๒๕๖๔ประจาปี
นายกิตตวิ ฒั นน ธนพฒั นนโยธิน ผลงานและขอ้ มลู เพม่ิ เติม
๐๙๗-๒๓๙๕๑๔๖
Kitti-pooh
[email protected]
กราบขอบพระคณุ อย่างสงู
๐๙๗-๒๓๙๕๑๔๖
Kitti-pooh
[email protected]
แบบรายงานประวัติและผลงานนวตั กรรม
เสนอเพือ่ พิจารณาคดั เลอื กครภู าษาไทยดเี ดน่
เพือ่ รับรางวัลเขม็ เชิดชูเกยี รติจารกึ พระนามาภไิ ธยยอ่ สธ
ประจำปี ๒๕๖๔
นายกิตติวัฒน์ ธนพัฒนโ์ ยธนิ
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ
โรงเรียนเทศบาลสวนสนกุ
สำนกั การศึกษา เทศบาลนครขอนแกน่
กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย
ก
คำนำ
แบบรายงานประวัติและผลงานนวัตกรรมเล่มนี้ จัดทำขึ้นเสนอเพื่อพิจารณาคัดเลือกครูภาษาไทย
ดีเด่น เพื่อรับรางวัลเข็มเชิดชูเกียรติจารึกพระนามาภิไธยย่อ สธ ประจำปี ๒๕๖๔ เพื่อให้คณะกรรมการ
คัดเลือกครูภาษาไทยดีเด่น ใช้ประกอบการพิจารณาผลงานและการปฏิบัติงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ขอรับ
การคัดเลือกในด้านต่าง ๆ โดยข้อมูลที่ปรากฏในแบบรายงานฯ นี้ เป็นเพียงข้อมูลบางส่วนที่หยิบยกมาเขียน
รายงานและนำเสนอเท่านั้น ซึ่งยังมีข้อมลู อื่นๆ ที่เป็นผลงานและรายละเอียดปลีกย่อยอีกมากท่ีไม่สามารถใส่
ในเล่มได้ทั้งหมด ดังนั้นข้าพเจ้าจึงได้สร้างคิวอาร์โค้ดเพื่อท่านจะได้สะดวกต่อการศึกษาและตรวจสอบข้อมลู
เพิ่มเติม โดยการสแกน QR code ที่ปรากฏบนหน้าปกและเล่มรายงานในแต่ละส่วน หากท่านจะให้ความ
อนุเคราะห์มาตรวจสอบขอ้ มลู เพมิ่ เติมของข้าพเจ้าได้ที่โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕/๑ จกั
เปน็ การขอบพระคณุ อยา่ งสูงยิง่
หวังเปน็ อยา่ งย่ิงวา่ แบบกรอกข้อมลู ฯ เล่มนี้ จะอำนวยประโยชนใ์ ห้แก่ทา่ นคณะกรรมการคดั เลือกและ
ผู้อ่านไดเ้ ป็นอยา่ งดี ขอขอบคณุ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา คณะครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง และชุมชนทีใ่ ห้ความ
ร่วมมือทำให้การเขียนรายงานผลงานในเลม่ นี้ เสรจ็ สมบูรณ์ตามเปา้ หมาย
กติ ตวิ ฒั น์ ธนพฒั น์โยธนิ
ข
สารบญั
หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
ตอนที่ ๑ ข้อมลู เบื้องต้นของผูเ้ สนอขอรับรางวัล ๑
๑. ช่ือ-สกลุ ............................................................................................................................. ..... ๒
๒. เลขทบ่ี ตั รประชาชน............................................................................................................... ๒
๓. ขอ้ มูลสว่ นบุคคล................................................................................................................... ๒
๔. ประวตั ิการทำงาน................................................................................................................. ๓
๕. ประวัติการสอนภาษาไทย..................................................................................................... ๓
๖. ชอ่ื ผลงานทีใ่ ชข้ อวิทยฐานะ.................................................................................................... ๓
๗. ชอื่ งานวจิ ยั ทเ่ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการสำเรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญา........................................... ๔
ข้อมูลท่วั ไป
- คุณสมบตั ขิ องผขู้ อรบั การรบั รอง......................................................................................... ๕
- ความรคู้ วามสามารถ........................................................................................................... ๘
- อดุ มการณ์ในการเป็นครทู ีด่ ี................................................................................................ ๑๐
- หลักการและแนวคิดในการทำงาน...................................................................................... ๑๓
- การพัฒนาตนเอง................................................................................................................ ๑๕
ตอนที่ ๒ ผลงานทุกประเภททีต่ ้องการใหค้ ณะกรรมการพิจารณา............................................................. ๑๖
๒.๑ ด้านการจัดการเรียนรู.้ ......................................................................................................... ๑๗
๒.๒ ดา้ นวชิ าการ.................................................................................................................. ....... ๒๑
ตอนที่ ๓ ผลงานทเี่ กิดจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ภาษาไทย .............................................................. ๒๘
๓.๑ ผลงานทแี่ สดงถงึ การพัฒนานกั เรยี น...................................................................................... ๒๙
๓.๒ ผลงานทีแ่ สดงถึงการนำความรู้ความสามารถและประสบการณด์ า้ นภาษาไทยไปใช้ เพือ่ สรา้ ง
คุณประโยชนใ์ ห้แก่หน่วยงานและองค์กร............................................................................. ๓๙
ภาคผนวก.................................................................................................................................................. ๔๔
-๑-
ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ของผู้เสนอขอรบั รางวลั
-๒-
รปู ถ่าย
ขนาด ๑ น้วิ
แบบรายงานประวตั ิและผลงานนวัตกรรม
เสนอเพอื่ พจิ ารณาคัดเลือกครูภาษาไทยดีเดน่ เพื่อรบั รางวัลเข็มเชิดชเู กียรติ
จารึกพระนามาภไิ ธยยอ่ สธ ประจำปี ๒๕๖๔
ประเภทของระดบั การศึกษา ( ) ประถม ( ) มัธยม
( ) อาชีวศกึ ษา ( ) อดุ มศึกษา
ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบ้ืองตน้ ของผเู้ สนอขอรบั รางวัล
๑. ช่ือ นายกิตติวฒั น์ ธนพฒั น์โยธนิ
๒. เลขทบ่ี ัตรประจำตวั ประชาชน ๓๔๘๐๑๐๐๔๘๓๒๙๒
เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู ๕๙๓๐๓๐๗๐๓๙๘๕๔๒
ออกให้ ณ วันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙ หมดอายุ ณ วนั ที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๔
๓. ขอ้ มูลส่วนบคุ คล
๓.๑ เกดิ เม่ือวันที่ ๑๐ เดอื น มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๖
๓.๒ ปจั จบุ นั อายุ ๓๘ ปี
๓.๓ ท่ีอยู่ทต่ี ิดตอ่ ได้สะดวกเลขที่ ๗๗/๕๑ ม. ๙ หมู่บ้านวราสริ ิมิง่ เมือง ตำบลเมอื งเก่า
อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ ๔๐๐๐๐
โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี ๐๙๗-๒๓๙๕๑๔๖
e-mail address [email protected]
๓.๔ วนั ทเ่ี ร่มิ ปฏิบัตหิ นา้ ทคี่ รู ๑ เดอื น กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓
๓.๕ ประสบการณ์การสอน รวมเป็นเวลา ๑๑ ปี
๓.๖ ตำแหน่งหน้าท่ใี นปจั จุบัน ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ
๓.๗ สถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ สงั กดั สำนกั การศกึ ษาเทศบาลนครขอนแกน่
ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ ๔๐๐๐๐
โทรศัพท์ ๐๔๓-๒๒๑๘๒๓
๓.๘ ประวัติการศึกษา
วฒุ ิการศึกษา วิชาเอก/โท/สาขา ปที สี่ ำเร็จการศึกษา สถาบันการศึกษา
ศษ.บ. ศึกษาศาสตรบัณฑิต ๒๕๔๙ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
สาขาการประถมศึกษา
กศ.ม. การศึกษามหาบัณฑติ ๒๕๕๑ มหาวทิ ยาลัย
สาขาการบริหาร มหาสารคาม
การศึกษา
กศ.ด. การศกึ ษาดษุ ฎีบัณฑติ ๒๕๖๔ มหาวิทยาลัย
สาขาการบรหิ ารและ มหาสารคาม
พัฒนาการศกึ ษา
-๓-
๔. ประวตั กิ ารทำงาน (เฉพาะตำแหน่งท่สี ำคญั )
วนั – เดือน - ปี ตำแหนง่ สอนช้ัน/ระดบั สถานท่ีทำงาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ
๑ กันยายน ๒๕๕๓ ครผู ้ชู ว่ ย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรียนเทศบาลสวนสนกุ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก
๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ครู
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก
๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ครู วทิ ยาฐานะ
ครูชำนาญการ
ปจั จุบัน ครู วิทยาฐานะ
ครูชำนาญการ
๕. ประวตั กิ ารสอนภาษาไทย
๕.๑ เรม่ิ สอนครัง้ แรก เมื่อวันท่ี ๑ เดือน กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓
ในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ สถานศึกษา โรงเรียนเทศศบาลสวนสนุก
ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่
สังกดั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย
๕.๒ ปจั จบุ นั สอนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ สถานศึกษา โรงเรียนเทศศบาลสวนสนุก
ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น
รหัสไปรษณยี ์ ๔๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๓-๒๒๑๘๒๓
๕.๓ สอนภาษาไทยต่อเน่ืองกันเป็นเวลา ๑๑ ปี (นับถึงวนั ทอี่ อกประกาศ)
๖. ชอื่ ผลงานที่ใช้ขอเลอ่ื นวทิ ยฐานะ
