๔๖
วิธีการดาเนินงานสู่เปา้ หมาย
1 สง่ เสริมและสนับสนุน สรา้ งความตระหนัก ความรคู้ วามเข้าใจในการจดั กิจกรรมบรู ณา
การอาชีพ ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ มคี วามสนใจหรือทักษะด้านศลิ ปะ (ทศั นศลิ ป์/ดนตรี/นาฏศลิ ป์)
กีฬาและมีทักษะพื้นฐานในอาชีพท่ีตนเองชอบ สามารถคน้ พบตนเอง ทกั ษะพ้นื ฐานอาชีพ และการ
มงี านทามีความพรอ้ มในการแขง่ ขัน
2 ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ สื่อการเรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้ เพอ่ื ให้นกั เรยี นมคี วามเปน็ เลิศ
ทางดา้ นวิชาการ ทกั ษะ ความรู้ทสี่ อดคลอ้ งกบั ทักษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
3 ส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาศักยภาพนักเรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้นให้
ไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะตามแนวทางการประเมิน PISA ดว้ ยชดุ ฝึกสมรรถนะและข้อสอบ PISA
Style
4 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การพัฒนาศักยภาพนกั เรียนมี ID Plan และ Portfolio เพอื่
การศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ
5 นเิ ทศ ตดิ ตาม การจัดการศึกษา โดยมุ่งเนน้ การเพิ่มศักยภาพนักเรียนให้สามารถค้นพบ
ตนเอง ทักษะ พื้นฐานอาชีพ และการมีงานทามคี วามพร้อมในการแขง่ ขันและจัดทารายงานผลการ
ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
การวัดและประเมินผล
1 ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ
1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการเพิ่มศักยภาพนักเรยี นให้สามารถค้นพบตนเอง
ทกั ษะ พน้ื ฐานอาชีพ และการมงี านทามีความพรอ้ มในการแขง่ ขัน
2 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการเพ่ิมศักยภาพนักเรียนให้สามารถค้นพบตนเอง ทกั ษะ
พน้ื ฐานอาชพี และการมีงานทามคี วามพร้อมในการแขง่ ขัน ระดับคุณภาพดีขนึ้ ไป
2 วิธกี ารวดั และประเมินผล
1 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล
2 การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลคุณภาพจากรายงานผลการจัดการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR)
๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของหนว่ ยงานตน้ สงั กัด
คู่มือการขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๔๗
๑๐. การศกึ ษาในยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐ ดว้ ยรูปแบบการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นแคมป์สนวิทยาคม ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ท้ังด้านวิทยาการ
ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ทาให้แต่ละประเทศไม่สามารถปิดตัวอยโู่ ดยลาพงั ตอ้ งรว่ มมอื และพ่งึ พา
อาศัยซึ่งกันและกัน มีการติดต่อส่ือสารกันมากขึ้น เพื่อให้ทันกับเหตุการณ์ในสังคมปัจจุบัน
นอกจากน้ันยังต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ ในเร่ืองความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อม อุบัติภัยต่าง ๆ ส่งผลกระทบรุนแรงต่อมนุษย์โดยท่ัวไป และเพ่ือเป็นการเตรียมความ
พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น ทาให้แต่ละประเทศตอ้ งเตรียมคนรนุ่ ใหม่ท่มี ีทกั ษะและความสามารถใน
การปรับตัว มีคุณลักษณะสาคัญในการดารงชีวิตในโลกยุคใหม่ได้อย่างเท่าทัน มีความสุข มีคุณภาพ
ชีวิตท่ีดี เหมาะสมและพอเพียง สอดคล้องกับปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษา UNESCO คือ การ
จัดการศึกษาให้คนในชาติเป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข และสอดคล้องกับ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ
มาตราท่ี ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มจี ริยธรรม คุณธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่าง
มีความสขุ ทาให้หลายประเทศตอ้ งปฏิรูปการศึกษา พัฒนาบุคลากรในประเทศ (กระทรวงศกึ ษาธิการ.
๒๕๕๓ : ๓ – ๘) การจัดการศึกษาจึงมีความจาเป็นในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพที่พึง
ประสงค์ และมีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา มีทักษะชีวิต และมี
ความสามารถทางเทคโนโลยี โรงเรียนเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาที่สาคัญในการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ต้องมีความสนใจ
เป้าหมายในการพฒั นาการจดั การศกึ ษา กระบวนการจัดการเรียนรู้สามารถนาไปพฒั นาผู้เรียนได้อยา่ ง
มีประสทิ ธิภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๕๖ :ออนไลน์) การบริหารเป็นกระบวนการดาเนินงานอยา่ ง
เป็นระบบ ซ่ึงต้องมีการวางแผน การปฏิบัติการประเมินผลและนาผลไปปรับปรุงพัฒนา เพื่อนาไปสู่
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงานการบริหารสถานศึกษา ถือเป็นหัวใจสาคัญของการ
บริหารการศึกษาและเป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในงานวิชาการ ซึ่งเป็นภารกิจหลักให้เกิดการ
ปรับปรุง พัฒนาและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน กระบวนการดังกล่าว ได้แก่ การวางแผน การ
จัดระบบโครงสร้าง การกาหนดบทบาทหน้าท่ี การจดั ดาเนนิ งานทางวชิ าการ การผลิตสือ่ อุปกรณ์การ
สอน การวัดผลประเมินผล การจัดระบบนิเทศเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ การจัด
