คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทกั ษะชีวติ
ประเภทลูกเสือสามญั รุนใหญ
เครื่องหมายลูกเสอื ช้ันพเิ ศษ
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2
คํานาํ
สมาคมวางแผนครอบครัวแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระศรีนครินทราบรม
ราชชนนี ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
(สสส.) เพื่อจดั ทําโครงการลกู เสอื เสริมสรางทักษะชีวติ มีวตั ถปุ ระสงคเพอ่ื เสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ใหเดก็
และเยาวชนในสถานศึกษาดวยกระบวนการลูกเสือ โดยใหเด็กและเยาวชนลงมือปฏิบัติดวยตนเอง
ในการทาํ กจิ กรรมอยางครบวงจร ตั้งแตการศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และ
ปรับปรงุ การจัดกจิ กรรม รวมถงึ การทํางานเปนระบบหมูตามกระบวนการลูกเสือ ซึ่งกิจกรรมดังกลาว
เปนการพัฒนาความเปนมนุษยแบบองครวม ท้ังดานรางกาย จิตใจ สังคม และสติปญญา ทําใหเด็ก
และเยาวชนมีระเบียบวินัย มีจิตสํานึกในการทําความดี เพ่ือทําประโยชนใหกับครอบครัว ชุมชน
สงั คม และประเทศชาติ ตอ ไป
เริ่มจากการศึกษาความเปนไปได ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของทั้งในและ
ตางประเทศ จัดประชุมผูเช่ียวชาญท้ังดานลูกเสือ ดานทักษะชีวิต รวมทั้งดานการพัฒนาเด็กและ
เยาวชน เพื่อกําหนดกรอบโครงสรางหลักสูตรลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต ที่สอดคลองกับปญหา
ตามวยั และพัฒนาการดา นตา ง ๆ ของลูกเสือแตล ะประเภท
คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต ฉบับทดลอง ไดเร่ิมใชในป พ.ศ. 2553
มโี รงเรยี นจากทกุ ภูมิภาคของประเทศเขารวมโครงการ จํานวน 26 โรงเรียน โดยไดดําเนินการควบคู
ไปกับการวิจัยและประเมินผลการใชคูมือ และทําการปรับปรุงคูมือครั้งแรกเมื่อ เมษายน พ.ศ.2554
โดยไดเพิ่มเติม เพลง เกม นิทาน เรอื่ งส้นั และเนอ้ื หาใหครบถวนย่ิงข้ึน
การปรับปรุงคร้ังท่ีสอง มิถุนายน พ.ศ. 2559 เกิดข้ึนตามขอเสนอแนะจากการประชุม
ปฏิบตั กิ าร “การขับเคลอื่ นกิจกรรมพัฒนาผูเรียนดวยกระบวนการลูกเสือ” ซึ่งจัดโดยสํานักการลูกเสือ
ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยยึดขอบังคับคณะลูกเสือ
แหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ และเพ่ิมจํานวนแผนการจัดกิจกรรมให
ครบ 40 ช่ัวโมง เพ่ือครอบคลุมสาระท่ีจําเปนอยางครบถวน เปนการเตรียมการขยายผลในโรงเรียน
สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ท่ัวประเทศ และไดแบงคูมือออกเปน
11 เลม สาํ หรบั ลูกเสือแตละชั้นป เพ่ือความสะดวกของผสู อน
สมาคมวางแผนครอบครวั แหง ประเทศไทยฯ ขอขอบพระคุณหนวยงานและบุคลากรทุกทาน
ทมี่ สี ว นรวมในโครง ตง้ั แตการริเรมิ่ โครงการและสนบั สนนุ งบประมาณจากสาํ นักงานกองทุนสนับสนุน
การสรางเสริมสขุ ภาพ (สสส.) การจัดทําหลักสตู รและคูม อื การทดลองวิจัยและประเมินผลการใชคูมือ
การปรบั ปรงุ คมู ือทงั้ 2 คร้ัง ใหส าํ เรจ็ ลุลว งไว ณ โอกาสนี้ หวังเปนอยา งยง่ิ วาคูมอื ชุดนี้จะชวยสงเสริม
ใหกิจการลูกเสือของประเทศไทย ซึ่งดําเนินมาครบวาระ 105 ป ในป พ.ศ. 2559 นี้ ไดเปนเครื่องมือ
สําคญั และกอใหเ กิดประโยชนส ูงสุดตอ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนของชาติตอ ไป
สมาคมวางแผนครอบครัวแหง ประเทศไทย
ในพระราชปู ถัมภสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
กรกฎาคม 2559
สารบัญ หนา
1
คาํ ชี้แจงการใชคมู ือ 5
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รนุ ใหญช ัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2
8
หนว ยที่ 1 ปฐมนิเทศ
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 1 การปฐมนเิ ทศ 11
29
หนว ยท่ี 2 หนา ที่พลเมอื ง 31
แผนการจัดกิจกรรมที่ 2 ประวตั ลิ ูกเสือไทย 34
แผนการจดั กิจกรรมที่ 3 การพฒั นาตนเอง 41
แผนการจดั กิจกรรมที่ 4 การเยย่ี มหนวยงาน 43
แผนการจัดกิจกรรมที่ 5 หนาทขี่ องลกู เสอื ตามวิถีประชาธิปไตย 47
แผนการจดั กิจกรรมที่ 6 สง่ิ ดี ๆ ของฉนั
แผนการจัดกิจกรรมที่ 7 คคู รองในฝน 50
แผนการจัดกิจกรรมที่ 8 คิดอยา งไรไมเ ปน ทุกข 53
55
หนว ยท่ี 3 การเดนิ ทางสาํ รวจ
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 9 การเตรียมตวั กอ นสํารวจ 59
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 10 กจิ กรรมระหวางการเดินทางสํารวจ
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 11 การรวบรวมขอ มูลและการรายงาน 66
73
หนวยท่ี 4 การแสดงออกทางศลิ ปะ 76
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 12 การแสดงออกทางศลิ ปะ 80
84
หนว ยที่ 5 สมรรถภาพทางกาย
แผนการจดั กิจกรรมท่1ี 3 ลกู เสือไทยกายสมารท 94
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 14 ภัยสังคม 104
แผนการจัดกิจกรรมที่ 15 เสยี่ งไมเ ส่ยี งรูไ ดอยา งไร 116
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 16 อยา งนตี้ องปฏเิ สธ 120
แผนการจดั กิจกรรมที่ 17 ความรนุ แรง
หนว ยท่ี 6 บรกิ าร
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 18 การปฐมพยาบาล
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 19 การรายงานการใหบ รกิ าร
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 20 บัญชชี วี ติ
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 21 ปมู ชีวิตปราชญช าวบา น
สารบัญ(ตอ) หนา
หนว ยท่ี 6 บรกิ าร (ตอ ) 123
แผนการจดั กิจกรรมที่ 22 เสียหายเพราะอะไร 126
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 23 โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดําริ
133
หนวยที่ 7 ประเมนิ ผล
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 24 การประเมนิ ผล 146
หนวยที่ 8 พธิ ีการ 147
แผนการจัดกิจกรรมที่ 25 การประดับเครือ่ งหมายลกู เสอื ชน้ั พเิ ศษ 159
เครอ่ื งหมายวิชาพิเศษ สายยงยศ 162
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แนวคดิ เรือ่ งทกั ษะชวี ติ
ภาคผนวก ข กจิ กรรมลูกเสอื เสรมิ สรา งทักษะชีวติ
บรรณานกุ รม
คาํ ชีแ้ จงการใชคูมือ
คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตชุดนี้ จัดทําข้ึนสําหรับผูกํากับลูกเสือใชเปน
แนวทางในการจัดกิจกรรมลูกเสือ มีจํานวน 11 เลม แยกตามชั้นป สําหรับลูกเสือ 4 ประเภท คือ
ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามญั ลูกเสือสามัญรนุ ใหญ และลกู เสือวสิ ามญั
หลักสูตรลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต มีเนื้อหาท่ีสอดคลองกับปญหาตามวัยและพัฒนาการ
ดานตาง ๆ ของลูกเสือแตละประเภท นอกจากน้ียังมีเน้ือหาครบถวน เปนไปตามขอบังคับคณะ
ลูกเสอื แหงชาติ วา ดว ยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญ
รุนใหญ และลูกเสือวิสามญั อีกดว ย
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตในคูมือชุดน้ี ไดออกแบบโดยบูรณาการ
กิจกรรมท่ีเสริมสรางทักษะชีวิตเขากับวิธีการลูกเสือ คือการใชระบบหมูหรือกลุมยอย โดยใหเด็กเปน
ศนู ยก ลาง และมีผใู หญทําหนาที่ชวยเหลือและสงเสริมใหเกิดกระบวนการเรียนรูในกลุม แนะนํา สั่งสอน
และฝกอบรมใหสามารถพึ่งตนเองได มีจิตอาสา รับผิดชอบตอสวนรวม ยึดม่ันในคําปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสอื เสรมิ สรางคุณคาในตนเอง รวมทั้งใชระบบเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณทางลูกเสือและเครื่องหมาย
วิชาพเิ ศษ เปน แรงกระตนุ ไปสเู ปาหมายในการพฒั นาตนเอง
การเรียงลําดับแผนการจัดกิจกรรม จัดเรียงลําดับเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในขอบังคับคณะ
ลกู เสือแหง ชาติ วาดวยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญ
รุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ การนําไปใชขึ้นกับดุลยพินิจของสถานศึกษาในการเลือกวาแผนการจัด
กิจกรรมใดควรใชเมอื่ ใด
องคประกอบในการประชุมกอง เนนการใชชีวิตกลางแจง นอกหองเรียน ใกลชิดธรรมชาติ
เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เกม และการบริการผูอื่น ซึ่งถือเปนหัวใจของกิจกรรมลูกเสือ
ทกุ ประเภท โดยกจิ กรรมท่ใี ช แบง ออกเปน 5 ประเภท คือ การแสดงออก การสํารวจและการรายงาน
การวิเคราะหและการประเมิน เกมและการแขงขัน การบําเพ็ญประโยชน มีการออกแบบกิจกรรม
เพ่ือใหลูกเสือไดใชกระบวนการกลุมในการแลกเปล่ียนประสบการณ แลกเปล่ียนความคิดความเช่ือ
สรางองคความรูและสรุปความคิดรวบยอด รวมทั้งเปดโอกาสใหลูกเสือไดประยุกตใชสิ่งท่ีไดเรียนรู
ในชีวติ จรงิ อกี ดวย
เนือ้ หาสาระในแผนการจัดกจิ กรรมประกอบดว ย
1. กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติ (ไมรวมกิจกรรมทดสอบเพื่อรับ
เคร่ืองหมายหรอื สัญลกั ษณทางลกู เสอื และเครอื่ งหมายวิชาพิเศษ)
2. กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติที่ชวยเสริมสรางทักษะชีวิตดานคุณธรรม
จรยิ ธรรม ความภาคภมู ิใจในตนเอง ความรับผิดชอบตอสวนรวม
3. กิจกรรมเสริมสรางทกั ษะชีวิต เพอ่ื สรางภูมิคุมกันทางสังคมตอเหตุการณและสภาพปญหา
ของเดก็ แตล ะวยั
คูม อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 1
คูมือแตละเลม ไดจดั ทําตารางหนว ยกิจกรรม และแผนการจดั กิจกรรม 40 ชั่วโมง เพ่ือใหเห็น
ภาพรวมของการจดั กจิ กรรมลูกเสอื เสริมสรางทกั ษะชีวติ ของลูกเสอื ในแตละระดบั ช้นั และมหี มายเหตุ
บอกไวในตารางชองขวาสดุ วาเปนแผนการจดั กจิ กรรมเสริมสรางทกั ษะชีวติ
แผนการจดั กิจกรรมประกอบดวย จุดประสงคก ารเรยี นรู เนือ้ หา สื่อการเรียนรู กิจกรรม การ
ประเมินผล องคประกอบทักษะชีวิตสําคัญท่ีเกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด
กิจกรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู เร่ืองท่เี ปนประโยชน)
จุดประสงคการเรียนรู
ผูสอนควรทําความเขาใจใหชัดเจนวาเปนจุดประสงคการเรียนรูดานความรู เจตคติ หรือ
ทกั ษะ เพอื่ จดั กิจกรรมไดต รงตามจดุ ประสงคก ารเรียนรแู ตละดาน
จุดประสงคการเรียนรูดานความรู มีจุดเนนที่การตั้งประเด็นใหวิเคราะห สังเคราะหเนื้อหา
ความรู ใหเขาใจอยางถองแท และสามารถนาํ ไปใชไดในชวี ติ จริง
จุดประสงคการเรียนรูดานเจตคติ มีจุดเนนท่ีอารมณความรูสึก และการตั้งประเด็นใหผูเรียน
ไดแ ลกเปล่ยี นและตรวจสอบความคิดความเชอ่ื ของตนเองกบั สมาชกิ กลุมคนอน่ื ๆ
จดุ ประสงคการเรียนรูดานทักษะ เนนท่ีการทําความเขาใจในข้ันตอนการลงมือทําทักษะ และ
ไดท ดลองและฝก ฝนจนชาํ นาญ
บางแผนการจัดกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูซอนกันมากกวา 1 ดาน ใหเนนดานท่ีเปน
จดุ ประสงคหลักของแผนการจดั กจิ กรรม
เนื้อหา
เปนผลการเรียนรูที่เกิดข้ึนหลังการสอน ผูสอนควรตรวจสอบวาผูเรียนไดเน้ือหาครบถวน
หรือไม
ส่ือการเรียนรู
เปนสอื่ อปุ กรณ ท่ีใชใ นการจดั กิจกรรม เชน แผนภูมิเพลง เกม ใบงาน ใบความรู และเร่ืองที่
เปนประโยชน ซึ่งมรี ายละเอยี ดอยใู นภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรม
กิจกรรม
กิจกรรมลูกเสือยังคงแบบแผนของลูกเสือไว คือ การเปดประชุมกอง/ปดประชุมกอง และ
เพลง เกม นิทาน เรอื่ งท่เี ปน ประโยชน ซง่ึ ใสไ วใ นทุกแผนการจัดกิจกรรม โดยผูกํากับลูกเสือสามารถ
ปรบั เปลยี่ นไดตามความเหมาะสม ผูสอนควรจัดกิจกรรมตามท่ีไดออกแบบไวเรียงตามลําดับข้ันตอน
การจัดกิจกรรม นอกจากนี้กอนการจัดกิจกรรมควรศึกษาแผนการจัดกิจกรรมใหเขาใจอยางถองแท
ทกุ ข้ันตอน ศึกษาใบความรูสําหรับผูสอน และใบงานสําหรับผูเรียน เพ่ือท่ีผูสอนจะไดจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนใหไดเนือ้ หาตรงตามจดุ ประสงคการเรยี นรมู ากท่สี ดุ
ทงั้ นีผ้ กู ํากับควรทาํ ความเขาใจแนวคิดเรื่องทักษะชีวติ และกิจกรรมลูกเสือเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ
ใหถ อ งแทดว ย โดยศึกษาไดจากภาคผนวก ก และภาคผนวก ข
2 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 2
การประเมินผล
สามารถประเมินไดท้ังระหวางการจัดกิจกรรม และหลังการสอนจบแลว ตามแนวทางที่ไดใหไว
ในแตล ะแผนการจดั กจิ กรรม
องคประกอบทกั ษะชีวติ สําคญั ทเ่ี กดิ จากกิจกรรม
ทักษะชีวิตเกิดขึ้นไดหลายองคประกอบในการจัดกิจกรรมแตละครั้ง ในที่นี้ไดระบุเพียง
องคประกอบทกั ษะชวี ติ สําคัญที่เกิดขึน้ เทานั้น
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรม
เปนสื่อ อุปกรณ ตามรายการที่ระบุไวในส่ือการเรียนรู เชน เพลง เกม บัตรคํา ใบงาน ใบความรู
และเรอื่ งท่เี ปน ประโยชน ฯลฯ หากมขี อเสนอแนะเพอ่ื การปรับปรงุ คูมอื ชุดน้ี กรณุ าติดตอที่
สมาคมวางแผนครอบครัวแหง ประเทศไทย ฯ
