ระสิทธภิ าพเพียงอย่างเดยี วแต่ยังต้องนําส่ือหลกั และ

หลักการสอื่ สารทีด่ มี าใชค้ วบคกู่ ันไป

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน
5.1.1 ผสู้ อนเตรยี มสื่อเพาเวอร์ พอยต์ (Power Point)
5.1.2 ผสู้ อนตรวจสอบรายชอื่ ผเู้ รียน
5.1.3 ผู้สอนให้ผู้เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพือ่ ทดสอบความรู้ของผเู้ รยี น
5.1.4 ผู้สอนเตรียมแบบทดสอบกอ่ นเรียน

5.2 การเรยี นรู้
5.2.1 ผสู้ อนอธิบายความหมายของส่ือสงั คมออนไลน์ โดยใชส้ ่ือ Power Point
5.2.2 ผ้สู อนตง้ั คำถามกับผ้เู รยี นเกย่ี วกับความหมายความหมายของสื่อสงั คมออนไลน์
5.2.3 ผเู้ รยี นตอบคำถาม
5.2.4 ผสู้ อนอธบิ ายประเภทของส่อื สงั คมออนไลน์ โดยใช้ส่ือ Power
5.2.5 ผู้สอนต้งั คำถามกับผ้เู รียน
5.2.6 ผู้สอนอธิบายเก่ยี วกับอุปกรณ์เครอื่ งมือทางส่อื สงั คมออนไลน์ โดยใชส้ ่ือ Power
Point
5.2.7 ผสู้ อนอธบิ ายเกยี่ วกบั ประโยชนแ์ ละข้อจำกัดของสังคมออนไลน์ โดยใชส้ ่อื Power
Point
5.2.8 ผู้สอนอธิบายพัฒนาการของส่ือสงั คมออนไลน์ โดยใช้สอ่ื Power Point
5.2.9 ผู้สอนอธบิ ายปัญหาการใชส้ ือ่ สงั คมออนไลน์ โดยใช้สอื่ Power
5.2.10 ผสู้ อนอธบิ ายข้อดแี ละข้อเสียของสื่อสงั คมออนไลน์ โดยใช้ส่อื Power Point
5.2.11 ผ้สู อนอธิบาย การใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์ในประเทศไทย โดยใช้สอื่ Power Point

แผนการจดั การเรยี นรู้ม่งุ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 5
สอนครง้ั ท่ี 15-18
ช่อื หน่วย ส่ือสังคมออนไลนก์ บั ธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล
ชอื่ เรอื่ ง ส่อื สงั คมออนไลน์กับธรุ กิจดจิ ิทลั ชวั่ โมงรวม 8
จำนวนชัว่ โมง 36

5.2.12 ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 5 ในเอกสารประกอบการเรียน
5.2.13 ผู้สอนเตรยี มแบบฝกึ หัด

5.3 การสรปุ
5.3.1 ประเมินจากแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 5

5.4 วดั ผลและประเมินผล
5.4.1 ประเมินจากแบบทดสอบก่อนเรยี น
5.4.2 ประเมินจากแบบทดสอบหลงั เรียน

6. ส่ือการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้
6.1 ส่ือส่งิ พมิ พ์
6.1.1 หนังสอื พืน้ ฐานธุรกจิ ดิจทิ ลั . ประภาวรรณ เกษวิรยิ ะการณ์. สำนักพิมพเ์ มืองไทย

6.2 ส่ือโสตทัศน์
6.2.1 สือ่ การเรียนการสอน Power Point วชิ า พนื้ ฐานธรุ กจิ ดิจทิ ัล
6.2.2 เครอ่ื งโปรเจ็คเตอร์
6.2.3 เคร่อื งคอมพิวเตอร์
6.2.4 ระบบอนิ เตอร์เน็ตในการเรยี นออนไลน์

7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน)
แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 5 เรอื่ งส่ือสงั คมออนไลนก์ ับธุรกิจดิจทิ ัล

8. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธก์ บั วชิ าอ่นื
บรู ณาการรายวิชากบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

9. การวดั และประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรียน
วัดผลจากแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 5

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ่งุ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 5
สอนครั้งที่ 15-18
ชื่อหน่วย สื่อสังคมออนไลนก์ บั ธุรกจิ ดิจิทลั
ชว่ั โมงรวม 8
ช่อื เร่ือง ส่อื สงั คมออนไลนก์ ับธรุ กิจดจิ ิทลั จำนวนช่วั โมง 36