แหล่งเรียนรู้ ศูนย์เทคโนโลยี การนิเทศติดตาม รวมถึง การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ
ในยุค Education ๔.๐ ทก่ี ารเรยี นการสอนมุ่งสอนให้ผู้เรียน สามารถนาองค์ความรู้ที่มีอยู่ทุก
หนทุกแห่งบนโลกนี้ มาบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนานวัตกรรมต่างๆ เพ่ือตอบสนองความ
ต้องการของสังคม ดังนั้นการศึกษายคุ ใหม่ต้องเน้นแสวงหาการเรียนรไู้ ด้เอง อย่างท้าทาย สร้างสรรค์
ความรู้ใหม่ ต่อยอดความรู้เดิม คิดและประยุกต์ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ได้ เหมาะกับตนเอง สังคม
ตามสถานะการณ์ การจดั การศึกษา ๔.๐ จึงต้องนาเอาหลกั การ เก่ยี วกับยุคสมัยใหม่ ที่ตรงความสนใจ
ของ ชนพื้นเมืองดิจิทลั ท่ีมีชีวติ ในโลกไซเบอร์ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการศึกษาท่ีก่อใหเ้ กิดการทางาน
คมู่ อื การขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๔๘
ร่วมกันบนไซเบอร์ โดยใช้ขีดความสามารถของระบบเช่ือมโยงทางัิสิคัลกับไซเบอร์ ท่ีมีอุปกรณ์
สมยั ใหมช่ ่วย เชน่ สมาร์ทโัน แทบ็ เลต็ ฯลฯ
เม่ือแนวโน้มการพัฒนาประเทศมุ่งเน้นที่การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม แล้วการศึกษาของ
ประเทศควรจะพัฒนาระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในยุค “ประเทศไทย
๔.๐” เมื่อการเข้าถึงเน้ือหาความรู้มีลักษณะเปิด เข้าถึงได้ง่าย การแสวงหาความรู้จึงทาได้เร็ว เด็ก
เยาวชนยุคใหม่ มีลักษณะเป็น ชนพื้นเมืองดิจิทัล Digital native ทาให้การเรียนการสอนแบบเก่าใน
ห้องเรียน ที่ใช้วิธีการท่องจาเน้ือหา ตามแผนการสอน ตามกรอบหลักสูตร หรือทาโจทย์ ทาข้อสอบ
แบบเดมิ จึงไมเ่ หมาะกับการศึกษายคุ ใหม่ ดว้ ยปจั จัยการเปลี่ยนแปลงดงั กล่าว ทาให้เห็นถึงความสาคัญ
ของการเปลี่ยนแปลงแนวคิดทางการจัดการศึกษา คนที่จะเป็นกาลังในการพัฒนาชาติในยุค ๔.๐
นอกจากจะต้องมีทักษะจากความรู้ตามหลักสูตรที่ได้จดจาร่าเรียนมา (Cognitive skills) สว่ นหน่ึงแล้ว
ยังต้องมีทักษะอีกส่วนหน่ึง คือทักษะท่ีได้จากการทางานของมันสมองส่วนหน้า ซึ่งมาจากการหล่อ
หลอมฝึกฝน (Non-Cognitive skills) ปฏิบัติให้เป็นคนไม่มักง่าย รู้จักใช้ความคิดใคร่ครวญ ไตร่ตรอง
แสวงหาการเรยี นรไู้ ด้ด้วยตนเอง สร้างสรรค์แนวทางในการพิชิตแก้ปัญหา มีความมุ่งม่ันบากบั่นไม่มัก
ง่าย ถือว่าเป็นคุณลักษณะที่จาเป็นต้องปลูกฝังให้กับเยาวชนทุกคน นอกเหนือไปจากการให้ความรู้
เนือ้ หาวชิ าในตาราเรียน ท่ีเรยี กวา่ พทุ ธิศกึ ษา พลศกึ ษา จรยิ ศึกษา และหตั ถศกึ ษา เปน็ ทักษะทที่ ุกคน
ต้องมีและจะต้องสร้างขึ้น โดยการหล่อหลอมฝึกให้ทาจนชานาญจนติดเป็นนิสัยที่ แสดงออกโดย
อัตโนมัติ คาว่า จิตตะ มานะ วิริยะ อุตสาหะ เป็นเพียงความรู้ท่ีเราสอนให้จดจา แต่เราไม่เคยปลูกฝัง
ในยุคนี้ครูอาจารย์ในสถานศึกษาทุกระดับ จะต้องทาหน้าท่ีให้ครบทั้งสองส่วน คือให้ความรู้และ
ปลูกฝงั นิสยั ท่ีเกิดจากการพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของสมองส่วนหนา้ โดยอาศัยกระบวนการสอน และการ
ฝึกให้ทาซ้า ๆ ให้มีความมุ่งมั่นบากบ่ันมานะไม่ย่อท้อง่ายๆ เพ่ือเพิ่มความสามารถในการแสวงหา
ความรไู้ ด้ด้วยตนเองจากองคค์ วามรผู้ า่ นทางนวัตกรรมท่ีเกิดข้ึนอย่างไม่หยุดยั้ง
จากแนวคดิ หลักการสาคญั ของการศึกษาในการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถดารงตนอยู่ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข สถานศึกษาจาเป็นต้องหารูปแบบ วิธีการท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะ
ความสามารถให้เกิดกับผู้เรียน เพ่ือเป็นพ้ืนฐานที่จะเติบโตเป็นคนไทยที่มีความรู้ ความสามารถ รู้เท่า
ทันสังคมโลกปัจจุบัน โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคมเป็นหนึ่งในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ท่ีต้อง
พฒั นาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก มีทักษะความรู้พ้ืนฐานท่ีจาเปน็ ในการดารงชีวติ มคี ุณธรรม รัก
ความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ มีทกั ษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานรว่ มกับผู้อ่ืน
ได้อย่างมีความสุข จึงมีความจาเป็นต้องยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้ได้มาตรฐานสากล จึงต้องพัฒนา
รูปแบบการบริหารงาน เพ่ือสูค่ วามเป็นเลิศและเทียบเคยี งมาตรฐานสากล
นวตั กรรม CAMPSON MODEL รูปแบบการพัฒนางานบรหิ ารโรงเรียนแคมปส์ นวิทยาคม
มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือพฒั นารูปแบบการบริหารงานโดยนารปู แบบ CAMPSON MODEL มาประยุกตใ์ ชใ้ น
การกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน และดาเนนิ งานการบริหารจัดการใหส้ อดคล้องกบั วสิ ัยทัศน์
พนั ธกิจ ของโรงเรียน โดยใชเ้ ทคนคิ กระบวนการวงจรคณุ ภาพเดมม่ิง PDCA มาพัฒนารูปแบบ
นวตั กรรมพร้อมกับการพฒั นาองค์กร ดังนี้
คมู่ อื การขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๔๙
รูปแบบการขับเคล่อื นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นแคมปส์ นวทิ ยาคม ด้วยรปู แบบ
CAMPSON MODEL ประกอบดว้ ย
C : Cooperation การมีส่วนรว่ มในการวางแผน
A : Academic จัดการเรียนการสอนโดยเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั
M : Morality การเรียนรู้คคู่ ุณธรรม
P : Product การสร้างคณุ ภาพผเู้ รยี น
