The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Dessert19, 2021-07-27 05:09:56

Freshy the Journey 2021

SARANEEYAKORN's Guidebook

อ้างอิงบทความ






จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แรกเริ่มเป็นโรงเรียนส าหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือนเพื่อเข้ารับราชการ ต่อมา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ขึ้นเป็น
มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 เพื่อขยายการศึกษาแก่ประชาชน ไม่เพียงสอนเฉพาะผู้ที่จะรับราชการเท่านั้น แต่
ขยายให้ผู้ที่ประสงค์จะศึกษาในชั้นอุดมศึกษาทั่วไปได้เรียนกันอย่างทั่วถึงมากขึ้น โดยพระราชทานนามเป็น

พระบรมราชานุสาวรย์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่า “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”
นาม “จุฬาลงกรณ์” หมายถึง เครื่องประดับศีรษะ คือพระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎ ซึ่งเกี่ยวโยงถึงพระปรมาภิไธยใน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ก าหนดให้พระเกี้ยวเป็นพิจิตรเรขาประจ า
รัชกาล ดังนั้น เมื่อนามของมหาวิทยาลัยได้รับพระราชทานเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวแล้ว “พระเกี้ยว” จึงกลายเป็นสัญลักษณ์ประจ าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเคียงคู่กับ “สีชมพู” อันเป็นสีประจ า

มหาวิทยาลัยตามสีวันพระบรมราชสมภพของในหลวงรัชกาลที่ 5 (วันอังคาร) สบมา
ปัจจุบันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์
สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ โดยระดับปริญญาบัณฑิตเปิดสอนใน 18 คณะ 1 ส านักวิชา และ 1 สถาบัน ได้แก่



คณะวิศวกรรมศาสตร์ “เกยร์” แห่งจุฬาฯ เป็น 1 ใน 4 คณะแรกของมหาวิทยาลัย และนับว่า
เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 12 ภาควิชา



คณะอักษรศาสตร์ “พระสุรัสวดีเทวีอักษรศาสตร์” อีก 1 ใน 4 คณะแรกแห่งจุฬาลงกรณ ์
มหาวิทยาลัย เป็นคณะที่สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้บนพื้นฐานของมนุษย์ ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิด
สอนทังหมด 11 ภาควิชา


คณะวิทยาศาสตร์ สัญลักษณ์ “อะตอมล้อมพระเกี้ยว” เป็น 1 ใน 4 คณะแรกแห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ส าคัญของประเทศ
ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 14 ภาควิชา


คณะรัฐศาสตร์ “สิงห์ด า” ประจ ารั้วจามจุรี นอกจากจะเป็น 1 ใน 4 คณะแรกของมหาวิทยาลัยแล้ว
ยังเป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย มีพันธกิจในการสร้างความก้าวหน้า ความสุข และ
ความรับผิดชอบต่อสังคม ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 4 ภาควิชา


คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สัญลักษณ์คือ “เสาหัวเม็ด” เป็นคณะที่ถ่ายทอดองค์ความรู้
ทางสถาปัตยกรรมในระดับสากลบนพื้นฐานของความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ปัจจุบันมีภาควิชา


ที่เปดสอนทังหมด 6 ภาควิชา
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี “ธงฟ้า” แห่งจุฬาลงกรณ์ มุ่งสู่การเป็น Flagship

for life ของสังคมไทย ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทังหมด 5 ภาควิชา


คณะครุศาสตร์ “คบเพลิง” แห่งรั้วจามจุรี สัญลักษณ์ของความเรืองปัญญาและคุณธรรม
ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 6 ภาควิชา



คณะนิเทศศาสตร์ “สังข์แตร” แห่งจุฬาฯ แหล่งผลิตนิสิตเพื่อร่วมพัฒนาสื่อมวลชนให้แข็งแกร่ง
และมีประสิทธิภาพโดยไม่ละทิ้งจรรยาบรรณ ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 5 ภาควิชา


อ้างอิงบทความ






จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แรกเริ่มเป็นโรงเรียนส าหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือนเพื่อเข้ารับราชการ ต่อมา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ขึ้นเป็น
มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 เพื่อขยายการศึกษาแก่ประชาชน ไม่เพียงสอนเฉพาะผู้ที่จะรับราชการเท่านั้น แต่
ขยายให้ผู้ที่ประสงค์จะศึกษาในชั้นอุดมศึกษาทั่วไปได้เรียนกันอย่างทั่วถึงมากขึ้น โดยพระราชทานนามเป็น

พระบรมราชานุสาวรย์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่า “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”
นาม “จุฬาลงกรณ์” หมายถึง เครื่องประดับศีรษะ คือพระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎ ซึ่งเกี่ยวโยงถึงพระปรมาภิไธยใน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ก าหนดให้พระเกี้ยวเป็นพิจิตรเรขาประจ า
รัชกาล ดังนั้น เมื่อนามของมหาวิทยาลัยได้รับพระราชทานเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวแล้ว “พระเกี้ยว” จึงกลายเป็นสัญลักษณ์ประจ าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเคียงคู่กับ “สีชมพู” อันเป็นสีประจ า

มหาวิทยาลัยตามสีวันพระบรมราชสมภพของในหลวงรัชกาลที่ 5 (วันอังคาร) สบมา
ปัจจุบันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์

สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ โดยระดับปริญญาบัณฑิตเปิดสอนใน 18 คณะ 1 ส านักวิชา และ 1 สถาบัน ได้แก่

คณะวิศวกรรมศาสตร์ “เกยร์” แห่งจุฬาฯ เป็น 1 ใน 4 คณะแรกของมหาวิทยาลัย และนับว่า

เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 12 ภาควิชา



คณะอักษรศาสตร์ “พระสุรัสวดีเทวีอักษรศาสตร์” อีก 1 ใน 4 คณะแรกแห่งจุฬาลงกรณ ์
มหาวิทยาลัย เป็นคณะที่สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้บนพื้นฐานของมนุษย์ ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิด

สอนทังหมด 11 ภาควิชา

คณะวิทยาศาสตร์ สัญลักษณ์ “อะตอมล้อมพระเกี้ยว” เป็น 1 ใน 4 คณะแรกแห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ส าคัญของประเทศ
ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 14 ภาควิชา


คณะรัฐศาสตร์ “สิงห์ด า” ประจ ารั้วจามจุรี นอกจากจะเป็น 1 ใน 4 คณะแรกของมหาวิทยาลัยแล้ว
ยังเป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย มีพันธกิจในการสร้างความก้าวหน้า ความสุข และ
ความรับผิดชอบต่อสังคม ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 4 ภาควิชา


คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สัญลักษณ์คือ “เสาหัวเม็ด” เป็นคณะที่ถ่ายทอดองค์ความรู้
ทางสถาปัตยกรรมในระดับสากลบนพื้นฐานของความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ปัจจุบันมีภาควิชา