๖.๑ การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้แบบฝกึ เสรมิ เพ่ิมทกั ษะการอา่ น กลุ่มสาระการ
เรยี นรภู้ าษาไทย ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นเทศบาลสวนสนุก
๖.๒ แผนการจัดการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝกึ เสรมิ เพิ่มทักษะการอ่านจบั ใจความ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕
๖.๓ แบบฝกึ เสริมเพ่มิ ทักษะการอา่ นจบั ใจความ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำนวน ๘ เลม่
เลม่ ที่ ๑ ฝกึ อ่านสารให้คล่อง
เลม่ ท่ี ๒ ฝึกลองตอบต้งั คำถาม
เลม่ ที่ ๓ ฝึกเขียนโครงเรอื่ งตาม
เลม่ ท่ี ๔ ฝึกตีความแยกเทจ็ จริง
เลม่ ท่ี ๕ ฝึกแยกส่วนประโยค
เลม่ ท่ี ๖ ฝกึ เรยี งโยกลำดบั เรื่อง (นทิ าน)
เลม่ ท่ี ๗ ฝึกอ่านตำนานเมือง
เล่มท่ี ๘ ฝกึ สรปุ เรอ่ื งส้ันจับใจความ
๗. ชอ่ื ผลงานทีใ่ ช้ขอตำแหน่งวิชาการ
-
-๔-
๘. ช่ืองานวิจยั ที่เปน็ ส่วนหน่งึ ของการสำเร็จการศึกษาระดบั ปริญญา
๘.๑ ระดบั ปรญิ ญาศึกษาศาสตรบัณฑติ
- วจิ ัย เรือ่ ง การพฒั นาผลสัมฤทธด์ิ ้านการอา่ น ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2
๘.๒ ระดบั ปริญญาการศกึ ษามหาบณั ฑิต
- การศกึ ษาค้นควา้ อสิ ระ เร่ือง โปรแกรมการพฒั นาครดู ้านการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน
สงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
๘.๓ ระดบั ปรญิ ญาการศึกษาดุษฎีบณั ฑติ
- วิทยานพิ นธ์ เรอื่ ง การพัฒนากลยทุ ธก์ ารบรหิ ารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพอ่ื พัฒนา
ท้องถน่ิ สำหรับโรงเรียนสังกดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
ข้าพเจา้ ขอรบั รองว่าข้อมูลประวตั เิ อกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลือกครภู าษาไทยดเี ด่นฯ
ประจำปี ๒๕๖๔ ทแ่ี นบทัง้ หมด เปน็ ความจรงิ และเป็นผลงานทข่ี า้ พเจา้ ได้ผลิตขน้ึ เอง โดยมไิ ดแ้ อบอา้ งหรือ
คดั ลอกผลงานของผ้อู นื่ หากปรากฏภายหลังวา่ ข้อมลู ที่ใหแ้ ละผลงานท่ีเสนอไม่เป็นความจริง ข้าพเจ้า
ยินยอมให้เพกิ ถอนและเรียกคืนรางวัล โดยไมเ่ รยี กรอ้ งใดๆ ท้งั สน้ิ
ลงช่ือ.......................................................เจ้าของประวัติ
(นายกติ ติวฒั น์ ธนพัฒนโ์ ยธิน)
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ
-๕-
คณุ สมบตั ขิ องผู้ขอรับรางวลั
๑. ขา้ พเจา้ ปจั จบุ นั ดำรงตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ สอนรายวิชาภาษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรียนเทศบาลสวนสนกุ มปี ระสบการณด์ ้านการสอนวชิ าภาษาไทย จำนวน ๑๑ ปี
๒. ข้าพเจ้าประกอบวิชาชพี ครูตามพระราชบญั ญตั ิสภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๖
ตามใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครเู ลขท่ี ๕๙๓๐๓๐๗๐๓๙๘๕๔๒
๓. ข้าพเจา้ มีความประพฤตดิ ี ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยแต่อยา่ งใดตั้งแต่รับราชการมาแม้แตค่ ำว่า
กลา่ วตกั เตอื น และมีความสมั พันธท์ ี่ดกี บั ผู้เรยี น สง่ เสรมิ ผู้เรียนให้มีพฒั นาการการเรยี นรู้ภาษาไทยทเี่ หมาะสม
กบั สถานภาพและความพร้อมของผ้เู รยี นแตล่ ะคน โดยประพฤตติ นดว้ ยการครองตน ครองคน ครองงาน เปน็
แบบอย่างทด่ี แี ละเปน็ ท่ียอมรับของเพื่อนรว่ มงาน บุคคลในวิชาชพี และสงั คม ดังนี้
๓.๑ การครองตน (มคี ณุ ธรรม) จริยธรรมทพ่ี ึงประสงค์
ในสว่ นการครองตนขา้ พเจ้ามีความตระหนักและสำนึกอยู่เสมอว่าตนเองเปน็ ครตู ้อง
เป็นตัวอย่างท่ีดีให้กบั ศษิ ย์ โดยยึดถือแนวปฏบิ ตั ิในจรรยาบรรณครู รักและเมตตาศษิ ย์ ให้ความเอาใจใส่
ชว่ ยเหลือส่งเสริมและสนบั สนุนเพอ่ื ความกา้ วหนา้ ของศษิ ย์อย่างเท่าเทยี มและสมำ่ เสมอ ให้กำลังใจใน
การศึกษาเลา่ เรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหนา้ ให้การอบรม ส่งั สอน ฝกึ ฝนสร้างเสริมความรู้ ทักษะและนสิ ัยท่ี
ถูกต้องดงี ามให้แกศ่ ษิ ย์อย่างเต็มความรคู้ วามสามารถด้วยความบริสทุ ธิ์ใจ ตลอดจนสร้างขวญั และกำลงั ใจใน
โอกาสทส่ี ำคัญต่าง ๆ ขา้ พเจ้าประพฤติปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดีแก่ศษิ ย์ท้ังทางกาย วาจาและจิตใจ
ไมก่ ระทำตนให้เปน็ ปฏปิ ักษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณแ์ ละสังคมของศิษย์ ไมแ่ สวงหา
ประโยชนอ์ นั เป็นอามิสสนิ จา้ งจากศษิ ย์ในการปฏิบัตหิ น้าที่ตามปกติ และไม่ใชใ้ ห้ศษิ ย์กระทำการใดๆ อนั เป็น
การหาผลประโยชนใ์ หแ้ ก่ตนโดยชอบพฒั นาตนเองทั้งด้านวิชาชพี ด้านบุคลกิ ภาพและวิสัยทัศนใ์ หท้ ันต่อการ
พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สังคมและการเมืองอยู่เสมอรกั และศรัทธาในวชิ าชีพครูและเป็นสมาชิกท่ีดี
ขององค์กรวชิ าชพี ครู ชว่ ยเหลอื เกือ้ กูลครูและชมุ ชนในทางสรา้ งสรรค์ ประพฤตปิ ฏิบัติตนเป็นผนู้ ำในการ
อนุรกั ษ์และพัฒนาภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยไดน้ ำมาเป็นแนวทางในการทำหน้าที่ครู โดยอบรมส่งั สอนลกู
ศษิ ย์ดว้ ยความรับผดิ ชอบต่อหน้าที่ สอนเน้ือหาความร้คู วบค่ไู ปกับคณุ ธรรมจริยธรรมและทกั ษะชวี ติ ในดา้ น
ตา่ งๆ จากการการประเมินกลุ่มตัวบง่ ชพี้ ืน้ ฐาน ตวั บ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียน การสอนทเ่ี นน้
ผู้เรยี นเปน็ สำคญั จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของโรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ อยู่ในระดับ ดมี าก
๓.๒ การครองคน (ทำงานรว่ มกับผ้อู ่นื ไดด้ ี เป็นที่ยอมรับ รักใคร่ของศษิ ย์ และ
ผู้ร่วมงาน) ข้าพเจา้ พึงปฏิบัติตามหลกั ธรรมพรหมวิหาร ๔ ประกอบด้วย เมตตา กรุณา มุทติ า อุเบกขา
ขา้ พเจา้ มีคุณลักษณะประจำตัวทแี่ สดงถึงการครองคน ดังน้ี
๓.๒.๑ มบี คุ ลิกภาพดี
๑. บคุ ลกิ ภาพเหมาะสมกับการเปน็ ครู แต่งกายสะอาดถูกตอ้ งตามระเบียบ
ของทางราชการกำหนด การวางตนถูกต้องตามกาลเทศะ ทำใหผ้ ูค้ บหาสมาคมสบายใจไม่เหน็ แกต่ วั เป็นคนมี
เหตผุ ลมองโลกในแง่ดี ไม่ใชอ้ ารมณใ์ นแกไ้ ขปัญหา
๒. ไมส่ ูบบุหรี่ ไมด่ ม่ื สุราและของมนึ เมา
๓. อปุ นิสยั รา่ เรงิ แจ่มใส ออ่ นน้อมถ่อมตน
๔. ไมเ่ คยเอาเปรยี บผู้อ่นื รบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อืน่ มาปรบั ปรงุ ตนเอง
และในการปฏบิ ัติงานใหด้ ีย่งิ ขึ้น
-๖-
๕. สร้างความคนุ้ เคยกบั ผู้อื่นได้งา่ ย เพราะการจัดกจิ กรรมการเรียนการ
สอนหรอื งานให้หน้าทีจ่ ะประสบผลสำเรจ็ หรอื ไม่น้ันขึน้ อยู่กบั การติดต่อประสานงานกับบุคคลอน่ื อยูเ่ สมอ
ตามปกติข้าพเจ้ามมี นุษยส์ มั พันธ์อยแู่ ลว้ จงึ สามารถเข้ากับคนอนื่ ไดง้ า่ ย ทั้งในวงราชการ เพือ่ นรว่ มงาน
ผู้ปกครองเด็ก ผู้นำองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และผมู้ าติดต่อราชการ จงึ ทำให้งานส่วนตัวและงานราชการ
สำเร็จดว้ ยดี
๓.๒.๒ มีมนษุ ยสัมพันธด์ ี
๑. สรา้ งความคุ้นเคยกบั ผู้อ่นื ได้ง่าย เพราะการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้หรือ
งานในหนา้ ทจ่ี ะสำเรจ็ หรอื ไม่นน้ั ขึน้ อยกู่ ับการตดิ ต่อประสานงานกับบุคคลอน่ื เสมอ ตามปกติข้าพเจา้ มีมนษุ ย์
สัมพันธ์ จงึ สามารถเข้ากบั คนอนื่ ไดง้ ่าย ท้ังในวงราชการ เพื่อนรว่ มงาน ผู้ปกครองเด็ก ผู้นำองค์กรปกครองสว่ น
ทอ้ งถ่นิ และผมู้ าติดตอ่ ราชการ จงึ ทำให้งานส่วนตัวและงานราชการสำเร็จดว้ ยดี
๒. การใช้เหตผุ ลในการตัดสินใจ เม่อื มปี ัญหาขา้ พเจ้าจะปรกึ ษา
ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนรว่ มงาน เปน็ การตัดสนิ ใจจากมติท่ีประชมุ เปน็ หลกั การปฏิบัตงิ าน ในขณะเดียวกัน
เพอ่ื นรว่ มงานเมื่อมปี ัญหาหรือผิดพลาดในการปฏิบตั งิ าน ข้าพเจ้าจะไม่ตำหนิ ในทางตรงกันขา้ ม ขา้ พเจ้าได้ให้
กำลังใจและช่วยเหลือแกป้ ัญหาดว้ ยเหตผุ ล ทำให้การปฏิบตั งิ านสำเร็จไปได้ด้วยดี
๓. การยกยอ่ งชมเชยผู้อ่นื เมื่อบุคคลนน้ั ประพฤติตนไดถ้ ูกต้องและประสบ
ผลสำเร็จรจู้ ักยกยอ่ งชมเชยเพื่อนขา้ ราชการครูท่ีประสบความสำเรจ็ ชมเชยนกั เรยี นมคี วามขยนั ประพฤตดิ ี
เรยี นดี และเดก็ ท่ีแตง่ กายสะอาดเรียบรอ้ ย การครองเรือนของคนในชมุ ชนท่ปี ระสบผลสำเร็จ ข้าพเจา้ จงึ ไดร้ ับ
คำยกย่องชมเชยกลับมา
๔. การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ สำเร็จ จากการปฏบิ ัติงานของขา้ พเจ้าใน
บางครัง้ มปี ญั หาเฉพาะหน้าต้องทำการแกไ้ ข โดยอาศยั ความเชอื่ มน่ั ในตนเอง ขา้ พเจา้ ไม่ยอมให้ปัญหาน้ันผ่าน
ไปและทำความเสยี หายใหก้ ับส่วนรวมโดยเด็ดขาด ดังนั้นข้าพเจ้าจงึ ไดร้ บั ความไว้วางใจจากผู้บังคบั บัญชา
เพอื่ นครูและบุคคลในชมุ ชนให้มสี ่วนร่วมในการปฏิบตั งิ านหรือกจิ กรรมตา่ ง ๆ อย่างมากมาย
๓.๒.๓ มสี มั พนั ธภาพในการทำงาน
การทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ่นื ข้าพเจ้าใช้หลักกลั ยาณมิตร และมีมนษุ ยสัมพันธ์ทีด่ ี
สามารถทำงานร่วมกับผอู้ น่ื ได้ทกุ กลุ่ม ทุกเพศและทุกวยั จงึ ไดร้ ับการยอมรบั จากคณะผู้บรหิ ารโรงเรยี น
คณะครู บุคลากรทางการศกึ ษาผู้ร่วมงาน นกั เรยี น ผูป้ กครองและประชาชนท่วั ไป อีกท้งั มีความ