เลขท่ี 8 วภิ าวดีรงั สิต 44 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10900
โทรศัพท 0-2941-2320 ตอ 151 โทรสาร 0-2561-5130
คูมอื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 3
แผนการจัดกจิ กรรม
ลกู เสือสามัญรนุ ใหญ
เครื่องหมายลูกเสือช้ันพิเศษ
ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 2
คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 5
แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื สามัญรนุ ใหญ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2
ชอ่ื หนว ยกิจกรรมตาม แผนจัดกิจกรรม จาํ นวน หมายเหตุ
ช่ัวโมง
ขอบังคบั คณะลกู เสือแหงชาติ เร่อื ง
1
1. ปฐมนิเทศ 1. ปฐมนิเทศ 1
1
2. หนาทพี่ ลเมือง 2. ประวตั ลิ กู เสือไทย 2
2
3. การพัฒนาตนเอง
4. การเยี่ยมหนว ยงาน
5. หนา ทขี่ องลกู เสอื ตามวถิ ี
ประชาธปิ ไตย
6. สิง่ ดีๆ ของฉนั 1 ทักษะชวี ติ
2 ทกั ษะชีวติ
7. คูค รองในฝน 1 ทกั ษะชีวติ
2
8. คดิ อยา งไรไมเ ปนทุกข
1
3. การเดินทางสาํ รวจ 9. การเตรยี มตัวกอ นสาํ รวจ
10. กจิ กรรมระหวา งการเดนิ ทาง
สํารวจ
11. การรวบรวมขอมูลและการ 2
รายงาน
4. การแสดงออกทางศลิ ปะ 12. การแสดงออกทางศิลปะ 3
2 ทกั ษะชวี ติ
5. สมรรถภาพทางกาย 13. ลูกเสือไทยกายสมารท 1 ทกั ษะชีวติ
2 ทกั ษะชีวติ
14. ภยั สงั คม 2 ทักษะชีวติ
2 ทกั ษะชวี ติ
15. เส่ยี งไมเส่ียงรูไดอ ยางไร
16. อยางนตี้ อ งปฏิเสธ
17. ความรุนแรง
6 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2
แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื สามญั รนุ ใหญ ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 2
ชอ่ื หนวยกิจกรรมตาม แผนจดั กิจกรรม จาํ นวน หมายเหตุ
ชว่ั โมง
ขอบงั คบั คณะลูกเสอื แหงชาติ เร่อื ง ทกั ษะชีวติ
2 ทักษะชีวติ
6. บรกิ าร 18. การปฐมพยาบาล 1
2
19. การรายงานการใหบรกิ าร 2
1
20. บัญชีชวี ติ 2
21. ปมู ชวี ิตปราชญช าวบาน
22. เสยี หายเพราะอะไร
23. โครงการอนั เน่อื งมาจาก
พระราชดําริ
7. ประเมินผล 24. การประเมนิ ผล 1
1
8. พธิ ีการ 25. การประดับเครื่องหมายลกู เสอื
ชัน้ พเิ ศษ เครื่องหมายวชิ าพิเศษ
สายยงยศ
รวม 8 หนวยกจิ กรรม รวม 25 แผนการจดั กจิ กรรม 40
คูมือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 7
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามัญรุนใหญ (เครอ่ื งหมายลูกเสอื ชั้นพิเศษ) ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 2
หนวยที่ 1 สาระสาํ คญั ของการลูกเสอื เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ
1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
สามารถบอกเกณฑการไดร ับเครื่องหมายลูกเสอื ช้ันพิเศษได
2. เนือ้ หา
หลกั สตู รเครื่องหมายลูกเสือช้ันพิเศษ
3. สอ่ื การเรียนรู
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ
รนุ ใหญ (ฉบบั ท่ี 14) พ.ศ. 2528 และคมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุน ใหญเสริมสรางทักษะชีวิต
3.3 ทะเบียนลูกเสือสามญั รุนใหญ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 1
3.4 เรื่องท่ีเปนประโยชน
4. กจิ กรรม
4.1 พิธีเปด ประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู
1) ผูกาํ กบั ลกู เสือสนทนากับลูกเสือเกี่ยวกับการเขารว มกจิ กรรมในหลกั สูตรลกู เสือ
โลก
2) ผกู าํ กบั ลกู เสอื นาํ เสนอเกณฑก ารไดร ับเครือ่ งหมายลกู เสือช้ันพเิ ศษใหก บั ลกู เสอื
3) ผูกํากับลูกเสือสุมลูกเสือ 3 – 5 คน นําเสนอเกณฑการไดรับเครื่องหมายลูกเสือ
ชน้ั พเิ ศษ หลงั จากทฟ่ี งผกู าํ กบั ลกู เสอื นาํ เสนอ
4) ผกู าํ กับลูกเสือและลูกเสอื รวมกนั สรุปรายละเอยี ดของเกณฑ ท่ีถกู ตอง ลกู เสือบนั ทึก
ไวเ ปน ขอมลู
4.4 ผูก ํากบั ลูกเสือเลา เร่อื งที่เปนประโยชน
4.5 พธิ ีปด เปดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธง เลิก)
5. การประเมินผล
สงั เกต การมสี วนรว มในการทาํ กิจกรรม การแสดงออก การแสดงความคดิ เห็น และประเมิน
ความถกู ตองของการแตง เครอื่ งแบบและการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
8 คูมือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 1
เพลง
วันน้ยี นิ ดี
วันนย้ี นิ ดี ท่เี ราไดม าพบกนั (ซํ้า)
ยินดี ยินดี ยินดี มาเถดิ มา เรามารวมสนกุ
ปลดเปลอื้ งความทุกข ใหมันสิน้ ไป
มาเถดิ มา เรามารวมจิต
ชวยกันคิดทาํ ใหการลูกเสือเจริญ
เกม
ตามผนู ํา
วิธีเลน
แบงลูกเสือออกเปนกลุมๆ ละ 7-8 คน ยืนเขาแถวหนากระดานเรียงหนึ่ง ใหคนกลางหันไป
ทางเสนชัย สวนคนอื่นๆ หันหลังใหเสนชัย ใชขอศอกเก่ียวกันไว เม่ือผูกํากับลูกเสือใหสัญญาณ ให
ทุกคนวง่ิ ไปทเี่ สน ชยั กลมุ ใดถงึ กอนเปนฝาย ชนะ
ใบความรู
หลกั สูตรเครอื่ งหมายลกู เสือช้ันพเิ ศษ
ลกั ษณะเครือ่ งหมาย
เปน รปู สี่เหลี่ยมจตั รุ สั ขนาดดานละ 1 ซม. ตามแบบ พนื้ สีกากภี ายในมรี ปู ชอ ชยั พฤกษสขี าว
2 ชอ โคงเขา หากนั ปลายชอชยั พฤกษม ตี ราเครื่องหมายหวั ลกู ศรสขี าว ระหวางชอชยั พฤกษ มีหนา
เสอื สที อง เครอื่ งหมายน้ี ตดิ ท่กี ง่ึ กลางกระเปาเสอ้ื ขางขวา
\
ท่มี ารูปภาพ : http://www.prc.ac.th/scout/sc001.jpg
คูม ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 9
หลักสูตร
ผูทเี่ ขา เกณฑไ ดรบั เครือ่ งหมายลูกเสอื ชนั้ พเิ ศษ จะตองมคี ุณสมบตั ดิ งั นี้:
1. ไดร ับเครอ่ื งหมายลกู เสือโลก
2. สอบวชิ าพนื้ ฐานระดบั ลกู เสอื ชนั้ พิเศษได 5 วิชา คอื วชิ าการเดนิ ทางสาํ รวจ วิชาบรกิ าร และวชิ า
อ่นื อีก 3 วชิ า ซึ่งลูกเสือเปนผเู ลือก
3. ผานการฝก อบรมวชิ าความคดิ รเิ รม่ิ (Initiative Course) ซงึ่ ประกอบดวยการเดนิ ทางไกล ไปอยู
คา ยพกั แรมเปน เวลา 1 คนื การไปอยคู ายพกั แรมตอ งเดนิ ไปยงั ทอ งถิ่นทล่ี ูกเสอื ไมค ุน เคยจาํ นวน
ลกู เสือสามัญรุนใหญท่จี ะไปอยูคายพกั แรม ควรแบง เปนชดุ ชุดละ 4 คน การเดินทางไกลตอ งมี
ระยะทางอยา งนอย 8 กิโลเมตร และในระหวา งการเดนิ ทางใหสมมตุ ิวา มีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นอยางนอ ย
5 อยา ง เชน ชวยเหลือผูประสบภยั หรือมีผตู ิดอยูใ นทส่ี งู การใชเ ข็มทศิ การปฏบิ ตั งิ านในเวลา
กลางคืน การแปลรหัส และเหตฉุ กุ เฉินทางนํา้ เปน ตน เหตฉุ กุ เฉินเชนวาน้ใี หเ วน ระยะหางกนั
พอสมควร และลูกเสอื จาํ เปน ตอ งมคี วามรูในเร่ืองแผนทแ่ี ละเขม็ ทิศ จงึ จะสามารถเดินทางไปถงึ
จุดหมายปลายทางไดการฝกอบรมวชิ าความคิดริเริม่ น้ตี อ งมีลกั ษณะเปน การทดสอบอยา งจริงจังใน
เรอื่ งความตัง้ ใจจรงิ ความคดิ รเิ รม่ิ และการพ่งึ ตนเอง (Self-reliance)
4. คณะกรรมการดาํ เนินงานของกองและผูกํากับลูกเสอื เหน็ วา เปนผทู สี่ มควรไดร บั เครือ่ งหมาย
ลูกเสอื ชั้นพเิ ศษ
5. ไดร บั อนุมัติจากเลขาธกิ ารคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ หรอื ผอู ํานวยการลูกเสือจงั หวดั
แลวแตก รณี
เรอื่ งท่เี ปน ประโยชน
ความมีนํา้ ใจ
น้ําใจเปนส่ิงไมตองซื้อหาหรือลงทุนดวยเงินตรา เปนเพียงการกระทําซ่ึงแสดงออกใหเห็นวา
เราตองการชวยเหลือเพื่อนๆ พอแม และผูมีพระคุณ เทาท่ีเราพึงจะแสดงออก และกระทําไดในสิ่งท่ี
คดิ วาดงี าม ความมีนาํ้ ใจจะเปน ส่ิงทจ่ี รรโลงใหส ังคมมคี วามสุข
เรอื่ งน้สี อนใหร ูวา ทกุ คนควรมีนาํ้ ใจตอกนั
10 คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญ(เครอ่ื งหมายลกู เสือชน้ั พเิ ศษ) ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2
หนวยที่ 2 หนา ท่ีพลเมอื ง เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 2 ประวัตกิ ารลูกเสือไทย
1.จุดประสงคก ารเรียนรู
อธบิ ายประวตั กิ ารลกู เสือไทยและวธิ ดี าํ เนินการของขบวนการลกู เสอื ได
2. เนอ้ื หา
2.1 ประวตั กิ ารลกู เสอื ไทย
2.2 วธิ ดี าํ เนินการของขบวนการลูกเสือ
3. ส่ือการเรียนรู
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบความรู
3.3 เรือ่ งทีเ่ ปนประโยชน
4. กิจกรรม
4.1 พิธีเปด ประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู
1) ผูก ํากบั ลกู เสือบรรยายประวตั กิ ารลกู เสือไทย และวธิ ดี าํ เนินการของขบวนการลูกเสือ
โดยยอ และลกู เสอื จดบนั ทึก
2) ผกู ํากบั ลูกเสอื ใหลูกเสอื ซกั ถามขอสงสยั เกีย่ วกบั เนอื้ หาท่ีฟง
3) ผูกาํ กับลกู เสอื และลกู เสอื รว มกันสรปุ เก่ียวกับความรูที่ไดรบั จากการบรรยาย
4.4 ผกู ํากับลกู เสือเลา เรือ่ งทเ่ี ปนประโยชน
4.5 พธิ ีปด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธง เลกิ )
5. การประเมินผล
สังเกตพฤตกิ รรมขณะฟง การบรรยาย ความสนใจ และจากการซักถามปญหา
คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 11
เพลง ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 2
ใบความรู
คายพกั แรม
วนั น้ีรืน่ เริง สาราญสุขสันตอ รุ า
พวกเราไดมา มาอยคู ายพักแรม
เรารองเราราํ ยามเม่อื มาพักแรม
สบายคลา ยคนื จันทรแจม
พักแรม สขุ สนั ตอ รุ า (ซา้ํ )
พระราชประวตั ิสงั เขปของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจาอยหู วั
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงเปนพระราชโอรสองคที่ 2 ในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (สมเด็จพระนางเจาเสาวภา
ผองศรี) ทรงพระราชสมภพเมื่อวันเสารท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ไดรับพระราชทานพระนามวา
สมเด็จเจาฟา วชริ าวุธ
ทรงศึกษาวิชาหนังสือไทยกับพระยาศรีสุนทรโวหาร เม่ือพระชนมายุได 13 พรรษา จากนั้น
เสด็จไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศอังกฤษในสาขาประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร วรรณคดี ที่
มหาวิทยาลัยออ กซฟอรด และวิชาทหารบกท่ีโรงเรยี นแซนด-เฮิสต รวม 9 ป
พระองคเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตอจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ เม่ือวันที่ 23 ตุลาคม
2453ขณะพระชนมายุ 31 พรรษา ตลอดรัชสมัยไดทรงประกอบพระราชกรณียกิจทํานุบํารุง
ประเทศชาติในดานการปกครอง การทหาร การศึกษา การสาธารณสุข การคมนาคม การศาสนา
โดยเฉพาะทางวรรณคดีทรงพระราชนิพนธทั้งรอยแกว รอยกรอง ประมาณ 200 เร่ือง ดวยพระปรีชา
สามารถของพระองค ประชาชนจึงถวายพระสมัญญาแดพระองควา “พระมหาธีรราชเจา” ทรงอยูใน
ราชสมบัติเพียง 16 ปเสด็จสวรรคตเม่ือวันท่ี 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระชนมายุ 46 พรรษา
ดวยพระราชกรณียกิจท่ีทําคุณประโยชนแก บานเมืองอยางใหญหลวง รัฐบาลและประชาชน
ไดรวมใจกันสรางพระบรมรูปของพระองค ประดิษฐานไวที่สวนลุมพินี สําหรับคณะลูกเสือแหงชาติ
และคณะลูกเสือทั่วราชอาณาจักรไดรวมใจกันสรางพระบรมรูปของพระองคประดิษฐานไวหนาคาย
ลูกเสือวชริ าวธุ อาํ เภอศรรี าชา จังหวัดชลบุรี
ในระยะท่ีมีการกอตั้งลูกเสือขึ้นในโลกน้ัน ประเทศไทยตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎ-เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 สถานการณของโลกในขณะนั้นกําลังทวีความคับขัน อิทธิพล
ของวัฒนธรรมตะวันตกเร่ิมไหลเขาสูเมืองไทย พรอมกับการแพรระบาดของระบอบมหาชนรัฐ และ
ภัยของชาติไทยก็คือการถูกรุกเงียบ แตดวยพระปรีชาญาณ ทรงเห็นการณไกล พระองคจึงทรงมี
12 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2
พระราชดําริวา การลูกเสืออันสืบเนื่องมาแตงานปลุกชาติทางตรงน้ัน หาก ไดนํามาปรับปรุงใชให
เหมาะสมกับเด็กไทยก็จะเปนคุณประโยชนอันใหญหลวงแกชาติบานเมืองทรงมั่นพระราชหฤทัยเปน
อยางย่ิง พรอมท้ังทรงประกอบดวยความกลาหาญท่ีจะฟนฝาอุปสรรคทั้งปวง เปนตนวา คําตําหนิติ
เตียนอันเกิดจากประชาชนที่ยังไมเขาใจวัตถุประสงคและกิจการลูกเสือดีพอ เชน ผูปกครองเด็ก
โดยมากไมใครเต็มใจยินยอมใหเด็กของตน สมัครเขาเปนลูกเสือ โดยเขาใจไปวาการลูกเสือก็คือการ
เปนทหารนั่นเอง ประกอบทั้งการลูกเสือตองเปนการเสียสละดวยความเต็มใจ จึงเปนการลําบากอยู
มาก
ในช้ันแรกพระองคไ ดด ําเนินกศุ โลบาย โดยทรงพระอตุ สาหะจัดตั้ง “กองเสือปา” ขึ้นกอน เม่ือ
วันที่ 1 พฤษภาคม 2454 ทรงฝกพวกผูใหญ (สวนใหญเปนพวกขาราชการ) เรียกวาพวกพอเสือ
ดวยพระองคเอง โปรดเกลา ฯ ใหมีการซอมรบ และฝกซอมกลยุทธตาง ๆ ตามหลักวิชาการทหาร ท่ี
พระองคไดรับการอบรมมา ทั้งนี้เพื่อเปนการ ปลูกฝงความนิยมใหประชาชนชาวไทยรูจักคุณคาแหง
การทหาร ดวยทรงเล็งเห็นวาประเทศจะดํารงอิสรภาพอยูไดก็ดวยประชาชนทั้งหลายรักประเทศ
ตอมาไดทรงพระดําริวา กองเสือปาไดตั้งขึ้นเปนหลักฐานแลวพอท่ีจะหวังไดวาจะเปนผลดีแตผูที่จะ
เปนเสือปาน้ันตองนับวาเปนผูใหญแลว ฝายเด็กผูชายที่ยังอยูในวัยเด็กก็เปนผูท่ีสมควรไดรับการ