9.2 ขณะเรียน
สังเกตขณะนั่งเรียนและทำแบบฝกึ หดั
สังเกตจากการตอบคำถาม

9.3 หลงั เรียน
ประเมนิ จากการสรปุ บทเรยี นและการตอบคำถาม
ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยท่ี 5

แผนการจัดการเรียนรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 6
สอนครั้งท่ี 19-22
ชือ่ หน่วย ธรุ กจิ ดิจทิ ัลโมบาย
ช่ือเรือ่ ง ธรุ กิจดิจทิ ลั โมบาย ชวั่ โมงรวม 8
จำนวนชั่วโมง 44

1. สาระสำคัญ

ในยุคแห่งอนาคตที่จะถูกควบคุมด้วยระบบดิจิทัลผ่านสมาร์ทโฟน การผสมผสานเทคโนโลยีการ
สอ่ื สารเข้ากับแพลตฟอรม์ การเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆ ในองค์กร (Connecting Value) ใหส้ ามารถทำงานรว่ มกัน
ได้ เกิดนวตั กรรมใหม่ ๆ ทีเ่ ปลี่ยนวิถชี ีวติ และกระบวนการทำงาน ตงั้ แตว่ ธิ ีการส่อื สาร ติดต่อ รับส่งข่าวสารต่าง
ๆ ได้หลากหลาย และสะดวกมากขนึ้ ความห่างไกลไม่เปน็ อปุ สรรคอีกตอ่ ไป เกิดการเช่ือมต่อท่ีมีมูลค่าท่ีนำไปสู่
ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big data) เพื่อบนั ทึกและจดั เก็บ การค้นหา การแบ่งปัน และการวิเคราะห์ข้อมูลไดภ้ ายใน
อนาคต

2. สมรรถนะประจำหน่วย

2.1 แสดงความรู้เกีย่ วกับความหมายของธรุ กจิ ดจิ ิทัลโมบาย
2.2 อธบิ ายความสำคัญของธุรกจิ ดิจิทลั โมบาย
2.3 เลือกใช้แอพพลิเคชันหลกั ของกล่มุ ธรุ กิจดจิ ทิ ัลโมบาย
2.4 เลอื กใชร้ ะบบอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสเ์ คลอ่ื นที่ไรส้ าย
2.5 เตรียมวสั ดอุ ุปกรณเ์ หมาะสมกบั การปฏิบตั ิงาน
2.6 แสดงพฤติกรรมที่มเี จตคติท่ีดี ปฏบิ ตั ิงานด้วยความรบั ผิดชอบ ซื่อสตั ย์ ละเอียดรอบคอบ

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ด้านความรู้

3.1.1 เพ่อื ใหม้ คี วามรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของธุรกิจดจิ ิทลั โมบาย
3.1.2 เพื่อใหเ้ ข้าใจความสำคญั ของธุรกจิ ดิจิทลั โมบาย
3.1.3 เพอ่ื ให้เขา้ ใจแอพพลเิ คชันหลกั ของกลมุ่ ธุรกจิ ดจิ ิทลั โมบาย
3.1.4 เพื่อให้เขา้ ใจโครงสรา้ งพน้ื ฐานระบบอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ คลอื่ นที่ไรส้ าย
3.1.5 เพอ่ื ให้เขา้ ใจเลือกใช้ระบบอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสเ์ คล่ือนท่ีไรส้ าย

แผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 6
สอนครั้งที่ 19-22
ชื่อหน่วย ธุรกิจดิจทิ ัลโมบาย
ช่อื เรือ่ ง ธุรกจิ ดิจทิ ัลโมบาย ช่วั โมงรวม 8
จำนวนช่ัวโมง 44

3.2 ด้านทกั ษะ

3.2.1 อธิบายความหมายของธุรกจิ ดิจทิ ัลโมบายได้
3.2.2 อธบิ ายความสำคัญของธรุ กิจดิจิทลั โมบายได้
3.2.3 เลอื กใช้แอพพลิเคชนั หลกั ของกลุ่มธุรกจิ ดจิ ิทลั โมบายได้
3.2.4 อธบิ ายโครงสร้างพนื้ ฐานระบบอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เคล่ือนทไี่ ร้สายได้
3.2.5 เลือกใช้ระบบอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์เคล่ือนท่ีไรส้ ายได้

3.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์

3.3.1 มเี จตคตทิ ดี่ ี
3.3.2 ปฏิบตั ิงานด้วยความรับผิดชอบ
3.3.3 ซื่อสัตย์
3.3.4 ละเอยี ดรอบคอบ

