The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tom_club_za, 2022-04-26 03:07:54

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามญั รนุ ใหญ (เครือ่ งหมายลกู เสือชั้นพิเศษ) ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 2

หนวยที่ 8 พธิ กี าร เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 25 การประดบั เครอ่ื งหมายลกู เสอื ช้นั พเิ ศษ

เครื่องหมายวิชาพิเศษสายยงยศ

1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
สามารถเขารบั เคร่อื งหมายลกู เสือชั้นพิเศษได

2. เนื้อหา
เครื่องหมายลูกเสอื ช้ันพิเศษ

3. สือ่ การเรยี นรู
เคร่อื งหมายลกู เสือชั้นพเิ ศษ

4. กิจกรรม
4.1 ผกู ํากับลกู เสอื และลูกเสือพรอมกันในหอ งประชมุ
4.2 ผกู ํากับลกู เสอื เปนประธานจุดธปู เทยี นบูชาพระรตั นตรยั และถวายสักการะแดพ ระรปู

รัชกาลท่ี 6 ผูกํากับลูกเสือและลูกเสอื รวมกนั ถวายราชสดดุ ี
4.3 ผกู ํากบั ลกู เสอื กลา วถึงการไดรับอนมุ ตั ใิ หมีสทิ ธป์ิ ระดบั เครอื่ งหมายลูกเสอื ชน้ั พิเศษ

เคร่อื งหมายวิชาพเิ ศษ สายยงยศ พรอ มทั้งใหโอวาทกบั ลกู เสอื
4.4 ผกู ํากบั ลกู เสอื มอบเครื่องหมายลกู เสือชน้ั พเิ ศษ เครือ่ งหมายวชิ าพเิ ศษใหก บั ลกู เสือทกุ

คนและแสดงความชนื่ ชมยนิ ดีกบั ลกู เสือทุกคน
4.5 ผูกาํ กับลกู เสอื และลกู เสือรว มกันทบทวนคําปฏิญาณ

5. การประเมนิ ผล
สงั เกตพฤติกรรมจากการเขา รว มกจิ กรรม

146 คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

ภาคผนวก

147 คูมอื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

ภาคผนวก ก

แนวคดิ เร่ืองทักษะชีวิต

ความหมายและองคป ระกอบทักษะชีวิต

ทักษะชวี ติ เปนความสามารถของบุคคล ที่จาํ เปน ตอ การปรบั ตัวในการเผชิญปญ หาตา ง ๆ
และสามารถดาํ เนินชวี ติ ทามกลางสภาพสงั คมที่มีการเปล่ยี นแปลงทงั้ ในปจจบุ นั และเตรียมพรอ ม
สาํ หรับการเผชิญปญหาในอนาคต

องคประกอบทักษะชีวิต มี 12 องคประกอบ จัดเปน 6 คู โดยแบงตามพฤติกรรมการเรียนรู
3 ดา น ดงั นี้

อhงgคhjปhgรfะgjกjhอgfบf jทhhกั gfษfdะsdชsdีวsติ6คู 3 ดา น

ความตระหนัก การสราง
สมั พันธภาพและ
รูใ นตน
การสือ่ สาร

ความเห็นใจ ความคิด การ
ผูอ่นื สรางสรรค ตดั สินใจ
พุทธพิ สิ ัย
จิตพสิ ยั และแกไข ทักษะพสิ ัย
ปญหา
ความ ความคิดวิเคราะห
วจิ ารณ
ภาคภูมใิ จ

ในตัวเอง ความ การจดั การกบั
อารมณแ ละ
รับผิดชอบ ความเครียด
ตอสังคม

แผนภาพที่ 1 องคป ระกอบของทกั ษะชวี ติ

1. ดา นพทุ ธิพิสัย จดั ไวตรงกลางของแผนภาพ เพราะเปนองคป ระกอบรวมและเปน พ้ืนฐาน
ของทุกองคประกอบ ไดแก

- ความคิดวเิ คราะหว จิ ารณ เปน ความสามารถที่จะวเิ คราะห สังเคราะห ประเมนิ
ขอ มลู ขาวสาร ปญหา และสถานการณตา ง ๆ รอบตวั

- ความคิดสรางสรรค เปนความสามารถในการคิดออกไปอยางกวางขวางโดยไม
ยึดติดอยใู นกรอบ และการสรางสรรคส ิง่ ใหม

คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 2 148

2. ดานจติ พสิ ัย หรอื เจตคติ มี 2 คู คอื
คูท ี่ 1 ความตระหนักรใู นตนเอง และ ความเขาใจ/เหน็ ใจผูอืน่
คูที่ 2 เห็นคุณคา /ภูมิใจตนเอง และ ความรับผดิ ชอบตอสงั คม
- ความตระหนักรูในตนเอง เปนความสามารถในการคนหาและเขาใจในจุดดีจุด

ดอยของตนเอง ยอมรับความแตกตางของตนเองกับบุคคลอื่น ไมวาจะในแงความสามารถ เพศ วัย
อาชพี ระดบั การศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม ศาสนา สีผวิ ทองถนิ่ สขุ ภาพ ฯลฯ

- ความเขาใจ/เห็นใจผูอ่ืน เปนความสามารถในการเขาใจความรูสึกของผูอ่ืน เห็น
อกเห็นใจและยอมรับตัวตนของบุคคลอื่นที่แตกตางกับเรา ไมวาจะในแงความสามารถ เพศ วัย
อาชพี ระดับการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม ศาสนา สผี ิว ทอ งถิ่น สุขภาพ ฯลฯ

- เห็นคุณคา/ภูมิใจตนเอง เปนการคนพบ คุณสมบัติเฉพาะตัวของตนเอง รูสึกวา
ตนเองมีคุณคา เชน เปนคนมีนํ้าใจ ซ่ือสัตย ยุติธรรม และภูมิใจในความสามารถดานตาง ๆ ของ
ตนเอง เชน ดา นสังคม ดนตรี กฬี า ศลิ ปะ การเรยี น ฯลฯ

- ความรับผิดชอบตอสังคม เปนความรูสึกวาตนเองเปนสวนหน่ึงของสังคมและมี
สว นรับผิดชอบในความเจริญหรือเส่ือมของสังคมนั้น คนที่เห็นคุณคาตนเองจะมีแรงจูงใจท่ีจะทําดีกับ
ผูอ ่นื และสังคมสวนรวมมากข้นึ จงึ จัดเขา คูกับความรบั ผิดชอบตอ สังคม