ที่เปดสอนทังหมด 6 ภาควิชา
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี “ธงฟ้า” แห่งจุฬาลงกรณ์ มุ่งสู่การเป็น Flagship
for life ของสังคมไทย ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทังหมด 5 ภาควิชา



คณะครุศาสตร์ “คบเพลิง” แห่งรั้วจามจุรี สัญลักษณ์ของความเรืองปัญญาและคุณธรรม
ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 6 ภาควิชา



คณะนิเทศศาสตร์ “สังข์แตร” แห่งจุฬาฯ แหล่งผลิตนิสิตเพื่อร่วมพัฒนาสื่อมวลชนให้แข็งแกร่ง
และมีประสิทธิภาพโดยไม่ละทิ้งจรรยาบรรณ ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 5 ภาควิชา
1


คณะเศรษฐศาสตร์ สัญลักษณ์ “เฟือง รวงข้าว คันไถ” สะท้อนโครงสร้างส าคัญในระบบเศรษฐกิจ
แหล่งผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์ ประกอบการเรียนการสอนตลอดหลักสูตร 4 ปี
โดยแยกกลุ่มวิชาออกเป็น 9 กลุ่มวิชา


คณะแพทยศาสตร์ “เขียวใบไม้” คู่เคียงชมพู สถาบันต้นแบบทางการแพทย์ ประกอบไปด้วย
21 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีระยะเวลาศึกษา 6 ปี



คณะสัตวแพทยศาสตร์ “ฟ้าหม่น” คู่เคียงชมพู คณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกในไทย
ประกอบไปด้วย 10 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต มีระยะเวลาศึกษา 6 ปี


คณะทันตแพทยศาสตร์ “ม่วงสุทธาสิโนบล” คู่เคียงชมพู เป็นคณะทันตแพทยศาสตร ์
แห่งแรกของประเทศ ประกอบไปด้วย 16 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต โดยมี
ระยะเวลาศึกษา 6 ปี



คณะเภสัชศาสตร์ “ถ้วยยาไฮเจีย” เพื่อการปรุงยาแห่งจุฬาลงกรณ์ ประกอบไปด้วย
7 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต มีระยะเวลาศึกษา 6 ปี



คณะนิติศาสตร์ สัญลักษณ์ "ตราชูภายใต้พระเกี้ยว" เป็นคณะที่มุ่งเน้นให้นิสิตมีความเชี่ยวชาญ
ในสาขาวิชากฎหมายต่างๆ ปัจจุบันมีการแบ่งสาขาวิชาออกเป็น 4 สาขาให้เลือกศึกษา



คณะศิลปกรรมศาสตร์ สัญลักษณ์ “ตราพระเกี้ยวในกรอบหกเหลี่ยม” เป็นแหล่งผลิต
บัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญศิลปะในสังคมไทยทุกแขนง ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 4 ภาควิชา



คณะสหเวชศาสตร์ มีสัญลักษณ์เป็น “งูพันรูป AHS บนฝ่ามือ” แหล่งผลิตบัณฑิตสาขา
วิทยาศาสตร์สุขภาพต่างๆ โดยปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 6 ภาควิชา



คณะจิตวิทยา “ไซคี” แห่งรั้วจามจุรี เป็นแหล่งความรู้ด้านจิตวิทยาในระดับชาติและนานาชาติ
และเปิดโอกาสให้นิสิตได้เลือกเรียนวิชาทางจิตวิทยาโดยไม่มีการแบ่งสาขาวิชา


คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มีสัญลักษณ์เป็น “ตราพระเกี้ยวเหนือห่วงห้าห่วง” เป็นแหล่ง
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกก าลังกาย เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรีโดยแบ่งตามความถนัด
เฉพาะด้านให้เลือกศึกษา

ส านักวิชาทรัพยากรการเกษตร สัญลักษณ์ "ตราพระเกี้ยวเหนือพืชพันธุ์ไม้ทรงหยดน ้า


ทงอกจากพื้นดิน ล้อมรอบด้วยลูกแก้วและแถบแพร" แหล่งผลิตบัณฑิตเพื่อการพัฒนาการเกษตร ปัจจุบัน
เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร

สถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเพื่อ
การพัฒนาบัณฑิตให้รองรับระบบการศึกษา การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใหม่ และสร้างผู้น ายุคใหม่ ปัจจุบัน
เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรและวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ)







2


คณะเศรษฐศาสตร์ สัญลักษณ์ “เฟือง รวงข้าว คันไถ” สะท้อนโครงสร้างส าคัญในระบบเศรษฐกิจ
แหล่งผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์ ประกอบการเรียนการสอนตลอดหลักสูตร 4 ปี
โดยแยกกลุ่มวิชาออกเป็น 9 กลุ่มวิชา


คณะแพทยศาสตร์ “เขียวใบไม้” คู่เคียงชมพู สถาบันต้นแบบทางการแพทย์ ประกอบไปด้วย
21 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีระยะเวลาศึกษา 6 ปี



คณะสัตวแพทยศาสตร์ “ฟ้าหม่น” คู่เคียงชมพู คณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกในไทย
ประกอบไปด้วย 10 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต มีระยะเวลาศึกษา 6 ปี


คณะทันตแพทยศาสตร์ “ม่วงสุทธาสิโนบล” คู่เคียงชมพู เป็นคณะทันตแพทยศาสตร ์
แห่งแรกของประเทศ ประกอบไปด้วย 16 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต โดยมี
ระยะเวลาศึกษา 6 ปี



คณะเภสัชศาสตร์ “ถ้วยยาไฮเจีย” เพื่อการปรุงยาแห่งจุฬาลงกรณ์ ประกอบไปด้วย
7 ภาควิชา ส าหรับหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต มีระยะเวลาศึกษา 6 ปี



คณะนิติศาสตร์ สัญลักษณ์ "ตราชูภายใต้พระเกี้ยว" เป็นคณะที่มุ่งเน้นให้นิสิตมีความเชี่ยวชาญ
ในสาขาวิชากฎหมายต่างๆ ปัจจุบันมีการแบ่งสาขาวิชาออกเป็น 4 สาขาให้เลือกศึกษา



คณะศิลปกรรมศาสตร์ สัญลักษณ์ “ตราพระเกี้ยวในกรอบหกเหลี่ยม” เป็นแหล่งผลิต
บัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญศิลปะในสังคมไทยทุกแขนง ปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 4 ภาควิชา



คณะสหเวชศาสตร์ มีสัญลักษณ์เป็น “งูพันรูป AHS บนฝ่ามือ” แหล่งผลิตบัณฑิตสาขา
วิทยาศาสตร์สุขภาพต่างๆ โดยปัจจุบันมีภาควิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 6 ภาควิชา