S : Sufficiency การนาหลกั คิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาบูรณาการ
O : Opportunity เข้าใจและให้โอกาสทางการศึกษา
N : Nutrient การทานบุ ารุงเพ่ือใหเ้ กิดความสมบรู ณ์ท้ังทางรา่ งกายและ
จิตใจรวมท้งั รักษาสภาพแวดล้อมในโรงเรยี นให้น่าอยู่
การดาเนินการพัฒนานวัตกรรม
การดาเนินการพัฒนานวัตกรรม CAMPSON MODEL รูปแบบการพฒั นางานบรหิ ารงาน
โรงเรียนแคมปส์ นวทิ ยาคม มากาหนดเปา้ หมายคณุ ภาพผู้เรียนและการดาเนนิ งานใหส้ อดคล้องกับ
วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ สถานศกึ ษา โดยใช้เทคนคิ กระบวนการวงจรคุณภาพเดมม่งิ (PDCA) ภายใตก้ าร
บรหิ ารจัดการด้วยระบบคุณภาพ (TQA) และการบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน (SBM) ทัง้ น้ีทาง
โรงเรียนไดส้ ร้างความตระหนัก (Awareness) ให้กบั ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
คมู่ อื การขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๕๐
ผปู้ กครองนักเรียน ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับงานบริหารวิชาการ หลักสูตรโรงเรยี น
มาตรฐานสากลและกระบวนการจัดการศกึ ษาในโรงเรียนมาตรฐานสากล โดยใชเ้ ทคนคิ การประชุม
ประชาสมั พันธ์ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนนิ งานบริหารงาน โดยมีการดาเนินงาน ดังนี้
C : Cooperation การมสี ว่ นร่วมในการวางแผน
เปิดโอกาสให้ผูม้ สี ่วนได้เสยี ในการจดั การศกึ ษาร่วมกบั โรงเรียน เป็นกระบวนการ
เรียนรู้ซ่ึงกันและกันของทุกฝ่าย นบั ตั้งแตก่ ารแสดงความคิดเห็น การวางแผน การดาเนนิ การและ
การแก้ไขปญั หา ตลอดจนการควบคมุ กากับ ตดิ ตามและประเมินผล เพอื่ ประโยชน์ในการพฒั นา
การศึกษาใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ต่ี ั้งไว้ ซึ่งสามารถทาได้ท้งั ทางตรง คือ รว่ มเปน็ คณะทางาน
และทางอ้อมรว่ มวางแนวทางนโยบาย การบริหารแบบมสี ่วนร่วมดังกล่าวได้นาทฤษฎตี ่างๆ มาใช้
ได้แก่ ทฤษฎกี ารเกลยี้ กล่อมมวลชน ทฤษฎีแรงจูงใจ ทฤษฎีความคาดหวงั เป็นตน้
A : Academic จดั การเรียนการสอนโดยเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับการดารงชีวติ เหมาะสมกบั ความสามารถ
และความสนใจของผเู้ รยี น โดยใหผ้ ู้เรยี นมีสว่ นรว่ มและลงมือปฏบิ ัติจรงิ ทกุ ข้นั ตอน จนเกิดการเรียนรู้
ด้วยตนเอง
M : Morality การเรียนรคู้ ่คู ณุ ธรรม
นักเรยี นทุกคนต้องศึกษาเลา่ เรยี นให้มคี วามร้ใู นสาขาวชิ าการต่างๆ สามารถนาความรู้
และ ประสบการณน์ ้นั ไปใช้ใน ชีวติ ได้ แต่การมีความรูเ้ พยี งอย่างเดยี วยังไม่พอ ทุกคนจะตอ้ งมี
คุณธรรมประจาใจ ประพฤติ ปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรมท่ีดี จงึ เป็นคนที่มีคณุ ภาพอยู่ในสงั คมได้ กจ็ ะทา
ให้สงั คมน้นั เจริญ รงุ่ เรือง
P : Product การสรา้ งคณุ ภาพผู้เรียน
กาหนดเป้าหมายคุณภาพผูเ้ รียนเพ่อื ตอบสนองตอ่ ความต้องการของผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
ประกอบดว้ ย นกั เรียน ผู้ปกครอง สถานศกึ ษา ชมุ ชนและสังคม
S : Sufficiency การนาหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบรู ณาการ
นาหลักคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบูรณาการในการจดั การเรยี นการสอนและ
การบริหารงานในดา้ นตา่ ง ๆ
O : Opportunity เขา้ ใจและใหโ้ อกาสทางการศึกษา
การให้โอกาส ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ สนับสนุน ให้เดก็ ทกุ กลุ่ม ได้รับการศึกษาข้นั พน้ื ฐานและ
พัฒนาอย่างเทา่ เทียมกันตามสิทธิและเป็นธรรม ไดแ้ ก่ เด็กปกติ เดก็ ด้อยโอกาส เด็กชายขอบ/ตา่ ง
ดา้ ว เด็กพิการ เด็กท่มี ีความสามารถพเิ ศษ
N : Nutrient การทานุบารุง
การทานบุ ารุง เพอื่ ใหเ้ กิดความสมบูรณท์ ัง้ ทางรา่ งกายและจิตใจรวมทั้งรกั ษาสภาพแวดล้อม
ในโรงเรียนให้นา่ อยู่
คมู่ อื การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๕๑
การบูรณาการรูปแบบการขับเคลอ่ื นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนแคมป์สน
วิทยาคม ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL CAMPSON MODEL สู่ SPM 4.0 Model
คู่มอื การขบั เคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๕๒
๑๑. กระบวนการดาเนินงานพัฒนานวตั กรรมและการนาไปใช้ในนวัตกรรมการขับเคลอ่ื นการ
พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
การดาเนนิ การพฒั นานวตั กรรม CAMPSON MODEL เปน็ รูปแบบการพฒั นางานบริหาร
โรงเรยี นแคมปส์ นวิทยาคม ภายใต้การบริหารจดั การโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน ควบคกู่ บั การบริหารงาน
ด้วยระบบคุณภาพ ใชเ้ ทคนคิ กระบวนการวงจรคุณภาพเดมมงิ่ (PDCA) โดยมรี ายละเอียดของการ
ดาเนินงาน ดังนี้
นวัตกรรม แนวทางการดาเนนิ งาน รอ่ งรอย / เอกสาร / หลกั ฐาน หมายเหตุ
C= โรงเรียนแคมปส์ นวิทยาคม 1. แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
Cooperation ไดร้ ับงบประมาณสนบั สนุน การ 2. หนงั สือราชการ
การมสี ่วนรว่ มใน จัดการศึกษาท้ังภาครฐั และ 3. บันทึกขอ้ ความ
การวางแผน เอกชน ผู้ปกครองนักเรยี น ทา 4. บันทึกข้อตกลง MOU
ให้โรงเรยี นสามารถบรหิ าร 5. รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน
จดั การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนได้ ประจาปี
อยา่ งเต็มศกั ยภาพ รวมถงึ การ 6. บันทกึ แหลง่ เรียนรู้ท้งั