3. ดา นทกั ษะพิสยั หรือทกั ษะ ประกอบดวย 3 คู คอื
คูท่ี 1 การสื่อสารและการสรางสัมพันธภาพ
คทู ่ี 2 การตัดสนิ ใจและการแกไ ขปญ หา
คูท ี่ 3 การจัดการกับอารมณแ ละความเครียด
- ทกั ษะการการสอื่ สารและการสรา งสมั พนั ธภาพ เปน ความสามารถในการใช

คําพูดและภาษาทาทาง เพือ่ ส่ือสารความรูสึกนึกคดิ ของตนเอง และสามารถรบั รคู วามรูสึกนึกคิด
ความตอ งการ ของอกี ฝา ยหนึ่ง มกี ารตอบสนองอยา งเหมาะสมและเกดิ สัมพันธภาพที่ดีตอ กนั

- ทกั ษะการตัดสนิ ใจและการแกไขปญหา การตดั สนิ ใจใชใ นกรณีทม่ี ที างเลอื กอยู
แลว จึงเริ่มตน ดว ยการวิเคราะหข อดีขอ เสยี ของแตล ะทางเลอื กเพ่ือหาทางเลือกทีด่ ที ่ีสุดและนําไป
ปฏิบตั ิ สว นการแกไขปญ หาเปนความสามารถในการรับรูปญ หาและสาเหตขุ องปญ หา หาทางเลือก
ไดหลากหลาย วเิ คราะหข อ ดขี อเสียของแตล ะทางเลือก ตัดสินใจเลอื กทางเลอื กในการแกปญ หาที่
เหมาะสมท่ีสดุ และนําไปปฏบิ ตั ิ

- ทักษะการจัดการกับอารมณแ ละความเครียด เปน ความสามารถในการรับรู
อารมณตนเอง ประเมนิ และรูเทา ทันวา อารมณจะมีอทิ ธพิ ลตอพฤตกิ รรมของตนอยา งไร และเลอื กใช
วธิ จี ดั การกบั อารมณที่เกดิ ขนึ้ ไดอยา งเหมาะสม สว นการจัดการความเครยี ดเปนความสามารถในการ
รบั รูร ะดับความเครียดของตนเอง รูสาเหตุ หาทางแกไข และมีวธิ ผี อ นคลายความเครยี ดของตนเอง
อยา งเหมาะสม

149 คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2

ความแตกตา งระหวา งทักษะชีวิตทวั่ ไปและทักษะชีวติ เฉพาะ

ทักษะชีวิตท่ัวไป เปนการสรางภูมิคุมกันทางสังคม สําหรับปญหาท่ัว ๆ ไปใน
ชีวิตประจาํ วัน ดว ยทกั ษะชวี ิต 12 องคป ระกอบ ใหก บั เดก็ ทกุ คน

ทักษะชีวิตเฉพาะ เปนการประยุกตใชทักษะชีวิต 12 องคประกอบ ที่มีเน้ือหา
เก่ียวกับการปองกันปญหาเฉพาะเร่ืองสําหรับเด็กกลุมเส่ียง โดยมีครูที่ปรึกษาและระบบดูแล
ชว ยเหลอื นักเรียนรองรบั

ทักษะชวี ติ กบั การพัฒนาเยาวชน

เมื่อแบงเยาวชนออกเปน 3 กลุม คือเด็กปกติ เด็กกลุมเส่ียง และเด็กท่ีมีปญหา
ทักษะชีวิตจะเปนกลยุทธสําคัญในการสงเสริมภูมิคุมกันทางสังคม ใหกับเด็กปกติ และเด็กทุกคน
สําหรับเด็กกลุมเสี่ยงตองมีการสอนทักษะชีวิตเฉพาะในแตละปญหา มีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแล
ชวยเหลือนักเรียนรองรับ สวนเด็กที่มีปญหาแลวใชการดูแลใกลชิดเพ่ือหาทางแกปญหาที่เหมาะสม
เปนรายบุคคล และมีระบบสงตอยังวิชาชีพเฉพาะท่เี กีย่ วขอ ง

คมู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 150

ตวั อยา งทักษะชวี ิตเฉพาะ
151 คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2

ความแตกตางระหวา งทกั ษะชีวิต และทกั ษะการดํารงชีวิต

ทกั ษะชวี ติ (Life Skills) เปน ความสามารถทางจิตสังคม อันประกอบ ดวย ความรู เจตคติ
และทกั ษะ ที่จาํ เปน ในการดาํ เนินชีวติ ทา มกลางสภาพสังคมท่ีเปลยี่ นแปลงอยา งรวดเรว็ ในปจ จบุ ัน
และเตรยี มพรอ มสําหรับการเผชญิ ปญหาในอนาคต มี 6 คู 12 องคป ระกอบ

ทักษะการดาํ รงชวี ติ (Living Skills) เปนทกั ษะทีใ่ ชใ นกจิ วตั รประจาํ วัน ในเร่ืองพน้ื ฐาน
ของชีวิต มักเปน ทักษะทางกายภาพ เชน อาบนา้ํ แตงตวั ซกั เสื้อผา ปรุงอาหาร
ข่จี กั รยาน วายน้ํา ผกู เงอ่ื นเชอื ก การจดั กระเปา เดินทาง การใชแ ผนทเ่ี ขม็ ทศิ ฯลฯ

ความเชื่อมโยงระหวางทกั ษะชวี ติ และทักษะการดาํ รงชวี ติ
ทักษะชวี ติ และทกั ษะการดํารงชวี ติ มักถกู ใชผ สมผสาน เชอื่ มโยงกัน ทงั้ ในกจิ วตั รประจําวนั
ปกติ และในสถานการณตา ง ๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ไมแยกสว น โดยทักษะชวี ติ จะเปน ตัวชว ยในการเลอื กและ
ใชท กั ษะการดาํ รงชีวิตไดอ ยา งเหมาะสม ถูกที่ ถูกเวลา และเกิดผลลพั ธท ี่ดี
สถานการณทางจิตสังคม มักใชทักษะชวี ติ เปน หลกั ตวั อยา ง เชน
การจัดการกับอารมณโกรธ ความขดั แยง และ ความรุนแรง
ตระหนักรแู ละหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมเสย่ี งตา ง ๆ รวมถึงการปอ งกันอุบัตเิ หตุ
การชวยเหลอื ผูอน่ื และรบั ผดิ ชอบตอ สว นรวม
การสื่อสารเชงิ บวกและสรา งสัมพนั ธภาพที่ดี
กจิ วัตรทที่ าํ เปนประจาํ ใชท กั ษะการดํารงชวี ิตเปน หลกั เชน อาบนาํ้ แตง ตวั แปรงฟน ซกั
เสอ้ื ผา ปรุงอาหาร ขจี่ กั รยาน วายนาํ้ ผกู เงื่อนเชอื ก ใชแผนท่เี ข็มทศิ ฯลฯ

คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 152

ทกั ษะชีวติ สรางไดอยา งไร

สรา งดว ย 2 วธิ ีการใหญ ๆ คือ
1. เรียนรเู องตามธรรมชาติ ซึ่งขึน้ กับประสบการณแ ละการมีแบบอยางทดี่ ี จึงไมมที ศิ ทางท่ี
แนน อน และกวาจะเรยี นรกู อ็ าจชาเกนิ ไป
2. สรางโดยกระบวนการเรียนการสอนท่ยี ึดผเู รยี นเปน ศูนยกลาง ใหเดก็ เรียนรรู ว มกนั ใน
กลุม ผานกิจกรรมรูปแบบตาง ๆ ทีเ่ ดก็ ตองมสี ว นรวมทัง้ ทางรางกายคอื ลงมือปฏบิ ัติ และทาง
ความคิดคอื การอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดและประสบการณ เพื่อสรา งองคความรูใหมร วมกนั

การสอนทยี่ ึดผเู รยี นเปนศนู ยกลาง

• สรางความรู (Construction) กจิ กรรมที่ใหผ ูเรยี นมสี วนรวมทาง
สติปญ ญา คน พบความรูดวยตนเอง

• ปฏสิ มั พันธ (Interaction) กจิ กรรมตองสงเสรมิ ปฏิสมั พนั ธก ับ
ผอู ื่นและแหลงความรูท ่หี ลากหลาย

• เปนกระบวนการ (Process Learning)
• มสี ว นรวม (Physical Participation) มีสวนรวมดานรา งกาย ลง

มือกระทาํ กจิ กรรมในลักษณะตา ง ๆ
• มีการประยุกตใ ช (Application)

การมีสว นรว มทางสตปิ ญ ญาทาํ ใหเ กดิ ทกั ษะชวี ติ 2 องคประกอบแกนหลักคอื ความคิดวเิ คราะห
และความคดิ วจิ ารณ

ปฏิสัมพันธใ นกลุม เพ่ือทาํ กจิ กรรมรว มกัน ทาํ ใหเด็กไดฝก องคป ระกอบทักษะชวี ติ ดานทกั ษะท้ัง
3 คู คอื การสรา งสมั พนั ธภาพและการสอื่ สาร การตัดสนิ ใจและการแกไ ขปญ หา การจัดการอารมณแ ละ
ความเครยี ด

การรับฟง ความคดิ เหน็ ของคนอ่นื ทําใหเ กดิ ความเขา ใจคนอืน่ มากขน้ึ ขณะเดียวกันกเ็ กิดการ
ไตรต รองทําความเขาใจและตรวจสอบตนเอง จัดเปน องคป ระกอบทกั ษะชวี ติ ดา นเจตคตคิ ือ การเขาใจ
ตนเอง และเขา ใจ/เหน็ ใจผูอื่น

การไดรับการยอมรับจากกลุม การทํางานสําเร็จไดรับคําชม ทําใหเกิดความภูมิใจและเห็น
คณุ คา ตนเอง นาํ ไปสูความรับผดิ ชอบมากข้นึ ท้งั ตอตนเองและสงั คม

กระบวนการและการมีสวนรวม ชวยใหกิจกรรมสนุกสนานนาสนใจ และนําไปสูจุดประสงค
ทตี่ ้ังไว รวมทง้ั การประยกุ ตใชเ ปน การเปดโอกาสใหผูเรียนไดเช่ือมองคความรูใหมท่ีเกิดข้ึนเขาสูชีวิต
จรงิ วาไดเ กิดการเรยี นรูอะไรและนําไปใชในชีวิตประจาํ วันอยางไร

153 คูม อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2

การสอนทักษะชวี ติ

8 กลมุ สาระ กจิ กรรมพฒั นา
การเรยี นรู ผเู รยี น

กจิ กรรม กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม
แนะแนว และ

สาธารณประโยชน

กจิ กรรม
นกั เรยี น

กจิ กรรม ลกู เสอื / เนตรนารี /
ชมุ นมุ บาํ เพ็ญประโยชน /
ชมรม
นศ.วชิ าทหาร

ความหมายของกระบวนการลกู เสือ (Scout movement)

ตามคํานิยามของลูกเสือโลก หมายถึง กระบวนการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง
สําหรับเยาวชน เพ่ือสรางเยาวชนท่ีมีจิตใจเสียสละ รับผิดชอบ และอุทิศตนแกสังคม ดวยวิธีการ
ลูกเสอื

ตามแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 2522 (สพฐ.) หมายถึงกระบวนการทาง
การศึกษาสวนหน่ึง ซึ่งมุงพัฒนาสมรรถภาพของบุคคล ท้ังทางสมอง รางกาย จิตใจ และศีลธรรม
เพื่อใหเปนบุคคลท่ีมีความประพฤติดีงาม ไมกระทําตนเปนปญหาสังคม และดํารงชีวิตอยางมี
ความหมาย และสุขสบาย

หลักการลูกเสือ (Scout principle)

หลักการลูกเสอื โลกเนน ท่ีหนาทห่ี ลกั 3 ประการ คือ

1.หนาท่ีตอพระเจา/ศาสนา ไดแก การแสวงหาและดําเนินชีวิตอยางมีคุณคาและ
ความหมาย

2.หนาที่ตอผูอื่น ไดแก การเคารพ ใหเกียรติ ชวยเหลือผูอื่น รวมถึงการดูแลสังคมและ
สิ่งแวดลอ ม

3.หนาที่ตอตนเอง ไดแก พัฒนาตนเองทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และ
จิตวิญญาณ

คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 154

หลกั การลกู เสอื ไทย มี 5 ขอ คอื
1. มีศาสนาเปน หลกั ยึดทางใจ
2. จงรักภักดีตอ พระมหากษตั ริยและประเทศชาติ
3. เขารวมพัฒนาสังคม ยอมรับ เคารพในเกียรติและศักด์ิศรีผูอ่ืนและเพ่ือนมนุษยทุกคน
รวมท้งั ธรรมชาติ และสรรพส่ิงทง้ั หลายในโลก
4. รับผิดชอบตอการพฒั นาตนเองอยา งตอเนือ่ ง
5. ยดึ ม่นั ในคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื

วิธกี ารลกู เสอื (Scout method)

วิธีการลกู เสอื โลก มี 8 องคประกอบ โดยแบงออกเปน 3 กลุม คอื
กลุม ท่ี 1 ผใู หญมหี นา ท่ีชว ยเหลอื และสง เสริมเยาวชนใหเกิดการเรยี นรใู นกลุม
กลมุ ที่ 2 มกี ิจกรรมทบ่ี รรลวุ ตั ถุประสงคในการพฒั นาเยาวชนอยางตอ เน่อื งและเปน ระบบ
กลมุ ท่ี 3 เปน ลักษณะกจิ กรรมทใ่ี ช มี 6 องคประกอบ
1. ยึดมั่นในคําปฏิญาณและกฎของลกู เสือ
2. ใชร ะบบสญั ลักษณเปนแรงกระตุนไปสูเ ปาหมายในการพฒั นาตนเอง
3. ระบบหมู (กลุมเรยี นรูร วมกนั )
4. เรยี นรูใกลช ิดธรรมชาติ
5. เรยี นรจู ากการลงมือปฏบิ ัติ / เกม
6. เรียนรจู ากการบริการผูอ่นื
วธิ กี ารลูกเสือไทย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 2551 มี 7 องคป ระกอบ
คอื
1. ความกาวหนา ในการเขา รว มกิจกรรม
2. การสนับสนนุ โดยผใู หญ
3. ยดึ ม่นั ในคาํ ปฏิญาณและกฎ
4. การใชสัญลักษณรว มกนั
5. ระบบหมู
6. การศกึ ษาธรรมชาติ
7. เรยี นรูจากการกระทาํ

155 คูมอื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 2

วิธีการลกู เสอื สรางทักษะชวี ติ ไดอยา งไร

วิธีการลูกเสือ มีองคประกอบครบท้ัง 5 ประการ ของกระบวนการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียน
เปน ศูนยกลาง การสรางทักษะชวี ติ ท้ัง 12 องคป ระกอบ เกิดข้นึ ดวยกจิ กรรมดงั ตารางตอไปนี้

วธิ กี ารลกู เสือสรา งทักษะชีวิตไดอ ยา งไร

องคป ระกอบ กิจกรรม

คิดวิเคราะห อภิปรายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ท่ีตอง
คิดสรา งสรรค คดิ วเิ คราะห/ สงั เคราะห ตลอดเวลา
จัดกจิ กรรมใหค ิดนอกกรอบ งานศิลป การแสดง
ตระหนกั รใู นตน งานฝมือ ฯลฯ
เขา ใจ/เห็นใจผอู นื่ การเรยี นรทู พ่ี ฒั นาขน้ึ จากภายในตวั เดก็ เปน ผล
จากปฏิสมั พนั ธ แลกเปลี่ยนความคดิ ความเชื่อ
เห็นคณุ คาตนเอง/ ในกลุม ไดท ําความเขาใจตนเองและผอู ืน่ ฝก ท่ีจะ
รับผิดชอบสังคม ยอมรบั และเคารพในสิทธิและความคิดเห็นของผอู ่นื
การยอมรับจากเพ่อื น ทาํ ชนิ้ งานสาํ เรจ็ คําชมเชย
ส่อื สารและสราง จากเพอ่ื นและผูใหญ การเคารพใหเกยี รตซิ งึ่ กนั และ
สมั พนั ธภาพ กันสงผลใหมีวนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบตอตนเอง
ตดั สินใจและแกไ ขปญหา และสว นรวมมากขน้ึ
จัดการอารมณ
และความเครียด ประสบการณ ปฏิสัมพันธในกลมุ การทํางานรว มกนั
การเรียนรแู ละการฝกฝน

วัตถุประสงคคณะลูกเสอื แหง ชาติ (พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2551 มาตรา 8)

เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี มีความ
รับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหเกิดความสามัคคี และมีความเจริญกาวหนา ทั้งน้ีเพ่ือความ
สงบสขุ และความม่นั คงของประเทศชาติ ตามแนวทางดังตอไปนี้

1. ใหม ีนสิ ัยชางสังเกต จดจาํ เช่ือฟง และพง่ึ ตนเอง

2. ใหซ่ือสัตยส ุจริต มีระเบียบวนิ ัยและเห็นอกเหน็ ใจผูอ่นื

3. ใหรจู ักบาํ เพญ็ ตนเพอ่ื สาธารณประโยชน

4. ใหร ูจักทาํ การฝม อื และฝก ฝนใหท ํากิจการตาง ๆ ตามความเหมาะสม

5. ใหร ูจักรักษาและสง เสรมิ จารีตประเพณี วัฒนธรรม และความม่ันคงของประเทศชาติ

หลกั สูตรลูกเสือเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต

หลกั สตู รลกู เสอื เสรมิ สรางทกั ษะชีวิตไดใชข อบังคับคณะลกู เสือแหงชาติวาดวยการปกครอง
หลักสูตรและวิชาชีพพิเศษลูกเสือสํารอง สามัญ สามัญรุนใหญ และวิสามัญ เปนหลัก และเพ่ิมเน้ือหา
ที่สอดคลองกับปญหาตามวัยและพัฒนาการดานตาง ๆ ของลูกเสือ โดยจัดหนวยกิจกรรมตามท่ีระบุ

คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 2 156

ในหลักสูตรของลูกเสือแตละประเภท ดังนั้น ชื่อหนวยกิจกรรม และจํานวนหนวยกิจกรรมของลูกเสือ
แตล ะประเภทจงึ แตกตา งกนั