คณะจิตวิทยา “ไซคี” แห่งรั้วจามจุรี เป็นแหล่งความรู้ด้านจิตวิทยาในระดับชาติและนานาชาติ
และเปิดโอกาสให้นิสิตได้เลือกเรียนวิชาทางจิตวิทยาโดยไม่มีการแบ่งสาขาวิชา


คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มีสัญลักษณ์เป็น “ตราพระเกี้ยวเหนือห่วงห้าห่วง” เป็นแหล่ง
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกก าลังกาย เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรีโดยแบ่งตามความถนัด
เฉพาะด้านให้เลือกศึกษา

ส านักวิชาทรัพยากรการเกษตร สัญลักษณ์ "ตราพระเกี้ยวเหนือพืชพันธุ์ไม้ทรงหยดน ้า


ทงอกจากพื้นดิน ล้อมรอบด้วยลูกแก้วและแถบแพร" แหล่งผลิตบัณฑิตเพื่อการพัฒนาการเกษตร ปัจจุบัน
เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร

สถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเพื่อ
การพัฒนาบัณฑิตให้รองรับระบบการศึกษา การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใหม่ และสร้างผู้น ายุคใหม่ ปัจจุบัน
เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรและวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ)







3


4


5


6


7


8


9


10


11


ท าไม (ไม่) ต้องมีชุดนสิต






หลังจากผ่านบรรยากาศการสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่ตึงเครียดกันมาแล้ว ว่าที่นิสิตหลายคนคงก าลังเตรียมความพร้อมในหลายๆ อย่างส าหรับ
การเปิดภาคเรียนที่ก าลังจะใกล้เขามา การก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยเป็นก้าวเล็กๆ ที่จะได้เริ่มใช้ชีวิตแบบอิสระและเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น

หลังจากที่เราอยู่ภายใต้กฎระเบียบข้อบังคับในการแต่งกายในชุดเครื่องแบบมานานกว่า 10 ปี เราจะพาทุกคนมาดูเหตุผลว่า ท าไม (ไม่) ต้องมี
ชุดนิสิต แต่ก่อนที่จะไปดูเหตุผลทั้ง 5 ข้อนั้น มาดูกันก่อนดีกว่าว่า เครื่องแต่งกายที่ “ถูกระเบียบ” ของจุฬาฯ มีอะไรบ้าง


เครื่องแบบนิสิต สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
ชุดเครื่องแบบปกติและชุดเครื่องแบบงานพระราชพิธี










ประกอบด้วย เสื้อเชิ้ตส ี
ขาว อาจผูกเนกไทตราพระเกี้ยว
ประกอบด้วย เสื้อส ี
เข็มขัดหนังสีด า กางเกงขายาวส ี
ขาวแขนสั้นติดเครื่องหมายตรา
กรมท่าหรือสีด า รองเท้าหนังหุ้ม
พระเกี้ยว กระโปรงจีบรอบส ี
ส้นสีด า และถุงเท้าสีด า สีน ้าตาล
กรมท่าหรือสีด าความยาวอยู ่
เข้ม หรือสีกรมท่า
ระหว่างเข่าและข้อเท้า เข็มขัด

หนังกลับสีนาตาลเข้ม รองเท้าหุ้ม
ส้นสีขาว และถุงเท้าสีขาว

ชั้นปี 2 ขึ้นไป
กระโปรงทรงตรง
ประกอบด้วย เสื้อสีขาว
แขนสั้นติดเครื่องหมายตราพระ
เกี้ยว กระโปรงทรงตรงหรือแบบ
สุภาพสีกรมท่าหรือสีด าความยาว
ชั้นปี 2 ขึ้นไป อยู่ระหว่างเข้าและข้อเท้า เข็มขัด
รองเท้าหุ้มส้น
หนังกลับสีน ้าตาลเข้ม และรองเท้า
หุ้มส้นหรือมีสายรัดส้นแบบสุภาพส ี
ด า สีน ้าตาล สีกรมท่า หรือสเทา











ประกอบด้วย ประกอบด้วย ประกอบด้วย
เสื้อสีขาวแขนสั้น ติด เสื้อสีขาวแขนสั้น ติด เสื้อราชปะแตนสีขาว
กระดุมที่คอเสื้อ ติด กระดุมที่คอเสื้อ ติด ติดแผงคอสีประจ า
เครื่องหมายตราพระ เครื่องหมายตราพระ คณะ กางเกงขายาว
เกี้ยว กระโปรงจีบรอบส ี เกี้ยว กระโปรงทรงตรง สีขาว รองเท้าหนัง
กร ม ท ่ า ห รื อ ส ี ด า หรือแบบสุภาพสีกรมท่า หุ้มส้นสีด า และถุง
ความยาวอยู่ระหว่างเข่า หรือสีด าความยาวอยู ่ เท้าสีด า
และข้อเท้า เข็มขัดหนัง ระหว่างเข่าและข้อเท้า
กลับ สีน ้า ตาล เข้ ม เข็มขัดหนังกลับสีน ้าตาล
รองเท้าหุ้มส้นสีขาว เข้ม และรองเท้าหนังหุ้ม
และถุงเท้าสีขาว ส้นสีด า



12


ท าไม (ไม่) ต้องมีชุดนสิต






หลังจากผ่านบรรยากาศการสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่ตึงเครียดกันมาแล้ว ว่าที่นิสิตหลายคนคงก าลังเตรียมความพร้อมในหลายๆ อย่างส าหรับ
การเปิดภาคเรียนที่ก าลังจะใกล้เขามา การก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยเป็นก้าวเล็กๆ ที่จะได้เริ่มใช้ชีวิตแบบอิสระและเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น

หลังจากที่เราอยู่ภายใต้กฎระเบียบข้อบังคับในการแต่งกายในชุดเครื่องแบบมานานกว่า 10 ปี เราจะพาทุกคนมาดูเหตุผลว่า ท าไม (ไม่) ต้องมี
ชุดนิสิต แต่ก่อนที่จะไปดูเหตุผลทั้ง 5 ข้อนั้น มาดูกันก่อนดีกว่าว่า เครื่องแต่งกายที่ “ถูกระเบียบ” ของจุฬาฯ มีอะไรบ้าง


เครื่องแบบนิสิต สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
ชุดเครื่องแบบปกติและชุดเครื่องแบบงานพระราชพิธี










ประกอบด้วย เสื้อเชิ้ตส ี
ขาว อาจผูกเนกไทตราพระเกี้ยว
ประกอบด้วย เสื้อส ี
เข็มขัดหนังสีด า กางเกงขายาวส ี
ขาวแขนสั้นติดเครื่องหมายตรา
กรมท่าหรือสีด า รองเท้าหนังหุ้ม
พระเกี้ยว กระโปรงจีบรอบส ี
ส้นสีด า และถุงเท้าสีด า สีน ้าตาล
กรมท่าหรือสีด าความยาวอยู ่
เข้ม หรือสีกรมท่า
ระหว่างเข่าและข้อเท้า เข็มขัด
หนังกลับสีนาตาลเข้ม รองเท้าหุ้ม