จดั หาวัสดุ อปุ กรณ์ท่ีทันสมยั ภายในและ ภายนอก
หลากหลาย หอ้ งปฏบิ ัติการ สถานศกึ ษา
แหล่งเรยี นรูใ้ ห้ผ้เู รยี นได้ศึกษา 7. ขอ้ มูลทุนการศกึ ษาของ
ค้นควา้ ทัง้ ภายในสถานศึกษา นักเรียน
และนอกสถานศึกษา ดังตอ่ ไปน้ี 8. รูปถา่ ยกิจกรรม
1. จดั ซ้ือเครอื่ งอานวยความ 9. แหลง่ เงนิ ทุนที่ให้การ
สะดวกไว้บรกิ ารนักเรียน ครู สนับสนุน
2. จัดสรา้ งหอ้ งปฏบิ ัติการ
วทิ ยาศาสตร์ , คณิตศาสตร์ ,
หอ้ งเรยี นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ E-
Classroom , ห้องเรยี น
นาฏศิลป์ , ห้อง
พระพุทธศาสนาพรอ้ มวัสดุ
อปุ กรณ์ ประกอบการจดั การ
เรียนการสอน , ห้องสมุดที่
ทนั สมัยมี หนงั สือหลากหลาย มี
ระบบ Internet ไว้บริการ
3. ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มให้
เอื้อต่อการจัดกจิ กรรม การ
คูม่ ือการขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๕๓
นวตั กรรม แนวทางการดาเนินงาน รอ่ งรอย / เอกสาร / หลักฐาน หมายเหตุ
เรียนรู้
4. จัดกิจกรรมเสริมทักษะการ
เรยี นรู้ ไดแ้ ก่
-จดั กจิ กรรมการเรียนรบู้ ูรณา
การ
-กจิ กรรมรกั การอ่าน
-กิจกรรมศึกษานอกสถานศึกษา
5. สนบั สนนุ งบประมาณในการ
พานักเรียนเขา้ ร่วม แขง่ ขนั
ทักษะวชิ าการทง้ั ในและนอก
เขตพนื้ ที่ การศึกษา ทาให้
นกั เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้
โดย ประสบการณ์ตรง มี
ความสุขกับการเรยี น
6. สง่ เสริม สนบั สนุนการใช้
อาคารสถานที่ แหล่งเรียนรู้
วทิ ยากรร่วมกนั
7. เปน็ ทนุ การศึกษาสาหรับเดก็
ทีเ่ รียนเกง่ ช่วยเหลืองาน
โรงเรียน ครู ผ้ปู กครอง ชมุ ชน
A = Academic 1. ผู้บริหารเปน็ ผู้นาทาง ๑. แผนการจดั การเรียนรู้
จดั การเรียนการ
สอนโดยเนน้ ผเู้ รียน วชิ าการ พฒั นาตนเองอย่เู สมอ ๒. แผนการนิเทศชน้ั เรยี น
เปน็ สาคญั
ไม่หยดุ นิง่ ให้คาปรกึ ษา ใหก้ าร ๓. ผลงานนักเรยี น
สนับสนนุ ส่งเสรมิ ใหก้ าลงั ใจ
ดูแลอานวยความสะดวก
บริการ ดา้ นการเรยี นการสอน
อยูเ่ สมอ
2. ครเู ป็นผนู้ าทางด้านการสอน
นาเทคนคิ วิธีการใหม่ ๆ มาจัด
กระบวนการเรยี นรู้ใหผ้ ูเ้ รยี น
เกดิ การเรียนรู้ คดิ วเิ คราะห์
แก้ปัญหา สามารถดารงตนอยู่
ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ดูแล
ค่มู ือการขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๕๔
นวัตกรรม แนวทางการดาเนนิ งาน ร่องรอย / เอกสาร / หลักฐาน หมายเหตุ
M = Morality ผเู้ รียนด่ังบุตร ธิดาของตนเอง
การเรยี นรคู้ ู่ โดยครตู ้องพัฒนาตนเองอยู่
คุณธรรม เสมอและร้เู ทา่ ทันเทคโนโลยี
3. ผเู้ รยี นมที ักษะความสามารถ
ทางวิชาการ คดิ เปน็ แกป้ ัญหา
เป็น มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เป็น
คนดขี องสังคม
4. กระบวนการทางานทกุ คนมี
สว่ นรว่ มในการปฏิบัติ
รับผิดชอบทุกข้ันตอนจนงาน
บรรลุผลสาเร็จ
โรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคมจัด
กิจกรรมท่ีสง่ เสริมให้ผู้เรยี น ครู
และบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ปกครองนักเรยี น ชุมชน เกิด
ทัศนคติ ความเป็นนา้ หน่ึงใจ
เดียวกนั ทางานดว้ ยความม่งุ มัน่
รับผดิ ชอบ เอาใจใสผ่ ้เู รยี นตาม
วัฒนธรรม องค์กรทปี่ ฏบิ ัติสืบ
ทอดกันมา รวมถึงการสร้าง
บรรยากาศการทางานร่วมกนั
ฉันทพ์ น่ี ้องของครู จัดโครงการ/
กิจกรรมท่ีแสดงออกถึง
พฤติกรรมทัศนคติ แนวคดิ
ความเชือ่ คุณธรรม จริยธรรม
อีกท้ังยงั สอดแทรกบูรณาการใน
กล่มุ สาระการเรียนรตู้ ่าง ๆ ดงั นี้
-โครงการโรงเรยี นวถิ พี ุทธ
-โครงการสง่ เสริมนสิ ัยรกั การ
อ่าน
-โครงการประชาธิปไตย
-โครงการโรงเรียนส่งเสริม
สุขภาพ
ค่มู ือการขบั เคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๕๕
นวัตกรรม แนวทางการดาเนินงาน รอ่ งรอย / เอกสาร / หลกั ฐาน หมายเหตุ
P = Product โรงเรียนแคมปส์ นวิทยาคม มี 1. แผนกลยุทธ์
การสรา้ งคุณภาพ
ผู้เรยี น การกาหนดคณุ ภาพผ้เู รียน เพื่อ 2. แผนปฏิบัติการประจาปี
S = Sufficiency ตอบสนองต่อความตอ้ งการของ 3. รายงานผลการปฏบิ ัติงาน
การนาหลักคดิ
ปรชั ญาของ ผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียประกอบด้วย ประจาปี
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาบูรณาการ นกั เรยี น ผปู้ กครอง สถานศึกษา 4. ผลการประเมนิ คุณภาพ
ชมุ ชนและสงั คม หมายความวา่ ภายใน สถานศึกษา
ผ้ปู กครองต้องการให้บุตรหลาน 5. ผลงานนักเรยี น / ครู
ได้รับการศกึ ษาและพัฒนา 6. ผลการทดสอบทาง
เพอ่ื ให้เกิดทักษะ ความสามารถ การศึกษา ระดับชาติ O-NET ,
มีศักยภาพ มีจิตใจดีงาม มีจิต NT
สาธารณะ มสี มรรถนะทักษะ 7. ผลการประเมินคุณลักษณะ
และความรู้พื้นฐานจาเป็นใน อนั พงึ ประสงค์
การ ดารงชีวิต ตลอดจนการ 8. รายงานโครงการส่งเสริม
พฒั นาผูเ้ รยี นให้ก้าวสูโ่ ลกยุค คุณธรรม จรยิ ธรรมของ
ศตวรรษท่ี 21 และมีศักยภาพ นักเรยี นโรงเรยี นแคมปส์ น
เป็นพลโลก ได้แก่ มี วทิ ยาคม
ความสามารถเปน็ เลศิ สื่อสาร 9. รปู ถ่ายกจิ กรรม
สองภาษาใชไ้ ดด้ ีท้งั ภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ มีความใฝร่ ู้
ใฝเ่ รียน สรา้ งสรรค์ มเี หตผุ ล
รู้จกั คดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์
สามารถจดั ลาดับความสาคัญ
วางแผน และมคี วามสามารถ
ทางเทคโนโลยี
๑. กาหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ 1. แผนกลยุทธ์
พันธกิจ เปา้ ประสงค์ 2. แผนปฏิบตั ิการประจาปี
ประกอบด้วย สร้างวฒั นธรรม ๓. แผนการจดั การเรียนรู้