เออื้ เฟื้อเผอ่ื แผ่ มบี ุคลกิ ภาพท่ีดี มคี วามสามารถประสานงาน มเี หตผุ ลสามารถแกป้ ัญหาต่างๆ ได้ มเี ทคนคิ
การพูด เชิญชวน เสนอแนะ ให้กำลังใจ ทำงานร่วมกบั ผู้อื่นโดยสามารถวางตัวในการเป็นผู้นำ ผู้ตาม และเปน็
ผ้ใู ห้ ผ้รู บั ทด่ี ี มหี ลกั ในการทำงาน มคี วามบรสิ ุทธยิ์ ตุ ิธรรมและทำงานอย่างโปรง่ ใส ปราศจากอคติ ยึด
ประโยชนข์ องเด็ก และสว่ นรวมเป็นทีต่ ้งั จึงประสบความสำเร็จในการทำงานเปน็ ทีมได้รับการยอมรับจากทุก
ฝา่ ยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง สามารถเปน็ แบบอยา่ งท่ีดไี ด้ เชน่ การร่วมกิจกรรมกบั ผรู้ ่วมงานในโรงเรียน , รว่ มกิจกรรม
ตามระบบดูแลชว่ ยเหลอื เดก็ , รว่ มกิจกรรมกับชมุ ชน ฯลฯ
๓.๓ การครองงาน (รับผิดชอบ มุ่งมั่น ตั้งใจทำงานตามภารกิจ/ท่ีไดร้ ับมอบหมายอย่าง
สร้างสรรค์ จนเกิดความสำเร็จ) ไม่เคยขาดงาน ข้าพเจา้ ได้นำแนวพระราชดำรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระ
เจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ผเู้ ปน็ “พ่อครแู ห่งแผ่นดิน” มาเป็นแบบอย่างในการดำเนนิ ชวี ิตและการทำงาน โดยยดึ
มัน่ ในพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ ๙ ทวี่ า่ “ผูท้ ่เี ป็นครูจะตอ้ งถือเปน็ หนา้ ที่
อันดับแรกที่จะต้องให้การศกึ ษา คอื สั่งสอนอบรมอนชุ นใหไ้ ด้ผลแทจ้ ริง ทงั้ ในด้านวชิ าความรู้ ทง้ั ในด้าน
จิตใจและความประพฤติ ท้ังต้องคิดวา่ งานที่แตล่ ะคนกำลังทำอยนู่ ้คี อื ความเปน็ ความตายของประเทศ
-๗-
เพราะอนุชนทม่ี คี วามรูค้ วามดเี ท่านั้นท่ีจะรกั ษาชาติบ้านเมอื งไว้ได้” จากพระราชดำรสั ดังกลา่ ว จงึ ทำให้
ขา้ พเจ้ามีปณิธานท่ีแน่วแนแ่ ละตั้งใจวา่ จะประพฤติปฏบิ ตั ิหนา้ ทีร่ าชการตามบทบาทและหนา้ ทข่ี องครู อย่าง
เต็มกำลงั ความสามารถมีศรัทธาและยึดมั่นในอดุ มการณ์แห่งวชิ าชีพครู เสียสละและอุทิศเวลาใหก้ ับการอบรม
สงั่ สอนผเู้ รยี นให้เปน็ ผูท้ ่มี ีความประพฤติตามคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ คือ เป็นคนดี เก่ง และมีความสุข ด้วย
เหตดุ ังกลา่ วขา้ พเจา้ จึงไม่เคยขาดงานเลย
๔. ขา้ พเจ้าปฏบิ ตั หิ นา้ ทค่ี รูได้จดั กระบวนการเรยี นรูใ้ ห้แก่ผเู้ รยี นด้วยความรักและความศรทั ธาใน
วชิ าชีพครู มีความอดทน เสยี สละและมุ่งมนั่ ทจ่ี ะพัฒนาผ้เู รียน ให้เปน็ คนดี คนเก่ง มีความสขุ และสามารถ
ปรับตัวรู้เท่าทนั ความเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยแี ละโลกได้
สรปุ
ข้าพเจ้าเป็นผู้ที่มีคุณสมบตั ิครบตามเกรณข์ องผู้มสี ิทธิไดร้ บั รางวัล กลา่ วคือ มีประสบการณด์ า้ นการ
สอนวิชาภาษาไทย ๑๑ ปี (ซ่งึ ไม่น้อยกว่า ๕ ปตี ามเกณฑ์ที่กำหนด) มีใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครูตาม
พระราชบญั ญตั สิ ภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ เลขท่ี ๕๙๓๐๓๐๗๐๓๙๘๕๔๒ มี
ความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้เรียน สง่ เสรมิ การเรียนรแู้ ละประพฤติตนดว้ ยการครองตน ครองคน ครองงาน เปน็
แบบอย่างทด่ี แี ละเป็นท่ียอมรับของเพ่ือนร่วมงาน ดงั นี้ ๑) ข้าพเจ้าเป็นผทู้ ่ีมกี ารครองตนท่ีดี กล่าวคือ
ขา้ พเจา้ เป็นผู้ทมี่ ีคุณธรรมจริยธรรมท่ีพึงประสงค์ ยึดถือแนวปฏบิ ัติในจรรยาบรรณครู รักและเมตตาศิษย์ ให้
ความเอาใจใสช่ ่วยเหลือสง่ เสรมิ และสนับสนุนเพ่ือความก้าวหนา้ ของศิษย์อยา่ งเท่าเทยี มและสม่ำเสมอ ๒)
ขา้ พเจา้ เป็นผู้มกี ารครองคนที่ดี กล่าวคือ ข้าพเจา้ เปน็ ผู้ที่มบี ุคลิกภาพดี มมี นษุ ยสัมพันธด์ ี มีสมั พันธภาพใน
การทำงานสามารถทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืนได้ดี เปน็ ทยี่ อมรับ รักใคร่ของศิษย์ และผู้รว่ มงาน ๓) ข้าพเจ้าเปน็ ผมู้ ี
การครองงานที่ดี กลา่ วคอื ข้าพเจ้าเปน็ ผ้ทู ี่มีความรับผดิ ชอบ มงุ่ ม่นั ตั้งใจทำงานตามภารกจิ ท่ไี ด้รับมอบหมาย
อยา่ งสร้างสรรค์ จนเกิดความสำเรจ็
-๘-
ความรคู้ วามสามารถพิเศษ
ขา้ พเจา้ มคี วามรู้ มปี ระสบการณ์การการสอน และมคี วามสามารถในการส่อื สาร และถา่ ยทอด
ความรู้ให้กับผเู้ รียนได้ผลเปน็ อย่างดีเสมอมา ดงั นี้
๑) ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย ข้าพเจา้ ออกแบบการสอน
และจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ไดแ้ ก่ จดั การ
เรียนรอู้ ย่างมีความสุขแบบ (MEEPOH Model), จัดการเรยี นรดู้ ว้ ยการลงมือปฏบิ ัติ
แบบ (Active Learning), จดั การเรียนรจู้ ากสง่ิ ทสี่ นใจแบบ (Project-Based
Learning) และจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning) ใหส้ อดคลอ้ ง
และเทา่ ทนั กบั ยุคสมัย สง่ ผลให้ได้รับรางวลั ชนะเลศิ เหรียญทอง ครูผฝู้ ึกสอน
โครงงานภาษาไทย ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ประจำปี
การศกึ ษา ๒๕๕๙-๒๕๖๒ รางวัล “ครดู ีเดน่ ” ด้านจดั การเรยี นการสอนท่ีมีความ
หลากหลาย โดย Nation TV ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ และรางวลั “ครูดเี ดน่ ”
ด้านการนำเทคโนโลยีและนวตั กรรมมาใชใ้ นการสอน ปี ๒๕๖๒
๒) ความสามารถในการใช้และการผลิตสื่อและการพฒั นานวตั กรรมในการเรยี นรู้
ขา้ พเจา้ สามารถผลิตสื่อการสอนทมี่ ีคณุ ภาพ เชน่ คู่มือชุดแบบฝึกเสริม
เพ่ิมทักษะการอ่าน , แบบทดสอบออนไลน์ หนังสอื ออนไลน์ E-BOOK
หลกั ภาษาไทย , VDO YOUTUBE ทบทวนเนอ้ื หาในบทเรียน นอกจากนี้ยัง
ใชก้ ารวิจัยในชนั้ เรียนเพือ่ แก้ปัญหาในช้ันเรียน จนสง่ ผลให้นักเรียนไดร้ ับ
ผลงานในระดบั ประเทศ ระดับภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื และระดับจงั หวัด ไดแ้ ก่ รางวลั
ชนะเลิศระดบั เหรียญทอง การประกวดโครงงาน
ภาษาไทย ในงานมหกรรมการศกึ ษาระดบั ภาค
ระดับจังหวัด และระดับประเทศ เปน็ ต้น
๓) ความสามารถทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ข้าพเจ้ามคี วามสามารถพเิ ศษในดา้ น
เทคโนโลยีสารสนเทศ ในกจิ กรรมการเตรยี มความพร้อม
นักเรยี นสู่ศตวรรษที่ ๒๑ ของโรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ โดย
นำเครือ่ งมอื ICT ที่ไดศ้ ึกษาเรียนรู้ดว้ ยตนเองและฝึกอบรม
จากหน่วยงานพัฒนาตา่ งๆ มาผลติ สอ่ื การเรยี นการสอน
สง่ ผลให้นักเรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าภาษาไทยสูงขนึ้
นอกจากนขี้ า้ พเจ้าได้สร้างหอ้ งเรยี นออนไลน์บนเว็บไซต์
Google Classroom และสร้างเพจ Facebook ขน้ึ เพื่อ
บรหิ ารจดั การเรยี นรใู้ นชนั้ เรียนและสร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้
ทางวิชาชีพ
-๙-
๔) ความสามารถดา้ นการใชท้ กั ษะในการฟงั การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทย
ขา้ พเจ้ามีความสามารถดา้ นการใช้ทกั ษะการฟัง การพูด การอา่ น
การเขยี นภาษาไทยไดใ้ นระดับดีมาก และคำนึงถึงการใชท้ ี่ถูกต้องเพ่ือ
การส่ือความหมายไดอ้ ยา่ งชดั เจน ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็
คณะกรรมการในการดำเนินโครงการพัฒนาทักษะอา่ นออก เขยี นได้
คดิ เลขเปน็ ของโรงเรียนและหน่วยงานตน้ สงั กดั และข้าพเจา้ สามารถ
ใช้ทักษะในการพูด มาใช้ในการดำเนนิ งานพธิ กี รของโรงเรียนและ
เทศบาลตามโครงการและกิจกรรมต่างๆ เป็นประจำสมำ่ เสมอ เช่น
กิจกรรมวนั สนุ ทรภู่ , กจิ กรรมวันรักษ์ไทย , กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
, กฬี าภายใน/กีฬากลุ่มเทศบาล , กจิ กรรมส่งทา้ ยปีเก่าต้อนรบั ปีใหม่ ,
กจิ กรรมงานประเพณตี ่างๆ และการอบรมสัมมนาต่างๆ เป็นต้น และ
มคี วามสามารถใช้ทกั ษะดา้ นการอา่ นบทรอ้ ยกรองและขับเสภาใน
กิจกรรมวันสนุ ทรภแู่ ละวนั รกั ษ์ไทยเป็นประจำทุกปี
๕) ความสามารถด้านการเปน็ วิทยากรอบรมทางด้านภาษาไทย ได้แก่
- เปน็ วิทยากรบรรยายพิเศษหวั ข้อ “การสร้างแรงจูงใจสอนอยา่ งไร
ใหส้ นกุ ” จัดโดย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
- เปน็ วิทยากรบรรยายพเิ ศษหวั ข้อ “ทำไม?...ต้องเรียนภาษาไทย”
จดั โดยโรงเรียนโคกสพี ิทยาสรรพ์
- เป็นวิทยากรบรรยายพเิ ศษหัวข้อ “จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ภาษาไทย
อย่างไรใหไ้ ด้ความรู้ สนุกและมีความสุขกับการเรยี น” จัดโดยศกึ ษา
คณะครศุ าสตร์ สาขาการสอนภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย
ศนู ย์ขอนแกน่
- เป็นวทิ ยากรบรรยายพเิ ศษหัวขอ้ “การกิจกรรมการเรียนรูส้ ำหรบั
นักเรียนประถมศึกษา” จดั โดยศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาการสอน
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ศนู ยข์ อนแกน่
- เปน็ วทิ ยากรบรรยายพิเศษหวั ข้อ “การกจิ กรรมการเรียนรู้สำหรบั
นกั เรียนประถม” จัดโดยศึกษาคณะครศุ าสตร์ สาขาการสอน
คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย ศูนยข์ อนแก่น
- หัวขอ้ “เทคนคิ กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยใน
ทศวรรษที่ ๒๑” จัดโดยสำนักการศกึ ษา เทศบาลนครขอนแกน่
- หัวขอ้ “การจัดกิจกรรมเปิดสมองและการผลิตสอ่ื การเรียนรู้อยา่ ง
งา่ ยและนา่ สนใจ” จดั โดยสำนกั การศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น
- หวั ข้อ “ภาษาในการส่ือสาร” จดั โดยโรงเรยี นเทศบาลสวนสนุก