ส้นสีขาว และถุงเท้าสีขาว

ชั้นปี 2 ขึ้นไป
กระโปรงทรงตรง
ประกอบด้วย เสื้อสีขาว
แขนสั้นติดเครื่องหมายตราพระ
เกี้ยว กระโปรงทรงตรงหรือแบบ
สุภาพสีกรมท่าหรือสีด าความยาว
ชั้นปี 2 ขึ้นไป อยู่ระหว่างเข้าและข้อเท้า เข็มขัด
รองเท้าหุ้มส้น
หนังกลับสีน ้าตาลเข้ม และรองเท้า
หุ้มส้นหรือมีสายรัดส้นแบบสุภาพส ี

ด า สีน ้าตาล สีกรมท่า หรือสเทา










ประกอบด้วย ประกอบด้วย ประกอบด้วย
เสื้อสีขาวแขนสั้น ติด เสื้อสีขาวแขนสั้น ติด เสื้อราชปะแตนสีขาว
กระดุมที่คอเสื้อ ติด กระดุมที่คอเสื้อ ติด ติดแผงคอสีประจ า
เครื่องหมายตราพระ เครื่องหมายตราพระ คณะ กางเกงขายาว
เกี้ยว กระโปรงจีบรอบส ี เกี้ยว กระโปรงทรงตรง สีขาว รองเท้าหนัง
กร ม ท ่ า ห รื อ ส ี ด า หรือแบบสุภาพสีกรมท่า หุ้มส้นสีด า และถุง
ความยาวอยู่ระหว่างเข่า หรือสีด าความยาวอยู ่ เท้าสีด า
และข้อเท้า เข็มขัดหนัง ระหว่างเข่าและข้อเท้า
กล ับ สีน ้า ตาล เข้ ม เข็มขัดหนังกลับสีน ้าตาล
รองเท้าหุ้มส้นสีขาว เข้ม และรองเท้าหนังหุ้ม
และถุงเท้าสีขาว ส้นสีด า



13


หลังจากทราบเครื่องแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของจุฬาฯ จะเห็นได้ว่า ทางจุฬาฯ
ให้ความส าคัญกับการแต่งกายของนิสิตมากทีเดียว เมื่อเราเห็นชุดเครื่องแบบที่ถูกต้องตามระเบียบแล้วสงสัยกันหรือไม่ว่าเครื่อง
แต่งกายที่ “ถูกระเบียบ” อย่างชุดนิสิตมี “ความจ าเป็น” ต่อการเรียนในมหาวิทยาลัยของนิสิตจริงหรือไม่ มาดูเหตุผล 5 ข้อกัน
ดีกว่าว่า ท าไม (ไม่) ต้องมีชุดนิสิต


1. ชุดนิสิตไม่สามารถลดความเหลื่อมล ้าได้


การที่นิสิตทุกคนใส่ชุดนิสิตที่เหมือนกันไม่ได้หมายความว่าความเท่าเทียมได้เกิดขึ้น ความเหลื่อมล ้าได้หายไป ในทาง

ตรงกนขาม นอกจากความเหลื่อมล ้าจะยังคงอยู่แล้ว ชุดนิสิตกลายเป็นเครื่องมือซ่อนความเหลื่อมล ้าเหมือนการน าปัญหาไปซุกไว้ใต ้

พรม ถึงแม้จะมีชุดนิสิตแต่ปัญหาความยากจนหรือปัญหาทางสังคมที่มีก็จะยังคงอยู่ ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาที่มีอยู่จริง และชุดนิสิต
ท าให้ปัญหาเหล่านี้ถูกมองข้าม


2. ความสิ้นเปลือง


ชุดและเครื่องแบบนิสิตมีราคาค่อนข้างสูง อีกทั้งนิสิตต้องซื้อชุดมากกว่าหนึ่งชุดเพราะจ าเป็นต้องสวมใส่เพื่อเข้าเรียนใน
มหาวิทยาลัยให้ครบตลอดระยะเวลา 1 สัปดาห์ ท าให้มีภาระค่าใช้จ่ายสูงขึ้นไปอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งส าหรับนิสิตหญิง จากระเบียบ
สามารถเห็นได้ว่า เครื่องแบบส าหรับนิสิตหญิงชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 ขนไป มเครื่องแบบบางส่วนที่แตกต่างกัน และชุดเครื่องแบบงาน



พระราชพิธีนิสิตชายมีเครื่องแบบบางส่วนที่แตกต่างจากชุดเครื่องแบบนิสิตชายปกติ ดังนั้น เครื่องแบบบางส่วนสามารถใช้ได้เพียง 1 ปี
ั้
หรือใช้ได้เพียงในบางโอกาสเท่านน ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองมากจนเกินไป
3. จ ากัดเสรีภาพและความหลากหลาย


ชุดนิสิตถูกออกแบบมาส าหรับนิสิตเพศชายและนิสิตเพศหญิงเท่านั้น แต่ในปัจจุบันเพศมีมากกว่าเพศชายและเพศหญิง การ
จ ากัดเครื่องแต่งกายตามระบบเพศแบบทวิลักษณ์ (Binary system) จึงเป็นการจ ากัดเสรีภาพในการแต่งกายของนิสิต และถึงแม้ว่า
ตามประกาศของจุฬาฯ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ได้ประกาศไว้ว่า “นิสิตอาจแต่งเครื่องแบบตามเพศก าเนิดหรือเพศที ่
แสดงออกก็ได้” แต่ประกาศนี้ยังไม่สามารถสนับสนนให้นิสิตมีเสรีภาพในการแต่งกายของตนเองได้อย่างเต็มที่



4. ชุดนิสิตมีความจ าเป็นต่อการเรียนหรือไม่




ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทนิสิตต้องเปลี่ยนมาเรียนในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น ซึ่งท าให้นิสิตหลายคนแทบ

จะไม่ได้สวมเครื่องแบบนิสิตเลย แต่ถึงจะใส่ชุดไปรเวต นสตก็ยังสามารถเรียนและรับผิดชอบงานที่อาจารย์แต่ละท่านมอบหมายให้เสร็จ

ได้ไม่ต่างจากตอนที่สวมใส่ชุดนิสิต ซึ่งสามารถย้อนกลับมาตั้งค าถามได้ว่า ชุดนิสิตมีความจ าเป็นต่อการเรียนของนิสิตจริงหรือไม่
5. ชุดนิสิตไม่ช่วยลดปัญหาการคุกคามทางเพศ