4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้

ความหมายของธุรกิจดิจิทัลโมบาย

ธุรกิจดิจิทัลโมบาย (Digital Mobile Business) เป็นกระบวนการทำธุรกิจออนไลน์ต่าง ๆ โดยใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีเคลื่อนท่ีไร้สาย เนื้อหาของธุรกรรมอยู่ในรูปของข้อมูลสารสนเทศที่เป็น
สัญญาณดจิ ิทลั ในรปู ของข้อความ ภาพ และเสยี ง รวมถงึ การให้บรกิ ารต่าง ๆ ผา่ นเทคโนโลยีเคลอื่ นที่ไรส้ าย

ความสำคัญของธุรกิจดจิ ิทัลโมบาย

1. สามารถสนบั สนนุ ใหผ้ ้ใู ช้งานทำธรุ กรรมต่าง ๆ ได้งา่ ย ในเวลาใดและจากสถานที่ใด ๆ ก็ได้ เป็น
การเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขนั และการให้บรกิ ารของธรุ กิจ รกั ษาลูกค้าและผใู้ ชบ้ ริการใหค้ งอยู่ และสง่ ผล
ใหเ้ กิดการใชป้ ระโยชน์จากข้อมลู ได้

2. สามารถปรับเปลี่ยนระบบการให้บริการได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน เป็นการเพ่ิม
ความสามารถในการแข่งขันและการให้บริการของธุรกิจ รักษาลูกค้าและผู้ใช้บริการให้คงอยู่ และส่งเสริมการ
สรา้ งสรรค์นวตั กรรม

แผนการจัดการเรียนรูม้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 6
สอนคร้ังที่ 19-22
ชือ่ หน่วย ธรุ กิจดิจิทัลโมบาย
ช่อื เรอื่ ง ธรุ กิจดิจิทลั โมบาย ชว่ั โมงรวม 8
จำนวนช่วั โมง 44

3. สามารถรองรับโมบายแอพพลิเคชันสำหรับบริการธุรกิจดิจิทัล จากหลากหลายผู้ให้บริการหรือ
นักพัฒนาแอพพลิเคชันทั่วไปได้ เป็นการเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันและการให้บริการของธุรกิจ รักษา
ลูกคา้ และผู้ใช้บรกิ ารใหค้ งอยู่ และส่งเสริมการสรา้ งสรรค์นวัตกรรม

4. สามารถรองรับเทคโนโลยีหรือเทคนิคใหม่ ๆ ที่เกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา เป็นการเพิ่มความสามารถใน
การแข่งขันและการให้บริการของธุรกิจ รักษาลูกค้าและผู้ใช้บริการให้คงอยู่ และส่งเสริมการสร้างสรรค์
นวัตกรรม

5. สามารถคงรักษาขอ้ มลู ธุรกรรมสำคัญตา่ ง ๆ ไวไ้ ด้ แมว้ า่ มกี ารปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงท้งั ทางด้าน
ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวรข์ องระบบธรุ กจิ ดิจิทัลโมบายท่ีใหบ้ ริการ เป็นการเพิ่มความสามารถในการแข่งขนั และ
การใหบ้ รกิ ารธรุ กิจ รักษาลูกค้าและผใู้ ชบ้ รกิ ารใหค้ งอยู่ และสง่ ผลใหเ้ กิดการใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อมลู ได้

โครงสร้างพื้นฐานระบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสเ์ คลอ่ื นท่ีไร้สาย
1. ช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ ผ่านเทคโนโลยีการส่ือสารสนามใกล้ (Near Field

Communication : NFC) คือ เทคโนโลยีส่ือสารไร้สายระยะสั้น ถูกพัฒนาข้ึนมาโดย Sony และ NXP
เพื่อให้อุปกรณ์จำพวกโทรศัพท์มือถือหรืออุปกรณ์พกพาประเภทอื่น ๆ สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ง่ายข้ึน
เพยี งแต่นำอปุ กรณท์ ัง้ สองเคร่ืองมาวางชดิ กนั หรือแตะกนั เท่านนั้

2. ช่องทางการทำธุรกรรมดิจิทัล โดยใช้โมบายเบราว์เซอร์และโมบายแอพพลิเคชันโมบาย
เบราว์เซอร์ (Mobile Browser) เป็นเว็บเบราว์เซอร์ท่ีได้รบั การออกแบบสำหรบั ใช้กับอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เคลื่อนท่ีไร้สาย ได้รับการพัฒนาให้เป็นเว็บ 3.0 (Web 3.0) สามารถปรับรูปแบบการแสดงเน้ือหาบนเว็บให้
เหมาะสมกับหน้าจอของแต่ละอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ไร้สายได้ คนส่วนใหญ่ทั่วโลกนิยมใช้ซาฟารี
(Safari) กันมาก รองลงมาคือ โครม (Chrome) และมีเบราเซอร์อื่น ๆ เช่น Firefox, UC Browser, IE
Mobile, Opera Mobile เปน็ ต้น