- หวั ขอ้ “จัดโดยศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ๙ จ.ขอนแก่น
- หวั ข้อ “การเรียนรู้ในทศวรรษ 21” จัดโดยเทศบาลนครขอนแกน่
-๑๐-
สรุป ขา้ พเจ้าเปน็ ผู้ทมี่ ีความสามารถพิเศษ ดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี ๑) มคี วามสามารถในการจัด
กิจกรรมการเรียนรทู้ ่หี ลากหลาย ๒) มีความสามารถในการใชแ้ ละการผลิตสือ่ และการพัฒนานวตั กรรมใน
การเรยี นรู้ ๓) มีความสามารถทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๔) มคี วามสามารถดา้ นการใช้ทักษะในการฟงั
การพดู การอา่ น การเขยี นภาษาไทย ๕) มีความสามารถด้านการเปน็ วิทยากรอบรมทางด้านภาษาไทย
อุดมการณใ์ นการเปน็ ครูท่ดี ี
ขา้ พเจ้าได้น้อมนำพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี ๙ ทีไ่ ดพ้ ระราชทาน
แก่คณะครู ซงึ่ มแี นวคิดและคำสอนที่เป็นประโยชนม์ ากมายหลายประการ นำมาสังเคราะหเ์ ปน็ แนวทางการ
ปฏิบตั ิเรอ่ื ยมา ทำให้ขา้ พเจา้ มอี ดุ มการณ์ทแี่ น่วแน่ในการเป็นครูภาษาไทยทดี่ แี ละมปี ระสิทธิภาพ สามารถ
สร้างคณุ ประโยชน์ให้สงั คมและประเทศชาตไิ ด้ ประกอบด้วย ๓ ประการ คอื “คณุ ลกั ษณะดี มหี ลักการ
และมีจิตวิญญาณความเป็นครู” ขา้ พเจา้ จะขออธบิ ายรายละเอยี ดโดยแยกเป็นทีละประเด็นๆ ดังน้ี
ประการที่ ๑ “คณุ ลกั ษณะดี”
ขา้ พเจ้าเปน็ ผู้ที่มคี ุณลักษณะดี ๓ ประการ คือ มปี ัญญา มีความดี มีความสามารถ ดงั น้ี
๑. มปี ัญญา คือ ขา้ พเจ้ามีความรทู้ ด่ี ปี ระกอบด้วยหลักวิชาอันถกู ต้อง ท่ีแน่นแฟน้ กระ
จา่ งแจง้ ในใจ รวมทั้งความฉลาดทีจ่ ะพิจารณาเร่ืองต่าง ๆ ตลอดจนกจิ ท่ีจะทำ คำทีจ่ ะพูดทกุ อย่างไดโ้ ดย
ถกู ต้อง ดว้ ยเหตุผล ซงึ่ ตัวข้าพเจา้ เองกำลังศกึ ษาต่อในระดับทีส่ ูงขึ้น เพ่ือเพิ่มพูนความรู้ สรา้ งเสริมปัญญา
และพัฒนาตนเองตลอดเวลาอย่างไมห่ ยุดยัง้ เพื่อนำความรู้มาพฒั นาผเู้ รยี น สงั คม และประเทศชาติสบื ไป
๒. มคี วามดี คอื ข้าพเจา้ มีความสุจริตทงั้ กาย วาจาและใจ มีความเมตตากรุณา เห็นอก
เหน็ ใจและปรารถนาดีตอ่ ผู้อนื่ โดยเสมอหน้า โดยข้าพเจา้ ปฏบิ ัติงานด้วยความสุจริต พดู จาไพเราะไม่พูดคำ
หยาบและจริงใจ และมคี วามเมตตาเห็นอกเห็นใจเพ่อื นร่วมงานจนเปน็ ทร่ี กั ใคร่และไว้วางใจสำหรับคณะ
ผบู้ รหิ ารและเพ่ือนรว่ มงาน
๓. มีความสามารถ คือ ข้าพเจา้ เปน็ ผู้ที่สามารถเผ่ือแผแ่ ละถา่ ยทอดความรคู้ วามดีของ
ตนเองไปยงั ผ้อู ่นื อย่างได้ผล โดยการทำหนา้ ทเ่ี ป็นพธิ ีกรในการนำเสนอผลงานวชิ าการต่างๆ และยงั ไดร้ บั เชญิ
เป็นวทิ ยากรในการบรรยายตามโอกาสตา่ งๆ เพื่อถา่ ยทอดองค์ความรอู้ ยู่อย่างเปน็ ประจำสมำ่ เสมอ
-๑๑-
ประการท่ี ๒ “มีหลกั การ”
ขา้ พเจา้ เป็นผู้ทมี่ หี ลักการทจี่ ะยดึ ไว้ประจำใจทกุ ขณะทีป่ ระกอบภารกิจการงาน มี ๕ ประการ คือ
“เตม็ รู้ เตม็ ใจ เตม็ เวลา เต็มคน เต็มพลัง” ดงั นี้
๑. เต็มรู้ คือ ข้าพเจ้ามีความรู้บรบิ ูรณ์ ดว้ ยความรู้ ๓ ประการ ไดแ้ ก่
๑. ความร้ดู า้ นวิชาการและวิชาชพี ข้าพเจา้ หม่นั แสวงหาความรทู้ เ่ี ปน็ ประโยชน์
และเหมาะสมใหผ้ เู้ รยี น ไดเ้ รียนรู้อย่างครบถ้วนเหมาะสมตามระดับความรูน้ ้นั
๒. ความรูท้ างโลก นอกเหนือจากการศึกษาค้นควา้ ตำราวชิ าการแลว้ ข้าพเจ้า
ยังไดแ้ สวงหาความรรู้ อบตวั ด้านอ่ืน ๆ ให้บรบิ รู ณ์โดยเฉพาะความเป็นไปของระเบยี บ ประเพณี สังคม
วัฒนธรรมอย่างบริบรู ณ์
๓. ความรเู้ ร่ืองธรรมะ ขา้ พเจ้ามีความรู้ด้านธรรมะทเ่ี ป็นประโยชน์ สามารถ
หยิบยกเรอื่ งธรรมะมาเปน็ อทุ าหรณ์ สำหรบั สัง่ สอนศษิ ย์ได้ เช่น อบรมส่งั สอนแนวทางการปฏบิ ัติให้ศิษย์ได้
ประสบผลสำเร็จดา้ นการศึกษาเล่าเรียน ก็จะยกตวั อย่างหัวข้อธรรมะอย่าง อธิบาท ๔ คือ ๑) ให้พอใจใน
การศกึ ษา รกั และสนใจในวิชาทตี่ นเรียน ๒) ให้มีความเพียรท่จี ะเรยี นไม่ย่อท้อ ๓) ให้เอาใจใส่ในบทเรยี น
การบา้ น รายงาน ๔) ให้หมนั่ ทบทวนอยู่เสมอ เป็นต้น
๒. เต็มใจ คือ ขา้ พเจ้ามีใจที่เป็นครู ดงั พระพทุ ธศาสนากล่าวว่า“ใจนนั้ และเปน็ ใหญ่ ทุก
ส่งิ ทุกอย่างเกิดจากใจทัง้ นัน้ ” คนจะเปน็ ครูทีม่ ีอดุ มการณ์ต้องสรา้ งใจทีเ่ ต็มบริบรู ณด์ ้วยการมีใจเปน็ ครู ดงั น้ัน
ขา้ พเจ้าจึงมหม่นั สรา้ งใจใหเ้ ต็มและบรบิ รู ณ์อยู่เสมอ มี ๒ ประการ ไดแ้ ก่
๑. ใจครู ข้าพเจ้าทำใจใหเ้ ตม็ บรบิ รู ณต์ ้องถึงพร้อมด้วย ๒ องคป์ ระกอบ คือ
๑) รกั อาชีพ ข้าพเจา้ มีทัศนคตทิ ่ีดตี ่ออาชีพ เหน็ ว่าอาชีพครมู ีเกียรติ มี
กุศล ได้ความภมู ิใจ แสวงหาวธิ ีสอนทีด่ เี พ่ือศิษย์
๒) รักศิษย์ ขา้ พเจา้ มใี จคดิ อยากให้ศษิ ย์ทกุ คนมคี วามสุข ได้ความร้ทู ักษะ
และประสบการณ์ สามารถนำความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในอนาคตได้และเสยี สละเพอื่ ศษิ ย์ได้
๒. ใจสงู ข้าพเจา้ พยายามทำให้ใจสูงสง่ มจี ติ ใจทด่ี ีงามอยู่เสมอ
๓. เตม็ เวลา คอื ขา้ พเจ้าเปน็ ผู้ทีท่ ำงานเต็มเวลา โดยให้ความสำคัญกับการรบั ผดิ ชอบ
การทุม่ เท เพื่อการสอนข้าพเจ้าใช้ชวี ติ ครูอยา่ งเต็มเวลาทั้ง ๓ สว่ น ไดแ้ ก่
๑. งานสอน ข้าพเจา้ ใช้เวลาในการเตรยี มการสอนอยา่ งเตม็ ท่ี วางแผนการสอน
ค้นควา้ หาวธิ กี ารท่ีจะสอนศิษย์ในรูปแบบตา่ ง ๆ
๒. งานครู นอกเหนือไปจากการสอน ข้าพเจา้ ใหเ้ วลากับงานธุรการงานบริหาร
บริการและงานทจ่ี ะทำใหส้ ถาบนั ก้าวหนา้
๓. งานนกั ศกึ ษา ข้าพเจา้ ให้เวลาใหก้ ารอบรม แนะนำส่งั สอนศิษยเ์ มอื่ ศิษย์
ตอ้ งการคำแนะนำหรือตอ้ งการความช่วยเหลือ
-๑๒-
๔. เต็มคน คอื ขา้ พเจา้ พฒั นาตนเองให้มคี วามเปน็ มนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์ ใหเ้ ป็นแม่พิมพ์หรือ
พอ่ พมิ พ์ทดี่ ีทส่ี ุด เพราะมีคนในสงั คมคาดหวังไว้สงู ขา้ พเจ้าจงึ จำเป็นท่ีจะต้องมคี วามบรบิ รู ณ์ในตัวเอง และ
เปน็ มนษุ ย์ท้งั ร่างกาย จติ ใจ อารมณส์ งั คม สำรวมกาย วาจา ใจ ให้มคี วามม่นั คงเปน็ แบบอยา่ งที่ดี ปฏบิ ัติงาน
ถูกต้อง หมั่นคดิ พิจารณาตนเองเพื่อหาทางแกไ้ ขปรับปรุงตนเองให้มีความบริบูรณ์อยู่เสมอ
๕. เต็มพลงั คือ ข้าพเจา้ ทุ่มเทพลงั สตปิ ัญญาและความสามารถ ใชค้ วามสามารถอย่าง
เตม็ ทเ่ี พื่อการสอนวชิ าการศิษยแ์ ละอุทศิ ตนอยา่ งเต็มกำลัง เพื่อผลงานทสี่ มบูรณ์น้นั ก็คือการปัน้ ศษิ ย์ให้มี
ความรู้ ความประพฤติดีงาม ใหเ้ ติบโตเปน็ ท่ีพึงประสงค์ของสังคมได้
ประการที่ ๓ “มีจติ วิญญาณความเป็นครู”
ขา้ พเจา้ เป็นผู้ท่มี ีจติ วญิ ญาณหรอื จิตสำนึกความเปน็ ครู โดยประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามตนตามกรอบของ
จรยิ ธรรมทางสังคมของความเปน็ ครทู เ่ี ราเรียกกนั วา่ “จรรยาบรรณครู” ซง่ึ ประกอบด้วย ๙ ประการ ดังนี้
๑. ขา้ พเจ้ารกั และเมตตาศิษย์ โดยใหค้ วามเอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ สง่ เสริมอยูเ่ สมอ
๒. ขา้ พเจ้าได้อบรมสง่ั สอน ฝกึ ฝน สร้างเสริมความรู้ทักษะและนสิ ัยที่ถกู ต้องดีงามให้แก่ศษิ ย์
อย่างเต็มกำลังและความสามารถ
๓. ขา้ พเจา้ ประพฤติ ปฏิบัตติ นเปน็ แบบอย่างทด่ี แี ก่ศิษย์ท้ังทางกาย วาจา และใจ
๔. ข้าพเจา้ ไมเ่ คยกระทำตนเปน็ ปฏิปกั ษต์ อ่ ความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์
และสงั คมของศษิ ย์
๕. ข้าพเจา้ ไมแ่ สวงหาประโยชน์อนั เป็นอามสิ สินจา้ งจากศิษย์
๖. ขา้ พเจา้ มกี ารพฒั นาตนเองท้ังในดา้ นวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวสิ ยั ทัศน์อย่เู สมอ
๗. ข้าพเจ้ารักและศรทั ธาในวชิ าชีพครูและเป็นสมาชกิ ท่ดี ีขององค์กรวชิ าชพี ครู
๘. ข้าพเจา้ ให้ความชว่ ยเหลอื เก้ือกูลครแู ละชุมชนในทางสร้างสรรค์
๙. ข้าพเจา้ ประพฤติ ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้นำในการอนรุ กั ษ์พฒั นาภูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทย
สรปุ ข้าพเจ้ามีอดุ มการณท์ ี่แนว่ แนใ่ นการเป็นครูภาษาไทยทด่ี ีและมีประสิทธภิ าพ สามารถ
สร้างคุณประโยชนใ์ หส้ ังคมและประเทศชาติได้ โดยยึดหลกั การ ๓ ประเดน็ คือ “คุณลกั ษณะดี มหี ลักการ
มจี ติ วญิ ญาณความเปน็ คร”ู กล่าวคอื เปน็ ผทู้ ีม่ ี “คณุ ลกั ษณทด่ี ี” ประกอบดว้ ย มปี ญั ญา มีความดี
มคี วามสามารถ เปน็ ผู้ท่ีมี “หลกั การ” ประกอบดว้ ย เต็มรู้ เต็มใจ เต็มเวลา เต็มคน เตม็ พลัง และเป็นผ้ทู ่ีมี
“จติ วิญญาณความเป็นครู” โดยประพฤติปฏิบัตติ ามตนตาม “จรรยาบรรณคร”ู
-๑๓-
หลักการและแนวคิดในการทำงาน
ขา้ พเจา้ ได้น้อมนำพระบรมราโชวาทหรือพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหา
ภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร มาใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และการดำรงชีวิตอย่างมีความสขุ
ประกอบดว้ ยคำสอน ๒ ประการ คอื พระบรมราโชวาท“เร่อื งการทำงาน” และ“เรื่องความพอเพียง” ดังนี้
๑. พระบรมราโชวาท เรอื่ งการทำงาน ความว่า “...เมื่อมีโอกาสและมงี านทำ ควรเต็มใจทำโดยไม่
จำเปน็ ต้องตง้ั ขอ้ แม้ หรือเงือ่ นไขอนั ใด ไวใ้ หเ้ ป็นเครื่องกีดขวาง คนที่ทำงานได้จรงิ ๆ น้นั ไม่ว่าจะจับงาน
ส่งิ ใด ย่อมทำไดเ้ สมอ ถา้ ย่ิงมีความเอาใจใส่ มีความขยัน และความซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ก็ย่ิงจะช่วยใหป้ ระสบ
ผลสำเรจ็ ในงานท่ีทำสงู ข้ึน...”
พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั ร วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศกึ ษา ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐
ข้าพเจา้ น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ ไดน้ ้อมนำพระบรมราโชวาท“เรือ่ งการทำงาน”แนวปฏิบตั ิ
อนั ทรงคุณคา่ มาปรบั ใช้ในการทำงานและการดำรงชีวติ ประจำวัน ตามรอยคำสอนของพ่อ ดงั นี้
๑. ทำงานโดยไมม่ ีข้อแม้ เม่ือข้าพเจ้าไดร้ บั มอบหมายงานใดๆ มา ข้าพเจ้าไดพ้ ยายามและ
มุ่งมั่นทำงานท่ีได้รบั มอบหมายนั้นให้สำเรจ็ ทกุ งาน แม้จะเปน็ เพียงงานเล็กน้อย เป็นงานท่ีไม่สร้างช่ือ หรอื
งานทไ่ี ม่ถนัด ขา้ พเจ้าถือเป็นโอกาสดที ี่ได้ทำเพราะนนั่ คือการได้ส่ังสมประสบการณ์และศกั ยภาพในการ
ทำงานของตนเองมากยิ่งขึน้ เชน่ งานธุระการและงานวิชาการในสายชัน้ , รายงานสรุปผลการดำเนนิ กิจกรรม
และโครงการต่างๆ ฯลฯ
๒. ทำทุกงานให้มีประสิทธิภาพ ข้าพเจา้ ตระหนักดวี า่ งานทกุ งานที่มาถึงมือขา้ พเจ้า
ข้าพเจา้ จะมงุ่ มนั่ ทำด้วยความต้งั ใจจรงิ และมปี ระสิทธภิ าพทุกช้นิ งาน ไม่ว่าจะงานเล็กงานใหญ่ ดงั นน้ั งานจงึ
ออกมาดีและมีประสิทธิภาพทุกช้นิ ข้าพเจ้ามีความภูมิใจในงานทที่ ำทุกชนิ้ เพราะว่าได้ทำอยา่ งเต็มท่ี เตม็ กำลงั
และเตม็ ความสามารถแลว้
๓. เอาใจใส่กบั ทกุ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย งานทข่ี ้าพเจ้าไดร้ บั มอบหมายทุกงาน ขา้ พเจา้
ไดใ้ หค้ วามสนใจและเอาใจใส่ทจ่ี ะทำมนั อยา่ งเตม็ ท่ี ตดิ ตามงานจนงานสำเรจ็ ตรวจทานและตรวจสอบทุก
ครง้ั อยา่ งรอบคอบ เพ่ือลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขนึ้ สง่ ผลให้ได้รบั ความไวว้ างใจในการทำงานอนื่ ๆ จาก
คณะผูบ้ ริหารและเพอื่ นร่วมงาน เชน่ งานพธิ ีกร , งานวทิ ยากร , งานธรุ การ , งานวชิ าการ , กจิ กรรมและ
โครงการตา่ งๆ ฯลฯ
๔. มคี วามขยัน จากคำกลา่ วท่วี ่า“งานหนักไม่เคยฆ่าคน” ขา้ พเจ้าไดย้ ึดเป็นแนวคิด
นำมาใชใ้ นการทำงานเพราะข้าพเจ้าเชอ่ื วา่ “งานหนักไมเ่ คยทำรา้ ยใคร แต่กลบั ช่วยสรา้ งคนใหเ้ ป็นยอดคน”
เพราะหลายคนทปี่ ระสบความสำเรจ็ ในชีวติ น้นั ส่วนใหญม่ พี ื้นฐานมาจาก “ความขยนั ” ดังน้ันข้าพเจ้าจึงให้
ความสำคญั กบั ความขยัน มีความขยันในการทำงานและสร้างประสบการณใ์ ห้กบั ตนเองอยา่ งไม่หยดุ น่ิง
-๑๔-
๕. ซื่อสัตยส์ จุ รติ ขอ้ นี้สำคัญท่ีทำให้ขา้ พเจ้าเปน็ คนดี และเจริญกา้ วหน้าในหน้าที่การงาน
จวบจนปัจจุบัน เพราะนอกจากความขยัน ความเก่งในการทำงานแลว้ การมจี ติ ใจท่ดี ีก็สำคญั ตอ่ องค์กรด้วย
เชน่ กัน ดงั นั้นขา้ พเจา้ จึงให้ความสำคญั และยึดถือความซื่อสตั ยส์ ุจรติ ในการทำงานมาเป็นอนั ดับหน่ึงปจั จบุ ัน
การหาคนเก่งมาทำงานหาได้ง่ายแต่หาคนที่ซื่อสัตยส์ ุจรติ ต่อองค์กรอย่างแท้จรงิ หายากกว่า ด้วยการทำงาน
ภายใต้ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ ของข้าพเจ้าท่ยี ดึ ถือปฏิบัติมาโดยตลอด ส่งผลให้เป็นที่ไว้วางในของคณะผู้บริหาร
และเพื่อนร่วมงาน พร้อมและกล้าพอที่จะมอบหมายงานที่สำคัญขององค์กรให้กบั ขา้ พเจ้าเป็นประจำ
สม่ำเสมอ
สรปุ
จากการท่ขี า้ พเจา้ ได้น้อมนำพระบรมราโชวาท “เรอ่ื งการทำงาน”
มาประยุกต์ใชใ้ นการทำงานและการดำรงชวี ิตดงั รายละเอียดทไี่ ด้กลา่ วมาในข้างต้น
น้ัน สง่ ผลให้ไดร้ บั รางวัล “ครูหัวใจทองคำ” ครผู ูท้ ม่ี ีความรับผดิ ชอบ ขยนั ซอ่ื สตั ย์
อดทด และอุทิศตนด้วยความเสียสละทุม่ เทให้กับการทำงาน มอบให้สำนกั
การศกึ ษาเทศบาลนครขอนแก่น
และไดร้ ับรางวลั “ครดู ีเดน่ ในการพฒั นาตนเอง” สามารถเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีและ
เป็นที่ยอมรบั จากบคุ คลอื่น ๆ มอบใหโ้ ดยโรงเรียนเทศบาลสวนสนกุ
๒. พระบรมราโชวาท “เรือ่ งความพอเพียง” ความวา่ “…พอเพียงน้ี อาจจะมีมาก…อาจจะมขี อง
หรูหรากไ็ ด้ แตว่ า่ ตอ้ งไมไ่ ปเบียดเบยี นคนอืน่ ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็
พอเพียง ปฏิบัตติ นก็พอเพียง…”
พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ทเี่ ข้าเฝา้ ฯ ถวายชัยมงคล เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสติ คาลยั สวนจติ รลดารโหฐานพระราชวังดุสิต วันศกุ ร์ ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑)
ขา้ พเจา้ ได้น้อมนำคำสอนของพอ่ ตามแนว “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” มาปรับใชเ้ ปน็ แนวทางใน
การวางแผนบรหิ ารจดั การตนเองดา้ นการเงิน การทำงานและอนื่ ๆ เพือ่ ความมนั่ คงและยั่งยืนในการใชช้ วี ิต
อยา่ งมีความสุขได้ ดงั น้ี
๑. ความพอประมาณ กล่าวคอื ขา้ พเจา้ มีความพอประมาณในการใช้จา่ ยเงินอย่างประหยัด
ตามฐานะหรือรายได้ท่ีเรามโี ดยไมใ่ ชจ้ ่ายเกนิ ตัว เพื่อป้องกนั การเกิดหน้สี ินท่จี ะตามมาในอนาคต ขา้ พเจ้ามี
บญั ชีธนาคารเพื่อทำการฝากประจำทกุ เดอื น เพ่อื ควบคุมรายการใช้จ่ายให้เหมาะสม และพยายามตัดลด
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ไมจ่ ำเป็นออกไป และไดส้ ่งเสริมใหน้ ักเรียนไดท้ ำการฝากเงินเป็นรายสัปดาหต์ าม
ความสามารถ ในโครงการออมทรัพยข์ องธนาคารโรงเรยี นอย่างเปน็ ประจำและสมำ่ เสมอ
๒. ความมเี หตุผล กลา่ วคือ ข้าพเจ้าเปน็ ผทู้ ี่ใชจ้ า่ ยเงินอย่างมเี หตผุ ล โดยในการใช้จา่ ยเงนิ
แต่ละคร้ังน้นั เราควรจะต้องไตรต่ รองให้ดวี า่ มเี หตผุ ลที่ดีพอม้ัยทเ่ี ราจะใช้เงินน้ัน โดยตอ้ งแยกให้ออกวา่ ส่งิ ของที่
เราจะซอ้ื นั้นอะไรคอื ความจำเป็น หรอื ความอยากไดม้ ากกว่ากนั
-๑๕-
๓. มีภูมคิ ้มุ กันในตัวทด่ี ี กล่าวคือ ข้าพเจา้ เป็นผูท้ ่ีมภี มู ิคุ้มกนั ในตวั ทดี่ ีโดยตัง้ อยู่บนพ้นื ฐาน
ความไมป่ ระมาทในการใช้ชีวติ รจู้ กั วางแผนบริหารจดั การด้านการเงินท่ีดี รวมถงึ การจดั การความเส่ยี ง
โดยในการวางแผนการเงินของขา้ พเจ้าน้นั จะคำนึงถึงเงอื่ นไขของการมีความร้แู ละมคี ุณธรรมมาควบคู่
กนั ด้วยทกุ คร้ัง กลา่ วคือ ข้าพเจา้ ได้ทำการศกึ ษาคน้ ควา้ หาความร้เู พ่ิมเตมิ ทั้งในเรื่องการวางแผนการเงนิ และ
การลงทุนเพอื่ ให้เรามคี วามรู้อยา่ งดพี อเป็นประจำสม่ำเสมอ ตลอดจนการมีความรู้ที่จะหารายได้เพ่ิมขน้ึ ด้วย
ซ่งึ ความรู้ดงั กล่าวจะต้องคำนึงถงึ คุณธรรมควบคู่ไปด้วยเสมอ โดยไมโ่ กงและไมเ่ อาเปรยี บผ้อู นื่ ซง่ึ ข้าพเจา้ เหน็
แลว้ วา่ การที่ขา้ พเจา้ ไดน้ ้อมนำคำสอนของพ่อตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อย่หู ัว รัชกาลที่ ๙ มาปรับใชใ้ นการวางแผนการเงนิ แลว้ น้นั ทำให้ขา้ พเจ้าบริหารการเงินไดอ้ ย่างพอเพยี ง
และสามารถดำเนินชีวติ ได้อย่างมีความสขุ ตลอดมา
สรปุ
จากการท่ีขา้ พเจ้าไดน้ ้อมนำพระบรมราโชวาท “เร่ืองความพอเพียง” มาประยุกตใ์ ช้ในการทำงาน
และการดำรงชีวติ ดงั รายละเอียดที่ได้กลา่ วมาในข้างตน้ นนั้ ส่งผลให้ขา้ พเจ้าเป็นผูท้ ่ีดำเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งภายใต้หลักความพอเพยี ง ซึ่งประกอบดว้ ย หลกั พอประมาณ มีเหตุผลและการมี
ภูมิคมุ้ กนั ตลอดจนนำคุณธรรมมาใชค้ วบคู่ในการดำเนินชวี ิตตามฐานะ รู้จักใช้เงนิ อย่างประหยดั และคุ้มค่า
สามารถบรหิ ารการเงนิ และมีการฝากออมทรพั ยจ์ นมเี งนิ เก็บมากพอที่จะใช้จา่ ยในครอบครัว เลย้ี งดบู ิดามารดา
และเปน็ ทุนการศึกษาให้กบั ตนเองได้โดยไมเ่ บียนเบียนพ่อแม่ ไมเ่ ป็นผูม้ ีหนส้ี นิ ลน้ พ้นตวั รวมถึงการนำ
หลักธรรมทน่ี ำมาซึ่งความสงบสุขมาใช้ในการดำเนินชวี ติ เข้าวดั ปฏิบตั ิธรรมฝกึ จติ และสมาธิอยา่ งสมำ่ เสมอ
อีกทั้งยังส่งผลให้โรงเรียนได้รับรางวัล “สถานศึกษาพอเพยี ง” อกี ดว้ ย