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตในคูมือชุดนี้ ไดออกแบบโดยบูรณาการ
กิจกรรมที่เสริมสรางทักษะชีวิตเขากับวิธีการลูกเสือ คือการใชระบบหมูหรือกลุมยอย โดยใหเด็กเปน
ศูนยกลาง และมีผูใหญทําหนาที่ชวยเหลือและสงเสริมใหเกิดกระบวนการเรียนรูในกลุม แนะนํา ส่ัง
สอน และฝกอบรมใหสามารถพ่ึงตนเองได มีจิตอาสา รับผิดชอบตอสวนรวม ยึดม่ันในคําปฏิญาณ
และกฎของลูกเสือ เสริมสรางคุณคาในตนเอง รวมท้ังใชระบบเครื่องหมายหรือสัญลักษณทางลูกเสือ
และเครอ่ื งหมายวิชาพเิ ศษ เปน แรงกระตุน ไปสเู ปาหมายในการพฒั นาตนเอง

องคประกอบในการประชุมกอง เนนการใชชีวิตกลางแจง นอกหองเรียน ใกลชิดธรรมชาติ
เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เกม และการบริการผูอื่น ซ่ึงถือเปนหัวใจของกิจกรรมลูกเสือ
ทกุ ประเภท โดยกจิ กรรมทใ่ี ช แบง ออกเปน 5 ประเภท คือ การแสดงออก การรายงานและการสํารวจ
การวิเคราะหและการประเมิน เกมและการแขงขัน การบําเพ็ญประโยชน การออกแบบกิจกรรม
เพื่อใหลูกเสือใชกระบวนการกลุมในการแลกเปล่ียนประสบการณ แลกเปลี่ยนความคิดความเช่ือ
สรางองคความรูและสรุปความคิดรวบยอด รวมทั้งเปดโอกาสใหลูกเสือไดประยุกตใชส่ิงท่ีไดเรียนรู
อกี ดว ย

เนอื้ หาสาระในแผนการจัดกิจกรรมแบง ออกไดเปน 3 กลมุ ประกอบดว ย

1.กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติ (ไมรวมกิจกรรมทดสอบเพื่อรับ
เครอื่ งหมายหรือสัญลกั ษณทางลกู เสอื และเครื่องหมายวชิ าพิเศษ)

2. กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติที่ชวยเสริมสรางทักษะชีวิตดานคุณธรรม
จรยิ ธรรม ความภาคภูมใิ จในตนเอง ความรบั ผดิ ชอบตอ สวนรวม

3.กิจกรรมเสริมสรางทักษะชีวิต เพ่ือสรางภูมิคุมกันทางสังคมตอเหตุการณและสภาพ
ปญหาของเดก็ แตล ะวัย

สําหรับกิจกรรมลูกเสือตามขอบังคับ เพ่ือการขอรับเครื่องหมายลูกเสือช้ันพิเศษ และ
เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ไมไ ดน ํามารวบรวมไวใ นคมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือชุดน้ี

คูมือมีจํานวน 11 เลม ตามช้ันปของลูกเสือ 4 ประเภท แตละเลม ไดจัดทําตารางหนวย
กิจกรรม และแผนการจัดกิจกรรมครบ 40 ช่ัวโมง เพื่อใหเห็นภาพรวมของการจัดกิจกรรมลูกเสือ
เสรมิ สรา งทักษะชวี ิตของลกู เสือในแตล ะระดบั ชนั้ และมหี มายเหตบุ อกไวใ นตารางชองขวาสุด วาเปน
แผนการจดั กิจกรรมเสริมสรา งทักษะชีวิต

แผนการจัดกิจกรรมประกอบดวย จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา ส่ือการเรียนรู กิจกรรม
การประเมินผล องคประกอบทักษะชีวิตสําคัญท่ีเกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด
กิจกรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู เรือ่ งทเี่ ปนประโยชน)

157 คูม ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

ภาพรวมการพฒั นาหลักสตู รลูกเสือเสริมสรางทักษะชวี ติ

1. เร่ิมจากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย หลักสูตรลูกเสือไทยและตางประเทศ รวมทั้ง
สมั ภาษณ ผูเชีย่ วชาญดานลกู เสอื

2. สัมนาครู ผูปกครอง นักพัฒนาเยาวชน และผูเชี่ยวชาญดานกิจกรรมเด็กและเยาวชน
เพอื่ รว มกันคน หาปญหาจริงของเดก็ แตล ะวัย และออกแบบกิจกรรมท่ีเหมาะสม

3. จัดทําคูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต 4 ประเภท ไดแก ลูกเสือสํารอง
ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญและลูกเสือวิสามัญ รวมทั้งส้ิน 11 เลม โดยผานการประเมิน
ปรบั ปรุงและพฒั นา จนเปนท่ยี อมรบั และนําไปใชในสถานศึกษาจาํ นวนมาก

4. จดั ทําหลกั สูตรการฝกอบรมผกู ํากับลกู เสอื สาํ รอง ลกู เสอื สามญั ลูกเสอื สามญั รุนใหญและ
ลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรูเบ้ืองตน และขั้นความรูชั้นสูง รวม 8 ประเภท โดยไดรับการอนุมัติจาก
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ ในการประชุม คร้ังท่ี 2/2557 เม่ือวันท่ี 22 กันยายน 2557 ให
ใชเ ปน หลกั สตู รการฝกอบรมผูกาํ กับลูกเสอื ของสํานักงานลกู เสือแหง ชาติ

5. จัดทํา คูมือฝกอบรมวิทยากรลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต เพ่ือขยายผลในการสราง
วทิ ยากรและฝกอบรมผูกํากบั ลกู เสือในสถานศึกษาทวั่ ประเทศ

คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 158

ภาคผนวก ข

กิจกรรมลูกเสือเสรมิ สรางทักษะชวี ิต

การจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตน้ัน ยังคงหลักการ และวิธีการของลูกเสือไว ทุก
ประการ แตเนนการสอดแทรกการเรียนรูทักษะชีวิตเพ่ิมเขาไปดวยเพ่ือตอบสนองวัตถุประสงคที่รอบ
ดาน และครอบคลมุ การดาํ รงชวี ิตในปจจบุ นั

