๔๖
๑.๔ ประสบกำรณ์สำคญั ท่ีส่งเสรมิ พัฒนำกำรดำ้ นสติปัญญำ เป็นกำรสนบั สนนุ ใหเ้ ด็ก ไดเ้ รียนรกู้ ำรใชภ้ ำษำ
พฒั นำกำรคิดรวบยอด กำรคิดเชงิ เหตผุ ล กำรตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หำ กำรมจี นิ ตนำกำรและ ควำมคิดสรำ้ งสรรค์
มเี จตคติท่ดี ีตอ่ กำรเรียนรแู้ ละกำรแสวงหำควำมรผู้ ำ่ นกำรมีปฏิสมั พันธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม บุคคล และสื่อตำ่ งๆ ดว้ ย
กระบวนกำรเรยี นรู้ท่ีหลำกหลำย ดังนี้
ประสบกำรณ์สำคัญ(ดำ้ นสติปัญญำ) ตัวอย่ำงประสบกำรณ์
๑.๔.๑ กำรใชภ้ ำษำ
(๑) กำรฟังเสยี งตำ่ งๆ ในสิ่งแวดล้อม ฟังเสียงตำ่ งๆ รอบตัวและบอกเสยี งทไี่ ดย้ นิ เช่น เสียง
หำยใจ ลมพดั นกร้อง รถยนต์ คนเดิน สตั วร์ อ้ ง
(๒) กำรฟ้งและปฏิบตั ิตำมคำแนะนำ ฟงั และปฏบิ ตั ติ ำมคำแนะนำ เช่น กำรเล่นเกม กำร
เคล่อื นไหว ตำมคำบรรยำย รวมทง้ั ข้อตกลงในห้องเรียน
(๓) กำรฟังเพลง นิทำน คำคล้องจอง บทรอ้ ยกรอง ฟงั เพลง นิทำน คำคลอ้ งจอง บทรอ้ ยกรองงำ่ ยๆ หรือ
หรือเรอ่ื งรำวต่ำงๆ เรื่องรำวต่ำงๆ
(๔) กำรพูดแสดงควำมคิด ควำมรู้สกึ และควำม พูดแสดงควำมคดิ เห็น ควำมรู้สกึ ควำมตอ้ งกำรในส่งิ ตำ่ งๆ
ต้องกำร ใชค้ ำถำม ใคร อะไร ทำไม อยำ่ งไร ในสง่ิ ทต่ี ้องกำรทรำบ
(๕) กำรพูดกับผู้อ่ืนเกย่ี วกับประสบกำรณ์ของตนเอง พูดเล่ำขำ่ ว เล่ำประสบกำรณ์ หรอื เรื่องรำวเกี่ยวกับตนเอง
หรอื พดู เล่ำเร่ืองรำวเกย่ี วกับตนเอง หรอื เหตกุ ำรณป์ ระจำวนั เชน่ ครอบครวั ของฉนั
(๖) กำรพูดอธิบำยเกีย่ วกับสิ่งของ เหตุกำรณ์ และ พดู บอกลักษณะสิง่ ของทส่ี ังเกต เล่ำข่ำว เลำ่ ประสบกำรณ์
ควำมสัมพนั ธ์ของส่ิงต่ำงๆ เช่น กิจกรรมทท่ี ำในวนั หยุด กจิ กรรมท่ีไดท้ ำดว้ ยตนเอง
หรอื ทำรว่ มกับเพ่ือนและครู หรอื เหตุกำรณ์ทีเ่ กิดข้ึน
ตำมลำดบั หรือตำมช่วงเวลำ
(๗) กำรพูดอย่ำงสรำ้ งสรรคใ์ นกำรเล่นและกำร เล่ำสงิ่ ทีก่ ำลงั เล่น กำลังทำ พูดใหก้ ำลังใจ ปลอบใจ
กระทำ ตำ่ งๆ คำแนะนำเพื่อนในกำรเลน่ และกำรทำงำน อธิบำยวธิ ีเล่น
ให้เพอื่ นฟัง
(๘) กำรรอจังหวะที่เหมำะสมในกำรพูด ตอบคำถำมและมีมำรยำทในกำรพดู เช่น ยกมือก่อนพดู
ไมพ่ ูดแทรกในขณะทผี่ อู้ ่ืนกำลงั พดู
(๙) กำรพูดเรยี งลำดบั คำเพ่ือใช้ในกำรสื่อสำร เรยี งคำพูดในส่งิ ท่ีคดิ เพ่ืออธิบำยใหผ้ ูอ้ นื่ เขำ้ ใจ เชน่ พดู เล่ำ
เรื่องจำกภำพหรือเหตุกำรณ์ที่พบเห็น
(๑๐) กำรอ่ำนหนังสอื ภำพ นิทำนหลำกหลำย อำ่ นภำพ นทิ ำน อ่ำนปำ้ ยและสัญลักษณ์ท่ีเด็กสนใจ อ่ำน
ประเภท/ รูปแบบ นทิ ำนใหเ้ พื่อนฟงั
(๑๑) กำรอำ่ นอย่ำงอสิ ระตำมลำพัง กำรอ่ำนรว่ มกนั - อ่ำนนทิ ำนหรอื หนังสือภำพท่สี นใจอย่ำงอิสระตำมลำพัง
กำรอำ่ นโดยมีผู้ช้ีแนะ ในมุมหนงั สอื
- อำ่ นรว่ มกนั โดยครูแนะนำสว่ นตำ่ งๆ ของหนงั สือ ตง้ั แต่
ปกหน้ำจนถงึ ปกหลัง แลว้ เป็นผนู้ ำกำรอำ่ นโดยช้ีคำ ใน
หนงั สือจำกซำ้ ยไปขวำ เด็กชแี้ ละอ่ำนตำมครูพร้อมกัน
- อำ่ นโดยมีผชู้ แ้ี นะ โดยครูเป็นผนู้ ำกำรอ่ำนกบั เด็กกล่มุ
ย่อย ๓ - ๕ คน
(๑๒) กำรเหน็ แบบอยำ่ งของกำรอำ่ นที่ถูกต้อง ดูตัวอยำ่ งครูช้คี ำและกวำดสำยตำจำกกำรอำ่ นหนังสือ
นิทำน ป้ำย บัตรข้อควำม แถบประโยค หรือแผนภมู ิเพลง
๔๗
ประสบกำรณ์สำคัญ(ด้ำนสติปญั ญำ) ตัวอยำ่ งประสบกำรณ์
(๑๓) กำรสงั เกตทศิ ทำงกำรอ่ำนตวั อักษร คำ และ ดตู วั อยำ่ งกำรกวำดสำยตำอ่ำนตัวอักษร คำ และข้อควำม
ขอ้ ควำม จำกซ้ำยไปขวำ บรรทัดบนลงบรรทดั ลำ่ ง
(๑๔) กำรอำ่ นและชขี้ ้อควำม โดยกวำดสำยตำตำม ดตู วั อยำ่ งกำรกวำดสำยตำและชีค้ ำอ่ำนข้อควำม หนังสือ
บรรทดั จำกซ้ำยไปขวำ จำกบนลงลำ่ ง นิทำน แผนภูมิเพลง จำกซำ้ ยไปขวำ บรรทดั บน ลง
บรรทดั ลำ่ ง
(๑๕) กำรสังเกตตวั อักษรในช่ือของตน หรอื คำ ชหี้ รือบอกตัวอกั ษรบำงตวั ทีค่ ุ้นเคยในช่ือตนเอง นิทำน
ค้นุ เคย เพลง คำคล้องจอง ปำ้ ยข้อควำม สังเกตบัตรช่อื นำมสกลุ
ตัวเองกบั เพอื่ นว่ำมีอักษรตัวไหนเหมอื นกนั
(๑๖) กำรสงั เกตตวั อักษรท่ปี ระกอบเปน็ คำ ผ่ำนกำร - มองและชี้ตวั อักษรในคำ ข้อควำม ประโยค นทิ ำน
อ่ำน หรอื เขียนของผใู้ หญ่ แผนภูมเิ พลง ปริศนำคำทำย หรือประโยคท่ีครเู ขียน
- สงั เกตทศิ ทำงกำรเขยี นตวั พยัญชนะหรอื คำทคี่ ุ้นเคย
ของครู
- สังเกตกำรเขียนบนทรำยหรอื กำรเขียนในอำกำศของครู
– ขดดนิ นำ้ มันเปน็ ตวั พยญั ชนะทีค่ ุ้นเคย เช่น พยญั ชนะ
ตนชอื่ ของตนเอง
(๑๗) กำรคำดเดำคำ วลี หรือประโยคที่มีโครงสรำ้ ง - เล่นเดำคำบำงคำที่คุ้นเคยในหนังสือนิทำน เพลง คำ
ซำ้ ๆ กนั จำกนิทำน เพลง คำคล้องจอง คล้องจอง
- เลน่ เดำตัวพยญั ชนะที่หำยไปจำกคำทีค่ ุ้นเคย
- เล่นเปลี่ยนคำบำงคำในประโยคท่มี โี ครงสร้ำงซำ้ ๆ
(๑๘) กำรเล่นเกมทำงภำษำ - เล่นเกมทำงภำษำต่ำงๆ เช่น หำภำพกับสัญลักษณ์ จับคู่
คำกับภำพ
- หำตวั อักษรหรือคำบำงคำจำกนทิ ำน
- ต่อเติมตัวอักษรลงในบัตรคำ บิงโกภำษำ ลอตโต
พยัญชนะกับคำ วำดภำพและแต่งเรื่องรำวท่ีมีโครงเรื่อง
เดยี วกับนทิ ำน
(๑๙) กำรเหน็ แบบอยำ่ งของกำรเขียนทถ่ี ูกต้อง - สงั เกตตวั อย่ำงกำรเขียนของครูในโอกำสต่ำงๆ เช่น เขยี น
ข้อตกลงชั้นเรียน เขียนประกำศวันสำคัญ เขียน วันที่
เดือน ปี
- เขียนคำบรรยำยใตผ้ ลงำนศิลปะของเด็ก
- เขยี นบันทึกคำพดู ของเด็ก
- สังเกตตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ เช่น ป้ำยช่ือครู ป้ำยชื่อ
ตนเอง ปฏิทินในชีวิตประจำวัน
(๒๐) กำรเขยี นรว่ มกนั ตำมโอกำส และกำรเขยี น - เขียนร่วมกับครูในกิจกรรมกำรเล่นตำมมุม เช่น
อสิ ระ เมนูอำหำร ปำ้ ยฉลำก ขวดยำคณุ หมอ
- เลียนแบบกำรเขียนของครู โดยลอกตัวอักษรหรือ
สัญลกั ษณจ์ ำกบตั รคำลงในสมุดนิทำนทรี่ ่วมกันแตง่
- ร่วมกับครวู ำดภำพและเขียนคำอธิบำยภำพ
๔๘
ประสบกำรณ์สำคัญ(ดำ้ นสติปัญญำ) ตวั อยำ่ งประสบกำรณ์
- เขียนตำมโอกำส เชน่ บตั รอวยพรวันเกิดให้เพื่อน
(๒๒) กำรคดิ สะกดคำและเขยี นเพื่อสื่อควำมหมำย เขียนคำง่ำยๆ ประกอบภำพตำมควำมสนใจ เขียนชื่อ
ดว้ ยตนเองอย่ำงอิสระ ตนเอง เขยี นบตั รอวยพรโอกำสตำ่ งๆ เขยี นภำพนทิ ำนหรือ
เร่ืองนิทำนอย่ำงอิสระตำมควำมสนใจหรือควำมต้องกำร
ของเด็กไม่ใช้กำหนดโดยครู กำรคิดสะกดคำและ เขียน
อิสระของเด็กจึงมีกำรเขียนแบบลองผิดลองถูก ของเด็ก
เอง ซ่ึงครตู ้องไมต่ ำหน/ิ ลงโทษเมอื่ เด็กเขียนผดิ
๑.๔.๒ กำรคิดรวบยอด กำรคิดเชิงเหตผุ ล กำรตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หำ
(๑) กำรสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ กำร - ใชประสำทสัมผัสในกำรสงั เกตและบอกลักษณะหรือ ส
เปล่ียนแปลง และควำมสัมพันธ์ของส่ิงต่ำงๆ โดยใช้ วนประกอบของส่ิงตำงๆ เชน รำงกำยของตนเอง สตั ว พชื
ประสำทสมั ผสั อยำ่ งเหมำะสม สิ่งของเครอื่ งใช ดนิ น้ำ ทองฟำ บรเิ วณตำงๆ
- สังเกตและบอกกำรเปล่ียนแปลงของส่ิงต่ำงๆ เช่น กำร
เปล่ียนแปลงของร่ำงกำยมนุษย์ สัตว์พืช เมื่อ เจริญเติบโต
กำรเปล่ียนแปลงของลมฟ้ำอำกำศ กำรเปล่ียนแปลงของ
วัตถแุ ละสง่ิ ของเคร่อื งใช้
- สังเกตและบอกควำมสัมพันธ์ของส่ิงต่ำงๆ เช่น กำรนำ
ส่ิงต่ำงๆ มำใช้ประโยชน์ ควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ ง กำรกระทำ
บำงอย่ำงกับผลท่ีเกิดข้ึน เช่น ถ้ำรับประทำน อำหำรแล้ว
ไมแ่ ปรงฟนั ฟันจะผุ ถ้ำใสน่ ้ำตำลลงไป ในน้ำแล้วนำ้ ตำลจะ
ละลำย ถำ้ ปล่อยสิ่งของจำกทีส่ งู แลว้ สง่ิ ของจะตกลงมำ
(๒) กำรสังเกตสิ่งต่ำงๆ และสถำนที่จำกมุมมองท่ี สังเกตสิ่งของ หรือสำรวจสถำนท่ีต่ำงๆ หรือเล่นปีนป่ำย
ตำ่ งกัน เครื่องเล่นสนำม ลอดอุโมงค์ และบอกหรือวำดภำพ
เก่ียวกับลักษณะ พ้ืนท่ี ระยะ ตำแหน่งของสิ่งของ สถำนท่ี
หรอื เครื่องเลน่ จำกมุมมองต่ำงๆ
(๓) กำรบอกและแสดงตำแหน่ง ทิศทำง และ - สำรวจส่ิงต่ำงๆ ที่อยู่ในบริเวณหนึ่ง เช่น ส่ิงของท่ีอยู่ บน
ระยะทำง ของสิ่งต่ำงๆ ด้วยกำรกระทำ ภำพวำด โต๊ะ สิ่งของท่ีอยู่ในห้อง และบอกหรือวำดภำพแสดง
ภำพถำ่ ย และ รปู ภำพ ตำแหนง่ ทศิ ทำง หรือระยะทำงของสิง่ นั้นๆ
- สำรวจสถำนที่ต่ำงๆ ถ่ำยภำพ วำดภำพ หรือเขียน
แผนผังสถำนท่ีนั้นๆ แล้วนำรูปภำพมำอธิบำยตำแหน่ง
ทศิ ทำง หรอื ระยะทำงของสถำนที่
– เล่นเกมเกี่ยวกับมิติสัมพันธ์ เช่น วำงส่ิงของในตำแหน่ง
ที่กำหนด บอกชื่อส่ิงของท่ีอยู่ในตำแหน่งท่ีกำหนด บอก
ตำแหน่ง ทิศทำง หรือระยะทำงของสิ่งของท่ีกำหนด ใช้
ร่ำงกำยเคลื่อนท่ีไปยังตำแหน่งหรือไปตำมทิศทำง ที่
กำหนด
๔๙
ประสบกำรณ์สำคญั (ด้ำนสติปัญญำ) ตัวอย่ำงประสบกำรณ์
(๔) กำรเลน่ กับสอื่ ต่ำงๆ ท่ีเป็นทรงกลม ทรงส่เี หลย่ี ม - เล่นสำรวจจำแนกและบอกลักษณะสิ่งของรอบตัว ท่ีมี
มุมฉำก ทรงกระบอก ทรงกรวย ลักษณะเหมือนหรือคล้ำยทรงกลม ทรงกระบอก ทรง
สเ่ี หล่ยี มมมุ ฉำก และทรงกรวย
- เล่นสำรวจบอกส่ิงของรอบตัวที่มีลักษณะเหมือน หรือ
คลำ้ ยภำพวงกลม ส่เี หล่ียม สำมเหล่ียม และวงรี
- เล่นเกมจำแนกภำพหรือสิ่งของท่ีมีลักษณะเหมือน หรือ
คลำ้ ยวงกลม ส่ีเหลี่ยม สำมเหลยี่ ม และวงรี
- ปั้นดินน้ำมันเป็นทรงกลม ทรงกระบอก ทรงสี่เหล่ียม
ทรงกรวย และตัดตำมแนวนอน แนวตงั้ แนวเฉียง นำสว่ น
หน้ำตัดไปพมิ พภ์ ำพ
- วำดภำพ พับ ตัด ต่อเติมภำพจำกรูปวงกลม สี่เหลี่ยม
สำมเหล่ียม และวงรี
(๕) กำรคดั แยก กำรจัดกลุ่ม และกำรจำแนกสิ่งต่ำงๆ คัดแยก จำแนก จัดกลุ่มส่ิงต่ำงๆ ตำมลักษณะ รูปร่ำง
ตำมลกั ษณะและรูปร่ำง รปู ทรง รูปทรง หรือตำมเกณฑ์ต่ำงๆ ท่ีกำหนด เช่น สัตว์ผลไม้
ใบไม้ ดอกไม้ ดนิ หิน ของเลน่ ส่ิงของเครอ่ื งใช้รอบตวั
(๖) กำรต่อของชน้ิ เลก็ เตมิ ในชิ้นใหญใ่ หส้ มบูรณ์ และ - เล่นต่อหรือประกอบช้ินส่วนของของเล่นชิ้นเล็ก ให้เป็น
กำรแยกชิ้นส่วน ชิ้นใหญ่ท่ีสมบูรณ์ตำมเง่ือนไขท่ีกำหนดหรือ ตำม
จินตนำกำร เช่น จ๊ิกซอว์ไม่หมุด จ๊ิกซอว์รูปภำพ ภำพตัด
ตอ่ ตัวตอ่ บล็อก และแยกชนิ้ ส่วนของเลน่ เก็บเข้ำท่ี
- ประดิษฐ์ชิ้นงำนจำกวัสดุต่ำงๆ ท่ีเป็นช้ินเล็กให้เป็น ชิ้น
ใหญ่ เช่น รอ้ ยลูกปดั รอ้ ยดอกไม้ ร้อยวสั ดุตำ่ งๆ สรำ้ งภำพ
จำกวสั ดุจำกธรรมชำตหิ รอื เศษวัสดรุ อบตัว
(๗) กำรทำซำ้ กำรตอ่ เติม และกำรสรำ้ งแบบรูป - สำรวจหำแบบรูปจำกสิ่งต่ำงๆ เช่น ลวดลำยบนเสื้อผ้ำ
หรือสิ่งของเครื่องใช้ ลวดลำยของกระเบื้องปูพื้นหรือ ผนัง
หอ้ งในเร่ืองสี ลวดลำย ขนำด รูปร่ำง รูปทรง และ แบบรูป
จำกทำ่ ทำง เสยี ง
- วำงแบบรูปให้เหมือนต้นแบบ หรือต่อเติมจำกที่ กำหนด
หรือสร้ำงแบบรูปใหม่ขึ้นเอง โดยกำรเล่นเกมใช้ ของจริง
เชน่ วำงบล็อก ไมไ้ อศกรมี ใบไม้ เปลือกหอย ฝำขวด หรือ
วัสดุอ่ืนๆ ให้เป็นแบบรูป และโดยกำรสร้ำง ชิ้นงำนหรือ
วิธีกำรภำยใต้เงื่อนไขทีก่ ำหนด เช่น รอ้ ยลกู ปดั รอ้ ยดอกไม้
ทำโมบำย ทำท่ำทำง สร้ำงเสยี ง
(๘) กำรนับและแสดงจำนวนของสิ่งต่ำงๆ ใน - ร้องเพลงหรือท้องคำคล้องจองท่ีเก่ียวกับชื่อเรียกจำนวน
ชวี ิตประจำวัน – นับปำกเปล่ำในกจิ วตั รประจำวนั เช่น นบั ขณะที่ รอกำร
เข้ำแถวหรือนั่งที่ให้เรียบร้อย นับเพ่ือให้เวลำกับ กำรเก็บ
ของเข้ำท่ี นับเพื่อเตรียมตัวออกจำกจุดเริ่มต้น ขณะเล่น
๕๐
ประสบกำรณ์สำคญั (ด้ำนสติปัญญำ) ตัวอยำ่ งประสบกำรณ์
เกม นับสิ่งตำ่ งๆ เช่น นับเพอื่ นในกลุ่ม นบั ขนมในจำน นับ
ของเล่น นับสิ่งของเคร่อื งใช้
– หยิบหรอื แสดงส่ิงต่ำงๆ ตำมจำนวนทกี่ ำหนด เชน่ หยบิ
จำน แกว้ น้ำ ผลไม้ ดนิ สอ ดินน้ำมนั ของเลน่
(๙) กำรเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนของส่ิง - เปรียบเทียบจำนวนของสิ่งต่ำงๆ เช่น จำนวนเด็กชำย
ตำ่ งๆ กับเด็กหญิง จำนวนขนมกับจำนวนเด็ก จำนวนเด็กกับ
จำนวนเก้ำอ้ี หรือจำนวนแก้วกับจำนวนแปรงสีฟัน โดยใช้
กำรจับคู่กันและสังเกตว่ำเท่ำกันหรือไม่เท่ำกัน มำกกว่ำ
หรอื น้อยกว่ำ
– เรียงลำดับจำนวนของสิ่งต่ำงๆ เช่น จำแนกชนิด ของ
บล็อกแล้วนำมำเรียงลำดับจำนวน โดยกำรจับคู่ หน่ึงต่อ
หน่งึ และวำงบล็อกแต่ละชนิดเรยี งเป็นแถว เพือ่ เรยี งลำดับ
สำรวจและเก็บดอกไม้หรือใบไม้ชนิดต่ำงๆ มำเรียงลำดับ
จำนวน
(๑๐) กำรรวมและกำรแยกสง่ิ ตำ่ งๆ - นำส่งิ ต่ำงๆ สองกลุ่มมำรวมเข้ำดว้ ยกัน แล้วบอก จำนวน
ท่ีเกิดจำกกำรรวมของส่ิงนั้น เช่น รวมคนสองกลุ่ม เข้ำ
ด้วยกันแล้วนบั และบอกจำนวนทั้งหมด นำบล็อก สองกอง
มำรวมกนั แล้วนับและบอกจำนวนทงั้ หมด
- แยกกลุ่มย่อยของส่ิงต่ำงๆ ออกจำกกลุ่มใหญ่ แล้ว บอก
จำนวนที่เหลือในกลุ่มใหญ่ เช่น แยกคนจำนวนหน่ึง ออก
จำกกลุ่มใหญ่แล้วนับและบอกจำนวนคนท่ีเหลือ ในกลุ่ม
ใหญ่ แบ่งขนมให้เพ่ือนแล้วนับและบอกจำนวน ที่เหลือใน
จำน หยิบสีเทียนจำนวนหน่ึงออกจำกกล่อง แล้วนับ
จำนวนสีเทยี นท่ีเหลือในกลอ่ ง
(๑๑) กำรบอกและแสดงอนั ดับทข่ี องสิ่งต่ำงๆ - บอกอันดับที่ของตนเองหรือเพ่ือนทีย่ ืนอยู่ในแถว
- ช้ี หยบิ หรอื วำงสิ่งของตำมอันดับท่ที ่ีกำหนด
- สนทนำและบอกเกี่ยวกับอันดับท่ีในชีวิตประจำวัน หรือ
ในกิจกรรม เช่น เป็นลูกคนท่ีเท่ำไหร่ของครอบครัว ใคร
มำถึงโรงเรยี นอันดับทหี่ น่งึ อนั ดบั ทีส่ อง อนั ดับท่ีสำม บอก
อันดับท่ีกำรเลือกมุมเล่น เช่น หนูเลือกเล่นมุมบล็อก เป็น
กจิ กรรมท่หี นึ่งหรอื สอง
(๑๒) กำรช่ัง ตวง วัดส่ิงต่ำงๆ โดยใช้เครื่องมือ และ - เล่นในมุมบ้ำนหรือเล่นบทบำทสมมติร้ำนขำยของ ช่ังน้ำ
หนว่ ยทไี่ ม่ใช้หน่วยมำตรฐำน หนักสิ่งต่ำงๆ เช่น ผลไม้ขนม โดยใช้ตำชั่งสองแขน อย่ำง
ง่ำยและใช้วัสดุท่ีมีรูปร่ำงขนำดและน้ำหนักเท่ำกัน เป็น
หน่วยในกำรช่ังน้ำหนัก เช่น ไม้บลอ็ ก ลูกแก้ว เหรยี ญ
๕๑
ประสบกำรณส์ ำคญั (ด้ำนสติปัญญำ) ตัวอย่ำงประสบกำรณ์
- เล่นตวงทรำยหรือน้ำ โดยใช้ภำชนะต่ำงๆ เช่น ช้อน
แก้ว ขวด และบอกปริมำตรของทรำยหรือน้ำที่ตวง ตำม
จำนวนของภำชนะท่ีใช้เป็นหนว่ ยในกำรตวง
- วัดควำมยำวหรือควำมสูงของส่ิงต่ำงๆ โดยเลือกใช้ส่ิงที่
มีขนำดเท่ำกันนำมำต่อกัน เช่น บล็อก ลวดเสียบกระดำษ
หลอด ไม้ไอศกรีม หรือส่วนของร่ำงกำย เช่น ส่วนสูง แล้ว
บอกควำมยำวหรือควำมสูงตำมจำนวนของสิ่งของ ที่
นำมำใช้เป็นหน่วยในกำรวัด
(๑๓) กำรจับคู่ กำรเปรียบเทียบ และกำรเรียงลำดับ - จับคู่ส่ิงต่ำงๆ ตำมลักษณะที่สัมพันธ์กันหรือตำมที่
สิ่งต่ำงๆ ตำมลักษณะ ควำมยำว ควำมสูง น้ำหนัก กำหนด เช่น จับคู่สิ่งของท่ีเป็นของจริงท่ีใช้ร่วมกัน เช่น
ปรมิ ำตร ช้อนกับส้อม จับคู่สิ่งท่ีเหมือนกัน เช่น ของเล่นท่ีมีลักษณะ
เหมือนกัน จับคู่สิ่งที่แตกต่ำงกัน เช่น บล็อกที่แตกต่ำงกัน
เด็กผู้หญิงกับเด็กผู้ชำย จับคู่ภำพกับเงำ จับคู่สัญลักษณ์
ตัวเลข กับส่งิ ของทม่ี จี ำนวนตรงกับตัวเลขน้นั
(๑๔) กำรบอกและเรียงลำดบั กิจกรรมหรือเหตุกำรณ์ เชื่อมโยงช่วงเวลำกับกำรกระทำและเหตุกำรณ์ต่ำงๆ เช่น
ตำมชว่ งเวลำ ท บ ท ว น กิ จ วั ต ร ป ร ะ จ ำ วั น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ป ร ะ จ ำ วั น
ตำมลำดับเวลำ เล่นเกมเรียงลำดบั เหตุกำรณ์ตำมชว่ ง เวลำ
เช่น กลำงวนั กลำงคืน ก่อน หลัง เช้ำ บำ่ ย เยน็ เมื่อวำนนี้
วันนี้ พรงุ่ น้ี
(๑๕) กำรใช้ภำษำทำงคณิตศำสตร์กับเหตุกำรณ์ ใน - สังเกตเงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่ำงๆ เล่นเกมจำแนก
ชวี ติ ประจำวัน ชนิดของเงิน เล่นเกมขำยของ จัดกิจกรรมตลำดนัดให้เด็ก
ฝำกกำรใชเ้ งนิ ซอ้ื และทอนเงนิ
- สนทนำร่วมกันเกี่ยวกับเหตุกำรณ์ในชีวิตประจำวัน จำก
เหตุกำรณ์จริง เรื่องเล่ำหรือนิทำน โดยใช้ภำษำ ทำง
คณิตศำสตร์ในเหตุกำรณ์ต่ำงๆ เช่น จำนวนเท่ำไหร่
เท่ำกัน ไม้เท่ำกัน มำกกว่ำ น้อยกว่ำ มำกท่ีสุด น้อยท่ีสุด
คนที่ อันดับที่หรือลำดับท่ี รวมกัน ทั้งหมด มำกข้ึน หรือ
เพิ่มข้ึนหรือเยอะขึ้น แบ่งกันหรือแยกกัน น้อยลง หรือ
ลดลง เหลือ สั้น ยำว สูง เตี้ย ต่ำ หนัก เบำ หนักกว่ำ เบำ
กว่ำ หนักท่ีสุด เบำที่สุด กลำงวัน กลำงคืน ก่อน หลัง เช้ำ
บ่ำย เย็น เมื่อวำนนี้ วันน้ี พรุ่งนี้ ที่ไหน ข้ำงไหน ข้ำงบน
ข้ำงล่ำง ข้ำงหน้ำ ข้ำงหลัง ระหว่ำง ข้ำงซ้ำย ข้ำงขวำ ใกล้
ไกล ทรงกลม ทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉำก ทรงกระบอก ทรงกรวย
วงกลม รูปสี่เหลีย่ ม รูปสำมเหลยี่ ม
(๑๖) กำรอธบิ ำยเชอ่ื มโยงสำเหตุและผลที่เกิดขนึ้ ใน - สำรวจเหตุกำรณ์ในชีวิตประจำวัน และสนทนำเกี่ยวกับ
เหตกุ ำรณ์หรอื กำรกระทำ สำเหตุและผลท่ีเกดิ ข้ึน เชน่ กนิ อำหำรแลว้ ไมแ้ ปรงฟนั จะ