การพฒั นาตนเอง
E-BOOK รวมเกยี รติบตั รการอบรมและพฒั นาตนเอง
-๑๖-
ตอนที่ ๒ ผลงานทุกประเภท
ทีต่ อ้ งการใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณา
-๑๗-
ตอนท่ี ๒ ผลงานทุกประเภทท่ตี ้องการให้คณะกรรมการพิจารณา
๒.๑ ด้านการจดั การเรยี นรู้
ขา้ พเจา้ ได้นำรปู แบบวธิ กี ารสอน MEEPOH Model มาใช้ในการเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
มอี งคป์ ระกอบสำคัญครบถ้วนตามหลกั สตู รและเหมาะกับบรบิ ทของสถานศึกษา เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ฝกึ ฝน
จนเกิดทกั ษะการฟงั การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาไทยได้อย่างดี เหมาะสมกบั ผูเ้ รยี นแต่ละระดับ สอน
โดยผ่านเกม สื่อ หรอื กจิ กรรมต่าง ๆ ที่สร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ภาษาไทย สร้างแรงจงู ใจใหผ้ ้เู รียนมเี จตคติ
ทดี่ เี ห็นความสำคัญของการเรียนและการนำภาษาไทยไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั อยา่ ถูกต้องและมีการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรียนร้ทู ห่ี ลากหลายวธิ ีเพอื่ ใหไ้ ด้ผลท่ีนา่ เช่อื ถอื และนำผลการประเมินการเรียนรู้ของผูเ้ รียนมา
ดำเนนิ การปรบั ปรุง แก้ไข สง่ เสริมผู้เรยี นตามศักยภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความสนใจในการเรยี นรู้ของ
นกั เรยี นและสง่ เสริมทกั ษะทางด้านภาษาไทยใหค้ รบทั้ง ๕ สาระหลัก ไดแ้ ก่ สาระที่ ๑ การอ่าน สาระท่ี ๒
การเขยี น สาระท่ี ๓ การฟัง/การดู/การพูด สาระท่ี ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม ซึง่ มีรายละเอียด ดังน้ี
๑. กจิ กรรม “หนังสือสามมิต”ิ เพือ่ สง่ เสริมทกั ษะการเรยี นร้ภู าษาไทย
สาระท่ี ๑ การอ่านและสาระท่ี ๒ การเขียน โดยกำหนดบทเรียนให้นักเรยี น
โดยแบ่งกลุ่มให้นักเรยี นศึกษาบทอา่ นเสรมิ ในบทเรยี น แลว้ ช่วยกันสรปุ
สาระสำคัญของเร่ือง พร้อมกับนำมาบรู ณาการความรู้ด้านศิลปะ และงาน
ประดษิ ฐใ์ นการออกแบบตกแต่งทำเปน็ หนังสือสามมติ ิที่สวยงาม จากนั้นก็เปดิ
โอกาสให้นักเรียนไดน้ ำเสนอผลงานแลกเปลย่ี นความรู้กันภายในชน้ั เรียน
จากการดำเนินกิจกรรมนี้สง่ ผลใหผ้ ูเ้ รยี น สามารถอา่ นและสรุปใจความ
สำคญั ของเรอื่ งไดด้ ีย่ิงขึน้ พร้อมกับมพี ัฒนาการดา้ นการเขียนด้วยลายมอื ท่ี
บรรจง สะอาดสวยงามและเป็นระเบียบมากขนึ้ อีกท้ังยังมที ักษะการทำงาน
เป็นทมี และกลา้ แสดงออกในการนำเสนอผลงานได้มากข้นึ
๒. กจิ กรรม “คดิ ถึง จึงส่งหา” เพือ่ สง่ เสริมทักษะการเรยี นรภู้ าษาไทย
สาระที่ ๒ การเขยี น โดยกำหนดตวั อยา่ งการเขียนจดหมายถึงเพ่ือนมาให้
นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรยี นรว่ มกนั วิเคราะห์ว่าหลักการเขียนจดหมายถงึ เพอื่ น
มอี ย่างไรบ้าง ควรใชค้ ำขึ้นตน้ และคำลงทา้ ยวา่ อย่างไร หากเราจะเขยี นจด
หมายถงึ เพอื่ นเราจะเขียนให้ถูกตอ้ งได้อยา่ งไร จากนั้นใหน้ ักเรยี นได้ลองฝึก
เขียนจดหมายถึงเพื่อนพร้อมกบั พานักเรียนนำจดหมายไปหย่อนตู้ไปรษณียห์ น้า
โรงเรียนในช่วั โมงถัดไป
จากการดำเนนิ กจิ กรรมนสี้ ง่ ผลให้ผเู้ รียน สามารถเขียนจดหมายด้วย
ลายมอื ทบ่ี รรจง สะอาด สวยงามและเป็นระเบยี บมากขน้ึ และสามารถส่ง
จดหมายแบบสมยั เก่าผ่านทางต้ไู ปรษณยี ์ได้ถูกต้อง
-๑๘-
๓. กิจกรรม “นักพูดรนุ่ จวิ๋ ” เพ่ือสง่ เสริมทักษะการเรยี นรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู ข้าพเจ้าได้นำคลิปตัวอย่างการพูดสนุ ทร
พจน์ภาษาไทย และการพูดในโอกาสตา่ งๆ มาให้นกั เรียนดู จากนนั้ ให้นกั เรียน
ร่วมกันวิเคราะหใ์ นฐานะทต่ี นเองเป็นผดู้ แู ละผ้ฟู งั ว่า ทักษะดา้ นการพูดของแต่
ละคนเปน็ อย่างไร อะไรคือจุดเดน่ และอะไรคือจุดที่ควรปรบั ปรุง และขา้ พเจ้า
กใ็ ชค้ ำถามนำต่อไปอีกว่า หากเราต้องทำหนา้ ท่ีเป็นผ้พู ูด เราจำนำทกั ษะ
ใดบา้ งมาปรับใชเ้ พ่ือให้การพูดให้ดไี ด้อย่างไร จากน้นั ก็เปิดโอกาสให้นกั เรยี น
ได้เตรยี ม เนื้อหาและฝึกซอ้ มให้พร้อมในการพูด ก่อนออกนำเสนอหน้าช้ัน
เรียนในช่วั โมงถัดไป
จากการดำเนินกิจกรรมนส้ี ่งผลให้นกั เรียน มคี วามกลา้ แสดงออกในการ
พูดหน้าชน้ั เรียนมากข้ึนและสง่ ผลใหน้ ักเรยี นมีพัฒนาการทักษะดา้ นการพูดดี
ขึน้ ตามลำดบั จนไดร้ บั มอบหมายเปน็ พิธกี รในการจดั กจิ กรรมวนั สุนทรภู่ วัน
รักษ์ไทย วนั อำลาฟ้าเหลอื เป็นตน้ และได้รบั รางวลั ชนะเลิศการแขง่ ขันกลา่ ว
สุนทรพจน์ในกิจกรรมวนั รกั ษ์ไทยโรงเรยี นเทศบาลสวนสนุก
๔. กิจกรรม “นกั เลา่ นิทานตัวยง” เพ่ือสง่ เสริมทักษะการเรยี นรู้
ภาษาไทย สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด ข้าพเจ้าไดน้ ำคลิป
ตัวอยา่ งการเลา่ นิทานมาให้นกั เรยี นดู จากน้นั ให้นกั เรยี นร่วมกนั
วเิ คราะหใ์ นฐานะทีต่ นเองเป็นผูด้ ูและผ้ฟู ังวา่ ทักษะด้านการเล่านทิ าน
ของแตล่ ะคนเป็นอยา่ งไร อะไรคือจุดเด่นและอะไรคอื จุดที่ควรปรับปรงุ
และขา้ พเจ้าก็ใช้คำถามนำต่อไปอีกวา่ หากเราต้องทำหนา้ ทเ่ี ป็นผู้เลา่
นทิ าน เราจะนำทักษะใดบ้างมาปรบั ใชเ้ พ่ือให้การเล่านทิ านใหด้ ไี ด้
อย่างไร จากน้นั ใหน้ ักเรยี นไดเ้ ตรยี มนิทานและฝกึ ซ้อมให้พร้อมในการ
เลา่ นิทาน ก่อนออกนำเสนอหนา้ ช้นั เรียนในชั่วโมงถดั ไป
จากการดำเนินกิจกรรมน้ีสง่ ผลให้นกั เรียน มคี วามกล้าแสดงออกใน
การเล่านทิ านและแสดงท่าทางประกอบการเล่าอย่างเปน็ ธรรมชาติและ
สมจรงิ มากขึ้น และสง่ ผลให้นักเรยี นไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศการแขง่ ขนั เล่า
นทิ านในกจิ กรรมวนั รักษ์ไทยโรงเรยี นเทศบาลสวนสนุก และไดร้ ับรางวัล
ชนะเลิศการแขง่ ขนั เล่านิทานในงานมหกรรมหนังสอื ภาคอีสาน
(I-SAN BOOK FAIR)
-๑๙-
๕. กิจกรรม “ฝีปากกลา้ ทา้ โต้วาท”ี เพื่อสง่ เสริมการเรียนรภู้ าษาไทย
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูดรวมถึงการคิดแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า
ข้าพเจา้ ไดน้ ำคลิปตัวอยา่ งการโตว้ าทมี าให้นักเรียนดู จากนนั้ ใหน้ ักเรียน
รว่ มกันวเิ คราะหใ์ นฐานะที่ตนเองเปน็ ผดู้ ูและผฟู้ ังวา่ การโต้วาทปี ระกอบด้วย
ฝ่ายใดบ้าง และแตล่ ะฝ่ายทำหน้าท่ีอยา่ งไร รวมถึงทักษะการพูดโต้วาทีของ
ทุกฝา่ ยเป็นอย่างไร อะไรคือจุดเดน่ และอะไรคือจดุ ทคี่ วรปรับปรงุ และ
ข้าพเจา้ กใ็ ช้คำถามนำต่อไปอีกว่า หากเราต้องทำหน้าทเี่ ป็นผู้โตว้ าที เราจำนำ
ทกั ษะใดบ้างมาปรับใช้เพือ่ ให้การพดู ใหด้ ีได้อย่างไร จากนั้นให้นักเรียนจบั กล่มุ
และแบ่งฝา่ ย เลอื กญตั ติในการโต้วาที พร้อมกับเตรียมฝกึ ซ้อม ก่อนออก
นำเสนอหน้าชั้นเรยี นในช่วั โมงถดั ไป
จากการดำเนนิ กิจกรรมน้ีสง่ ผลใหน้ กั เรียน มีความกล้าแสดงออกในการ
เล่านทิ านและการแสดงท่าทางประกอบการเลา่ อยา่ งเป็นธรรมชาตแิ ละสมจริง
มากขึน้ และสง่ ผลให้นักเรียนได้รบั รางวลั ชนะเลิศการแข่งขนั โต้วาที ใน
กจิ กรรมวันรักษ์ไทยโรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ
๖. กิจกรรม “หลักภาษานา่ รู้ นำสูโ่ ครงงาน” เพอ่ื ส่งเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้
ภาษาไทย สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทยรวมถึงการพฒั นาทักษะการทำงาน
เปน็ ทีม ขา้ พเจา้ ไดน้ ำตวั อยา่ งโครงงานหน้าเดียวพร้อมภาพบรรยากาศการจัด
แสดงตลาดนำ้ โครงงานของรุ่นพีม่ าให้นักเรียนดูเพอ่ื ให้เหน็ ภาพและเกดิ แนวคดิ
ในการออกแบบและจัดทำโครงงานของตนเอง จากนั้นให้นักเรยี นแบง่ กลุ่มและ
วเิ คราะห์ปัญหา เลือกหวั ข้อปัญหาในการทำโครงงาน เขียนเค้าโครงและเสนอ