คณุ คา ของส่อื การเรยี นการสอนประเภทกจิ กรรม

สื่อการเรียนการสอนประเภทกิจกรรม เปนกระบวนการเรียนการสอนท่ีใหผูเรียนได มีโอกาส
เรียนรูประสบการณตางๆ ดวยตนเอง ผานการทํากิจกรรมรวมกัน ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณ
ของเพ่ือนในกลุม ทําใหสามารถเรียนรูไดมากขึ้นโดยใชเวลานอยลง การออกแบบกิจกรรมจะตอง
กระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจ และรวมมือในการทํากิจกรรมที่กําหนดใหอยางเต็มที่ จึงจะ เกิดการ
เรยี นรไู ดอ ยางมีประสิทธภิ าพ ผลทีเ่ กิดขึน้ ตอผเู รียนมีดังนี้

1. สงเสรมิ ใหผเู รียนกลาแสดงออกและทํางานรวมกบั ผูอ ่นื ได
2. เกิดความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ ซ่งึ เปนลักษณะเฉพาะของส่ือการสอนประเภทกจิ กรรม
3. เปด โอกาสใหผ ูเรียนมีสว นรว มในการกาํ หนดขอบขา ย เนื้อหา และวตั ถุประสงค
4. ผเู รียนไดฝ กฝน พฤตกิ รรมการเรียนรทู ง้ั ทางดานความรู เจตคติ และทักษะ รวมท้งั ความคิด
สรา งสรรค และจินตนาการดว ย

ประเภทของกิจกรรมลูกเสอื เสริมสรางทักษะชีวติ

เมือ่ จดั ประเภทตามทักษะ/ความสามารถ ในการปฏิบตั ิกิจกรรม แบงออกไดเ ปน 5 ประเภท คอื
1. กิจกรรมการแสดงออก เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหลูกเสือไดใชความสามารถในการ
แสดงออก แสดงความคิดสรางสรรค จินตนาการในรูปแบบตาง ๆ ซ่ึงมักจะเปนการจําลองประสบการณ
ตาง ๆ มาเพ่ือการเรียนรูไดงายและสะดวกข้ึน หรือเปนส่ิงที่ใชแทนประสบการณจริง เพราะศาสตร
ตางๆ ในโลก มีมากเกินกวาท่ีจะเรียนรูไดหมดสิ้นจากประสบการณตรงในชีวิต และบางกรณีก็อยูใน
อดตี หรอื ซบั ซอนเรนลบั หรือเปนอนั ตราย ไมส ะดวกตอ การเรยี นรูจากประสบการณจรงิ
ตัวอยา งกจิ กรรม เชน
1.1 สถานการณจําลอง เปนการจัดสภาพแวดลอมใหใกลเคียงกับสภาพความเปนจริงมากท่ีสุด
เพื่อใหผ เู รยี นไดฝก ฝน แกป ญ หาและตัดสินใจจากสภาพการณที่กําลังเผชิญอยูน้ันแลวนําประสบการณ
แหง ความสาํ เรจ็ ไปเปน แนวทางในการแกป ญหา
1.2 การสาธิต กระบวนการท่ีผูสอนชวยใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค โดยการ
แสดงหรือกระทําใหดูเปนตัวอยาง ใหความสําคัญกับกระบวนการทั้งหมดที่ผูเรียนจะตองเฝาสังเกตอยู
โดยตลอด
1.3 เลานิทาน

159 คูมือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2

1.4 ละคร หนุ จําลอง
1.5 เพลง ดนตรี การเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรี หมายถึง กิจกรรมท่ีเนนการใชดนตรีเปนส่ือ
ในการเรียนรทู ง้ั ในแงเนื้อหาและความบนั เทงิ ผอนคลาย และเขาถึงวัฒนธรรมตาง ๆ
1.6 ศิลปะ แขนงอ่ืน ๆ เชน การวาดรปู การปน ดนิ เหนียว งานหตั ถกรรม การรอ ยดอกไม
1.7 การโตวาที

ฯลฯ
2. กจิ กรรมการการสํารวจและการรายงาน เปน กจิ กรรมทีเ่ นน ใหลูกเสือไดเรียนรูจากความเปน
จริง /เหตุการณจริง ในชีวิตประจําวัน ผานประสบการณตรงดวยตนเอง ซ่ึงเปนรากฐานสําคัญของ
การศึกษา เชน การทําแผนท่ี การสํารวจ หมายถึง การเรียนรูผานสถานการณจริงดวยการลงพ้ืนที่
สํารวจ และจําลองส่ิงที่ไดเรียนรูสูแผนที่ ภาพ หรือสัญลักษณ เพื่อแสดงความคิดรวบยอดของส่ิงท่ีได
เรียนรูน ัน้
ตัวอยางกิจกรรม เชน
การสัมภาษณ การเปน ผูส่อื ขาว การทาํ สารคดี การศกึ ษานอกสถานที่ ชุมชนศึกษา การผลิตสื่อ การทํา
ปูมชีวิตบุคคลตัวอยาง การจัดนิทรรศการ การสอดแนม การสํารวจ การทําแผนที่ การเขียนเรียงความ
การเลาเร่ือง ฯลฯ
3. กจิ กรรมการวเิ คราะหแ ละการประเมิน เปนการเรียนรูที่เกิดจากการแลกเปล่ียนความคิดเห็น
และรวมกนั วิเคราะห/ ประเมิน สิ่งตา งๆทเ่ี กิดขน้ึ
ตวั อยางกจิ กรรม เชน
การเปรียบเทยี บคณุ คา การประเมินความเสี่ยง การทําแผนทค่ี วามคดิ ฯลฯ
4. การเลน เกมและการแขง ขัน

4.1 เกม เปน กิจกรรมที่มีกฎกติกา และลําดับขั้นตอน ท่ีเอื้อใหลูกเสือเกิดการเรียนรู
ผานการเลนเกม ใหขอคิดท่สี อดคลอ งกับผลการเรยี นรทู ตี่ องการ เชน เกมกระซิบ เปนตน

4.2 การแขงขัน เปนกิจกรรมที่มีกติกาในการแขงขัน และมีการตัดสินหาผูชนะ เชน
การตอบปญ หาในเร่อื งตา ง ๆ เพือ่ กระตุนใหเกดิ ความสนใจใฝร มู ากขน้ึ ฯลฯ

5. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน เปนกิจกรรมสรางสรรคท่ีเนนการฝกความเสียสละของลูกเสือ
ไดแก การจัดกิจกรรมการกุศล การซอมของเลนใหนอง การดูแลทําความสะอาดสถานท่ี การปลูกและ
ดูแลตนไม การเก็บผกั จากแปลงไปประกอบอาหารเล้ียงนอง ฯลฯ

