จาก...ผู้อานวยการโรงเรยี นแคมป์สนวทิ ยาคม
นายจลุ ินทร์ นาคา้ ง
โรงเรียนแคมปส์ นวทิ ยาคม ได้จัดทาค่มู อื การขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน
แคมป์สนวิทยาคม ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL สาหรับใช้ในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา ของโรงเรยี นแคมปส์ นวิทยาคม
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ฉบับน้ี เป็นการ
นานโยบายลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL โดยใช้หลักการบริหาร
จดั การทส่ี อดรับกับมาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 และการจัดการศกึ ษา
ในยุคไทยแลนด์ 4.0 อีกท้ังได้รับความร่วมมือของทุกภาคส่วนร่วมกันจัดทาคู่มือฉบับน้ีเพ่ือการ
ขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ด้วยรูปแบบ CAMPSON
MODEL คร้ังน้ี ข้าพเจ้าพร้อมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านมีความมุ่งหวังท่ีจะพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบ
การจดั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพไปในทิศทางเดยี วกัน มีกลไกการบรหิ ารโรงเรียนท่ีมีคุณภาพ มีการจัดการ
เรียนการสอนอย่างมีคุณภาพนาไปสู่เป้าหมายสาคัญคือ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนด และมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ที่จาเป็นสาคัญในศตวรรษท่ี 21 (3R8C) จากท่ีกล่าวมานี้ถือว่าเป็นภาระงานท่ีผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องให้ความสาคัญและนาสู่การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึง
เกิดความสาเร็จของงานและนาไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ของโรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ท่ีทุกฝ่าย
คาดหวังว่า “ส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มุ่งสู่มาตรฐานสากล ดารงตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง”
ขอขอบคุณคณะทางาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ร่วมกันจัดทาคู่มือฉบับน้ีจนเสร็จ
สมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือฉบับน้ีจะเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนในสงั กัดให้เกิดประโยชน์ต่อผูม้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ ง อกี ท้ังยังสง่ ผลต่อการยกระดบั คุณภาพมาตรฐาน
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานให้สูงข้ึนตอ่ ไป
(นายจลุ ินทร์ น้าคา้ ง)
ผอู้ านวยการโรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคม
คูม่ ือการขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
สารบัญ
ส่วนที่ 1 บทนา
1. ความเปน็ มา ....................................................................................................................................๒
2. วตั ถปุ ระสงค์ ...................................................................................................................................๓
3. คาจากัดความ .................................................................................................................................๓
4. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั .............................................................................................................................๔
สว่ นท่ี 2 โครงสรา้ งการบรหิ ารและบทบาทหน้าท่ี
1. โครงสร้างการบริหาร ......................................................................................................................๖
2. บทบาทของผู้บรหิ าร .......................................................................................................................๘
๓. บทบาทของครูผู้สอน ......................................................................................................................๘
๔. บทบาทของผเู้ รยี น ..........................................................................................................................๙
๕. บทบาทของผปู้ กครองนักเรียน .......................................................................................................๙
๖. บทบาทของชมุ ชน ........................................................................................................................๑๐
ส่วนท่ี 3 การขบั เคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม
1. วสิ ัยทัศน์ โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ...........................................................................................๑๒
2. พนั ธกิจ .........................................................................................................................................๑๒
3. เป้าประสงค์ ..................................................................................................................................๑๓
4. กลยทุ ธ์ .........................................................................................................................................๑๓
5. อัตลกั ษณ์ โรงเรยี นแคมป์สนวิทยาคม ..........................................................................................๑๓
6. เอกลักษณ์ โรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคม .........................................................................................๑๔
7. คุณธรรมอัตลักษณโ์ รงเรียนแคมป์สนวิทยาคม..............................................................................๑๔
8. นโยบายและจดุ เนนิ การขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบตั ิ
โรงเรยี นแคมปส์ นวทิ ยาคม……………………………………………………………………………………….………๑๔
๙. รายละเอียดจุดเน้นการขับเคลือ่ นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาสู่การปฏบิ ตั ิ
โรงเรียนแคมปส์ นวทิ ยาคม……………………………………………………………………………………………….๑๕
๑๐. การศกึ ษาในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ ดว้ ยรูปแบบการขับเคล่อื นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL……………………………………………๔๗
๑๑. กระบวนการดาเนินงานพัฒนานวตั กรรมและการนาไปใช้ในนวตั กรรมการขบั เคล่ือน
การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL………………………………………..๕๒
ส่วนท่ี 4 การนเิ ทศ ติดตามและรายงานผล
1. วัตถุประสงค์ของการนเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงานผล ....................................................................๖๐
2. เครื่องมือในการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล ............................................................................๖๐
3. ผใู้ ช้เครือ่ งมือในการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล ......................................................................๖๐
4. การนเิ ทศแบบมสี ่วนรว่ มเพือ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ..........................................................๖๐
5. การสรุปและรายงานผล ...............................................................................................................๖๓
คมู่ ือการขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
สารบญั (ต่อ)
สว่ นท่ี 5 ปฏทิ ินการดาเนินงานการขบั เคลือ่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นแคมป์สน
วิทยาคม ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
- ปฏิทินการดาเนนิ งานการขบั เคลือ่ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นแคมป์สนวิทยาคม
ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL…………………………………………………….………………………….………๖๕
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
คู่มือการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
1
สว่ นที่ ๑
บทนา
คู่มือการขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
2
๑ ความเปน็ มา
กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว ท้ังด้าน
วิทยาการความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้แต่ละประเทศไม่สามารถปิดตัวอยู่โดยลาพัง ต้อง
ร่วมมือและพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน มีการติดต่อสื่อสารกันมากข้ึน เพ่ือให้ทันกับเหตุการณ์ใน
สังคมปัจจุบัน นอกจากนั้นยังต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ ในเร่ืองความเส่ือมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม อุบัติภัยต่าง ๆ ส่งผลกระทบรุนแรงต่อมนุษย์โดยทั่วไป
และเพ่ือเป็นการเตรยี มความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทาให้แต่ละประเทศต้องเตรียมคนรุ่น
ใหมท่ ี่มีทักษะและความสามารถในการปรบั ตัว มคี ุณลักษณะสาคัญในการดารงชีวติ ในโลกยุคใหม่
ได้อย่างเท่าทัน มีความสุข มีคุณภาพชีวิตท่ีดี เหมาะสมและพอเพียง สอดคล้องกับปฏิญญาณว่า
ด้วยการจัดการศึกษา UNESCO คือ การจัดการศึกษาให้คนในชาติเป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข
และสอดคล้องกับ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ มาตราท่ี 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนา
คนไทย ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม
คุณธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ทาให้หลายประเทศต้อง
ปฏิรูปการศึกษา พัฒนาบุคลากรในประเทศ (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2553 : 3 - 8) การจัดการ
ศึกษาจึงมีความจาเป็นในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพที่พึงประสงค์ และมีความรู้
ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา มีทักษะชีวิต และมีความสามารถทาง
เทคโนโลยีโรงเรียนเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาท่ีสาคัญในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี
ศักยภาพ
คูม่ ือการขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
3
เป็นพลโลก ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ต้องมีความสนใจเป้าหมายในการ
พัฒนาการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรู้สามารถนาไปพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2556 :ออนไลน์) การบริหารเป็นกระบวนการดาเนินงาน
อย่างเป็นระบบ ซ่ึงต้องมีการวางแผน การปฏบิ ัติการประเมินผลและนาผลไปปรบั ปรุงพัฒนา เพ่ือ
นาไปสู่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงาน การบริหารงานวิชาการเป็นหน่ึงในสี่งาน
ของการบรหิ ารสถานศึกษา ถือเป็นหัวใจสาคัญของการบริหารการศึกษาและเป็นกระบวนการจัด
กิจกรรมในงานวิชาการ ซงึ่ เป็นภารกิจหลักให้เกิดการปรบั ปรุง พัฒนาและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
ผู้เรียน กระบวนการดังกล่าว ได้แก่ การวางแผน การจัดระบบโครงสร้าง การกาหนดบทบาท
หน้าที่ การจัดดาเนินงานทางวิชาการ การผลิตสื่อ อุปกรณ์การสอน การวัดผลประเมินผล การ
จัดระบบนิเทศเพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ การจัดแหล่งเรียนรู้ ศูนย์เทคโนโลยี
การนิเทศติดตาม รวมถึง การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้มีความเข้มแข็ง
ทางวิชาการ
จากแนวคิด หลักการสาคัญของการศึกษาในการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถดารงตนอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข สถานศึกษาจาเป็นต้องหารูปแบบ วิธีการที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนา
ทักษะ ความสามารถให้เกิดกับผู้เรียน เพื่อเป็นพื้นฐานท่ีจะเติบโตเป็นคนไทยท่ีมีความรู้
ความสามารถ รู้เท่าทันสังคมโลกปัจจุบัน โรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคมเป็นหนึ่งในโครงการโรงเรียน
มาตรฐานสากล ที่ต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก มีทักษะความรู้พ้ืนฐานท่ีจาเป็นใน
การดารงชีวิต มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ มีทักษะด้าน
เทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จึงมีความจาเป็นต้องยกระดับคุณภาพ
ผู้เรียนให้ได้มาตรฐานสากล จึงต้องพัฒนารูปแบบการบริหารงาน เพื่อสู่ความเป็นเลิศและ
เทยี บเคียงมาตรฐานสากล
๒ วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือพัฒนารูปแบบการบริหารงานสคู่ วามเป็นเลศิ
๒. เพื่อนารูปแบบการบรหิ ารงานไปใชใ้ นโรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคม
๓. เพือ่ ขบั เคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นแคมปส์ นวิทยาคม
๓ คาจากัดความ
3.1 การขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นแคมป์สนวิทยาคม ด้วยรูปแบบ
CAMPSON MODEL หมายถึง การนานโยบายลงสู่การปฏิบัติในโรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ด้วย
รูปแบบ CAMPSON MODEL ใช้หลักการบริหารจัดการท่ีมีมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานพ.ศ. 2561 และการจัดการศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 ความร่วมมือของทุกภาคส่วน การ
ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ด้วยรูปแบบ CAMPSON
MODEL จะส่งผลให้การดาเนินงานของโรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม มีมาตรฐานและจัดการศึกษาได้
ค่มู อื การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
4
อย่างมีคุณภาพ มีรูปแบบและกลไกการบรหิ ารสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพไปสู่
เปา้ หมายสาคัญ คือ นักเรียนมีคุณลักษณะจาเปน็ สาคัญในศตวรรษท่ี 21 (3R8C)
3.2 โรงเรียนคุณภาพ หมายถึง โรงเรียนมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560
(ปรับปรุง พ.ศ. 2562) มาตรฐานการประกนั คุณภาพการศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานและมคี วาม
เป็นเลศิ สู่สากล โดยมีรูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่ดี ในการขับเคลอ่ื นคณุ ภาพด้านการบริหารและ