เค้าโครงงาน ลงมือปฏิบัติโครงงาน ศกึ ษารวบรวมข้อมูล วเิ คราะหส์ ังเคราะห์
และสรุปขอ้ มลู จัดทำปา้ ยนเิ ทศโครงงานและนำเสนอโครงงานโดยผ่านตลาดนัด
โครงงานตามลำดบั จากนน้ั ข้าพเจา้ ไดเ้ ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนไดศ้ ึกษาและจดั ทำ
โครงงานจนเสร็จสน้ิ ทกุ ข้ันตอน โดยขา้ พเจ้ามีบทบาทเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวก
ในการเรยี นและเปน็ ทป่ี รึกษาใหค้ ำแนะนำทุกขณะท่ีมขี ้อสงสัย
จากการดำเนินกิจกรรมนส้ี ง่ ผลใหน้ กั เรียน เกดิ ความรแู้ ละทักษะดา้ นการ
ทำโครงงานมากขึ้นสามารถทำโครงงานไดส้ ำเร็จ ตลอดจนเกดิ ทักษะดา้ นการ
ทำงานเป็นทีม มภี าวะผนู้ ำ ผู้ตามในสถานการณจ์ ริงไดด้ ียงิ่ ข้นึ มีความกลา้
แสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์ สามารถนำความรูไ้ ปต่อยอดสร้างโครงงานเพ่ือสง่ เข้า
ประกวดในงานมหกรรมการศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จนไดร้ บั รางวลั
ชนะเลศิ เหรียญทอง ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๒
-๒๐-
๗. กจิ กรรม “วรรณกรรมน่ารู้ นำสกู่ ารแสดงละคร” เพือ่ ส่งเสรมิ ทักษะการ
เรยี นรภู้ าษาไทย สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรมรวมถึงการพัฒนาทกั ษะ
การทำงานเปน็ ทมี และความกล้าแสดงออกอยา่ งสร้างสรรค์ ขา้ พเจา้ ไดน้ ำคลปิ
ตัวอยา่ งการแสดงละครเรื่องพระอภัยมณี และภาพบรรยากาศการแสดงละคร
จากรนุ่ พมี่ าใหน้ ักเรียนดู เพอื่ ใหเ้ ห็นภาพและเกิดความคดิ สร้างสรรคใ์ นการ
แสดงละครของตนเอง จากนั้นให้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ และเลือกวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมท่กี ลุ่มสนใจมา ๑ เร่อื ง พร้อมกบั สรปุ เรื่องย่อและทำเปน็ บทละคร
กำหนดตวั ละครให้ชดั เจน ทำการฝึกซ้อมบทท่ีตนเองได้รบั มอบหมายพร้อมกบั
ทำท่าทางประกอบใหส้ มจริง ลงมือฝกึ ซ้อมเขา้ ฉากตอ่ บทกันให้เป็นเรอื่ งราว
จากน้ันขา้ พเจ้าได้เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นได้ออกแบบเครอื่ งแตง่ กายของตวั ละคร
และฝกึ ซ้อมละครก่อนทำการแสดงจริงในชวั่ โมงต่อไป
จากการดำเนินกจิ กรรมนส้ี ง่ ผลให้นักเรยี นสนุกสนานและรกั ในการแสดง
ละคร กลา้ แสดงออก มที ักษะในการแสดงทา่ ทางประกอบคำพูดได้อยา่ ง
สมจรงิ สามารถแสดงละครได้จนจบบริบรู ณอ์ ย่างสร้างสรรค์ ตลอดจนเกดิ
ทักษะด้านการทำงานเป็นทมี มภี าวะผู้นำ ผ้ตู ามในสถานการณจ์ รงิ ไดด้ ียิ่งขึน้
สามารถนำความรู้ไปต่อยอดในการแสดงละครเวทีวรรณคดีวรรณกรรมได้ เชน่
การแสดงละครเวทีเรอื่ งพระอภัยมณี, เงาะปา่ , พระสุธนมโนราห์ , สนิ ไซ เพื่อ
แสดงในพธิ ีเปดิ ในงานวันสนุ ทรภูแ่ ละวันรกั ษไ์ ทยได้อยา่ งสมจรงิ และน่าสนใจ
อกี ท้ังยังใช้ความรู้และทักษะการแสดงไปใช้ในการแสดงละครวทิ ยาศาสตร์ ใน
กจิ กรรมวันวทิ ยาศาสตร์ของโรงเรียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี
-๒๑-
๒.๒ ด้านผลงานทางวิชาการ (ระดับประถมศึกษา)
๒.๒.๑ การสรา้ งนวตั กรรมในการจดั การเรียนรู้ภาษาไทย
การสอนแบบ MEEPOH Model
จากประสบการณ์ด้านการสอนวชิ าภาษาไทยที่ผา่ นมาหลายปีการศึกษา ขา้ พเจา้ ได้
ทำการศึกษาและวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาการเรยี นรู้ของนักเรียนในปัจจบุ ัน พบว่า นักเรยี นสว่ นใหญม่ คี วาม
สนใจเพยี งระยะสัน้ ๆ ถ้าได้เรียนรโู้ ดยผ่านวิธีการบรรยาย เมื่อเทียบกบั ช่ัวโมงทไ่ี ด้เรยี นรผู้ า่ นเกมหรอื กิจกรรม
อ่ืนๆ ที่มีความสนกุ สนานและไดล้ งปฏบิ ัตจิ รงิ จะทำให้นักเรียนมคี วามสนใจในระยะยาวได้เปน็ อยา่ งดี
ดว้ ยเหตุดงั กล่าวข้างต้นขา้ พเจา้ จงึ ได้ทำการศึกษาหลักการ แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกับการสรา้ ง
แรงจูงใจและการเรียนรู้อยา่ งมคี วามสขุ จากเอกสารและตำราของนักวชิ าการศึกษาหลายท่าน เพ่ือนำมา
ออกแบบการจดั การเรียนรรู้ ปู แบบใหม่ทเ่ี หมาะกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาและความต้องการของผู้เรยี นใน
ปจั จุบนั โดยมงุ่ เน้นให้นักเรียนได้เรียนรโู้ ดยผ่านเกมหรือกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ผ้เู รียนเกิดสัมฤทธิ์ผลในการ
เรยี นภาษาไทย และเรยี นร้อู ย่างมีความสุข จึงทำให้ได้มาซึ่งรปู แบบวธิ ีการสอน MEEPOH Model
ประกอบด้วย 6 ข้นั ตอน ดงั น้ี
MEEPOH Model
-๒๒-
M๑. = Motivation (ขน้ั สรา้ งแรงจูงใจ)
ความหมาย
Motivation (สรา้ งแรงจงู ใจ) เปน็ ขั้นการสร้างความสนใจในเน้ือเรอ่ื งหรือเน้ือหาที่จะสอน เพอื่ เปน็
การกระตนุ้ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดประกายความคดิ ในส่ิงท่ีจะเรียนรู้ โดยใช้วิธกี ารตา่ งๆ ตามความเหมาะสม เชน่ การ
สนทนาสถานการณจ์ รงิ ของจริง แบบจำลอง รปู ภาพ วีดิทัศน์ สอ่ื ICT ฯลฯ
ทฤษฎีทใ่ี ช้
ทฤษฎีแรงจงู ใจของมาสโลว์ (Maslow) กลา่ วว่า ความตอ้ งการของมนุษย์จะเป็นจดุ เริ่มต้นของ
กระบวนการจูงใจความต้องการตา่ งๆ เทยเ์ ลอร์ (Taylor) มคี วามเชื่อวา่ ประสิทธิภาพการทำงานจะสูงขึ้นถ้ามี
ระบบการให้ค่าตอบแทน และมอว์ (Maw) ให้ความสำคญั ของความกระตือรือร้นวา่ เป็นองค์ประกอบสำคัญ
ของการเรยี นรู้ ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละสุขภาพจิต ความต้องการพัฒนาตนก็เป็นความต้องการท่ใี ห้เกิด
แรงจงู ใจภายใน
E๒. = Enjoy learning (ขนั้ สนุกกับการเรียนรู้)
ความหมาย
Enjoy learning (สนกุ กบั การเรียนรู้) เปน็ ขนั้ ทีใ่ หน้ ักเรยี นได้ศึกษาเรยี นร้แู ละทำความเข้าใจกบั
ขอ้ มูลผ่านใบความรแู้ ละกจิ กรรมท่ีสนกุ สนานมีสาระ เน้นการสรา้ งบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในชนั้ เรยี นให้
นักเรียนมีความสุขกบั การเรยี นในเน้อื หาที่สอน โดยใชว้ ิธกี ารต่างๆ ตามความเหมาะสม เช่น เพลง เกม การ
แสดงละคร บทบาทสมมติ ฯลฯ
ทฤษฎีท่ใี ช้
ทฤษฎกี ารเรียนรู้อย่างมคี วามสุขของ จอหน์ ดิวอี้ (John Dewey) เนน้ เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนไดศ้ ึกษา
ค้นควา้ ในสง่ิ ที่ตนเองชอบ จะทำใหเ้ กิดความสุขในการเรียนรวมถึงการปรับตวั เพราะผเู้ รียนต้องเผชิญกบั
ปญั หา จึงต้องจดั ประสบการณ์เพ่ือฝึกให้แก้ปัญหาเป็น โดยส่งเสริมกิจกรรมการเรยี นรจู้ ากการกระทำ ฝึกคิด
ฝกึ พูด ฝึกทำ ฝกึ ลงมือปฏิบตั ิ และทฤษฎีของ รอเจอรส์ (Rogers) มแี นวคดิ ว่า มนษุ ย์จะสามารถพฒั นาตนเอง
ไดด้ ีหากอยใู่ นสภาพการณ์ที่สนุก ผอ่ นคลาย อบอุน่ เป็นมิตร และมอี ิสระ มีการจดั บรรยากาศการเรยี นทเ่ี อ้ือ
ต่อการเรียนรู้และเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั
E๓. = Explanation (ขนั้ อธิบายและสรุป)
ความหมาย
Explanation (อธิบายและสรุป) เป็นข้นั ที่ให้นักเรยี นได้ถอดบทเรียน หรอื สรปุ องค์ความรู้ทไ่ี ด้จาก
การเรยี น โดยผ่านกจิ กรรมท่สี นุกสนาน สามารถทำไดห้ ลายวิธี เชน่ เขียนรายงาน Mind Mapping VDO
บทบาทสมมุติ ฯลฯ
ทฤษฎีท่ีใช้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มประมวลสารสนเทศ คลอสไมเออร์ (Klausmeier) ได้อธบิ ายกระบวนการ
ประมวลข้อมลู โดยเร่ิมตน้ จากการที่มนุษย์รบั ส่ิงเร้าเขา้ มาทางประสาทสัมผสั ทั้ง 5 สงิ่ เรา้ จะได้รับการบันทึกไว้
ในความจำระยะส้นั ซึง่ การบันทึกน้ีจะข้นึ อยู่กบั องคป์ ระกอบ 2 ประการ คือ การรูจ้ กั และความใสใ่ จ ของ
บุคคลท่ีรับส่ิงเร้า สิ่งเรา้ นน้ั จะไดร้ ับการบันทกึ ลงในความจำ สู่การอธบิ ายและสรุปผล
-๒๓-
P๔. = Presentation (ขัน้ การนำเสนอ)
ความหมาย
Presentation (การนำเสนอ) เปน็ ขัน้ ทใ่ี หน้ กั เรียนไดน้ ำเสนอผลงาน และข้อมลู เก่ียวกับองคค์ วามรู้