หลกั การออกแบบกจิ กรรม

1. การเลอื กประเภทของกจิ กรรม ตองสอดคลอ งกับผลการเรียนรูท่ตี องการ เชน
ผลการเรียนรูดานพุทธิพิสัย มักเลือกใช กิจกรรมการวิเคราะหและการประเมิน การรายงาน
และการแขงขันตอบปญ หาในเรอ่ื งเนือ้ หาท่ีตองการใหเ รียนรู เปนตน
ผลการเรียนรูดานจิตพิสัย มักเลือกกิจกรรมท่ีสรางความรูสึกที่สอดคลองกับผลการเรียนรูที่
ตองการ เชน กิจกรรมการแสดงออก เกม กิจกรรมบาํ เพ็ญประโยชน เปน ตน

คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 160

ผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย ถาเปนทักษะทางสติปญญานิยมใชกิจกรรมการวิเคราะห และ
ประเมินสว นทักษะทางกายภาพ เลอื กไดเกือบทกุ ประเภท

2. การต้ังประเด็นอภิปราย เพื่อใหลูกเสือไดรวมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในเร่ืองที่
สอดคลองกบั ผลการเรียนรูที่ตอ งการ เชน

ผลการเรยี นรดู า นพทุ ธิพิสัย ต้ังประเด็นให วเิ คราะห /สังเคราะห /ประเมิน เนื้อหาท่ีตองการ
ใหผูเรียนเกิดความเขาใจอยางถองแท เกิดความคิดรวบยอดท่ีชัดเจน และสามารถนําไปประยุกตใชได
จริง

ผลการเรียนรดู านจติ พิสัย ตั้งประเด็นใหเกิดการโตแ ยง กนั ดวยเหตุผลในเรื่องความคิดความ
เชอ่ื ทเี่ กีย่ วของกบั เจตคตทิ ่ีตอ งการ เพือ่ ใหส มาชกิ แตละคนไดมีโอกาสตรวจสอบความคิดความเชือ่ ของ
ตนเอง ที่แตกตางจากคนอื่น ทําใหเกิดการปรับเปล่ียนความคิดความเชื่อจากการโตแยงกันดวยเหตุผล
ในกระบวนการกลุม

ผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย ต้ังประเด็นใหเกิดความเขาใจอยางถองแทในข้ันตอนการทํา
ทักษะ นั้น ๆ เชนการวิเคราะหความครบถวนในการทําตามข้ันตอนของทักษะ การวิเคราะหจุดออน
ที่มักจะทาํ ทักษะนัน้ ๆ ไมส ําเร็จ เปน ตน

3. การสรุปความคิดรวบยอดและประยุกตใช ทุกกิจกรรมควรมีการสรุปความคิดรวบยอดท่ี
เกิดขึน้ ใหช ัดเจน และเปด โอกาสใหไดลองประยุกตใช ไดแก

ผลการเรียนรูดานพุทธิพิสัย ความคิดรวบยอดคือเนื้อหา องคความรูที่ตองการใหเกิดขึ้น
ประยุกตใชโ ดยผลิตซาํ้ ความคิดรวบยอดในรปู แบบท่ตี างจากเดมิ เชน การทํารายงาน ทําสรุปยอ ฯลฯ

ผลการเรียนรูดานจิตพิสัย ความคิดรวบยอดไมมีเนื้อหา แตเปนความรูสึกและความคิด
ความเช่ือที่เกิดขึ้นภายในตัวผูเรียน ประยุกตโดยการแสดงออกที่สอดคลองกับเจตคติท่ีเกิด เชน การ
กระทําท่แี สดงออกถึงความซอ่ื สตั ย การกระทาํ ที่แสดงออกถงึ ความเปน สภุ าพบุรษุ สุภาพสตรี เปน ตน

ผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย ความคิดรวบยอดท่ีเกิดคือ ความเขาใจข้ันตอนและทําทักษะ
น้นั ๆ ได ประยกุ ตโ ดยการฝก ฝนทกั ษะนัน้ จนชาํ นาญ

161 คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

บรรณานุกรม

สาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง ชาต.ิ ขอบงั คับคณะลูกเสือแหงชาติ วา ดว ยการ
ปกครอง หลักสูตรและวิชาพเิ ศษลูกเสอื สํารอง (ฉบับท่ี 10). โรงพมิ พ คุรุสภาลาดพราว,
2522.

สาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง ชาติ. ขอบงั คับคณะลกู เสอื แหง ชาติ วาดว ยการ
ปกครอง หลักสตู รและวชิ าพเิ ศษลกู เสอื สามญั (ฉบบั ท่ี 13). โรงพิมพ คุรสุ ภาลาดพราว,
2525.

สํานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง ชาติ. ขอบงั คบั คณะลูกเสือแหงชาติ วา ดว ยการ
ปกครอง หลกั สูตรและวิชาพเิ ศษลกู เสอื สามัญรุนใหญ (ฉบับท่ี 14). โรงพมิ พ ครุ ุสภา
ลาดพรา ว, 2528.

สํานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง ชาต.ิ ขอ บงั คับคณะลูกเสอื แหงชาติ วา ดวยการ
ปกครอง หลักสูตรและวิชาพเิ ศษลูกเสอื วสิ ามัญ (ฉบับท่ี 15). โรงพิมพ สกสค.ลาดพราว
, 2529.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ชน้ั ประถมศึกษาปที่
1 - 3 (ลูกเสือสาํ รอง). โรงพมิ พ คุรสุ ภาลาดพรา ว, 2533.

กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือ– เนตรนารี ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี
4 – 6 (ลกู เสอื สามัญ) , 2533.

กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. คมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสอื – เนตรนารี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่
1 – 3 (ลกู เสอื สามัญรนุ ใหญ) , (เอกสารอัดสําเนา)

กรมพลศกึ ษาประจําเขตการศกึ ษา 8. นิทานท่เี ปน คตสิ อนใจ. (เอกสารอัดสําเนา) : มปท.,2537.
กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธรณสุข. คมู อื วทิ ยากรฝก อบรมทักษะชวี ิตเพ่ือการปอ งกนั เอดส

ดว ยการเรยี นรูแ บบมีสว นรวม, ม.ป.ท.: พิมพคร้งั ที่ 1 สงิ หาคม 2541.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธรณสุข. คมู ือการจัดกิจกรรมเพ่อื พัฒนาเด็กดอ ยโอกาส. น.พ.อนนั ต

อนุ แกว บรรณาธกิ าร ม.ป.ท. : พิมพครัง้ ที่ 1 มถิ นุ ายน 2544
กระทรวงศึกษาธิการ หลกั สูตรแกนกลาง. การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551.