องค์กร ปลูกฝงั ให้เป็นวถิ ชี วี ติ 4. หลกั สตู รสถานศึกษา
และชมุ ชนสมั พนั ธ์ 5. คาสัง่ โรงเรยี น
๒. การจัดหลักสูตรการเรียน 6. คู่มือการบรหิ ารงานวิชาการ
การสอน มีการกาหนด 7. คมู่ ือการประเมินคุณภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้ จดั ทา ภายใน สถานศกึ ษา
หนว่ ยการเรยี นร้/ู แผนการ 8. ปฏิทนิ นเิ ทศภายใน
คมู่ อื การขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๕๖
นวตั กรรม แนวทางการดาเนนิ งาน ร่องรอย / เอกสาร / หลกั ฐาน หมายเหตุ
จัดการเรยี นรู้ จัดทาส่ือ/แหลง่ 9. ทะเบยี นแหลง่ เรยี นรู้
เรยี นรู้ จดั ทาเครอ่ื งมือวดั / 10. สรปุ โครงการ / กิจกรรม
ประเมินผล 11. รปู ถา่ ยกิจกรรม
๓. จดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
โดยเนน้ ความมวี นิ ยั พอเพยี ง
จติ อาสา การมสี ่วนรว่ ม และ
การเหน็ คณุ ค่าของการอยู่
รว่ มกัน
O= ๑. จดั ทาแผ่นพับประชาสมั พันธ์ 1. แผนกลยุทธ์
Opportunity
เข้าใจและใหโ้ อกาส การรบั นักเรยี น และจดั สง่ ให้ 2. แผนปฏบิ ัติการประจาปี
ทางการศกึ ษา สถานศกึ ษาประชาสมั พันธถ์ ึง 3. ข้อมูลนกั เรยี นรายบุคคล
ผู้ปกครองนักเรยี น พร้อมจดั ทา 4. บันทึกการเยีย่ มบา้ น
5. บนั ทึกการตดิ ตามนักเรยี น
ป้ายไวนลิ ประชาสมั พันธ์การรับ 6. เอกสารงานระบบดูแล
นกั เรียน ช่วยเหลอื นักเรียน
๒. จดั ประชมุ คณะกรรมการ ๗. รปู ถา่ ยกิจกรรม
ขบั เคล่ือนนโยบายการรบั
นกั เรียน
๓. สารวจข้อมูลเยย่ี มบา้ นเพื่อ
ตดิ ตามเด็กตกหลน่ มีแนวโน้ม
ออกกลางคัน และมีปัญหาใน
การศึกษาต่อและจดั ทาทะเบียน
ข้อมลู รายบุคคลให้เป็นปจั จุบัน
๔. วเิ คราะหแ์ ละจดั ทาข้อมลู
นักเรียนตกหล่น มแี นวโน้มออก
กลางคนั ออกกลางคัน
๕. แต่งตงั้ คณะกรรมการออก
เยีย่ มบา้ นนกั เรยี น
กล่มุ เป้าหมาย/พบปะนักเรยี น
และผ้ปู กครองนักเรียน
๖. ประสานความร่วมมอื จาก
ทกุ ภาคสว่ นเพ่ือให้นักเรยี น
คู่มือการขบั เคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๕๗
นวตั กรรม แนวทางการดาเนนิ งาน ร่องรอย / เอกสาร / หลักฐาน หมายเหตุ
N = Nutrient กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสเข้าถึง
การทานุบารุง
เพื่อให้เกิดความ ความช่วยเหลือ เชน่
สมบรู ณท์ ัง้ ทาง
รา่ งกายและจติ ใจ ทุนการศึกษา การจ้างงาน การ
รวมทงั้ รกั ษา
สภาพแวดล้อมใน ฝึกอาชีพ หรือการส่งต่อ
โรงเรยี นใหน้ า่ อยู่
สถานศกึ ษาเฉพาะทาง
๑. วาวแผนการทานบุ ารุง
เพ่อื ให้เกิดความสมบรู ณ์ทั้งทาง
ร่างกายและจติ ใจรวมท้ังรักษา
สภาพแวดล้อมในโรงเรยี นให้นา่
อยู่
๒. ดาเนนิ การจดั บรรยากาศ
และสิ่งแวดลอ้ มท่ีเป็นรปู ธรรม
ได้แก่ บรเิ วณสถานศึกษา
อาคารเรยี น ห้องปฏิบตั กิ ารต่าง
ๆ ตกแตง่ พืน้ ทภ่ี ายนอกอาคาร
ให้ใชส้ อยได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ มีความรม่ รน่ื มี
เอกลักษณ์ รวมทงั้
องค์ประกอบพ้ืนฐาน เช่น
ระบบไฟฟ้าใหแ้ สงสว่าง ระบบ
นา้ จัดมาตรการดูแลเอาใจใส่
เกย่ี วกับความปลอดภัย
มาตรการป้องกนั อันตราย จัด
สภาพแวดล้อมท่เี ปน็ ความรู้สึก
ท่เี กิดจากการอยูแ่ ละปฏบิ ัติงาน
รว่ มกันของคนในสถานศึกษา
เช่นบรรยากาศองค์กร
ความสัมพันธ์ของบุคคลใน
องค์กร
๓. ตรวจสอบสภาพแวดล้อม
ต่าง ๆ ให้ใชก้ ารไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพตลอดเวลา
คมู่ อื การขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๕๘
นวตั กรรม แนวทางการดาเนนิ งาน ร่องรอย / เอกสาร / หลกั ฐาน หมายเหตุ
๔. ประเมินผลการดาเนินงาน
อยา่ งต่อเนือ่ ง สม่าเสมอ
คู่มือการขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๕๙
ส่วนที่ ๔
การนเิ ทศ ติดตาม
และรายงานผล
คู่มอื การขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๖๐
การปฏบิ ตั งิ านขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม
ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL ทีส่ ่งผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ จึง
ตอ้ งมีการนเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงานผล การพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึง่ มแี นว
ทางการดาเนินงาน ประกอบดว้ ยวัตถุประสงคข์ องการนิเทศ ตดิ ตาม และ รายงานเครื่องมอื การ
นิเทศ ตดิ ตามการขับเคลื่อนการดาเนินงานการบรหิ ารการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กลุ่มผใู้ ชเ้ คร่ืองมือ
การนิเทศ ตดิ ตามการพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน และการสรปุ รายงานผล
๑. วตั ถปุ ระสงคข์ องการนเิ ทศ ติดตาม และรายงานผล
1.1 เพอื่ ตดิ ตาม กระตนุ้ สนับสนุน สง่ เสริม และรายงานผลการดาเนินงานการพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นแคมป์สนวทิ ยาคม ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
1.2 เพือ่ ใชก้ ระบวนการการนิเทศแบบมสี ่วนร่วม ในการขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
๒. เคร่อื งมอื ในการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล
เคร่ืองมือการนิเทศ ติดตามการขบั เคลือ่ นการดาเนินงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
โรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL จาแนกเปน็ ๒ ประเภท คอื
1 แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษาตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียน
มธั ยม
2 แบบนิเทศ ตดิ ตาม จุดเนน้ โรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคม
๓. ผใู้ ช้เครื่องมือและรายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
คณะกรรมการขับเคลอ่ื นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นแคมป์สนวิทยาคม
ประกอบด้วย ผูบ้ รหิ าร หัวหน้าสายชัน้ หวั หน้ากลุม่ สาระ
๔. การนเิ ทศแบบมีส่วนร่วมเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
การนิเทศเป็นปจั จยั หลกั ในการส่งเสริมใหบ้ ุคลากรไดป้ ฏบิ ตั ิหนา้ ท่อี ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
การนิเทศการศึกษาจะชว่ ยให้บคุ ลากรทางการศึกษาไดจ้ ดั กระบวนการจดั การเรียนรู้ทีส่ ง่ เสรมิ
ผู้เรียนใหม้ สี มรรถนะตามความตอ้ งการของหลกั สตู รและนโยบายการศึกษาแห่งชาติ การมีสว่ นร่วม
ในการนเิ ทศจากผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับการจัดการศึกษาเปน็ กระบวนการทางานท่เี ป็นระบบ เรยี นรู้
รว่ มกนั และเป็นการพัฒนาวิชาชพี อยา่ งต่อเนือ่ งทส่ี ง่ ผลตอ่ ผเู้ รียนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ อัญชลี
ธรรมะวิธกี ลุ (2553) ไดเ้ สนอแนวทางการนิเทศแบบมสี ่วนร่วม ไว้ดังน้ี
คมู่ ือการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๖๑
๔.๑ องค์ประกอบของการนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ ม ประกอบด้วย
1 ผู้นิเทศ
2 ผู้รับการนิเทศ
3 เนือ้ หาสาระทน่ี ิเทศ
4 รูปแบบของการนิเทศแบบมสี ่วนรว่ ม มี 6 ข้นั ตอน 1) การเตรยี มการนเิ ทศ 2) รปู แบบ
และแนวทางการนเิ ทศ 3) กาหนดเคร่อื งมอื นิเทศ 4) ดาเนินการนิเทศ 5) การประชมุ และ 6) การ
ประเมินผล
๔.๒ การเตรยี มการนิเทศ
1 จัดตั้งคณะทางาน ตามนโยบาย แผนงานและโครงการ ในรปู แบบแผนปฏิบตั ิการประ
จาปี
2 ช้แี จงคณะทางานเพ่อื ใหป้ ฏบิ ัตติ ามวัตถุประสงค์ วิธกี ารดาเนนิ งาน การตดิ ตามและ
ประเมนิ ผล สร้างความเข้าใจระหว่างผู้นิเทศ และผู้รับการนเิ ทศ
3 เตรยี มข้อมลู ร่วมกันระหวา่ งผู้นเิ ทศ และผ้รู บั การนเิ ทศ เพ่อื ร่วมกนั แก้ไข
ปัญหาอย่างเป็นประชาธิปไตย ยอมรับความคดิ เห็นระหว่างกนั และคานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คล
4 นาผลประชมุ สกู่ ารปฏิบตั ิอยา่ งเป็นรปู ธรรม อย่างชัดเจนและถูกตอ้ ง
5 การจดั การเกย่ี วกับทรพั ยากร เน้นจากสง่ิ ท่ีมีอยู่ ดาเนนิ การทีละขัน้ ตอน และปรบั ปรงุ
แบบทีละเล็กละน้อย
6 ตงั้ วตั ถปุ ระสงค์ในการนิเทศให้ชดั เจน เพ่ือบรรลุจุดหมายร่วมกัน
7 ส่งเสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์ และแสดงออกตามศักยภาพสว่ นบุคคลเพอื่ ประโยชนส์ ูงสุด
ตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารนเิ ทศ
8 รกั ษามารยาท และความมีมนุษย์สัมพันธ์
๔.๓ รปู แบบและแนวทางการนิเทศ
ตามแนวคิดของ สงัด อทุ รานนท์ (2533, 15-17) เน้น 4 ประการในการพฒั นา คือ พัฒนา
คนพัฒนางาน สรา้ งการประสานสัมพันธ์ และเพอื่ ขวญั และกาลังใจ ดว้ ยการดาเนินการดังน้ี
1 ซกั ซอ้ มความเข้าใจกันระหวา่ งผู้นิเทศและผู้รับการนเิ ทศ
2 เลือกเคร่ืองมือการนเิ ทศแบบท่วั ไปและประเด็นของกิจกรรมนิเทศ เพื่อใหเ้ ป็นแนว
ปฏบิ ตั ิเดยี วกนั
3 รว่ มกันกาหนดปฏิทินในการนิเทศใหเ้ ป็นระบบและต่อเนื่อง
4 การบันทึกข้อมูลทัว่ ไป ผ้รู บั การนเิ ทศเปน็ ผ้บู นั ทึกและเก็บบันทึก รวมถงึ การบันทึก
เพ่มิ เติมแนบท้ายในการชว่ ยเหลอื ตามกรณี
5 ผรู้ ับการนเิ ทศเก็บบนั ทึกรายการของเคร่ืองมือไว้ในแฟ้มปฏบิ ตั งิ านของตนเอง เพื่อรับฟงั
คู่มอื การขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๖๒
ความคดิ เหน็ ของผู้นิเทศ และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกันตอ่ ไป
6 ผู้นเิ ทศรวบรวมขอ้ มูลทุกด้านของการนิเทศเพ่ือประเมินผลการนเิ ทศ
๔.๔ เครือ่ งมอื ประกอบการนเิ ทศ
ผู้นเิ ทศและผรู้ ับการนิเทศ ได้รว่ มกนั เลือกใชส้ ื่อ ตารา เอกสารต่าง ๆ ในการนิเทศหรอื
เชิญผมู้ ีประสบการณ์ร่วมนเิ ทศเพื่อให้ความร้เู ฉพาะด้านตามเป้าหมายของการนิเทศ โดย
ดาเนินการดังน้ี
1 ให้ความรู้ แนวทางแกผ่ รู้ บั การนเิ ทศ ตามกจิ กรรมท่ีกาหนดการนเิ ทศ
2 มอบหมายงานใหผ้ รู้ บั การนิเทศ ได้ศกึ ษาเอกสารและรายงานผนู้ เิ ทศ
3 ผรู้ บั การนิเทศได้เผยแพรน่ วตั กรรมหรือผลงานต่าง ๆ ต้องบันทึกร่องรอยเพอื่ การรบั
การเสนอแนะเพิม่ เตมิ และการประเมนิ ผลการนเิ ทศจากผ้นู ิเทศ
4 ดาเนนิ การนเิ ทศเมอ่ื ทราบปญั หาเก่ียวกบั หลักสตู ร การจดั การเรียนการสอน การใช้ส่ือ
การวดั และประเมินผลจากผรู้ ับการนเิ ทศ ท้ังสองฝ่ายคอื ผู้นิเทศ และผรู้ ับการนเิ ทศ ร่วม
ดาเนนิ การดงั น้ี
4.1 ร่วมกาหนดนัดหมายการนเิ ทศล่วงหน้า ผู้รบั การนิเทศตอ้ งสง่ แผนการ
เรยี นร้เู พ่ือให้ผู้นเิ ทศได้ศึกษารายละเอยี ดก่อนการนิเทศ
4.2 ดาเนินการนเิ ทศตามขั้นตอนท่ีได้เลอื กรปู แบบการนเิ ทศ เช่น Clinical
Supervision เป็นตน้
4.3 ผู้นิเทศเสนอแนะปรับปรุง แกไ้ ขเปน็ กรณี และบันทกึ เพ่ิมเตมิ แนบทา้ ยหลงั
การนิเทศ
4.4 ผูร้ ับการนเิ ทศ ดาเนินการปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะ และบันทกึ การพัฒนา
งานตามวตั ถุประสงค์ เพอื่ เป็นขอ้ มูลในการพฒั นาวงรอบต่อไป
4.5 ข้อมูลจากการนิเทศเก็บไว้เพ่อื การประเมินผลเมือ่ ส้นิ ปีการศกึ ษา
5 การประชมุ เม่ือสิน้ สดุ การดาเนนิ การในขั้นตอนท่ี 4 ผูน้ ิเทศและผูร้ ับการนเิ ทศ
วิเคราะหร์ ่วมกนั ในจุดเด่นและจุดควรพฒั นา เพอ่ื ประสิทธิภาพการดาเนินงานดงั นี้