๕๒
ประสบกำรณส์ ำคญั (ด้ำนสติปัญญำ) ตัวอย่ำงประสบกำรณ์
ทำให้ฟนั ผุ ถำ้ ตำกฝนอำจจะทำใหเ้ ปน็ หวัด กำรท้ิงขยะ ไม้
ถกู ท่จี ะทำให้บริเวณนน้ั สกปรก
- สังเกต สำรวจ หรือทดลองอย่ำงง่ำยเกี่ยวกับสิ่งต่ำงๆ
รอบตัว แล้วอธบิ ำยสำเหตแุ ละผลทเ่ี กิดข้นึ เชน่ ลองใส่ น้ำ
ตำลลงไปในน้ำ สังเกตแล้วบอกได้ว่ำน้ำตำลสำมำรถ
ละลำยในนำ้ ได้ ฟงั และเปรยี บเทียบเสียงของส่ิงต่ำงๆ แลว้
บอกได้ว่ำส่ิงของที่แตกต่ำงกันทำให้เกิดเสียงต่ำงกัน ทอด
ไข้แลว้ สังเกตกำรเปลย่ี นแปลงแล้วบอกไดว้ ่ำควำมร้อน ทำ
ให้ไข่สุกรับประทำนได้ เล่นโยนหรือเตะลูกบอล โดยออก
แรงแตกต่ำงกันแล้วบอกได้ว่ำถ้ำออกแรงมำก ลูกบอลจะ
ไปไกล
(๑๗) กำรคำดเดำหรือกำรคำดคะเนส่ิงท่ีอำจจะ - สนทนำระหว่ำงฟังนิทำนหรือเรื่องเล่ำเพื่อคำดเดำ
เกดิ ขน้ึ อยำ่ งมีเหตุผล เหตุกำรณ์ท่ีอำจจะเกิดข้ึนพร้อมบอกเหตุผล ก่อนที่จะ ฟัง
เนอ้ื เรอื่ งตอ่ ไป
– คำดคะเนหรือตั้งสมมติฐำนก่อนทดลอง เช่น คำดคะเน
ว่ำ วัตถุใดจะจมน้ำหรือลอยน้ำ คำดคะเนว่ำสัตว์ท่ีสนใจ
น่ำจะกินอำหำรชนิดใด คำดคะเนว่ำถ้ำออกแรงในกำร
ผลักรถของเล่นด้วยแรงท่ีแตกต่ำงกันจะทำให้รถของเล่น
มกี ำรเคลือ่ นท่ีเป็นอย่ำงไร
(๑๘) กำรมีส่วนร่วมในกำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล - บอกสิ่งท่ีสังเกตพบหรืออธิบำยข้อค้นพบจำกกำรสังเกต
อยำ่ งมเี หตุผล สำรวจ หรือทำกำรทดลองอย่ำงง่ำยเก่ียวกับส่ิงต่ำงๆ
รอบตัว เช่น สนทนำและสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบ ของ
ไข่ที่ได้จำกกำรสังเกตไข่ของจริง สนทนำและอธิบำย
เก่ียวกับรสชำติและส่วนประกอบของอำหำรที่ได้จำก กำร
สงั เกตและชิมอำหำรของจรงิ
- สังเกตอำกำศแต่ละวัน สนทนำและสรุปเกี่ยวกับ สภำพ
อำกำศในแต่ละวนั สำรวจต้นไมใ้ นบริเวณโรงเรยี น สนทนำ
และสรปุ ชนดิ ของตน้ ไม้ท่พี บในบริเวณโรงเรยี น
- สำรวจแบบรูปของส่ิงต่ำงๆ รอบตัว สนทนำและ บอก
ลักษณะของแบบรูปท่ีพบ จัดกลุ่มสิ่งของแล้ว สนทนำ
เก่ียวกับกำรจัดกลุ่มส่ิงของว่ำจัดเป็นกลุ่ม ได้อย่ำงไรบ้ำง
โดยใช้อะไรเปน็ เกณฑ์
(๑๙) กำรตัดสินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนกำร - ตัดสินใจและเลือกวิธีแก้ปัญหำในระหว่ำงเล่น หรือ ใน
แก้ปัญหำ ชีวิตประจำวัน หรือทำกิจกรรม เช่น เล่นเกมกำรศึกษำ
ต่ำงๆ แก้ปัญหำในกำรเล่นกับเพื่อน แก้ปัญหำในกำร แบ่ง
ของเล่นให้เพียงพอกับจำนวนของเพ่ือนในกลุ่ม แก่ปัญหำ
ในกำรจัดวำงหรือเก็บสิ่งของให้เป็นระเบียบ ร่วมกับครู
๕๓
ประสบกำรณส์ ำคญั (ด้ำนสติปญั ญำ) ตัวอย่ำงประสบกำรณ์
๑.๔.๓ จินตนำกำรและควำมคิดสร้ำงสรรค์
และเพื่อนวำงแผนและลงมือแก้ปัญหำเกี่ยวกับ กำรกำจัด
หรือลดปริมำณขยะหรือเศษวัสดุเหลือใช้ กำรประดิษฐ์
ส่งิ ของหรอื ทำช้ินงำนให้ได้ตำมเงอ่ื นไข
(๑) กำรรับรู้และแสดงควำมคิด ควำมรู้สึกผ่ำนส่ือ - สงั เกต สมั ผสั ทดลอง เลน่ อิสระกับสื่อ วสั ดุ และของเล่น
วัสดุ ของเล่น และช้ินงำน บอกหรอื เลำ่ เรอื่ งถ่ำยทอดควำมคิดควำมรสู้ ึกที่ได้จำก กำร
สังเกต สัมผัส ทดลอง หรือเล่นอิสระกับสิ่งต่ำงๆ เหล่ำน้ัน
เช่น ต่อบล็อกเป็นรูปต่ำงๆ ประดิษฐ์สิ่งของต่ำงๆ – บอก
หรือเล่ำเร่ืองถ่ำยทอดควำมคิดควำมรู้สึกท่ีได้ จำกกำรต่อ
บล็อกหรือประดิษฐ์ส่ิงของต่ำงๆ ทำกิจกรรม ศิลปะใน
ลักษณะต่ำงๆ บอกหรือเล่ำเร่ืองถ่ำยทอด ควำมคิด
ควำมรสู้ ึกจำกชิ้นงำน
(๒) กำรแสดงควำมคิดสร้ำงสรรค์ผ่ำนภำษำ ท่ำทำง เล่ำเร่ืองต่อกันคนละประโยคอย่ำงสัมพันธ์กัน วำดภำพ
กำรเคล่ือนไหว และศิลปะ และเล่ำเรื่องต่อเน่ือง และปริศนำคำทำย แสดงท่ำทำง
เคล่อื นไหวอย่ำงอสิ ระประกอบกำรเล่ำนิทำน กำรเล่ำเร่ือง
กำรร้องเพลง รวมท้ังเพลงบรรเลง เคล่อื นไหวประกอบ สื่อ
หรือวัสดุอื่นท่ีเหมำะสม ต่อบล็อกเป็นรูปต่ำงๆ ประดิษฐ์
สิ่งของต่ำงๆ อย่ำงอสิ ระทีแ่ สดงถงึ ควำมแปลกใหม่
(๓) กำรสร้ำงสรรค์ช้ินงำนโดยใช้รูปร่ำง รูปทรงจำก ระบำยสีสร้ำงภำพ ฉีก ตัด ปะ ประดิษฐ์ หรือปั้น โดยใช้
วสั ดุทีห่ ลำกหลำย รปู ร่ำง รปู ทรงตำ่ งๆ จำกวัสดทุ ่ีแตกตำ่ งกัน ท้ังวสั ดทุ ้องถ่ิน
วัสดธุ รรมชำติ และวัสดเุ หลอื ใช้
๑.๔.๔ เจตคตทิ ดี่ ีต่อกำรเรยี นรแู้ ละกำรแสวงหำควำมรู้
(๑) กำรสำรวจสิ่งต่ำงๆ และแหลง่ เรียนรรู้ อบตวั สำรวจ สังเกต และบันทึกสิ่งต่ำงๆ ที่พบท้ังในห้องเรียน
(๒) กำรตั้งคำถำมในเรอ่ื งทีส่ นใจ และนอกห้องเรียน เช่น สำรวจสิ่งของเครื่องใช้ในห้อง
สำรวจของเล่นในมุมประสบกำรณ์ สำรวจหนังสือ ในมุม
หนงั สือ สำรวจเคร่ืองเล่นในสนำม สำรวจขนม และอำหำร
ทขี่ ำยในโรงเรียน สำรวจสงิ่ มชี วี ติ และไม่มชี วี ิต ในโรงเรียน
สำรวจยำนพำหนะ ไปทัศนศึกษำตำมสถำนที่ ต่ำงๆ เช่น
สวนสัตว์ สวนสำธำรณะ ตลำด พิพิธภัณฑ์ และแหล่ง
เรยี นรอู้ ่ืนๆ
- ต้ังคำถำมจำกนิทำนท่ีฟังหรือเร่ืองท่ีสนใจ เช่น ชอบตัว
ละครใดมำกที่สุด ฉำก ลำดับเหตุกำรณ์ ปัญหำ และ
วธิ แี กไ้ ข - ต้ังคำถำมจำกส่งิ ที่พบจำกกำรสังเกต กำรสำรวจ
หรอื กำรทำกจิ กรรมต่ำงๆ เช่น กำรสังเกตสงิ่ ต่ำงๆ รอบตัว
กำรไปทัศนศึกษำ กำรทำอำหำร กำรเล้ียงสัตว์ กำรปลูก
๕๔
ประสบกำรณ์สำคัญ(ด้ำนสติปัญญำ) ตวั อยำ่ งประสบกำรณ์
พืช กำรทดลองอย่ำงง่ำยๆ กำรสนทนำกับวิทยำกร ภูมิ
ปญั ญำ ท้องถิ่น หรอื ผูป้ กครอง
(๓) กำรสืบเสำะหำควำมรู้เพ่ือค้นหำคำตอบของ ข้อ - ระบุหรือเลือกคำถำมที่สำมำรถหำคำตอบได้ ร่วมกับ ครู
สงสัยต่ำงๆ และเพื่อนในกำรวำงแผนและลงมือสำรวจตรวจสอบ เก็บ
รวบรวม และบันทึกข้อมูลด้วยวิธีกำรต่ำงๆ ลงควำมเห็น
จำกข้อมูลเพื่ออธิบำยส่ิงท่ีพบ และนำเสนอสื่อสำรสิ่งท่ีพบ
เพื่อตอบคำถำมท่ีต้งั เอำไว้
- รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีกำรต่ำงๆ เช่น สังเกตโดยใช้
ประสำทสัมผัสหรือใช้เครื่องมืออย่ำงง่ำย เช่น แว่นขยำย
เครื่องชั่งสองแขนอย่ำงง่ำย อุปกรณ์ในกำรวัดควำมยำว
หรือตวง สำรวจ จำแนก เปรียบเทียบ ทำกำรทดลอง
อย่ำงง่ำยๆ สืบค้นข้อมูล สอบถำมผู้รู้ และบันทึกข้อมูล
ด้วยวิธีกำรต่ำงๆ เช่น วำดภำพ ทำสัญลักษณ์ ถ่ำยภำพ
นำตัวอยำ่ งของจรงิ มำตดิ ลงในกระดำษ
- นำเสนอข้อมูลด้วยรูปแบบต่ำงๆ เช่น พูดบอกเล่ำ หรือ
อธิบำยประกอบภำพวำดหรือภำพถ่ำยที่บันทึกไว้ แสดง
บทบำทสมมติ เช่น บทบำทสมมติแสดงท่ำทำง เลียนแบบ
พฤติกรรมของสัตว์ที่ไปสังเกตพบ ทำแบบจำลอง เช่น
แบบจำลองของสัตว์หรือพืชท่ีสังเกตพบ ร่วมกับ ครูและ
เพื่อนในกำรทำแผนผงั ผังควำมคิด แผนภมู ิ อยำ่ งงำ่ ย เชน่
แผนภูมิรูปภำพแสดงชนิดและจำนวน ของยำนพำหนะที่
สำรวจไดใ้ นบรเิ วณโรงเรยี น
๒. สำระทค่ี วรเรยี นรู้
สำระที่ควรเรียนรู้ เป็นเร่ืองรำวรอบตัวเด็กท่ีนำมำเป็นสื่อกลำงในกำรจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิด
หลังจำกสำระกำรเรียนรู้นั้น ๆ มำจัดประสบกำรณ์ให้เด็ก เพ่ือให้บรรลุจัดหมำยที่กำหนดไว้ท้ังน้ี ไม่เน้นกำร
ท่องจำเนื้อหำ ครูสำมำรถกำหนดรำยละเอียดขนึ้ เองให้สอดคลอ้ งกับวยั ควำมต้องกำรและควำมสนใจของเด็ก
โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่ำนประสบกำรณ์สำคัญ ท้ังน้ี อำจยืดหยุ่นเน้ือหำได้โดยคำนึงถึงประสบกำรณ์และ
ส่งิ แวดลอ้ มในชีวิตจริงของเด็ก ดงั น้ี
๒.๑ เรื่องรำวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จักช่ือ นำมสกุล รูปร่ำงหน้ำตำ รู้จักอวัยวะต่ำงๆ วิธีระวัง
รักษำร่ำงกำยให้สะอำดและมีสุขภำพอนำมัยที่ดี กำรรับประทำนอำหำรท่ีเป็นประโยชน์ กำรระมัดระวังควำม
ปลอดภัยของตนเองจำกผู้อื่นและภัยใกล้ตัว รวมท้ังกำรปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่ำงปลอดภัยกำรรู้จักควำมเป็นมำของ
ตนเองและครอบครัว กำรปฏิบัติตนเป็นสมำชิกท่ีดีของครอบครัวและโรงเรียน กำรเคำรพสิทธิของตนเองและ
ผู้อ่ืน กำรรู้จักแสดงควำมคิดเห็นของตนเองและรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น กำรกำกับตนเอง กำรเล่นและทำ
สิ่งต่ำงๆด้วยตนเองตำมลำพงั หรือกับผู้อนื่ กำรตระหนกั รเู้ กยี่ วกับตนเอง ควำมภำคภมู ิใจในตนเอง กำรสะท้อน
กำรรับรู้อำรมณ์และควำมรู้สึกของตนเองและผู้อ่ืน กำรแสดงออกทำงอำรมณ์และควำมรู้สึกอย่ำงเหมำะสม
กำรแสดงมำรยำทท่ีดี กำรมีคุณธรรมจรยิ ธรรม
๕๕
๒.๒ เรื่องรำวเก่ียวกับบุคคลและสถำนท่ีแวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัวสถำนศึกษำ
ชุมชน และบุคคลต่ำงๆ ท่ีเด็กต้องเก่ียวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวันสถำนทีสำคัญ วัน
สำคัญ อำชีพของคนในชุมชน ศำสนำ แหล่งวัฒนำธรรมในชมุ ชน สัญลักษณ์สำคัญของชำติไทยและกำรปฏิบตั ิ
ตำมวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ และควำมเปน็ ไทย หรอื แหล่งเรียนร้จู ำกภูมิปัญญำทอ้ งถิ่นอ่ืนๆ
๒.๓ ธรรมชำติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับช่ือ ลักษณะ ส่วนประกอบ กำรเปล่ียนแปลงและ
ควำมสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนกำรรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้ำ สภำพอำกำศ ภัยธรรมชำติ แรง
และพลังงำนในชวี ิตประจำวันทแี่ วดลอ้ มเดก็ รวมท้ังกำรอนรุ ักษ์สิง่ แวดลอ้ มและกำรรกั ษำสำธำรณสมบตั ิ
๒.๔ ส่ิงต่ำงๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับกำรใช้ภำษำเพื่อส่ือควำมหมำยในชีวิตประจำวัน
ควำมรู้พื้นฐำนเก่ียวกับกำรใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนำด รูปร่ำง รูปทรง
ปริมำตร น้ำหนัก จำนวน ส่วนประกอบ กำรเปลี่ยนแปลงและควำมสัมพันธ์ของสิ่งต่ำงๆรอบตัว เวลำ เงิน
ประโยชน์ กำรใช้งำน และกำรเลือกใช้สิ่งของเคร่ืองใช้ ยำนพำหนะ กำรคมนำคม เทคโนโลยีและกำรสื่อสำร
ตำ่ งๆ ที่ใช้อยู่ในชวี ิตประจำวันอย่ำงประหยดั ปลอดภยั และรกั ษำสิ่งแวดล้อม
กรอบสำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ
วัดม่วง
เป็นวัดเก่ำแก่ ตำมประวัติบอกไวใ้ นคัมภีร์ใบลำนเขยี นด้วยอักษรมอญว่ำ มีอำยอุ ยใู่ นปลำยสมัยกรุงศรี
อยุธยำ ในชว่ งเวลำนน้ั ชมุ ชนบ้ำนม่วงและบรเิ วณสองฝ่ังลุ่มแม่นำ้ แม่กลอง มีกลุ่มชำวบำ้ นส่วนใหญ่เป็นคนเชื้อ
สำยมอญ อยู่ร่วมกันกับกลุ่มชนอ่ืน เช่น ไทย จีน ลำว ญวน เขมรและกะเหร่ียง มีกำรผสมผสำนแลกเปลี่ยน
วัฒนธรรมระหว่ำงกัน เกิดเป็นเอกลักษณ์ของคนในท้องถิ่นและควำมที่ชุมชนบ้ำนม่วงมีวิถีชีวิตผูกผันอยู่กับ
ประเพณีและควำมเช่ือด่ังเดิม ทำให้ชุมชนแห่งนี้เป็นขุมทรัพย์ทำงควำมรู้ด้ำนมอญศึกษำแก่ผู้สนใจมำกมำย
สถำนท่ีท่ีน่ำสนใจของวัดม่วงเป็นวัดที่มีพระอุโบสถหน้ำบันปูนป้ัน ลวดลำยเรขำคณิตระบำยสีคล้ำยรูปมังกร
กรอบประตู เขยี นเปน็ รปู ซ้มุ บำนประตเู ป็นไม้มภี ำพเขยี นสเี ปน็ ทวำรบำลรูปยกั ษ์ยนื ถืออำวธุ เหยยี บอยู่บนสัตว์
พำหนะ บนผนังด้ำนหน้ำพระอุโบสถมีภำพจิตรกรรม พระอุโบสถวัดม่วงสร้ำงขึ้นในปี พ.ศ. 2427 ซ่ึงตรงกับ
รชั สมัยของพระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอย่หู วั ร.5
พิพธิ ภณั ฑ์พน้ื บ้ำนวดั ม่วง
ต้ังอยู่ภำยในวัดม่วง ตำบลบ้ำนม่วง ริมแม่น้ำแม่กลอง วัดม่วงเป็นวัดเก่ำแก่ ตำมประวัติบอกไว้ใน
คัมภีร์ใบลำนเขียนด้วยอักษรมอญว่ำ มีอำยุอยู่ในปลำยสมัยกรุงศรีอยุธยำ ในช่วงเวลำนั้น ชุมชนบ้ำนม่วงและ
บริเวณสองฝั่งลุ่มแม่น้ำแม่กลอง มีกลุ่มชำวบ้ำนส่วนใหญ่เป็นคนเชื้อสำยมอญ อยู่ร่วมกันกับกลุ่มชนอื่น เช่น
ไทย จีน ลำว ญวน เขมรและกะเหร่ียง มีกำรผสมผสำนแลกเปล่ียนวัฒนธรรมระหว่ำงกัน เกิดเป็นเอกลักษณ์
ของคนในท้องถ่ินและควำมท่ีชุมชนบ้ำนม่วงมีวิถีชีวิตผูกผันอยู่กับประเพณีและควำมเช่ือดั่งเดิม ทำให้ชุมชน
แห่งนี้เป็นขุมทรัพย์ทำงควำมรู้ด้ำนมอญศึกษำแก่ผู้สนใจมำกมำย พิพิธภัณฑ์แห่งน้ีเป็นแหล่งค้นคว้ำรวบรวม
ประวัติควำมเป็นมำ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นชำวมอญตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แบ่งกำรจัดแสดง
ออกเปน็ ห้องต่ำงๆ สำมำรถเขำ้ ใจเร่อื งรำวไดง้ ำ่ ยโดยเร่มิ จำก หอ้ งโถง มอญในตำนำน มอญในทำประวตั ิศำสตร์
ภำษำมอญและจำรึกภำษำมอญ ประเพณีวัฒนธรรมมอญ มอญอพยพ มอญในไทยและผู้นำทำงวัฒนธรรม มี
กำรจดั แสดงโบรำณวัตถุ คัมภีรใ์ บลำนทีเ่ ขียนด้วยอักษรมอญมีอำยุกว่ำ 300 ปี เสอ้ื ผ้ำข้ำวของเครื่องใช้ต่ำงๆ
ที่บ่งบอกถึงมรดกทำงภูมิปัญญำท้องถิ่นท่ีน่ำสนใจ ให้ควำมรู้เกี่ยวกับควำมสำคัญของลุ่มน้ำแม่กลองในอดีต
ควำมสัมพันธ์ด้ำนเศรษฐกิจสังคม วัฒนธรรมของชุมชนบ้ำนม่วงกับชุมชนในเขตอำเภอบ้ำนโป่งและอำเภอโพ
ธำรำม
๕๖
ประเพณีสงกรำนต์ ชำวไทยและมอญกำหนดให้วันสงกรำนต์ เป็นวันขึ้นปีใหม่ ตรงกับวันท่ี ๑๓ -๑๕ เมษำยน
ของทุกปี เช่นกัน อันเป็นระยะเวลำที่ชำวมอญจะร่วมประกอบประเพณีทำงศำสนำอย่ำงพร้อมเพรียงกันถึง ๓
วนั
ประเพณแี หป่ ลำ
มีกำรนำปลำหมอ ปลำดุก ใส่ขวดโหลแล้วเดินแห่ไปทำงถนนรอบหมู่บ้ำนเพ่ือไปปล่อยในแหล่งน้ำท่ี
อดุ มสมบูรณ์
พธิ รี ำผีมอญ
พิธีรำผี ถือเป็นพิธีกรรมทำงครอบครัว มีสำเหตุมำจำกกำรผิดผี คือ เม่ือมีคนเข้ำมำพักท่ีบ้ำนและ
เจำ้ ของบ้ำนเกิดเจบ็ ปว่ ยในระหว่ำงนั้น ถอื วำ่ ผีโกรธเจำ้ ของเรือน ต้องทำกำรบนบำนศำลกล่ำว โดยเอำน้ำมำรด
ท่ีเสำเอก และกลำ่ วอโหสกิ รรมต่อผี รวมทง้ั จดั พิธีเลี้ยงผดี ้วย
กำรเล่นสะบำ้
แบ่งผู้เล่นออกเป็นฝ่ำยหญิงกับชำยในจำนวนท่ีเท่ำกัน และใช้ลูกสะบ้ำ ซ่ึงทำด้วยไม้ลักษณะกลม ๆ
แบน ๆ สำหรับทอย หรือเขย่งเตะ หรือโยนด้วยเท้ำแล้วแต่โอกำส เป็นเครื่องมือประกอบกำรเล่นกะให้ถูกคู่
เลน่ ของตน เพอ่ื จะไดอ้ อกมำเล่นกันเปน็ คู่ตอ่ ไป
ลอยกระทงสำย
เป็นประเพณีตำมแบบอย่ำงของชำวมอญที่สืบทอดกันมำ เป็นกำรประดิษฐ์กระทงขึ้นมำจำกกระดำษ
ท่ีคิดคน้ มำจำกภมู ปิ ัญญำชำวบำ้ น กระทงจะลอยเป็นเส้นสำยสวยงำม
หลกั คำ่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร
๑. รักชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตรยิ ์
๒. ซื่อสตั ย์ เสยี สละ อดทน
๓. กตัญญตู ่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครูบำอำจำรย์
๔. ใฝ่หำควำมรู้ หม่ันศกึ ษำเล่ำเรยี นทั้งทำงตรงและทำงออ้ ม
๕. รักษำวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงำม
๖. มศี ลี ธรรม รักษำควำมสตั ย์ หวังดตี อ่ ผอู้ ื่น เผอ่ื แผ่และแบ่งปนั
๗. เข้ำใจเรียนรู้กำรเป็นประชำธปิ ไตยอนั มีพระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ที่ถกู ต้อง
๘. มีระเบียบวินัยเคำรพกฎหมำยผู้นอ้ ยรจู้ ักเคำรพผใู้ หญ่
๙. มสี ติ รตู้ วั ร้คู ิด รทู้ ำ ร้ปู ฏบิ ัตติ ำมพระรำชดำรสั ของพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยู่หัว
๑๐. ร้จู กั ดำรงตนอยโู่ ดยใช้ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
๑๑. มีควำมเข้มแข็งท้งั รำ่ งกำยและจิตใจไม่ยอมแพต้ ่ออำนำจฝ่ำยตำ่ หรือกิเลส
๑๒. คำนึงผลประโยชนข์ องส่วนรวมและต่อชำตมิ ำกกว่ำผลประโยชนข์ องตนเอง
๕๗
หลกั ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง
เป็นปรัชญำที่พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงมีพระรำชดำรัสช้ีแนะแนวทำงกำรดำเนนิ ชีวิตแก่พสกนิกรชำว
ไทย เป็นปรัชญำชี้ถึงแนวกำรดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชำชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชนจนถงึ ระดับรฐั ท้ังในกำรพัฒนำ และบริหำรประเทศให้ดำเนนิ ไปใน ทำงสำยกลำง โดยเฉพำะกำรพัฒนำ
เศรษฐกิจเพื่อให้ก้ำวทันต่อโลกยุคโลกำภิวัฒน์ ชี้แนะแนวทำงกำรดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทำงที่ควรจะเป็น
โดยมีพื้นฐำนมำจำกวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลำและเป็นกำรมองโลก
เชิงระบบท่ีมีกำรเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลำมุ่งเน้นกำรรอดพ้นจำกภัยและวิกฤติเพ่ือควำมม่ันคงและควำม
ยั่งยนื ของกำรพัฒนำ ควำมพอเพียงหมำยถึง ควำมพอประมำณ ควำมมีเหตผุ ล รวมถงึ ควำมจำเป็นที่จะต้องมี
ระบบภมู ิค้มุ กันในตวั ท่ีดีและต้องประกอบไปด้วยสองเงื่อนไขคอื เงอื่ นไขควำมรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม
ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย ๕ สว่ น ดงั น้ี