การจัดการ มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเป็นแบบอย่างท่ีดี ส่งผลไปสู่เป้าหมาย
คุณภาพนักเรียนทั้งด้านวิชาการคุณลักษณะจาเป็นสาคัญในศตวรรษท่ี 21 (3R8C) ตลอดจน
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
4. ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั
1. โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม มีแนวทางการขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เปน็ ไปในทิศทางและเปา้ หมายเดียวกนั ก่อใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
2. โรงเรียนได้รับการสนับสนุน ส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นไปตาม
เปา้ หมายท่กี าหนดไว้
ค่มู ือการขบั เคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๕
ส่วนท่ี ๒
โครงสรา้ งการบริหารและบทบาทหนา้ ท่ี
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๑. โครงสร้างการบริหารงาน ผู้อานวยการ
รองผู้อานวยกา
กลุม่ บรหิ ารวิชาการ กลมุ่ บริหารงานงบประมาณ กลุ่มบริหารงาน
1.งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการ 1.งานศกึ ษา วิเคราะห์ การจดั ทาแผน 1.งานวางแผนอตั รากาลัง
จดั ทาสาระท้องถ่นิ และเสนอของบประมาณประจาปี แต่งตั้ง
2.งานวัดผลประเมินผลและ 2.งานจัดทาและเสนอขอใช้ 2.งานการดาเนินการเกย่ี ว
เทียบโอนผลการเรยี นรู้ งบประมาณ เงนิ เดอื น
3.งานทะเบียน 3.งานตรวจสอบตดิ ตามประเมินผล 3.งานการลาทกุ ประเภท
4.งานวจิ ัยเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา และรายงานผลการใช้งบประมาณ 4.งานการจัดระบบและจดั
5.งานพฒั นาส่อื นวตั กรรม และ และผลการดาเนนิ งาน ประวัติ
เทคโนโลยีทางการศกึ ษา 4.งานระดมทรพั ยากรและการลงทนุ 5. การจัดทาบญั ชรี ายชอ่ื เ
6.งานพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ เพ่อื การศึกษา พระราชทานเคร่ืองราชอิส
7.งานห้องสมดุ 5.งานการเงนิ 6.งานการส่งเสรมิ การประ
8.งานนิเทศการศึกษาและพัฒนา 6.งานการบญั ชี และยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ
กระบวนการเรียนรู้ 7.งานบรหิ ารพัสดุและสินทรพั ย์ 7.งานการพัฒนาขา้ ราชกา
9.งานพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน 8.งานจัดระบบควบคุมภายใน บุคลากรทางการศกึ ษา
และมาตรฐานการศึกษา 9. งานจัดซ้ือ จัดจา้ ง 8.งานอนื่ ๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบห
10.งานการประสานความรว่ มมอื ในการ 10. งานอน่ื ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย
พฒั นาวิชาการกบั สถานศกึ ษาอ่ืนบุคคล
ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน และชุมชน
สถานประกอบการ และสถาบนั อ่ืนท่จี ัด
การศึกษา
11.งานสารสนเทศ (Data Mangement
Center)
12.งานจดั การเรียนการสอน
13.งานส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ
14.งานกลุม่ สาระการเรียนรู้
14. งานอน่ื ๆ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย
และการจัดทาสาระทอ้ งถน่ิ
ค่มู ือกา
-6-
รโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ารโรงเรยี น กลมุ่ บรหิ ารทัว่ ไป กลุ่มบริหารงานกิจการนกั เรยี น
นบุคคล 1.งานธรุ การ 1.งานส่งเสริมงานกจิ การนกั เรยี น
2.งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ 2.งานกิจกรรม TO BE NUMBERONE
สรรหา บรรจุ สถานศกึ ษา 3.งานอนามยั โรงเรยี น
วกับการเลอ่ื น 3.งานพัฒนาระบบเครอื ขา่ ยขอ้ มลู 4.งานโภชนาการ
สารสนเทศ 5.งานบา้ นพักนอนนกั เรียน
ดทาทะเบยี น 4.งานการประสานงานและพฒั นา 6.งานโครงการพระราชดาริตามปรชั ญาของ
เสนอขอ เครอื ข่ายการศกึ ษา เศรษฐกจิ พอเพยี ง
สริยาภรณ์ 5.งานการจัดระบบบรหิ าร /พัฒนาองคก์ ร 7.งานประกันชีวิตนกั เรียน
ะเมินวทิ ยฐานะ 6.งานเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา 8.งานเฝา้ ระวัง ปอ้ งกัน แก้ไขปัญหายาเสพ
ารครแู ละ 7.งานการพัฒนาอาคารสถานท่ี ติดในสถานศกึ ษา
หมาย 8.งานพัฒนาสภาพแวดลอ้ มภายใน 9.งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
สถานศกึ ษา 10.งานปกครองนกั เรยี น
9.งานประชาสัมพนั ธโ์ รงเรยี น 11.งานประชาธปิ ไตยและสภานกั เรยี น
10.งานบรกิ ารสาธารณูปโภค 12.งานแนะแนวการศึกษา
11.งานโสตทศั นปู กรณ์ 13.งานกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
12.งานบ้านพักครู / บา้ นพกั นกั การภาร 13.1งานลูกเสอื เนตรนารีสามญั รุ่นใหญ่
โรง 13.2 งานคณุ ธรรม
13.งานยานพาหนะ 13.3 งานทัศนศกึ ษาแหล่งเรียนรู้
14.งานศูนยว์ ฒั นธรรม 13.4งานความสะอาด
15.งานเวรยามประจาวนั 13.5 งานคา่ ยวิชาการ
16.งานดูแลลกู จา้ งประจา/ลูกจา้ ง 13.6 งานชุมนุม
ชวั่ คราว 13.7 งานนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร
18.งานอนุรกั ษพ์ ลังงาน 13.8 งานกองทุนกู้ยืมเพอ่ื การศึกษา
17. งานอืน่ ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย 13.9งานธนาคารโรงเรียน
14. งานอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ารขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
7
การปฏิบัตงิ านขบั เคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนแคมปส์ นวิทยาคม ดว้ ยรปู แบบ
CAMPSON MODEL มีโครงสร้างการบริหารและบทบาทหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้
1 โรงเรยี นแตง่ ต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ระดับโรงเรียน
ประกอบ ดว้ ย
1.1) ประทานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน เปน็ ประธานกรรมการ
1.2) ผูอ้ านวยการโรงเรียน เปน็ รองกรรมการ
1.3) รองผู้อานวยการโรงเรยี น เปน็ ผูช้ ่วยรองกรรมการ
1.4) หวั หนา้ กลุ่มบริหารงาน 5 ฝา่ ย เป็นกรรมการ
1.5) หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ แป็นกรรมการ
1.6) หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารบุคคล เป็นกรรมการและเลขานุการ
2 คณะกรรมการขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานาข้อมลู สารสนเทศ วางแผน
กาหนดกรอบการดาเนินงาน โครงการ กิจกรรม กาหนดเป้าหมายคุณภาพผ้เู รียนและการ
ดาเนนิ งานใหส้ อดคล้องกบั วิสยั ทัศน์ พันธกจิ สถานศึกษา โดยใชเ้ ทคนคิ กระบวนการวงจร
คุณภาพเดมม่ิง (PDCA) ภายใตก้ ารบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพ (TQA) และการบริหารโดย
ใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน (SBM)
3 ประชุมชแี้ จง ทศิ ทาง และแนวทางการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาแก่
ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ผปู้ กครองนักเรียน
4 นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และสรปุ
รายงานผล ปกี ารศกึ ษาละ 2 คร้ัง ด้วยแบบนิเทศ ตดิ ตาม ตามนโยบายและจุดเน้นของโรงเรียน
แคมปส์ นวทิ ยาคม
5 นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการขับเคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโดยใช้ระบบ
การนเิ ทศแบบครบวงจร ประกอบด้วย ผู้บรหิ าร หวั หน้าสายช้นั หัวหน้ากลุ่มสาระ เพ่ือนครู อยา่ ง
นอ้ ย ปีการศึกษาละ 2 ครงั้ ดว้ ยแบบประเมินมาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา
คมู่ ือการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
8
๒. บทบาทของผบู้ ริหาร
1 เป็นผอู้ านวยความสะดวก ให้ความใส่ใจในเรื่องการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น เพ่ือใหม้ ี
ประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธผิ ล ตลอดท้ังให้ความรู้และแนะนาในเร่ืองการใช้นวัตกรรมใหบ้ รรลุ
ตามวตั ถุประสงค์ พร้อมสนับสนนุ งบประมาณในการพัฒนางานอยา่ งเตม็ ที่
2 เป็นผนู้ าการเปลย่ี นแปลง นาพาคณะครแู ละบุคลากรปรับเปลี่ยนรปู แบบการทางาน
เปลย่ี นวธิ ีคิดและสรา้ งสรรคผ์ ลงานกลุ่มบริหารงานอย่างต่อเนือ่ ง เกดิ ความสาเรจ็ จนสถานศึกษาเป็น
แบบอย่างใน ดา้ นการใชน้ วตั กรรม และแบบอยา่ งดา้ นการบรหิ ารงาน
3 เปน็ ผู้สนบั สนนุ ใหก้ ารสง่ เสรมิ สนับสนนุ ทง้ั งบประมาณ วัสดุ และอปุ กรณใ์ นการพฒั นางาน
อย่าง เพยี งพอ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสะดวกในการปฏิบัติงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเกดิ ประสทิ ธิผล
4 เปน็ ผู้นานวตั กรรม เปน็ ผมู้ คี วามรู้ความเข้าใจในการใช้นวัตกรรมและทรัพยากร ควบคุม
กากบั ตดิ ตามบุคลากร รวมถึงการใชท้ รัพยากรให้เปน็ ไปอย่างเหมาะสม และมีประสทิ ธิภาพ
5 เปน็ ผู้มีบทบาทในการสนบั สนนุ สภาพแวดลอ้ ม หรอื บรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การทางานและ
แลกเปลีย่ น เรียนรู้วิธีการทางานของคณะครแู ละบุคลากร เพ่ือให้เกดิ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาต่อ
ผมู้ ีส่วนได้ สว่ นเสีย
6 เป็นผมู้ ีบทบาทในการระดมทรพั ยากรและความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก เพอื่
สนับสนุน การพฒั นางานของสถานศกึ ษา โดยส่งเสริมให้ หน่วยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชนตลอดทง้ั
ชุมชน เขา้ มา มสี ว่ นร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง เพอ่ื นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการ
พฒั นาของ โรงเรียน
๓. บทบาทของครผู สู้ อน
1 เป็นผทู้ ม่ี ีความเปน็ ครูมืออาชีพ มจี รรยาบรรณวชิ าชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม
2 เปน็ ผูท้ ่มี ีการพัฒนาตนเอง เปน็ ผ้นู าในการเปล่ยี นแปลงรูปแบบวธิ กี ารในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนตลอดเวลา
3 เป็นผเู้ ช่ียวชาญการใช้เทคโนโลยี ส่ือนวตั กรรมในยุค 4.0
4 เป็นผทู้ างานรว่ มกบั เพือ่ นร่วมงาน หรือบุคคลอืน่ โดยมคี วามคล่องแคล่วรวดเร็ว นาไปสู่
ความสาเร็จในการปฏิบัตหิ น้าทท่ี ่ีรับผิดชอบ
5 เปน็ ผู้ทางานร่วมกับเพอ่ื นร่วมงาน หรือบุคคลอน่ื ด้วยความยมิ้ แยม้ แจม่ ใส ไวว้ างใจซง่ึ กัน
และกัน นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการปฏบิ ัติหนา้ ทที่ ีร่ บั ผดิ ชอบ
6 เป็นผูท้ างานรว่ มกบั เพื่อนร่วมงาน หรอื บคุ คลอ่ืนภายใต้กฎเกณฑ์ข้อบงั คบั อย่าง เครง่ ครดั
นาไปสคู่ วามสาเร็จในการปฏิบัติหนา้ ทที่ รี่ บั ผดิ ชอบ
7 เปน็ ผู้ทางานร่วมกับเพื่อนร่วมงาน หรอื บคุ คลอ่นื ในการใหบ้ ริการแก่ผู้รบั บริการ ดว้ ยความ
เตม็ ใจ จริงใจ และตงั้ ใจ นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีทีร่ บั ผดิ ชอบ
8 เป็นผูท้ างานร่วมกับเพ่ือนร่วมงาน หรอื บุคคลอน่ื ในการให้การสนับสนุน ชว่ ยเหลอื แก่
ผ้รู บั บรกิ ารดว้ ยความเตม็ ใจ จรงิ ใจ และตง้ั ใจ นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทท่ี ร่ี ับผดิ ชอบ
9 เปน็ ผู้ทางานท่มี ีการสร้างนิสยั ในการมจี ิตสานกึ และทัศนคตทิ ด่ี ี นาไปสู่ ความสาเร็จในการ
ปฏบิ ตั หิ น้าทที่ รี่ บั ผิดชอบ
ค่มู ือการขบั เคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
9
10 เปน็ ผู้มคี วามยึดหยุน่ และปรับตัวเขา้ กบั สถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม กลมกลืน
และรบั ฟงั ความคิดเห็นของคนอน่ื เพ่ือนาไปสู่ความสาเรจ็ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ที รี่ บั ผิดชอบ
๔. บทบาทของผเู้ รียน
1 ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา โดยการต้ังใจเรยี นร้ตู ามโครงสร้าง ที่
โรงเรียนกาหนด ดว้ ยความพึงพอใจและเต็มใจ เพ่ือนาไปสู่ความสาเรจ็ ในหนา้ ที่รบั ผิดชอบ
2 ผูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการเรยี นรู้การปฏบิ ัติหนา้ ที่ตา่ ง ๆ ด้วยความยม้ิ แย้มแจม่ ใส ไวว้ างใจซงึ่
กันและกัน นาไปสคู่ วามสาเรจ็ ในการปฏิบตั ิหนา้ ทที่ ีร่ ับผดิ ชอบ
3 ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมในการเรียนรกู้ ารปฏบิ ัติหนา้ ท่ตี ่าง ๆ ภายใต้กฎเกณฑ์ข้อบังคบั อย่าง
เคร่งครัด นาไปสคู่ วามสาเร็จในการปฏบิ ัติหน้าทที่ ร่ี บั ผดิ ชอบ
4 ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการเรียนรกู้ ารปฏบิ ัตหิ น้าทีต่ ่าง ๆ ในการให้บริการแก่ ผ้รู บั บริการ ดว้ ย
ความเต็มใจ จรงิ ใจ และตงั้ ใจ นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการปฏบิ ัติหนา้ ทีท่ ี่รับผิดชอบ
5 ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นรู้การปฏิบัตหิ นา้ ทต่ี า่ ง ๆ ในการให้การสนบั สนนุ ช่วยเหลอื แก่
ผู้รบั บริการดว้ ยความเตม็ ใจ จรงิ ใจ และตัง้ ใจ นาไปสคู่ วามสาเร็จในการปฏิบตั หิ น้าท่ที ร่ี ับผดิ ชอบ
6 ผู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการเรยี นรกู้ ารปฏิบตั หิ น้าทต่ี ่าง ๆ ด้วยการสรา้ งนิสัยในการ มจี ติ สานกึ
และทศั นคตทิ ี่ดี นาไปสคู่ วามสาเรจ็ ในการปฏิบัตหิ น้าทีท่ ีร่ ับผดิ ชอบ
7 ผู้เรยี นเปน็ ผ้มู ีความยดึ หยุน่ และปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อยา่ ง เหมาะสม
กลมกลนื และรับฟงั ความคิดเห็นของคนอนื่ เพอื่ นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการปฏิบัตหิ น้าท่ีที่รบั ผดิ ชอบ\
๕. บทบาทของผูป้ กครองนกั เรียน
1. เปน็ ผู้อานวยความสะดวก ใหค้ วามใสใ่ จในเร่ืองการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น เพอ่ื ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ
และเกดิ ประสิทธิผล ตลอดท้ังใหค้ วามรู้และแนะนาในเรื่องการใช้นวัตกรรมใหบ้ รรลุตามวตั ถปุ ระสงค์
พรอ้ มสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนางานอยา่ งเต็มที่
2. เปน็ ผู้นาการเปลี่ยนแปลง นาพาคณะครูและบุคลากรปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางาน เปลี่ยนวธิ คี ิด
และ สร้างสรรคผ์ ลงานกล่มุ บริหารท่ัวไปอย่างตอ่ เนื่อง เกดิ ความสาเร็จจนสถานศึกษาเป็นแบบอยา่ งใน
ดา้ นการใช้นวตั กรรม และแบบอย่างด้านการบรหิ ารงานกล่มุ บรหิ ารท่วั ไป
3. เปน็ ผสู้ นบั สนนุ ใหก้ ารสง่ เสริมสนับสนุนทั้งงบประมาณ วัสดุ และอุปกรณใ์ นการพัฒนางานอย่าง
เพยี งพอ เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกในการปฏิบัตงิ านอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล
4. เปน็ ผู้นานวัตกรรม เปน็ ผู้มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการใชน้ วตั กรรมและทรัพยากร ควบคุม กากับ
ติดตามบคุ ลากร รวมถึงการใช้ทรัพยากรใหเ้ ปน็ ไปอย่างเหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ
5. เปน็ ผมู้ บี ทบาทในการสนบั สนนุ สภาพแวดล้อม หรือบรรยากาศที่เอ้ือต่อการทางานและแลกเปลย่ี น
เรยี นรู้วธิ ีการทางานของคณะครูและบุคลากร เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย
6. เปน็ ผมู้ บี ทบาทในการระดมทรัพยากรและความรว่ มมือจากหนว่ ยงานภายนอก เพื่อสนบั สนนุ การ
พัฒนางานของสถานศกึ ษา โดยสง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการพัฒนางานใน กลุ่มบริหาร
ทวั่ ไปอย่างตอ่ เนื่อง เพอื่ นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการพฒั นาของโรงเรียน
คมู่ ือการขบั เคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
10
๖. บทบาทของชุมชน
1. ชมุ ชนสนับสนนุ ใหก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ทงั้ งบประมาณ วสั ดุ และอปุ กรณ์ในการพฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษาอยา่ งเพยี งพอ เพ่ือให้เกดิ ความสะดวกในการปฏิบตั งิ านของกลุ่มบริหารวิชาการ อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ และเกิดประสทิ ธผิ ล
2. ชุมชนมีบทบาทในการสนับสนุนสภาพแวดล้อม หรือบรรยากาศทเ่ี อ้ือตอ่ การทางานและแลกเปลยี่ น
เรียนรวู้ ิธีการทางานของกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ เพอ่ื ให้การดาเนนิ งานเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย
3. ชมุ ชนมบี ทบาทในการชว่ ยอนรุ ักษ์ และถ่ายทอดวฒั นธรรมอันดีงามของโรงเรยี น และกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ท่ีโรงเรียนจัดขึ้น
4. ชุมชนมบี ทบาทในการระดมทรัพยากรและความรว่ มมือจากหนว่ ยงานภายนอก เพ่ือสนับสนุน การ
พฒั นางานของโรงเรียนและงานในกลมุ่ บรหิ ารวิชาการอยา่ งต่อเน่ือง เพ่อื นาไปสู่ความสาเร็จใน การ
พัฒนาของโรงเรยี น
5. ชุมชนมบี ทบาทในการชว่ ยสนับสนนุ โรงเรียนในการพฒั นา ปรับปรงุ และการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม
ภายในโรงเรียนใหโ้ รงเรยี น น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน ที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้
คูม่ ือการขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๑๑
ส่วนท่ี ๓
การขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
โรงเรยี นแคมป์สนวทิ ยาคม
ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
ค่มู อื การขบั เคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๑๒
๑. วสิ ัยทศั น์ โรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคม
ส่งเสริมการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ มงุ่ สูม่ าตรฐานสากล ดารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
๒. พันธกิจ
๑. พฒั นาผู้เรยี นให้เป็นบุคคลแห่งการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑
๒. เสริมสรา้ งความเข้มแข็งทางวัฒนธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมอนั พึงประสงค์
๓. ส่งเสรมิ การพฒั นาระบบ ICT ใหเ้ ปน็ เคร่ืองมือแสวงหาความรู้
๔. จดั ส่งเสริมระบบการเรยี นรู้ การส่ือสารสองภาษา สอู่ าเซียน (ภาษาไทย/
ภาษาต่างประเทศ)
๕. จดั ระบบครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
๖. พัฒนาสถานศกึ ษาเป็นแหล่งเรยี นรู้ มภี มู ทิ ัศน์น่าอยู่ นา่ เรียน และปลอดภัย
๗. พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา และยกระดับผลการทดสอบ
ระดับชาติ (O–NET)
๘. เสริมสร้างทกั ษะชีวติ ใชแ้ นวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คมู่ ือการขบั เคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๑๓
๓. เป้าประสงค์
ร้อยละ ๙๐ ผูเ้ รียนได้รบั การพัฒนาให้เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ คูค่ ณุ ธรรม มีความเป็นไทย
พรอ้ มเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น เปน็ พลเมืองดแี ละพลโลก ภายใต้การบริหารและการจัดการดว้ ยระบบ
ธรรมาภบิ าล พัฒนาครเู ป็นมืออาชีพ มีการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นระบบ ยกระดับผลการ
ทดสอบระดบั ชาติ ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๕๐ ทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ และรจู้ ักใช้แนวคิดตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
๔. กลยุทธ์
๑. เร่งรดั พัฒนานักเรยี นให้เป็นคนดี คนเกง่ พหุปญั ญา มีค่านยิ มไทย มีภาวะผนู้ า มที ักษะ
ชีวติ ทกั ษะอาชพี เปน็ คนไทยยุคใหม่ (ผู้เรยี นยุคใหม)่
๒. พฒั นาครูเพื่อการจดั การเรียนรู้สู่สากล และมาตรฐานการศกึ ษา (ครยู ุคใหม่)
๓. เรง่ รดั พฒั นาองค์กร และส่ิงแวดลอ้ มเป็นแหล่งเรียนรู้ (สถานศึกษายุคใหม่)
๔. พัฒนาระบบการบริหารท้ังระบบ (บรหิ ารยคุ ใหม่)
๕. สง่ เสริมแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๕. อัตลกั ษณ์โรงเรียน
“โรงเรยี นคณุ ธรรม”เป็นโรงเรียนส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัดกิจกรรมนักเรียนโดย
ใช้
คาขวญั ของโรงเรียนเป็นทิศทางนาสคู่ วามสาเรจ็ ยดึ หลกั การปฏบิ ัติแบบบูรณาการดว้ ยหลกั
เบญจคณุ (คณุ ธรรมสร้างคนดี ๕ ประการ) ประกอบด้วย
๑. คณุ ลกั ษณะทด่ี ี หมายถงึ รูปร่างสมบูรณ์ แข็งแรง พลานามยั ดี (พุทธพสิ ัย)
๒. คณุ คา่ หมายถงึ มีคุณค่าต่อตนเอง ต่อครอบครวั ต่อสังคม และต่อประเทศชาติ
(ทักษะพิสยั )
๓. คณุ ประโยชน์ หมายถึง ทาตวั เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม เหน็ แกประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่
ส่วนตน (จิตพิสัย)
๔. คุณภาพ หมายถึง เป็นคนเกง่ (ทันสมัย)คนดี ไมย่ ่อท้อต่อความลาบาก อยูใ่ นสังคม
ได้อย่างมคี วามสุข (พุทธพิสัย)
๕. คุณธรรม หมายถงึ มีคุณงามความดีในจิตใจ กตญั ญรู ู้คุณ มีความจงรักภกั ดตี ่อสถาน
บนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ (จิตพสิ ัย)
คูม่ ือการขบั เคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๑๔
๖. เอกลกั ษณ์โรงเรยี น
“Home School Learning” (โรงเรียนเปรยี บเสมือนบ้านแห่งการเรียนร)ู้
๗. คุณธรรมอตั ลักษณ์โรงเรยี น
“มวี นิ ยั พอเพยี ง จิตอาสา”
๘. นโยบายและจุดเนินการขับเคลือ่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ส่กู ารปฏิบตั ิโรงเรยี นแคมป์สน
วทิ ยาคม
นโยบายที่ ๑ สง่ เสรมิ การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการ
จดุ เนน้ ท่ี ๑ ส่งเสริมการพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ ๕ กลมุ่ งาน ได้แก่ งานวิชาการ งาน
งบประมาณ งานบรหิ ารบุคคล งานกจิ การนกั เรยี นและงานบรหิ ารงานทวั่ ไป สู่ระบบประกนั
คุณภาพภายในสถานศึกษาทีเ่ ขม้ แข็งตามมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษา
จดุ เน้นท่ี ๒ ส่งเสริมให้โรงเรียนมหี ลกั สตู รสถานศึกษาที่ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงและ
ตอบสนองความต้องการของผเู้ รียน ชมุ ชน สังคม
จุดเน้นท่ี ๓ ส่งเสรมิ การสรา้ งนวัตกรรมการบริหาร “๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรมการ
บริหารงาน”
จุดเน้นที่ ๔ ส่งเสริมการขบั เคล่อื นคุณภาพการศึกษาด้วยเครือขา่ ยความรว่ มมือการ
บรหิ ารจัด
จดุ เน้นท่ี ๕ ส่งเสรมิ โรงเรียนให้บริหารจดั การศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
จุดเน้นที่ ๖ ส่งเสริม พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ
บรหิ ารจัดการ
จดุ เนน้ ท่ี ๗ ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเช่ียวชาญตาม
สมรรถนะ มาตรฐานและ มจี รรยาบรรณในวชิ าชีพ
นโยบายท่ี ๒ ส่งเสรมิ การพัฒนาการจดั การเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ
จดุ เน้นท่ี ๘ ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูจดั การเรียนรู้ดว้ ยวิธีการ Active Learning
จดุ เน้นที่ ๙ ส่งเสรมิ และพฒั นาให้ครใู ชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่เี อื้อ
ตอ่ การเรยี นของผเู้ รียน เพ่ือสรา้ งนวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ท่มี คี ณุ ภาพ
ค่มู ือการขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๑๕
นโยบายท่ี ๓ เพมิ่ และยกระดับคณุ ภาพนกั เรยี นทกุ ระดบั ชัน้
จุดเน้นท่ี ๑๐ เพ่มิ และยกระดับคุณภาพของนักเรยี นทุกระดับช้ัน
จุดเนน้ ที่ ๑๑ เพมิ่ ศักยภาพนักเรียนใหส้ ามารถค้นพบตนเอง ทกั ษะพนื้ ฐานอาชีพ และ
การมีงานทามคี วามพร้อมในการแขง่ ขัน มที ักษะในการดารงชวี ิต
๙. รายละเอียดจดุ เน้นการขับเคลือ่ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาสู่การปฏิบตั ิโรงเรียนแคมป์สน
วทิ ยาคม
นโยบายที่ ๑ สง่ เสริมการพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ
จดุ เน้นที่ ๑ ส่งเสริมการพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ ๕ กลุม่ งาน ได้แก่ งานวิชาการ งาน
งบประมาณ งานบรหิ ารบุคคล งานกิจการนกั เรยี นและงานบริหารท่ัวไป สู่ระบบประกันคณุ ภาพ
ภายในสถานศึกษาทเ่ี ขม้ แข็งตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
ประเด็นการพิจารณาท่ี ๑ : ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ประเดน็ การพิจารณาที่ ๒ : ส่งเสริมการพฒั นางานวิชาการ สู่ระบบประกนั คุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาทเ่ี ข้มแข็งตามมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษา
ประเดน็ การพิจารณาท่ี ๓ : ส่งเสรมิ การพฒั นางานงบประมาณ สู่ระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาทเี่ ข้มแข็งตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
ประเด็นการพิจารณาที่ ๔ : ส่งเสรมิ การพัฒนางานบรหิ ารบุคคล สู่ระบบประกนั คุณภาพ
ภายในสถานศึกษาทเ่ี ขม้ แข็งตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
ประเดน็ การพิจารณาท่ี ๕ : ส่งเสรมิ การพัฒนางานบรหิ ารงานท่ัวไป สู่ระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาท่เี ขม้ แข็งตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
ประเดน็ การพิจารณาท่ี ๖ : ส่งเสรมิ การพฒั นางานบริหารงานกิจการนักเรียน สู่ระบบประกนั
คุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีเข้มแข็งตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
ประเด็นการพิจารณาท่ี ๗ : ส่งเสรมิ การพฒั นาสู่ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ี
เขม้ แข็งตามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา
กรอบแนวคดิ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา มีการพฒั นางานวชิ าการ งาน
งบประมาณ งานบริหารบุคคล งานกจิ การนักเรยี นและงานบรหิ ารทว่ั ไป สู่ระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษาทเี่ ข้มแขง็ ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โดยสง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษากาหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี
การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาทมี่ ุ่งคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาและดาเนนิ การตามแผน การวดั
และประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการดาเนินการ
เพอ่ื พฒั นาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดทารายงานและเผยแพร่ผลการ
ประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานตน้ สังกัดหรอื หนว่ ยงานท่ีกากบั ดแู ลสถานศึกษาเปน็ ประจาทุกปี
คูม่ อื การขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๑๖
เป้าหมาย
๑. เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
โรงเรียนดาเนินการพัฒนางานวิชาการ งานงบประมาณ งานบริหารบุคคล งานกจิ การ
นกั เรียนและงานบรหิ ารทั่วไป สู่ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาทเ่ี ข้มแข็ง
๒. เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
โรงเรยี นดาเนินการพัฒนางานวิชาการ งานงบประมาณ งานบรหิ ารบุคคล งานกจิ การ
นกั เรยี นและงานบรหิ ารทั่วไป สู่ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาทเี่ ข้มแขง็ ระดับคุณภาพดีขึ้น
ไป
วิธีการดาเนินงานสู่เป้าหมาย
๑ ส่งเสริมการสรา้ งความตระหนัก ความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การจัดทาระบบประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยสรา้ งความรว่ มมือของทกุ คนผ่านกระบวนการบริหารจัดการ
งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบริหารบุคคล งานกิจการนักเรยี นและงานบริหารท่ัวไป สู่ระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๘ เรื่อง
๑) ศึกษาสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis) การกาหนด
ปญั หาและความต้องการ ในการพฒั นาสถานศึกษา
๒) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และกาหนดเป้าหมายและเกณฑ์
การประเมินตามสภาพบริบทของสถานศึกษา
๓) วางแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และจดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษา
๔) ดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
๕) นิเทศ ตดิ ตาม การนิเทศภายใน/กิจกรรมการจดั ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
๖) วดั และประเมินผลตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
๗) สรุปและเขียนรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
๘) พฒั นาและปรับปรงุ คณุ ภาพระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
๒ นิเทศ ตดิ ตาม ช่วยเหลือการพฒั นางานวิชาการ งานงบประมาณ งานบรหิ ารบุคคล
งานกจิ การนักเรยี นและงานบรหิ ารทั่วไป สู่ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทเี่ ข้มแขง็
๓ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาในโรงเรียน และ
จัดทารายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR)
คู่มอื การขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๑๗
การวดั และประเมินผล
๑. ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็
๑ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน มกี ารดาเนนิ การพัฒนางานวิชาการ งานงบประมาณ งาน
บรหิ ารบุคคลและงานบริหารงานทั่วไป สู่ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาทีเ่ ข้มแข็ง
๒ รอ้ ยละ ๘๐ ของโรงเรียน มกี ารดาเนนิ การพัฒนางานวิชาการ งานงบประมาณ งาน