วาทกรรม “คาชุด” แสดงให้เห็นว่า การที่แต่งกายในชุดนิสิตท าให้เส่ยงต่อการถูกคุกคามทางเพศมากขึ้น เนื่องด้วยชุดนิสิตม ี
นัยที่สื่อถึงความเป็นเด็ก ไร้อ านาจ และไม่มีความสามารถในการหาเลี้ยงตนเอง ซึ่งท าให้เหยื่อที่อยู่ในชุดนิสิตตกเป็นเป้าหมายของการ
คกคามมากขึ้น อีกทั้งในงานนิทรรศการพลังสังคมหยุดคุกคามทางเพศ (#DontTellMeHowToDress) ที่จัดขึ้น ณ หอศิลปวัฒนธรรม

กรุงเทพฯ เมื่อปี 2561 ได้บอกเล่าความเจ็บปวดของเหยื่อผ่านเครื่องแต่งกายที่เหยื่อสวมใส่ขณะที่ถูกข่มขืน หนึ่งในเครื่องแต่งกาย
เหล่านั้นมีชุดนิสิตอยู่ด้วย จึงแสดงให้เห็นว่า ชุดนิสิตไม่สามารถช่วยให้นสิตมีความปลอดภัยขณะที่สวมใส่ได้



เหตุผลที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเหตุผลว่าท าไม (ไม่) ต้องมีชุดนิสิต ซึ่งในปัจจุบันทางจุฬาฯ ได้มีการอนุญาต
ให้นิสิตสามารถสวมใส่ชุดไปรเวตที่สุภาพมาเข้าเรียนได้ โดยมีเงื่อนไขว่าอาจารย์ผู้สอนต้องท าหนังสือเป็น
ลายลักษณ์อักษรผ่านคณบดี ตามประกาศของจุฬาฯ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 จะเห็นได้ว่าการอนุญาต
ให้นิสิตสวมใส่ชุดสุภาพมาเรียนยังไม่ครอบคลุมไปถึงการใส่ชุดไปรเวตในการเข้าเรียนปกติและการเข้าสอบ ท า
ให้นิสิตยังมีความจ าเป็นที่จะต้องมีชุดนิสิตอยู่
ในฐานะนิสิตหากเราช่วยกันผลักดันให้การแต่งชุดไปรเวตในมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นได้จริงคงจะเป็นผลดีไม ่

น้อย เพื่อให้พื้นที่ในรั้วมหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่ส าหรับการแสดงออกและค้นหาตัวตนของนิสตได้อย่างแท้จริง

14


หลังจากทราบเครื่องแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของจุฬาฯ จะเห็นได้ว่า ทางจุฬาฯ
ให้ความส าคัญกับการแต่งกายของนิสิตมากทีเดียว เมื่อเราเห็นชุดเครื่องแบบที่ถูกต้องตามระเบียบแล้วสงสัยกันหรือไม่ว่าเครื่อง
แต่งกายที่ “ถูกระเบียบ” อย่างชุดนิสิตมี “ความจ าเป็น” ต่อการเรียนในมหาวิทยาลัยของนิสิตจริงหรือไม่ มาดูเหตุผล 5 ข้อกัน
ดีกว่าว่า ท าไม (ไม่) ต้องมีชุดนิสิต


1. ชุดนิสิตไม่สามารถลดความเหลื่อมล ้าได้


การที่นิสิตทุกคนใส่ชุดนิสิตที่เหมือนกันไม่ได้หมายความว่าความเท่าเทียมได้เกิดขึ้น ความเหลื่อมล ้าได้หายไป ในทาง

ตรงกนขาม นอกจากความเหลื่อมล ้าจะยังคงอยู่แล้ว ชุดนิสิตกลายเป็นเครื่องมือซ่อนความเหลื่อมล ้าเหมือนการน าปัญหาไปซุกไว้ใต ้

พรม ถึงแม้จะมีชุดนิสิตแต่ปัญหาความยากจนหรือปัญหาทางสังคมที่มีก็จะยังคงอยู่ ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาที่มีอยู่จริง และชุดนิสิต
ท าให้ปัญหาเหล่านี้ถูกมองข้าม


2. ความสิ้นเปลือง


ชุดและเครื่องแบบนิสิตมีราคาค่อนข้างสูง อีกทั้งนิสิตต้องซื้อชุดมากกว่าหนึ่งชุดเพราะจ าเป็นต้องสวมใส่เพื่อเข้าเรียนใน
มหาวิทยาลัยให้ครบตลอดระยะเวลา 1 สัปดาห์ ท าให้มีภาระค่าใช้จ่ายสูงขึ้นไปอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งส าหรับนิสิตหญิง จากระเบียบ
สามารถเห็นได้ว่า เครื่องแบบส าหรับนิสิตหญิงชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 ขนไป มเครื่องแบบบางส่วนที่แตกต่างกัน และชุดเครื่องแบบงาน



พระราชพิธีนิสิตชายมีเครื่องแบบบางส่วนที่แตกต่างจากชุดเครื่องแบบนิสิตชายปกติ ดังนั้น เครื่องแบบบางส่วนสามารถใช้ได้เพียง 1 ปี
ั้
หรือใช้ได้เพียงในบางโอกาสเท่านน ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองมากจนเกินไป
3. จ ากัดเสรีภาพและความหลากหลาย


ชุดนิสิตถูกออกแบบมาส าหรับนิสิตเพศชายและนิสิตเพศหญิงเท่านั้น แต่ในปัจจุบันเพศมีมากกว่าเพศชายและเพศหญิง การ
จ ากัดเครื่องแต่งกายตามระบบเพศแบบทวิลักษณ์ (Binary system) จึงเป็นการจ ากัดเสรีภาพในการแต่งกายของนิสิต และถึงแม้ว่า
ตามประกาศของจุฬาฯ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ได้ประกาศไว้ว่า “นิสิตอาจแต่งเครื่องแบบตามเพศก าเนิดหรือเพศที ่
แสดงออกก็ได้” แต่ประกาศนี้ยังไม่สามารถสนับสนนให้นิสิตมีเสรีภาพในการแต่งกายของตนเองได้อย่างเต็มที่



4. ชุดนิสิตมีความจ าเป็นต่อการเรียนหรือไม่




ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทนิสิตต้องเปลี่ยนมาเรียนในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น ซึ่งท าให้นิสิตหลายคนแทบ

จะไม่ได้สวมเครื่องแบบนิสิตเลย แต่ถึงจะใส่ชุดไปรเวต นสตก็ยังสามารถเรียนและรับผิดชอบงานที่อาจารย์แต่ละท่านมอบหมายให้เสร็จ

ได้ไม่ต่างจากตอนที่สวมใส่ชุดนิสิต ซึ่งสามารถย้อนกลับมาตั้งค าถามได้ว่า ชุดนิสิตมีความจ าเป็นต่อการเรียนของนิสิตจริงหรือไม่
5. ชุดนิสิตไม่ช่วยลดปัญหาการคุกคามทางเพศ