ฝกฝนท้ังในสวนรางกายและจิตใจ ใหมีความรูทางเสือปาเพ่ือวาเมื่อโตข้ึนจะไดรูจักหนาท่ีผูชายไทย
ทุกคนควรประพฤติใหเปนประโยชนแกชาติบานเมืองอันเปนบานเกิดเมืองนอนของตน และการ
ฝกฝนปลุกใจใหคิดถูกเชนนี้ ตองรีบฝกฝนเสียตั้งแตยังเยาว เปรียบเหมือนไมท่ียังออนจะดัดใหเปน
รูปอยา งไรกเ็ ปนไดโดยงา ยและงดงาม แตถ ารอ ไวจนแกเสียแลวเมื่อจะดัดก็ตองเขาไฟ และมักจะหัก
เสยี ในขณะทด่ี ัด ดงั น้ฉี ันใดสันดานคนก็ฉนั น้นั
เมื่อมีพระราชดําริดังน้ีแลว จึงโปรดเกลาฯ ใหตั้งกองลูกเสือขึ้นตามโรงเรียนและสถานท่ีอัน
สมควร และโปรดเกลาฯ ใหมีกําหนดขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือขึ้นไว เม่ือวันที่ 1 กรกฎาคม
2454 พระราชประสงคท ่ีไดค ิดจดั ใหม ลี ูกเสือข้ึนนั้น ก็โดยปรารถนาที่จะใหเด็กไทยไดศึกษาและจดจํา
ขอสําคญั 3 ประการ คือ
1. ความจงรักภักดีตอ ผูทรงดํารงรฐั สมี าอาณาจกั รโดยตอ งตามนิตธิ รรมประเพณี
2. ความรกั ชาตบิ า นเมอื ง และนับถอื พระศาสนา
3. ความสามัคคีในคณะ และไมท าํ ลายซึ่งกันและกัน
ซงึ่ ทัง้ 3 ประการนี้เปนรากฐานแหงความม่นั คงทจี่ ะนําใหชาติดํารงอยูเปนไทยไดสมนาม กองลูกเสือ
ของประเทศไทยที่ตั้ง นับไดวาเปนลําดับท่ี 3 ของประเทศที่มีการลูกเสือในโลก และกองลูกเสือ
กองแรกต้ังข้ึนท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยในปจจุบัน) ลูกเสือคนแรก คือ
นายชัพน บุนนาค นักเรียนโรงเรียนมหาดเล็กหลวง ซ่ึงถือวาไดแตงเคร่ืองแบบ ลูกเสือเปนคนแรก
และ ผูท่ีไดกลาวคําปฏิญาณของลูกเสือเปนคนแรก โดยพระองคทานไดมีพระราช โองการวา “อาย
ชัพน เอ็งเปนลูกเสือแลว” ตอ มากิจการลกู เสือกไ็ ดแพรห ลายไปยงั ทองถ่นิ ตา ง ๆ ใน ประเทศไทย
คูมือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 13
ประวตั ิการลกู เสือไทย
การลูกเสือไดอุบัติขึ้นเปนแหงแรกของโลก ณ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ.2451โดย พลโท
ลอรด เบเดน เพาเวลล มลู เหตทุ ีท่ าํ ใหกอ กําเนิดการลูกเสือขึ้นมาคือในป พ.ศ.2442ทานไดถูกราชการ
ทหารสงไปทําหนาที่รักษาเมืองมาฟคิง (Mafeking) อันเปนเมืองขึ้นของอังกฤษในสหภาพ
อัฟริกาใต ในคราวเกิดสงครามกับพวกบัวร โดยมีทหารอยูในบังคับบัญชาอยูเพียง 2 กองพันแตตอง
ตอสูกับศัตรูซึ่งมีกําลังมากกวาถึง 3 เทา ตองตกอยูในวงลอมของขาศึกถึง 217 วันทหารในบังคับ
บัญชาไดเสยี ชวี ติ และลม เจบ็ ลงเปน จํานวนมาก แตท า นก็ประวิงเวลาขาศึกไวไดโดยไมเสียที่ม่ัน จนมี
กองทพั หนุนสง ไปรว ม
การท่ีรักษาเมืองมาฟคิงไวได ก็เนื่องจากทานไดต้ังกองทหารเด็กข้ึนหนวยหน่ึง เปนกําลัง
ชวยเหลือในดานตาง ๆ ซ่ึงไดผลดีมากเพราะเด็ก ๆ ไดปฏิบัติหนาท่ีที่รับมอบหมาย ไดอยางดีไมแพ
ผูใหญ บางอยางกลับปฏิบัติไดดีกวาผูใหญอีกดวย เมื่อกลับจากสงครามทานจึงเร่ิมโครงการอบรม
เด็กข้ึน โดยนําเด็ก 20 คน ไปอยูคายพักแรมที่เกาะบราวนซี ในป พ.ศ.2450ปรากฏวา ไดผลดีมาก
จึงต้งั กองลกู เสือข้นึ อยา งจริงจังเปน คร้ังแรกในประเทศอังกฤษ เมอื่ ป พ.ศ. 2451
2.1 การลูกเสอื ไทยในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยหู ัว (รัชกาลที่ 6)
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสแกราษฎร ในงานพระราชพิธี
บรมราชาภิเษก เม่ือวันเสารท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 ความตอนหนึ่งวา “การตั้งกองเสือปาข้ึนดวย
ความมุงหมายจะใหคนไทยทัว่ กนั รสู กึ วา ความจงรักภักดีตอผูดํารงรัฐสีมาอาณาจักร โดยตองตามมติ
ธรรมประเพณีประการ 1 ความรักชาติ บานเมืองและนับถือพระศาสนาประการ 1 ความสามัคคีใน
คณะและไมท ําลายซ่ึงกันและกันประการ 1”
นอกจากน้ียังมีพระราชปรารภในการจัดตั้งกองลูกเสือปาวา “มีพลเรือนบางคนท่ีเปน
ขาราชการและที่มิไดเปนขาราชการ มีความปรารถนาจะไดรับความฝกหัดอยางทหาร แตยังมิไดมี
โอกาสฝกหัด เพราะติดหนาท่ีราชการเสียบาง การฝกหัดเปนทหารนั้นยอมมีคุณประโยชนแก
บานเมืองอยูหลายอยางท่ีเปนขอใหญขอสําคัญก็คือกระทําใหบุคคลซึ่งไดรับความฝกฝนเชนนั้นเปน
ราษฎรดขี น้ึ กลา วคอื ทําใหกําลังกายและความคดิ แกกลา ในทางท่เี ปนประโยชนดวยเปนธรรมดาของ
คน ถาไมมี ผูใดหรือส่ิงใดบังคับใชกําลัง และความคิดของตนแลวก็มักจะกลายเปนคนออนแอไป”จึง
ไดท รง พระกรณุ าโปรดเกลา สถาปนาเสือปาขน้ึ ไวตงั้ แตว ันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2454
14 คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 2
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหเ สอื ปา หญงิ และขา ราชบรพิ ารถา ยภาพรว มกบั พระองค. .... อานตอ ได
ท่ี: https://www.gotoknow.org/posts/281703
2 เดือน ตอมาจึงไดทรงพระราชทานกําเนิดลูกเสือข้ึนเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2454 ซ่ึงเปน
เวลา 3 ป หลังจากการลูกเสือไดถูกสถาปนาข้ึนในประเทศอังกฤษ โดยทรงมีพระราชปรารภวา “กอง
เสือปาไดตั้งขึ้นเปน หลักฐานแลว พอจะเปนท่ีหวังไดวาจะเปนผลดีตามพระราชประสงค แตผูที่จะ
เปน เสอื ปาตอ งเปนผูที่ นบั วา เปนผใู หญแลว ฝายเด็กชายทีย่ ังอยใู นปฐมวยั ก็เปน ผทู ่ีสมควรจะไดรับ
ความฝกฝนทั้งในสวน รางกายและในสวนใจใหมีความรูในทางเสือปา เพ่ือวาเมื่อเติบใหญขึ้นแลวจะ
ไดรจู ักหนา ที่ซ่ึงผชู าย ไทยทกุ คนควรจะประพฤตใิ หเปนประโยชนแกชาติบานเมืองอันเปนท่ีเกิดเมือง
นอนของตน และการ ฝก ฝนปลกุ ใจใหค ิดถกู เชนนี้ ตองเริ่มฝกฝนเสียแตเมือยังเยาวอยู เปรียบเหมือน
ไมท ่ยี งั ออ นจะไดดัดไปเปนรปู อยา งไรก็เปนไปไดงา ยและงดงาม แตถ ารอไวจนแกเสียแลว เม่ือจะตอง
ดดั ก็ตองเขาไฟ และมักจะหักลิไดในขณะท่ีดัด ดังน้ีฉันใด สันดานคนก็ฉันน้ัน”จึงทรงพระกรุณาโปรด
เกลา ฯ ใหกําหนดขอ บังคบั ลักษณะปกครองลกู เสอื ข้ึน และพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหจัดต้ัง
กองลกู เสือขึ้นตามโรงเรยี นและสถานท่ีอนั สมควร กจิ การลกู เสือจงึ กาํ เนิดขึ้นในประเทศไทยในวันที่ 1
กรกฎาคม พ.ศ.2454 เปน ตนมา
ในเดือนพฤษภาคม 2456 เรือโดยสาร “บางเบิด” จากกรุงเทพ ฯ จะไปสุราษฎรธานีไดเกิด
อับปางลงเม่ือเวลาราว 22.00 น.บริเวณใกลเกาะสีชังลูกเสือโทฝาย บุญเล้ียง อายุ14ป แหงกอง
ลูกเสือมณฑลสุราษฎรไดชวยชีวิตชายชราและเด็กหญิงผอง ผูโดยสารมากับเรือใหรอดพนจากความ
ตายอยางเต็มความสามารถ ทั้งสามคนตองอยูในน้ําเปนเวลานาน 8 ชั่วโมงจนกระท่ังรุงเชา จึงมีเรือ
กลไฟชื่อ “ฮอลวาด” ไปพบเขาและนําตัวสงที่เกาะสีชัง ลูกเสือโทฝายไดรับพระราชทานเหรียญ
ราชนิยมเมื่อวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2457ในพระราชพิธีฉัตรมงคล ตอมาลูกเสือโทฝายผูน้ี ไดรับ
พระราชทานนามสกุลวา "บุญเล้ียง" ตอมาเม่ือสําเร็จการศึกษาแลวก็ไดเขารับราชการเปนครูไดรับ
พระราชทานบรรดาศกั ด์ิ เปน ขุนวรศาสนด รณุ กจิ
คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 15
ภายหลังจากที่ไดต ราขอ บงั คบั ลักษณะปกครองลกู เสอื ออกมาแลว เพื่อใหการลูกเสือไดดําเนนิ
ไปดังพระราชประสงคจึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหต้ังสภากรรมการกลางขึ้นโดยไดทรงพระ
กรณุ าเขารับตําแหนงหนาทีเ่ ปน สภานายกแหงสภากรรมการกลางดว ยพระองคเ อง
พรอมกันนี้ไดท รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหส มเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอกรมพระยาดาํ รงราชา
นุภาพ ซ่ึงขณะนั้นยังทรงดํารงพระอิสริยยศเปนสมเด็จกรมพระฯ และกําลังดํารงตําแหนงเสนาบดี
กระทรวงมหาดไทย เปนผูตรวจการใหญและเปนอุปนายกดวยตามขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ
รวมท้ังทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหเจาพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (ม.ร.ว.เปย มาลากุล) ซึ่ง
ดํารงตําแหนง ผรู ั้งตําแหนงเสนาบดีกระทรวงธรรมการเปน กรรมการ และทรงพระกรุณา โปรดเกลา ฯ
ใหพระยาบรุ นี วราษฐเปนเลขานุการ
ตําแหนงผูตรวจการใหญ และอุปนายกดังกลาวนี้ ตอมาในป พ.ศ.2457 สมเด็จกรมพระยา
ดํารงราชานุภาพ ไดกราบถวายบังคมลาพักราชการจึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหเจาพระยา
เสดจ็ สุเรนทราธบิ ดี เขารับตาํ แหนงแทนสบื มา จนถึงเวลาท่ีทานผนู ป้ี วยหนักและชราภาพ จึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกลา ฯ ใหพระยาไพศาลศิลปศาสตร (รื่น ศยามานนท- ตอมาไดเล่ือนข้ึนเปนพระยาราช
นุกูลวิบูลภักดี) อธิบดีกรมศึกษาธิการ เขารับตําแหนงแทนตั้งแต 27 พฤษภาคม พ.ศ.2457 และได
ดาํ รงอยใู นตาํ แหนง น้ตี ลอดมาจนส้ินรชั สมัย
ตอจากตั้งสภากรรมการกลาง และผูตรวจการใหญแลว เพื่อใหกองลูกเสือไดต้ังข้ึนโดยเร็วใน
มณฑลกรุงเทพ ฯ อันเปน มณฑลราชธานี เพื่อจะไดเปนตัวอยางแกม ณฑลอื่น ๆ ตอ ไป จงึ ไดท รงพระ
กรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหมีสภากรรมการประจํามณฑลกรุงเทพ ฯ ข้ึนในอันดับตอมา โดยไดโปรด ฯ ให
เจาพระยายมราช (ปนสขุ มุ ) เสนาบดกี ระทรวงนครบาลอยูในขณะนน้ั เปนสภานายก
นอกจากน้วี ัตถปุ ระสงคที่กลาวมาแลว พระองคยังไดทรงพระราชนพิ นธเกี่ยวกับวัตถุประสงค
ของการตง้ั กองลูกเสือไวใ นพระราชนพิ นธ เรอื่ งประโยชนแหงเสอื ปาและลกู เสอื ในเวลาสงครามวา
...การท่ีจะคิดหวังใหลูกเสือทําการตอสูศัตรูจริง ๆ จัง ๆ นั้น ยอมไมไดอยูเอง เพราะโดยมาก
ลูกเสอื ไมมีปน ทีจ่ ะยงิ แตก ม็ ีหนทางทจี่ ะชว ยปลดเปล้ืองกงั วลแหง ฝา ยทหารมี อาทิ คือ
1. อาจจะเล็ดลอดไปสือ่ ขาวคราวไดในท่บี างแหง
2. เปนผูสงขาวระหวางกองกับกองได ขอน้ีเปนประโยชนไดมากเพราะไมตองถอนพลรบ
ไป ทาํ หนาทไ่ี ปรษณียบ ุรุษ
3. ชวยสะกดรอยตามและจับผูท่ีนาสงสัยวาเปนผูลักลอบสอดแนมได กิจน้ีปรากฏวา
องั กฤษ ไดใชแ ลวไดประโยชนดีมาก ในการสงครามคราวน้ีลูกเสืออังกฤษจับคนลักลอบสอดแนมของ
เยอรมันในเมืองอังกฤษไดแลวหลายคน กระทรวงทหารบกอังกฤษ จึงออกประกาศรับรองคณะ
ลกู เสือเปน คณะผชู วยพลรบคณะหนง่ึ
4. ชวยระวังรักษาการติดตอ เชน สายโทรเลข สะพานและทางรถไฟ เปนตน ซึ่งทั้งอังกฤษ
และฝรัง่ เศสใชลกู เสือในงานสงครามปน ้ี
5. ชวยคุมเสบียงสงท่ีฐานทัพ กิจน้ีฝรั่งเศสไดใชลูกเสือกระทําอยูโดยมาก นับวาเปน
ประโยชนเพราะไมต อ งถอนกาํ ลังพลรบไปในทางท่ีหา งไกลสนามรบ
16 คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2
6. ชวยรักษาความสงบภายในเมืองใหญ ๆ กิจนล้ี ูกเสือทงั้ องั กฤษและฝรั่งเศสไดแ สดงใหเห็น
ปรากฏแลววาสามารถทําไดดี เชน ท่ีปารสี เมื่อกอนจะเกิดสงครามหนว ยหนึ่ง ลูกเสือฝรั่งเศสประมาณ
40 คน ไดตอสูกับพวก "อะปช" (คนจรจัด) 100 กวาคนซ่ึงมีปนพกใชยิง และถือไมกับขวางกอนอิฐ
พวกลูกเสือใชพลองเขารุกไล ตีพวกจรจัดเจ็บถึงตองเขาโรงพยาบาล 2 หรือ 3 คน หัวแตกอีกหลาย
คน นอกนน้ั หนีไป
7. ชว ยในการพยาบาลคนถูกอาวุธ และคนไข คือชวยหา มเลอื ด และว่งิ เตนตา ง ๆ เปน ตน
กิจเหลานี้ ลว นเปนสงิ่ ซึง่ ลูกเสือสามารถจะทําไดโดยแทและเปนขอควรลูกเสือไทยเราจะ เตรียมตัวไว
พรอมที่จะทาํ เพ่อื เปน ประโยชนและเพื่อกลาวไดว า ถึงยงั เปนเดก็ ก็ไดท าการชว ยบา นเมือง
กองลูกเสือกองแรกของประเทศไทยไดต้ังขึ้นท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ
วิทยาลัยในปจจุบัน) พระองคทรงไดเอาเปนพระราชธุระในการอบรมส่ังสอนตลอดจนการดําเนินงาน
ท่ัว ๆ ไปของกองลูกเสือนี้โดยตรง ทั้งนี้เพื่อทรงหวังจะใหเปนแบบอยางสําหรับโรงเรียนอื่น ๆ หรือ
สถานท่ีตาง ๆ ที่มีความประสงคจะต้ังกองลูกเสือข้ึน จะไดยึดเปนแบบอยางตอไป กองลูกเสือกองน้ี
จึงไดนามวา “กองลกู เสอื กรงุ เทพ ฯ ที่ 1” ผทู ่ีเปนลกู เสอื คนแรกคอื นายชัพน บุนนาค เพราะสามารถ
กลาวคําปฏิญาณไดเปนคนแรกวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2454 ไดพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให
กองลูกเสือท่ี 1 ไดเขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท ณ สโมสรสถานเสือปา และไดสอบซอมวิชาลูกเสือ
ตามแบบที่ทรง พระราชนิพนธไวสําหรับสั่งสอนเสือปาและลูกเสือและไดทรงพระราชทานนามกอง
ลูกเสอื มหาดเล็กหลวงซึ่งเปน กองแรกในประเทศไทยน้วี า “กองลกู เสอื หลวง”
กิจการลูกเสือก็ไดแพรหลายไปทั่ว กรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ (ในสมัยน้ัน) จึงได
เร่ิมฝกฝนผูที่จะเปนผูกํากับลูกเสือและรองผูกํากับลูกเสือจนมีจํานวนมากขึ้น จึงทําใหสามารถนําไป
ส่ังสอนอบรม นักเรียนใหมีความรูในวิชาลูกเสือมากข้ึน จากการน้ีเอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
ใหตั้งกองลูกเสือเพิ่มข้ึนเปนลําดับตอมา พระองคจึงทรงใหตั้งกองฝกหัดผูกํากับลูกเสือขึ้นในบริเวณ
สโมสร คณะเสอื ปา ณ พระราชวังสวนดุสติ สาํ หรบั เปนสาํ นักศึกษาวชิ าผูกํากับลกู เสือ โดยกําหนดให