บรหิ ารบุคคล งานกิจการนักเรยี นและงานบริหารงานท่ัวไป สู่ระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาที่เข้มแข็ง ระดบั คุณภาพดขี ึ้นไป
๒. วธิ กี ารวดั และประเมินผล
๑ ตดิ ตามตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาเกีย่ วกบั การพฒั นางานวิชาการ งานงบประมาณ งาน
บริหารบุคคล งานกิจการนกั เรยี นและงานบรหิ ารงานทั่วไป สู่ระบบประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศึกษาทเ่ี ข้มแข็ง
๒ การนเิ ทศ การตดิ ตาม การจัดทาหรอื พัฒนารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของหนว่ ยงานต้นสงั กดั
นโยบายที่ ๑ สง่ เสรมิ การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการ
จดุ เนน้ ที่ ๒ ส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรยี นมหี ลกั สตู รสถานศึกษาทที่ ันต่อการเปล่ียนแปลงและ
ตอบสนองความต้องการของผเู้ รียน ชุมชน สังคม
ประเดน็ การพจิ ารณา : โรงเรยี นมีการพฒั นา ปรบั ปรุง และบรหิ ารหลักสตู รสถานศึกษาทที่ ันต่อการ
เปลี่ยนแปลง และตอบสนองความต้องการของผเู้ รียน ชุมชน และสังคม
กรอบความคดิ
กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศั กราช
๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยกาหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ชัดเจน มีความยืดหยุ่น
เพียงพอให้สถานศึกษาบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาได้ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ม่งุ เน้น การปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยทันต่อการเปล่ียนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทาง
วทิ ยาการต่างๆ ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี น ชุมชน สังคม คานึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
ทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นสาคัญ เตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะ
เรียนรู้ส่ิงต่างๆ พร้อมท่ีจะประกอบอาชีพ เมื่อสาเร็จการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับท่ี
สงู ขน้ึ มคี วามสามารถแข่งขันและอยู่รว่ มกบั ประชาคมโลกได้
คู่มอื การขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๑๘
เปา้ หมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
โรงเรียนมกี ารดาเนนิ การพฒั นา ปรบั ปรุง และบริหารหลกั สูตรสถานศกึ ษาท่ที นั ต่อการ
เปล่ียนแปลงและตอบสนองความตอ้ งการของผ้เู รียน ชมุ ชน
๒ เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
โรงเรยี นมกี ารดาเนนิ การพัฒนา ปรบั ปรุง และบริหารหลกั สูตรสถานศกึ ษาที่ทนั ต่อการ
เปล่ียนแปลงและตอบสนองความต้องการของผู้เรียนชมุ ชนสังคม ระดับคณุ ภาพดีขน้ึ ไป
วิธกี ารดาเนนิ งานสู่เป้าหมาย
๑ พฒั นา ปรับปรงุ และบรหิ ารหลกั สูตรสถานศกึ ษาทท่ี ันต่อการเปลยี่ นแปลงและ
ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนชมุ ชนสงั คม
๒ แต่งตัง้ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร และงานวชิ าการของสถานศึกษาและคณะทางาน
๓ ศึกษาวเิ คราะห์หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ
ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐)
๔ ศกึ ษากรอบหลักสตู รระดับทอ้ งถ่นิ และเอกสารประกอบหลกั สตู รต่าง ๆ รวมท้ังข้อมูล
สารสนเทศเกยี่ วกบั สภาพปญั หาจุดเนน้ ความต้องการของสถานศกึ ษาผู้เรียน ชมุ ชน สังคม ใหท้ นั
ต่อการเปลี่ยนแปลง
๕ จดั ทาหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งมีองคป์ ระกอบสาคัญ ดงั น้ี ส่วนนาโครงสร้างหลักสตู ร
สถานศกึ ษา คาอธบิ ายรายวชิ า เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล และเกณฑก์ ารจบการศึกษา
๖ ตรวจสอบองคป์ ระกอบหลักสูตรสถานศึกษา โดยพจิ ารณาคณุ ภาพความถกู ต้องและ
ความเหมาะสม
๗ นาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาให้ความเห็นชอบหากมี
ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการ ใหน้ าขอ้ เสนอแนะไปพจิ ารณาปรบั ปรุงก่อนการอนมุ ัติใช้หลักสตู ร
๘ จดั ทาเป็นประกาศหรือคาส่ังเรอื่ งให้ใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยผู้บรหิ ารสถานศึกษา
และประธานกรรมการสถานศึกษาเปน็ ผู้ลงนาม หรือผู้บรหิ ารสถานศึกษาเป็นผลู้ งนาม
๙ ดาเนนิ การใช้หลักสูตรสถานศกึ ษา ครผู ้สู อน นาหลกั สตู รสถานศึกษาไปกาหนด
โครงสร้างรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมาย
๑๐ นเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม มรี ายงานผลการใช้หลักสตู รอย่างต่อเนอื่ งเป็นระยะๆ เพอ่ื นาผล
จากการตดิ ตามมาใชเ้ ป็นข้อมูลพจิ ารณาปรบั ปรุงหลักสูตรใหม้ คี ณุ ภาพมีความเหมาะสมยิ่งข้นึ และมี
การสรปุ โครงการ/กจิ กรรม
๑๑ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรียนมหี ลักสตู รสถานศึกษา ที่
ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงและตอบสนองความต้องการของผูเ้ รยี น ชุมชน สังคม และจัดทารายงานผล
การประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา
คู่มอื การขบั เคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๑๙
การวัดและประเมินผล
๑ ตัวช้ีวัดความสาเรจ็
๑ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของโรงเรยี นได้ดาเนินการพัฒนา ปรบั ปรงุ และบรหิ ารหลกั สูตร
สถานศกึ ษาท่ีทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง และตอบสนองความต้องการของผูเ้ รยี น ชมุ ชน สงั คม
๒ รอ้ ยละ ๘๐ ของโรงเรยี นดาเนนิ การพฒั นา ปรบั ปรงุ และบรหิ ารหลักสูตรสถานศึกษาที่
ทันต่อ การเปลีย่ นแปลง และตอบสนองความต้องการของผู้เรยี น ชมุ ชน สงั คม ระดับคุณภาพดขี น้ึ
ไป
๒ วธิ ีการวัดและประเมินผล
๑ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาเกย่ี วกับการดาเนนิ การพฒั นา ปรับปรุง และบริหาร
หลกั สูตรสถานศกึ ษาที่ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง และตอบสนองความต้องการของผู้เรยี น ชมุ ชน
สงั คม
๒ การนเิ ทศ การติดตาม การจัดทาหรอื พัฒนารายงานผลการประเมินตนเอง ของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR)
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาขอหน่วยงานตน้ สงั กัด
นโยบายที่ ๑ สง่ เสรมิ การพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ
จดุ เน้นท่ี 3 ส่งเสรมิ การสร้างนวตั กรรมการบริหาร “1 โรงเรียน 1 นวัตกรรมการบริหารงาน”
ประเด็นการพจิ ารณา : การสร้างหรือประยุกตใ์ ช้นวตั กรรมเทคโนโลยีรูปแบบในการบริหารและการจัด
การศกึ ษา
กรอบความคิด
ความเป็นเลศิ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา จาเป็นต้องมีการคิดเชงิ กลยทุ ธแ์ ละพัฒนา
นวตั กรรม มภี าวะผนู้ าทางวชิ าการ สานกึ ความรบั ผิดชอบมีการบรหิ ารแบบร่วมมือ โดยบรหิ าร
จดั การด้วยความเปน็ อสิ ระและจัดการเรียนร้โู ดยการมสี ว่ นรว่ มกับชุมชน ภาคเอกชน และ
ผูเ้ กย่ี วขอ้ งในการจัดการศึกษาระดบั พื้นที่สนบั สนุนการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพ่ือการเรยี นรู้
ในทุกมิติ ระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของโรงเรยี นและการจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือ
สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการซ่ึงถือเปน็ เร่ืองสาคัญในกระบวนการบริหารและการจัดการตาม
มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน การสง่ เสริมการพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ
จงึ เปน็ สงิ่ สาคัญสาหรับผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาท่ีสามารถสร้างหรอื ประยุกต์ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
ในการบริหารจัดการศึกษาที่หลากหลายและครอบคลุมภารกจิ 5 กล่มุ งาน ไดแ้ ก่ กลุ่มบริหาร
วชิ าการ กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล กลุม่ บรหิ ารงบประมาณ กล่มุ บริหารทวั่ ไปและกล่มุ บริหารงาน
กจิ การนักเรยี น ตามบรบิ ทของโรงเรียนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ค่มู ือการขับเคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๒๐
เปา้ หมาย
๑ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริมการสรา้ งหรือประยุกต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยี รปู แบบในการ
บริหารและการจดั การศึกษา
๒ เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริมการสร้างหรอื ประยุกตใ์ ช้นวตั กรรมเทคโนโลยี รปู แบบในการ
บริหาร และการจัดการศึกษา ระดับคณุ ภาพดขี น้ึ ไป
วิธกี ารดาเนินงานสเู่ ปา้ หมาย
๑ ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการสรา้ งหรือประยุกตใ์ ชน้ วตั กรรมเทคโนโลยีรูปแบบ ในการ
บริหารและการจัดการศึกษา
๒ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การนานวตั กรรมเทคโนโลยี รูปแบบการบรหิ าร และการจัด
การศกึ ษากับกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
๓ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การนานวัตกรรมเทคโนโลยี รปู แบบการบรหิ าร และการจดั
การศึกษากบั กลมุ่ บริหาร งานบคุ คล
๔ ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการนานวตั กรรมเทคโนโลยี รูปแบบการบรหิ าร และการจดั
การศึกษากับกลมุ่ บรหิ าร งบประมาณ
๕ ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการนานวตั กรรมเทคโนโลยี รูปแบบการบริหาร และการจดั
การศกึ ษากบั กลมุ่ บริหาร งานทั่วไป
๖ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การนานวัตกรรมเทคโนโลยี รปู แบบการบรหิ าร และการจัด
การศึกษากับกล่มุ บรหิ าร งานกิจการนกั เรียน
๗ นิเทศ ตดิ ตาม ชว่ ยเหลอื การพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยี รูปแบบการบรหิ าร และการ
จัดการศกึ ษา
๘ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล การพฒั นานวัตกรรมเทคโนโลยี รปู แบบการบริหาร
และ การจัดการศึกษาและจัดทารายงานผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษา (Self -
Assessment Report : SAR)
คมู่ อื การขบั เคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๒๑
การวดั และประเมินผล
๑ ตัวช้ีวัดความสาเร็จ
๑ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของโรงเรยี น มีการส่งเสรมิ การสร้างหรือประยุกต์ใช้นวตั กรรม
เทคโนโลยี รปู แบบในการบริหารและการจัดการศึกษา
๒ รอ้ ยละ ๘๐ ของโรงเรยี น มีการสง่ เสริมการสร้างหรือประยกุ ตใ์ ช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
รปู แบบ ในการบริหารและการจัดการศึกษา ระดบั คุณภาพดขี ึ้นไป
๒ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล
๑ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาเกีย่ วกบั การสง่ เสรมิ การสรา้ งหรอื ประยุกต์ใช้ นวัตกรรม
เทคโนโลยี รปู แบบในการบริหาร และการจดั การศึกษา
๒ การนิเทศ การตดิ ตาม การจัดทาหรอื พัฒนารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของหน่วยงานต้นสงั กดั
นโยบายที่ ๑ ส่งเสริมการพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ
จุดเน้นท่ี ๔ สง่ เสริมการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการศึกษาด้วยเครือขา่ ยความรว่ มมือการบริหารจดั
การศกึ ษา
ประเดน็ การพิจารณา : โรงเรยี นมภี าคีเครือข่ายความร่วมมือในการขับเคลื่อนคุณภาพการศกึ ษาอยา่ ง
มคี ุณภาพ
กรอบความคิด
การขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษาด้วยเครือข่ายความร่วมมอื ถอื เปน็ บทบาทสาคัญของ
สถานศกึ ษาในการสรา้ งความเขม้ แข็งด้านการศกึ ษาภายใต้หลักการกระจายอานาจและความเปน็
นติ ิบคุ คล การสร้างเครอื ข่าย ความรว่ มมือเปน็ อีกทางเลือกหน่ึงของการได้มาซึ่งคุณภาพการจดั
การศกึ ษาประกอบดว้ ย การมีวสิ ัยทศั น์ร่วมกัน มีโครงสร้างของเครอื ข่ายความร่วมมอื การมีสว่ น
ร่วมของสมาชิกเครือข่าย การสรา้ งจิตสานึกท่ีดีในการทางานรว่ มกันของเครือขา่ ย กิจกรรมของ
กลุ่มเครือขา่ ย การเรียนรู้และการพัฒนาบุคลากรเครือข่ายซ่งึ การพฒั นาการศึกษาในโรงเรยี นตอ้ ง
สามารถนาเครือข่ายความร่วมมอื การบริหารจดั การศึกษาไปใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นการจดั ทา
นโยบาย เพ่อื สง่ เสริมและยกระดับคุณภาพและมาตรฐานโรงเรียนต่อไป
คูม่ อื การขับเคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๒๒
เปา้ หมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริมการขับเคลื่อนคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยเครือขา่ ยความร่วมมือ
การบริหารจัดการศกึ ษา
๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
โรงเรียนดาเนนิ การสง่ เสริมการขับเคล่อื นคณุ ภาพการศึกษาด้วยเครอื ข่ายความรว่ มมือการ
บริหารจดั การศกึ ษา ระดบั คุณภาพดขี ้ึนไป
วธิ ีการดาเนินงานส่เู ป้าหมาย
๑ จัดทาโครงการ เพอ่ื สง่ เสรมิ การขบั เคล่ือนคุณภาพการศึกษาดว้ ยเครือขา่ ยความร่วมมอื
การบริหารจดั การศึกษา
๒ กาหนดวิสัยทศั น์ร่วมกนั ของบุคคล องค์กร ชมุ ชน หนว่ ยงาน และภาคีเครอื ข่ายที่มี
ส่วนเกย่ี วขอ้ ง เพื่อกาหนดทิศทางในการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
๓ จัดทาโครงสร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื และมีการแต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ งานการ
บริหารแบบมีสว่ นร่วมอย่างเป็นระบบ
๔ กาหนดหนา้ ทีข่ องภาคีเครือข่ายเพอ่ื ขบั เคลื่อนคุณภาพการศกึ ษา
๕ ดาเนนิ กิจกรรมของภาคเี ครอื ข่ายเพอื่ ขับเคล่ือนคุณภาพการศกึ ษา
๖ ส่งเสริมการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาบุคคล องค์กร ชุมชน หนว่ ยงาน และภาคเี ครือข่าย
๗ ประชาสมั พันธข์ ้อมูลขา่ วสารตอ่ ประชาชน หรือหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง
๘ กาหนดชอ่ งทางการรบั ังั ความเห็น ขอ้ เสนอแนะ บคุ คล องค์กร/ชุมชน/หนว่ ยงาน
และภาคีเครือขา่ ย ท่ีมสี ว่ นเก่ียวข้อง
๙ นิเทศติดตาม และให้การช่วยเหลือการขับเคลอ่ื นคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยเครอื ข่าย
ความร่วมมือการบรหิ าร จัดการศกึ ษา
๑๐ รายงานสรุป/กจิ กรรมสง่ เสรมิ การขับเคล่ือนคุณภาพการศกึ ษาด้วยเครอื ข่าย ความ
ร่วมมือการบรหิ ารจัดการศึกษา