แนวทางการประยุกตเ์ ทคโนโลยสี ำหรับธุรกจิ ดิจทิ ัลโมบาย

1. การตลาดเคล่อื นที่ (Mobile Marketing) เป็นกิจกรรมสำคัญที่จำเป็นสำหรับการทำธุรกิจดิจิทัล
โมบาย องค์กรธุรกิจสามารถเข้าถึงลูกคา้ และนำเสนอสนิ ค้าได้ตลอดเวลา และกระทำได้ไม่วา่ ลกู ค้าจะอยทู่ ่ีใดก็
ตาม เนอ่ื งจากลกู ค้ามอี ปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสเ์ คล่ือนทไี่ ร้สายพกพาอยู่ตลอดเวลา

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 6
สอนครงั้ ท่ี 19-22
ชือ่ หน่วย ธรุ กจิ ดจิ ิทัลโมบาย
ชื่อเรอ่ื ง ธุรกิจดิจิทลั โมบาย ชัว่ โมงรวม 8
จำนวนชั่วโมง 44

2. การใช้โมบายคูปอง (Mobile Coupon) เป็นตั๋วหรือคูปองอิเล็กทรอนิกส์ท่ีแสดงผ่านโทรศัพท์
สมาร์ทโฟน สามารถใช้แลกเปลี่ยนเป็นส่วนลดทางการซื้อขายหรือใช้แทนจำนวนเงินสำหรบั การซื้อสินค้าหรือ
เข้ารบั บรกิ ารใด ๆ

3. การชำระเงินเคลื่อนท่ี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเคลื่อนท่ีไร้สายและโทรศัพท์สมาร์ทโฟน
ส่งผลต่อความนิยมในการใช้บริการการชำระเงินเคล่ือนท่ี (Mobile Payment) ทำให้ผู้ใช้บริการได้รับความ
สะดวก รวดเร็ว และระบบมีความมั่นคง ปลอดภัย สามารถดึงดูดลูกค้าให้ซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ ของ
องคก์ รธุรกิจอยา่ งต่อเน่ือง

4. ผชู้ ว่ ยส่วนบุคคลดิจทิ ัล (Digital Personnel Assistant) จากการพัฒนาแอพพลเิ คชันตาม

ความตอ้ งการที่ครอบคลมุ กระบวนการส่งั ซ้ือและชำระเงินเคล่ือนที่ทั้งหมดซึ่งผู้ใช้งานใช้บริการดังกลา่ วผา่ น

อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ คลื่อนท่ีไร้สายโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ สมารท์ โฟน

5. การสรา้ งความภักดีในตัวสินคา้ และบรกิ ารเคล่ือนท่ี (Mobile Loyalty) เปน็ ชอ่ งทางการตลาด
หน่ึงสำหรับองค์กรธุรกิจในรูปแบบของโปรแกรมสมนาคุณต่าง ๆ เช่น แต้มสะสม หรือส่วนลดเฉพาะสมาชิก
เป็นการสร้างคุณค่าให้กับสินค้าและบริการสำหรับลูกค้าท่ียังคงใช้สินค้าและบริการขององค์กรธุรกิจอย่าง
ต่อเนือ่ งหรือเปน็ กลมุ่ ลกู คา้ สมาชิก เพื่อดงึ ดดู ใหล้ ูกค้ามคี วามภักดีต่อตัวสินคา้ และการบริการ

6. การให้บริการของธุรกิจแบบเคลื่อนท่ี เป็นการให้บริการแก่ลูกค้าหรือผู้ใช้บริการผ่านแอพพลิเค
ชัน โดยที่มีการนำส่งการบริการในรูปแบบต่าง ๆ จากต้นทางไปยังปลายทาง ผู้ใช้งานสามารถแจ้งความ
ต้องการเลือกประเภทของการใช้บรกิ าร สถานทใี่ ช้บริการและการชำระคา่ บรกิ ารได้