มี กําหนดเวลาเลาเรียน 2 เดือนเต็ม เร่ิมต้ังแตวันท่ี 1 พฤศจิกายน เปนตนไปจนถึงวันท่ี 31 ธันวาคม
เสมอไปทุกๆ ปเมื่อนักเรียนผูใดศึกษาวิชาครบหลักสูตรและสอบไลไดตามหลักสูตรก็ทรงพระกรุณา
โปรด เกลา ฯ พระราชทานใบประกาศนยี บัตรเปนสาํ คญั
หลังจากที่กองลูกเสือไทยไดกําเนิดข้ึนประมาณ 6 - 7 เดือน ขาวจากประเทศไทยก็แพร
สะพดั ไปยงั ประเทศตา ง ๆ วา พระเจาแผน ดนิ ไทยทรงใฝพ ระทยั ในกจิ การลูกเสอื เปน อยางย่ิง
ดวยเหตุน้ี มิสเตอรซิดนีย ริเชส ผูกํากับลูกเสือกองลูกเสือท่ี 4 กรุงลอนดอน จึงไดมีหนังสือกราบ
บังคมทูลพระกรุณาขออัญเชิญพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวใหเปนองคอุปถัมภ และขอพระราชทาน
นามกองลกู เสอื นีว้ า“กองลูกเสอื รกั ษาพระองคพระเจาแผนดินสยาม” (THE KING OF SIAM'S OWN
BOY SCOUT GROUP) พระองคไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาตามท่ีขอมา และใหกองลูกเสืออังกฤษ
กองน้ตี ดิ เครอ่ื งหมายเปนรูปธงชาติพ้ืนสีแดงเครื่องหมายชางเผือกอยูตรงกลางที่แขนเส้ือทั้ง สองขาง
ซง่ึ กองลูกเสอื กองนย้ี ังปรากฏอยตู ราบเทาทุกวนั น้ี
คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 17
การฝกอบรมลูกเสือไดปรากฏผลดีเปนอยางย่ิง พระองคทรงใหมีพิธีเขาประจํากอง ลูกเสือ
ข้ึนเปนคร้ังแรกในวันที่ 3 สิงหําคม พ.ศ. 2454 โดยใหลูกเสือหลวงที่สอบไลไดแลวนั้นเขา กระทําพิธี
ประจาํ กองตอหนาพระทนี่ ั่ง ณ พระที่นัง่ อภิเศกดุสิต ในพิธีน้ีทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกองลูกเสือ
ตาง ๆ ที่มีอยูในกรุงเทพ ฯ ในเวลาน้ัน เขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาทดวย เพ่ือศึกษาพิธีการประจํา
กองดวยเมื่อลูกเสือไดทําพิธีเขาประจํากองกันบางแลว จึงทรงพระราชทานธงประจํากอง เพื่อรักษา
ไวตางพระองคตามลําดับไป กองลูกเสือหลวงไดรับพระราชทานธงเปนกองแรกในป พ.ศ.2457 และ
ไดทรงพระราชทานใหกับกองลูกเสือตาง ๆ ในโอกาสอันสมควร เชน การเสด็จหัวเมืองตาง ๆ เปน
ตน ธงท่ีพระราชทานใหกองลูกเสือน้ีมีรูปรางลักษณะท่ีแตกตางกันไป สุดแตจะทรง คิดขึ้น
พระราชทานใหต ามความเหมาะสมของแตล ะมณฑล
ในวันท่ี 1 เมษายน 2457 พระองคจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมีพระราชกําหนด
เคร่ืองแตงตัวลูกเสือใหเหมาะสมกับสมัย และในวันที่10 เมษายน พ.ศ. 2459 ไดทรงมีประกาศ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหลูกเสือมณฑลปตตานี ใชหมวกกลมแบบมลายูดวยเหตุผลวา
เน่ืองจากลูกเสือในมณฑลปตตานีนี้ เปนบุตรหลานชาวมลายู ซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม จึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหกองลูกเสือมณฑลปตตานีใชหมวกสักหลาด
หรอื กํามะหยีส่ ีดาํ ชนดิ กลมแบบหมวกมลายูเปนพเิ ศษ
ปพ.ศ.2461 พระองคจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหออกขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ
พุทธศักราช 2461 ใหม เพราะขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือพุทธศักราช 2454 น้ัน ไดมีการแกไข
หลายครัง้
ดวยพระปรีชาญาณและพระราชดําริท่ีวาพลเมืองทุกเพศทุกวัยยอมเปนทรัพยากรสําคัญ
ของชาตเิ มอ่ื ชาตเิ จริญก็ยอ มเจริญดวยกันและเม่อื ชาติพินาศลม จมใครเลา จะอยไู ดดว ยเหตนุ ี้หลงั จาก
ไดทรงสถาปนาการลูกเสือขึ้นเปนหลักฐานแลว จึงไดทรงเตรียมการที่จะสถาปนา“เนตรนารี (GIRL
GUIDE)” หรือท่ีเรียกกันวา“ลูกเสือหญิง” สําหรับเด็กหญิงดวย เพื่อคูกับลูกเสือซ่ึงไดตั้งขึ้นเรียบรอย
แลวสําหรับเด็กชายจึงทรงมีพระราชประสงคท่ีจะใหมีการฝกฝนในแบบเดียวกันเพื่อความสมบูรณ
18 คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 2
แหงทรัพยากรดังกลาว พระองคจึงทรง มอบใหพระยําไพศาลศิลปศาสตรไปรางกฎระเบียบไว การ
รา งกฎระเบียบตา ง ๆ เสรจ็ เรยี บรอย แตย งั ไมท ันประกาศใช พระองคไ ดเ สดจ็ สวรรคตเสียกอ น
พ.ศ.2463 ไดมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือโลกข้ึนเปนคร้ังแรกณ โอลิมเปย กรุงลอนดอน
ประเทศอังกฤษ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลา ใหคัดเลือกเอานักเรียนกระทรวงธรรมการ ซึ่งกําลัง
ศึกษาอยูในประเทศอังกฤษ เปนผูแทนคือนายสวัสด์ิ สุมิตร นายศิริ หัพนานนท นายสง เทพาสิต
และนายศริ ิ แกวโกเมน
พ.ศ. 2465 คณะลูกเสือไทยสมัครเขาเปนสมาชิกของคณะลูกเสือโลก ซ่ึงขณะนั้นมีสมาชิก
รวม 31 ประเทศ ท้งั 31 ประเทศทเ่ี ขา เปน สมาชกิ รนุ แรกน้ี ถอื วาเปนสมาชิกผูกอ ตงั้
พ.ศ. 2467 ผูแทนลูกเสือไทย 10 คน ไดไปรวมการชุมนุมลูกเสือโลกคร้ังท่ี 2 ณ ประเทศ
เดนมารค โดยมีพระยาภรตราชา ผูดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ เปนหัวหนาคณะ สวนผูแทน
ลูกเสือไทยอีก 9 คน เปนนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในประเทศอังกฤษ คือ นายประเวศ จันทนย่ิงยง
นายปุน มีไผแกว นายสวัสด์ิ สุมิตร นายเล็ก สุมิตร นายนารถ โพธิประสาท ม.ล.พันธุ ศิริวงศณ
อยุธยา นายทวี บุณยเกตุ นายศิริ หัพนานนท และนายวงศ กุลพงศ และในปเดียวกันน้ี ในฐานะที่
พระองคทรงดํารงอยูในราชสมบัติมาจะครบ 15 ป ในป พ.ศ. 2468จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
ใหเตรียมจัดงานพระราชพิธีเฉลิมฉลองข้ึนเปนการสมโภชสิริ ราชสมบัติเสมอดวยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลท่ี 2 พรอมกันนั้นก็ไดโปรดเกลา ฯ ใหเตรียมจัดงานสยามรัฐ
พิพิธภัณฑขึ้นที่สวนลุมพินีดวย ในการเตรียมการสมโภชนี้ ไดทรงพระ กรุณาโปรดเกลา ฯ ให
เจาพระยารามราฆพ เปนผูอํานวยการ และพระยาไพศาลศิลปศาสตรเปน เลขาธิการ การจัดงาน
ชุมนุมลูกเสือไดมีการเตรียมการไวทุกอยางพรอมหมดแลว ไดมีประกาศการ ชุมนุมลูกเสือแหงชาติ
คร้ังแรกและขอกําหนดตาง ๆ ไวอยางพรอมมูลแตแลวในวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2468 เหตุการณ
มหาวิปโยคก็ไดบังเกิดข้ึนอยางไมมีใครคาดคิดมากอน พระองคทรงมีพระอาการ ประชวรดวย
พระโรคเกี่ยวกับพระอันตะ (ไสต่ิง) ซ่ึงแพทยหลวงคาดวาพระอาการจะไมหนัก ซ่ึง ขณะน้ันพระองค
ทรงมีพระชนมายุเพียง 45 พรรษา เทาน้ัน แตก็เสด็จสูสวรรคาลัยโดยฉับพลัน อันเปนผลใหงานตาง
ๆ ท่ีเตรียมไวตองหยุดชะงักงันในบัดดล งานชุมนุมลูกเสือแหงชาติครั้งแรกจึง พลอยตองหยุดชะงัก
ไปดวยโดยปริยาย
2.2 การลูกเสือไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูห วั (รชั กาลที่7)
เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จสวรรคตตําแหนงนายกสภากรรมการ
กลางวางลง คณะกรรมการสภากรรมการกลางจดั การลูกเสือ จงึ นําความข้ึนกราบบังคมทูลพระกรุณา
ขออัญเชิญใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ใหทรงรับตําแหนงนายกสภากรรมการกลาง
ปรากฏวาไดรับพระมหากรุณาธิคุณทรงรับตําแหนง ความกาวหนาของกิจการ ลูกเสือไทย จึง
กาวหนาไปอยา งไมหยดุ ยง้ั
พ.ศ.2468 ผูอํานวยการสมาคมลูกเสือนานาชาติไดแจงยังคณะลูกเสือไทยวา คณะลูกเสือ
อังกฤษจะจัดใหมีการประชุมเกี่ยวกับลูกเสือรุนใหญ (ROVERS) ข้ึน ณ กรุงลอนดอน พระองคก็ทรง
คูมือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 19
พระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหคัดเลือกนักเรียนไทย 2 คน คือ นายปุน มีไผแกว กับนายประเวศ จันทน
ยง่ิ ยง ซง่ึ กําลงั ศกึ ษาอยทู ปี่ ระเทศอังกฤษ เปน ผเู ขา รว มประชุม
งานชุมนุมลูกเสือนานาชาติ ณ เมืองคันเดอรเสตก ประเทศสวิสเซอรแลนด ระหวางวันที่ 22
- 28 สิงหาคม พ.ศ.2469พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ คัดเลือก นักเรียน
ไทยที่กําลังศึกษาอยูที่ประเทศอังกฤษ ซึ่งเคยเปนรองผูกํากับลูกเสือ หรือนายหมูลูกเสือเอกแลวไป
เขารวมชุมนุม และทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานใหเรียนฝกหัดวิชาผูกํากับลูกเสือ
(Scoutmaster’s Training Course) ดว ยมผี ไู ดรบั การคัดเลือก 8 คน คอื
1. นายสวัสด์ิ สมุ ติ ร
2. นายทวศี กั ด์ิ บญุ หลง
3. นายประเวศ จนทนยิ่งยง
4. นายปุน มไี ผแ กว
5. นายศิริ หพั นานนท
6. นายกี ศนวตั
7. นายเชิน สนุ ทรวจิารณ
8. นายจรสั บนุ นาค
อันเนื่องมาจากการเตรียมการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชําติคร้ังแรกในสมัยรัชกาลท่ี 6 ได หยุดชะงัก
ลงอยางฉับพลัน เนื่องดวยเหตุมหาวิปโยค ดังน้ันในป พ.ศ.2470 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา
เจาอยูหัว จึงไดทรงใหมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชําติคร้ังแรกข้ึนในงานพระราชพิธีฉัตรมงคลใน
ปลายป พ.ศ.2470 โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหจัดงานชุมนุมข้ึน ระหวางวันท่ี 26 กุมภาพันธ
ถึงวันท่ี 3 มีนาคม ซึ่งการชุมนุมคร้ังน้ีมีลูกเสือเขารวมชุมนุมรวมทั้งสิ้น 14 มณฑลดวยกัน โดยจัดท่ี
พระราชอุทยานสราญรมยเนื่องจากงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติท่ีจัดข้ึนเปนคร้ังแรกไดผลดีย่ิง สมพระ
ราชประสงค จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ กาํ หนดใหม กี ารชุมนุมลกู เสอื แหง ชาติ ทกุ 3 ป
ตําแหนงอุปนายกสภากรรมการกลางจัดการลูกเสือแหงชาติ (ซ่ึงในเวลาน้ันใชคําวา "แหง
สยาม") ซ่ึงพระยาไพศาลศิลปศาสตร ดํารงตําแหนงสนองพระเดชพระคุณมาเปนเวลาชานานนับแต
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และไดสรางสรรคความเจริญรุงเรืองใหแกวงการ
ลูกเสือไทยเปนอเนกประการน้ัน คร้ันมาในตอนน้ีไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหยายพระยา
ไพศาลศิลปศาสตรจากกระทรวงธรรมการไปรับราชการทางดานกระทรวงมหาดไทยจึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกลาใหพระวรวงศเธอพระองคเจาธานีนิวัติ (ตอมาคือพระวรวงศเธอกรมหมื่นพิทยลาภ
พฤฒยิ ากร) เสนาบดกี ระทรวงธรรมการในขณะนัน้ ทรงเขา รับหนาท่ีนีแ้ ทนต้งั แตวนั ที่ 14 พฤษภาคม
พ.ศ.2472 เปน ตนมา
ตอ มาสภากรรมการกลางตอ งการทีจ่ ะใหมกี ารปรบั ปรุงกจิ การลกู เสอื ใหม คี วามเจริญ
กาวหนามากข้ึนจึงไดจัดใหมีการอบรมวิชาผูกํากับลูกเสือข้ึน ณ สมัคยาจารยสมาคม (เดิมต้ังอยูใน
บริเวณสวนกุหลาบวิทยาลัย) ระหวางวันท่ี 29 สิงหาคม ถึงวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2472 และในป
พ.ศ. 2473 จึงไดมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติครั้งที่สองขึ้น โดยกําหนดไวในวันที่ 1 มกราคม
20 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2
ถึงวันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2473 ที่พระราชอทุ ยานสราญรมยเชนเดมิ ซงึ่ ตรงกับอภลิ กั ขิตสมัยคลายวนั
พระบรมราชสมภพแหงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว การชุมนุมครั้งน้ีลูกเสือญี่ปุนได
มารวมชุมนุมดวยจํานวน 22 คน เม่ือเสร็จส้ินงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติ คร้ังท่ี 2 น้ี ซึ่งไดผลดี เปน
อยางย่ิง และเพ่ือใหกิจการลูกเสือมีความเจริญยิ่งขึ้นจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน
สถานที่ในบริเวณพระรามราชนเิ วศน จังหวัดเพชรบุรี (พระราชวังบานปน) เปนสถานที่อบรม โดยให
จดั ขนึ้ ทุกป โดยใชเ วลาระหวางหยดุ ภาคเรียนฤดรู อน 2 เดอื นในการอบรม
ประเทศไทยไดเกิดการปฏิวัติเปล่ียนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมา
เปนระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เปนผลใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลา
เจาอยหู ัว สภานายกสภากรรมการกลางจัดการลูกเสือแหง ชาติ ตอ งสละราชสมบัติในกาลตอ มา ทําให
กิจการลูกเสือไทยท่ีพระองคทรงเกื้อกูลอยูตางพลอยซบเซาไปดวย ประกอบกับพระวรวงศเธอ
พระองคเจาธานีนิวัติไดทรงลาออกเน่ืองจากตองทรงพนจากตําแหนงเสนาบดีกระทรวงธรรมการ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหพระยาประมวลวิชาพูล (วงศ บุญหลง) เขารับหนาท่ีแทน เมื่อวันท่ี
16 สิงหาคม พ.ศ. 2475 แตดํารงตาํ แหนงอยูเพียงปเศษ ก็กราบถวายบังคมทูลลาออก เนื่องจากตอง
ยายตําแหนงหนาท่ีจากตําแหนงเดิม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหพระยาปรีชานุสาสน (เสริม ปณ
ยารชุน) ดํารงตําแหนงแทน แตอยูในตําแหนงไมถึงป ก็ตองกราบบังคมทูลลาออกอีก เนื่องจากมี
อาการเจ็บปวย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาให พระยาประมวลวิชาพูล กลับเขามารักษาการใน
ตําแหนง อีกวาระหน่ึง จนกระทัง่ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให น.ท.หลวงศุภชลาศัย (ยศขณะนั้น)
เปนอธิบดี กรมพลศึกษา เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2477 ตําแหนงอุปนายกสภากรรมการการจัดการ
ลูกเสือแหง ชาติ จึงตกมาอยูแก อธิบดีกรมพลศึกษา นบั ต้งั แตบัดนั้น
ความผันผวนทางการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไมมีท่ีสิ้นสุด ทั้งนี้เน่ืองจาก
ไดมีการเกิดปฏิวัติเกิดข้ึน เรียกกันวา “กบฏบวรเดช” การปฏิวัติครั้งนี้ปรากฏวา ลูกเสือไดเขาชวย
ฝาย ราชการทหารอยางกลาหาญ จนไดรับคําชมเชยจากฝายทหารเปนอันมาก และในระหวางท่ีมี
ความผันผวนทางการเมืองอยูนี้ ไดมีการประกาศในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน
ฉบับใหมซ่ึงมีผลทําใหตองมีการแกไขขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ พุทธศักราช 2461 ไปดวย
ทั้งน้ีเพ่ือใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติวาดวยระเบียบราชการบริหารแผนดินน่ันเอง โดยใหมีการ
ยุบสภากรรมการจัดการลกู เสือมณฑล และใหมคี ณะกรรมการจัดการลูกเสอื จังหวดั ข้ึน โดยข้ึนตรงตอ
สภากรรมการกลางจัดการลูกเสือและใหมีคณะกรรมการจัดการลูกเสืออําเภอข้ึนโดยข้ึนตรงตอ
คณะกรรมการจัดการลูกเสือจังหวัดทําหนาที่บริหารกิจการลูกเสือจังหวัดและอําเภอ ในขณะเดียวกัน
ไดม ีการจดั รปู แบบการบริหารราชการของกระทรวงธรรมการ มีกรมใหมเกิดข้ึนคือ กรมพลศึกษา ซึ่ง
มีการแบงสวนราชการออกเปนกองตาง ๆ โดยมี กองลูกเสือ สังกัดอยูในกรมพลศึกษาดวย การ
ลกู เสือไทยจึงอยใู นความรับผดิ ชอบของกรมพลศึกษาตั้งแตน ้นั มา
รัฐบาลในสมยั น้ันมนี โยบายจดั การฝกหดั อบรมวชิ าทหารแกน ักเรียนกระทรวงธรรมการจึง
ออกระเบยี บวา ดวยคณุ สมบตั ินักเรยี นที่จะสมัครเขา รบั การฝก อบรมวชิ าทหาร คอื จะตอ งสอบผา น
วชิ าลูกเสือเอกและยังคงเปน ลกู เสือประจาํ กองอยูชว งระยะนีก้ ิจการลกู เสอื ไดร บั ความเอาใจใสจาก
คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 21
รฐั บาลเปน อยา งดที งั้ นีเ้ ปน ผลสะทอนจากการที่ลกู เสือไดช ว ยปราบจลาจล ทําใหร ัฐบาลเหน็
ความสําคญั ของการลูกเสอื
กิจการลูกเสอื ของไทยยุคหลงั เปล่ียนแปลงการปกครอง ไดมีลกู เสือเกิดข้ึนอีกหนึง่ เหลา คอื
เหลาสมทุ รเสนา โดยท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว ทรงมพี ระราชดาํ ริวาเปนการสมควรท่ีจะจดั การ
ฝก อบรมเด็กทม่ี ภี ูมลิ าํ เนาอยใู นทองถ่ินท่ีสมควรจะตอ งมีความรคู วามสามารถในวิทยาการทางทะเล
จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหจ ดั ตัง้ กองลกู เสอื เหลาสมทุ รเสนาในจงั หวดั ชายทะเล หรือในทอ งถิน่
ทม่ี กี ารคมนาคมทางนา้ํ ติดตอกับทะเล กใ็ หต ง้ั กองลกู เสอื เหลาสมทุ รเสนาได ทจ่ี ริงการลกู เสอื สมทุ ร
เสนาน้ีมใิ ชเ ปน ของแปลกใหมในรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยูหัวกไ็ ดม กี ารฝก ฝน
อบรมตามจังหวัดชายทะเลมาแลว โดยเลียนแบบจาก “กองเสอื นํ้ารักษาพระองค” แตทวา ในคร้งั น้นั
ยงั มไิ ดมกี ารแยกหนว ย ประเภท หลักสตู ร และการฝกฝนอบรมตลอดจนเครือ่ งแบบใหต า งกันแต
อยางใด คงใชว ธิ ฝี กรวม ๆ กันไปในหนวยของลกู เสอื เสนานั่นเอง หลงั จากทมี่ กี ารประกาศตัง้
การลกู เสอื สมุทรเสนาไดเพยี ง 7 วัน พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูห วั ก็ทรงสละราชสมบตั ิ
ต้ังแตว ันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 เปน ตนไป
2.3 การลกู เสอื ไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล รัชกาลที่ 8
เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7ทรงสละราชสมบัติแลวพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ก็ไดเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบสนองตามกฎมณเฑียรบาลวา
ดวยการสืบสันตติวงศตอมา เปนรัชกาลท่ี 8 แหงราชวงศจักรี ขณะนั้นพระองคยังทรงพระเยาวมาก
มี พระชนมายุเพียง 9 พรรษา และกําลังประทับศึกษาวิชาการอยู ณ ตางประเทศ จึงตองมีคณะ
ผูสาํ เร็จ ราชการแทนพระองค บรหิ ารราชการแผนดินในพระปรมาภไิ ธย
การลูกเสือในยุคเริ่มตนประชาธิปไตยนี้ มีความซบเซาอยางมากเกิดวิกฤตการณทาง
การเมืองภายในและภายนอกประเทศ วิกฤตการณภายในน้ันไดเกิดขอขัดแยงท้ังในฝายสถาบัน
บริหารและสถาบันนิติบัญญัติ จนถึงกับตองยุบสภาเปลี่ยนรัฐบาลใหมหลายคร้ัง วิกฤตการณ
ภายนอกเกิดจากลัทธเิ ผด็จการไดคุกคามสันติภาพของโลกโดยท่ัวไป จนเกิดสงครามโลกครั้งท่ี 2 ใน
ป พ.ศ.2482ประเทศไทยมีกรณีพิพาทเร่ืองดินแดนอินโดจีนของฝรั่งเศสอีก จนถึงข้ันปะทะกันเปน
สงครามทมี่ ไิ ดประกาศ แตพอเร่อื งสงบลง ประเทศญ่ีปุนกจ็ ุดชนวนสงครามทางดานเอเชียบูรพาเม่ือ8
ธันวาคม 2484 สงครามไดล ุกลามมาถงึ ประเทศไทยดวย
วิกฤตการณเหลานี้มีผลกระทบถึงกิจการลูกเสือไทยเปนอันมาก เพราะรัฐบาลไดหันไปสนใจ
ดานความมั่นคงของประเทศที่สําคัญกวา และเมื่อสงครามเกิดขึ้นก็มีผลกระทบใหคูสงครามตัด
ความสัมพันธทางการทูตกัน เปนผลใหความสัมพันธของกิจการลูกเสือนานาชาติตองหยุดชะงักไป
ดวย ประกอบรัฐบาลในสมัยน้ันไดจัดมีการจัดต้ังยุวชนทหารข้ึนมาซอนกับกิจการของลูกเสือ ท้ังน้ี
เพื่อไวใชประโยชนในการรับสถานการณคับขันของโลก ซึ่งทวีความรุนแรงเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว
เจริญเติบโตข้ึนแทนที่การลูกเสืออยางรวดเร็ว เปนผลใหการลูกเสือยิ่งลดบทบาทลงจนถึงที่สุดถึงกับ
ยุบลงกลายสภาพเปนหนวยหน่ึงขององคการยุวชนทหาร เม่ือป พ.ศ.2486 เปนการสิ้นสุดสมัยของ
รชั กาลท่ี 8
22 คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
กิจการลูกเสือนับตั้งแตสถาปนาขึ้นเม่ือ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2454 ยังไมเคยมีดวงตราเปน
สัญลักษณประจําคณะคงใชเครื่องหมายเปนรูปเสือตัวเล็ก ๆ ในทากําลังยาง เดินยกเทาหนาขางขวา
ขึ้นทางหนึ่ง อยูภายในวงกลมธรรมดาบางก็เปนรูปหนาเสือเฉย ๆ บางก็มีคําขวัญวา “เสียชีพ อยา
เสียสัตย” อยูภายใตหนาเสือ ซึ่งเคร่ืองหมายเหลาน้ีเคยใชในราชการเสือปามากอน คร้ันทรงพระ-
กรุณาโปรดเกลา ฯ ใหส ถาปนา ลูกเสือขนึ้ จงึ ไดใชรวมกันเรื่อยมา ในฐานะท่ีลูกเสือเปนสวนหนึ่งของ
เสือปา แตมิไดมีการประกาศเปนทางราชการไว แตเมื่อมีความจําเปนท่ีจะตองมีตราประจําคณะ
ลกู เสอื แหง ชาติ เพราะสถาบันตาง ๆ ที่เปนราชการตางก็มีตราประจําคณะของตนดวยกันท้ังสิ้น และ
ลูกเสือตางประเทศท่ัวโลกตางก็มี ดวงตราเปนเอกลักษณของตนเองทั้งสิ้น เพื่อใหเขากับหลักสากล
และสอดคลองกับการลูกเสือนานาชาติ จึงจําเปนตองมีตราคณะลูกเสือแหงชาติขึ้นโดยตราคณะ
ลูกเสือแหงชาติมีรูป เฟอร เดล ลีร กับรูปหนาเสือประกอบกันและมีตัวอักษรจารึกภายใตวา “เสียชีพ
อยาเสยี สัตย”
เม่ือกิจการลูกเสือไดเวียนมาบรรจบในวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ.2479 ครบ 25 ป ทางสภา
กรรมการกลางในขณะนั้นไมสามารถจะจัดงานสมโภชเฉลิมฉลองใหใหญโตไดการจัดงานชุมนุม
ลูกเสือแหงชาติก็ไมสามารถจะจัดได ทั้งนี้เพราะเหตุการณตาง ๆ บีบบังคับอยู อุปนายกสภา
กรรมการกลางจึงไดมีโครงการที่จะสรางพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวพระผู
พระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยโดยจะอัญเชิญประดิษฐานไว ณ สนามกีฬาแหงชาติ เพ่ือแสดงความ
กตญั กู ตเวทีตอมาสาํ นกั นายกรฐั มนตรไี ดมปี ระกาศสรางพระบรมรปู เชน เดยี วกนั จงึ ไดย บุ รวมสราง
เปนองคเดียวกัน และประดิษฐานอยูท่ีหนาสวนลุมพินี กรุงเทพมหานครจวบจนทุกวันนี้ ดวยเหตุผล
ที่วา เนื่องจาก ระบอบการปกครองในปจจุบัน เปนประชาธิปไตยแลวประกอบกับขอบังคับลักษณะ
ปกครองลูกเสือ พุทธศักราช2461 ไดใชมาเปนเวลานานแลวและมีการแกไขเพิ่มเติมกันอีกหลายครั้ง
จงึ ไดมกี ารออกพระราชบญั ญัตลิ กู เสอื พุทธศกั ราช 2482 ขึน้ เปนพระราชบัญญัติฉบับแรกของลูกเสือ
ในระบอบประชาธิปไตย ขอความสําคัญ คือ “ใหคณะลูกเสือแหงชาติมีสภาพเปนนิติบุคคล” และในป
เดียวกันนี้ “เสือปา” ซึ่งไดหยุดชะงักไปหลังจากท่ีรัชกาลที่ 6 เสด็จสวรรคต แตไมไดมีการประกาศ
ยกเลิกกิจการนี้ในที่ใด ๆ รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติใหทรัพยสินกองเสือปา
ตกเปนของคณะลูกเสือแหงชาติ ซ่ึงมีผลเทากับเปนการประกาศเลิกลมกองเสือปาใหส้ินสภาวะไป
โดยปริยาย จะเห็นไดวากิจการลูกเสือไทยในสมัยรัชกาลที่ 8 นั้นซบเซาเปนอันมาก จากวิกฤตการณ
หลาย ๆ ดานจวบจนสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งถูกลอบปลง
พระชนม ณ พระทน่ี ง่ั บรมพิมาน เมอื่ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เวลา 09.00 น.
2.4 การลกู เสอื ไทยในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภูมพิ ลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9)
ในรชั กาลของสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช การลูกเสือไดเริ่มมีการฟนฟูข้ึนใหม และ
เพ่ือใหกิจการลูกเสือไทยไดดําเนินการตอไป จึงไดมีการออกพระราชบัญญัติลูกเสือ พุทธศักราช
2490 ซ่ึงมีหลักการคลายกับพระราชบัญญัติลูกเสือฉบับปพุทธศักราช 2482 แตมีสาระสําคัญที่
เพ่ิมข้ึน คือ “กําหนดใหพระมหากษัตริย ทรงดํารงตําแหนงพระบรมราชูปถัมภคณะลูกเสือแหงชาติ”
และไดมีการโอนทรัพยสินของลูกเสือซ่ึงตกเปนขององคการยุวชนทหารกลับมาเปน คณะลูกเสือ
คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2 23
แหงชาติอยางเดิม ซึ่งเทากับองคการยุวชนทหารแหงชาติตองสลายตัวไปดวยตามพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้
งานชุมนุมลูกเสือแหงชาติ ซึ่งจัดมาแลว 2 คร้ัง แตตองหยุดชะงักไปดวยวิกฤตการณตาง ๆ
ไดวา งเวนไปถึง 24 ป ทางราชการจึงไดกําหนดใหมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติคร้ังที่ 3 ขึ้น ใน
ระหวา งวันท่ี 20 - 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2497 ณ กรีฑาสถานแหง ชาติ
พระราชบัญญัติลูกเสือพุทธศักราช 2490ไดกําหนดใหมีเหรียญลูกเสือ 2 ชนิด คือ เหรียญ
ลูกเสือสรรเสริญและเหรียญลูกเสือสดุดี เหรียญลูกเสือสรรเสริญมีการแบงเปน 3 ช้ัน คือ ช้ันที่ 1
ช้ันที่ 2และช้ันท่ี 3 โดยถือเปนเครื่องราชอิสริยาภรณชนิดหน่ึง สําหรับพระราชทานแกลูกเสือผูมี
ความดีความชอบที่ไดบัญญัติไวเปนช้ัน ๆ ไปสวนเหรียญลูกเสือสดุดี มีชั้นเดียว โดยถือเปน
เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณอกี ชนิดหนง่ึ สาํ หรบั พระราชทานแกผ มู คี วามดีความชอบตามท่ีไดบญั ญตั ไิ ว
กิจการลูกเสือในสมัยน้ีมีความกาวหนาเปนอยางมาก และแพรขยายไปอยางรวดเร็ว ทั้งใน
โรงเรียนและประชาชนในป พ.ศ.2507 รัฐบาลไดออกพระราชบัญญัติลูกเสือพุทธศักราช 2507อีก 1
ฉบับ เพอ่ื ปรับปรงุ กฎหมายวา ดว ยลูกเสือใหท ันสมยั และเหตุการณโดยมีหลกั การสาํ คัญ คือ
มาตรา 5 ใหคณะลูกเสือแหงชาติ ประกอบดวยบรรดาลูกเสือทั้งปวงผูบังคับบัญชาลูกเสือ
ผตู รวจการลกู เสอื กรรมการลูกเสอื และเจา หนา ที่ลูกเสือ
มาตรา 8 พระมหากษตั ริยท รงเปนประมุขของคณะลูกเสือแหงชาติ
พ.ศ. 2509ออกพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับท่ี 2) มีหลักการที่สําคัญ แกไขมาตราท่ี 43
พระราชบัญญัติลูกเสือฉบบั แรก
พ.ศ. 2528ออกพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับที่ 3) มีการแกไขเพิ่มเติมหลักการหลายประการ
ดว ยกันรวมทัง้ ไดกาํ หนดใหเ หรียญลูกเสอื สดดุ แี บงเปน 3 ชั้น
พ.ศ. 2530 ออกพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับท่ี 4) มีหลักการสําคัญคือ กําหนดใหมี
เครือ่ งราชอิสริยาภรณอ นั เปน สิรยิ ิง่ รามกีรตลิ กู เสือสดดุ ชี ้ันพิเศษ เพ่ิมขน้ึ อกี 1 เหรียญ
นอกจากการมีการออกพระราชบัญญัติลูกเสือฉบับตาง ๆ แลว กิจการลูกเสือในสมัยน้ียัง
เขาถึงประชาชนทั่วไปดวย โดยไดมีการฝกอบรมลูกเสือชาวบานรุนแรกของประเทศไทยณ หมูบาน
เหลากอหก ตําบลแสงพา ก่ิงอําเภอนาแหว อําเภอดานซาย จังหวัดเลย เมื่อ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2514
มี พ.ต.ต. สมควร หริกุล ผูกํากับลูกเสือการตํารวจตระเวนชายแดน เขต 4 ในขณะน้ัน นายวิโรจน
พูลสุข อดีตศึกษาธิการเขตเขตการศึกษา 9 จังหวัดอุดรธานี นายสมเกียรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร
ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ พรอมดวยวิทยากรจากกองกํากับการตํารวจตระเวนชายแดน
เขต 4 และวทิ ยากรจากเขตการศึกษา 9 เปนผูริเริ่มจัดทําหลักสูตรและดําเนินการฝกอบรมปรากฏวา
ไดผลดีเปนอันมาก เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จ
พระราชดาํ เนนิ ไปทอดพระเนตรการฝก อบรม เม่อื 19 มนี าคม พ.ศ. 2519 เปนทพี่ อพระราชหฤทัย จึง
ไดทรงรับกิจการลูกเสือชาวบานไวในพระบรมราชานุเคราะหตั้งแตนั้นมา กิจการลูกเสือชาวบานได
แพรข ยายไปทว่ั ประเทศอยางรวดเร็ว ปจ จบุ ันมีลูกเสือชาวบา นทวั่ ประเทศไทยนับเปนพนั รุน
24 คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2