คมู่ อื การขบั เคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๒๓
การวดั และประเมินผล
๑ ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ
๑ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ดาเนินการสง่ เสริมการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการศึกษาด้วย
เครือข่ายความร่วมมือการบริหารจดั การศกึ ษา
๒ รอ้ ยละ ๘๐ ของโรงเรียน ดาเนนิ การสง่ เสรมิ การขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษา ด้วย
เครอื ข่ายความร่วมมือ การบรหิ ารจัดการศึกษา ระดบั คุณภาพดีขึน้ ไป
๒ วธิ ีการวดั และประเมินผล
๑ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
๒ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลคณุ ภาพจากรายงานผลการจดั การศึกษาของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR)
๓ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของหนว่ ยงานต้นสงั กดั
นโยบายท่ี ๑ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
จดุ เนน้ ที่ 5 สง่ เสรมิ โรงเรียนให้บรหิ ารจัดการศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ประเดน็ การพิจารณา : โรงเรยี นมีการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กรอบความคดิ
สถานศกึ ษาดาเนินการขบั เคล่ือนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปสู่การจดั การเรียน
การสอนตามหลักสตู รการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ในแตล่ ะระดบั การศึกษา โดย
ดาเนินการน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ช้ใน 5 ดา้ น ดังน้ี
1. ด้านการบริหารจดั การสถานศึกษา ประกอบดว้ ย
1.1 กาหนดเป็นนโยบาย งานวชิ าการ งบประมาณ บุคคล บริหารทว่ั ไป กจิ การนักเรยี น
ชุมชนสัมพนั ธ์
1.2 นาหลกั การทรงงาน (เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา) ปรับใช้ในการบรหิ ารศกึ ษา
1.3 บริหารทรพั ยากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การมสี ว่ นร่วมรรู้ ักสามคั คี
ไม่ประมาท
2. ด้านหลกั สตู รและการจดั การเรียนการสอน ประกอบดว้ ย
2.1 สอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ตามหลกั สตู รการจัดการศึกษา
2.2 บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั สาระการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้
2.3 สรา้ งบรรยากาศทีส่ ง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
คูม่ ือการขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๒๔
3. ดา้ นการจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ประกอบด้วย
3.1 ต่อยอดหรอื พัฒนากจิ กรรมที่สอดคลอ้ งกับภูมิสังคม บรบิ ทของสถานศึกษา
3.2 การวางแผนอย่างรอบคอบ คานึงถึงความเสย่ี งตา่ ง ๆ ใชห้ ลกั คิด หลักปฏบิ ัตทิ ี่
สอดคลอ้ งกบั หลกั วิชาการอย่างสมเหตสุ มผล
3.3 สง่ เสรมิ การเรียนรแู้ ละคุณธรรม
4. ด้านการพัฒนาบคุ ลากร ประกอบดว้ ย
4.1 กาหนดแผนงาน โครงการการพฒั นาบุคลากรในสถานศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง
4.2 สง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรในสถานศึกษา ศกึ ษาหาความรู้ทีเ่ ก่ียวข้องอย่างสม่าเสมอ
5. ด้านผลลัพธ์ ภาพความสาเรจ็ ประกอบดว้ ย
5.1 จดั สภาพภูมทิ ัศนใ์ นสถานศกึ ษา
5.2 สร้างบรรยากาศที่ดใี นการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
5.3 รายงานผลการรว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ ในชมุ ชน
5.4 การเผยแพร่ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
เป้าหมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
โรงเรียนดาเนนิ การบริหารจัดการศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงโรงเรียน
๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
โรงเรยี นดาเนินการบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งระดบั คุณภาพ
ดขี นึ้ ไป
วิธีการดาเนนิ งานส่เู ปา้ หมาย
1 แต่งตงั้ คณะกรรมการอานวยการ โครงการสถานศกึ ษาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย
ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาเปน็ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนเปน็
กรรมการ
2 ประชุมคณะกรรมการอานวยการ ช้แี จงวัตถุประสงค์ นโยบายการดาเนินงานโครงการ
สถานศกึ ษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่อื นาไปสู่การปฏิบตั ิในสถานศกึ ษาอย่างเป็นรูปธรรม
3 สง่ เสริมสนับสนุนการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามค่มู ือการ
ประเมินสถานศึกษาแบบอย่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง (สถานศึกษาพอเพยี ง) 5 ดา้ น คอื ด้านการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ดา้ น
หลักสูตรและการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ด้านการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ด้านการพัฒนาบุคลากร
ของสถานศกึ ษา ดา้ นผลลพั ธ์/ภาพความสาเร็จมาตรฐานด้านแผนงาน
คู่มือการขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๒๕
4 แต่งต้งั คณะทางานศึกษารวบรวมขอ้ มลู จดั ทาองค์ความรู้ กระบวนการดาเนนิ งาน นา
ขอ้ มลู มาคัดกรอง วเิ คราะห์ สงั เคราะหป์ ัญหา เพ่ือจัดทาแผนปฏิบตั กิ าร/โครงการสถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพยี งให้มคี วามเขม้ แข็ง ต่อเน่ือง และย่ังยืน
5 จดั ทาปฏิทนิ และตารางการปฏิบตั ิงานตามโครงการสถานศึกษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตลอดปีการศึกษา และ ดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิการ/โครงการสถานศึกษาเศรษฐกจิ พอเพียง
โดยเน้น การมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน
6 ส่งเสรมิ สนับสนนุ อานวยการ กากบั ตดิ ตาม และประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านโครงการ
สถานศึกษาเศรษฐกจิ พอเพียงใหม้ ีความเขม้ แข็ง ตอ่ เน่ือง และย่งั ยนื
7 ศกึ ษาดาเนนิ การประเมินตนเอง และรายงานผลการประเมนิ สง่ หน่วยงานต้นสงั กดั
8 นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการศึกษา โดยมงุ่ เน้นใหโ้ รงเรยี นบริหารจดั การศึกษาตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
9 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินคุณภาพ โครงการ/กจิ กรรม ท่ีเกย่ี วกบั การดาเนินการ
บริหารจดั การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในรายงานผลการจัดการศกึ ษาของ
สถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR)
การวดั และประเมนิ ผล
๑ ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ
1 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนนิ การบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2 ร้อยละ 80 ของโรงเรยี น ดาเนนิ การบริหารจดั การศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ระดับคณุ ภาพดีขึน้ ไป
๒ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล
๑ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาเกี่ยวกบั การดาเนินการบริหารจัดการศกึ ษาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๒ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลคณุ ภาพจากรายงานผลการจดั การศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR)
๓ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาของหน่วยงานตน้ สังกัด
คมู่ ือการขบั เคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๒๖
นโยบายที่ ๑ ส่งเสรมิ การพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ
จดุ เนน้ ที่ 6 ส่งเสริมพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหาร
จดั การ
ประเดน็ การพิจารณาท่ี 1 : การพัฒนาระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย
สนองตอบความต้องการ ของผูใ้ ช้บรกิ ารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 2 : การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษามีการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน
การบริหารจดั การ และการปฏิบตั งิ าน
กรอบความคิด
การพัฒนาผเู้ รียนในปจั จบุ ันได้เปล่ยี นโฉมบทบาท “ครู” ใหเ้ ป็นครูยุคใหม่ โดยปรับ
บทบาทจาก “ครผู สู้ อน” เป็น “โค้ช (Coach)” หรอื อานวยการการเรยี นรู้ ทาหนา้ ที่กระตนุ้
สร้างแรงบนั ดาลใจ แนะนาวิธเี รียนรู้และวิธจี ดั ระเบียบ การสร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรมและ
สรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรใู้ ห้ผู้เรยี นอกี ท้ัง สอนในยุคศตวรรษท่ี 21 จะตอ้ งพัฒนาความรู้ของ
ตนเองเปน็ อย่างมากโดยเฉพาะความรใู้ นการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ าร
จดั การ รวมทัง้ ใช้เปน็ เคร่ืองมือในการจดั การเรยี นการสอน เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรียนการสอน
สามารถทาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพและผู้เรยี นเกิดประสบการณ์ทางการศึกษาอยา่ งสูงสดุ
โรงเรยี นจงึ ตอ้ งมีระบบเครือข่ายเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือการศึกษาที่ทนั สมยั สนองตอบความ
ต้องการของผ้ใู ช้บริการอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
เปา้ หมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริม พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน
การบรหิ ารจดั การ
๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริม พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน
การบรหิ ารจัดการ ระดับคุณภาพดขี ึ้นไป
คู่มอื การขบั เคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๒๗
วิธีการดาเนนิ งานสู่เปา้ หมาย
1 ตรวจสอบคุณภาพของเครือข่ายเทคโนโลยสี านสนเทศ และเพิม่ ศักยภาพความเรว็
อินเทอร์เน็ต
2 พฒั นาระบบเครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศใหค้ รอบคลุมกบั การใชง้ านในโรงเรยี น
3 จดั หาโปรแกรมเพื่อการกาหนดสิทธ์ิ (Username Account) ในการเขา้ ใช้งานระบบ
เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ มีความปลอดภัย และเปน็ ประโยชน์ต่อการใชง้ านและเปน็ ไปตาม
พระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ .ศ. 2560
4 พฒั นาแหลง่ เรียนรู้และให้บริการเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต แกผ่ บู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู
บุคลากร นกั เรียน และ บุคคลภายนอกสถานศึกษา
5 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้ มีความร้เู กย่ี วกับการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในการบริหารจัดการ และการปฏบิ ตั งิ าน
6 พฒั นาครใู ห้สามารถวิเคราะห์ข้อมลู นาเสนองาน สามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศในการบริหารจัดการ และการปฏบิ ัติงาน
7 ส่งเสรมิ พฒั นาใหค้ รูมรี ะบบขอ้ มูลสารสนเทศในการบริหารจัดการและการปฏบิ ัติงาน
8 สง่ เสรมิ ให้ครมู ีการให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศแก่ผรู้ ับบริการ
การวัดและประเมนิ ผล
๑ ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จ
1 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน สง่ เสรมิ พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศในการบรหิ ารจดั การ
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน สง่ เสรมิ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศในการบริหารจดั การ ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
๒ วิธกี ารวดั และประเมินผล
1 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาของสถานศึกษา
2 การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลคุณภาพจากรายงานผลการจัดการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR)
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษาของหน่วยงานต้นสงั กัด
คมู่ ือการขับเคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๒๘
นโยบายท่ี ๑ สง่ เสรมิ การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ
จดุ เน้นที่ 7 สง่ เสริมพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความเชีย่ วชาญตามสมรรถนะ
มาตรฐานและมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี
ประเด็นการพิจารณาที่ 1 : และบุคลากรทางการศึกษามีจรรยาบรรณในวิชาชีพและจติ วิญญาณความ
เปน็ ครู
ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2 : การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความรคู้ วามสามารถในการ
พัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชพี
กรอบแนวคิด
ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามหี น้าทหี่ ลกั คือการพัฒนาคุณภาพนักเรยี น ให้มที กั ษะ
3R8C ซง่ึ เป็นทักษะสาคัญในยุคศตวรรษท่ี 21 รวมทง้ั ต้องเปน็ แบบอย่างทีด่ ใี ห้กับนกั เรยี นใน
ดา้ นวิชาการ ด้านอาชีพ และด้านทกั ษะชวี ิต เพื่อให้ นกั เรยี นสามารถดารงอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมี
ความสขุ ซง่ึ ภาระหนา้ ทแี่ ละบทบาทนี้ ครจู ึงตอ้ งมีความพร้อมในทุกดา้ นทจี่ ะเปน็ ผู้อานวยความ
สะดวก (Facilitator) เป็นครผู แู้ นะแนวทาง (Coach) และเป็นผูร้ ่วมเรียนรู้/ร่วมศึกษา (Co-
leaner/ investigator) ส่งเสริมสนับสนนุ การเรยี นรใู้ หก้ บั นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
จึงตอ้ งมีการพฒั นาตนเองให้มีความรู้ความสามารถ มีความเชยี่ วชาญตามสมรรถนะ มาตรฐาน
และ จรรยาบรรณในวิชาชพี อยา่ งต่อเนื่อง
เปา้ หมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ
โรงเรียนดาเนินการส่งเสรมิ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีความเช่ียวชาญ ตาม
สมรรถนะ มาตรฐานและมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
๒ เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
โรงเรียนดาเนนิ การสง่ เสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีความเชี่ยวชาญ ตาม
สมรรถนะ มาตรฐานและมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ระดบั คุณภาพดขี ้ึนไป
คู่มือการขบั เคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๒๙
วิธีดาเนินการสูเ่ ปา้ หมาย