โรงพมิ พ ชุมนมุ สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย, 2551.
คณะกรรมการลูกเสือฝายพฒั นาบคุ ลากร สาํ นักงานลกู เสอื แหงชาต.ิ คมู ือการฝกอบรม

ผูบงั คับบญั ชา ลูกเสอื ขั้นผูชว ยผใู หฝก อบรมวชิ าผใู หการฝกอบรมผกู ํากับลกู เสอื
(Assistant Leader Trainers course) (A .L.T.C). โรงพิมพ สกสค. : ลาดพราว, 2551.
จริ าวชุ คุม จนั ทร. เกม/นนั ทนาการกลมุ สมั พนั ธ. เอกสารอดั สําเนา : มปท., 2547.
มณฑานี ตันตสิ ุข, หนังสือผหู ญงิ อัศจรรย. http://www.nantbook.com/webboard/detail.php?qID=116.

162 คูมือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2

เปนแมเ หล็กดงึ ดูดความรกั ดดี งี า ยนดิ เดียว แครจู กั ตวั เองดีด,ี สืบคนเม่อื วันท่ี 24
มนี าคม 2553
มลู นิธคิ ณะลูกเสอื แหง ชาต.ิ กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น กิจกรรมลูกเสอื – เนตรนารี ชว งชัน้ ที่ 3 ชั้น
มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ตามหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544, กรงุ เทพฯ :
อกั ษรเจรญิ ทศั น, 2550.
มูลนิธิคณะลกู เสือแหง ชาต.ิ กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น กิจกรรมลูกเสอื – เนตรนารี ชว งชนั้ ท่ี 3 ชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544, กรุงเทพฯ :
อกั ษรเจริญทศั น, 2551.
มูลนธิ ิคณะลกู เสอื แหงชาต.ิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ชวงช้นั ท่ี 3 ช้นั
มัธยมศกึ ษาปที่ 3 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544,
อักษรเจริญทศั น : กรุงเทพฯ, 2550.
สมาคมวางแผนครอบครวั แหงประเทศไทย. คมู อื อบรมวทิ ยากร การจดั กิจกรรมลกู เสอื ทเี่ นน
ทักษะชวี ติ . สมาคมวางแผนครอบครวั แหง ประเทศไทย, 2553.
สาํ นกั การลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการจัดกจิ กรรมลูกเสือใหส อดคลองกับหลกั สูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2544. โรงพิมพครุ ุสภาลาดพรา ว, 2549.
สํานกั การลูกเสือ ยวุ กาชาด และกิจการนกั เรียน สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ.
แนวทางการพฒั นาหลักสตู ร การจดั กจิ กรรมลูกเสอื ในสถานศึกษา พ.ศ. 2552.
องคก ารคา ของ สกสค., 2552.
สํานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ. ขอ บงั คบั คณะลกู เสือแหง ชาตวิ า ดวยการ
ปกครอง หลักสตู ร และวชิ าพิเศษลูกเสอื สามัญ (ฉบบั ท่ี 13) พ.ศ. 2525.
โรงพมิ พค ุรุสภา : ลาดพรา ว, 2534.
สํานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง ชาติ. ขอ บังคบั คณะลูกเสอื แหง ชาตวิ าดว ยการ
ปกครอง หลกั สูตรและวชิ าพิเศษลูกเสอื สามญั รุนใหญ(ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2528
องคการคาของครุ สุ ภา : กรุงเทพฯ, 2537.
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน. แนวทางการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน.
โรงพมิ พคุรุสภาลาดพราว, 2534.
อุบลวรรณ แสนมหายักษ. เพลงลูกเสอื . เอกสารประกอบการฝกอบรมผบู งั คับบญั ชาลกู เสือ
สํารอง สามญั สามัญรนุ ใหญ ข้นั ความรูช ้ันสูง : (เอกสารอดั สาํ เนา), 2539.

http://en.wikipedia.org/wiki/World_Scout_Jamboree

http://en.wikipedia.org/wiki/World_Organization_of_the_Scout_Movement

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0db802ca17a2e96f&clk=wttpcts

คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวติ ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 163

http://www.inspect2.moe.go.th/3%20SS.ATC/index.html
http://www.lovesquare.com http://mathafaps.tripod.com/gentleman.htm , อยางไรจงึ เรยี กวา

เปน "สุภาพบรุ ุษ”, สืบคนเมอ่ื วนั ที่ 23 มีนาคม 2553
http://www.navyscoutclub.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=538687830
http://www.rdpb.go.th/RDPB/Front/Projects/RDPBImportantProject.aspx
http://www.scoutthailand.org/main/show_page.php?topic_id=56&auto_id=13&TopicPk=19
http://122.155.0.105/~scout/modules/news/article.php?storyid=7

164 คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2

โครงการลูกเสอื เสริมสรางทักษะชวี ติ

ดาํ เนินการโดย

สํานกั งานลกู เสือแหง ชาติ
154 ศาลาวชริ าวุธ แขวงวังใหม เขตปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330
โทรศพั ท 0-2219-2731 โทรสาร 0-2219-2108
website : http://www.scoutthailand.org

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ ถนนราชดําเนนิ นอก เขตดุสติ
กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท 0-2288-5511
website : http://www.obec.go.th

สาํ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ
อาคารศูนยเรยี นรสู ขุ ภาวะ 99/8 ซอยงามดพู ลี แขวงทงุ มหาเมฆ
เขตสาทร กรงุ เทพฯ 10120 โทรศพั ท 0-2343-1500
โทรสาร 0-2343-1501 website : http://www.thaihealth.or.th

สมาคมวางแผนครอบครวั แหง ประเทศไทย
ในพระราชปู ถัมภส มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
8 ซอยวิภาวดีรงั สิต 44 ถนนวภิ าวดีรงั สติ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร
กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท 0-941-2320 โทรสาร 0-2561-5130
website : http://www.ppat.or.th E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version