สําหรับดานวิชาการและการฝกอบรม นับวามีความกาวหนาอยางมากท้ังการฝกอบรม
ผูบังคับบัญชาลูกเสือทุกประเภทและทุกระดับและการฝกอบรมของสมาคมลูกเสือโลก ท้ังนี้เพ่ือให
เปนเอกภาพ ทางดานวิชาการทุกประเทศ รวมท้ังไดมีการตั้งกองลูกเสือเหลาสมุทรและกองลูกเสือ
เหลาอากาศเพิ่มข้ึน ตอมาไดมีคําสั่งของกระทรวงศึกษาธิการใหนําหลักสูตรวิชาลูกเสือเขาอยูใน
หลักสูตรของโรงเรียนมีการจัดต้ังกองลูกเสือวิสามัญในโรงเรียน จัดตั้งคายลูกเสือระดับจังหวัดและ
ระดับอาํ เภอท่ัวประเทศ เพ่ือใชเ ปนท่ฝี ก อบรมผูบงั คับบัญชาลูกเสือและลูกเสอื
ดานกิจกรรมของลูกเสือภายในประเทศไดมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติ จํานวนหลาย
ครั้ง และเปนเจาภาพในการจัดงานชุมนุมลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟกคร้ังที่ 5 เปนเจาภาพในการจัด
ประชุมสมัชชาลูกเสือโลกเขตเอเชีย-แปซิฟก ในป พ.ศ.2529 มีคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ
หลายทานไดรับเลือกใหเปนคณะกรรมการบริหารลูกเสือประจําสํานักงานลูกเสือโลกและ
กรรมการบรหิ ารลกู เสือเขตเอเชีย-แปซิฟก รวมทงั้ มีคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหงชาติไดรบั เกยี รติ
ใหไดรับเหรียญลูกเสือโลก
ศูนยฝ กอบรมผบู งั คับบัญชา-ลูกเสือนานาชาติ แหงกิลเวลปารค ประเทศอังกฤษไดทูลเกลาฯ
ถวายเคร่ืองหมายแสดงคุณวุฒิทางลูกเสือชั้นสูงสุดของโลกแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล
อดุลยเดช (เคร่ืองหมายวูดแบดจ 4 ทอน) ในฐานะที่พระองคทรงเปนพระประมุขของคณะลูกเสือ
แหง ชาติ และเปนเพยี งพระองคเดียวในโลกทีไ่ ดรับการทูลเกลา ถวายเครอ่ื งหมายนี้
ดานกิจกรรมตางประเทศ ไดมีการสงผูแทนเขารวมชุมนุมลูกเสือโลก การชุมนุมลูกเสือเขต
เอเชียแปซฟิ ก ทกุ ครง้ั และงานชมุ นุมลกู เสือแหงชาตขิ องประเทศตา ง ๆ ที่ไดเ ชิญมา
การลูกเสือในยุคน้ีจึงนับไดวาเปนยุคที่มีความกาวหนารุงเรืองมากที่สุดกวาทุกยุคและมีความเจริญ
รุดหนาประเทศอ่ืน ๆ อีกหลายประเทศที่เปนสมาชิกของสมาคมลูกเสือโลก ซึ่งปจจุบัน (พ.ศ. 2559)
มีอยูทั้งหมด 163 ประเทศ มีสมาชิกกวา 40 ลานคน เปนยุคท่ีมีความกาวหนากวาทุกยุคของการ
ลูกเสือไทย และทุกดาน ท้ังทางดานอุดมการณ ดานการบริหารดานวิชาการ และดานกิจกรรม
นอกจากนี้ กิจกรรมบางอยางยังมคี วามกาวหนา ที่ประเทศอ่นื ๆ ยงั ไมม ีนนั่ คอื ลูกเสอื ชาวบา น ซึง่ เปน
กิจกรรมทท่ี ําใหประชาชนเกิดความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และมีความสามัคคีกัน ตลอดจน
การรูจักพฒั นาตนเองและสังคมในชมุ ชุนของตนใหดขี ึน้ เปน อันมาก
วิธดี ําเนนิ การขบวนการลกู เสอื
3. โครงสรางของการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาติ
โครงสรางคณะลกู เสอื แหงชาติ
การบริหารงานของคณะลูกเสือแหงชาติ สภาลูกเสือไทย ตามพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ.2551
กําหนดใหสภาลกู เสอื ไทยประกอบดวย
(1) นายกรัฐมนตรี เปนสภานายก
(2) รองนายกรฐั มนตรี เปน อุปนายก
คมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ิต ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 2 25
(3) กรรมการโดยตําแหนง ไดแก รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย ผูบัญชาการทหารสูงสุด ผูบัญชาการทหารบก ผูบัญชาการทหารเรือ ผู
บัญชาการทหารอากาศ ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการ
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการสภากาชาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการ
ปกครองทองถ่ิน ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูวาราชการจังหวัด และผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการ
ลูกเสือชาวบาน
(4) กรรมการผูท รงคณุ วุฒจิ าํ นวนไมเ กนิ แปดสิบคนซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตง ต้งั ตามพระราช
อัธยาศัย ใหเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธิการและ
ผูชวยเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูชวยเลขานุการ สภาลูกเสือไทยอาจมีสภานายก
กติ ติมศกั ด์ิ อปุ นายกกิตตมิ ศักดิ์ และกรรมการกิตติมศักดิ์ ซึ่งจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ัง
สภาลูกเสือไทยมอี ํานาจหนาที่ดงั ตอไปนี้
(1) วางนโยบายเพอ่ื ความมัน่ คงและความเจรญิ กาวหนาของคณะลกู เสือแหง ชาติ
(2) ใหค ําแนะนาํ ในการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง ชาติ
(3) พจิ ารณารายงานประจาํ ปข องคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ
คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติเปนองคกรบริหารของคณะลูกเสือแหงชาติ
ประกอบดวย
(1) รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน ประธานกรรมการ
(2) กรรมการโดยตําแหนงไดแก ปลัดกระทรวงศึกษาธิการและปลัดกระทรวงมหาดไทยเปนรอง
ประธานกรรมการ เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการ
สภากาชาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการปกครองทองถ่ิน ผูวาราชการ
กรุงเทพมหานคร ผวู าราชการจงั หวดั และผอู ํานวยการศนู ยปฏบิ ัติการลูกเสือชาวบา น
(3) กรรมการผทู รงคุณวุฒจิ าํ นวนไมเกินสิบหา คน ซึ่งสภานายกสภาลกู เสือไทยแตง ต้งั โดยคาํ แนะนํา
ของกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติตาม(1) และ(2) ซ่ึงในจํานวนน้ีตองมาจาก ภาคเอกชนไมนอย
กวา กง่ึ หนง่ึ
เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนกรรมการเลขานุการ รองเลขาธิการและผูชวย
เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูชวยเลขานุการ กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (3) มีวาระการ
ดํารงตาํ แหนงคราวละ 4 ปและอาจไดร บั แตงตงั้ อกี ได แตจ ะแตง ตง้ั ตดิ ตอกนั เกนิ 2 วาระมิได
ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพนจากตําแหนงกอนครบวาระ ใหดําเนินการแตงต้ังกรรมการใหม
ภายใน 90 วนั นบั แตว นั ที่กรรมการพน จากตําแหนง และใหผูซึ่งไดรับแตงต้ังอยูในตําแหนงเพียงเทา
26 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2
วาระท่ีเหลืออยูของผูซ่ึงตนแทน แตถาวาระการดํารงตําแหนงเหลืออยูนอยกวา 180 วันจะไม
ดาํ เนินการแตงตั้งแทนกไ็ ด
คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาตมิ อี ํานาจหนา ที่ ดงั ตอไปนี้
(1) ดาํ เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคข องคณะลูกเสอื แหง ชาตแิ ละตามนโยบายของ สภาลกู เสอื ไทย
(2) สงเสรมิ ความสัมพนั ธกบั คณะลกู เสอื นานาชาติ
(3) สนับสนนุ และสง เสรมิ ใหมีการพฒั นาบคุ ลากรทางการลกู เสอื
(4) สนับสนุนใหม กี ารจัดกจิ กรรมอยา งตอ เนอื่ ง
(5) จดั การทรพั ยส ินของสาํ นกั งานลูกเสือแหง ชาติ
(6) ใหความเหน็ ชอบในการลงทุนเพอื่ ประโยชนข องสํานักงานลกู เสอื แหง ชาติ
(7) ออกขอ บงั คบั ของคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง ชาติตามทรี่ ะบุไวใ นพระราชบญั ญัติน้โี ดย
ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
(8) วางระเบียบและแนวทางปฏบิ ัติเกย่ี วกบั กิจการลูกเสอื
(9) จัดทาํ รายงานประจาํ ปเสนอสภาลกู เสือไทยพิจารณาตามมาตรา 12(3)
(10) แตงต้ังทปี่ รึกษาคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง ชาติ
(11) แตง ตัง้ คณะอนกุ รรมการเพอื่ พจิ ารณาหรอื ปฏิบตั กิ ารตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาติ
มอบหมาย
(12) กาํ กบั ดแู ล สนับสนนุ และสง เสรมิ กจิ การลกู เสือชาวบา น
(13) จดั ตั้งตาํ แหนง กติ ติมศกั ดิ์ และตาํ แหนงอื่นใดทม่ี ไิ ดร ะบไุ วพ ระราชบัญญตั ิ
(14) ปฏบิ ตั ิการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอาํ นาจหนา ท่ขี องคณะกรรมการบริหาร ลูกเสอื
แหงชาติหรอื ตามที่คณะรฐั มนตรีมอบหมาย
คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 27
เรอ่ื งที่เปน ประโยชน
“มดงามกับจักจัน่ ”
เชาวันหน่ึงในฤดูฝน แตแดดออกจัดดี มดงามพวกหนึ่งจึงชวยกันขนเมล็ดขาวท่ีหาไวไดใน
ฤดูรอนออกตากแดด ขณะน้ันมีจักจั่นผอมเดินโซเซผานมาเห็นเขาจึงแวะเขาไปหามดแลวพูดวา
“ขาพเจาอดอาหารมาหลายวันแลว หิวเต็มทน ขอทานขาวใหขาพเจากินสักเมล็ดสองเมล็ดพอรอด
ตายจะไดห รอื ไม”
มดถามวา “ก็ในฤดูรอนซ่ึงเปนหนาเก่ียวขาว มีอาหารอุดม ทานไปทําอะไรเสีย จึงไมหา
อาหารเก็บเอาไวเลา ”
จักจั่นตอบวา “ขาพเจาหาเวลาวางไมได เพราะฤดูแลงเท่ียวรองเพลงเลนเพลินไปวันยังค่ํา
จนสนิ้ ฤดู ครั้นถึงฤดูฝนตกขาวก็งอกเสยี หมดแลว ”
มดจึงเยยใหวา “อาว ! ดีแลวละเปนไร ถาทานรองเพลงเพลินไปในฤดูรอน ทําไมจึงไมหัดรํา
ในฤดูฝนเลา ”
เรื่องนี้สอนใหรูวา ขณะท่ีดีๆ อยูถาเราไมอุตสาหทําการงานสะสมทรัพยสินเอาไวในเม่ือถึงเวลา
เจบ็ ไขไดยากเราก็จะไดค วามลาํ บากยากแคนเปน อยา งยงิ่
28 คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2
แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรนุ ใหญ(เครื่องหมายลกู เสอื ชัน้ พเิ ศษ) ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2
หนวยที่ 2 หนา ท่ีพลเมอื ง เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 3 การพฒั นาตนเอง
1. จุดประสงคการเรยี นรู
ลูกเสอื รจู กั บทบาทของตนเองในฐานะพลเมืองดไี ด
2. เน้ือหา
หลกั สูตรการฝกอบรม
3. สือ่ การเรยี นรู
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 เอกสารประกอบการฝกอบรมแตล ะประเภท
3.3 เร่อื งท่ีเปน ประโยชน
4. กิจกรรม
4.1 พิธเี ปด ประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต สงบนิ่งตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู
1) ผกู ํากับลกู เสอื แนะนาํ ถงึ รายละเอียดการฝก อบรม และการสอบไดเ ครอ่ื งหมายวิชา
ลูกเสือสวัสดภิ าพนกั เรยี น หรือวิชาลูกเสอื บรรเทาสาธารณภัย หรือวิชาลูกเสือพยาบาล หรอื วชิ า
ลกู เสือพฒั นาชมุ ชน หรอื วิชาอน่ื ที่คณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหงชาติกาํ หนด
2) ผกู าํ กับลกู เสอื ใหล กู เสอื อภปิ รายถงึ ความตองการทจี่ ะเขา รบั การฝกอบรมวิชาลูกเสือ
เร่ืองอะไร
3) ผูกํากับลูกเสือดําเนินการจัดทําโครงการฝกอบรมโดยใหลูกเสือท่ีมีความตองการเขา
รบั การฝกอบรมเขยี นใบสมคั ร โดยผกู าํ กบั ลูกเสอื กาํ หนดวันและเวลาในการฝกอบรม
4) ผูกาํ กบั ลูกเสือดําเนินการจดั การฝก อบรมตามวันและเวลาที่กําหนด
4.4 ผูก าํ กบั ลกู เสอื เลาเรือ่ งทเ่ี ปนประโยชน
4.5 พิธปี ด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธง เลิก)
5. การประเมินผล
ประเมนิ จากการเขา รวมปฏบิ ัติกิจกรรม ความสนใจใฝร ูใฝเรียน
คูม ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 2 29
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 3
เพลง
โชคดี
ชางโชคดีวันนีม้ าพบเธอ (ซ้าํ )
ฉนั ดีใจจริงนะเออมาพบเธอสขุ ใจ
เธอนั้นอยูสบายดีหรอื ไร (ซํา้ )
มารองรําเพลินฤทยั ใหห วั ใจสขุ สาํ ราญ
ตบมอื ไปกนั ใหพรอมเพรียง (ซ้าํ )
ยกมือไวสายหัวเอยี งใหพ รอ มเพรยี งตามกัน
แลว หมุนกลบั ปรบั ตวั เสยี ใหท นั (ซ้ํา)
มือทาวเอวซอยเทาพลนั ใหพ รอ มกันเถิดเอย
ใบความรู
หลกั สตู รการฝก อบรมแตล ะประเภท
เรื่องทเ่ี ปน ประโยชน
ลกู อึ่งอางกบั แม
ลูกอึ่งอางไดรีบมาเลาใหแมของตนฟงอยางต่ืนตระหนกหวาดกลัววาตนเห็นแมวัวเหยียบพี่
นองของมันตายหมด“ตัวมันใหญโตมากจะแมจา สัตวสี่เทาอะไรก็ไมรู ลูกไมเคยเห็นมากอนเลยจะ
แม” แมอ ึง่ อา งจึงพองตวั ใหใหญขึน้ ใหลูกดูพรอมกบั ถามวา “ตวั มันใหญเทาน้ีไดไหมลูก”ลูกอึ่งอางตอบ
แมก ลบั ไปวา ไมจะแมตัวมันใหญกวาน้ันอีก แลวแมอึ่งอางจึงพองตัวใหใหญข้ึนอีก แตลูกก็บอกวาจะ
พองตัวใหใหญซักแคไหนก็คงไมเทาสัตวตัวน้ัน หรอกจะแมแตแมอ่ึงอางก็ไมยอมหยุด กลับพยายาม
เบงตวั ใหตวั พองข้นึ อีก จนตนพงุ แตกตายไปในทส่ี ุด
เรื่องนี้สอนใหรวู า ทําสง่ิ ใดไมดกู ําลังความสามารถของตนกต็ องพบกับภัย อนั ตรายแนน อน
30 คูม อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2
แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามญั รุนใหญ (เครอื่ งหมายลูกเสือชน้ั พเิ ศษ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2
หนว ยที่ 2 หนาทพ่ี ลเมือง เวลา 2 ช่ัวโมง
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 4 การเยีย่ มหนว ยงาน
1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1.1 สามารถไปเยย่ี มหนวยงานตา ง ๆได
1.2 สามารถรายงานผลการไปเยย่ี มหนวยงานได
2. เนื้อหา
การเยยี่ มหนว ยงานราชการตาง ๆ
3. สอื่ การเรียนรู
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 เรอ่ื งที่เปนประโยชน