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1 การนำเข้าสูบ่ ทเรยี น
5.1.1 ผู้สอนเตรียมการสอนแบบออนไลน์ ควบค่กู บั การสอนในห้องเรยี น โดยเตรยี ม
ห้องเรียนออนไลน์ทาง Meet และลงิ คเ์ ข้าสู่ Meet (ลงิ คอ์ ัตโนมัต)ิ
5.1.2 ผูส้ อนเตรยี มสอ่ื เพาเวอร์ พอยต์ (Power Point)
5.1.3 ผ้สู อนทำการสอนท้ังในห้องเรียน และ ทางออนไลน์ กลา่ วทักทายผเู้ รยี น
5.1.4 ผู้สอนตรวจสอบรายชือ่ ผู้เรียน
5.1.5 ผสู้ อนให้ผูเ้ รยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพอ่ื ทดสอบความรู้ของผเู้ รยี น ผู้สอนเตรยี ม
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

แผนการจัดการเรียนรมู้ ุง่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 6
สอนครัง้ ที่ 19-22
ชอื่ หน่วย ธุรกิจดิจทิ ัลโมบาย
ชื่อเรอื่ ง ธุรกิจดิจิทลั โมบาย ชวั่ โมงรวม 8
จำนวนช่วั โมง 44

5.2 การเรยี นรู้
5.2.1 ผสู้ อนอธิบายความหมายของธรุ กจิ ดิจิทัลโมบาย โดยใช้สื่อ Power Point
5.2.2 ผ้สู อนตงั้ คำถามกับผู้เรียนเกีย่ วกบั ความหมายความหมายของธรุ กิจดจิ ิทัลโมบาย
5.2.3 ผ้เู รยี นตอบคำถาม
5.2.4 ผสู้ อนอธบิ ายความสำคญั ของธรุ กิจดิจทิ ลั โมบาย โดยใชส้ ่อื Power Point
5.2.5 ผ้สู อนต้งั คำถามกับผเู้ รยี น
5.2.6 ผู้สอนอธบิ ายเกี่ยวกบั แอพพลิเคชนั หลกั ของกลมุ่ ธรุ กิจดจิ ิทัลโมบาย โดยใชส้ อื่ Power
Point
5.2.7 ผสู้ อนอธบิ ายเกีย่ วกับโครงสร้างพ้นื ฐานระบบอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เคลือ่ นท่ีไรส้ าย
โดยใช้ส่ือ Power Point
5.2.8 ผสู้ อนอธบิ ายแนวทางการประยุกต์เทคโนโลยีสำหรับธุรกจิ ดิจทิ ลั โมบาย โดยใช้สือ่
Power Point
5.2.9 ผสู้ อนมอบหมายแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 6 ในเอกสารประกอบการเรยี น

5.3 การสรปุ
5.3.1 ประเมินจากแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 6

5.4 วัดผลและประเมนิ ผล
5.4.1 ประเมนิ จากแบบทดสอบก่อนเรียน
5.4.2 ประเมินจากแบบทดสอบหลงั เรียน

6. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
6.1 ส่ือส่งิ พิมพ์
6.1.1 หนังสอื พน้ื ฐานธรุ กิจดิจทิ ลั . ประภาวรรณ เกษวริ ยิ ะการณ.์ สำนักพมิ พ์เมืองไทย
6.2 สื่อโสตทัศน์
6.2.1 สอ่ื การเรียนการสอน Power Point วชิ า พนื้ ฐานธรุ กิจดิจิทัล
6.2.2 เคร่ืองโปรเจ็คเตอร์
6.2.4 เคร่อื งคอมพวิ เตอร์
6.2.5 ระบบอินเตอร์เน็ตในการเรยี นออนไลน์

แผนการจัดการเรยี นรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 6
สอนครง้ั ท่ี 19-22
ชอ่ื หน่วย ธุรกิจดิจิทัลโมบาย
ชื่อเรื่อง ธุรกิจดจิ ิทัลโมบาย ชั่วโมงรวม 8
จำนวนช่วั โมง 44

7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน)
แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 6 เรือ่ งธุรกจิ ดิจิทลั โมบาย

8. การบูรณาการ/ความสมั พันธก์ ับวิชาอน่ื
บูรณาการรายวิชากบั หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

9. การวดั และประเมินผล
9.1 ก่อนเรยี น
วัดผลจากแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6

9.2 ขณะเรียน
สังเกตขณะนัง่ เรยี นและทำแบบฝกึ หดั
สงั เกตจากการตอบคำถาม

9.3 หลงั เรียน
ประเมินจากการสรุปบทเรียนและการตอบคำถาม
ประเมนิ จากแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยท่ี 6


Click to View FlipBook Version