ขอ้ ท่ี ๑. กรอบแนวคิด เปน็ ปรัชญำทช่ี ีแ้ นะแนวทำงกำรดำรงอยู่ และปฏบิ ัตติ นในทำงทีค่ วรจะเป็น โดย
มีพ้ืนฐำนมำจำกวถิ ชี ีวติ ด้งั เดิมของสังคมไทย สำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ไดต้ ลอดเวลำ และเป็นกำรมองโลกเชิง
ระบบท่มี ีกำรเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลำ และเปน็ กำรมองโลกเชิงระบบท่ีมกี ำรเปล่ยี นแปลงอยตู่ ลอดเวลำ
มุ่งเน้นกำรรอดพ้นจำกภยั และวิกฤต เพือ่ ควำมมั่นคง และควำมยง่ั ยนื ของกำรพัฒนำ
ข้อที่ ๒. คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สำมำรถนำมำประยุกตใ์ ชก้ บั กำรปฏิบตั ิตนไดใ้ นทุกระดับ โดย
เน้นกำรปฏิบัตบิ นทำงสำยกลำง และกำรพฒั นำอย่ำงเปน็ ข้ันตอน
ข้อท่ี ๓. คำนิยำม ควำมพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คณุ ลกั ษณะ ดงั นี้
๑.ควำมพอประมำณ หมำยถึง ควำมพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มำกเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผอู้ น่ื เช่นกำรผลิต และกำรบริโภคท่ีอย่ใู นระดบั พอประมำณ
๒.ควำมมีเหตุผล หมำยถึง กำรตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของควำมพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่ำงมี
เหตุผล โดยพิจำรณำจำกเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นจำกกำรกระทำน้ัน ๆ
อยำ่ งรอบคอบ
๓.กำรมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมำยถึง กำรเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และกำรเปล่ียนแปลงด้ำน
ตำ่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ขนึ้ โดยคำนึงถงึ ควำมเปน็ ไปได้ของสถำนกำรณ์ ต่ำง ๆ ท่คี ำดว่ำจะเกดิ ขึ้นในอนำคตทงั้ ใกล้ และ
ไกล
ข้อที่ ๔. เงื่อนไข กำรตัดสินใจและกำรดำเนินกิจกรรมต่ำง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงน้ัน ต้องอำศัยทั้ง
ควำมรู้ และคณุ ธรรมเป็นพืน้ ฐำน ๒ เง่ือนไข ดังน้ี
๑.เง่ือนไขควำมรู้ ประกอบดว้ ย ควำมรอบรู้เกย่ี วกับวชิ ำกำรต่ำง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องอย่ำงรอบด้ำน
ควำมรอบคอบที่จะนำควำมรู้เหล่ำน้ันมำพิจำรณำให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบกำรวำงแผน และควำม
ระมัดระวงั ในขน้ั ปฏบิ ตั ิ
๒.เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้ำงประกอบด้วย มีควำมตระหนักในคุณธรรม มีควำม
ซอ่ื สัตยส์ ุจริต และมคี วำมอดทน มีควำมเพยี ร ใช้สติปัญญำในกำรดำเนนิ ชีวติ
๕๘
ข้อท่ี ๕. แนวทำงปฏิบัติ / ผลท่ีคำดว่ำจะได้รับ จำกกำรนำปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงมำประยุกต์ใช้
คอื กำรพัฒนำทสี่ มดุล และยง่ั ยนื พร้อมรับตอ่ กำรเปลี่ยนแปลงในทุกด้ำน ทั้งดำ้ นเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม
ควำมรู้ และเทคโนโลยี
๕๙
กำรจดั ประสบกำรณ์
กำรจดั ประสบกำรณส์ ำหรับเด็กวัย ๔-๖ ปี จะจัดในรูปแบบของกิจกรรมบรู ณำกำรผ่ำนกำรเลน่ ดว้ ยกำร
ปฏิบัติจริงโดยใช้ประสำทสัมผัสท้ังห้ำ เพ่ือให้เด็กได้รับประสบกำรณ์ตรง เกิดควำมรู้ ทักษะและเจตคติ ในกำร
เรียนรู้ ได้พัฒนำท้ังด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญำ ดังน้ันกำรจัดกิจกรรมจะต้อง ครอบคลุม
ประสบกำรณ์สำคัญและสำระท่ีควรเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช ๒๕๖๐
(ปรับปรุง พุทธศักรำช๒๕๖๓)
กำรจัดประสบกำรณ์ควรยึดหยุ่นให้มีสำระที่ควรเรียนรู้ที่เด็กสนใจและกำรกำหนดกิจกรรมให้เด็ก ในแต่
ละวันไม่จัดเป็นรำยวิชำ และอำจใช้ช่ือเรียกกิจกรรมแตกต่ำงกันไปในแต่ละหน่วยงำน กำรนำแนวคิดกำรจัด
กำรศึกษำปฐมวัยต่ำงๆมำประยุกต์ใช้ในกำรจัดประสบกำรณ์ ผู้สอนต้องทำควำมเข้ำใจแนวคิดกำรจัด
กำรศึกษำปฐมวัยนั้นๆ ซ่ึงแต่ละแนวคิดกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัยจะมีจุดเด่นของตนเอง แต่โดยภำพรวมแล้ว
แนวคิดกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัยส่วนใหญ่ยึดเด็กเป็นสำคัญ กำรลงมือปฏิบัติจริงด้วยตัวเด็กจึงเป็นหัวใจสำคญั
ของกำรพัฒนำเด็กโดยองค์รวม นอกจำกนี้ผู้สอนต้องศึกษำและทำควำมเข้ำใจในหลักกำรจัดประสบกำร ณ์
แนวกำรจดั ประสบกำรณ์ และกำรจดั กิจกรรมประจำวัน เพ่ือน ำหลกั สูตรสถำนศึกษำลงสกู่ ำรปฏิบตั ิ ดังนี้
หลกั กำรจดั ประสบกำรณ์
หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยโรงเรียนวดั ม่วง พุทธศักรำช ๒๕๖๐ (ปรับปรุงพุทธศักรำช ๒๕๖๓) ได้กำหนด
หลกั กำรจัดประสบกำรณไ์ ว้ ดังน้ี
๑.จัดประสบกำรณ์กำรเล่นและกำรเรียนรู้อย่ำงหลำกหลำย เพ่ือพัฒนำเด็กโดยองค์รวมอย่ำงสมดุล
และต่อเนื่อง
๒.เน้นเด็กเป็นสำคัญ สนองควำมต้องกำร ควำมสนใจ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลและบริบทของ
สงั คมทเี่ ดก็ อำศยั อยู่
๓. จัดใหเ้ ดก็ ไดร้ ับกำรพัฒนำ โดยใหค้ วำมสำคัญทง้ั ดำ้ นกระบวนกำรเรยี นรู้และพฒั นำกำรของเด็ก
๔.จัดกำรประเมินพัฒนำกำรให้เป็นกระบวนกำรอย่ำงต่อเนื่อง และเป็นส่วนหน่ึงของกำรจัด
ประสบกำรณ์ พรอ้ มทงั้ นำผลกำรประเมนิ มำพัฒนำเด็กอย่ำงต่อเน่ือง
๕.ใหพ้ ่อแม่ ครอบครวั ชุมชน และทุกฝำ่ ยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง มสี ว่ นรว่ มในกำรพัฒนำเด็ก
แนวทำงกำรจัดประสบกำรณ์
กำรจัดประสบกำรณส์ ำหรับเด็กปฐมวัย ควรดำเนนิ กำรตำมแนวทำงดงั ต่อไปนี้
๑.จัดประสบกำรณ์ให้สอดคล้องกับจิตวทิ ยำพัฒนำกำรและกำรทำงำนของสมอง ที่เหมำะสมกับ อำยุ
วฒุ ิภำวะ และระดับพัฒนำกำร เพื่อให้เดก็ ทุกคนไดพ้ ัฒนำเตม็ ตำมศักยภำพ
๒.จัดประสบกำรณ์ให้สอดคล้องกับแบบกำรเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทำเรียนรู้ผ่ำน ประสำท
สมั ผสั ทัง้ ห้ำ ได้เคลอ่ื นไหว สำรวจ เลน่ สงั เกต สืบคน้ ทดลอง และคิดแก้ปญั หำด้วยตนเอง
๓. จดั ประสบกำรณ์แบบบูรณำกำร โดยบรู ณำกำรท้งั กิจกรรม ทักษะ และสำระกำรเรียนรู้
๔.จัดประสบกำรณ์ให้เดก็ ได้คิดริเร่ิม วำงแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทำและนำเสนอควำมคิด โดยผู้สอน
หรอื ผ้จู ัดประสบกำรณ์เปน็ ผู้สนบั สนนุ อำนวยควำมสะดวก และเรยี นรู้รว่ มกับเด็ก
๕. จดั ประสบกำรณใ์ ห้เด็กมีปฏสิ มั พนั ธ์กับเด็กอ่นื กบั ผใู้ หญ่ ภำยใตส้ ภำพแวดล้อมที่เอ้อื ต่อ กำรเรยี นรู้
ในบรรยำกำศทีอ่ บอุ่น มีควำมสขุ และเรยี นรูก้ ำรทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลกั ษณะต่ำงๆ
๖๐
๖.จดั ประสบกำรณ์ใหเ้ ด็กมีปฏสิ ัมพันธก์ ับสอ่ื และแหล่งกำรเรยี นรทู้ ห่ี ลำกหลำยและอยู่ในวิถชี ีวิต
ของเด็ก สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท สังคม และวัฒนธรรมท่ีแวดล้อมเด็ก
๗.จดั ประสบกำรณท์ ส่ี ง่ เสริมลักษณะนสิ ัยทีด่ ีและทักษะกำรใชช้ วี ติ ประจำวนั ตำมแนวทำง หลกั
ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และกำรมีวนิ ยั ให้เป็นสว่ น
หนง่ึ ของ กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรูอ้ ย่ำงต่อเนือ่ ง
๘.จัดประสบกำรณ์ทั้งในลักษณะที่มีกำรวำงแผนไว้ลว่ งหน้ำและแผนทเ่ี กดิ ขึน้ ในสภำพจริง โดยไมไ่ ด้
คำดกำรณ์ไว้
๙.จดั ทำสำรนิทัศน์ดว้ ยกำรรวบรวมข้อมูลเก่ยี วกบั พฒั นำกำรและกำรเรียนรู้ของเดก็ เปน็ รำยบคุ คล
นำมำไตร่ตรองเพ่อื ใชป้ ระโยชนใ์ นกำรพัฒนำเดก็ และกำรวิจัยในชัน้ เรียน
๑๐.จัดประสบกำรณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชมุ ชนมีส่วนรว่ ม ทัง้ กำรวำงแผนกำรสนบั สนนุ สือ่
แหลง่ เรยี นรู้ กำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรม และกำรประเมินพฒั นำกำร
กำรจดั กจิ กรรมประจำวัน
กำรจัดประสบกำรณใ์ นกจิ กรรมประจำวันสำหรบั เด็กอำยุ ๓-๖ ปี สำมำรถนำมำจดั ไดห้ ลำยรูปแบบ ข้ึนอยู่
กับควำมเหมำะสมในกำรนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงำน ซ่ึงเป็นกำรช่วยให้ผู้สอนทรำบว่ำในแต่ละวันจะทำ
กิจกรรมอะไร เมื่อใด และอย่ำงไร และท่ีสำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงกำรจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนำกำร
ทกุ ดำ้ น กำรจดั กจิ กรรมประจำวันมีหลกั กำรจัดและขอบขำ่ ยของกจิ กรรม ดังนี้
หลักกำรจดั กจิ กรรมประจำวัน
กำรจดั กจิ กรรมประจำวันจะต้องคำนงึ ถึง อำยุ และควำมสนใจของเดก็ ในแต่ละช่วงวัยดังนี้
๑.กำรกำหนดระยะเวลำในกำรจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมำะสมกับวัยของเด็กใน แต่ละวัน แต่
ยดื หยุ่นไดต้ ำมควำมตอ้ งกำรและควำมสนใจของเดก็ เชน่
เดก็ วัย ๓-๔ ปี มคี วำมสนใจประมำณ ๘ - ๑๒ นำที
เด็กวยั ๔-๕ ปี มีควำมสนใจประมำณ ๑๒-๑๕ นำที
เด็กวัย ๕-๖ ปี มีควำมสนใจประมำณ ๑๕-๒๐ นำที
๒. กจิ กรรมท่ีตอ้ งใช้ควำมคดิ ทงั้ ในกลมุ่ เล็กและกลุ่มใหญ่ ไมค่ วรใชเ้ วลำตอ่ เน่ืองนำนเกินกว่ำ ๒๐ นำที
๓. กิจกรรมท่ีเด็กมีอิสระเลือกเล่นอย่ำงเสรี เพ่ือช่วยให้เด็กเรียนรู้กำรเลือก กำรตัดสินใจ กำรคิด
แก้ปัญหำ และควำมคดิ สร้ำงสรรค์ ใช้เวลำประมำณ ๔๐-๖๐ นำที เช่น กิจกรรมกำรเล่นตำมมุม กิจกรรม กำร
เล่นกลำงแจง้ กิจกรรมศลิ ปะสร้ำงสรรค์
๔.กิจกรรมควรมีควำมสมดุลระหว่ำงกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้กล้ำมเน้ือใหญ่ และกล้ำมเนื้อ
เล็ก กจิ กรรมท่เี ปน็ รำยบุคคล กลมุ่ ย่อย และกลมุ่ ใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเปน็ ผู้รเิ ร่ิมและผสู้ อนเป็น ผู้ริเริม่ กจิ กรรม
ทีใ่ ช้กำลงั และไม่ใช้กำลัง จัดใหค้ รบทกุ ประเภท ทั้งนก้ี จิ กรรมทต่ี ้องออกก ำลังกำยควรจดั สลับกับ กิจกรรมที่ไม่
ต้องออกกำลังมำกนกั เพอ่ื เดก็ จะไดไ้ มเ่ หนื่อยเกินไป
๖๑
ขอบข่ำยของกจิ กรรรมประจำวนั
กำรเลือกกจิ กรรมที่จะนำมำจัดในแต่ละวนั สำมำรถจัดไดห้ ลำยรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับควำม เหมำะสมใน
กำรนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงำนและสภำพชุมชน ที่สำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงกำรจัดกิจกรรมให้ ครอบคลุม
พฒั นำกำรทุกดำ้ นดังตอ่ ไปน้ี
กำรพฒั นำกลำ้ มเน้ือใหญ่
เป็นกำรพัฒนำควำมแข็งแรง กำรทรงตัว กำรยืดหยุ่น ควำมคล่องแคล่วในกำรใช้อวัยวะต่ำงๆ กำรปร ะสำน
สัมพันธ์ และจังหวะกำรเคลื่อนไหวในกำรใช้กล้ำมเนื้อใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นอิสระกลำงแจ้ง เล่น
เครอ่ื งเลน่ สนำม เลน่ ปนี ป่ำยอย่ำงอิสระ และเคลอ่ื นไหว ร่ำงกำยตำมจังหวะดนตรี
กำรพัฒนำกล้ำมเนอ้ื เล็ก
เป็นกำรพัฒนำควำมแข็งแรงของกล้ำมเน้ือมือ นิ้วมือ และ กำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงมือกับตำได้อย่ำง
คล่องแคล่ว โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเคร่ืองเล่นสัมผัส ฝึกช่วยเหลือตนเองในกำรแต่งกำย กำรหยิบจับ
สงิ่ ของ และอปุ กรณ์ตำ่ งๆ เช่น ชอ้ นสอ้ ม สเี ทียน กรรไกร พ่กู ัน ดินเหนียว
กำรพัฒนำอำรมณ์ จติ ใจ และปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม
เป็นกำรปลูกฝังให้เด็กมี ควำมรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีควำมเช่ือมั่น กล้ำแสดงออก มีวินัย
รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ประหยัด เมตตำ กรุณำ เอ้ือเฟื้อ แบ่งปัน มีมำรยำท และปฏิบัติตนตำมวัฒนธรรมไทยและ
ศำสนำที่นับถือ โดยจัดกิจกรรมต่ำงๆ ผ่ำนกำรเล่นให้เด็กได้มีโอกำสตัดสินใจเลือก ได้รับกำรตอบสนองตำม
ควำมตอ้ งกำร ได้ฝกึ ปฏบิ ตั โิ ดยสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรมอยำ่ งตอ่ เน่ือง
กำรพัฒนำสงั คมนสิ ยั
เป็นกำรพัฒนำให้เด็กมีลักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอย่ำงเหมำะสมและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่ำงมี
ควำมสุข ช่วยเหลือตนเองในกำรทำกจิ วตั รประจำวัน มนี ิสัยรกั กำรทำงำน รักษำควำมปลอดภยั ของตนเองและ
ผู้อื่น รวมทั้งระมัดระวังอันตรำยจำกคนแปลกหน้ำ ให้เด็กได้ปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันอย่ำงสม่ำเสมอ
รับประทำนอำหำร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่ำยทำควำมสะอำดร่ำงกำย เล่นและทำงำนร่วมกับผู้อ่ืน ปฏิบัติตำม
กฎกตกิ ำ ข้อตกลงของสว่ นรวม เก็บของเขำ้ ทเ่ี มอ่ื เล่นหรือทำงำนเสร็จ
กำรพฒั นำกำรคิด
เป็นกำรพัฒนำให้เด็กมีควำมสำมำรถในกำรคิดแก้ปัญหำกำรคิดรวบยอดและกำรคิดเชิงเหตุผลทำง
วทิ ยำศำสตรแ์ ละคณิตศำสตร์ โดยจดั กจิ กรรมใหเ้ ด็กไดส้ งั เกต จำแนก เปรียบเทยี บ สบื เสำะหำควำมรู้ สนทนำ
อภิปรำยแลกเปล่ียนควำมคิดเห็น เชิญวิทยำกรมำพูดคุยกับเด็กศึกษำนอกสถำนท่ี เล่นเกมกำรศึกษำ ฝึก
แก้ปัญหำในชีวิตประจำวัน ฝึกออกแบบและสร้ำงชิ้นงำน และ ทำกิจกรรมเป็นรำยบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม
ใหญ่
กำรพฒั นำภำษำ
เปน็ กำรพัฒนำให้เด็กใชภ้ ำษำในกำรสื่อสำรถ่ำยทอดควำมรสู้ ึก ควำมคดิ ควำมเขำ้ ใจในสงิ่ ต่ำงๆ ที่เด็ก
มีประสบกำรณ์ โดยสำมำรถต้ังคำถำมในสิ่งท่ีสงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรม ทำงภำษำให้มีควำมหลำกหลำยใน
สภำพแวดล้อมที่เอ้ือต่อกำรเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้ำแสดงออกใน กำรฟัง กำรพูด กำรอ่ำน กำรเขียน มี
นิสัยรักกำรอ่ำน และบุคคลแวดล้อมต้องเป็นแบบอย่ำงท่ีดีในกำรใช้ภำษำ ท้ังน้ีต้องคำนึงถึงหลักกำรจัด
กจิ กรรมทำงภำษำทเ่ี หมำะสมกับเด็ก
๖๒
กำรสง่ เสริมจนิ ตนำกำรและควำมคดิ สร้ำงสรรค์เป็นกำรสง่ เสริมให้เด็ก
ควำมคดิ รเิ ริม่ สร้ำงสรรค์ ได้ถ่ำยทอดอำรมณ์และควำมรู้สกึ และเหน็ ควำมสวยงำมของสง่ิ ตำ่ งๆ โดยจัดกจิ กรรม
ศิลปะสรำ้ งสรรค์ กำรเคลอื่ นไหวและจังหวะตำมจนิ ตนำกำร ประดษิ ฐ์สง่ิ ตำ่ ง ๆ อยำ่ งอิสระเล่นบทบำทสมมติ
เลน่ นำ้ เล่นทรำย เลน่ บล็อก และเล่นก่อสร้ำง
รูปแบบกำรจัดกิจกรรมประจำวัน
กำรจัดตำรำงกิจกรรมประจำวันสำมำรถจัดได้หลำยรูปแบบ ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับควำมเหมำะสมในกำร
นำไปใช้ของแต่ละหน่วยงำน ที่สำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงกำรจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนำกำรทุกด้ำน จึงขอ
เสนอแนะสัดสว่ นเวลำในกำรพัฒนำเด็กแตล่ ะวัน ดังน้ี
อำย๔ุ -๕ อำย๕ุ -๖
กำรพัฒนำ ช่วั โมง : วนั ชว่ั โมง : วัน
ประมำณ ประมำณ
๑. กจิ กรรมเคลือ่ นไหว ๓๐/นำที ๓๐/นำที
๒. กิจกรรมเสรมิ ประสบกำรณ์ ๑๑
๓. กจิ กรรมศิลปะสร้ำงสรรค์ ๓๐/นำที ๓๐/นำที
๔. กิจกรรมกลำงแจ้ง ๓๐/นำที ๓๐/นำที
๕. กิจกรรมเสรี ๑๑
๖. กจิ กรรมเกมกำรศกึ ษำ ๑๑
๗. สรุปกิจกรรมประจำวัน ๓๐/นำที ๓๐/นำที
จำกตำรำงกิจกรรมประจำวัน ผู้สอนตอ้ งจดั กจิ กรรมโดยคำนงึ ถงึ ประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี
๑. กำรจัดสดั สว่ นของเวลำในแตล่ ะวันท่ีเสนอไว้สำมำรถปรับและยดื หยนุ่ ได้ ทั้งน้ี ขึน้ อยู่กบั ผู้สอนและ
สภำพกำรณ์ โดยยดึ หลักกำรจัดกจิ กรรมประจำวัน
๒. กำรจดั กิจกรรมประจำวนั ควรจดั เพ่อื สง่ เสรมิ ทักษะพน้ื ฐำนในชวี ติ ประจำวนั ของเด็ก โดยผูส้ อนต้อง
ให้ ควำมสำคัญในกำรส่งเสริมให้เด็กได้ใช้กล้ำมเน้ือเล็กในกำรหยิบ จับ วัสดุต่ำงๆเพ่ือช่วยเหลือตนเองในกำร
ปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันและถือเป็นส่วนหน่ึงของกำรเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเช่น เด็กอำยุ ๓ ปีต้องให้เวลำใน
กำรทำกิจวัตรประจำวันมำกและเมื่อเด็กอำยุมำกข้ึนเวลำที่ทำกิจวัตรประจำวันจะน้อยลงตำมลำดับเนื่องจำก
เดก็ ชว่ ยเหลือตนเองไดม้ ำกข้นึ
๓. กำรจัดกิจกรรมพัฒนำกล้ำมเนื้อใหญ่ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กมีร่ำงกำยแข็งแรง มีกำรทรงตัวที่ดี
มีกำรยืดหยุ่นและควำมคล่องแคลว่ ในกำรใช้อวยั วะต่ำง ๆ ตำมจังหวะกำรเคล่อื นไหวและกำรประสำนสัมพนั ธ์
กนั
๔. กำรจัดกิจกรรมกำรเล่นอิสระเสรี เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับเด็กปฐมวัย ช่วยให้เด็กเลือก
ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหำ คิดสร้ำงสรรค์ในแต่ละวันเด็กทุกวัยควรมีโอกำสเล่นอิสระกลำงแจ้งอย่ำงน้อย