4. กิจกรรม
4.1 กิจกรรมครง้ั ท่ี 1
1) พธิ ีเปดประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบน่ิงตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู
(1) ผูกํากับลูกเสือและลูกเสือรวมกันสนทนาถงึ ประสบการณใ นการไปติดตอหนวยงาน
ตางๆ
(2) ผกู ํากบั ลกู เสือมอบหมายงานใหล ูกเสือแตละคน หรอื กบั ลกู เสอื สามัญรุนใหญค น
อืน่ ในกองไปเย่ียมหนวยงานหรอื สถาบนั 2 แหง ทีไ่ มผ ิดศลี ธรรมและมีความสําคญั ในชีวติ ของ
ชุมชนในทองถน่ิ เชนสาํ นกั งานเทศบาล สถานตี ํารวจ สถานีตาํ รวจดับเพลงิ โรงพยาบาล สถานี
วิทยหุ รือโทรทัศน ตลาดสดทา เรือ เมรุเผาศพ ทที่ ําการไปรษณียโ ทรเลข ทท่ี ําการโทรคมนาคม
สาํ นกั งานหนงั สือพมิ พ ศาลสถติ ยตุ ธิ รรม ฯลฯ
(3) ผกู าํ กับลกู เสือใหลกู เสอื ทาํ รายงานสง วา หนว ยงานหรือสถาบันนั้น ๆ ทําอะไร ได
งบประมาณในการดําเนินงานมาจากไหน และมีสวนเกี่ยวของกับองคการอ่ืนๆ อยางไร แลว
นาํ เสนอในการประชุมกองครั้งตอ ไป
4) ผูกํากับลกู เสือเลาเร่อื งทีเ่ ปน ประโยชน
5) พิธีปด ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธง เลกิ )
4.2 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 2
1) พธิ ีเปด ประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต ตรวจ สงบนิง่ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู
คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวติ ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2 31
(1) ผกู ํากับลกู เสือใหลูกเสอื นาํ เสนอรายงานการไปเยีย่ มหนวยงานหรือสถาบัน ให
กองลูกเสือรับทราบ
(2) ผูกํากบั ลกู เสอื ใหล ูกเสอื ในกองมีสว นรวมในการซกั ถาม
(3) ผูกาํ กับลูกเสอื และลูกเสือรวมกนั สรปุ ผลจากการที่ลกู เสอื ออกไปเย่ียมหนวยงาน
หรือ
สถาบัน
4) ผูก ํากับลกู เสือเลาเรอ่ื งทีเ่ ปน ประโยชน
5) พธิ ปี ดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธง เลิก)
5. การประเมินผล
5.1 สังเกตพฤตกิ รรมการเขา รว มกิจกรรม ความสนใจ
5.2 ผลงานการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและการรายงานผล
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 4
เพลง รอคอย
รอฉนั รอเธออยูแตไมรเู ธออยหู นใด เธอจะมา ๆ เมื่อใด นดั ฉันไวท าํ ไมไมม า
ฉันเปนหว งฉันเปนหว งตวั เธอ นดั ฉันเกอชะเงอคอยหา
นดั แลวทําไมไมมา ลูกเสอื จาอยา ชาเรว็ หนอย รบี หนอ ย ๆ เรง
หนอย ๆ
ยิ้ม
ยิ้มยิม้ กนั เถอะนะ ยม้ิ แลวพาคลายเศรา
ย้มิ ทาํ ใหค ลายเหงา ยมิ้ พาเราเพลินใจ
ยม้ิ น้นั พาสุขล้าํ ทําเร่ืองยากเปนงา ย
ย้ิมใหก นั เมอ่ื ไร เรือ่ งรายจะกลายเปนดี
32 คูม อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 33
เรื่องท่เี ปน ประโยชน
สงิ โตกับทีป่ รกึ ษา
กาลครั้งหน่ึงนานมาแลวมีสิงโตตัวหนึ่งถามแกะวา“ลมหายใจของขามีกลิ่นเปนอยางไรบาง”
เมื่อแกะดมแลวจึงไดตอบออกไปตามตรงวา “เหม็นมากเลยนะเจาปา”สิงโตไดยินดังนั้นจึงโกรธมาก
จึงจับแกะกินเสีย แลวก็เรียกหมาปาเขามาถามคําถามเดียวกันหมาปาเห็นวาแกะถูกจับกินเพราะ
อะไรจึงตอบออกไปวา “ไมมีกลิ่นเลยทานเจาปา” คําตอบของหมาปาท่ีตอบออกมาทําใหสิงโตโกรธ
จึงจับหมาปากินเสียเพราะสิงโตคิดวาหมาปาเอาแตประจบ ไมมีความจริงใจกับตนตอมาสิงโตเรียก
สุนัขจ้ิงจอกเขามาถามบาง สุนัขจ้ิงจอกจึงตอบออกไปวา“วันนี้ขาเปนหวัด จมูกของขาคงดมอะไร
ไมไ ดก ล่ินหรอกทา น”สงิ โตเห็นวาสุนัขจิง้ จอกพดู มีเหตุผลจงึ ปลอ ยตวั ไป
เรื่องนสี้ อนใหร วู า ถามีปญ ญา ก็สามารถเอาตัวรอดได
วัวกบั แมลงหวี่
วัวเปนสัตวท่ีตัวใหญและมีพละกําลังมหาศาลแตเม่ือมีสัตวตัวเล็กๆ อยางแมลงหวี่มากอกวน
แถมทาทายแทนที่วัวจะวางตนน่ิงเฉยแตวัวกลับเขาทะเลาะตอตีไมยอมใหแมลงหวี่คุยขมตนซ่ึงตัว
ใหญกวา แมลงหว่ีจงึ ไดท าตอสกู นั ถาใครชนะกแ็ สดงวา ผนู ัน้ ยิ่งใหญก วา เกงกวา และแข็งแรงกวา เม่ือ
วัวไดยินดังน้ันก็ตอบตกลงไปในทันที แมลงหว่ีก็ไดบินตอมวนเวียนอยูรอบๆเขาและเหนือหัวของวัว
แตวัวไมสามารถจะขวิดหรือทําอะไรแมลงตัวนอยตัวน้ันไดเลยแมแตนอยวัวไดแตตองทนอับอายกับ
บรรดาสตั วนอยใหญทงั้ หลาย ท่มี ามุงดูกันเปนจํานวนมากในบรเิ วณนั้น
เรอ่ื งนสี้ อนใหร วู า ถา วางตนน่ิงเฉยไมวุนวายกบั สิ่งทไ่ี มคคู วร กไ็ มต อ ง อับอายเปลอื งตวั
34 คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรนุ ใหญ (เครื่องหมายลกู เสือช้นั พิเศษ) ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2
หนว ยท่ี 2 หนา ทพี่ ลเมอื ง เวลา 2 ชว่ั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 5 หนาทข่ี องลกู เสือตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
1.จุดประสงคก ารเรียนรู
บอกบทบาทและหนา ท่ีของตนเอง ในฐานะพลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
2. เน้ือหา
2.1 คณุ ลกั ษณะของพลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย
2.2 การปฏบิ ัติตนเปน พลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย
3. สือ่ การเรียนรู
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 กระดาษปรูฟ ปากกาเมจกิ ฯลฯ
3.3 ใบความรูเรื่อง “พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวคําพอสอนพระบรมราโชวาท
พลเมอื งดีตามวิถีประชาธปิ ไตยจรยิ ธรรมของการเปนพลเมืองดี”
3.4 เร่ืองทเี่ ปนประโยชน
4. กิจกรรม
4.1 กิจกรรมครั้งที่ 1
1) พธิ ีเปดประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรียนรู
(1) ผกู ํากับลกู เสือนําสนทนาถึงความหมายของคําวา “พลเมืองดี” ลกู เสอื รว มกนั
แสดงความคดิ เห็นโดยยงั ไมต อ งสรปุ
(2) ผูกํากับลูกเสือ แบงเอกสารเทาจํานวนหมูลูกเสือ(ไมซ้ํากัน)ใหหมูลูกเสือรวมกัน
ศกึ ษา และวเิ คราะห ในประเด็น
- คุณลกั ษณะพลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตยควรเปน อยา งไร (พลเมืองท่มี ี
คณุ ลักษณะทด่ี ี คอื เปน ผูที่ยึดม่นั ในหลกั ศลี ธรรมและคุณธรรม มหี ลักประชาธปิ ไตยในการ
ดํารงชวี ติ คอื มสี ว นรวมในกิจการสาธารณะของชมุ ชน มคี วามรบั ผิดชอบในชมุ ชน ปฏิบัตติ น
ตามกฎหมาย ดํารงตนเปนประโยชนต อ สังคม โดยมีการชว ยเหลือเก้อื กูลกัน อนั จะกอ ใหเกิด
การพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ ใหเ ปนสงั คมและประเทศท่ีมวี ถิ ชี วี ติ แบบประชาธิปไตย
อยา งแทจ ริง)
- แนวทางการปฏิบัตติ นเปน พลเมืองตามวิถปี ระชาธปิ ไตยควรทําอยา งไร(ดู
ใบความรปู ระกอบ)
คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 35
(3) สุมใหหมูลูกเสือรายงานทีละประเด็น และใหหมูอ่ืน ๆ ชวยเพิ่มเติมในสวนของ
ตนเอง ผูกํากับลูกเสือนําอภิปรายสรุป และชวยเพ่ิมเติมจนครบ โดยมอบหมายใหลูกเสือทุก
หมูจดบนั ทกึ ขอ สรุปทไี่ ดเ พ่อื ใชปฏิบตั ิกิจกรรมในคาบตอ ไป
(4) ผูกํากับลูกเสือมอบหมายใหแตละหมู ศึกษาขอสรุปที่ได แลวเขียนบทละครสั้น
หมูละ 1 เรื่อง ท่ีเนนพฤติกรรมหรือแสดงถึงคุณลักษณะของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โดยใหเ วลาในการแสดงหมลู ะประมาณ 5 - 8 นาที
4) ผูก าํ กบั ลกู เสือเลา เรื่องท่ีเปน ประโยชน
5) พิธปี ดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธง เลิก)
4.2 กิจกรรมคร้ังท่ี 2
1) พิธเี ปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต ตรวจ สงบนงิ่ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรียนรู
(1) ลูกเสือแสดงละครส้ันทลี ะหมู หลังจบการแสดงนายหมอู อกมาสรุปขอคดิ ใน
ละครส้ัน “การกระทาํ ทเ่ี รียกวาพลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย”
(2) ผูกํากบั ลกู เสือและหมูล กู เสอื อนื่ ๆ แสดงความชื่นชมหรือชมเชยใหกําลงั ใจ
(3) ผูกาํ กบั ลกู เสือและลกู เสือรว มกันสรปุ ขอคิดทไ่ี ดและการนําไปใชในชีวิตประจําวัน
เพ่อื ใหไดชอ่ื วา เปน “ลกู เสือประชาธปิ ไตย”
4) ผูก ํากับลกู เสือเลาเร่ืองท่ีเปน ประโยชน
5) พธิ ีปด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธง เลกิ )
5. การประเมนิ ผล
ลกู เสอื มพี ฤตกิ รรมความเปน ประชาธิปไตยในการทํางานในหมลู ูกเสอื กองลูกเสือ เชน
ความรวมมือการรับฟง ความคดิ เหน็ การแสดงความคดิ เห็น การเปนผูน าํ และผตู ามท่ดี ี เปนตน
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 5
เพลง
คาํ ขวญั ลกู เสอื
เกียรติคณุ ลกู เสือ เราจะเทดิ เหนือดวงฤทัยเรานนั้
เรามนั่ ใจในคําขวญั “เสยี ชีพอยา เสยี สตั ย” ไวจนตาย เรานน้ั
ประพฤติตนสมกับทเี่ ราเปนลูกผชู าย ไวล าย ไลล าย ลูกเสอื ไทย
กลาหาญการชว ยเหลอื นาๆ เมตตาโดยมเิ ลอื กวา ใคร
เปน มติ รทด่ี ขี องคนทว่ั ไป รวมจติ รว มใจ สามคั คมี ีวฒั นธรรม
36 คูมอื การจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2
ลกู เสอื ของชาติ
ชาติตองการชายฉกรรจ จรรโลงชาติ เอกราชคงอยูศัตรขู าม
เกิดเปน ไทยฟน ฝา พยายาม รักษาความเกง กลา สามัคคี
ตอ งรอบรทู กุ อยา งทางไลห นี
เหลาลกู เสือเช้อื ไทยใจนักสู เพอื่ ศักดศิ์ รีลกู เสือเชอ้ื ชาตไิ ทย
มีความสัตยสจุ รติ มติ รไมตรี
ใบความรู
ชุดท่ี 1 พระราชดาํ รสั
พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานคุณธรรม 4 ประการ แกขาราชการและ
ประชาชน ในคราวสมโภชกรงุ รัตนโกสินทร 200 ป ความวา
“ประการแรก คือ การรักษาความสัจ ความจริงใจตอตัวเอง รูจักสละประโยชนสวนนอยของ
ตนเอง เพือ่ ประโยชนส วนใหญข องบานเมอื ง ทจ่ี ะประพฤตปิ ฏบิ ตั ิแตส ง่ิ ท่ีเปน ประโยชนและเปนธรรม
ประการท่ีสอง คือ การรจู ักขม ใจตนเอง ฝก ใจตนเองใหป ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิอยใู นความสัจ ความดีนน้ั
ประการทีส่ าม คอื การอดทน อดกลั้น และอดออม ไมประพฤติลวงความสัตยสุจริต ไมวา
จะดวยเหตปุ ระการใด
ประการที่สี่ คือ การรูจักละวางความช่ัว ความทุจริต และรูจักเสียสละประโยชนสวนนอย
ของตน เพอ่ื ประโยชนส ว นใหญข องบา นเมอื ง”
พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว
“.....การฝก ฝนและปลูกฝง ความรจู กั เหตผุ ล ความรูจกั ผิดชอบชั่วดี เปน ส่ิงจําเปนไมนอ ยกวา
การใชว ชิ าการ เพราะการรูจกั พิจารณาใหเ หน็ เหตุเหน็ ผล ใหร จู ักจาํ แนกส่งิ ผดิ ชอบชวั่ ดีไดโ ดย
กระจาง ยอ มทําใหมองบคุ คล มองสิ่งตา ง ๆ ไดลึกลงไปจนเหน็ ความจริง.....”
(พระราชดํารัส เมอื่ วันท่ี 26พฤศจิกายน 2516)
คําพอสอน
“....ความสามัคคีพรอมเพรียงกัน เปนพื้นฐานที่สําคัญยิ่งในการปฏิบัติ บริหารงานใหญ ๆ
เชน งานของแผนดิน และความสามัคคีนี้จะเกิดมีขึ้นม่ันคงได ก็ดวยบุคคลในหมูคณะมีคุณธรรมเปน
เคร่อื งยดึ เหน่ียวผกู พนั จติ ใจของกันและกนั ไว คุณธรรมเครือ่ งยึดเหน่ยี วจิตใจนั้น
ประการหนึ่ง ไดแก การให คือใหการสงเคราะหชวยเหลือกัน ใหอภัยไมถือโทษกันให
คาํ แนะนําตักเตอื นทดี่ ตี อกนั
ประการท่ีสอง ไดแก การมีวาจาดี คือพูดแตคําสัจคําจริงตอกัน พูดใหกําลังใจกัน พูด
แนะนําประโยชนกนั และพดู ใหรักใครป รองดองกัน
คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 37
ประการท่ีสาม ไดแก การทําประโยชนใหแกกัน คือประพฤติปฏิบัติตนใหเกิดประโยชน
เกอ้ื กลู ทงั้ แกก นั และกัน และแกห มคู ณะโดยสว นรวม
ประการที่สี่ ไดแก การวางตนไดสมํ่าเสมอ อยางเหมาะสม คือ ไมทําตัวดีเดนเกินกวา
ผูอน่ื และไมดอ ยใหตํ่าทรามไปจากหมคู ณะ
หมูใดมีคุณธรรมเคร่ืองยึดเหนี่ยวกันไวดังกลาว หมูคณะน้ันยอมจะมีความเจริญม่ันคงข้ึน
ดว ยสามัคคีธรรม....”
(พระราชดํารัส พระราชทานแกส ามคั คสี มาคมในพระบรมราชปู ถมั ภใ นการเปดประชุม ประจําป
พ.ศ.2525ระหวางวนั ที่ 10 – 11 เมษายน 2525)
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั
“…. บา นเมอื งไทยของเราดํารงม่นั คงมาชา นาน เพราะคนไทยมีความพรอ มเพรียงกัน
เขมแขง็ ถงึ จะมีความเปลีย่ นแปลงเกิดขน้ึ บา งตามกาลตามสมัย กเ็ ปน ไปตามความปรารถนาของ
พวกเราเอาทจ่ี ะทําใหป ระเทศชาตเิ จริญกาวหนา การทาํ นบุ าํ รุงบานเมืองนนั้ เปนงานสวนรวมของ
คนทงั้ ชาติ จงึ เปน ธรรมดาอยเู องท่จี ะตองมคี วามขดั แยงเกดิ ขน้ึ บาง จะใหท ุกคนทกุ ฝายมคี วาม
คิดเหน็ สอดคลองกนั ตลอดทกุ ๆ เรอื่ งไปยอ มเปนการผดิ วสิ ยั เพราะฉะน้ันแตล ะฝายแตล ะคนจงึ ควร
คาํ นึงถึงจุดประสงคร ว มกนั คอื ความเจริญไพบลู ยข องชาตเิ ปน ขอใหญ ทุกฝา ยชอบทจี่ ะทาํ ใจให
เทีย่ งตรงเปน กลาง ทําความคดิ ความเหน็ ใหกระจางแจมใส ทําความเขา ใจอนั ดีในกันและกนั ให
เกดิ ข้นึ แลวนําความคดิ ความเหน็ ของกนั และกันน้นั มาพจิ ารณาเทียบเคยี งกนั โดยหลกั วิชาเหตุผล
ความชอบธรรม และความเมตตาสามัคคี ใหเห็นแจงจรงิ ทุกฝายจะสามารถปรับเปลี่ยนความคิด
และวธิ ีปฏบิ ัตใิ หสอดคลอ งเขา รปู เขา รอยกนั ไดทุกเรอ่ื ง.....”