1 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้โรงเรยี นจัดทาโครงการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
2 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี นมี การกาหนดเป้าหมายการพัฒนาครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษา
3 สง่ เสริม และสนบั สนุนให้โรงเรียนมีการออกแบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาอย่างหลากหลาย
4 สง่ เสรมิ และสนับสนุนใหโ้ รงเรียนมี วางแผนการพฒั นาครู และบุคลากรทางการศึกษา
5 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหโ้ รงเรียนดาเนินการการพัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
อย่างต่อเน่อื ง
6 ส่งเสริม และสนบั สนนุ ใหโ้ รงเรียนประเมินผลการพฒั นา และจดั ทาข้อมูลสารสนเทศ
การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา
การวัดและประเมนิ ผล
๑ ตัวชว้ี ัดความสาเรจ็
1 รอ้ ยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และจติ
วิญญาณความเป็นครู
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียนดาเนินการสง่ เสรมิ พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
ทีไ่ ด้รับการพัฒนาความรคู้ วามสามารถในการพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชพี ระดบั คุณภาพดีขน้ึ
ไป
๒ วธิ กี ารวดั และประเมินผล
1 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล
๒ การนเิ ทศ การตดิ ตาม การจดั ทาหรือพัฒนารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของหนว่ ยงานตน้ สังกัด
คู่มอื การขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๓๐
นโยบายที่ 2 สง่ เสริมการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั
จุดเน้นที่ 8 ส่งเสริมและพัฒนาใหค้ รจู ัดการเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ ีการ Active Learning
ประเด็นการพิจารณาที่ 1 : มกี ารพัฒนาทักษะการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยวธิ ีการ Active Learning
ประเด็นการพิจารณาท่ี 2 : ครูจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ ีการ Active Learning
กรอบความิคดิ
การจดั การเรียนรดู้ ้วยวธิ กี าร Active Learning เปน็ การจัดการเรยี นรู้ทเี่ น้นใหน้ ักเรยี นมี
ปฏสิ มั พนั ธ์กบั การเรียนการสอน กระตุ้นให้นกเรียนเกดิ กระบวนการคิดข้ันสูงดว้ ยการวเิ คราะห์
ประเมินค่า และสรา้ งสรรค์ ไมเ่ พียงแต่เปน็ ผูฟ้ งั นักเรยี นต้องอ่าน เขียน ตง้ั คาถามและถาม
อภปิ รายรว่ มกัน นักเรยี นลงมือปฏิบัตจิ ริง โดยต้องคานึงถึง ความรูเ้ ดิมและความต้องการของ
นกั เรยี นเปน็ สาคัญ ทงั น้ีนักเรียนจะถกู เปลีย่ นบทบาทจากเปน็ ผรู้ บั ความรู้ไปส่กู ารมีสว่ นรว่ มในการ
สร้างความรู้ ครูตอ้ งมีการศึกษา วเิ คราะหห์ ลักสูตร รวมไปถึงการจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ด้วย
วธิ ีการ Active Learning ทีมีองค์ประกอบครบถว้ นอย่างน้อยหน่งึ หน่วยการเรียนรู้ มีกาหนดการ
สอนที่แสดงถงึ การจดั การเรียนรดู้ ้วยวิธีการ Active Learning ทห่ี ลากหลาย โดยมกี ารจัด
เรียงลาดบั อย่างเปน็ ขัน้ ตอน นาแผนการจดั การเรยี นรู้ไปใช้กับนกั เรยี นโดยเน้นกิจกรรมเชิง
ปฏิบตั ิการ ใหน้ กั เรียนลงมือปฏบิ ัตแิ ละเรยี นรดู้ ว้ ยวิธีหลากหลาย เปิดโอกาสนักเรยี นมีส่วนรว่ มใน
การจดั การเรยี นรู้ มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีทหี่ ลากหลาย ทา้ ทาย เปิดโอกาสให้นักเรยี นมี
การสือ่ สารแลกเปล่ียนได้แสดงออกหรอื ถ่ายทอดความคิดผ่านส่ือต่างๆ อย่างหลากหลายและมีการ
วดั และประเมินผลการจดั การเรียนร้ดู ้วยวธิ ีการ Active Learning ตามสภาพจริง
เปา้ หมาย
1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริมและพฒั นาทักษะการจัดการเรียนรูด้ ว้ ยวิธีการ Active Learning
ของครแู ละจดั การเรยี นรู้ด้วยวธิ ีการ Active Learning
2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
โรงเรียนดาเนินการส่งเสรมิ และพัฒนาทักษะการจดั การเรียนรู้ด้วยวธิ ีการ Active Learning
ของครแู ละจดั การเรยี นรูด้ ้วยวธิ ีการ Active Learning ระดบั คุณภาพดีขึน้ ไป
คมู่ อื การขบั เคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๓๑
วิธีการดาเนนิ งานสู่เป้าหมาย
1 สรา้ งความตระหนัก ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การจัดการเรียนรดู้ ว้ ยวิธีการ
Active Learning
2 พัฒนาครใู หม้ ีทักษะการจัดการเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีการ Active Learning โดยให้ครูเข้า
ร่วมการประชุมวิชาการ/การอบรม/ศึกษาดูงาน/แลกเปลย่ี นเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน
เกย่ี วกับการจดั การเรียนรู้ด้วยวธิ ีการ Active Learning
3 จัดการเรียนรดู้ ้วยวิธีการ Active Learning โดยมีวิธีปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
- ศึกษา วเิ คราะหห์ ลักสูตรและออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning
- จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning ที่มอี งคป์ ระกอบครบถ้วน
อยา่ งน้อยหน่ึงหนว่ ยการเรยี นรู้
- นาแผนการจดั การเรยี นรไู้ ปใช้กับนกั เรยี นโดยเนน้ กิจกรรมเชงิ ปฏบิ ัติการ ให้นกั เรียนลง
มือปฏบิ ตั แิ ละเรยี นร้ดู ว้ ยวธิ ีหลากหลาย และเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการจดั การเรียนรู้
มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายทา้ ทาย เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นมีการส่ือสารแลกเปล่ียน ได้
แสดงออกหรือถ่ายทอดความคดิ ผ่านส่ือต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
- วัดและประเมินผล การจัดการเรยี นร้ดู ว้ ยวธิ ีการ Active Learning ตามสภาพจริง
- นิเทศ ติดตาม ใหก้ ารชว่ ยเหลือการจัดการเรยี นร้ดู ว้ ยวธิ ีการ Active Learning
4 ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล คุณภาพการจดั การเรยี นรู้ดว้ ยวิธีการ Active
Learning และจดั ทารายงานผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษา (Self - Assessment Report :
SAR)
การวัดและประเมินผล
๑ ตวั ชี้วัดความสาเร็จ
1 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มกี ารดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาทกั ษะการจดั การเรียนรู้
ด้วยวธิ ีการ Active Learning ของครูและจัดการเรยี นร้ดู ้วยวธิ ีการ Active Learning
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการจดั การเรยี นร้ดู ้วย
วธิ ีการ Active Learning ของครูและจัดการเรียนรู้ดว้ ยวิธีการ Active Learning ระดบั คุณภาพดี
ขึ้นไป
๒ วิธกี ารวดั และประเมินผล
1 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
๒ การนเิ ทศ การตดิ ตาม การจัดทาหรอื พัฒนารายงานการประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR)
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของหนว่ ยงานต้นสังกัด
คูม่ อื การขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๓๒
นโยบายท่ี 2 สง่ เสริมการพัฒนาการจดั การเรยี นรูท้ ี่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
จุดเน้นท่ี 9 สง่ เสรมิ และพัฒนาใหค้ รูใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ที่เออ้ื ต่อการ
เรยี นรู้
ประเด็นการพจิ ารณาที่ 1 : มีการใช้ สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรูท้ เี่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้มา
ใช้ในการจดั การเรยี นรู้
ประเด็นการพจิ ารณาท่ี 2 : มกี ารใชภ้ มู ิปญั ญาท้องถนิ่ มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้
ประเด็นการพจิ ารณาท่ี 3 : สร้างโอกาสให้นักเรยี นได้แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากส่ือท่ีหลากหลาย
ประเดน็ การพิจารณาที่ 4 : มีการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์พิเศษ
กรอบความคิด
การจัดการเรยี นการสอนในปัจจบุ ันนี้ สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้มอี ยู่
อยา่ งมากมายทจ่ี ะให้เลอื กใช้ เพือ่ ปรบั ปรุงการเรยี นการสอนใหด้ ยี ่ิงข้ึน สื่อและแหลง่ เรยี นรู้
หมายถงึ ส่ิงท่ใี ช้เป็นส่อื กลางใหค้ รสู ามารถถ่ายทอดความรู้ เจตคตแิ ละทักษะไปยังนักเรียน
สามารถมองเหน็ เป็นรปู ธรรมได้ ทาใหน้ ักเรียนได้เรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพหรือทาให้ บทเรยี น
งา่ ยขึ้น สาหรบั เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถงึ การนาเอาเทคโนโลยมี าใชส้ รา้ งมูลคา่ เพ่ิมให้กับ
สารสนเทศทาใหส้ ารสนเทศมีประโยชน์ และใชง้ านได้กว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ
รวมไปถงึ การใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ ทจ่ี ะรวบรวม จัดเกบ็ ใช้งาน สง่ ต่อ หรือสอื่ สารระหวา่ งกัน
การสง่ เสรมิ และพฒั นาให้ครใู ชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่เี ออื้ ต่อการเรียนรู้
จะต้องมีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายและมสี ่ือประกอบการสอนท้ังส่ือในท้องถ่ินและ
สื่อเทคโนโลยี นักเรียนจึงจะได้รับการพัฒนา กอ่ ให้เกิดการเรยี นร้ดู า้ นต่างๆ หลายประการช่วย
เพ่ิมประสิทธิภาพการสอน ช่วยแกป้ ัญหาพน้ื ฐานหรอื ภูมหิ ลังของนักเรียนครูควรเปิดโอกาสให้
นักเรยี นได้รับประสบการณ์ อย่างกว้างขวาง แทนการฟังแต่เพียงคาบอกเล่าของครู จงึ มีความ
จาเปน็ อย่างย่งิ ท่ีจะต้องหาแนวทางใหน้ กั เรียนรสู้ ิง่ ต่างๆ ให้ได้ มากที่สดุ โดยใช้เวลาในการเรียน
น้อยกวา่ เดมิ ในการจัดการเรียนรู้ในสถานการณพ์ เิ ศษ เช่น การเกิดโรคระบาด ภัยพบิ ัติธรรมชาติ
หรือเหตกุ ารณ์อ่ืนใดทท่ี าให้ทางสถานศึกษาไมส่ ามารถจัดการเรยี นรไู้ ดต้ ามปกติ การจดั การเรยี นรู้
กย็ งั คงใหผ้ เู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงไดอ้ ย่างมีคุณภาพ ตามแนวคิด “การเรยี นรูน้ าการศึกษา
โรงเรยี นหยุดไดแ้ ต่การเรียนรหู้ ยุดไมไ่ ด้” ท้ังนี้เพ่ือใหก้ ารจัดการเรยี นรูส้ ามารถเกิดขน้ึ ได้อย่างมี
คณุ ภาพเทา่ ที่สภาพแวดล้อมจะอานวยบนพ้ืนฐาน 6 ข้อ ดังน้ี
1 การจดั การเรียนรู้ โดยคานึงถึงความปลอดภยั ของผู้เรยี นสงู สุด
2 อานวยความสะดวกให้นกั เรียนทุกคน สามารถเขา้ ถึงการเรยี นการสอนได้ แม้ไมไ่ ดไ้ ป
โรงเรียน
3 ใช้อุปกรณ์ เช่น ชอ่ งดจิ ิทัล TV เพื่อให้นักเรียนทกุ ระดบั ช้ันสามารถเรียน DLTV ไดโ้ ดย
ไม่มีการลงทุนอน่ื ใด เพ่มิ เติมโดยไม่จาเป็น
คมู่ ือการขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๓๓
4 ตดั สินใจโดยอยู่ในพืน้ ฐานความต้องการจาเป็นของ นกั เรียน ครู โรงเรียน โดย
คานงึ ถึงคุณภาพการจดั การศึกษาสูงสุดเป็นที่ตัง้
5 ปรับปฏทิ นิ การศึกษาให้มีความเหมาะสมสอดคล้อง
6 บุคลากรทางการศึกษาได้รับการดูแลอย่างต่อเน่อื งและมีผลกระทบน้อยทส่ี ุด
เป้าหมาย
1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ
โรงเรียนดาเนินการส่งเสรมิ และพัฒนาให้ครูใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้ท่ี
เอือ้ ต่อการเรยี นรู้
2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
โรงเรยี นดาเนินการสง่ เสรมิ และพัฒนาให้ครูใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนร้ทู ี่
เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ระดบั คณุ ภาพดีขึน้ ไป
วิธกี ารดาเนินงานสู่เป้าหมาย
1 ศึกษาความต้องการของนักเรียนและท้องถนิ่ ในการกาหนดจุดเนน้ ในการพัฒนา
นักเรยี นในสถานศกึ ษา
2 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การรวบรวมสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ อ้ งถ่ินที่
เอือ้ ต่อการเรียนรู้
3 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาหลักสูตรโรงเรียนและกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี น
เป็นสาคญั โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทอ้ งถิ่นท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้
4 วดั และประเมินผลการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้
ท้องถน่ิ ทเี่ อือ้ ต่อการเรียนรู้
5 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนร้ทู ่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้กระบวนการ
เรยี นร้ทู ี่หลากหลาย ได้แก่
- เนน้ ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ
- เน้นใชภ้ ูมิปญั ญาท้องถ่ิน
- เน้นใชใ้ ห้นกั เรยี นได้แสวงหาความรดู้ ้วยตนเองจากส่ือทหี่ ลากหลาย
6 นเิ ทศ ติดตาม ช่วยเหลอื ครูในการจัดการเรยี นร้โู ดยใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
แหลง่ เรยี นร้ทู ้องถิ่นที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้
7 ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ือเทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท้องถนิ่ ทีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรู้ และจดั ทารายงานผลการจดั การศกึ ษา
ของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR)
คูม่ ือการขบั เคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๓๔
การวัดและประเมินผล
1 ตวั ช้วี ัดความสาเร็จ
1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาใหค้ รใู ช้สื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการสง่ เสริมและพฒั นาใหค้ รูใช้สอื่ เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ ระดบั คณุ ภาพดีขนึ้ ไป
2 วธิ ีการวดั และประเมินผล
1 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
๒ การนเิ ทศ การตดิ ตาม การจัดทาหรือพัฒนารายงานการประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR)
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาของหนว่ ยงานตน้ สังกัด
นโยบายที่ 3 เพิ่มและยกระดบั คุณภาพนกั เรียนทุกระดับ
จุดเน้นท่ี 10 เพ่มิ และยกระดับคณุ ภาพของนักเรยี นทุกระดับชั้น
ประเด็นการพจิ ารณาที่ 1 : นกั เรยี นมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดับดีขน้ึ ไป
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 2 : นักเรียนมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เป็นไปตามมาตรฐานตามหลักสูตร
แกนกลาง การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.