๑ ช่วั โมง : วนั
๕. กำรคิดและควำมคิดสร้ำงสรรค์ ทำให้เด็กเกิดควำมคิดรวยยอด กำรคิดเชิงเหตุผล มีควำมสำมำรถ
ในกำรแก้ปัญหำและตดั สินใจ มีจินตนำกำรและควำมคิดสร้ำงสรรค์
๖. กิจกรรมพัฒนำทักษะทำงสังคม เป็นกิจกรรมท่ีเด็กได้พัฒนำลักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอย่ำง
เหมำะสม มีปฏิสัมพันธ์และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่ำงมีควำมสุข เด็กท่ีอำยุน้อยยังยึดตัวเองเป็นศูนย์กลำง ดังน้ัน
๖๓
กำรให้เวลำ ในช่วงวัย ๓-๔ ปีจึงให้เวลำน้อยในกำรทำกิจกรรมกลุ่ม เน่ืองจำกเด็กยังยึดตนเองเป็นศูนย์กลำง
และจะเพ่ิมเวลำเม่อื เด็กอำยมุ ำกขึน้ เพรำะเด็กต้องกำรเวลำในกำรเล่นและทำกจิ กรรมร่วมกบั คนอื่นมำกขน้ึ
๗. กิจกรรมท่ีมีกำรวำงแผนโดยครูผู้สอน ให้คิดรวบยอดโดยครูผู้สอน จะช่วยให้เด็กเกิดทักษะหรือ
ควำมคิดรวบยอดในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งตำมสำระกำรเรียนรู้ท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตร เช่นผู้สอนต้องกำรให้เกิด
ควำมคิดรวบยอดเกี่ยวกับน้ำ ผู้สอนต้องวำงแผนกิจกรรมล่วงหน้ำ เวลำท่ีใช้ในแต่ละวันท่ีกำหนดไว้ ๓/๔
ชั่วโมง (๔๕ นำที) ทั้งนี้มิได้หมำยควำมว่ำให้ผสู้ อนสอนต่อเนือ่ ง ๔๕ นำทีใน ๑กิจกรรม ผู้สอนต้องพิจำรณำวำ่
เด็กมีช่วงควำมสนใจส้ันตำมพัฒนำกำร จำเป็นต้องจัดแบ่งเวลำเป็นหลำยช่วงและในหลำกหลำยกิจกรรม
กิจกรรมทต่ี อ้ งใช้ควำมคิดท้ังในกลมุ่ เล็กและกลมุ่ ใหญ่ ไม่ควรใช้เวลำต่อเนอื่ งนำนกวำ่ ๒๐ นำที
แนวทำงกำรจดั กิจกรรมประจำวนั
กำรจัดกิจกรรมประจำวัน ครูสำมำรถนำไปปรับใช้ได้ หรือนำนวัตกรรมต่ำงๆมำปรับใช้ในกำรจัด
กจิ กรรมประจำวนั ใหเ้ หมำะสมกับสภำพแวดลอ้ มของสถำนศึกษำ โดยมีแนวทำงในกำรจดั
กิจกรรม และ กำรใช้สือ่ ดงั นี้
กิจกรรมเคลื่อนไหว
กำรเคล่ือนไหวและจงั หวะ เป็นกิจกรรมทจ่ี ัดใหเ้ ด็กได้เคล่ือนไหวสว่ นต่ำงๆ ของรำ่ งกำยอยำ่ ง อสิ ระตำมจังหวะ
โดยใช้เสียงเพลง คำคลอ้ งจอง เครื่องเคำะจังหวะ และอุปกรณอ์ ื่นๆ มำประกอบกำร เคลอ่ื นไหว ซึ่งจังหวะและ
เครื่องดนตรีประกอบ ได้แก่ กำรปรบมือ กำรร้องเพลง กำรเคำะไม้ กรุ้งกริ่ง รำมะนำ กลอง กรับ เพ่ือส่งเสริม
ให้เด็กพัฒนำกล้ำมเน้ือใหญ่และกล้ำมเน้ือเล็กอำรมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญำ เกิดจินตนำกำร ควำมคิด
สรำ้ งสรรค์ สอดคล้องกบั จุดประสงคด์ งั น้ี
จุดประสงค์
๑. เพ่อื พฒั นำอวัยวะทุกส่วนให้มีควำมสมั พนั ธก์ ันอยำ่ งดีในกำรเคล่ือนไหว
๒. เพ่ือฝึกทักษะภำษำ ฝึกฟังคำสงั่ และข้อตกลง
๓. เพ่อื ฝกึ ให้เกดิ ทักษะในกำรฟงั ดนตรี หรือจังหวะต่ำง ๆ
๔. เพอ่ื ใหเ้ กิดควำมซำบซง้ึ และสนุ ทรยี ภำพ
๕. เพือ่ ฝกึ ควำมจำและเสริมสรำ้ งประสบกำรณ์
๖. เพอ่ื ฝึกกำรเปน็ ผ้นู ำและผู้ตำมท่ีดี
๗. เพ่อื พฒั นำด้ำนสังคม กำรปรบั ตวั และควำมรว่ มมือในกลมุ่
๘. เพอ่ื ให้โอกำสเดก็ ได้แสดงออก มคี วำมเช่ือมน่ั ในตนเอง และควำมคิดริเรม่ิ สรำ้ งสรรค์
๙. เพ่ือให้เกดิ ควำมสนกุ สนำน ผอ่ นคลำยควำมตึงเครยี ดท้ังร่ำงกำยและจติ ใจ
ขอบขำ่ ยของกำรจดั กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ
๑. กำรเคลอื่ นไหวร่ำงกำย
๒. กำรฟังสญั ญำณและกำรปฏบิ ตั ติ ำมข้อตกลง
๓. กำรฝึกกำรเปน็ ผนู้ ำและผู้ตำมทด่ี ี
๔. กำรฝกึ จินตนำกำรและควำมคดิ สรำ้ งสรรค์
๕. ควำมมีระเบียบวนิ ัย
๖. กำรเรยี นรู้จังหวะ
๗. ควำมเพลิดเพลินสนกุ สนำน
๘. กำรฝกึ ควำมจำ
๙. กำรแสดงออก
๖๔
๑๐. เนอื้ หำของหน่วยกำรสอน
รูปแบบกำรเคลอื่ นไหว
๑. กำรเคลื่อนไหวพื้นฐำน เป็นกิจกรรมท่ีต้องฝึกทุกคร้ังก่อนที่จะเริ่มฝึกกิจกรรมอ่ืนๆต่อไปลักษณะ
กำรจัดกิจกรรมมีจุดเน้นในเร่ืองจังหวะและกำรเคลื่อนไหวหรือท่ำทำงอย่ำงอิสระ กำรเคล่ือนไหวตำม
ธรรมชำตขิ องเดก็ มี ๒ ประเภท ได้แก่
๑.๑ กำรเคลอื่ นไหวอยู่กบั ท่ี เชน่ ปรบมือ ผงกศรี ษะ ขยิบตำ ชนั เขำ่ ขยบั มือและแขนมือและ นิ้วมือ
เทำ้ และปลำยเทำ้
๑.๒ กำรเคลอื่ นไหวเคล่ือนที่ เช่น คลำน คบื เดนิ วิง่ กระโดด ควบม้ำ ก้ำวกระโดด
เขย่ง กำ้ วชดิ
๒.กำรเคลื่อนไหวท่สี ัมพนั ธ์กบั เนื้อหำ
เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้เคล่ือนไหวร่ำงกำยโดยเน้น กำรทบทวนเรื่องท่ีได้รับรู้จำกกิจกรรมอ่ืน
และนำมำสัมพนั ธก์ ับสำระกำรเรียนรู้ หรือเรือ่ งอนื่ ๆ ท่ีเดก็ สนใจ ไดแ้ ก่
๒.๑ กำรเคลื่อนไหวเลียนแบบ เป็นกำรเคลื่อนไหวเลียนแบบส่ิงต่ำงๆ รอบตัว เช่น กำรเลียนแบบ
ท่ำทำงสัตว์ กำรเลียนแบบท่ำทำงคน กำรเลียนแบบเคร่ืองยนต์กลไกและเครื่องเล่น และกำรเลียนแบบ
ปรำกฏกำรณธ์ รรมชำติ
๒.๒ กำรเคลื่อนไหวตำมบทเพลง เป็นกำรเคลื่อนไหวหรือทำท่ำทำงประกอบเพลง เช่น เพลงไก่
เพลงขำ้ มถนน เพลงสวสั ดี
๒.๓ กำรทำท่ำทำงกำยบรหิ ำรประกอบเพลงหรอื คำคล้องจอง เป็นกำรเคล่อื นไหวแบบกำยบริหำร
อำจจะมที ่ำทำงไม่สมั พันธ์กับเน้ือหำของเพลงหรือคำคล้องจอง เชน่ เพลงกำมือแบมือเพลงออกกำลงั คำคล้อง
จองฝนตกพรำพรำ
๒.๔ กำรเคล่ือนไหวเชิงสร้ำงสรรค์เป็นกำรเคลื่อนไหวท่ีให้เด็กคิดสร้ำงสรรค์ท่ำทำงขึ้นเอง หรืออำจ
ใช้คำถำมหรือคำสง่ั หรือใชอ้ ุปกรณป์ ระกอบ เชน่ ห่วงหวำย แถบผำ้ ริบบ้ิน ถุงทรำย
๒.๕ กำรเคลอ่ื นไหวหรือกำรแสดงท่ำทำงตำมคำบรรยำยทคี่ รูเลำ่ หรือเรอ่ื งรำว หรอื นิทำน
๒.๖ กำรเคลื่อนไหวหรือกำรแสดงท่ำทำงตำมคำส่ัง เป็นกำรเคล่ือนไหวหรือทำท่ำทำงตำมคำส่ัง
ของครู เชน่ กำรจดั กลมุ่ ตำมจำนวน กำรท ำท่ำทำงตำมคำสั่ง
๒.๗ กำรเคลื่อนไหวหรือกำรแสดงท่ำทำงตำมข้อตกลง เป็นกำรเคล่ือนไหวหรือทำท่ำทำง ตำม
ข้อตกลงท่ไี ดต้ กลงไว้กอ่ นเรมิ่ กิจกรรม
๒.๘ กำรเคล่ือนไหวหรือกำรแสดงท่ำทำงเป็นผู้นำ ผู้ตำม เป็นกำรคิดท่ำทำงกำรเคลื่อนไหว อย่ำง
สรำ้ งสรรค์ของเด็กเองแลว้ ให้เพ่อื นปฏิบัติตำม
จำกขอบขำ่ ยของกำรจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะข้ำงตน้ ผู้สอนควรตระหนักถึงลักษณะของกำร
เคล่ือนไหวโดยกำรใช้ส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยให้ประสำนสัมพันธ์กันอย่ำงสมบูรณ์ ด้วยกำรเคล่ือนไหวลักษณะ
ชำ้ เร็ว นุ่มนวล ทำท่ำทำงขึงขงั รำ่ เริง มคี วำมสุข หรอื เศรำ้ โศก เสยี ใจ และเคล่ือนไหวในทิศทำงที่แตกต่ำงกัน
เพื่อเป็นกำรฝึกให้เด็กได้เคล่ือนที่อิสระโดยใช้บริเวณท่ีอยู่รอบๆ ตัวเด็ก ได้แก่ กำรเคลื่อนไหวไปข้ำงหน้ำและ
ข้ำงหลัง ไปข้ำงซ้ำยและข้ำงขวำ เคล่ือนตัวข้ึนและลง หรือหมุนไปรอบตัวโดยให้มีระดับของกำรเคลื่อนไหวสงู
กลำง และ ตำ่ ในบรเิ วณพน้ื ที่ท่เี ด็กต้องกำรเคล่อื นไหว
๖๕
สื่อกจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
๑. เครอ่ื งเคำะจงั หวะ เช่น นงิ่ เหล็กสำมเหลี่ยม กรับ รำมะนำ กลอง
๒. อุปกรณป์ ระกอบกำรเคลอ่ื นไหว เชน่ หนังสอื พิมพ์ รบิ บน้ิ แถบผำ้ หว่ งหวำยห่วงพลำสติก
ฮลู ำฮูบ ถงุ ทรำย
กิจกรรมเสริมประสบกำรณ/์ กิจกรรมในวงกลม
เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนำทักษะกำร เรียนรู้ มีทักษะกำรฟัง กำรพูด กำรอ่ำน กำรสังเกต กำรคิด
แก้ปัญหำ กำรใช้เหตุผล โดยกำรฝึกปฏิบัติร่วมกัน และกำรทำงำนเป็นกลุ่ม ท้ังกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ เพื่อให้
เกดิ ควำมคิดรวบยอดเกย่ี วกับเรอื่ งทไ่ี ด้เรียนรู้ สอดคล้องกับจดุ ประสงค์ดังน้ี
จุดประสงค์
๑. เพ่ือใหเ้ ด็กเขำ้ ใจเน้ือหำและเรอ่ื งรำวในหนว่ ยกำรจัดประสบกำรณ์
๒. เพือ่ ฝึกกำรใช้ภำษำในกำรฟงั พูด และกำรถำ่ ยทอดเร่ืองรำว
๓. เพื่อฝึกมำรยำทในกำรฟงั กำรพดู
๔. เพอ่ื ฝึกควำมมีระเบยี บวินัย
๕. เพ่ือใหเ้ ดก็ เรยี นรผู้ ่ำนกำรสังเกต มีควำมอยำกรู้อยำกเห็นสง่ิ แวลลอ้ มรอบตัว
๖. เพื่อส่งเสรมิ ควำมสำมำรถในกำรคิดรวบยอด กำรคดิ แก้ปัญหำและตดั สินใจ
๗. เพื่อส่งเสริมกำรเรยี นรู้วธิ แี สวงหำควำมรู้ เกิดกำรเรยี นรู้จำกกำรคน้ พบด้วยตนเอง
๘. เพ่ือฝึกใหก้ ล้ำแสดงควำมคิดเหน็ ร่วมแสดงควำมคดิ เหน็ อยำ่ งมเี หตุผลและยอมรบั ฟงั ควำม
คดิ เห็นของผูอ้ ืน่
๙. เพื่อฝึกใหม้ ลี ักษณะนิสัยใฝ่รูใ้ ฝเ่ รยี น
๑๐. เพ่ือฝกึ ลักษณะนสิ ยั ใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม
ขอบข่ำยสำระของกจิ กรรมเสริมประสบกำรณ/์ กจิ กรรมในวงกลม
สำระท่ีควรเรียนรู้สำระในส่วนนี้กำหนดเฉพำะหัวข้อไม่มีรำยละเอียด ท้ังนี้เพ่ือประสงค์จะให้ ผู้สอน
สำมำรถกำหนดรำยละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ควำมต้องกำร ควำมสนใจของเด็ก อำจยืดหยุ่น เนื้อหำ
ได้โดยคำนึงถึงประสบกำรณ์ และสิ่งแวดลอ้ มในชวี ิตจรงิ ของเด็ก ผสู้ อนสำมำรถนำสำระท่ีควรเรียนรู้มำ บูรณำ
กำรจัดประสบกำรณ์ต่ำงๆ ให้ง่ำยต่อกำรเรียนรู้ ท้ังน้ีมิได้ประสงค์ให้เด็กท่องจำเนื้อหำ แต่ต้องกำรให้ เด็กเกิด
แนวคดิ หลังจำกน ำสำระกำรเรียนร้นู น้ั ๆมำจัดประสบกำรณใ์ ห้เดก็ เพื่อใหบ้ รรลุจุดหมำยที่กำหนดไว้นอกจำกน้ี
สำระท่ีควรเรียนรู้ยังใช้เป็นแนวทำงช่วยผู้สอนกำหนดรำยละเอียดและควำมยำกง่ำยของเน้ือหำให้ เหมำะสม
กับพัฒนำกำรของเด็ก สำระท่ีควรเรียนรู้ประกอบด้วยเร่ืองรำวเกี่ยวกับตัวเด็ก เร่ืองรำวเก่ียวกับบุคคล และ
สถำนท่ีแวดลอ้ มเด็กธรรมชำตริ อบตวั และสง่ิ ต่ำงๆรอบตัวเดก็ ดงั น้ี
๑. เรื่องรำวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชอื่ นำมสกุล รูปร่ำงหน้ำตำอวัยวะต่ำงๆ วิธีระวงั
รักษำร่ำงกำยให้สะอำดและมีสุขภำพอนำมัยท่ีดี กำรรับประทำนอำหำรท่ีเป็นประโยชน์ กำรรักษำควำม
ปลอดภัยของตนเอง รวมท้ังกำรปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่ำงปลอดภัย กำรรู้จักประวัติควำมเป็นมำของตนเองและ
ครอบครัว กำรปฏิบัติตนเป็นสมำชิกท่ีดีของครอบครัวและโรงเรียน กำรเคำรพสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน กำร
รู้จัก แสดงควำมคิดเห็นของตนเองและรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น กำรกำกับตนเอง กำรเล่นและทำส่ิงต่ำงๆ
ด้วยตนเองตำมลำพงั หรือกับผูอ้ ื่น กำรตระหนักร้เู กีย่ วกับตนเอง ควำมภำคภมู ิใจในตนเอง กำรสะท้อนกำรรับรู้
อำรมณ์และควำมรู้สึกของตนเองและผู้อ่ืน กำรแสดงออกทำงอำรมณ์และควำมรู้สึกอย่ำงเหมำะสม กำรแสดง
มำรยำทท่ีดี กำรมีคุณธรรมจรยิ ธรรม
๖๖
๒. เรื่องรำวเก่ียวกับบุคคลและสถำนท่ีแวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับครอบครัวสถำนศึกษำ
ชุมชน และบุคคลต่ำงๆ ท่ีเด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวันสถำนที่สำคัญ วัน
สำคัญ อำชีพของคนในชุมชน ศำสนำ แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สำคัญของชำติไทย และกำรปฏิบัติ
ตำวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นและควำมเปน็ ไทย หรือแหล่งเรยี นรูจ้ ำกภมู ปิ ญั ญำท้องถ่ินอื่นๆ
๓. ธรรมชำติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ กำรเปลี่ยนแปลงและ
ควำมสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนกำรรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้ำ สภำพอำกำศ ภัยธรรมชำติ แรง
และพลังงำนในชวี ติ ประจำวันทแ่ี วดลอ้ มเด็ก รวมทัง้ กำรอนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มและกำรรกั ษำสำธำรณสมบัติ
๔. ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับกำรใช้ภำษำเพ่ือสื่อควำมหมำย ในชีวิตประจำวัน
ควำมรู้พ้ืนฐำนเกี่ยวกับกำรใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัสขนำด รูปร่ำง รูปทรง
ปริมำตร น้ำหนัก จำนวน ส่วนประกอบ กำรเปล่ียนแปลงและควำมสัมพันธ์ของสิ่งต่ำงๆ รอบตัว เวลำ เงิน
ประโยชน์ กำรใช้งำน และกำรเลือกใช้ส่ิงของเครื่องใช้ ยำนพำหนะ กำรคมนำคม เทคโนโลยีและกำร ส่ือสำร
ตำ่ งๆ ที่ใชอ้ ยใู่ นชวี ิตประจำ
แนวกำรจัดกิจกรรมเสริมประสบกำรณ์/กิจกรรมในวงกลม
กำรจัดกิจกรรมเสริมประสบกำรณ์/กิจกรรมในวงกลม (ควรใช้เวลำ ๑๕-๒๐) ถ้ำนำนเกินไปเด็กจะไม่สนใจ ใน
กำรดำเนนิ กจิ กรรมม๓ี ขัน้ ตอน
- ขั้นนำ เข้ำสู่บทเรียน เป็นกำรเตรียมเด็กให้พร้อมและกระตุ้นให้เด็กสนใจที่จะร่วมกิจกรรมต่อไป
กิจกรรมทีใ่ ช้อำจจะเป็นกจิ กรรมกำรร้องเพลง คำคล้องจอง ปริศนำคำทำย ท่ำใบ้ ซึง่ จะใช้เวลำสั้นๆ
- ข้ันสอน เปน็ กำรจัดกจิ กรรทีต่ อ้ งกำรใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ควำมร้แู ละประสบกำรณด์ ว้ ยกิจกรรมลำยรปู แบบ
- ขั้นสรุป เป็นกำรสรุปสิ่งต่ำงๆที่เรียนไปทั้งหมดให้เด็กได้เข้ำใจดียิ่งข้ึน ซึ่งผู้สอนอำจใช้ คำถำม เพลง
คำคลอ้ งจอง เกม ในกำรสรปุ กิจกรรม
ในกำรจัดกจิ กรรมเสริมประสบกำรณ์ มีวธิ กี ำรจดั ท่หี ลำกหลำยได้แก่
๑. กำรสนทนำหรอื กำรอภิปรำย เป็นกำรพูดคุย ซักถำมระหว่ำงเด็กกับครู หรือเด็กกับเด็ก เป็น กำร
ส่งเสริมพัฒนำกำรทำงภำษำด้ำนกำรพูดและกำรฟัง โดยกำรกำหนดประเด็นในกำรสนทนำหรืออภิปรำย เด็ก
จะได้แสดงควำมคิดเห็นและยอมรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น ครูหรือผู้สอนเปิดโอกำสให้เด็กซักถำม โดยใช้
คำถำมกระตุ้นหรือเล่ำประสบกำรณ์ทแ่ี ปลกใหม่ นำเสนอปัญหำที่ ท้ำทำยควำมคดิ กำรยกตวั อย่ำง กำร ใชส้ ื่อ
ประกอบกำรสนทนำหรือกำรอภปิ รำยควรใชส้ อื่ ของจริง ของจำลอง รูปภำพ หรอื สถำนกำรณ์จำลอง
๒. กำรเล่ำนิทำน และกำรอ่ำนนิทำน เป็นกิจกรรมท่ีครูหรือผู้สอนเล่ำหรืออ่ำนเรื่องรำวจำก นิทำน
โดยกำรใช้นำ้ เสียงประกอบกำรเล่ำแตกตำ่ งตำมบุคลิกของตัวละคร ซ่งึ ครูหรือผสู้ อนควรเลือกสำระของ นทิ ำน
ให้เหมำะสมกับวัย สื่อที่ใช้อำจเป็นหนังสือนิทำน หนังสือภำพ แผ่นภำพ หุ่นมือหุ่นน้ิวมือ หรือกำรแสดง
ท่ำทำงประกอบกำรเล่ำเร่ือง โดยครูใช้คำถำมเพ่ือกระตุ้นกำรเรียนรู้ เช่น ในนิทำนเร่ืองนี้มีตัวละครอะไรบ้ำง
เหตุกำรณ์ในนิทำนเร่ืองนี้เกิดที่ไหน เวลำใด หรือ ลำดับเหตุกำรณ์ท่ีเกิดข้ึนในนิทำน นิทำนเรื่องน้ีมีปัญหำ
อะไรบ้ำง และเดก็ ๆชอบเหตกุ ำรณ์ใดในนอทำนเร่อื งน้ีมำกที่สดุ
๓. กำรสำธติ เป็นกิจกรรมที่เด็กได้เรียนรู้จำกประสบกำรณ์ตรง โดยแสดงหรือทำสิ่งท่ีต้องกำรให้ เด็ก
ไดส้ ังเกตและเรยี นรตู้ ำมขัน้ ตอนของกิจกรรมน้นั ๆ และเด็กได้อภปิ รำยและรว่ มกนั สรุปกำรเรียนรู้ กำรสำธติ ใน
บำงคร้ังอำจให้เด็กอำสำสมัครเป็นผูส้ ำธิตร่วมกับครูหรือผู้สอน เพ่ือนำไปสู่กำรปฏิบัติจริงด้วยตนเอง เช่น กำร
เพำะเมลด็ พชื กำรประกอบอำหำร กำรเปำ่ ลกู โป่ง กำรเล่นเกมกำรศกึ ษำ
๔. กำรทดลองปฏิบัติกำร เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้รับประสบกำรณ์ตรง จำกกำรลงมือปฏิบัติ
ทดลอง กำรคิดแก้ปัญหำ มีทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ทักษะคณิตศำสตร์ ทักษะภำษำ ส่งเสริมให้
๖๗
เด็ก เกดิ ขอ้ สงสัย สืบค้นคำตอบด้วยตนเอง ผำ่ นกำรวิเครำะห์ สงั เครำะห์อยำ่ งง่ำยสรปุ ผลกำรทดลอง อภิปรำย
ผล กำรทดลอง และสรุปกำรเรยี นรู้ โดยกจิ กรรมกำรทดลองวทิ ยำศำสตร์ง่ำย ๆ เช่น กำรเลี้ยงหนอนผเี ส้อื กำร
ปลกู พชื ฝึก กำรสังเกตกำรณไ์ หลของนำ้
๕. กำรประกอบอำหำร เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เรียนร้ผู ่ำนกำรทดลองโดยเปิดโอกำสให้เด็กได้ ลง
มอื ทดสอบและปฏบิ ัติกำรด้วยตนเองเกี่ยวกับกำรเปลีย่ นแปลงของผัก เนือ้ สตั ว์ ผลไม้ดว้ ยวิธีกำรต่ำงๆ เช่น ตม้
น่งึ ผัด ทอด หรอื กำรรับประทำนสด เด็กจะได้รบั ประสบกำรณจ์ ำกกำรสังเกตกำรเปลี่ยนแปลงของอำหำร กำร
รับรู้รสชำติและกลิ่นของอำหำร ดว้ ยกำรใช้ประสำทสมั ผัสและกำรทำงำนรว่ มกัน เช่นกำรท ำอำหำรจำกไข่
๖. กำรเพำะปลูก เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และคณิตศำสตร์ ซ่ึงเด็กจะได้
เรียนรู้กำรบูรณกำรจะทำให้เด็กได้รับประสบกำรณ์โดยทำควำมเข้ำใจควำมต้องกำรของสิ่งมีชีวิตในโลก และ
ช่วยใหเ้ ด็กเข้ำใจควำมคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่ิงที่อยรู่ อบตวั โดยกำรสังเกตเปรียบเทียบ และกำรคดิ อยำ่ งมเี หตุผล
ซึ่งเปน็ กำรเปิดโอกำสใหเ้ ดก็ ได้ค้นพบและเรียนรูด้ ้วยตนเอง
๗. กำรศึกษำนอกสถำนที่ เป็นกำรจัดกิจกรรมทัศนศึกษำที่ให้เด็กได้เรียนรู้สภำพควำมเป็นจริง นอก
ห้องเรยี น จำกแหล่งเรยี นร้ใู นสถำนศึกษำ หรือ แหล่งเรยี นรูใ้ นชุมชน เชน่ ห้องสมดุ สวนสมุนไพรวัด ไปรษณีย์
พิพิธภัณฑ์ เพ่ือเป็นกำรเพิ่มพูนประสบกำรณ์แก่เด็ก โดยครูและเด็กร่วมกันวำงแผนศึกษำส่ิงท่ีต้องกำรเรียนรู้
กำร เดินทำง และสรุปผลกำรเรยี นรทู้ ี่ไดจ้ ำกกำรไปศกึ ษำนอกสถำนที่
๘. กำรเล่นบทบำทสมมติเป็นกิจกรรมให้เด็กสมมติตนเองเป็นตัวละคร และแสดงบทบำทต่ำงๆ
ตำมเนื้อเร่ืองในนิทำน เร่ืองรำวหรือสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ โดยใช้ควำมรู้สึกของเด็กในกำรแสดง เพื่อให้เด็กเข้ำใจ
เร่ืองรำว ควำมรู้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผู้อ่ืน ๆ ควรใช้สื่อประกอบกำรเลน่ สมมติ เช่น หุ่นสวมศีรษะ
ทีค่ ำดศรี ษะรูปคนและสัตวร์ ปู แบบต่ำงๆ เครื่องแตง่ กำยและอปุ กรณ์ของจริงชนดิ ตำ่ ง ๆ
๙. กำรร้องเพลง ท่องคำคล้องจอง เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เรียนรู้เก่ียวกับภำษำจังหวะ และ
กำรแสดงท่ำทำงใหส้ ัมพนั ธก์ ับเนอื้ หำของเพลงหรือคำคล้องจอง ครูหรือผู้สอนควรเลือกใหเ้ หมำะกับวยั ของเด็ก
๑๐. เกม เป็นกจิ กรรมทน่ี ำเกมกำรเรยี นรู้เพ่ือฝึกทักษะกำรคดิ กำรแก้ปัญหำ และกำรทำงำนเป็นกลุ่ม
เกมที่นำมำเลน่ ไมค่ วรเนน้ กำรแขง่ ขนั
๑๑. กำรแสดงละคร เป็น กิจกรรมที่เด็กจะได้เรียนรู้เก่ียวกับกำรลำดับเรื่องรำว กำรเรียงลำดับ
เหตุกำรณ์ หรือเร่ืองรำวจำกนิทำน กำรใช้ภำษำในกำรส่ือสำรของตัวละคร เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ และทำควำม
เข้ำใจบุคลิกลักษณะของตัวละครท่ีเด็กสวมบทบำท ส่ือที่ใช้ เช่น ชุดกำรแสดงที่สอดคล้องกับ บทบำทท่ีได้รับ
บทสนทนำทีเ่ ด็กใชฝ้ กึ สนทนำประกอบกำรแสดง
๑๒. กำรใช้สถำนกำรณ์จำลอง เป็นกิจกรรมที่เด็กได้เรียนรู้แนวทำงกำรปฏิบัติตนเมื่ออยู่ใน
สถำนกำรณ์ทคี่ รหู รือผู้สอนกำหนด เพอ่ื ใหเ้ ด็กได้ฝึกกำรแก้ปญั หำ เช่น นำ้ ท่วม โรคระบำด พบคนแปลกหนำ้
ส่ือกจิ กรรมเสริมประสบกำรณ์ /กิจกรรมในวงกลม
๑. สอื่ ของจริงที่อยู่ใกล้ตัวและสอ่ื จำกธรรมชำตหิ รอื วัสดทุ ้องถน่ิ เช่น ต้นไม้ใบไม้ เปลอื กหอย เส้ือผ้ำ
๒. สือ่ ทจ่ี ำลองขึ้น เช่น ตน้ ไม้ ตกุ๊ ตำสัตว์
๓. สอื่ ประเภทภำพ เช่น ภำพพลิก ภำพโปสเตอร์ หนงั สือภำพ
๔. สื่อ เทคโนโลยี เช่น เครื่องบันทึกเสียง เคร่ืองขยำยเสียง โทรศัพท์ แม่เหล็ก แว่นขยำย เคร่ืองช่ัง
กลอ้ งถำ่ ยรูปดิจิตอล
๕. ส่ือ แหล่งเรียนรู้ เช่น แหล่งเรียนรู้ภำยในและนอกสถำนศึกษำ เช่น แปลงเกษตรสวนผัก สมุนไพร
ร้ำนคำ้ สวนสตั ว์ แหล่งประกอบกำรในทอ้ งถ่ิน
๖๘
กจิ กรรมศิลปะสรำ้ งสรรค์
กิจกรรมศิลปะสร้ำงสรรค์ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนำกระบวนกำรคิดสร้ำงสรรค์ กำรรับรู้เก่ียวกับควำม
งำม และสง่ เสรมิ กระตนุ้ ให้เดก็ แสดงออกทำงอำรมณ์ ควำมรูส้ กึ ควำมคิดรเิ ร่มิ สร้ำงสรรค์และจนิ ตนำกำร โดย
ใชก้ ิจกรรมศลิ ปะ เช่น กำรวำดภำพ ระบำยสี กำรปน้ั กำรพมิ พภ์ ำพ กำรพับ ตัด ฉกี ปะ ที่เหมำะกบั พัฒนำกำร
ของเดก็ แต่ละวยั และสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคด์ งั นี้
จุดประสงค์
๑. เพ่อื พัฒนำกล้ำมเนอ้ื มือ และตำให้ประสำนสมั พนั ธก์ ัน
๒. เพอ่ื ใหเ้ กดิ ควำมเพลิดเพลนิ ช่ืนชมในสิ่งทสี่ วยงำม
๓. เพอ่ื สง่ เสริมกำรปรบั ตวั ในกำรท ำงำนรว่ มกบั ผ้อู ่นื
๔. เพื่อสง่ เสรมิ กำรแสดงออกและควำมมั่นใจในตนเอง
๕. เพอ่ื สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และทักษะทำงสงั คม
๖. เพือ่ สง่ เสริมทกั ษะทำงภำษำ
๗. เพื่อฝึกทักษะกำรสงั เกต และกำรแก้ปัญหำ
๔. เพ่ือสง่ เสรมิ ควำมคดิ รเิ ริ่มสรำ้ งสรรค์ และจินตนำกำร
ขอบขำ่ ยกำรจดั กจิ กรรมศลิ ปะสร้ำงสรรค์ กำรจัดกจิ กรรมสรำ้ งสรรค์ ประกอบด้วย
๑. กำรวำดภำพและระบำยสี เช่น กำรวำดภำพดว้ ยสีเทยี น หรือสีไม้ กำรวำดภำพดว้ ยสนี ้ำ
๒. กำรเล่นกบั สีนำ้ เช่น กำรหยดสี กำรเทสี กำรเปำ่ สี ละเลงสีด้วยนว้ิ มือ
๓. กำรพมิ พภ์ ำพ เชน่ กำรพมิ พภ์ ำพดว้ ยพชื กำรพมิ พภ์ ำพดว้ ยวัสดุตำ่ งๆ
๔. กำรป้นั เชน่ กำรปั้นดนิ เหนยี ว กำรป้ันแป้งปัน้ กำรป้นั ดนิ นำ้ มนั กำรป้นั แป้งขนมปัง
๕. กำรพับ ฉกี ตัด ปะ เชน่ กำรพบั ใบตอง กำรฉกี กระดำษเส้น กำรตัดภำพต่ำงๆ
๖. กำรรอย กำรสำน เชน่ กำรร้อยลกู ปัด กำรสำรพระดำษ
๗. กำรประดิษฐ์ เชน่ กำรประดษิ ฐเ์ ศษวสั ดุ กำรร้อย กำรสำน
ส่ือกิจกรรมศิลปะสรำ้ งสรรค์
๑. กำรวำดภำพและระบำยสี
๑.๑ สีเทียนแทง่ ใหญ่ สไี ม้ สีชอล์ก สีน้ำ
๑.๒ พู่กนั ขนำดใหญ่ (ประมำณเบอร์ ๑๒)
๑.๓ กระดำษ
๑.๔ เสอ้ื คลุม หรือผำ้ กันเป้ือน
๒. กำรเล่นกบั สี
๒.๑ กำรเปำ่ สี มี กระดำษ หลอดกำแฟ สีน้ำ
๒.๒ กำรหยดสี มี กระดำษ หลอดกำแฟ พกู่ ัน สนี ้ำ
๒.๓ กำรพบั สี มี กระดำษ สนี ้ำ พูก่ ัน
๒.๔ กำรเทสี มี กระดำษ สนี ำ้
๒.๕ กำรละเลงสี มี กระดำษ สนี ำ้ แป้งเปียก
๓. กำรพมิ พ์ภำพ
๓.๑ แม่พิมพ์ต่ำง ๆ จำกของจริง เชน่ นิ้วมอื ใบไม้ กำ้ นกลว้ ย
๓.๒ แม่พมิ พ์จำกวัสดอุ ่ืน ๆ เชน่ เชอื ก เสน้ ด้ำย ตรำยำง
๓.๓ กระดำษ ผ้ำเชด็ มือ สโี ปสเตอร์ (สนี ำ้ สีฝนุ่ ฯลฯ)
๖๙
๔. กำรปั้น เช่น ดนิ น้ำมนั ดนิ เหนียว แปง้ โดว์ แผน่ รองป้นั แม่พมิ พ์รปู ต่ำงๆ ไม้นวดแป้ง
๕. กำรพับ ฉกี ตัดปะ เช่น กระดำษ หรอื วัสดอุ ื่นๆท่จี ะใชพ้ ับ ฉกี ตดั ปะ กรรไกรขนำดเล็กปลำยมน กำวน้ำ
หรือแปง้ เปียก ผำ้ เชด็ มอื
๖. กำรประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดตุ ่ำง ๆ มกี ล่องกระดำษ แกนกระดำษ เศษผ้ำ เศษไหม กำว กรรไกร สี
ผ้ำเช็ดมือ
๗. กำรร้อย เช่น ลกู ปดั หลอดกำแฟ หลอดดำ้ ย
๘. กำรสำน เช่น กระดำษ ใบตอง ใบมะพร้ำว
กจิ กรรมกำรเล่นตำมมมุ
กิจกรรมกำรเล่นตำมมุม เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกำสให้เด็กเลน่ อิสระตำมมุมเล่น หรือมุมประสบกำรณ์ หรือ
กำหนดเป็นพื้นท่ีเล่นท่ีจัดไว้ในห้องเรียน ซ่ึงพ้ืนท่ีหรือมุมต่ำงๆเหล่ำนี้เด็กมีโอกำสเลือกเล่นได้อย่ำงเสรีตำม
ควำมสนใจและควำมต้องกำรของเด็ก ทั้งเป็นรำยบุคคลและเป็นกลุ่มย่อยเด็กอำจจะเลือกทำกิจกรรมท่ีครูจัด
เสรมิ ขน้ึ เชน่ เกมกำรศกึ ษำ เครือ่ งเล่นสมั ผัส โดยจัดให้สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ ดังน้ี
จดุ ประสงค์
๑. เพื่อส่งเสริมพฒั นำกำรดำ้ นกล้ำมเนอื้ ใหญ่ กล้ำมเน้อื เล็กและกำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงมือกับตำ
๒. เพอ่ื ส่งเสริมให้รู้จักปรับตวั อยู่รว่ มกับผู้อ่นื มีวินัยเชิงบวกรูจ้ ักกำรรอคอย เอื้อเฟ้ือเผือ่ แผแ่ ละให้อภัย
๓. เพ่อื ส่งเสรมิ ให้เด็กมีโอกำสปฏิสมั พันธ์กับเพ่ือน ครู และสิ่งแวดล้อม
๔. เพื่อส่งเสริมพัฒนำกำรทำงดำ้ นภำษำ
๕. เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มนี สิ ัยรักกำรอำ่ น
๖. เพ่ือส่งเสริมใหเ้ ดก็ เกดิ กำรเรียนรดู้ ้วยตนเองจำกกำรสำรวจ กำรสงั เกต และกำรทดลอง
๗. เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้เดก็ พัฒนำควำมคดิ สรำ้ งสรรคแ์ ละจินตนำกำร
๘. เพอ่ื สง่ เสริมกำรคดิ แกป้ ัญหำ กำรคิดอย่ำงมเี หตุผลเหมำะสมกบั วยั
๙. เพอ่ื ส่งเสริมให้เดก็ ฝกึ คิด วำงแผน และตัดสนิ ในกำรทำกิจกรรม
๑๐. เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ ที กั ษะพืน้ ฐำนทำงวิทยำศำสตรแ์ ละคณิตศำสตร์
๑๑. เพื่อฝึกกำรท ำงำนร่วมกัน ควำมรบั ผิดชอบ และระเบยี บวินยั
ขอบข่ำยของกำรจัดกจิ กรรมกำรเล่นตำมมมุ
เปิดโอกำสให้เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะสร้ำงสรรค์ และเล่นตำมมุมเล่นในช่วงเวลำเดียวกัน อย่ำง
อิสระกำรจัดมุมเล่นหรือมุมประสบกำรณ์ ควรจัดอย่ำงน้อย ๓-๕ มุม ดังตัวอย่ำงมุมเล่นหรือ มุมประสบกำรณ์
ดังน้ี
๑ มมุ บล็อก เปน็ มุมที่ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กเรียนร้เู ก่ียวกับมิตสิ ัมพนั ธผ์ ่ำนกำรสร้ำง
๒ มุมหนังสือ เป็นมุมท่ีเด็กเรียนรู้เก่ียวกับภำษำ จำกกำรฟัง กำรพูด กำรอ่ำน กำรเล่ำเร่ือง หรือกำร
ยืม – คนื หนงั สอื
๓ มุมวิทยำศำสตร์หรือมุมธรรมชำติศึกษำ เป็นมุมท่ีเด็กได้เรียนรู้ธรรมชำติรอบตัวผ่ำนกำร เล่น
ทดลองอย่ำงงำ่ ย
๔ มุมเคร่ืองเล่นสัมผัส เป็นมุมที่เด็กจะได้ฝึกกำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงมือกับตำกำร สร้ำงสรรค์
เชน่ กำรรอ้ ย กำรสำน กำรตอ่ เข้ำ กำรถอดออก ฯลฯ
๕ มุมบทบำทสมมติ เป็นมุมท่ีเด็กได้เรียนรู้เก่ียวกับบทบำทของแต่ละอำชีพหรือแต่ละหน้ำท่ีที่เด็กๆ
เลยี นแบบบทบำท
๗๐
ส่ือกิจกรรมกำรเลน่ ตำมมุม
๑. มุมบทบำทสมมติ อำจจัดเปน็ มมุ เล่นตำ่ งๆ เชน่
๑.๑ มมุ บ้ำน
๑) ของเล่นเครื่องใช้ในครัวขนำดเล็ก หรือของจำลอง เช่น เตำ กระทะ ครก กำน้ำเขียง มีด พลำสตกิ
หมอ้ จำน ชอ้ น ถว้ ยชำม กะละมัง
๒) เครอื่ งเล่นตกุ๊ ตำ เส้อื ผ้ำตกุ๊ ตำ เตียง เปลเด็ก ตุ๊กตำ
๓) เครื่องแต่งบ้ำนจำลอง เช่น ชุดรับแขก โต๊ะเครื่องแป้ง หมอนอิง หวี ตลับแป้งกระจก ขนำดเห็น
เตม็ ตวั
๔) เคร่ืองแตง่ กำยบุคคลอำชีพต่ำง ๆ ท่ีใชแ้ ลว้ เช่น ชุดเคร่อื งแบบทหำร ตำรวจ ชุดเสื้อผำ้ ผู้ใหญช่ ำย
และหญงิ รองเท้ำ กระเป๋ำถอื ทไี่ ม่ใชแ้ ล้ว
๕) โทรศพั ท์ เตำรดี จำลอง ทีร่ ดี ผำ้ จำลอง
๖) ภำพถำ่ ยและรำยกำรอำหำร
๑.๒ มุมหมอ
๑) เครือ่ งเล่นจำลองแบบเครื่องมอื แพทย์และอุปกรณ์กำรรักษำผู้ปว่ ย เชน่ หูฟัง เสือ้ คลุมหมอ
๒) อปุ กรณ์สำหรับเลียนแบบกำรบันทึกขอ้ มูลผปู้ ่วย เช่น กระดำษ ดนิ สอ ฯลฯ
๓) เครอ่ื งช่งั น้ำหนกั วัดส่วนสูง
๑.๓ มุมร้ำนคำ้
๑) กลอ่ งและขวดผลิตภณั ฑ์ต่ำงๆ ทใี่ ชแ้ ล้ว
๒) ผลไม้จำลอง ผกั จำลอง
๓) อุปกรณ์ประกอบกำรเลน่ เช่น เครื่องคิดเลข ลกู คิด ธนบตั รจำลอง ฯลฯ
๔) ปำ้ ยช่ือรำ้ น
๕) ปำ้ ยชอ่ื ผลไม้ ผักจำลอง
๒. มุมบลอ็ ก
๒.๑ ไม้บล็อกหรือแท่งไม้ท่ีมีขนำดและรูปทรงต่ำงๆกัน เช่นบล็อกตัน บล็อกโต๊ะ จำนวนต้ังแต่ ๙๐๐
ช้ินขน้ึ ไป
๒.๒ ของเล่นจำลอง เชน่ รถยนต์ เคร่อื งบิน รถไฟ คน สตั ว์ ต้นไม้
๒.๓ ภำพถำ่ ยต่ำงๆ
๒.๔ ท่ีจดั เกบ็ ไมบ้ ล็อกหรอื แทง่ ไมอ้ ำจเป็นช้นั ลงั ไม้หรือพลำสติก แยกตำม รูปทรงขนำด
๗๑
๓. มมุ หนังสือ
๓.๑ หนังสอื ภำพนทิ ำน หนังสอื ภำพท่ีมคี ำและประโยคส้ันๆ พรอ้ มภำพ
๓.๒ ช้นั หรือทวี่ ำงหนังสือ
๓.๓ อุปกรณต์ ่ำง ๆ ที่ใชใ้ นกำรสร้ำงบรรยำกำศกำรอำ่ น เชน่ เส้ือ พรม หมอน
๓.๔ สมุดเซน็ ยมื หนังสือกลบั บ้ำน
๓.๕ อุปกรณส์ ำหรบั กำรเขียน
๓.๖ อปุ กรณเ์ สริม เช่น เครอ่ื งเสียง แผ่นนิทำนพร้อมหนงั สือนิทำน หฟู งั
๔. มมุ วทิ ยำศำสตร์ หรอื มุมธรรมชำติศึกษำ
๔.๑ วัสดุต่ำง ๆ จำกธรรมชำติ เช่น เมลด็ พืชตำ่ งๆ เปลือกหอย ดนิ หิน แร่ ฯลฯ
๔.๒ เครอ่ื งมือเคร่ืองใชใ้ นกำรสำรวจ สังเกต ทดลอง เช่น แวน่ ขยำย แมเ่ หล็ก เขม็ ทิศ เครอื่ งชง่ั
แนวกำรจัดกิจกรรมกำรเลน่ ตำมมุม
๑. แนะนำมุมเล่นใหม่ เสนอแนะวธิ ีใช้ กำรเลน่ ของเลน่ บำงชนดิ
๒. เดก็ และครูร่วมกันสร้ำงข้อตกลงเกย่ี วกบั กำรเลน่
๓. ครเู ปิดโอกำสให้เดก็ คดิ วำงแผน ตัดสนิ ใจเลอื กเล่นอยำ่ งอสิ ระ เลือกทำกจิ กรรมท่ีจัดขึน้ ตำมควำม
สนใจของเดก็ แตล่ ะคน
๔. ขณะเดก็ เล่น / ทำงำน ครอู ำจชแี้ นะ หรอื มีส่วนร่วมในกำรเล่นกับเด็กได้
๕. เด็กต้องกำรควำมช่วยเหลือและคอยสังเกตพฤติกรรมกำรเล่นของเด็กพร้อมทั้งจดบันทึก
พฤติกรรมท่ีนำ่ สนใจ
๖. เตอื นใหเ้ ด็กทรำบลว่ งหน้ำกอ่ นหมดเวลำเลน่ ประมำณ ๓ - ๕ นำที
๗. ใหเ้ ดก็ เก็บของเลน่ เขำ้ ท่ใี ห้เรียบร้อยทกุ ครงั้ เม่ือเสรจ็ ส้นิ กจิ กรรม
กิจกรรมกำรเลน่ กลำงแจ้ง
กิจกรรมกำรเลน่ กลำงแจ้ง เปน็ กจิ กรรมทจี่ ดั ใหเ้ ดก็ ไดม้ ีโอกำสออกไปนอกห้องเรียนเพ่ือเคล่ือนไหว
ร่ำงกำยออกกำลัง และแสดงออกอย่ำงอิสระ โดยยึดควำมสนใจและควำมสำมำรถของเด็กแตล่ ะคนเปน็ หลกั
โดยจดั ใหส้ อดคล้องกับจุดประสงค์ ดงั น้ี
จดุ ประสงค์
๑. เพอ่ื พัฒนำกล้ำมเน้ือใหญ่ กลำ้ มเนอื้ เล็ก และกำรประสำนสมั พนั ธ์ของอวัยวะต่ำงๆ
๒. เพื่อส่งเสรมิ ใหม้ รี ำ่ งกำยแข็งแรง สขุ ภำพดี
๓. เพือ่ สง่ เสริมให้เกิดควำมสนกุ สนำน ผ่อนคลำยควำมเครียด
๗๒
๔. เพอ่ื ปรบั ตัว เลน่ และทำงำนรว่ มกับผอู้ ืน่
๕. เพื่อเรียนรูก้ ำรระมัดระวงั รักษำควำมปลอดภัยท้ังของตนเองและผ้อู ืน่
๖. เพื่อฝกึ กำรตัดสินใจ และแกป้ ัญหำด้วยตนเอง
๗. เพอ่ื ส่งเสริมใหม้ ีควำมอยำกรูอ้ ยำกเห็นส่งิ ตำ่ งๆ ท่ีแวดลอ้ มรอบตวั
๘. เพ่อื พัฒนำทกั ษะกำรเรยี นรู้ต่ำง ๆ เช่น กำรสงั เกต กำรเปรยี บเทียบ กำรจำแนก
ขอบขำ่ ยของกจิ กรรมกำรเล่นกลำงแจง้
ลักษณะกจิ กรรมกำรเล่นกลำงแจ้งท่คี รูควรจัดให้เดก็ ไดเ้ ล่น ไดแ้ ก่
๑. กำรเลน่ เคร่อื งเล่นสนำม
เครื่องเล่นสนำม หมำยถงึ เคร่ืองเล่นท่เี ด็กอำจปนี ป่ำย หมนุ ซ่งึ ทำออกมำในรปู แบบต่ำงๆ เช่น
- เครอื่ งเลน่ สำหรับปนี ปำ่ ย หรือตำข่ำยสำหรบั ปืนเล่น
- เครอ่ื งเลน่ สำหรับโยกหรือไกว เช่น ม้ำไม้ ชิงชำ้ ม้ำน่ังโยก ไมก้ ระดก
- เครื่องเล่นสำหรบั หมุน เช่น ม้ำหมุน พวงมำลยั รถสำหรับหมนุ เลน่
- รำวโหนขนำดเล็กสำหรบั เดก็
- ต้นไม้สำหรับเดินทรงตัว หรอื ไม้กระดำนแผน่ เดียว
- เครือ่ งเลน่ ประเภทล้อเลื่อน เชน่ รถสำมล้อ รถลำกจงู
๒. กำรเล่นทรำย
ทรำยเป็นส่ิงท่ีเด็กๆ ชอบเล่น ท้ังทรำยแห้ง ทรำยเปียก นำมำก่อเป็นรูปต่ำงๆ ได้และสำมำรถนำวัสดุ
อื่นมำประกอบกำรเล่นตกแต่งได้ เช่น ก่ิงไม้ ดอกไม้ เปลือกหอย พิมพ์ขนม ที่ตักทรำยปกติบ่อทรำยจะอยู่
กลำงแจง้ โดยอำจจดั ให้อยู่ใต้ร่มเงำของต้นไม้หรือสร้ำงหลังคำ ท ำขอบก้ัน เพ่อื มิให้ทรำยกระจัดกระจำย บำง
โอกำสอำจพรมน้ำให้ข้ึนเพอ่ื เด็กจะได้ก่อเลน่ นอกจำกน้ี ควรมี วิธีกำรปดิ ก้นั มิให้สัตว์เลย้ี งลงไปทำควำมสกปรก
ในบ่อทรำยได้
๓. กำรเล่นน้ำ
เด็กทั่วไปชอบเล่นน้ำมำก กำรเล่นน้ำนอกจำกสร้ำงควำมพอใจและคลำยควำมเครียด ให้เด็กแล้วยัง
ทำให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้อีกด้วย เช่น เรียนรู้ทักษะกำรสังเกต จำแนกเปรียบเทียบปริมำตรอุปกรณ์ที่ใส่น้ำอำจ
เป็นถังที่สร้ำงขึ้นโดยเฉพำะหรืออ่ำงน้ำวำงบนขำต้ังที่มั่นคงควำม สูงพอท่ีเด็กจะยืนได้พอดี และควรมีผ้ำ
พลำสตกิ กนั เสอ้ื ผ้ำเปยี กให้เด็กใชค้ ลมุ ระหวำ่ งเล่น
๔. กำรเลน่ สมมตใิ นบำ้ นตกุ๊ ตำหรอื บำ้ นจำลอง
เป็นบ้ำนจำลองสำหรับให้เด็กเล่น จำลองแบบจำกบ้ำนจริงๆ อำจทำด้วยเศษวัสดุประเภทผ้ำใบ
กระสอบป่ำน ของจริงที่ไม่ใช้แล้ว เช่น หม้อ เตำ ชำม อ่ำง เตำรีด เคร่ืองครัว ตุ๊กตำสมมติ เป็นบุคคลใน
ครอบครัว เสื้อผ้ำผู้ใหญ่ที่ไม่ใช้แล้วสำหรับผลัดเปล่ียน มีกำรตกแต่งบริเวณใกล้เคียงให้เหมือนบ้ำน จริง ๆ
บำงคร้ังอำจจดั เป็นร้ำนขำยของ สถำนท่ที ำกำรตำ่ ง ๆ เพ่ือให้เดก็ เล่นสมมตติ ำมจินตนำกำรของเด็กเอง
๗๓
๕. กำรเล่นในมมุ ช่ำงไม้
เด็กต้องกำรออกแรงเคำะ ตอก กิจกรรมกำรเล่นในมุมช่ำงไม้น้ีจะช่วยในกำรพัฒนำ กล้ำมเน้ือให้
แข็งแรง ช่วยฝึกกำรใช้มือและกำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงมือกับตำ นอกจำกนี้ยังฝึกให้รักงำน และส่งเสริม
ควำมคดิ สร้ำงสรรค์อกี ดว้ ย
๖. กำรเล่นเกมกำรละเล่น
กิจกรรมกำรเล่นเกมกำรละเล่นท่ีจัดให้เด็กเล่น เช่น เกมกำรละเล่นของไทย เกมกำรละเล่นของ
ท้องถ่นิ เช่น มอญซ่อนผ้ำ รีรีข้ำวสำร แมง่ ู โพงพำง ฯลฯ กำรละเล่นเหล่ำนี้ ต้องใช้บริเวณที่ กว้ำง กำรเล่นอำจ
เล่นเป็นกลุ่มเล็ก/กลุ่มใหญ่ก็ได้ ก่อนเล่นครูอธิบำยกติกำและสำธิตให้เด็กเข้ำใจ ไม่ควรนำ เกมกำรละเล่นที่มี
กติกำยงุ่ ยำกและเน้นกำรแข่งขันแพ้ชนะ มำจดั กจิ กรรมให้กับเด็กวยั น้ี เพรำะเด็กจะเกิด ควำมเครียดและสร้ำง
ควำมร้สู ึกท่ีไม่ดีต่อตนเอง
แนวกำรจัดกิจกรรม
๑. เดก็ และครรู ว่ มกนั สร้ำงขอ้ ตกลง
๒. จัดเตรียมวสั ดุอปุ กรณป์ ระกอบกำรเลน่ ใหพ้ รอ้ ม
๓. สำธติ กำรเล่นเครือ่ งเลน่ สนำมบำงชนิด
๔. ใหเ้ ด็กเลือกเล่นอสิ ระตำมควำมสนใจและให้เวลำเลน่ นำนพอควร
๕. ครูควรจดั กจิ กรรมให้เหมำะสมกบั วยั (ไมค่ วรจดั กิจกรรมพลศึกษำ) เช่น กำรเล่นนำ้ เลน่ ทรำย เลน่
บำ้ นตุก๊ ตำ เล่นในมมุ ช่ำงไม้ เล่นบล็อกกลวง เคร่อื งเลน่ สนำม เกมกำรละเล่น เล่นอุปกรณ์กีฬำ สำหรับเดก็ เลน่
เครือ่ งเล่นประเภทลอ้ เล่ือน เลน่ ของเลน่ พืน้ บ้ำน (เดินกะลำ ฯลฯ)
๖. ขณะเด็กเล่นครูต้องคอยดูแลควำมปลอดภัยและสังเกตพฤติกรรมกำรเล่น กำรอยู่ร่วมกันกับเพื่อน