(พระบรมราโชวาท พระราชทานแกประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปใหม พทุ ธศกั ราช 2535 เมอื่
วันที่ 31 ธนั วาคม 2534)
ชดุ ท่ี 2 พลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
ความหมายของ พลเมอื งดี ในวิถปี ระชาธิปไตย
พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ไดใ หความหมายของคาํ วา
พลเมือง หมายถึง ชาวเมอื ง ชาวประเทศ ประชาชน และ
วถิ ี หมายถงึ สาย แนว ทาง ถนน
ประชาธิปไตย เปนคําท่ีประกอบดวยประชา + อธิปไตย เม่ือ “อธิปไตย” แปลวา “เปนใหญ”
ประชาธิปไตยจึงหมายถึง การที่ประชาชนผูเปนใหญมีอํานาจการตัดสินใจในสังคมชุมชนที่ตนอาศัย
ผกู พนั อยู
“พลเมอื งดใี นวถิ ีประชาธิปไตย” จงึ หมายถึง พลเมืองที่มีคุณลกั ษณะท่ีดี คอื เปนผทู ่ยี ึดมนั่
ในหลักศลี ธรรมและคุณธรรม มหี ลกั ประชาธปิ ไตยในการดํารงชีวิต คอื มีสว นรว มในกิจการสาธารณะ
ของชมุ ชน มคี วามรบั ผิดชอบในชุมชน ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย ดํารงตนเปนประโยชนตอสงั คม โดย
38 คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2
มกี ารชว ยเหลอื เกื้อกลู กนั อนั จะกอ ใหเ กิดการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ ใหเ ปน สงั คมและประเทศที่
มวี ิถีชวี ิตแบบประชาธปิ ไตยอยางแทจ รงิ
แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเปน พลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย
1) ดา นสงั คม ไดแ ก
(1) การแสดงความคดิ อยางมีเหตุผล
(2) การรับฟง ขอ คิดเห็นของผูอน่ื และยอมรับเมือ่ ผูอ่ืนมีเหตุผลทด่ี ีกวา
(3) การตัดสนิ ใจโดยใชเหตผุ ลมากกวา อารมณ
(4) ความเอือ้ เฟอ เผือ่ แผ เสียสละพรอมชว ยเหลือผูอ ืน่
(5) การเคารพกฎหมายและกติกาตา ง ๆ
(6) การมีจิตสาธารณะ คือ การรักษาสาธารณสมบัติและการอาสาทํางานเพ่ือ
ประโยชนของสวนรวม
2) ดานเศรษฐกิจ ไดแก
(1) การประหยัดและอดออมในครอบครัว
(2) การซื่อสัตยสุจรติ ตอ อาชพี ทีท่ าํ
(3) การพฒั นางานอาชีพใหก า วหนา
(4) การใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชนต อ ตนเองและสงั คม
(5) การสรางงานและสรางสรรคส่ิงประดิษฐใหม ๆ เพ่ือใหเกิดประโยชนตอ
สงั คมไทยและสังคมโลก
(6) การเปนผูผลติ ท่มี คี วามรบั ผิดชอบตอ สงั คมและผูบริโภคท่ีมคี วามพอเพยี ง
(7) อตุ สาหะหมน่ั เพียรทาํ งานดว ยความรับผิดชอบและอยา งเต็มกาํ ลงั ความสามารถ
และสตปิ ญญา
3) ดา นการเมือง ไดแก
(1) การเขามสี วนรว มรบั ผดิ ชอบชุมชนสงั คม
(2) การยอมรบั ในความแตกตา งหลากหลายที่มอี ยใู นชุมชนสังคม
(3) การมคี วามอดทนตอความขดั แยง ที่เกดิ ขน้ึ และมุงแสวงหาการแกไ ขความ
ขัดแยง โดยสันติวธิ ี
(4) ความรบั ผิดชอบและซอื่ สัตยต อหนา ที่โดยไมเ ห็นแกป ระโยชนส วนตน
(5) การกลา เสนอความคดิ เหน็ ตอสวนรวม กลา เสนอตนเองเขารว มกจิ กรรมการเมอื ง
จริยธรรมของการเปน พลเมืองดี
จรยิ ธรรม หมายถึง ธรรมทเ่ี ปนขอประพฤติปฏิบตั ิ จริยธรรม ที่สงเสริมความเปนพลเมือง
ดี เปน ไปตามหลักคารวธรรม สามัคคีธรรมและปญ ญาธรรม ดังตัวอยา งตอ ไปนี้
1) ความสามัคคี หมายถงึ การยึดม่ันในการอยูรวมกนั โดยเคารพกตกิ าที่ตกลงกนั
2) ความกลาทางจริยธรรม หมายถึง ความกลาหาญทจ่ี ะกระทาํ ในสงิ่ ทเี่ หน็ วา ถกู ตอง เปนธรรม
คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 39
3) ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ การยอมรับผลของการกระทําทตี่ นเองเปน ผูก อขึน้ ไมวา ผล
ของการกระทาํ น้ันเปนผลทดี่ หี รือไมดกี ต็ าม
4) การเสยี สละ หมายถงึ การยอมเสยี ผลประโยชนส ว นตนเพื่อผูอ่นื หรือสงั คมโดยรวม
5) การตรงตอ เวลา หมายถึง การรักษาเวลาท่ตี กลงกนั ไว
การสงเสริมใหผ ูอ น่ื ปฏิบตั ติ นเปนพลเมอื งดี
เมื่อบุคคลปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตยแลว ควรสนับสนุนสงเสริมใหบุคคล
อ่ืนปฏิบตั ติ นเปนพลเมอื งดีในวิถปี ระชาธปิ ไตยดว ย โดยมแี นวทางการปฏิบัตดิ ังน้ี
1. ปฏิบตั ิตนใหเ ปนพลเมืองดใี นวิถปี ระชาธิปไตย โดยยดึ มนั่ และใชหลักคุณธรรม จริยธรรมของ
ศาสนาและหลักการของประชาธิปไตย ในวิถีการดํารงชีวิตประจําวันเพื่อนเปนแบบอยางท่ีดีแกคนรอบ
ขา ง
2. เผยแพร อบรม หรือส่ังสอนโนมนาวบุคคลในครอบครัว เพ่ือนบานคนในสังคมใหใช
หลกั ประชาธปิ ไตยเปน พืน้ ฐานในการดํารงชวี ิตประจาํ วัน
3. สนับสนุนชุมชนในเร่ืองที่เก่ียวกับการปฏิบัติตนใหถูกตองตามกฎหมาย โดยการบอก
กลาวหรือชวยประชาสมั พนั ธ โดยวธิ ตี า ง ๆ เชน เขียนบทความเผยแพรผานส่อื มวลชน เปน ตน
4. ชักชวนหรือสนับสนุนคนดีมีความสามารถในการมีสวนรวมกิจกรรมทางการเมืองหรือ
กิจกรรมสาธารณประโยชนข องชุมชน
5. เปน หเู ปนตาใหรฐั หรอื หนวยงานของรัฐในการสนบั สนุนคนดี และปอ งกนั ดแู ลมิใหค นไมด ี
ทาํ ผิดกฎหมายบา นเมือง
การสนับสนุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย ควรเปนจิตสํานึกท่ีบุคคล
พึงปฏิบตั เิ พ่อื ใหเ กิดความเปนประชาธิปไตยอยา งแทจรงิ
เร่ืองทีเ่ ปน ประโยชน
ราชสหี กับหมาปา
หมาปาตัวหนง่ึ ออกลา ลูกแกะมาได และกําลังพยายามทีจ่ ะนําซากลกู แกะผูน า สงสารนน้ั
กลับไปทรี่ ัง แตโชครา ยทมี่ ันไปพบกบั ราชสีหอ ดโซเขา ตวั หน่ึง ราชสีหต รงเขา มาแยง ลกู แกะนน้ั
ทันที ซึ่งสรางความขนุ เคอื งใหก ับหมาปามากมนั ตะโกนบอกราชสหี วา “ทานไมนกึ ละอายใจบา งหรอื
อยางไรทีท่ ําตวั เปน เหมอื นโจรรา ย เขา แยง อาหารของขา แบบน”ี้ ราชสหี ไดฟงดังนัน้ ก็หัวเราะรา แลว
ตอบกลบั ไปวา “ตัวขานะ รึ ท่เี จา ประณามวาเปน ไอโ จรราย ฮะ...ฮะ...แลวส่ิงทีเ่ จา กระทํามาน้นั เลา
เรียกวา ความสุจริตหรอกรึ ขาไมเ ชื่อหรอกวา คนเลยี้ งแกะจะคดิ วา เจาเปนผบู รสิ ุทธ์ิ ท้ัง ๆ ทเี่ จา
ขโมยเอาลกู แกะของเขามาเชนนี!้ ”
เรอ่ื งน้ีสอนใหรวู า คนทท่ี ุจรติ ยากจะหาความยุตธิ รรมจากผอู นื่ ได
40 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2
นกกา
รูกันท่ัวไปวา นกกาเปนนกที่ขี้ขโมย โดยเฉพาะอาหารแลว นกกาขโมยไดเกงนัก กาจึง
เปนนกท่ีหนาดานท่ีสุด นอกจากนี้แลวกายังเปนนกที่ข้ีริษยาตารอน เห็นนกตัวอ่ืนสวยกวาตน กา
เกิดความไมพอใจโดยเฉพาะนกยูงดว ยแลว กาไมชอบหนา เอาเลย
วันหนึ่ง กาลงสํารวจตรวจดูขนของตัวเองแลว รูสึกไมพอใจในความดําสนิทมิดหมีมองไม
เห็นความสวยงามสวนไหน ๆเลย จึงไปเที่ยวหาขนนกยูงมาแซมขนของตน เสร็จแลวก็เที่ยว
โฆษณาวาตัวเองเปนนกท่ีสวยงามกวานกใด ๆ ในโลก จนเปนที่เกลียดชังของนกทั่วไป เพราะนก
ทั้งหลายเห็นแลวก็รูวามิใชขนของกาจริง ๆ เปนขนของนกยูง จึงตางพากันมารุมจิกขนท่ีแซมออก
หมด แตเพราะความหม่ันไสมากจึงชวยกันจิกขนดําของกาออกดวย กาจึงเหลือแตตัวลอนจอนนา
อับอาย ขายหนาจริง ๆ
เรื่องนีส้ อนใหรูวา จงพอใจในสง่ิ ท่ีตนมอี ยู ไมฉ กฉวยของผูอ ่ืน
คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 41
แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญ(เครอ่ื งหมายลกู เสือชน้ั พิเศษ) ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2
หนวยที่ 2 หนาทพี่ ลเมอื ง เวลา 1 ชวั่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 6 ส่ิงดี ๆ ของฉัน
1. จุดประสงคการเรียนรู
วเิ คราะหต นเอง สามารถนําคณุ สมบัตทิ ด่ี แี ละความสามารถพเิ ศษของตนไปใชใ หเ กิด
ประโยชนกบั ตนเองและหมคู ณะ
2. เน้ือหา
การรูจ ักตนเองเพอื่ การพัฒนาใหเ กิดประโยชนตอ ตนเองและสว นรวม
3. สือ่ การเรียนรู
3.1 เกม
3.2 กระดาษวาดภาพสญั ลกั ษณข องลูกเสอื เครอ่ื งหมายประกอบเครอื่ งแบบตาํ แหนง ลกู เสือ
3.3 เร่ืองท่เี ปน ประโยชน
4. กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต สงบนิง่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคการเรยี นรู
1) ผูกํากับลูกเสือนําสนทนาเรื่องหนาท่ีความรับผิดชอบในกองลูกเสือ การประดับ
เคร่ืองหมายประกอบเคร่ืองแบบของนายหมู รองนายหมู พลาธกิ ารและการเลอื กหนาท่ีของสมาชิกใน
หมูล กู เสือแตละหมู
2) ผูกํากับลูกเสือแจกกระดาษวาดภาพใหลูกเสือแตละคนและใหลูกเสือภายในหมู
วเิ คราะหศ กั ยภาพตนเองและทําแผนปลิววาดภาพสัญลักษณบอกความถนัดและความสามารถพิเศษ
ของตนที่เหมาะสม
3) ลูกเสือประชาสัมพันธแนะนําตนเอง ตอสมาชิกคนอ่ืน ขอเขารับการคัดเลือกเพื่อ
ปฏิบัติหนาท่ีภายในหมู
4) เพ่ือนในหมูลูกเสือรวมกันแสดงความคิดเห็น และสรุปเลือกผูท่ีเหมาะสมในการ
ปฏิบตั หิ นาท่ีตาํ แหนง ตางๆในหมลู ูกเสือโดยทําเปน แผนภมู ิคณะกรรมการผนู าํ หมลู กู เสือตดิ บอรดไว
5) ผูกํากับลูกเสือและลูกเสือในกองรวมกันประกาศคุณสมบัติและความสามารถในการ
ปฏบิ ตั หิ นา ท่ีของลูกเสือแตล ะหมู เพอื่ ใหลกู เสอื เกดิ ความภาคภูมใิ จในหนาทีท่ จี่ ะปฏิบัตใิ นหมูแ ละกอง
ลกู เสือ
6) ลูกเสือสรุปและนําเอาความสามารถพิเศษไปใชใหเกิดประโยชนแกตนเองและหมู
คณะ
4.4 ผกู าํ กบั ลูกเสอื เลา เร่อื งท่เี ปนประโยชน
4.5 พิธปี ด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธง เลกิ )
42 คูม ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2
ผกู าํ กบั ลกู เสอื นดั หมายลูกเสอื แตง เครอ่ื งแบบใหถูกตอ งตามบทบาทหนา ทีข่ องตนเองในหมู
ลูกเสอื เพื่อเปน แบบอยา งสาํ หรับลูกเสือรนุ นอ ง
5. การประเมินผล
5.1 ลกู เสอื รคู ุณสมบัตทิ ด่ี แี ละความสามารถพเิ ศษของเพอื่ น ๆ ไดรอยละ 90 ของกลมุ เพือ่ น
5.2 ลูกเสือภมู ิใจและรูจักจุดเดนของตนในมุมมองของเพอ่ื น
6. องคป ระกอบทักษะชวี ติ สําคัญทเี่ กดิ จากกจิ กรรม
คือ ความคดิ วเิ คราะห ความคดิ สรา งสรรค ตระหนกั รใู นตนเอง
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 6
เกม
เพ่ือนฉัน ..... คนเกง
วิธเี ลน
1. ลกู เสอื น่งั รอบวง ผูกํากบั ลกู เสือและลูกเสือรอ งเพลงพรอ มปรบมือใหจ ังหวะ
2. ผูกาํ กบั ลูกเสือนาํ ฉลาดท่ีเขียนไวในกระดาษมามว นเปนกอ นกลมหรอื ใสใ นกลอ งกไ็ ดส ง
ใหลกู เสอื ในวง
3. ลูกเสือเม่ือรบั กลองฉลากมาแลว ใหส ง ตอ ไปใหเ พ่ือนลกู เสอื คนตอ ไป
4. ผูกํากับลูกเสือหยุดรองเพลงกลองฉลากอยูท่ีลูกเสือคนใด ลูกเสือคนน้ันจะตองบอก
ความสามารถของเพ่ือนคนใดคนหน่ึงในหมูหรือในกองวามีความสามารถอะไรบางที่ผูอื่นขอความ
ชว ยเหลอื ได เชน ตอกตะปูเกง รอ งเพลง เลานทิ าน เลนกีตาร ตีฉง่ิ รูรักตนไม รอยลูกปด สเกตภาพ
พดู เลียนเสยี งฯลฯ
เร่ืองเลา ท่ีเปนประโยชน
คนขีเ้ หนียวกับทองคํา
ชายคนหน่ึงเปนคนข้ีเหนียว เขามักจะเอาสมบัติฝงดิน ไวรอบๆ บานไมยอมนํามาใชจายให
เกิดประโยชนตอมาเขากลัววาจะไมปลอดภัยถาฝงเงินทอง ไวหลายเเหงเขาจึงขายสมบัติท้ังหมดเเล
วซ้ือทองคําเเทงหนึ่ง มาฝงไวที่หลังบานเเลวหม่ันไปดูทุกวันคนใชผูหนึ่งสงสัยจึงเเอบตามไปดูท่ีหลัง
บาน เเลวก็ขุดเอาทองเเทงไปเสียชายขี้เหนียวมาพบหลุมที่วางเปลาในวันตอมาก็เสียใจ รองหม
ร อ ง ไ ห ไ ป บ อ ก เ พื่ อ น บ า น ค น ห นึ่ ง เ พ่ื อ น บ า น จึ ง เ เ น ะ นํ า แ บ บ ป ร ะ ช ด ป ร ะ ชั น ว า
"ทา นกเ็ อากอ นอฐิ ใสใ นหลมุ เเลวคิดวาเปน ทองคําสิ เพราะถงึ อยา งไรทา นก็ไมเ อาออกมาใชอยเู เลว ”
คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 43
เรือ่ งนี้สอนใหรูวา ของมีคา ถาไมนํามาทําใหเ กดิ ประโยชนกย็ อ มเปนของไรค า
แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญ (เครอ่ื งหมายลูกเสือชั้นพิเศษ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2
หนวยท่ี 2 หนา ทพี่ ลเมอื ง เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 7 คคู รองในฝน
1.จุดประสงคการเรียนรู
เหน็ คณุ คา ของความเปนสภุ าพบุรษุ และสุภาพสตรี
2. เน้ือหา
คุณสมบตั ิสาํ คัญทคี่ วรพจิ ารณาในการเลอื กคูครอง
3.สอื่ การเรียนรู
3.1 กระดาษแผนเล็ก กระดาษปรูฟ ปากกาหัวสกั หลาด ปากกา
3.2 เรือ่ งทเี่ ปน ประโยชน
4.กจิ กรรม
4.1 กจิ กรรมคร้งั ท่ี 1
1) พิธเี ปด ประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก ารเรียนรู
(1) ผูกาํ กับลกู เสือชวนสนทนาเก่ียวกบั ละครโทรทศั นห ลงั ขา วภาคค่ํา ถงึ พฤตกิ รรม
ตา งๆของตวั ละครและรว มกนั วิจารณพ ฤติกรรมของตวั ละครทต่ี นเองพบเห็น
(2) หมูลูกเสือนง่ั ลอมวง แตล ะคนเขยี นคณุ สมบตั ิของตนเองทแี่ สดงความเปน
สภุ าพบุรษุ หรอื สภุ าพสตรที เี่ พศตรงขามจะตดั สนิ ใจเลอื กมาเปนคคู รองในอนาคตคนละ 3 ขอ
ลงกระดาษแผน เลก็ แผนละ 1 คณุ สมบตั ิ
(3) เขยี นคณุ สมบตั ขิ องเพศตรงขา มทตี่ นเองจะตดั สินใจเลือกเปน คูค รองใน
อนาคตคนละ 3ขอลงกระดาษแผน เล็กแผน ละ 1 คณุ สมบัติ
(4) นาํ ไปจดั แยกประเภทคณุ สมบัติสุภาพบุรษุ และสุภาพสตรี โดยไมใ ชเ สียง
(5) นายหมเู ลอื กมาเพศละ 4 คุณสมบตั ทิ มี่ ผี ูเขยี นมากที่สดุ และรองลงมา
ตามลาํ ดบั
(6) รว มกนั วเิ คราะหค วามหมาย และพฤตกิ รรมท่แี สดงออกถึงแตล ะคุณสมบตั ทิ ี่
สําคญั ของสภุ าพบุรุษและสภุ าพสตรที ่เี พศตรงขา มตอ งการเปนคคู รอง
(7) สรุปผลกิจกรรมรายงานในกองลูกเสือคาบตอ ไป
4) ผูก าํ กับลกู เสือเลา เรอื่ งทเ่ี ปนประโยชน
5) พิธีปด ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธง เลิก)
4.2 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 2
1) พธิ ีเปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
44 คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2
2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู
(1) ตัวแทนหมูล ูกเสอื รายงานผูกาํ กบั ลูกเสอื นาํ อภปิ ราย รวบรวม และสรปุ คณุ สมบตั ิ
ของท้งั สองเพศเขยี นลงกระดาษปรูฟ
(2) ผูกํากับลกู เสอื นาํ อภปิ รายใหเลือกคณุ สมบัติท่ีสาํ คัญท่ีสดุ เหลอื เพศละ 3 ขอ ให
กองลูกเสอื โหวตวา จะตดั คณุ สมบตั ิขอ ใดออกไป
(3) ถามขอ คดิ ท่ไี ดจากกิจกรรมและการนาํ ไปปฏบิ ตั ใิ นชีวติ ประจําวนั (ในคุณสมบัติ
ท่ดี ีท้งั หมด เมอื่ พิจารณาอยา งถอ งแท จะพบวา มีคณุ สมบัติที่สาํ คัญมากนอ ยตางกนั )
4) ผูกํากับลูกเสือเลาเร่อื งทเ่ี ปนประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธง เลกิ )
5. การประเมินผล
สังเกต การมสี ว นรวมในการทํากิจกรรม การแสดงออก และการใหความคดิ เห็นในหมู และ
กองลูกเสอื
6. องคประกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คัญทเ่ี กดิ จากกิจกรรม
คอื ความคิดวเิ คราะห ความคิดสรา งสรรค ตระหนกั ถึงคณุ คา ของการเปนสภุ าพบรุ ษุ
และสภุ าพสตรี
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 7
เพลง
พวกเดียวกนั
มาเถิดเรามามารวมรอ งเพลงกัน พวกเราท้ังนัน้ ลุกข้ึนพลันทนั ที
แลว เราก็หนั หนา มาหากัน (ซํ้า) สง ยิ้มใหก ันแลว ปรบมอื 5 ที( 1 2 3 4 5 )
เสร็จพลันกห็ นั กลบั มา สนกุ หนกั หนา แลวสายเอว 5 ที ( 1 2 3 4 5 )
คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 45