5.1 ดาเนินการประชมุ คร้ังสุดท้ายของการนิเทศในกจิ กรรมนั่นๆ เพ่ือนาปญั หา
ตา่ งๆ จากข้ันตอนที่ 4 มารว่ มกนั วเิ คราะห์ผลรว่ มกนั ทง้ั สองฝ่าย
5.2 บนั ทกึ การจดั กจิ กรรมอย่างเป็นระบบ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู สารสนเทศในการ
พัฒนาตนเองของครูผสู้ อน และการพัฒนางานนิเทศต่อไป
5.3 ผู้รับการนิเทศทาการสารวจผู้เรยี นในด้านต่างๆ เพ่ือสง่ เสริมผ้เู รยี นในดา้ น
ตา่ ง ๆ และนาเสนอผู้นิเทศทุกส้ินเดอื นเพอื่ รับฟงั ขอ้ เสนอแนะและคิดเห็นเพิม่ เติม
5.4 เก็บรวบรวมขอ้ มลู ต่าง ๆ เพอ่ื การรายงานผลสน้ิ ปกี ารศกึ ษาหรือ
ปีงบประมาณ
คู่มอื การขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๖๓
6 การประเมนิ ผลการประเมินผลการนิเทศการศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานดาเนินการประเมนิ ในประเด็น ดงั นี้
6.1 คุณภาพของหลกั สตู ร/กจิ กรรม
6.2 ประสทิ ธผิ ลของการจดั การศึกษา
6.3 ความพงึ พอใจของผู้เรยี น/ผูร้ บั บรกิ าร
6.4 คณุ ภาพของการจดั การศึกษา
การดาเนนิ การนเิ ทศตามรปู แบบการนิเทศแบบมสี ่วนรว่ มดังกลา่ วเบ้อื งตน้ จะประสบ
ผลสาเร็จได้ด้วยปัจจยั ความเหมาะสมด้านสภาพแวดล้อม ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล และความ
รว่ มมือจากทุกฝ่าย โดยจดั ปฏทิ ินทก่ี าหนดภารกิจท่ีจะทาการนเิ ทศ วนั เดอื น ปี เวลา ชื่อผูร้ บั การ
นิเทศ และผ้นู ิเทศในสว่ นของตัวชว้ี ดั การนเิ ทศแบบมสี ว่ นร่วม มีดงั น้ี 1 คุณภาพของการจัด
การศกึ ษา 2 การบรรลุวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการนิเทศ 3 การมีส่วนรว่ มของผู้รบั การ
นเิ ทศ และ 4 ความพงึ พอใจชองผรู้ บั การนเิ ทศ
๔.๕ ภาพความสาเรจ็ การนิเทศแบบมีส่วนร่วม
1. การสรา้ งความรู้ความเข้าใจกับบคุ ลากรในโรงเรียน
2. ข้อมลู สารสนเทศของผเู้ รยี นรอบด้าน
3. ระบบนเิ ทศภายในตามบริบทของโรงเรียน
4. แผนและคู่มือการนิเทศตามบริบทของโรงเรียน
5. การนิเทศครทู ุกชน้ั เรียน
6. การสรปุ และรายงานผลการนิเทศ
7. ผลการทดสอบคณุ ภาพผู้เรยี นระดบั โรงเรียน O-NET สูงขน้ึ ผู้เรียนมสี มรรถนะและ
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เป็นไปตามจดุ เน้นของหลกั สูตร
8. ผลงานการปฏิบตั ทิ ดี่ ีของครูและนักเรียน สถานศกึ ษา
๕. การสรปุ ผลและรายงานผล
ใช้แบบสรปุ ผลการนิเทศ ตดิ ตาม ระยะสิ้นปีการศึกษา 2563 (มนี าคม 256๔ – พฤษภาคม
2564) โดยมกี ารสรุปและรายงานผล ตามแบบนเิ ทศ ตดิ ตาม การปฏิบัติงานงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา
และแบบนิเทศ ตดิ ตาม การปฏิบตั ิงานตามนโยบายและจดุ เนน้ โรงเรียนแคมป์สนวทิ ยาคม
คู่มอื การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๖๔
ส่วนท่ี ๕
ปฏิทินการดาเนนิ งานการขับเคล่ือน
การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
คมู่ ือการขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
๖๕
ปฏทิ ินการดาเนนิ งานการปฏิบตั ิงานขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนแคมป์สน
วทิ ยาคม ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
ระยะเวลา การดาเนินงาน
พฤษภาคม 256๓ แตง่ ตั้งคณะทางานแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาซงึ่
ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหารโรงเรียน
มถิ ุนายน 256๓ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ผทู้ รงคุณวุฒิ
มิถุนายน 256๓ จากชุมชน หน่วยงาน และองค์กรภายนอก ตัวแทน
กรกฎาคม 256๓ นักเรยี นและครแู ละบุคลากรของโรงเรยี นแคมป์สน
สงิ หาคม 256๓ วิทยาคม ประชมุ รว่ มกันทาความเขา้ ใจแนวทางใน
กนั ยายน 256๓ – กมุ ภาพนั ธ์ 256๔ การจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาท่ผี ่านมาและ
มนี าคม – พฤษภาคม 256๔ วเิ คราะหป์ ัจจยั ทจ่ี ะมาใช้เปน็ ฐานในการจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบตั ิการ
ประจาปี โครงการ/กิจกรรม
แตง่ ตง้ั คณะกรรมการการขับเคลื่อนการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนแคมปส์ นวทิ ยาคมด้วย
รูปแบบ CAMPSON MODEL สรา้ งความเข้าใจใน
การปฏบิ ัตงิ านแก่บุคลากรภายในสถานศึกษา
จัดทาเอกสารแนวทางการการขบั เคลือ่ นการพฒั นา
คุณภาพการศึกษา โรงเรียนแคมปส์ นวิทยาคม
ประชุมวางแผนคณะกรรมการการขบั เคลื่อนการ
ขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียน
แคมป์สนวทิ ยาคม (กาหนดระยะเวลาการดาเนนิ งาน
การนิเทศ ติดตาม กาหนดวธิ กี ารนิเทศ การเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู การนิเทศ ติดตาม และการรายงงานผล
การนิเทศติดตาม)
วางแผนการนิเทศภายในสถานศกึ ษา
นิเทศ ติดตามโครงการ/กิจกรรมตามจดุ เนน้ ของ
โรงเรยี นแคมป์สนวิทยาคม
สรุปผลการปฏบิ ตั ิงานแตล่ ะกลมุ่ งาน และรายงานผล
การดาเนินงานการขบั เคล่อื นการพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา โรงเรยี นแคมปส์ นวทิ ยาคมด้วยรปู แบบ
CAMPSON MODEL
คู่มือการขบั เคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL
บรรณานกุ รม
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๖๐). มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ดั กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภูมิศาสตร์ในกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั
ดร.ไพศาล ปันแดน. คู่มือการบริหารจัดการศึกษา 33R Model (3 Returns Policy Model).