ของเด็กอยำ่ งใกลช้ ดิ
๗. เม่อื หมดเวลำควรให้เดก็ เกบ็ ของใชห้ รอื ของเลน่ ใหเ้ รียบรอ้ ย
๘. ใหเ้ ดก็ ทำควำมสะอำดร่ำงกำยและดแู ลเครอื่ งแตง่ กำยให้เรียบร้อยหลงั เลน่
กิจกรรมเกมกำรศึกษำ
เกมกำรศึกษำ (Didactic games) เป็นเกมท่ีช่วยพัฒนำสติปัญญำช่วยส่งเสริมให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้
เป็นพ้ืนฐำนกำรศึกษำ มีกฎเกณฑ์กติกำง่ำยๆ เด็กสำมำรถเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มได้ช่วยให้เด็กรู้จัก
สังเกต คิดหำเหตุผลและเกิดควำมคิดรวบยอด เก่ียวกับสี รูปร่ำง จำนวน ประเภทและควำมสัมพันธ์ เกี่ยวกับ
พื้นที่ ระยะ เกมกำรศึกษำที่เหมำะสมจะช่วยฝึกทักษะควำมพร้อมทำงด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ สังคม และ
สติปัญญำสำหรับเดก็ วัย ๓-๖ ปี มีจดุ ประสงค์ ดังน้ี
จดุ ประสงค์
๑. เพอ่ื ฝกึ ทักษะกำรสงั เกต จำแนกและเปรียบเทียบ
๒. เพื่อฝกึ กำรแยกประเภท กำรจดั หมวดหมู่
๗๔
๓. เพอ่ื สง่ เสริมกำรคิดหำเหตุผล และตัดสินใจแก้ปัญหำ
๔. เพ่ือส่งเสริมใหเ้ ด็กเกดิ ควำมคิดรวบยอดเก่ยี วกบั สิ่งท่ไี ด้เรียนรู้
๕. เพื่อสง่ เสรมิ กำรประสำนสัมพันธร์ ะหว่ำงมือกบั ตำ
๖. เพอ่ื ปลูกฝังคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมตำ่ งๆ เช่น ควำมรับผิดชอบ ควำม
เอ้ือเฟอ้ื เผ่ือแผ่
ประเภทของเกมกำรศึกษำ
๑. เกมจับคู่ เช่น จับคู่ภำพเหมือน จับคู่ภำพกับเงำ จับคู่ภำพกับโครงร่ำง จับคู่ภำพท่ีซ่อนอยู่ใน ภำพ
หลัก จับคู่ภำพที่มีควำมสัมพันธ์กัน จับคู่ภำพสัมพันธ์แบบตรงกันข้ำม จับคู่ภำพท่ีสมมำตรจับคู่ ภำพแบบ
อนกุ รม ฯลฯ
๒. เกมต่อภำพใหส้ มบูรณ์ (Jigsaws) หรือภำพตดั ตอ่
๓. เกมวำงภำพตอ่ ปลำย (โดมโิ น)
๔. เกมเรียงลำดบั
๕. เกมกำรจดั หมวดหมู่
๖. เกมกำรศึกษำรำยละเอียดของภำพ (ลอตโต้)
๗. เกมจับคู่แบบตำรำงสมั พนั ธ์ (เมตรกิ เกม)
๘. เกมพ้นื ฐำนกำรบวก
๙. เกมหำควำมสมั พันธต์ ำมลำดับท่กี ำหนด
ส่ือเกมกำรศึกษำ
๑. เกมจับคู่ เพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดฝ้ ึกสังเกตสิ่งที่เหมือนกนั หรอื ตำ่ งกันซ่ึงอำจเปน็ กำรเปรียบเทียบภำพตำ่ งๆแล้ว
จัดเป็นค่ๆู ตำมจุดมงุ่ หมำยของเกมแตล่ ะชุด เกมประเภทจับค่นู ้ีสำมำรถแบง่ ไดห้ ลำยแบบ ดังนี้
- เกมจับคู่ภำพท่เี หมือนกันหรือจบั คสู่ งิ่ ของเดียวกัน
- เกมจับคภู่ ำพส่ิงทีม่ ีควำมสัมพันธก์ นั
- เกมจบั คภู่ ำพชิน้ สว่ นท่ีหำยไป
- เกมจบั คูภ่ ำพท่ีสมมำตรกนั
- เกมจบั คู่ภำพทีส่ มั พนั ธ์กนั แบบอุปมำอุปไมย
- เกมจับคู่แบบอนุกรม
๒. เกมภำพตดั ตอ่
- ภำพตดั ต่อทส่ี ัมพันธ์กับหน่วยกำรเรยี นต่ำง ๆ เช่น ผลไม้ ผัก
- ภำพตดั ต่อแบบมิตสิ มั พันธ์
๓. เกมจัดหมวดหมู่
- ภำพสิ่งต่ำง ๆ ทนี่ ำมำจดั เปน็ พวก ๆ
- ภำพเกย่ี วกับประเภทของใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
- ภำพจัดหมวดหม่ตู ำมรปู ร่ำง สี ขนำด รปู ทรงเรขำคณิต
๗๕
๔. เกมวำงภำพต่อปลำย (โดมิโน)
- โดมโิ นภำพเหมอื น
- โดมิโนภำพสัมพนั ธ์
๕. เกมเรียงลำดบั
- เรียงลำดบั ภำพเหตุกำรณต์ ่อเน่ือง
- เรยี งลำดับขนำด
๖. เกมศึกษำรำยละเอียดของภำพ (ลอตโต)
๗. เกมจบั คูแ่ บบตำรำงสมั พันธ์ (เมตริกเกม)
๘. เกมพน้ื ฐำนกำรบวก
แนวกำรจัดกิจกรรมเกมกำรศึกษำ
๑. แนะนำกจิ กรรมใหม่
๒. สำธิต / อธิบำย วธิ เี ล่นเกมอย่ำงเป็นขัน้ ตอนตำมประเภทของเกม
๓. ให้เด็กหมนุ เวยี นเขำ้ มำเล่นเปน็ กลมุ่ หรือรำยบุคคล
๔. ขณะที่เด็กเลน่ เกม ครูเป็นเพยี งผู้แนะนำ
๕. เม่อื เด็กเล่นเกมแต่ละชดุ เสรจ็ เรียบรอ้ ย ควรให้เดก็ ตรวจสอบควำมถูกต้องดว้ ยตนเอง หรือรว่ มกนั
ตรวจกับเพือ่ น หรือครูเปน็ ผชู้ ่วยตรวจ
๖. ให้เดก็ นำเกมท่ีเล่นแลว้ เก็บใสก่ ลอ่ ง เข้ำทใ่ี ห้เรียบร้อยทุกครั้งก่อนเล่นเกมชดุ อนื่
๗๖
กำรจดั สภำพแวดลอ้ ม สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
โรงเรียนวัดม่วง จัดเตรียมส่ิงแวดล้อมอย่ำงเหมำะสมตำมควำมต้องกำรของเด็กสำมำรถเรียนรู้จำกกำร
เล่นท่ีเป็นประสบกำรณ์ตรงท่ีเกิดจำกกำรรับรู้ด้วย ประสำทสัมผัสทั้งห้ำ จึงจำเป็นต้องจัดสภำพแวดล้อม ใน
สถำนศึกษำให้สอดคล้องกับสภำพและควำมต้องกำร คำนึงถึงควำมปลอดภัย ควำมสะอำด ควำมเป็นระเบียบ
เพ่อื ส่งผลให้บรรลจุ ุดหมำยในกำรพฒั นำเดก็
กำรจดั สภำพแวดลอ้ มจะตอ้ งคำนึงถึงสง่ิ ต่อไปนี้
๑. ควำมสะอำด ควำมปลอดภยั
๒. ควำมมีอิสระอยำ่ งมีขอบเขตในกำรเลน่
๓. ควำมสะดวกในกำรทำกจิ กรรม
๔. ควำมพร้อมของอำคำรสถำนท่ี เช่น หอ้ งเรียน หอ้ งน้ำห้องส้วม สนำมเดก็ เล่น ฯลฯ
๕. ควำมเพียงพอ เหมำะในเร่ืองขนำด น้ำหนัก จำนวน สขี องสอื่ และเคร่ืองเลน่
๖. บรรยำกำศในกำรเรียนรู้ กำรจัดท่เี ลน่ และมมุ ประสบกำรณ์ตำ่ งๆ
สภำพแวดลอ้ มภำยในห้องเรยี น
หลกั คำนงึ ถงึ หลกั สำคัญในกำรจัดสภำพแวดล้อมภำยในและภำยนอก ต้องคำนึงถึงควำมปลอดภัย ควำม
สะอำด ควำมเป็นระเบียบ ควำมเป็นตัวของเด็กเอง เป้ำหมำยกำรพัฒนำเด็ก ให้เด็กเกิดควำมรู้สึกอบอุ่น
ม่นั ใจ และมคี วำมสขุ ซึ่งอำจจดั แบง่ พ้นื ทใ่ี ห้เหมำะสมกับกำรประกอบกจิ กรรมตำมหลักสตู รดังน้ี
๑.พ้นื ทีอ่ ำนวยควำมสะดวกเพอื่ เดก็ และผู้สอน
- ที่แสดงผลงำนของเดก็ อำจจัดเป็นแผ่นปำ้ ย หรอื ท่แี ขวนผลงำน
- ทเี่ กบ็ แฟม้ ผลงำนของเดก็ อำจจัดเป็นกล่องหรอื จดั ใสแ่ ฟม้ รำยบคุ คล
- ที่เกบ็ เครอื่ งใชส้ ว่ นตวั ของเดก็ อำจทำเป็นช่องตำมจำนวนเดก็
- ท่เี กบ็ เคร่ืองใชข้ องผสู้ อน เชน่ อุปกรณ์กำรสอน ของสว่ นตัวผู้สอน ฯลฯ
- ป้ำยนิเทศตำมหน่วยกำรสอนหรือส่ิงทเี่ ด็กสนใจ
๒.พ้ืนที่ปฏิบัติกิจกรรมและกำรเคล่ือนไหว ต้องกำหนดให้ชัดเจน ควรมีพ้ืนที่ซ่ึงเด็กสำมำรถจะ
ทำงำนไดด้ ว้ ยตนเอง และทำกิจกรรมดว้ ยกันในกลุ่มเล็ก หรือกลมุ่ ใหญ่ เด็กสำมำรถเคลือ่ นไหวไดอ้ ยำ่ งอิสระ
จำกกิจกรรมหนึ่งไปยงั กจิ กรรมหน่ึงโดยไม่รบกวนผูอ้ ่ืน
๓.พื้นท่ีจัดมุมเล่นหรือมุมประสบกำรณ์ สำมำรถจัดได้ตำมควำมเหมำะสมขึ้นอยู่กับสภำพของ
ห้องเรียน จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงดังและเงียบออกจำกกัน เช่น มุมบล็อกอยู่ห่ำงจำกมุมหนังสือ มุมบทบำท
สมมติอยู่ติดกับมุมบล็อก มุมวิทยำศำสตร์ใกล้มุมศิลปะ ฯลฯ ที่สำคัญจะต้องมีของเล่น วัสดุอุปกรณ์ในมุม
อย่ำงเพียงพอต่อกำรเรียนรู้ของเด็ก กำรเล่นในมุมเล่นอย่ำงเสรีมักถูกกำหนดไว้ในตำรำงกิจกรรมประจำวัน
เพื่อให้โอกำสเดก็ ไดเ้ ลน่ อย่ำงเสรปี ระมำณวนั ละ ๖๐ นำที กำรจัดมมุ เลน่ ต่ำงๆ ผูส้ อนควรคำนึงถึงสง่ิ ตอ่ ไปน้ี
- ในหอ้ งเรยี นควรมีมมุ เลน่ อยำ่ งนอ้ ย ตำ่ กว่ำ ๓ มมุ ทงั้ น้ขี น้ึ อยู่กบั พน้ื ทีข่ องหอ้ ง
- ควรได้มีกำรผลัดเปลยี่ นส่อื ของเลน่ ตำมมุมบำ้ ง ตำมควำมสนใจของเด็ก
- ควรจัดให้มีประสบกำรณท์ เี่ ดก็ ได้เรยี นรู้ไปแลว้ ปรำกฏอยใู่ นมุมเลน่ เช่น เดก็ เรยี นรู้เร่ืองผีเสอื้
ผู้สอนอำจจัดให้มีกำรเลี้ยงหนอน หรือผีเสื้อสต๊ำฟใส่กล่องไว้ให้เด็กดูในมุมธรรมชำติศึกษำ หรือมุม
วิทยำศำสตร์ ฯลฯ
๗๗
- ควรเปิดโอกำสให้เด็กมีส่วนร่วมในกำรจัดมุมเล่น ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้เด็กรู้สึกเป็นเจ้ำของ อยำก
เรียนรู้ อยำกเขำ้ เลน่
- ควรส่งเสริมวินัยให้กับเด็ก โดยมีข้อตกลงร่วมกันว่ำเม่ือเล่นเสร็จแล้วจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุก
อยำ่ งเข้ำทใี่ ห้เรียบร้อย
ตวั อย่ำงมุมเล่นหรือมุมประสบกำรณท์ ่ีควรจัด มีดงั นี้
มุมบลอ็ ก
เป็นมุมที่จัดเก็บบล็อกไม้ต้นที่มีขนำดและรูปทรงต่ำง ๆ กัน เด็กสำมำรถนำมำเล่นต่อประกอบกัน
เป็นสงิ่ ต่ำงๆ ตำมจินตนำกำร ควำมคิดสร้ำงสรรค์ของตนเอง
กำรจัดมุมบล็อกเปน็ มุมท่ีควรจัดใหอ้ ยู่ห่ำงจำกมุมที่ต้องกำรควำมสงบ เช่น มุมหนังสือ ทั้งน้ี เพรำะ
เสียงจำกกำรเลน่ ก่อไม้บล็อก อำจทำลำยสมำธเิ ด็กที่อยู่ในมุมหนงั สือได้ นอกจำกน้ยี ังควรอยหู่ ่ำงจำกทำงเดิน
ผ่ำนหรือทำงเขำ้ ออกของหอ้ ง เพอ่ื ไมใ่ ห้กีดขวำงทำงเดินหรอื เกดิ อนั ตรำยจำกกำรเดินสะดดุ ไม้บลอ็ ก
กำรจัดเก็บไม้บล็อกเหล่ำน้ี ควรจัดวำงไว้ในเด็กระดับท่ีเด็กสำมำรถหยิบมำเล่น หรือนำเก็บด้วย
ตนเองไดอ้ ยำ่ งสะดวก ปลอดภัย และควรได้ฝึกใหเ้ ดก็ หัดจดั เก็บหมวดหมู่เพ่ือควำมเป็นระเบียบ สวยงำม
มุมหนงั สอื
ในห้องเรียนควรมีท่ีเงียบสงบ สำหรับให้เด็กได้รูปภำพ อ่ำนหนังสือนิทำน ฟังนิทำนผู้สองควรได้จัด
มมุ หนังสอื ใหเ้ ดก็ ไดค้ นุ้ เคยกับตัวหนังสือ และไดท้ ำกจิ กรรมสงบ ๆ ตำมลำพงั หรือเป็นกลมุ่ เล็ก ๆ
กำรจัดมุมหนังสือ เป็นมุมท่ีต้องกำรควำมสงบควรจัดห่ำงจำกมุมที่มีเสียง เช่น มุมบล็อก มุม
บทบำทสมมติ ฯลน และควรจัดบรรยำกำศจูงใจให้เด็กได้เข้ำไปใช้เพ่ือเด็กจะได้คุ้นเคยกับตัวหนังสือและ
ปลูกฝงั นิสยั รักกำรอ่ำนใหก้ ับเด็ก
มมุ บทบำทสมมตุ ิ
มุมบทบำทสมมติ เป็นมุมที่จัดข้ึนเพื่อให้โอกำสได้นำเอำประสบกำรณ์ท่ีได้รับจำกบ้ำนหรือชุมชนมำ
เล่นแสดงบทบำทสมมติ เลียนแบบบุคคลต่ำง ๆ ตำมจินตนำกำรของตน เช่น เป็นพ่อแม่ในมุมบ้ำน เป็น
หมอในมุมหมอ เป็นพ่อค้ำแม่ค้ำในมุมร้ำนค้ำ ฯลฯ กำรเล่นดังกล่ำวเป็นกำรปลูกฝังควำมสำนึกบทบำททำง
สงั คมทเ่ี ด็กไดพ้ บเหน็ ในชวี ิตจริง
กำรจัดมุมบทบำทสมมุติ ควรอยู่ใกล้มุมบล็อกและอำจจัดให้เป็นสถำนท่ีต่ำงๆ นอกเหนือจำกกำร
จัดเป็นบ้ำนโดยสังเกตกำรและควำมสนใจของเด็กว่ำมีกำรเปล่ียนแปลงบทบำทกำรเล่นจำกบทบำทเดิมไปสู่
ระบบกำรเล่นอ่ืนหรือไม่ อุปกรณ์ท่ีนำมำจัดก็ควรเปลี่ยนไปตำมควำมสนใจของเด็กเชน่ กัน ดังนั้นมุมบทบำท
สมมุติจึงอำจเป็นบ้ำน ร้ำนอำหำร ร้ำนขำยของ ร้ำนเสริมสวย โรงพยำบำล เป็นต้น ในขณะเดียวกัน
อปุ กรณ์ทน่ี ำมำจดั ใหเ้ ดก็ ต้องไม่เปน็ อนั ตรำยและมคี วำมเหมำะสมกับสภำพทอ้ งถิน่
มมุ วทิ ยำศำสตร์
มุมวิทยำศำสตร์หรือมุมธรรมชำติศึกษำเป็นมุมเล่นที่ผู้สอนจัดรวบรวมส่ิงของต่ำง ๆ หรือสิ่งที่มีใน
ธรรมชำติมำให้เด็กได้สำรวจ สังเกต ทดลอง ค้นพบด้วยตนเองซ่ึงเป็นกำรช่วยพัฒนำทักษะกระบวนกำรทำง
วิทยำศำสตรใ์ หก้ บั เดก็
กำรจดั มมุ วทิ ยำศำสตร์หรือมมุ ธรรมชำติศึกษำ เป็นมุมท่ีตอ้ งกำรควำมสงบคลำ้ ยมุมหนงั สือจึงอำจจัด
ไว้ใกล้กันได้ และเพื่อเร้ำให้เด็กสนใจสิ่งท่ีนำมำแสดง ของที่จัดวำงไว้จึงควรอยู่ในระดับที่เด็กหยิบ จับดูวัสดุ
๗๘
อุปกรณ์เหล่ำน้ันได้โดยสะดวกและส่ิงที่นำมำตั้งแสดงนั้นไม่ควรจะต้ังแสดงของสิ่งเดียวกันตลอดปี แต่ควรจะ
ปรับเปลยี่ นให้น่ำสนใจ
มมุ ศลิ ปะ
กิจกรรมศิลปะเป็นกิจกรรมท่ีสำมำรถพัฒนำเด็กได้หลำยด้ำน เช่น ทำงด้ำนกล้ำมเน้ือมือซึ่งจะช่วยให้มือของ
เด็กพร้อมท่ีจะจับดินสอเขียนหนังสือได้เมื่อไปเรียนในชั้นประถมศึกษำ นอกจำกน้ียังช่วยในกำรพัฒนำทำง
อำรมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญำ เด็กจะมีโอกำสทำงำนตำมลำพังและทำงำนเป็นกลุ่ม รู้จักปรบั ตัวที่จะ
ทำงำนด้วยกันและส่งเสริมจินตนำกำร ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ดังน้ัน กำรจัดให้มีมุมศิลปะจึงเป็นทำงหนึ่งที่จะ
ช่วยให้เด็กได้พัฒนำมำกขึ้นและยังสนองควำมสนใจควำมต้องกำรของเด็กวัยนี้ได้เป็นอย่ำง ดีกำรจัดมุมศิลปะ
เป็นมุมหนึ่งที่เด็กต้องใช้สมำธิในกำรทำงำน จึงควรจัดให้อยู่ในบริเวณมุมที่ต้องกำรควำมสงบ เช่นกัน
อำจจัดเป็นโต๊ะให้เด็กทำงำนศิลปะ โดยมีผ้ำพลำสติกหรือกระดำษปูกันเลอะเทอะก่อนทำงำน และจัดวำง
อุปกรณ์ ทำงำนศิลปะไว้บนโตะ๊ หรอื จดั ให้มกี ระดำนขำหยงั่ สำหรบั เด็กเขยี นภำพระบำยสีนำ้
กำรจัดสภำพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรยี น
สภำพแวดลอ้ มนอกห้องเรียน คือ กำรจดั สภำพแวดล้อมภำยในอำคำร บริเวณรอบ ๆ สถำนศึกษำ รวมทั้ง
จัดสนำมเด็กเล่น พร้อมเครื่องเล่นสนำม จัดระวังรักษำควำมปลอดภัยในบริเวณสถำนศึกษำและบริเวณรอบ
นอกสถำนศึกษำ ดูแลรักษำควำมสะอำด ปลูกต้นไม้ให้ควำมร่มร่ืน รอบ ๆ บริเวณสถำนศึกษำ ส่ิงต่ำง ๆ
เหลำ่ นเี้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ทสี่ ่งผลต่อกำรเรียนรแู้ ละพัฒนำกำรของเดก็
บริเวณสนำมเด็กเลน่ ตอ้ งจัดใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตร ดงั น้ี
สนำมเดก็ เลน่ ควรมพี น้ื ผวิ หลำยประเภท เชน่ ดนิ ทรำย หญ้ำ พื้นท่ี สำหรบั เล่นของเล่นที่มีล้อ
รวมทั้งท่ีร่ม ท่ีโล่งแจ้ง พื้นดินสำหรับขุด ที่เล่นน้ำ บ่อทรำย พร้อมอุปกรณ์ประกอบกำรเล่นเคร่ืองสนำม
สำหรับปีนป่ำย ทรงตัว ฯลฯ ท้ังน้ีต้องไม่ติดกับบริเวณท่ีมีอันตรำย ต้องหมั่นตรวจตรำเครื่องเล่นให้อยู่ใน
สภำพแข็งแรง ปลอดภัยอยู่เสมอและหม่นั ดูแลเรื่องควำมสะอำด
ท่ีนั่งเล่นพักผ่อน จัดท่ีน่ังไว้ใต้ต้นมีร่มเงำ อำจใช้กิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ หรือกิจกรรมท่ีต้องกำรควำม
สงบ หรืออำจจัดเป็นลำนนทิ รรศกำรให้ควำมร้แู กเ่ ดก็ และผู้ปกครอง
บริเวณธรรมชำติ ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ พืชผักสวนครัว หำกบริเวณสถำนศึกษำมีไม่มำกนักอำจ
ปลูกพชื ในกระบะหรือกระถำง
ห้องปฏบิ ตั กิ ำรและอำคำรประกอบตำ่ งๆ เชน่ โรงเรยี น เรอื นเพำะชำ หอ้ งสมดุ ห้องปฏบิ ัติกำรต่ำงๆ
ควรจัดใหม้ พี ้นื ทีส่ ำหรบั ให้เด็กทำกิจกรรมและเรียนรู้ ที่สะอำดและปลอดภยั สำหรบั เด็ก
๗๙
สอ่ื
ส่ือเพื่อส่งเสริมพัฒนำกำรและกำรเรียนรู้ของเด็ก เป็นตัวกลำงกระตุ้นให้เกิดกำรเรียนรู้ตำม
จุดมุ่งหมำยที่กำหนดกำรเรียนรู้ ของเด็กอำยุ ๔-๖ ปีจำเป็นต้องผ่ำนกำรลงมือปฏิบัติจริงหรือเกิดกำรค้นพบ
ด้วยตนเองเป็นประสบกำรณ์ตรง ซ่ึงเด็กจะเรียนรู้จำกส่ิงที่เป็นรูปประธรรมหรือมองเห็น จับต้องได้ไปสู่ส่ิงท่ี
เป็นนำมธรรม เพ่ือเข้ำสู่อำยุท่ีสูงขึ้น กำรเรียนรู้ของเดก็ วัยน้ีจึงข้ึนอยู่กับของจริงท่ีพบเห็น ของเล่นท่ีเลียนแบบ
ของจรงิ นทิ ำนและเพลงดงั นี้
๑. ของเล่น
ของเล่นเป็นสิ่งที่ประกอบกำรเล่นของเด็ก ของเล่นช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้และเกิดควำม
มั่นใจในกำรเล่น ของเล่นอำจจัดทำขึ้นเองจำกวัสดุ ส่ิงของ เศษวัสดุเหลือใช้รอบตัวในชีวิตประจำวันหรือเป็น
กำรเลือกซื้อของเล่นที่มีขำยในท้องตลำด ซ่ึงมีกำรจัดหำของเล่นให้เด็กต้องคำนึงถึงควำมปลอดภัยและ
เหมำะสมกับวยั ของเด็ก
๒. ลกั ษณะของเล่นเด็ก ของเล่นเกย่ี วข้องกบั กำรเลน่ ของเด็กแบ่งเปน็
- ของจริง เป็นของเล่นท่ีเป็นสิ่งหรือเครื่องใช้ในชีวิตจริง ของจริงท่ีเด็กเล่นได้เช่น ช้อนถ้วย พลำสติก
หม้อ จำน
- ของเลน่ เลียนแบบของจริง เป็นของเลน่ ท่ที ำขึ้นให้มรี ูปแบบเหมือนของจริงท่ีมีอยใู่ นชีวติ ประจำวัน ทำ
จำกวสั ดุประเภทไม้ พลำสตกิ โลหะ กระดำษ ก็ได้ เชน่ ตุ๊กตำสตั วข์ นนุ่มตุ๊กตำคน ลูกบอลเดก็ เลน่ รถ
เดก็ เล่น ของเล่นเคร่ืองครวั / เคร่อื งใช้ในบำ้ น
- ของเล่นสร้ำงสรรค์ เป็นของเล่นที่ทำข้ึนไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอนตำยตัวสำมำรถประกอบเข้ำด้วยกันให้
เป็นอะไรก็ได้ตำมควำมต้องกำรหรือจินตนำกำรของผู้เล่น เช่น ตัวต่อพลำสติก พลำสติกสร้ำงสรรค์
บล็อกพลำสตกิ / ไม้ วัสดทุ ่ใี ช้ในกำรวำดภำพ/ กำรปัน้ /กำรประดิษฐ์
- ของเล่นเพ่ือกำรศึกษำ เป็นของเล่นทีท่ ำข้ึน มีรปู แบบช่วยพฒั นำทักษะกำรสงั เกต ทักษะกล้ำมเนื้อมือ
ประสำนสัมพนั ธ์กบั ตำ ทกั ษะกำรคิด เช่น ไม้บล็อก เกมภำพตดั ตอ่ เกมโดมิโน่
- ของเล่นพน้ื บำ้ น เปน็ ของเล่นที่ทำจำกวสั ดุตำมธรรมชำตหิ รอื วัสดุทมี่ ีอยูใ่ นท้องถิ่นดว้ ยเชน่ โมบำยปลำ
ตะเพียน ตะกร้อใบลำน ตุ๊กตำสัตว์ทำจำกฟำง กังหันลมใบตำล ล้อกล้ิงไม้ไผ่ นก/ ต๊ักแตนสำนใบ
มะพรำ้ ว กะลำรองเท้ำ ปใ่ี บมะพรำ้ ว และปน้ั ดินเหนียวรูปสัตว์
๓. ประเภทของเล่นเด็ก ของเลน่ เด็กมหี ลำกหลำยรปู แบบ ข้นึ อย่กู บั วัตถปุ ระสงคข์ องกำรใช้เล่นแบ่งเป็น
- ของเล่นฝึกประสำทสัมผัส เป็นของเล่นที่ดึงดูดควำมสนใจของเด็ก ในกำรมองเห็น ได้ยินและสัมผัส
เช่น ของเล่นทม่ี ผี วิ สัมผัสเรยี บ- ขรุขระ ของเล่น หยบิ จับไว้ในมอื ได้เสียงเพลง
- ของเลน่ ฝึกกำรเคลื่อนไหว เป็นของเล่นทเ่ี คล่ือนท่ีไปมำได้ กระตุ้นให้เด็กใช้กลำ้ มเน้ือแขน ขำ เชน่ ลกู
บอล ของเล่นลำกจงู ได้ ของเล่นไขลำน ของเล่นมลี อ้ เลอ่ื น
- ของเล่นฝึกควำมสัมพันธ์มือตำ เป็นของเล่นที่ฝึกให้เด็กได้พัฒนำกำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงกำรใช้
กล้ำมเนื้อมือและตำอย่ำงมีจุดหมำย เช่น กระดำนค้อนตอก กล่องหยอดรูปทรง ของเล่นร้อยลูกปัด
เม็ดโต ของเลน่ รอ้ ยเชอื กตำมรู ของเลน่ ผกู เชือก/รูดซิป/ตดิ กระดุม
- ของเล่นฝึกภำษำ เปน็ ของเล่นท่ชี ่วยในกำรฟงั กำรสอ่ื สำรทำงด้ำนกำรฟังกำรพูดเล่ำเรื่อง เชน่ หนังสอื
ภำพนิทำน เทป เพลงเด็ก เครอื่ งดนตรี ห่นุ มือ
- ของเล่นฝึกกำรสังเกต เป็นของเล่นฝึกทักษะกำรเปรียบเทียบ กำรจำแนกหรือจัดกลุ่มของ เช่น ของ
เล่นรปู ทรงเรขำคณติ แผ่นภำพจบั คู่ บล็อกตำ่ งสีตำ่ งขนำด
๘๐
- ของเลน่ ฝึกกำรคิด เปน็ ของเลน่ สอนใหเ้ ด็กมสี มำธิและรู้จกั แกป้ ัญหำ คิดใช้เหตุผล เช่น ภำพตดั ต่อ ตวั
ตอ่ ภำพ ปรศิ นำ บลอ็ กไม้
- ของเล่นฝึกควำมคิดสร้ำงสรรค์ เป็นของเล่นท่ีส่งเสริมให้เด็กสร้ำงจินตนำกำรตำมควำมนึกคิดหรือ
แสดงบทบำทสมมุติ เชน่ บลอ็ กไม้ ตัวต่อ ของเล่นเครอ่ื งครัว ของเล่นร้ำนค้ำ ของเลน่ เคร่ืองมอื แพทย์
๔. กำรเลือกของเล่นเดก็ หลักเกณฑ์ทีค่ วรคำนงึ ถึงมดี ังน้ี
ควำมปลอดภัยในกำรเล่น ของเล่นสำหรับเด็ก อำจทำด้วยไม้ ผ้ำ พลำสติกหรือโลหะ ท่ีไม่มีอันตรำยเกี่ยวกับ
ผิวสมั ผัสทีแ่ หลมคม หรือมีชิน้ ส่วนที่หลุดหรือแตกหักได้ ตลอดจนทำใหว้ สั ดุทไ่ี ม่มีพิษมีภัยต่อเด็กในสีที่ทำ หรือ
ส่วนผสมในกำรผลิตมีขนำดไม่เล็กเกินไป จนทำให้เด็กกลืนหรือหยิบใส่รูจมูก หรือเข้ำปำกได้ รวมทั้งมีน้ำหนัก
พอเหมำะทีเ่ ดก็ สำมำรถหยิบเล่นเองได้
- ประโยชน์ในกำรเล่น ของเล่นท่ีดีควรช่วยเร้ำควำมสนใจของเด็กให้อยำกรู้อยำกเห็น มีสีสันสวยงำม
สะดดุ ตำเดก็ มีกำรออกแบบทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กใช้ควำมคิดและจนิ ตนำกำรทจ่ี ะเล่นอย่ำริเร่มิ สรำ้ งสรรค์
หรือแก้ปัญหำช่วยในกำรพัฒนำกล้ำมเน้ือ กำรเคลื่อนไหว และกำรใช้มือได้อย่ำงคล่องแคล่ว ทั้งยัง
เสรมิ สร้ำงกำรพัฒนำประสำทมือและตำให้สัมพันธ์กัน
- ประสิทธภิ ำพในกำรใชเ้ ล่น ของเลน่ ที่เหมำะในกำรเลน่ ควรมีควำมยำกงำ่ ยกับอำยุและควำมสำมำรถ
ตำมพัฒนำกำรของเด็ก ของเล่นท่ียำกเกินไปจะบั่นทอนควำมสนใจในกำรเลน่ ของเด็กและทำให้เดก็
รสู้ กึ ท้อถอยได้งำ่ ย ส่วนของเล่นทง่ี ่ำยเกินไปก็ทำใหเ้ ด็กเบอ่ื ไมอ่ ยำกเล่นได้
- นอกจำกนี้ของเล่นควรทำให้เด็กได้ใช้ประสบกำรณ์ตรงและเกิดกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง มีควำม
แข็งแรงทนทำนและปรับเปลยี่ นแปลงใชป้ ระโยชนไ์ ด้หลำยโอกำส หลำยรปู แบบเลน่ ได้หลำยคน
- ควำมประหยัดทรัพยำกร ของเล่นท่ีดีไม่จำเป็นต้องมีรำคำแพงหรือผลิตด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มี
ตรำเครอื่ งหมำยผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่มีชื่อเสียงเป็นท่ีนยิ มท่วั ไป หำกแตเ่ ป็นวัสดุของหรือของเล่นที่
สำมำรถจัดหำง่ำยๆ มีรำคำย่อมเยำ และมีอยู่ในท้องถิ่นนั้นโดยหำซื้อได้ง่ำยหรือทำขึ้นเองได้จำกภมู ิ
ปัญญำพนื้ บ้ำนหรือวฒั นธรรมทอ้ งถิน่
ตำรำงเกณฑพ์ จิ ำรณำกำรเลอื กซื้อของเลน่ ให้เด็ก
ประเดน็ กำรพจิ ำรณำ
๑. ของเล่นทม่ี ีลกั ษณะปลอดภยั สำหรับเด็กตำมวัย สที ใี่ ช้ เป็นสีทีป่ ลอดภัย ไมม่ ีช้นิ ส่วนแหลมคมหรอื แตกหักงำ่ ย
๒. ของเล่นเหมำะกับวัยของเด็กไม่ยำกหรือง่ำยเกินไปท่เี ด็กจะเลน่ ได้เอง
๓. ของเลน่ ดงึ ดดู ควำมสนใจกำรเลน่ ทำ้ ทำยควำมสำมำรถของเดก็
๔. ของเล่นมกี ำรออกแบบอยำ่ งพถิ ีพิถัน มองดเู หมำะกบั ธรรมชำติของเด็ก
๕. ของเลน่ สำมำรถปรับเปลีย่ นรปู แบบไดห้ ลำกหลำย ใชเ้ ล่นได้หลำยแบบ หลำยวธิ ีตำมควำมต้องกำรของผู้เล่น
๖. ของเลน่ มคี วำมคงทนใช้เลน่ ได้นำน ไมบ่ บุ สลำยงำ่ ย
๗. ของเลน่ ชว่ ยสง่ เสรมิ ทกั ษะกำรเรยี นรขู้ องเด็ก ทำให้เด็กเรยี นรู้หลำยๆด้ำนเก่ียวกบั สิ่งแวดล้อมรอบตัว
๘. ของเล่นชว่ ยขยำยควำมคิดสรำ้ งสรรคข์ องเดก็ ทำให้เดก็ ใชจ้ นิ ตนำกำร กำรคดิ ทำสิ่งใหม่ๆ
๙. ของเลน่ ทำใหเ้ ดก็ มสี มำธิ ใจจดจอ่ อย่กู บั กำรเล่นเป็นเวลำนำนพอควรตำมชว่ งควำมสนใจของวยั
๑๐. ของเล่นทำควำมสะอำดไดง้ ่ำย หรอื นำกลับมำเล่นใหม่ได้
๑๑. ของเล่นทำใหเ้ ดก็ เกดิ ควำมรสู้ ึกดีต่อตนเองและค้นพบควำมสำเรจ็
๑๒. ของเล่นมรี ำคำไมแ่ พงจนเกนิ ไป เม่ือเปรยี บเทียบกับคุณภำพของวัสดุและกำรใชป้ ระโยชน์
๘๑
๕. แหล่งเรยี นรูใ้ นชุมชน
แหลง่ เรยี นรทู้ ี่เปน็ บุคคล เช่น ผใู้ หญ่บำ้ น ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้ำน อบต. ตำรวจชมุ ชน เจำ้ หนำ้ ทอ่ี นำมัย
กำนนั พระ สปั เหร่อ เกษตรตำบล หมอปศสุ ัตว์ อสม. ภมู ปิ ญั ญำดำ้ นทอผำ้ ภมู ปิ ัญญำดำ้ นกำรเกษตร
ผสมผสำนแหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถำนที่ เช่น วัดม่วง พิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้ำนวัดม่วง ศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก สถำนี
อนำมัย สถำนีตำรวจ อบต. แหล่งภูมิปัญญำท้องถ่ิน ฟำร์มต่ำง ๆ ส่ือและแหล่งเรียนรู้ท่ีเป็นประเพณี เชน่
ประเพณีประจำปี ประเพณีจังหวัด ประเพณีท่ีสำคัญในชุมชน เช่น ประเพณีแห่ปลำ พิธีกรรมต่ำง ๆ ทำงไสย
ศำสตร์ เชน่ กำรเล่นผกี ะดง้
๘๒
รปู แบบกำรจัดกิจกรรมประจำวนั
กำรจัดทำตำรำงกิจกรรมประจำวันสำมำรถจัดได้หลำยรูปแบบท้ังน้ีขึ้นอยู่กับควำมเหมำะสมในกำร
นำมำไปใช้ของแตล่ ะหน่วยงำน ทส่ี ำคัญผสู้
อนต้องคำนึงกำรจัดกิจกรรมใหค้ รอบคลุมพัฒนำกำรทุกด้ำนสำหรับโรงเรียนวัดม่วง(สำนักงำนสลำกกิน
แบง่ รัฐบำลสมทบสรำ้ ง367) ไดจ้ ดั ทำตำรำงกิจกรรม ประจำวนั ดังนี้
ตำรำงกิจกรรมประจำวัน
ตำรำงกจิ กรรมพัฒนำกระบวนกำรเรียนรู้เด็กปฐมวัย
โรงเรียนวดั ม่วง สังกดั สพป.รำชบรุ ี เขต ๒
ตำรำงกจิ กรรมประจำวนั
7.00 – 7.15 น. รับเด็กเป็นรำยบุคคล
8.00 – 8.20 น. เคำรพธงชำตสิ วดมนต์
8.20 – 8.30 น. ตรวจสุขภำพ/ดื่มนม/เข้ำหอ้ งน้ำ
8.20 – 9.00 น. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ
9.00 – 10.00 น. กจิ กรรมเสริมประสบกำรณ์
10.00 – ๑๐.๓๐น. กิจกรรมศิลปะสร้ำงสรรค์
10.30 – 11.00 น. กจิ กรรมกลำงแจ้ง
11.00 – 12.00 น พักรบั ประทำนอำหำรกลำงวัน
12.00 – 13.00 น. นอนหลบั พักผ่อน
13.00 – 13.15 น. เกบ็ ทนี่ อน /เขำ้ ห้องน้ำ
13.15 – 14.00 น. กิจกรรมเสรีเล่นตำมมุม
14.00 – 15.00 น. กจิ กรรมเกมกำรศกึ ษำ
ทบทวนกจิ กรรมประจำวนั
หมำยเหต:ุ ตำรำงกิจกรรมประจำวัน ยืดหย่นุ ตำมควำมสนใจของเดก็
๘๓
การกาหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์สาหรบั เด็กปฐมวัย อายุ ๓ – ๖ ปี
โรงเรยี นวัดม่วง สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒
สัปดำห์ หนว่ ยกำรจดั ประสบกำรณ์ สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรู้เพม่ิ เติม
ที่ อำย๓ุ -๖ ปี ระดบั ปฐมวยั /สำระท่ี
๑. ปฐมนเิ ทศ ๑ ๒ ๓๔ ๑.สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๒. โรงเรียนของเรำ ๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณิตศำสตร์-
๓. ร่ำงกำยของฉัน วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๔. หนูทำได้ ๑.สำระกำรเรียนรทู้ ้องถน่ิ
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๕. ประสำทสัมผสั 5 ๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พนื้ ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พน้ื ฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนร้ทู ้องถิ่น
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พื้นฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พ้นื ฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พื้นฐำนคณติ ศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พ้นื ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๘๔
สปั ดำห์ หน่วยกำรจดั ประสบกำรณ์ สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรูเ้ พ่ิมเติม
ที่ อำย๓ุ -๖ ปี ระดบั ปฐมวัย/สำระท่ี ๕.พน้ื ฐำนทกั ษะภำษำ
๖. ครอบครวั มสี ุข
๑ ๒ ๓๔
๗. ชุมชนของเรา
๑.สำระกำรเรยี นรู้ท้องถน่ิ
๘. อาชพี ในฝนั ๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๙. ฝนจ๋า ๔. พื้นฐำนคณติ ศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๑๐. สัตว์นา่ รัก ๕.พืน้ ฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรูท้ ้องถิ่น
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พนื้ ฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พน้ื ฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ท้องถ่ิน
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พนื้ ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พื้นฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ท้องถนิ่
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พื้นฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พน้ื ฐำนทักษะภำษำ
๘๕
สัปดำห์ หนว่ ยกำรจดั ประสบกำรณ์ สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นรเู้ พิม่ เติม
ท่ี อำย๓ุ -๖ ปี ระดับปฐมวัย/สำระที่
๑๑. วันเขำ้ พรรษำ/วนั อำสำฬหบูชำ ๑.สำระกำรเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
๑ ๒ ๓๔ ๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๑๒. ดนิ นา้ ลม อากาศ ๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พ้นื ฐำนคณติ ศำสตร์-
๑๓. วันแม่ วทิ ยำศำสตร์
๕.พน้ื ฐำนทักษะภำษำ
๑๔. กลำงวนั กลำงคืน
๑.สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
๑๕. ตน้ ไมแ้ สนรัก ๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๑๖. ของเลน่ ของใช้ ๔. พ้นื ฐำนคณิตศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พน้ื ฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ
๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พื้นฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิน่
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พน้ื ฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๘๖
สัปดำห์ หนว่ ยกำรจดั ประสบกำรณ์ สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นร้เู พิม่ เติม
ท่ี อำย๓ุ -๖ ปี ระดับปฐมวยั /สำระท่ี
๑๗. ปลอดภยั ไว้กอ่ น ๑ ๒ ๓๔ ๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๑๘. คณิตศำสตรแ์ สนสนกุ ๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ท้องถน่ิ
๑๙ กำรคมนำคม ๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๒๐ หลกั สูตรท้องถน่ิ / ๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
พิพธิ ภัณฑว์ ัดม่วง วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๒๑. ไข่ ๑.สำระกำรเรยี นร้ทู ้องถิ่น
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๒๒. ขำ้ ว ๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนร้ทู ้องถิ่น
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พ้ืนฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พ้นื ฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พ้ืนฐำนคณติ ศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พืน้ ฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ทอ้ งถนิ่
๘๗
สัปดำห์ หน่วยกำรจัดประสบกำรณ์ สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรเู้ พิม่ เติม
ที่ อำย๓ุ -๖ ปี ระดบั ปฐมวัย/สำระท่ี
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๒๓. ผกั ผลไม้ ๑ ๒ ๓๔ ๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๒๔. อำหำรดีมปี ระโยชน์ ๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๒๕. เศรษฐกจิ พอเพียง ๕.พ้ืนฐำนทกั ษะภำษำ
๒๖. ฉนั รกั เมืองไทย ๑.สำระกำรเรยี นรู้ท้องถน่ิ
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๒๗. ทอ่ งแดนอำเซียน ๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พืน้ ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พนื้ ฐำนคณติ ศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พ้นื ฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรูท้ อ้ งถิน่
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พ้ืนฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรู้ท้องถน่ิ
๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๘๘
สปั ดำห์ หนว่ ยกำรจัดประสบกำรณ์ สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรูเ้ พิ่มเติม
ท่ี อำย๓ุ -๖ ปี ระดบั ปฐมวัย/สำระท่ี
๒๘. โลกสวยดว้ ยมอื เรำ ๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
๑ ๒ ๓๔ วทิ ยำศำสตร์
๒๙. 3 ฤดู ๕.พน้ื ฐำนทกั ษะภำษำ
๓๐. วันพ่อ ๑.สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓๑. พลังงำน ๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
๓๒. ดอกไม้แสนสวย วิทยำศำสตร์
๕.พ้นื ฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรทู้ ้องถิ่น
๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พื้นฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พ้นื ฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรูท้ ้องถิน่
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พน้ื ฐำนคณิตศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พน้ื ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พนื้ ฐำนทักษะภำษำ
๘๙
สัปดำห์ หน่วยกำรจัดประสบกำรณ์ สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นร้เู พมิ่ เติม
ท่ี อำย๓ุ -๖ ปี ระดับปฐมวยั /สำระท่ี
๓๓ วันปใี หม่ ๑.สำระกำรเรียนรทู้ ้องถน่ิ
๑ ๒ ๓๔ ๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓๔ วนั เดก็ -วันครู ๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พ้ืนฐำนคณติ ศำสตร์-
๓๕ เวลำ วิทยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๓๖ เทคโนโลยีการส่ือสาร
๑.สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
๓๗ ตวั เลขและจำนวน ๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๓๘ สหี รรษำ ๔. พื้นฐำนคณิตศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรียนรูท้ อ้ งถิ่น
๒.คำ่ นยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พื้นฐำนคณิตศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พ้ืนฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรูท้ อ้ งถิน่
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พน้ื ฐำนคณติ ศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น
๒.ค่ำนิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. พื้นฐำนคณิตศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรู้ท้องถิ่น
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๙๐
สัปดำห์ หน่วยกำรจดั ประสบกำรณ์ สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรเู้ พ่มิ เติม
ท่ี อำย๓ุ -๖ ปี ระดับปฐมวยั /สำระที่
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๓๙ Project Approach ๑ ๒ ๓๔ ๔. พน้ื ฐำนคณิตศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๔๐ Project Approach ๕.พน้ื ฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่
๒.คำ่ นิยม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พนื้ ฐำนคณิตศำสตร์-
วทิ ยำศำสตร์
๕.พืน้ ฐำนทกั ษะภำษำ
๑.สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถ่ิน
๒.ค่ำนยิ ม๑๒ ประกำร
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง
๔. พ้ืนฐำนคณิตศำสตร์-
วิทยำศำสตร์
๕.พื้นฐำนทักษะภำษำ
๙๑
กำรประเมินพฒั นำกำร
กำรประเมนิ พัฒนำกำรเด็กอำยุ ๑ – ๖ ปี เป็นกำรประเมนิ พัฒนำกำรทำงด้ำนรำ่ งกำย อำรมณ์ จิตใจสงั คม