2560)
ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 3 : นกั เรียนมีการอ่าน การคดิ วิเคราะห์ และการเขยี นสื่อความเป็นไป
ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั
ปรบั ปรุง .ศ. 2560)
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 4 : นักเรยี นมีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ใน
แต่ละวิชาเพ่ิมขึ้น
ประเด็นการพจิ ารณาท่ี 5 : นกั เรยี นมที ักษะส่อื สารภาษาอังกฤษ และสื่อสารภาษาที่ 3
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 6 : นักเรียนทีม่ ที ักษะด้าน Digital Literacy ท่มี ีการเรยี นรู้อยา่ งมีประสิทธิ
ภาพ
คมู่ อื การขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๓๕
กรอบความคิด
เพ่ือให้การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมีคุณภาพมาตรฐาน ระดับสากลบนพนื้ ฐานของความเป็นไทย
ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพสูงสุด มีความรู้และทักษะที่แข็งแกร่งและเหมาะสมเป็น
พื้นฐานสาคัญในการเรียนรู้ระดับสูงขึ้นไป และการดารงชีวิตในอนาคต สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีการกาหนดนโยบาย โดยมีจุดเน้นด้านนักเรียนท่ีเกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน ได้แก่ นักเรียนมีสมรรถนะสาคัญสู่มาตรฐานสากล ในแต่ละโรงเรียนจึงได้กาหนด
นโยบาย เป้าหมายในการพัฒนา คือการยกระดับคุณภาพของนักเรียนในทุกระดับช้ัน ได้
ตั้งเป้าหมายการยกระดับสอดคล้องกับเป้าหมายระดับสูง ถือได้ว่าการยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นเป็นภารกิจ ที่สาคัญทสี่ ุดของสถานศึกษาเพอ่ื พฒั นานักเรยี นทุกคนที่ได้เข้าเรียน และ
จบการศึกษาอย่างมีคุณภาพ และคุณภาพสูงตามเกณฑ์ เป้าหมาย และมาตรฐานของหลักสูตรให้
นกั เรยี นไดพ้ ัฒนาเต็มศักยภาพเปน็ รายบคุ คลและทุกคน
ในส่วนการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ันเป็นลักษณะที่ต้องการให้เกิด
ขึ้นกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่สังคมต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก ซ่ึงหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ได้กาหนด
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ไว้ 8 ประการ คอื 1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2 ซื่อสตั ยส์ ุจรติ 3 วินัย 4
ใฝ่เรียนรู้ 5 อยู่อย่างพอเพียง 6 มุ่งมั่นในการทางาน 7 รักความเป็นไทยและ 8 จิตสาธารณะ
สถานศึกษาสามารถดาเนินการ พัฒนาด้วยวิธีดังน้ี คือบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง 8
กลุ่มจัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยสอดแทรกในกิจวัตรประจาวันของสถานศึกษา ในการ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์ในการตัดสิน 4 ระดับ ดังน้ี เยี่ยม, ดี, ผ่านและไม่ผ่าน
โดยใช้คา่ กลางฐานนิยม
ในส่วนการวัดและประเมนิ การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามมาตรฐานตาม
หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ใน
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น 1 สามารถคดั สรร สื่อท่ตี ้องการอ่าน เพื่อหาขอ้ มลู สารสนเทศได้ตาม
วตั ถปุ ระสงค์ สามารถสรา้ งความเข้าใจและประยุกต์ใช้ความรู้จากการอ่าน 2 สามารถจับประเด็น
สาคัญและประเด็นสนับสนุนโต้แย้ง 3 สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความ
น่าเช่ือถือ ลาดับความและความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน 4 สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่
ไดจ้ ากการอา่ น 5 สามารถสรุป อภิปราย ขยายความคดิ เห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าว โดยการ
เขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผังความคิด เป็นต้น และในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย 1
สามารถอ่าน เพ่ือการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ และ ประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจาวัน
ค่มู อื การขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๓๖
2 สามารถจับประเด็นสาคัญ ลาดับเหตุการณ์ จากการอ่านสื่อที่มีความซับซ้อน
3 สามารถวิเคราะห์ ส่ิงท่ีผู้เขียนต้องการส่ือสารกับผู้อ่านและสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะใน
แงม่ มุ ต่าง ๆ 4 สามารถประเมินความน่าเชื่อถือ คมุ้ ค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งท่อี ่านอย่างหลากหลาย
5 สามารถเขยี นแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สรุปโดยมีข้อมลู อธิบายสนับสนุนอย่างพอเพียงและสม
เหตุ
ในส่วนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET: Ordinary National
Educational Test) โดยการทดสอบความรู้รวบยอด ดาเนินการโดยสถาบันทดสอบทาง
การศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อให้การจัดการเรียน
ก า ร ส อ น มี คุ ณ ภ า พ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ เป้ า ห ม า ย ข อ งห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า งก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ผลการประเมินที่ได้นอกจากจะเป็นตัวบ่งช้ี
คุณภาพการศึกษาของประเทศในภาพรวมแล้วยัง ใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการ
กาหนดนโยบายระดับชาติและใช้วางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดั บ เขตพ้ืนที่
การศึกษาและระดับสถานศึกษาดาเนินการทดสอบช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6 เพ่ือให้ผลการประเมินคุณภาพในคร้ังน้ี เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นาไปสู่การ
จัดระบบและใช้เป็นสารสนเทศสาหรับการกาหนดนโยบาย การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้
สอดคล้องตามสภาพจรงิ
ในส่วนทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และสื่อสารภาษาที่ 3 เช่น จีน ญ่ีปุ่น เกาหลี พม่า
ฝรั่งเศสในภาวะปัจจุบันที่อิทธิพลของโลกาภิวัฒน์ ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง และยังจะเพิ่มมากข้ึน
เรื่อย ๆ นั้นการเรียนรู้ภาษาของประเทศอื่นย่อมได้เปรียบในการทากิจการต่าง ๆ เพราะคงไม่มี
ใครจะติดต่อส่ือสารและรู้เรื่องได้ดีเท่ากับการพูดภาษาเดียวกันการส่ือสาร ในสถานการณ์ต่าง ๆ
จะสอื่ สารกันได้อยา่ งน้อยท่ีสุดก็ต้องฟังรเู้ ร่อื งกอ่ นแล้วจงึ จะทาให้สามารถพูดโต้ตอบได้ หรอื พูดได้
พูดเป็น หรือใช้เป็น และเป็นประโยชน์ อกจากการโต้ตอบแลกเปล่ียนข้อมูลสารสนเทศกันก็คง
รวมไปถึงการเล่าเรื่องบรรยาย แสดงความคิด ความเห็น ความรู้สึก วิพากษ์วิจารณ์ ซ่ึงก็ต้องมี
การประเมินที่ได้ยินได้ฟังมาจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์อีกทีหนึ่ง จึงถือว่าสุดยอดในการเรียนรู้
ทางภาษาและจากท่ีประเทศเรากาลังประสบกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ กระแสโลกและวิกฤติ
การเมือง การเรียนรู้ภาษาให้แตกฉานก็เป็นการช่วยบรรเทาภาวะทางเศรษฐกิจในขณะน้ีได้ การ
เข้าใจเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศจะทาให้ การติดต่อส่ือสารกับชาวตา่ งประเทศเขา้ ใจประเทศไทยดี
ยิ่งข้ึน
ในส่วนทักษะด้าน Digital Literacy เป็นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านสารสนเทศ
ส่ือและเทคโนโลยี ตามแนวทาง การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรียนรู้การใช้งานดิจิทัลให้เกิด
ประโยชน์ ทางด้านการขับเคล่ือนเศรษฐกิจดจิ ิทัลตระหนักรู้ การใช้ดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์ และมี
ทักษะประกอบด้วยสิทธิและความรับผิดชอบ การเข้าถึงสื่อดิจิทัล การสื่อสารยุคดิจิทัล ความ
ปลอดภัยยุคดิจิทัล ความเข้าใจสือดิจิทัล แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล สุขภาพดียุคดิจิทัลคอมเิมิิร์ซ
และกฎหมาย ดิจทิ ัลอย่างมีประสทิ ธิภาพ
คู่มือการขบั เคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๓๗
จากที่กล่าวมาแล้วในขั้นต้น เพื่อเป็นการเพิ่มและยกระดับคุณภาพของนักเรียนทุก
ระดบั ชนั้ โรงเรียนต้องกาหนดนโยบาย จุดเนน้ และดาเนินการตามประเด็นดังกล่าว โดยระบุอยู่ใน
แผนพัฒนาการศึกษา และแผนการปฏิบัติการประจาปีเพื่อจัดทาเป็นโครงการ/กิจกรรม จากน้ัน
ดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ท่ไี ดว้ างแผนไว้ โดยมีการนเิ ทศตดิ ตามอย่างตอ่ เน่ืองทา
การสรุปขอ้ มูลลงในโปรแกรมงานทะเบียน-วดั ผล SGS เก่ียวกับผลการประเมินผลสัมฤทธทิ์ างการ
เรียนของนักเรียน ทาการรายงานผลการดาเนินงานในรายงานผลการจัดการศึกษาของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR) จากนนั้ เผยแพร่ผลงานสสู่ าธารณชนและผู้มี
ส่วนเก่ียวข้องให้ทราบ และมีการนาผลการประเมินโครงการ/กิจกรรมมาวางแนวทางในการ
ปรบั ปรุงพัฒนาต่อยอด และสร้างเป็นรูปแบบท่มี ีความยงั ยืน สามารถเปน็ แบบอย่างการปฏิบัติที่ดี
(Best Practice) ได้
1. นกั เรียนมีคะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นอยู่ในระดับดีข้ึนไป
เปา้ หมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
1 โรงเรียนดาเนินการเพิ่มและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นทุกระดับชน้ั
2 รอ้ ยละของจานวนนักเรยี นทัง้ หมดที่มผี ลการวดั และประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ในรายวชิ าพืน้ ฐานเฉล่ีย 2.50 ข้ึนไป
๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
โรงเรยี นดาเนนิ การเพิ่มและยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นทุกระดับชั้นระดับ
คุณภาพดีขนึ้ ไป
วธิ ีการดาเนินงานสู่เปา้ หมาย
1 กาหนดนโยบาย จุดเนน้ และดาเนนิ การที่เกยี่ วข้องกับการเพิม่ และยกระดับให้นักเรียนมี
คะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นอย่ใู นระดับดีขึ้นไป โดยระบุอยู่ในแผนพัฒนาการศกึ ษา แผนการ
ปฏิบัติการประจาปี
2 สง่ เสริม สนบั สนุนจัดทาโครงการ/กิจกรรม ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการเพิ่มและยกระดับให้
นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชัน้
3 ดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ท่ีได้วางแผนไว้ โดยมกี ารนเิ ทศติดตามอย่างต่อเนื่อง
4 รายงาน สรุปโครงการ/กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ท่ีสอดคล้องกับนโยบาย จดุ เน้น ใน
ประเดน็ พิจารณาที่เก่ยี วข้องกับการเพ่ิมและยกระดับให้นกั เรียนมคี ะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการ
เรียนอยใู่ นระดับดีข้ึนไป
5 สรปุ ขอ้ มูลลงในโปรแกรมงานทะเบียน-วัดผล SGS
6 นเิ ทศ ติดตาม ใหก้ ารชว่ ยเหลอื การเพิม่ และยกระดบั ให้นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนของนักเรยี นทุกระดับช้นั
คู่มือการขบั เคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๓๘
7 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเพ่ิมและยกระดบั ให้นกั เรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการ
เรียนของนักเรยี นทุกระดับช้ัน และจัดทารายงานผลการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา (Self -
Assessment Report : SAR)
การวดั และประเมินผล
1 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการเพ่ิมและยกระดบั ให้นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการ
เรียนของนักเรียนทุกระดับชัน้
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ของนกั เรียน
เฉล่ีย 2.50 ขนึ้ ไป
3 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการเพิ่มและยกระดบั ให้นกั เรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของนักเรยี นทุกระดับช้ันระดับคณุ ภาพดีขน้ึ ไป
2 นักเรยี นมคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์เป็นไปตามมาตรฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
เป้าหมาย
๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ
1 โรงเรียนดาเนินการเพิม่ และยกระดบั ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรยี นตามทหี่ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.
2560
2 นักเรยี นมคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามทห่ี ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กาหนดในระดบั ดีข้นึ ไป
๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
โรงเรียนดาเนนิ การเพ่ิมและยกระดบั ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ตามทห่ี ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
กาหนดระดบั คุณภาพดีข้ึนไป
วธิ กี ารดาเนนิ งานสู่เป้าหมาย
1 กาหนดนโยบาย จุดเน้นและดาเนนิ การทเี่ ก่ียวข้องกบั การเพม่ิ และยกระดับให้นักเรียนมี
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์เป็นไปตามมาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) โดยระบอุ ยู่ในแผนพัฒนาการศกึ ษาแผนการ
ปฏบิ ตั ิการประจาปี
2 สง่ เสริม สนบั สนุนจัดทาโครงการ/กิจกรรม ทีเ่ กย่ี วข้องกับการเพ่ิมและยกระดับให้
นกั เรียนมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์เป็นไปตามมาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั
พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
คู่มือการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๓๙
3 ดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ท่ีได้วางแผนไว้ โดยมีการนิเทศติดตามอย่าง
ตอ่ เนื่อง
4 รายงาน สรุปโครงการ/กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับนโยบาย จุดเน้นใน
ประเด็นพิจารณาท่ีเกี่ยวข้องกับการเพิ่มและยกระดับให้ นักเรียนมีคุณ ลักษณะอันพึงประสงค์
เป็นไปตามมาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั
ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
5 สรุปขอ้ มูลลงในโปรแกรมงานทะเบียน-วัดผล SGS
6) นิเทศ ติดตาม ให้การช่วยเหลือการเพ่ิมและยกระดับให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนของนักเรยี นทกุ ระดับช้นั
7) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเพิ่มและยกระดับให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น และจัดทารายงานผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (Self -
Assessment Report : SAR)
การวดั และประเมินผล
1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการเพ่ิมและยกระดบั ใหน้ กั เรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการ
เรียนของนักเรียนทุกระดับชัน้
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน ท่ีนกั เรียนมีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามทีห่ ลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กาหนดในระดับ ดีขน้ึ ไป
3 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการเพิ่มและยกระดบั ให้นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
ของนักเรยี นทกุ ระดับชั้นระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
หมายเหตุ การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑ์ในการตดั สิน 4 ระดบั ดังน้ี เย่ียม, ด,ี ผา่ น
และไม่ผ่าน โดยใชค้ ่ากลาง “ฐานนิยม”
3 นกั เรยี นมีการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และการเขยี นเปน็ ไปตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
เป้าหมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
1 โรงเรียนดาเนนิ การเพ่มิ และยกระดับการอ่าน การคดิ วเิ คราะห์ และเขยี นเปน็ ไปตาม
มาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.