ม.ป.พ.
สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๔๐ กระทรวงศึกษาธิการ. คมู่ ือการขบั เคลือ่ น
การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๔๐ ด้วย
รปู แบบ SPM 4.๐ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๓). ม.ป.พ.
สานกั บริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน. มาตรฐาน
การปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ.2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๒). กรงุ เทพฯ : ม.ป.พ.
สานักบรหิ ารงานการมธั ยมศึกษาตอนปลาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน.(๒๕๖๐).
การขับเคล่อื นการศึกษามธั ยมศึกษา ๔.๐ เพอื่ การมงี านทาแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั
สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน.(๒๕๕๓). แนว
ทางการบรหิ ารจดั การตามหลกั สูตรตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน.(๒๕๕๓). แนว
ปฏบิ ตั ิการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ
ไทย จากัด
http://www.birdkm.com/outside-classroom/outsideclass/thai-education-40 สบื ค้นวนั ที่
15 มถิ นุ ายน ๒๕๖๓
คู่มือการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
ภาคผนวก
ค่มู ือการขับเคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คสว. ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
แบบประเมนิ การขับเคลื่อนการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นแคมป์สนวิทยาคม ดว้ ยรปู แบบ CAMPSON MODEL
แบบนเิ ทศ ติดตาม การปฏิบัตงิ านงาน
โรงเรยี นมัธยมศกึ ษา
แบบนิเทศ ติดตาม การปฏิบัตงิ านตาม
นโยบายและจดุ เน้นโรงเรียนแคมป์สน
วทิ ยาคม
ค่มู อื การขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
คณะจดั ทาค่มู ือการขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นแคมปส์ นวิทยาคมด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๑. คณะที่ปรกึ ษา ประกอบด้วย ผูอ้ านวยการโรงเรยี นแคมปส์ นวทิ ยาคม
1. นายจลุ นิ ทร์ น้าค้าง ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
2. นายบญุ ทา สอนบุญมา รองผ้อู านวยการโรงเรยี นแคมป์สนวทิ ยาคม
3. นางสาวรุ่งนภา กองน้อย ผ้ชู ่วยผ้อู านวยการโรงเรยี นแคมปส์ นวิทยาคม
4. นายสมหมาย อินทะโชติ
๒. คณะผทู้ รงคุณวฒุ ิที่พิจารณาเอกสาร ประกอบด้วย
๑. ดร.ภวู นาท มูลเขียน ศกึ ษาธิการจังหวัดเพชรบูรณ์
๒. นายบารงุ ด้วงโต ผ้อู านวยการเช่ยี วชาญโรงเรียนบ้านเหล่าหญา้ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 2
๓. นายประสิทธิ์ คากิง่ ผอู้ านวยการเชย่ี วชาญ โรงเรยี นบ้านยา สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 3
๔. นายอารมณ์ วงศบ์ ณั ฑิต ศกึ ษานิเทศก์เชย่ี วชาญ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
สพุ รรณบุรี เขต 1
๕. รศ.ดร.เกียรติศกั ดิ์ รตั นสหี า อาจารยป์ ระจาภาควชิ าคณติ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย
๓. คณะจดั ทาคมู่ อื การขบั เคล่อื นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นแคมป์สนวทิ ยาคมด้วย
รปู แบบ CAMPSON MODEL
๑. นายจลุ ินทร์ นา้ คา้ ง
๒. นายสมหมาย อนิ ทะโชติ
๓. นายไพโรจน์ ปัทมาวดี
๔. นายเฉลมิ ชัย อ่อนตา
๕. นายชัยวฒั น์ หนดู ้วง
๖. นางดอกฟ้า พลิ าเกิด
๗. นางนภสั วรรณ อนิ ทะโชติ
๘. นางชลดิ า กรชนกธนรงค์
๙. วา่ ที่ ร.ต. หญิง พัฒนา ขุนอินทร์
๑๐.นางสุภาพร ปัทมาวดี
๑๑. นายสวุ พิชย์ พรหมบุญตา
๑๒. นายสายณั ห์ อ่อนตา
๑๓. นางธนชั พร อนิ ตะ๊
๑๔. นายก้องเกียรติ คามา
๑๕. นางสาวภวรัญชณ์ รุจิวรี านันทก์ ุล
คู่มอื การขบั เคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คสว. ด้วยรูปแบบ CAMPSON MODEL
๑๖. นางพชรมน ทักคุ้ม
๑๗. นางสมุ าลี อ่อนตา
๑๘. นางสมลกั ษณ์ ศรีมงั กร
๑๙. นางสาวลภสั รดา รอดวงค์
๒๐. นางจารัส ทองสน
๒๑. นางสาวจตุรพร เหลอื งทอง
๒๒. นางสาวนฤมล เมืองภา
๒๓. นางสาวนฤพัฒน์ ขาในเมือง
๒๔. นางสาวศิรนิ ทพิ ย์ แสนคา
๒๕. นายธีรวชิ ญ์ เข็มมี
๒๖. นายชวดล ต้นแก้ว
๒๗. นายไพทูรย์ เรืองนาม
๒๘. นางสาวรจนา จงธรรม์
๒๙. นายทนิ กร ทองสกุลการ
๓๐. นางสาวพกิ ุล ชรู ตั น์
๓๑. นางสาวขวัญจิรา สาใจ
๓๒. นายยศชนินทร์ คุม้ ทรง
๓๓. นางสาวกาญจนา เลี้ยงประยรู
๓๔. นางสาวรติพร ศรีเจรญิ
๓๕. นายสงกรานต์ ฟักคา
๓๖. วา่ ท่ี ร.ต.หญิง เบญจมาศ บรรเจดิ พัฒนกลุ
๓๗. นางสาวอริศรา จรากร
๓๘. นางพชั รี ออ่ นตา
๓๙. นางสาวธนาภรณ์ โรจนโรวรรณ
๔๐. นางสาวรงุ่ นภา กองน้อย
๔. คณะกลั่นกรอง ตรวจสอบและจัดทารูปเล่ม ประกอบดว้ ย
๑. นายจุลนิ ทร์ น้าคา้ ง
๒. นางสาวรุ่งนภา กองน้อย
๓. นายสมหมาย อินทะโชติ
๔. นางพชรมน ทกั คุ้ม
๕. นางสาวพิกลุ ชูรตั น์
๖. นางสาวอรศิ รา จรากร
๗. นางพัชรี อ่อนตา
๘. นางสาวธนาภรณ์ โรจนโรวรรณ
คู่มือการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คสว. ด้วยรปู แบบ CAMPSON MODEL