และสตปิ ัญญำของเด็ก โดยถอื เป็นกระบวนกำรต่อตนเอง และเปน็ สว่ นหนึ่งของกิจกรรมปกติท่จี ดั ให้เดก็ ในแต่
ละวัน ผลท่ีได้จำกกำรสังเกตพัฒนำกำรเด็กต้องนำมำจัดทำสำรนิทัศน์หรือจัดทำข้อมูลหลักฐำนหรือเอกสำร
อย่ำงเป็นระบบ ด้วยกำรวบรวมผลงำนสำหรับเด็กเป็นรำยบุคคลท่ีสำมำรถบอกเร่ืองรำวหรือประสบกำรณ์ท่ี
เด็กได้รับว่ำเด็กเกิดกำรเรียนรู้และมีควำมก้ำวหน้ำเพียงใด ท้ังนี้ ให้นำข้อมูลผลกำรประเมินพัฒนำกำรเด็กมำ
พิจำรณำ ปรับปรุงวำงแผน กำรจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับกำรพัฒนำตำมจุดหมำยของ
หลักสูตรอย่ำงต่อเนื่อง กำรประเมนิ พัฒนำกำรควรยดึ หลกั ดงั นี้
๑. วำงแผนกำรประเมนิ พฒั นำกำรอยำ่ งเปน็ ระบบ
๒. ประเมินพฒั นำกำรเด็กครบทกุ ด้ำน
๓. ประเมินพฒั นำกำรเด็กเปน็ รำยบุคคลอย่ำงสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี
๔. ประเมินพัฒนำกำรตำมสภำพจรงิ จำกกจิ กรรมประจำวันด้วยเคร่อื งมือและวธิ กี ำรทห่ี ลำกหลำย ไม่
ควรใช้แบบทดสอบ
๔. สรปุ ผลกำรประเมิน จัดทำขอ้ มูลและนำผลกำรประเมินไปใช้พฒั นำเด็กสำหรับวิธกี ำรประเมนิ ท่ี
เหมำะสมและควรใชก้ ับเด็กอำยุ ๓ – ๖ ปี ไดแ้ ก่ กำรสงั เกต กำรบันทกึ พฤติกรรม กำรสนทนำกับเด็ก
กำรสัมภำษณ์ กำรวเิ ครำะห์ข้อมูลจำกผลงำนเด็กท่ีเกบ็ อย่ำงมีระบบ
ประเภทของกำรประเมินพฒั นำกำร
กำรพฒั นำคุณภำพกำรเรยี นรูข้ องเด็ก ประกอบด้วย
๑) วัตถปุ ระสงค์ (Objective) ซงึ่ ตำมหลักสูตรกำรศกึ ษำปฐมวยั พทุ ธศักรำช ๒๕๖๐ หมำยถงึ จุดหมำยซ่งึ
เป็นมำตรฐำนคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบ่งช้ีและสภำพท่พี งึ ประสงค์
๒) กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ (Learning) ซึ่งเป็นกระบวนกำรได้มำของควำมรู้หรือทักษะผ่ำนกำร
กระทำสงิ่ ต่ำงๆทีส่ ำคัญตำมหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวยั กำหนดให้หรือทเี่ รยี กว่ำประสบกำรณ์สำคัญ ในกำรช่วย
อธิบำยให้ครูเข้ำใจถึงประสบกำรณ์ที่เด็กปฐมวัยต้องทำเพื่อเรียนรู้สิ่งต่ำงๆรอบตัว และช่วยแนะผู้สอนในกำร
สงั เกต สนบั สนนุ และวำงแผนกำร จดั กจิ กรรมให้เดก็ และ
๓) กำรประเมินผล(Evaluation) เพ่ือตรวจสอบพฤติกรรมหรือควำมสำมำรถตำมวัยท่ีคำดหวังให้เด็ก
เกิดขึ้นบนพ้ืนฐำนพัฒนำกำรตำมวัยหรือควำมสำมำรถตำมธรรมชำติในแต่ละระดับอำยุ เรียกว่ำ สภำพท่ีพึง
ประสงค์ ทใ่ี ชเ้ ป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับกำรประเมินพฒั นำกำรเด็ก เป็นเป้ำหมำยและกรอบทศิ ทำงในกำรพัฒนำ
คุณภำพเด็กทง้ั น้ีประเภทของกำรประเมินพัฒนำกำร อำจแบ่งไดเ้ ป็น ๒ ลกั ษณะ คือ
๑) แบ่งตำมวตั ถุประสงคข์ องกำรประเมิน
กำรแบ่งตำมวัตถปุ ระสงคข์ องกำรประเมิน แบ่งได้ ๒ ประเภท ดังนี้
๑.๑) กำรประเมินควำมก้ำวหน้ำของเด็ก (Formative Evaluation) หรือกำรประเมินเพื่อพัฒนำ
(Formative Assessment) หรอื กำรประเมนิ เพ่ือเรียน (Assessment for Learning) เปน็ กำรประเมินระหวำ่ ง
กำรจัดระสบกำรณ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับผลพัฒนำกำรและกำรเรียนรู้ของเด็กในระหว่ำงทำกิจกรรม
ประจำวัน/กิจวัตรประจำวันปกติอย่ำงต่อเนื่อง บันทึก วิเครำะห์ แปลควำมหมำยข้อมูลแล้ว นำมำใช้ในกำร
ส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขกำรเรียนรู้ของเด็ก และกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ของผู้สอน กำรประเมิน
พัฒนำกำรกับกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ของผู้สอนจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กันหำกขำดสิ่งหนึ่งสิ่งใดกำรจัด
ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ก็ขำดประสิทธิภำพ เป็นกำรประเมินผลเพ่ือให้รู้จดุ เด่น จุดที่ควรสง่ เสริม ผสู้ อนต้องใช้
วิธีกำรแลเคร่ืองมือประเมินพัฒนำกำรท่ีหลำกหลำย เช่น กำรสังเกต กำรสัมภำษณ์ กำรรวบรวมผลงำนที่
๙๒
แสดงออกถึงควำมก้ำวหน้ำแต่ละด้ำนของเด็กเป็นรำยบุคคล กำรใช้แฟ้มสะสมงำน เพื่อให้ได้ข้อสรุปของ
ประเด็นท่ีกำหนด สิ่งที่สำคัญท่ีสุดในกำรประเมินควำมก้ำวหน้ำคือ กำรจัดประสบกำรณ์ให้กับเด็กในลักษณะ
กำรเชื่อมโยงประสบกำรณ์เดิมกับประสบกำรณ์ใหม่ทำให้กำรเรียนรู้ของเด็กเพ่ิมพูน ปรับเปลี่ยนควำมคิด
ควำมเข้ำใจเดิมท่ีไม่ถูกตอ้ ง ตลอดจนกำรให้เดก็ สำมำรถพัฒนำกำรเรยี นรู้ของตนเองได้
๑.๒) กำรประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) หรือ กำรประเมินเพื่อตัดสินผลพัฒนำกำร
(Summative Assessment) หรือกำรประเมินสรุปผลของกำรเรียนรู้ (Assessment of Learning) เป็นกำร
ประเมินสรุปพัฒนำกำร เพ่ือตัดสินพัฒนำกำรของเด็กว่ำมีควำมพร้อมตำมมำตรฐำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ของหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยหรือไม่ เพื่อเป็นกำรเช่ือมต่อของกำรศึกษำระดับปฐมวัยกับช้ันประถมศึกษำปี
ท่ี ๑
ดังน้ัน ผู้สอนจึงควรให้ควำมสำคัญกับกำรประเมินควำมก้ำวหน้ำของเด็กในระดับห้องเรียนมำกกว่ำ
กำรประเมินเพ่อื ตดั สนิ ผลพัฒนำกำรของเด็กเมอ่ื สนิ้ ภำคเรยี นหรอื ส้นิ ปกี ำรศึกษำ
๒) แบ่งตำมระดบั ของกำรประเมิน
กำรแบ่งตำมระดับของกำรประเมนิ แบง่ ได้เปน็ ๒ ประเภท
๒.๑) กำรประเมินพัฒนำกำรระดับช้ันเรียน เป็นกำรประเมินพัฒนำกำรท่ีอยู่ในกระบวนกำรจัด
ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ผู้สอนดำเนินกำรเพ่ือพัฒนำเด็กและตัดสินผลกำรพัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์
จิตใจสังคม และสตปิ ัญญำ จำกกิจกรรมหลัก/หนว่ ยกำรเรียนรู้(Unit) ที่ผสู้ อนจดั ประสบกำรณใ์ หก้ ับเด็ก ผสู้ อน
ป ร ะเ มิน ผ ล พั ฒ น ำกำร ต ำมส ภ ำพที่ พึ งป ร ะส ง ค์แล ะ ตั ว บ่ งชี้ ที่ กำห น ด เ ป็ น เ ป้ ำห มำย ใน แต่ ล ะแผ น ก ำ ร จั ด
ประสบกำรณ์ของหนว่ ยกำรเรียนรู้ดว้ ยวิธีตำ่ งๆ เชน่ กำรสงั เกต กำรสนทนำ กำรสัมภำษณ์ กำรรวบรวมผลงำน
ท่ีแสดงออกถึงควำมก้ำวหน้ำ แตล่ ะด้ำนของเด็กเป็นรำยบุคคล กำรแสดงกริยำอำกำรต่ำงๆของเด็กตลอดเวลำ
ท่ีจัดประสบกำรณ์เรียนรู้ เพื่อตรวจสอบและประเมินว่ำเด็กบรรลุตำมสภำพท่ีพึงประสงค์ละตัวบ่งชี้ หรือมี
แนวโน้มว่ำจะบรรลุสภำพที่พึงประสงค์และตัวบ่งช้ีเพียงใด แล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะๆอย่ำงต่อเนื่อง
ท้ังนี้ ผู้สอนควรสรุปผลกำรประเมินพัฒนำกำรว่ำ เด็กมีผลอันเกิดจำกกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้หรือไม่
และมำกน้อยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือรวบรวมหรือสะสมผลกำรประเมินพัฒนำกำรในกิจกรรม
ประจำวัน/กิจวัตรประจำวัน/หน่วยกำรเรียนรู้ หรืผลตำมรูปแบบกำรประเมินพัฒนำกำรที่สถำนศึกษำกำหนด
เพือ่ นำมำเป็นข้อมลู ใช้ปรังปรงุ กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ และเป็นข้อมลู ในกำรสรุปผลกำรประเมินพัฒนำ
ในระดับสถำนศกึ ษำตอ่ ไปอีกด้วย
๒.๒) กำรประเมินพฒั นำกำรระดับสถำนศึกษำ เป็นกำรตรวจสอบผลกำรประเมนิ พฒั นำกำรของเดก็
เป็นรำยบุคคลเป็นรำยภำค/รำยปี เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับกำรจัดกำรศึกษำของเด็กในระดับปฐมวัยของ
สถำนศึกษำว่ำส่งผลตำมกำรเรียนรู้ของเด็กตำมเป้ำหมำยหรือไม่ เด็กมีสิ่งที่ต้องกำรได้รับกำรพัฒนำในด้ำนใด
รวมท้ังสำมำรถนำผลกำรประเมินพัฒนำกำรของเด็กในระดับสถำนศึกษำไปเป็นข้อมูลและสำรสนเทศในกำร
ปรับปรุงหลักสูตรสถำนศึกษำปฐมวัย โครงกำรหรือวิธีกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ตลอดจนกำรจัด
แผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำปฐมวัยของสถำนศึกษำตำมแผนกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำและกำรรำยงำน
ผลกำรพัฒนำคุณภำพเด็กต่อผู้ปกครอง นำเสนอคณะกรรมกำรถำนศึกษำขั้นพ้ืนฐำนรับทรำบ ตลอดจน
เผยแพร่ต่อสำธรณชน ชุมชน หรือหน่วยงำนต้นสังกัดหรือหน่วยงำนต้นสังกัดหน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้องต่อไป
สำหรับกำรประเมินพัฒนำกำรเด็กปฐมวัยในระดับเขตพ้ืนที่กำรศึกษำหรือระดับประเทศน้ันหำกเขตพ้ืนที่
กำรศึกษำใดมีควำมพร้อม อำจมีกำรดำเนินงำนในลักษณะของกำรสุ่มกลุ่มตัวอย่ำงเด็กปฐมวัยเข้ำรับกำร
ประเมินก็ได้ ท้ังน้ี กำรประเมินพัฒนำกำรเด็กปฐมวัยขอให้ถือปฏิบัติตำมหลักกำรกำรประเมินพัฒนำกำรตำม
หลักสูตรกำรศกึ ษำปฐมวยั พทุ ธศกั รำช ๒๕๖๐
๙๓
บทบำทหน้ำที่ของผู้เกีย่ วข้องในกำรดำเนินงำนประเมนิ พฒั นำกำร
กำรดำเนนิ งำนประเมนิ พฒั นำกำรของสถำนศึกษำนั้น ต้องเปดิ โอกำสใหผ้ ู้เกี่ยวข้องเข้ำมำมสี ่วนร่วมใน
กำรประเมนิ พฒั นำกำรและรว่ มรับผิดชอบอย่ำงเหมำะสมตำมบริบทของสถำนศึกษำแต่ละขนำด ดังน้ี
ผู้ปฏิบัติ บทบำทหนำ้ ทใี่ นกำรประเมินพฒั นำกำร
๑. ศึกษำหลักสูตรสถำนศึกษำปฐมวัย และแนวกำร
ป ฏิ บั ติ ก ำ ร ป ร ะ เ มิ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ต ำ ม ห ลั ก สู ต ร
สถำนศึกษำปฐมวยั
ผู้สอน ๒. วิเครำะห์และวำงแผนกำรประเมินพัฒนำกำรท่ี
สอดคล้องกับหน่วยกำรเรียนรู้/กิจกรรมประจำวัน/
กจิ วัตรประจำวนั
๓. จัดประสบกำรณ์ตำมหน่วยกำรเรียนรู้ ประเมิน
พัฒนำกำร และบันทึกผลกำรประจำวัน/กิจวัตร
ประจำวัน
๔. รวบรวมผลกำรประเมนิ พัฒนำกำร แปลผลและ
สรปุ ผลกำรประเมินเมื่อสน้ิ ภำคเรยี นและสนิ้ ปี
กำรศึกษำ
๕. สรุปผลกำรประเมินพัฒนำกำรระดับชนั้ เรยี นลง
ในสมดุ บันทกึ ผลกำรประเมนิ พัฒนำกำรประจำช้นั
๖. จัดทำสมดุ รำยงำนประจำตัวนกั เรียน
๗. เสนอผลกำรประเมินพัฒนำกำรต่อผู้บริหำร
สถำนศกึ ษำลงนำมอนุมัติ
๑.กำหนดผู้รับผิดชอบงำนประเมินพัฒนำกำรตำม
ผบู้ ริหำรสถำนศกึ ษำ หลักสูตร และวำงแนวทำงปฏิบัติกำรประเมิน
พั ฒ น ำ ก ำ ร เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย ต ำ ม ห ลั ก สู ต ร ส ถ ำ น ศึ ก ษ ำ
ปฐมวัย
๒. นิเทศ กำกับ ติดตำมให้กำรดำเนินกำรประเมิน
พฒั นำกำรใหบ้ รรลุเป้ำหมำย
๓. นำผลกำรประเมินพัฒนำกำรไปจัดทำรำยงำนผล
ก ำ ร ด ำ เ นิ น ง ำ น ก ำ ห น ด น โ ย บ ำ ย แ ล ะ ว ำ ง แ ผ น
พัฒนำกำรจดั กำรศึกษำปฐมวยั
๑. ให้ควำมร่วมมือกับผู้สอนในกำรประเมิน
พฤติกรรมของเด็กทส่ี ังเกตไดจ้ ำกทบ่ี ้ำน
เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบกำรแปลผลที่เที่ยงตรงของ
พ่อ แม่ ผปู้ กครอง ผู้สอน
๒. รับทรำบผลกำรประเมินของเด็กและสะท้อนให้
ข้อมลู ย้อนกลับท่เี ปน็ ประโยชนใ์ น
กำรส่งเสริมและพฒั นำเดก็ ในปกครองของตนเอง
ผู้ปฏิบตั ิ ๙๔
คณะกรรมกำรสถำนศึกษำข้นั พื้นฐำน
บทบำทหนำ้ ท่ีในกำรประเมินพัฒนำกำร
สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ ๓. ร่วมกับผู้สอนในกำรจัดประสบกำรณ์หรือเป็น
วิทยำกรท้องถ่ิน
๑. ใหค้ วำมเห็นชอบและประกำศใชห้ ลกั สูตร
สถำนศกึ ษำปฐมวยั และแนวปฏบิ ตั ใิ นกำร
ประเมนิ พฒั นำกำรตำมหลกั สูตรกำรศกึ ษำปฐมวยั
๒. รับทรำบผลกำรประเมินพัฒนำกำรของเด็กเพื่อ
กำรประกนั คณุ ภำพภำยใน
๑. สง่ เสรมิ กำรจัดทำเอกสำรหลกั ฐำนว่ำด้วยกำร
ประเมนิ พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยของสถำนศกึ ษำ
๒. ส่งเสริมให้ผู้สอนในสถำนศึกษำมีควำมรู้ ควำม
เข้ำใจในแนวปฏิบัติกำรประเมินพัฒนำกำรตำม
มำตรฐำนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตำมหลักสูตร
สถำนศึกษำปฐมวัยตลอดจนควำมเข้ำใจในเทคนิค
วิธีกำรประเมินพัฒนำกำรในรูปแบบต่ำงๆโดยเน้น
กำรประเมินตำมสภำพจรงิ
๓. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถำนศึกษำพัฒนำเครื่องมือ
พัฒนำกำรตำมมำตรฐำนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ตำมหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยและกำรจัดเก็บ
เอกสำรหลกั ฐำนกำรศึกษำอยำ่ งเปน็ ระบบ
๔. ให้คำปรึกษำ แนะนำเกี่ยวกับกำรประเมิน
พฒั นำกำรและกำรจัดทำเอกสำรหลักฐำน
๕. จัดให้มีกำรประเมินพัฒนำกำรเด็กที่ดำเนินกำร
โดยเขตพ้ืนที่กำรศึกษำหรือหน่วยงำนต้นสังกัดและ
ใ ห้ ค ว ำ ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก ำ ร ป ร ะ เ มิ น พั ฒ น ำ ก ำ ร
ระดบั ประเทศ
๙๕
แนวปฏิบตั ิกำรประเมินพัฒนำกำร
กำรประเมินพัฒนำกำรเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมท่ีสอดแทรกอยู่ในกำรจดั ประสบกำรณ์ทุกข้ันตอนโดย
เริ่มต้ังแต่กำรประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนกำรจัดประสบกำรณ์ กำรประเมินพฤติกรรมเด็กขณะปฏิบัติ
กิจรรมและกำรประเมินพฤติกรรมเดก็ เมื่อส้ินสุดกำรปฏิบัติกิจกรรม ท้ังนี้ พฤติกรรมกำรเรียนรู้และพัฒนำกำร
ด้ำนต่ำงๆของเด็กท่ีได้รับกำรประเมินนั้น ต้องเป็นไปตำมมำตรฐำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และ
สภำพที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถำนศึกษำระดับปฐมวัยท่ีผู้สอนวำงแผนและออกแบบไว้ กำรประเมิน
พัฒนำกำรจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้กำรเรียนรู้ของเด็กบรรลุตำมเป้ำหมำยเพ่ือนำผลกำรประเมินไป
ปรบั ปรุง พัฒนำกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ และใช้เปน็ ข้อมูลสำหรับกำรพฒั นำเด็กต่อไป สถำนศกึ ษำควร
มีกระบวนกำรประเมินพัฒนำกำรและกำรจัดกำรอย่ำงเป็นระบบสรุปผลกำรประเมินพัฒนำกำรท่ีตรงตำม
ควำมรู้ ควำมสำมำรถ ทักษะและพฤตกิ รรมท่ีแท้จริงของเด็กสอดคล้องตำมหลกั กำรประเมนิ พัฒนำกำร รวมทง้ั
สะท้อนกำรดำเนินงำนกำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศึกษำอย่ำงเปน็ ระบบและต่อเนื่อง แนวปฏิบัติกำร
ประเมนิ พัฒนำกำรเดก็ ปฐมวยั ของสถำนศกึ ษำ มดี ังนี้
๑.หลักกำรสำคัญของกำรดำเนินกำรประเมินพัฒนำกำรตำมหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช
๒๕๖๐
สถำนศึกษำที่จัดกำรศึกษำปฐมวัยควรคำนึงถึงหลักสำคัญของกำรดำเนิ นงำนกำรประเมินพัฒนำกำร
ตำมหลักสูตรกำรศกึ ษำปฐมวัย สำหรบั เด็กปฐมวัยอำยุ ๓-๖ ปี ดังนี้
๑.๑ ผู้สอนเป็นผู้รับผิดชอบกำรประเมินพัฒนำกำรเด็กปฐมวัย โดยเปิดโอกำสให้ผู้ที่เก่ียวข้องมีส่วน
ร่วม
๑.๒ กำรประเมินพัฒนำกำร มีจุดมุ่งหมำยของกำรประเมินเพ่ือพัฒนำควำมก้ำวหน้ำของเด็กและ
สรปุ ผลกำรประเมนิ พฒั นำกำรของเดก็
๑.๓ กำรประเมินพัฒนำกำรต้องมีควำมสอดคล้องและครอบคลุมมำตรฐำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตวั บ่งชี้ สภำพทพ่ี งึ ประสงคแ์ ตล่ ะวัยซ่ึงกำหนดไว้ในหลกั สตู รสถำนศกึ ษำปฐมวัย
๑.๔ กำรประเมินพัฒนำกำรเปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ต้องดำเนินกำร
ดว้ ยเทคนคิ วธิ กี ำรท่หี ลำกหลำย เพ่อื ใหส้ ำมำรถประเมนิ พฒั นำกำรเด็กไดอ้ ย่ำงรอบด้ำนสมดลุ ทั้งด้ำนร่ำงกำย
อำรมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญำ รวมท้ังระดับอำยุของเด็ก โดยตั้งอยู่บนพ้ืนฐำนของควำมเท่ียงตรง
ยตุ ธิ รรมและเชื่อถือได้
๑.๕ กำรประเมินพัฒนำกำรพิจำรณำจำกพัฒนำกำรตำมวัยของเด็ก กำรสังเกตพฤติกรรมกำรเรียนรู้
และกำรร่วมกิจกรรม ควบคู่ไปในกระบวนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ตำมควำมเหมำะสมของแต่ละระดับ
อำยแุ ละรูปแบบกำรจัดกำรศึกษำ และต้องดำเนินกำรประเมนิ อยำ่ งตอ่ เน่ือง
๑.๖ กำรประเมินพัฒนำกำรต้องเปดิ โอกำสใหผ้ มู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งทุกฝำ่ ยไดส้ ะท้อนและตรวจสอบผลกำร
ประเมินพัฒนำกำร
๑.๗ สถำนศึกษำควรจัดทำเอกสำรบันทึกผลกำรประเมินพัฒนำกำรของเด็กปฐมวัยในระดับช้ันเรียน
และระดับสถำนศึกษำ เช่น แบบบันทึกกำรประเมินพัฒนำกำรตำมหน่วยกำรจัดประสบกำรณ์ สมุดบันทึกผล
กำรประเมินพัฒนำกำรประจำชั้น เพื่อเป็นหลักฐำนกำรประเมินและรำยงำนผลพัฒนำกำรและสมุดรำยงำน
ประจำตัวนกั เรยี น เพอื่ เปน็ กำรส่ือสำรข้อมลู กำรพฒั นำกำรเด็กระหว่ำงสถำนศกึ ษำกับบำ้ น
๒. ขอบเขตของกำรประเมินพัฒนำกำร
หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย โรงเรียนวัดม่วง ปีกำรศึกษำ๒๕๖๓ (ตำมหลักสูตรปฐมวัยพุทธศักรำช
๒๕๖๐) ไดก้ ำหนดเป้ำหมำยคุณภำพของเด็กปฐมวยั เป็นมำตรฐำนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ซงึ่ ถอื เป็นคุณภำพ