วาทกรรม “คาชุด” แสดงให้เห็นว่า การที่แต่งกายในชุดนิสิตท าให้เส่ยงต่อการถูกคุกคามทางเพศมากขึ้น เนื่องด้วยชุดนิสิตม ี
นัยที่สื่อถึงความเป็นเด็ก ไร้อ านาจ และไม่มีความสามารถในการหาเลี้ยงตนเอง ซึ่งท าให้เหยื่อที่อยู่ในชุดนิสิตตกเป็นเป้าหมายของการ
คกคามมากขึ้น อีกทั้งในงานนิทรรศการพลังสังคมหยุดคุกคามทางเพศ (#DontTellMeHowToDress) ที่จัดขึ้น ณ หอศิลปวัฒนธรรม

กรุงเทพฯ เมื่อปี 2561 ได้บอกเล่าความเจ็บปวดของเหยื่อผ่านเครื่องแต่งกายที่เหยื่อสวมใส่ขณะที่ถูกข่มขืน หนึ่งในเครื่องแต่งกาย

เหล่านั้นมีชุดนิสิตอยู่ด้วย จึงแสดงให้เห็นว่า ชุดนิสิตไม่สามารถช่วยให้นสิตมีความปลอดภัยขณะที่สวมใส่ได้


เหตุผลที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเหตุผลว่าท าไม (ไม่) ต้องมีชุดนิสิต ซึ่งในปัจจุบันทางจุฬาฯ ได้มีการอนุญาต
ให้นิสิตสามารถสวมใส่ชุดไปรเวตที่สุภาพมาเข้าเรียนได้ โดยมีเงื่อนไขว่าอาจารย์ผู้สอนต้องท าหนังสือเป็น
ลายลักษณ์อักษรผ่านคณบดี ตามประกาศของจุฬาฯ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 จะเห็นได้ว่าการอนุญาต
ให้นิสิตสวมใส่ชุดสุภาพมาเรียนยังไม่ครอบคลุมไปถึงการใส่ชุดไปรเวตในการเข้าเรียนปกติและการเข้าสอบ ท า
ให้นิสิตยังมีความจ าเป็นที่จะต้องมีชุดนิสิตอยู่
ในฐานะนิสิตหากเราช่วยกันผลักดันให้การแต่งชุดไปรเวตในมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นได้จริงคงจะเป็นผลดีไม ่

น้อย เพื่อให้พื้นที่ในรั้วมหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่ส าหรับการแสดงออกและค้นหาตัวตนของนิสตได้อย่างแท้จริง

15


16


17


18


19


20


21


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


การท าอารยะขัดขืนครั้งส าคัญครั้งหนึ่ง คือการอดอาหารของ “พริษฐ์ ชีวารักษ์” เพื่อขอคืนสิทธิประกันตัวของ
ผู้ต้องหา หลังจากที่ถูกแจ้งจับด้วยมาตรา 112 และถูกปฏิเสธการประกันตัวถึง 10 ครั้ง แม้ว่าคดีจะยังไม่ถูกตัดสิน
อย่างไรก็ตาม “เพนกวิน” ตัดสินใจอดอาหารถึง 57 วัน ซึ่งเป็นการแสดง “อารยะขัดขืน” ต่อรัฐอย่างชัดเจน โดยมี

เป้าหมายเพื่อทวงความคืนยุติธรรมจากระบบตุลาการอันบิดเบี้ยว ส่วน “รุ้ง ปนัสยา” กยอมอดอาหารประท้วงถึง 1 เดือน
เพื่อต่อสู้กับความอยุติธรรมของระบบศาลด้วยเช่นกัน การท าอารยะขัดขืนเช่นนี้เป็นไปด้วยอุดมการณ์ที่แรงกล้าใน
ลักษณะของการยอมเดิมพัน แลกด้วยชีวิตของตนเอง ด้วยความเชื่อที่ว่าการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องนี้ไม่สามารถถอย
หลังหรือยอมแพ้ได้หากยังไม่ได้มาซึ่งประชาธิปไตยที่แท้จริงดังที่ต้องการ
ประชาชนทั้งหลายที่ออกมาเคลื่อนไหวครั้งนี้ต่างก็เพื่อต่อสู้กับรัฐบาลทหารและตุลาการ เพื่อแก้ไขกลไกทาง
การเมือง และเพื่อตั้งค าถามกับประเด็นพระราชอ านาจ ฉะนั้น ครั้งนี้จึงเป็นการเดิมพันครั้งที่ใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งใน
ประวัติศาสตร์ไทย ต่อให้ประเทศนี้จะปกครองด้วย “ระบอบเผด็จการ” อันชั่วร้ายเพียงใด ประชาชนจะถูก “กดขี่” ไว้


มากขนาดไหน ถ้า “เสรีภาพอยู่ในจิตใจ ประชาธิปไตยอยู่ในสายเลือด” ผเขยนเชื่อว่าการต่อสู้ครั้งนี้ย่อมจบลงด้วยชัย

ชนะของประชาธิปไตยได้อย่างแน่นอน และก่อนจะจบบทความนี้ ผู้เขียนขอฝากข้อความถึงผู้อ่านไว้สั้นๆ ว่า





“ขอจงอย่าเกรงกลัวต่อสิ่งใดเลย

ขอจงอย่าเกรงกลัวต่อการเริ่ม

เปล่งเสียงเพื่อเรียกร้อง

ขอจงอย่าเกรงกลัวต่อการเริ่มลงมือ

เพื่อเปลี่ยนแปลง

ขอจงอย่าเกรงกลัวต่ออ านาจมืดที่ปิดตา

ปิดปาก มัดมือ มัดเท้า มิให้ขยับเขยื้อน





ขอจงมีก าลังกายเพื่อหายใจ

ขอจงมีก าลังใจเพื่อต่อสู้


ขอจงลงมือสร้างฐานเพื่อค ้าช ู

ขอจงเปล่งเสียงให้โลกรู้เพื่อเปลี่ยนแปลง”




























33


“ย ่ำยีธงชำติ” “เสรีภำพสุดโต่ง”

“คลั่งประชำธิปไตยจนหลอน”



แม้ธงด ำยังไม่เคยถูกชักขึ้นในรั้วสีชมพูแห่งนี้ แตพำดหัวข่ำวและ

กำรโจมตีจำกสังคมในหลำยรูปแบบเป็นรำคำที่ เฟลอ สิรินทร์ มุ่งเจริญ
นิสิตหญิงชั้นปีที่ 3 ต้องจ่ำย เมื่อพยำยำมเคลื่อนไหวภำยใต้ชื่อ
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย



เพรำะเรำอยู่ในสังคมที่ควำมเหมำะสมถูกบัญญัติโดยผู้มีอ ำนำจ และกำรเรียกร้องสิ่งใดต้องเดินตำมแนวทำงแห่งควำม
เหมำะสมนั้น หำกจะเปลี่ยนแปลงแต่วิธีกำรอยู่นอกแถวแนวที่ถูกก ำหนดไว้ กำรลงโทษ คือ สิ่งที่ผู้เรียกร้องเหล่ำนั้นจะได้รับอย่ำง

หลีกเลี่ยงไม่ได้ เฟลอ ผเคยเปนหนงในเปำกำรโจมตีของสังคม ฐำนที่เรียกร้องอย่ำง “ไม่เหมำะสม” จำกเหตุกำรณ์ชักธงด ำ จะ





เล่ำให้เรำฟังถึงเรื่องที่เกิดขึ้นจริง สิ่งที่เธอต้องเจอ และควำมเห็นเกี่ยวกับกำรแสดงออกทำงกำรเมืองในฐำนะนิสิตจุฬำฯ
Q: เฟลอเล่ำเหตุกำรณ์ในวันนั้นหน่อยได้มั้ยคะ
A: วันนั้นเป็นช่วงต้นปี 2020 หลังพรรคอนำคตใหม่ถูกตัดสินให้ยุบพรรค เรำกับเพื่อนๆ รู้สึกว่ำ เหตุกำรณ์นี้เป็นหนึ่งสิ่งที่แสดง

ให้เห็นถงควำมอยุติธรรมในประเทศไทย พวกเรำเลยตัดสินใจจัดกิจกรรม “จุฬำฯ รวมพล” ซึ่งเป็นอะไรที่ใหม่มำกในตอนนั้น
เพรำะเรำไม่เห็นกำรชุมนมในมหำลัยมำนำนแล้ว ในงำนมีกำรปรำศรัย อ่ำนบทกวี ร้องเพลง ฯลฯ เรำรับหน้ำที่เป็นทั้งผู้ด ำเนิน

รำยกำรร่วมกับเพื่อนและเป็นหนึ่งในผู้ปรำศรัย พวกเรำวำงแผนกันมำก่อนแล้วเรื่องกำรชักธงด ำขึ้นเสำ โดยตำมแผนคือ เรำกับ
เพื่อนจะน ำผ้ำสีด ำไปชักขึ้นครึ่งเสำหลังจำกเจ้ำหน้ำที่น ำธงชำติออกไป เมื่อท ำส ำเร็จพิธีกรชี้ให้ผู้ชุมนุมเห็นธง และจะพูดถึง
ควำมหมำยของกำรแสดงออกนี้ แต่สุดท้ำยก็ไม่เป็นไปตำมแผนที่วำงไว้


Q: ท ำไมต้องเป็นธงด ำเหรอคะ Q: ในวันนั้นเจ้ำหน้ำที่จุฬำฯ ท ำอะไรบ้ำง
A: เรำกับเพื่อนมองว่ำ ธงด ำเป็นสัญลักษณ์ของกำรไว้ A: ตอนเรำกับเพื่อนพยำยำมชักธงขึ้นเสำมีเจ้ำหน้ำที่เข้ำมำห้ำมปรำม
อำลัย เรำอยำกให้มันเปนกำรแสดงออกเชิงสัญลักษณ พยำยำมน ำธง (ผ้ำสีด ำ) ออกจำกมอเรำ เรำโต้เถียงกับเจ้ำหน้ำที่ โดย



ว่ำ พวกเรำเห็นถึงควำมล้มเหลวของระบบยุติธรรมใน ตลอดเหตุกำรณ์มีเจ้ำหน้ำที่อีกคนหนึ่งถ่ำยวิดีโอเอำไว้ จนถึงตอนนี้เรำ
ู้
ประเทศไทย และต้องกำรไว้อำลัยให้กับควำมยุติธรรม ก็ยังไม่รว่ำ คลิปวิดีโอนั้นถูกเผยแพร่ไปยังสื่อต่ำงๆ ได้อย่ำงไร โดยใคร
Q: หลังจำกวิดีโอถูกปล่อยออกไปโดยไม่ทรำบสำเหตุ มีปฏิกิริยำจำกสอและ
ื่
สังคมอย่ำงไรบ้ำงคะ

A: จริงๆ แล้วตอนวำงแผนเรำก็ต้องกำรให้กำรแสดงออกครั้งนี้เป็นกระแสสังคม (เรำให้เพื่อนถ่ำยคลิปเหตุกำรณ์ไว้เช่นกัน แต่
คลิปที่เพื่อนเรำถ่ำยไม่ใช่คลิปที่หลุดออกมำ) เลยอำจจะพดได้ว่ำส ำเร็จ แต่เรำไม่คิดว่ำ สเกลมันจะใหญ่ขนำดออกข่ำวหลำยช่อง

ไปทั้งประเทศขนำดนี้ รวมถึงเป็นกระแสในโซเชียลอีกด้วย เรำคิดว่ำ สื่อหลำยเจ้ำน ำเสนอเหตุกำรณ์นี้ในเชิงว่ำ นิสตจุฬำฯ คนนี ้

บ้ำคลั่งพยำยำมชักธงด ำ ตะโกนโวยวำย ไม่สมกับเป็นนิสิตจุฬำฯ ไม่น่ำเชื่อว่ำ นิสิตจุฬำฯ จะท ำแบบนี้ ท ำนองนั้น ปฏิกิริยำจำก
สังคมก็แน่นอนว่ำ ฝ่ำยที่ไม่เห็นด้วยกับเรำทำงกำรเมืองโจมตีเรำหนักมำก มีกำรแชร์คลิปไปด่ำในกลุ่มต่ำงๆ ในเฟซบุ๊ก มีช่อง
โทรทัศน์เอำไปท ำข่ำวต่อ ท ำให้มันกระจำยเร็วมำก คนก็โจมตีหลำยเรื่อง ทั้งเรื่องกำรพูดจำไปถึงกำรแต่งตัว ซึ่งเรำว่ำ ไม่เกี่ยวกับ
สิ่งที่เรำพยำยำมจะสื่อสักนิด นอกจำกกลุ่มที่อยู่คนละขั้วกำรเมือง กลุ่มผู้สนับสนุนประชำธิปไตยเองก็มีคนไม่เห็นด้วยกับกำรแสดง
ออกแบบนี้ บำงคนแค่มองว่ำ มันรุนแรงไป ส่วนบำงคนที่ไม่ชอบเรำอยู่แล้วจำกที่เรำเคลื่อนไหวเรื่องเพศ เขำก็เอำไปล้อเลียน
34


“ย ่ำยีธงชำติ” “เสรีภำพสุดโต่ง”

“คลั่งประชำธิปไตยจนหลอน”



แม้ธงด ำยังไม่เคยถูกชักขึ้นในรั้วสีชมพูแห่งนี้ แตพำดหัวข่ำวและ

กำรโจมตีจำกสังคมในหลำยรูปแบบเป็นรำคำที่ เฟลอ สิรินทร์ มุ่งเจริญ
นิสิตหญิงชั้นปีที่ 3 ต้องจ่ำย เมื่อพยำยำมเคลื่อนไหวภำยใต้ชื่อ
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย



เพรำะเรำอยู่ในสังคมที่ควำมเหมำะสมถูกบัญญัติโดยผู้มีอ ำนำจ และกำรเรียกร้องสิ่งใดต้องเดินตำมแนวทำงแห่งควำม
เหมำะสมนั้น หำกจะเปลี่ยนแปลงแต่วิธีกำรอยู่นอกแถวแนวที่ถูกก ำหนดไว้ กำรลงโทษ คือ สิ่งที่ผู้เรียกร้องเหล่ำนั้นจะได้รับอย่ำง

หลีกเลี่ยงไม่ได้ เฟลอ ผเคยเปนหนงในเปำกำรโจมตีของสังคม ฐำนที่เรียกร้องอย่ำง “ไม่เหมำะสม” จำกเหตุกำรณ์ชักธงด ำ จะ





เล่ำให้เรำฟังถึงเรื่องที่เกิดขึ้นจริง สิ่งที่เธอต้องเจอ และควำมเห็นเกี่ยวกับกำรแสดงออกทำงกำรเมืองในฐำนะนิสิตจุฬำฯ
Q: เฟลอเล่ำเหตุกำรณ์ในวันนั้นหน่อยได้มั้ยคะ
A: วันนั้นเป็นช่วงต้นปี 2020 หลังพรรคอนำคตใหม่ถูกตัดสินให้ยุบพรรค เรำกับเพื่อนๆ รู้สึกว่ำ เหตุกำรณ์นี้เป็นหนึ่งสิ่งที่แสดง

ให้เห็นถงควำมอยุติธรรมในประเทศไทย พวกเรำเลยตัดสินใจจัดกิจกรรม “จุฬำฯ รวมพล” ซึ่งเป็นอะไรที่ใหม่มำกในตอนนั้น

เพรำะเรำไม่เห็นกำรชุมนมในมหำลัยมำนำนแล้ว ในงำนมีกำรปรำศรัย อ่ำนบทกวี ร้องเพลง ฯลฯ เรำรับหน้ำที่เป็นทั้งผู้ด ำเนิน
รำยกำรร่วมกับเพื่อนและเป็นหนึ่งในผู้ปรำศรัย พวกเรำวำงแผนกันมำก่อนแล้วเรื่องกำรชักธงด ำขึ้นเสำ โดยตำมแผนคือ เรำกับ
เพื่อนจะน ำผ้ำสีด ำไปชักขึ้นครึ่งเสำหลังจำกเจ้ำหน้ำที่น ำธงชำติออกไป เมื่อท ำส ำเร็จพิธีกรชี้ให้ผู้ชุมนุมเห็นธง และจะพูดถึง
ควำมหมำยของกำรแสดงออกนี้ แต่สุดท้ำยก็ไม่เป็นไปตำมแผนที่วำงไว้


Q: ท ำไมต้องเป็นธงด ำเหรอคะ Q: ในวันนั้นเจ้ำหน้ำที่จุฬำฯ ท ำอะไรบ้ำง
A: เรำกับเพื่อนมองว่ำ ธงด ำเป็นสัญลักษณ์ของกำรไว้ A: ตอนเรำกับเพื่อนพยำยำมชักธงขึ้นเสำมีเจ้ำหน้ำที่เข้ำมำห้ำมปรำม
อำลัย เรำอยำกให้มันเปนกำรแสดงออกเชิงสัญลักษณ พยำยำมน ำธง (ผ้ำสีด ำ) ออกจำกมอเรำ เรำโต้เถียงกับเจ้ำหน้ำที่ โดย



ว่ำ พวกเรำเห็นถึงควำมล้มเหลวของระบบยุติธรรมใน ตลอดเหตุกำรณ์มีเจ้ำหน้ำที่อีกคนหนึ่งถ่ำยวิดีโอเอำไว้ จนถึงตอนนี้เรำ
ู้
ประเทศไทย และต้องกำรไว้อำลัยให้กับควำมยุติธรรม ก็ยังไม่รว่ำ คลิปวิดีโอนั้นถูกเผยแพร่ไปยังสื่อต่ำงๆ ได้อย่ำงไร โดยใคร
Q: หลังจำกวิดีโอถูกปล่อยออกไปโดยไม่ทรำบสำเหตุ มีปฏิกิริยำจำกสอและ
ื่
สังคมอย่ำงไรบ้ำงคะ

A: จริงๆ แล้วตอนวำงแผนเรำก็ต้องกำรให้กำรแสดงออกครั้งนี้เป็นกระแสสังคม (เรำให้เพื่อนถ่ำยคลิปเหตุกำรณ์ไว้เช่นกัน แต่
คลิปที่เพื่อนเรำถ่ำยไม่ใช่คลิปที่หลุดออกมำ) เลยอำจจะพดได้ว่ำส ำเร็จ แต่เรำไม่คิดว่ำ สเกลมันจะใหญ่ขนำดออกข่ำวหลำยช่อง

ไปทั้งประเทศขนำดนี้ รวมถึงเป็นกระแสในโซเชียลอีกด้วย เรำคิดว่ำ สื่อหลำยเจ้ำน ำเสนอเหตุกำรณ์นี้ในเชิงว่ำ นิสตจุฬำฯ คนนี ้

บ้ำคลั่งพยำยำมชักธงด ำ ตะโกนโวยวำย ไม่สมกับเป็นนิสิตจุฬำฯ ไม่น่ำเชื่อว่ำ นิสิตจุฬำฯ จะท ำแบบนี้ ท ำนองนั้น ปฏิกิริยำจำก
สังคมก็แน่นอนว่ำ ฝ่ำยที่ไม่เห็นด้วยกับเรำทำงกำรเมืองโจมตีเรำหนักมำก มีกำรแชร์คลิปไปด่ำในกลุ่มต่ำงๆ ในเฟซบุ๊ก มีช่อง
โทรทัศน์เอำไปท ำข่ำวต่อ ท ำให้มันกระจำยเร็วมำก คนก็โจมตีหลำยเรื่อง ทั้งเรื่องกำรพูดจำไปถึงกำรแต่งตัว ซึ่งเรำว่ำ ไม่เกี่ยวกับ
สิ่งที่เรำพยำยำมจะสื่อสักนิด นอกจำกกลุ่มที่อยู่คนละขั้วกำรเมือง กลุ่มผู้สนับสนุนประชำธิปไตยเองก็มีคนไม่เห็นด้วยกับกำรแสดง
ออกแบบนี้ บำงคนแค่มองว่ำ มันรุนแรงไป ส่วนบำงคนที่ไม่ชอบเรำอยู่แล้วจำกที่เรำเคลื่อนไหวเรื่องเพศ เขำก็เอำไปล้อเลียน
35


36


37


38


39


40


41


42


43


44


45


46


Click to View FlipBook Version