2560)
2 นักเรยี นมผี ลการอ่าน การคดิ วิเคราะห์ และเขยี นเปน็ ไปตามมาตรฐานตามหลกั สูตร
แกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ในระดับดีข้ึนไป
ค่มู อื การขบั เคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๔๐
๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
โรงเรยี นดาเนินการเพ่ิมและยกระดบั การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขยี นเป็นไปตาม
มาตรฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ระดับคณุ ภาพดีขนึ้ ไป
วิธีการดาเนินงานสู่เป้าหมาย
กาหนดนโยบาย จุดเน้นและดาเนินการที่เกี่ยวข้องกบั การเพิ่มและยกระดับให้มกี ารอ่าน
การคดิ วเิ คราะห์ และเขียนเป็นไปตามมาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยระบอุ ยู่ในแผนพัฒนาการศกึ ษาแผนการ
ปฏิบัติการประจาปี
1 จดั ทาโครงการ/กิจกรรม ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การเพ่ิมและยกระดบั ให้มีการอ่าน การคิด
วิเคราะห์ และ เขียนเปน็ ไปตามมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2 ดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ทไ่ี ดว้ างแผนไว้ โดยมกี ารนิเทศติดตามอยา่ งต่อเน่ือง
3 รายงาน สรุปโครงการ/กิจกรรม ตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีสอดคลอ้ งกับนโยบาย จุดเน้น ใน
ประเด็นพิจารณาท่เี ก่ียวข้องกับการเพ่ิมและยกระดับให้มีการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียน
เป็นไปตามมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
4 สรุปข้อมูลลงใน Program SGS เก่ยี วกับผลการประเมนิ การอ่านการคดิ วิเคราะห์ และ
เขยี นเปน็ ไป ตามมาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับ
ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
5 สรุปขอ้ มลู ลงในโปรแกรมงานทะเบียน-วัดผล SGS
6 นิเทศ ติดตาม ใหก้ ารช่วยเหลอื การเพ่มิ และยกระดบั การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และ
เขยี นเป็นไป ตามมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั
ปรับปรุง .ศ. 2560)
7 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเพ่ิมและยกระดบั การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และ
เขยี นเปน็ ไป ตามมาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับ
ปรบั ปรุง .ศ. 2560) และจดั ทารายงานผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (Self –
Assessment Report : SAR)
ค่มู ือการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๔๑
การวัดและประเมนิ ผล
1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการเพ่ิมและยกระดับการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และ
เขียนเป็นไป ตามมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั
ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน ทม่ี นี ักเรยี นมีผลการอ่าน การคดิ วิเคราะห์ และเขียนเปน็ ไปตาม
มาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.
2560) ในระดับดขี น้ึ ไป
3 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนนิ การเพิ่มและยกระดับการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขยี น
เป็นไป ตามมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ระดบั คุณภาพดีข้นึ ไป
หมายเหตุ การประเมินผลการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน มีเกณฑ์ในการตัดสิน 4 ระดับ ดงั นี้ เยี่ยม,
ด,ี ผา่ นและไม่ผ่าน โดยใช้ค่ากลาง “ฐานนิยม”
4 นกั เรยี นมผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาเพิ่มข้นึ
เปา้ หมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
1 โรงเรียนมีการดาเนนิ การเพิม่ และยกระดบั ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ัน
พนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6
2 เปา้ หมายข้ันต่าโรงเรียนมนี ักเรียนที่มีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละรายวิชาเพ่ิมข้ึน มจี านวนเพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 1 จากปีการศกึ ษาที่
ผ่านมา
3 เป้าหมายท้าทาย โรงเรยี นมีนักเรียนท่มี ผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
(O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละรายวิชาเพมิ่ ขึ้น มีจานวนเพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 3 จากปีการศกึ ษาท่ี
ผ่านมา
๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ
โรงเรียนมีการดาเนินการเพิ่มและยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน
(O-NET) ของนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 และ 6 ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
วธิ ีการดาเนนิ งานสู่เปา้ หมาย
1 กาหนดนโยบาย จดุ เน้นและดาเนนิ การที่เกยี่ วข้องกับการเพ่ิมและยกระดับให้นักเรียน
มผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ในแต่ละวชิ าเพิม่ ข้นึ โดยระบอุ ยู่ใน
แผนพฒั นาการศกึ ษา แผนการปฏบิ ัติการประจาปี
2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดโครงการ/กิจกรรม ท่ีเก่ยี วข้องกับการเพม่ิ และยกระดบั ให้
นักเรียนมีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาเพ่ิมข้นึ
คู่มอื การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๔๒
3 ดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ทีไ่ ดว้ างแผนไว้ โดยมีการนิเทศติดตามอย่างต่อเน่ือง
4 รายงาน สรุปโครงการ/กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ท่สี อดคล้องกับนโยบาย จดุ เน้น ใน
ประเดน็ พิจารณาที่เกย่ี วข้องกับการเพิ่มและยกระดับใหน้ ักเรยี นมผี ลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาเพ่ิมขึ้น
5 สรุปข้อมลู ลงในโปรแกรมงานทะเบียน-วัดผล SGS
6 นิเทศ ติดตาม ใหก้ ารชว่ ยเหลือการเพิม่ และยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6
7 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเพ่มิ และยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6 และจัดทารายงาน
ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR)
การวัดและประเมินผล
1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน มกี ารดาเนินการเพ่ิมและยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ ขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 และ 6
2 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มนี กั เรียนท่มี ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน
(O-NET) มากกวา่ ร้อยละ 50 ในแต่ละรายวิชาเพ่ิมข้ึน มีจานวนเพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 1 จากปีการศกึ ษาที่
ผ่านมา
3 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มกี ารดาเนินการเพม่ิ และยกระดับผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาติ ขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และ 6 ระดบั คุณภาพดีขน้ึ
ไป
5 นกั เรียนมที กั ษะส่ือสารภาษาองั กฤษ และสอ่ื สารภาษาที 3
เปา้ หมาย
๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ
1 โรงเรยี นมกี ารดาเนินการเพมิ่ และยกระดบั ทักษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และสื่อสารภาษา
ที่ 3 ของนักเรียน
2 นกั เรียนมกี ารสอื่ สารภาษาอังกฤษ และส่อื สารภาษาที่ 3 ในระดบั ดขี น้ึ ไป
๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ
โรงเรียนมีการดาเนินการเพิ่มและยกระดบั ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และสื่อสารภาษาท่ี 3
ของนักเรยี น ระดับคุณภาพดีขนึ้ ไป
คมู่ อื การขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๔๓
วธิ ีการดาเนินงานสู่เปา้ หมาย
1 กาหนดนโยบายจุดเน้นและดาเนินการท่เี กย่ี วขอ้ งกับการเพ่มิ และยกระดับให้นักเรยี นมี
ทักษะ สื่อสารภาษาอังกฤษ และสอ่ื สารภาษาที่ 3 โดยระบุอยู่ในแผนพฒั นาการศกึ ษา
แผนการปฏบิ ัติการประจาปี
2 จดั ทาโครงการ/กิจกรรม ทเี่ กีย่ วข้องกบั การเพ่ิมและยกระดับใหน้ กั เรียนมีทักษะสอื่ สาร
ภาษาอังกฤษ และส่อื สารภาษาท่ี 3
3 ดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ท่ไี ดว้ างแผนไว้ โดยมีการนเิ ทศติดตามอยา่ งต่อเน่ือง
4 รายงาน สรุปโครงการ/กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ที่สอดคลอ้ งกับนโยบาย จดุ เน้น ใน
ประเด็นพิจารณาทเี่ กย่ี วข้องกับการเพ่ิมและยกระดับให้นักเรยี นมีทกั ษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และ
สอ่ื สารภาษาท่ี 3
5 สรุปข้อมูลลงในโปรแกรมงานทะเบียน-วัดผล SGS
6 นเิ ทศ ติดตาม ให้การช่วยเหลือการเกีย่ วข้องกบั การเพิ่มและยกระดับใหน้ ักเรียนมี
ทกั ษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษ และสื่อสารภาษาที่ 3
7 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเพมิ่ และยกระดบั ให้นักเรยี นมที ักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ และส่ือสารภาษาท่ี 3 เกีย่ วข้องกบั การเพิ่มและยกระดับใหน้ กั เรยี นมที ักษะสอื่ สาร
ภาษาอังกฤษ และสื่อสารภาษาท่ี 3 และจัดทารายงานผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษา (Self -
Assessment Report : SAR)
การวัดและประเมินผล
1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน มีการดาเนินการเพ่ิมและยกระดบั ทักษะสือ่ สารภาษาอังกฤษ
และ สอ่ื สารภาษาท่ี 3 ของนักเรยี น
2 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ทีม่ นี ักเรียนมีการสือ่ สารภาษาอังกฤษ และส่ือสารภาษาที่ 3 ใน
ระดบั ดขี ึ้นไป
3 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน มีการดาเนินการเพ่มิ และยกระดบั ทกั ษะสื่อสารภาษาอังกฤษ
และสือ่ สารภาษาที่ 3 ของนักเรียน ระดับคณุ ภาพดีข้ึนไป
6 นกั เรียนทมี่ ีทักษะด้าน Digital Literacy ท่ีมกี ารเรียนรูอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
เป้าหมาย
๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
1 โรงเรยี นมีการดาเนินการเพิม่ และยกระดบั ทักษะด้าน Digital Literacy ท่มี ีการเรียนรู้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพของนักเรียน
2 นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลมุ่ รายวชิ าวทิ ยาการคานวณของนักเรยี นเฉลย่ี ตั้งแต่
3.00 เป็นตน้ ไป
คูม่ ือการขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๔๔
๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
โรงเรยี นมกี ารดาเนินการเพ่ิมและยกระดบั ทักษะด้าน Digital Literacy ทมี่ กี ารเรียนรู้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพของนักเรียน ระดบั คณุ ภาพดีข้นึ ไป
วธิ ีการดาเนินงานสู่เปา้ หมาย
1 กาหนดนโยบาย จดุ เน้นและดาเนนิ การทีเ่ กยี่ วข้องกับการเพม่ิ และยกระดับใหน้ ักเรยี น
ที่ มที ักษะด้าน Digital Literacy ทีม่ กี ารเรยี นรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยระบอุ ยู่ในแผนพัฒนา
การศกึ ษา แผนการปฏบิ ตั ิการประจาปี
2 จดั ทาโครงการ/กิจกรรม ที่เกย่ี วขอ้ งกับการเพ่ิมและยกระดบั ให้นกั เรียนทมี่ ีทกั ษะ
ด้าน Digital Literacy ที่มกี ารเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
3 ดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ที่ได้วางแผนไว้ โดยมีการนเิ ทศติดตามอย่างต่อเนื่อง
4 รายงาน สรุปโครงการ/กิจกรรม ตามวตั ถปุ ระสงค์ท่สี อดคล้องกับนโยบาย จุดเน้น ใน
ประเดน็ พจิ ารณาท่ีเก่ยี วข้องกับการเพิ่มและยกระดับใหน้ ักเรยี นที่มที ักษะด้าน Digital Literacy ท่ี
มีการเรียนรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
5 สรุปขอ้ มลู ลงในโปรแกรมงานทะเบียน-วัดผล SGS
6 นิเทศ ติดตาม ใหก้ ารช่วยเหลือการเก่ียวข้องกับการเพ่มิ และยกระดบั ให้นักเรียนมี
ทกั ษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษ และสื่อสารภาษาที่ 3
7 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเพม่ิ และยกระดบั ให้นกั เรยี นมที ักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ และสอื่ สารภาษาที่ 3 เก่ียวข้องกบั การเพม่ิ และยกระดบั ใหน้ กั เรียนมที ักษะส่ือสาร
ภาษาอังกฤษ และส่ือสารภาษาท่ี 3 และจัดทารายงานผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษา (Self -
Assessment Report : SAR)
การวดั และประเมินผล
1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรยี นมกี ารดาเนินการเพิ่มและยกระดับทักษะดา้ น Digital Literacy
ทม่ี ีการเรียนรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพของนักเรียน
2 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียนท่ีมนี กั เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นกล่มุ รายวิชาวิทยาการ
คานวณ ของนกั เรียนเฉลย่ี ต้ังแต่ 3.00 ขน้ึ ไป
3 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรยี นมีการดาเนนิ การเพมิ่ และยกระดบั ทกั ษะด้าน Digital Literacy ท่ี
มีการเรียนรูอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพของนกั เรียน ระดบั คุณภาพดีข้ึนไป
ค่มู ือการขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๔๕
นโยบายท่ี 3 เพิ่มและยกระดับคุณภาพนกั เรียนทุกระดับ
จุดเน้นที่ 11 เพมิ่ ศักยภาพนักเรียนให้สามารถค้นพบตนเอง มที กั ษะพ้ืนฐานอาชีพและการมีงาน
ทามคี วามพร้อมในการแข่งขัน
ประเด็นการพจิ ารณาที่ 1 : นกั เรยี นมีสมรรถนะสาคัญตามหลักสตู ร สมรรถนะท่ีจาเปน็ การร้เู รื่อง
การอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรือ่ งคณติ ศาสตร์ (Mathematic
Literacy) การรูเ้ ร่อื งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ตามแนวทางการ
ประเมนิ PISA ทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (3R8C) และมีความ
พร้อมในการเขา้ สเู่ วทีการแข่งขัน
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 2 : นักเรียนมีความสามารถในการค้นพบตนเอง ทกั ษะพนื้ ฐานอาชีพและ
การมงี านทา
ประเด็นการพจิ ารณาที่ 3 : นักเรียนมี ID Plan และ Portfolio เพ่ือการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
กรอบความคิด
การจดั การศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ นอกจากพฒั นาความรู้ ความสามารถทั้งด้านสติปญั ญา
แล้วยังต้องมงุ่ เน้นให้ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ความใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน มคี วามสนใจ
หรือทกั ษะด้านศลิ ปะ(ทศั นศลิ ป์/ดนตรี/นาฏศิลป์) กฬี าและมีทักษะพื้นฐานในอาชพี ท่ีตนเองชอบ
สามารถค้นพบตนเอง ทักษะพ้ืนฐานอาชีพ และการมีงานทามีความพร้อมในการแข่งขันโดยการ
จัดกจิ กรรมบูรณาการอาชีพลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารูแ้ ละกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ซ่งึ จะเป็น
พื้นฐานทีจ่ ะนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้ อันเปน็ สง่ิ จาเปน็ ในการดารงชีวิตอยู่อย่าง
ม่ันคง ตามนโยบาย Thailand 4.0 จงึ ควรจัดให้นักเรียนค้นหาความสนใจดังกลา่ วและสามารถ
เลือกอาชพี ท่ีตนเองชอบตามความถนัด ความสนใจ และ เปน็ อาชีพท่สี จุ รติ ถกู ต้องตามกฎหมาย
เลี้ยงครอบครัวได้อย่างเพียงพอ มีความมัน่ คงต่อชีวิต มีความเป็นอยทู่ ี่ดี
เปา้ หมาย
๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ
โรงเรยี นดาเนินการเพ่ิมศักยภาพนกั เรยี นใหส้ ามารถค้นพบตนเอง ทกั ษะพ้นื ฐานอาชีพ และ
การมงี านทามีความพร้อมในการแข่งขัน
๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
โรงเรียนดาเนนิ การเพ่ิมศักยภาพนกั เรยี นใหส้ ามารถค้นพบตนเอง ทกั ษะพน้ื ฐานอาชีพและ
การมงี านทา มีความพร้อมในการแข่งขันระดับคณุ ภาพดีข้ึนไป
ค่มู ือการขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL