The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Dessert19, 2021-07-27 05:09:56

Freshy the Journey 2021

SARANEEYAKORN's Guidebook

47


48


49


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีพื้นที่กว้างถึง 1,153 ไร่
อยู่ใกล้สถานที่ส าคัญในหลากหลายแง่มุม ทั้งย่านเศรษฐกิจ การค้า วัฒนธรรม
ศูนย์รวมวัยรุ่น รวมถึง “ศาสนสถาน” ซึ่งเป็นสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาในหลากหลาย
ความเชื่อ เพราะศาสนสถานไม่เพียงแต่เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ แต่ยังเป็นสถานที่เก็บความทรงจ าของผู้คนในสังคมที่สั่งสมสืบทอด

กันผ่านเวลาอันยาวนาน เราจึงอยากพาเพื่อนๆ ไปส ารวจร่องรอยความทรงจ าผ่านศาสนสถานที่อยู่ใกล้จุฬาฯ ไปด้วยกน




1. วัดปทุมวนาราม–สุสาน/อาราม/ความอยุติธรรม


ท่ามกลางตึกสูงตระหง่าน อันเป็นที่ตั้งของห้างสรรพสินค้าชั้น
นาของกรงเทพฯ มีวัดแห่งหนึ่งตั้งอยู่ด้วยบรรยากาศสงบเงียบ เหมือน


เป็นโอเอซิสกลางทะเลทรายอันแห้งแล้ง เราก าลังพูดถึงวัดปทุมวนาราม
พระอารามหลวง ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 พร้อมๆ กับการขุด
สระบัว 2 สระ ในทุ่งบางกะปิ วัดนี้จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า “วัดสระปทุม”
ด้วยบรรยากาศอันสงบร่มรื่นจนอาจลืมไปเลยว่าก าลังอยู่ใจกลาง
เมืองหลวงของประเทศไทย จึงเหมาะส าหรับผู้ที่ต้องการหาความสงบ
ในจิตใจ แต่ไม่ไกลจากที่ท างานหรือที่เรียน

ขึ้นชื่อว่าวัดย่อมพ่วงด้วยค าว่า “เขตอภัยทาน” ที่หมายถึง
เขตงดการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตและอกุศลกรรมทั้งปวง แต่เมื่อมองย้อนกลับ
ไปเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ห้วงเวลาที่รัฐบาลสมัยนาย
ที่มา: https://insidewatthai.com/ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะกุมอ านาจบริหารประเทศ ย่านปทุมวัน-ราชประสงค ์
วัดปทุมวนาราม/ เต็มไปด้วยคราบเลือดที่เกิดจากการสลายการชุมนุมของกลุ่ม นปช. มี
ผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์นี้ถึง 99 ราย ในจ านวนนี้ มี 6 รายที่ถูกยิงด้วย
อาวุธสงครามในวัดปทุมวนารามแห่งนี้ 11 ปี ผ่านไป แม้มีการพิจารณาคดี แต่หาได้มีการเอาผิดผู้กระท าความผิดไม่ หลังจากวัน
นั้น 19 พฤษภาคมเวียนมาคราใด ญาติของผู้เสียชีวิตจะมาร่วมกันประกอบพิธีบ าเพ็ญกุศลอุทิศแด่ผู้วายชนม์ และท ากิจกรรมร าลึก
ถึงเหตุการณ์สลายการชุมนุมใกล้วัดแห่งนี้ เป็นที่ระลึกแห่งความอยุติธรรมในสังคมที่รอวัน “ฟ้าสีทองผ่องอ าไพ” วันที่ความ
โหดร้ายของการเข่นฆ่าผู้บริสุทธิ์จะถูกพิพากษา เพราะทุกคนรู้ดีว่า “ที่นี่มีคนตาย”




50


2. ศาลเจ้าแม่ทับทิม สะพานเหลือง–วัฒนธรรมและ
ศรัทธาที่ปะทะกับความต้องการของนายทุน



“หม่าโจ้ว” (妈祖) หรือ “เทียนโห้ว” (天天后) คือค ำ
เรียก “เจาแม่ทับทิม” เจ้ำแม่แห่งทะเล ศูนย์รวมจิตใจชำวจีนฮกเกี้ยน

แต้จิ๋ว และชำวจีนโพ้นทะเลที่เดินทำงข้ำมน ้ำข้ำมทะเลไปตั้งถิ่นฐำน
นอกประเทศจีน ซึ่งบริเวณใกล้จุฬำฯ เองก็เคยเป็นชุมชนคนไทยเชื้อ
สำยจีน มี “เซียงกง” ค้ำอะไหล่รถยนต์ที่ย่ำนสะพำนเหลือง และชุมชน
นี้เองเป็นที่ตั้งของศำลเจ้ำแม่ทับทิมอันเป็นศูนย์รวมจิตใจส ำคันนับร้อยป
ดังจะเห็นได้จำกกระถำงธูปสังเค็ดจำรึกพระปรมำภิไธยย่อ “จปร.”
ในงำนพระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระบรมศพรัชกำลที่ 5 ที่ตั้งอยู่ใน
ศำลแห่งนี้ แม้ตัวศำลจะมีรูปร่ำงและต ำแหน่งที่เปลี่ยนแปลงไปจำก
อดีต โดยตัวศำลที่เห็นในปัจจุบันนี้สร้ำงแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2513 โดย
มีภำพแกะสลักนูนต ่ำซึ่งเป็นศิลปะแบบแต้จิ๋วประดับอยู่ในศำล ทั้งยัง ที่มำ: https://scontent.fbkk2-
เป็นแหล่งวัฒนธรรมศำลเจ้ำ อำทิ กำรประชันงิ้ว งำนเสี่ยซิ้ง (ขอบคุณ 4.fna.fbcdn.net/v/t1.6435-9/fr/cp0/e15
เทพเจ้ำ) งำนซิโกว (ทิ้งกระจำด)

แต่เมื่อเวลำผ่ำนไป จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัยมีโครงกำรพัฒนำพื้นที่ “BLOCK33” ภำยใต้แนวคิด
“Residential & Wellness” บริเวณโดยรอบศำล มีกำรขอคืนพื้นที่ศำลเจ้ำแม่ทับทิมและวำงแผนจะสร้ำงศำลใหม่ที่อุทยำน 100 ป
จุฬำฯ บริเวณใกล้กัน โดยมีข้อห้ำม เช่น ไม่ให้มีผู้เฝ้ำศำล ไม่อนุนำตให้จุดธูปหรือประทัด ผู้ศรัทธำในเจ้ำแม่ทับทิมจึงร่วมกัน

เรียกร้องผำน #saveศาลเจ้าแม่ทับทิม ทั้งในสื่อสังคมออนไลน์ และลงชื่อเรียกร้องให้จุฬำฯ ระงับกำรรื้อศำลและกำรย้ำยเจ้ำแม่
ทับทิมไปประทับที่ศำลชั่วครำว ปัจจุบันเจ้ำแม่ทับทิมยังประดิษฐำนอยู่ที่ศำลในซอยจุฬำลงกรณ์ 9 ที่เดิม ล้อมรอบด้วยรั้วสังกะส ี
บอกเขตก่อสร้ำงที่หยุดชะงักด้วยสถำนกำรณ์ COVID-19 และเรำยังคงต้องจับตำมองส ำนักงำนทรัพย์สินแห่งจุฬำลงกรณ ์
มหำวิทยำลัย ในฐำนะ “นายทุนที่ดิน” กันต่อไป


3. สุเหร่ากองอาสาจาม–ที่ระลึกแห่งชาวจามในกรุงเทพมหานคร




ไม่ใกล้ไม่ไกลจำกแยกเจรินผล มีมัสยิดแห่งหนึ่งเป็นศูนย์รวมใจ
ของชุมชนมุสลิมขนำดใหน่ ที่มีประวัติศำสตร์ที่ยำวนำน คือ
มัสยิดยามีอุลค็อยรียะห์ หรือ “สุเหร่ากองอาสาจาม”
มัสยิดแห่งนี้สันนิษฐำนว่ำสร้ำงขึ้นโดยพระยำรำชบังสัน (แม้น)
ชำวจำม (ชำวมุสลิมในอำณำจักรจำมปำ) รุ่นแรกที่มำอำศัยอยู่ที่ชุมชน
บ้ำนครัว หลังจำกที่รัชกำลที่ 1 พระรำชทำนที่ดินบริเวณริมคลองแสน
แสบให้เป็นที่อยู่อำศัยของคนชนชำตินี้หลังจำกร่วมรบในสงครำมเก้ำทัพ
จึงเป็นที่มำของชื่อ “สุเหร่ากองอาสาจาม” เดิมเป็นอำคำรก่ออิฐก้อน
ใหน่ หลังคำทรงปั้นหยำ ส่วนตัวอำคำรที่เห็นปัจจุบันนี้สร้ำงขึ้นเมื่อ
ประมำณ พ.ศ. 2497–2498 ลักษณะที่เห็นเด่นชัด คือ มีโดมแปดเหลี่ยม
ที่มำ: http://www.masjidmap.com/ นอกจำกนี้ในสุเหร่ำยังมีวัตถุทรงคุณค่ำ คือ โคมไฟเขียว เครื่องสังเค็ดใน
image/473117.jpg
พระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระบรมศพรัชกำลที่ 5



ชุมชนบำนครวเปนชุมชนมุสลิมขนำดใหน่ แบ่งเป็นชุมชนบ้ำนครัวเหนือ บ้ำนครัวใต้ และบ้ำนครัวตะวันตก

กระจำยตัวตั้งแต่แยกเจรินผลจนถึงบริเวณใกล้สะพำนหัวช้ำง ต่อมำชุมชนนี้ได้กลำยเป็นโรงงำนของแบรนด์ “จิม ทอมป์สัน”

และยงคงทอผำในแบรนดของชุมชนเองสืบมำแม้จิมจะหำยตัวไปอย่ำงลึกลับ โดยมีลำยผ้ำประจ ำชุมชน เช่น ลำยเกล็ดเต่ำ ลำย


หำงกระรอก โดยนอกจำกสุเหร่ำกองอำสำจำมแล้ว ยังมีมัสยิดดำรุลฟะละฮ์ และมัสยิดซูลูกุลมุตตำกีนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง
อันเป็นศูนย์รวมใจของชุมชนจนปัจจุบัน
จากศาสนสถานทั้งสามแห่งที่เราน ามาเสนอนี้ เราหวังว่าจะท าให้เพื่อนๆ เห็นถึง
ความทรงจ าที่อยู่รอบจุฬาฯ ผ่านความศรัทธาของชุมชน แม้การเปลี่ยนแปลงของสังคม พื้นที่
และผู้คนจะผันแปรมากเพียงใด แต่ความทรงจ ายังคงอยู่เสมอ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเพื่อนๆ จะ
เห็นคุณค่าของความทรงจ าเหล่านี้ ในฐานะที่เราเป็นกล้าพันธุ์ที่จะเติบโตเพื่อสร้างสรรค์ให ้
สังคมไทยเห็นคุณค่าของชีวิตทุกชีวิต เพื่อรักษาวัฒนธรรมและความเชื่ออันหลากหลาย และ

ศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ให้คงอยู่ ไม่สิ้นสูญไปกับอ านาจ เงินตรา และเวลาที่หมุนเวียนลบทุกสิ่งไป


51


52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


Click to View FlipBook Version