แนวคิด กระบวนการทำงาน ท่ีได้ถอดบทเรียนจากการทำกิจกรรมให้กับผู้อน่ื ได้รบั รู้ ช่วยฝึกให้ผเู้ รียนมคี วาม
กล้าพดู สง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และประเมนิ ผลอยา่ งเหมาะสม สามารถทำไดห้ ลายวธิ ี เช่น การพดู
รายงานหน้าช้ัน การจดั นทิ รรศการ การแสดงบทบาทสมมติ เรยี งความ วาดภาพ ทำคลปิ VDO วีดิทัศน์ และ
แสดงละคร ฯลฯ
ทฤษฎีท่ีใช้
ทฤษฎกี ารสื่อสารของ คอสตา้ และแกมสต์ นั (Costa and Gramston) กล่าวว่า การสอ่ื สาร คอื การ
ใชว้ าจาคำพดู เชน่ การใช้ระดับของเสียงในการพดู ความดังของเสยี ง การเนน้ คำหรือข้อความ การสะท้อน
ความคิด การโต้ตอบและการใช้คำท่ีเหมาะสมชดั เจนเขา้ ใจง่าย รวมถึงการใช้ท่าทาง การยนื การนัง่ การ
แสดงออกซึ่งท่าทางระยะความห่างระหว่างผ้พู ูดและผู้ฟัง ความผ่อนคลายและการแสดงออกถึงสีหนา้ ในการ
สอ่ื สาร
O๕. = Opinion (ขั้นแสดงความคิดเห็น)
ความหมาย
Opinion (แสดงความคดิ เห็น) เปน็ ขน้ั ท่ใี หผ้ ู้เรียนได้แสดงความคิดเหน็ และสะท้อนถึงสระสำคญั
แกน่ ของความรู้ จากสง่ิ ที่ไดเ้ รียนร้รู ่วมกนั เพมิ่ เตมิ จากทีไ่ ดร้ ับฟงั การนำเสนอเพ่อื ความชดั เจดยิ่งข้ึน สามารถทำ
ไดห้ ลายวิธี เช่น การพูดอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ การเขียนสรปุ ความ ฯลฯ
ทฤษฎที ใี่ ช้
ทฤษฎีการสะท้อนคิดของ (Schon) กลา่ วถึงการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ ซ่ึงเกิดจากการปฏบิ ตั ิ การ
สะทอ้ นคดิ จะต้องประกอบด้วยการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบในสถานการณ์นน้ั ๆ ท้งั นี้ (Freshwater)
กลา่ ววา่ การสะท้อนคดิ เป็นการนำทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ัติ สะท้อนในส่ิงทีร่ ู้และสงิ่ ทีจ่ ำเป็นต้องรู้ เป็นการเรยี นรู้
แบบคดิ และสรา้ งรว่ มกนั อย่างตั้งใจ
H๖. = Opinion (ข้ันแสดงความคดิ เห็น)
ความหมาย
Helpful (เปน็ ประโยชน์) เปน็ ขั้นการประเมนิ การเรียนรูข้ องนักเรยี นดว้ ยกระบวนการตา่ งๆ ว่า
นกั เรียนมคี วามรู้อะไรบา้ ง รู้อยา่ งไร มากนอ้ ยเพียงใด และจะนำไปสู่การประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ ่อตนเอง
และผ้อู ่นื ไดอ้ ย่างไร สามารถทำได้โดย การเขียน การพูด การอภิปราย ฯลฯ
ทฤษฎีทีใ่ ช้
ทฤษฎกี ารเรียนรู้ขอบลูม (Bloom) เชอื่ วา่ มนษุ ย์จะเกิดการเรยี นรู้ใน 3 ด้านคอื ด้านสตปิ ญั ญา ด้าน
ร่างกาย และด้านจติ ใจ การนำความรไู้ ปประยกุ ต์ เป็นความสามารถในการนำหลักการ กฎเกณฑแ์ ละ
วธิ ีดำเนินการตา่ งๆของเร่ืองที่ได้รมู้ า นำไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้
-๒๔-
๒.๒.๒ ผลงานอื่นๆ ทที่ ำให้ผ้เู รียนพฒั นาการเรียนรภู้ าษาไทยอย่างมีประสิทธภิ าพ
ข้าพเจา้ ได้พฒั นาและสร้างส่ือการสอนในรปู แบบต่างๆ เพอ่ื ใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการเรยี นรู้
ของผู้เรยี นอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ดงั น้ี
๑. สร้างสือ่ การสอนประเภท คู่มือและแบบฝึกเสริมเพ่มิ ทักษะการอา่ นจับใจความ เพื่อ
พฒั นาทกั ษะการอ่านจับใจความของนักเรยี น (อา้ งองิ ในแผ่น CD)
๒. สรา้ งเว็บไซตร์ วมสือ่ การสอนออนไลน์ เพื่อสง่ เสรมิ แหลง่ เรียนรู้ของนักเรียน
(อา้ งองิ ใน QR Code)
๓. สร้างห้องเรียนออนไลน์บนเว็บไซต์ Google Classroom เพือ่ ส่งเสริมการเรยี นรแู้ บบ
ออนไลน์ ในสถานการณโ์ รคโควิด 19 ระบาด (อา้ งอิงใน QR Code)
-๒๕-
๔. สร้างห้องสมดุ ออนไลน์ “หนังสอื E-BOOK” เพื่อใหน้ กั เรยี นได้ศึกษาและอ่านทบทวน
เนอ้ื หาในแตล่ ะบทเรียน (อา้ งองิ ใน QR Code)
๕. สรา้ งเพจบน Facebook เพื่อติดต่อประสานงานและประชาสมั พันธก์ จิ กรรมการเรียนรู้
ของนักเรยี น (อ้างอิงใน QR Code)
๖. สร้างเกมการสอนออนไลน์ (Kahoot) เพอ่ื ใช้ทบทวนเน้ือหาในบทเรยี นสรา้ งความเข้าใจ
และเตรียมความพร้อมในการทดสอบทา้ ยบทเรยี น
-๒๖-
๗. สร้างสอ่ื การสอนประเภท “หนงั สือ E-BOOK” รวมเนอื้ หาหลักการใชภ้ าษาไทย เพ่ือให้
นักเรยี นได้ศึกษาค้นคว้าเพม่ิ เตมิ (อา้ งอิงใน QR Code)
พยัญชนะ สระ/รปู สระ ไตรยางศ์
คำซอ้ น/คำซำ้ คำเป็นคำตาย อักษรควบกล้ำ
๘. สรา้ งสอ่ื การสอนประเภท คลิป VDO การสอนออนไลน์ YouTube (อา้ งองิ ใน QR Code)
สระ/รปู สระ EP1 สระ/รปู สระ EP2 คำอทุ าน EP1 คำอทุ าน EP2
คำราชาศพั ท์หมวดรา่ งกาย คำราชาศพั ทห์ มวดเคร่ืองใช้ เคร่อื งหมายวรรคตอน EP1 เครื่องหมายวรรคตอน EP2
คำสุภาพ EP1 คำสภุ าพ EP1 คำไวพจน์ EP1 คำไวพจน์ EP1
-๒๗-
๙. สร้างสื่อการสอนประเภท “แบบทดสอบออนไลน์ Google Forms” เพอื่ ใช้วัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรยี นท้ายบทเรียน (อ้างองิ ใน QR Code)
กรยิ า คำคลอ้ งจอง คำนาม คำบุพบท
คำเป็นคำตาย คำพอ้ งรปู เคร่อื งหมายวรรคตอน คำอทุ าน
คำสภุ าพ คำสันธาน คำสรรพนาม คำวิเศษณ์
คำราชาศัพท์ คำพอ้ งเสยี ง อกั ษรนำ อกั ษรย่อ
-๒๘-
ตอนท่ี ๓ ผลงานที่เกดิ จาก
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรภู้ าษาไทย
-๒๙-
ตอนท่ี ๓ ผลงานท่ีเกิดจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรภู้ าษาไทย
๓.๑ ผลงานที่แสดงถงึ การพฒั นานักเรยี น ให้สามารถนำความรู้ ความสามารถและ
ประสบการณด์ ้านภาษาไทย ไปร่วมมือในกจิ กรรมพัฒนาชมุ ชนต่าง ๆ
จากการท่ีข้าพเจ้าได้ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบ MEEPOH Model แลว้
นัน้ ขา้ พเจ้าไดท้ ำการบูรณาการความรูม้ าใช้ในการจดั การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย จะเหน็ ได้ว่าทุกรูปแบบวธิ สี อน
สามารถพฒั นาผู้เรยี นได้ผลเป็นอย่างดี และรูปแบบวธิ สี อนทีข่ า้ พเจ้าเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรอู้ ีก
วธิ หี นงึ่ คือ การจัดการเรยี นรู้แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (PROJECT BASED LEARNING) เปน็ วธิ ีสอนท่ีเปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นไดเ้ รียนรเู้ ร่ืองใดเร่ืองหนึง่ ตามความสนใจอยา่ งลุม่ ลกึ โดยผ่านกระบวนการหลกั คือ
กระบวนการแก้ปัญหา ผ้เู รียนจะเป็นผลู้ งมือปฏบิ ัตเิ พื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเอง จงึ เป็นการเรยี นรทู้ ีเ่ กิดองค์
ความรู้ใหมจ่ ากประสบการณ์ตรงของตนเอง
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างตน้ ข้าพเจา้ จงึ เลือกวิธกี ารจดั การเรยี นรู้แบบนม้ี าใช้ จงึ ส่งผลให้
นักเรยี นนำความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการทำโครงงานภาษาไทยนี้ไปประยุกตใ์ ช้ได้จรงิ เพ่ือ
ออกแบบโครงงานภาษาไทยได้อย่างสร้างสรรค์ อาทิเชน่ โครงงานส่งเสริมการอา่ น , โครงงานเช้าตรู่รสู้ ำนวน ,
โครงงานปริศนาคำกลอนสอนคำประสม และโครงงานผญาคำกลอน สอนใจ คำราชาศัพท์ เปน็ ต้น
สง่ิ ท่ขี ้าพเจา้ ภาคภูมิใจอย่าง คอื นกั เรยี นไดใ้ ช้ความรู้ ความสามารถและประสบการณใ์ นการ
ทำโครงงานภาษาไทยจากชนั้ เรียนที่ตนเองมี มาต่อยอดออกแบบและพัฒนาโครงงานภาษาไทยให้มคี ุณภาพ
และส่งเข้ารว่ มเพ่ือประกวดแข่งขันในงานมหกรรมการจดั การศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สง่ ผลใหก้ าร
ประกวดแขง่ ขนั โครงงานภาษาไทยประสบความสำเร็จและไดร้ บั รางวลั ซึ่งเป็นท่ีนา่ พอใจทุกปกี ารศึกษา ดังนี้
๑. ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ ได้รับรางวลั รองชนะเลิศ อันดบั ๒ (ระดับเหรียญทอง) การ
ประกวดแขง่ ขนั โครงงานภาษาไทยระดับประถมศกึ ษา ๔-๖ ณ จังหวัดขอนแกน่ ในงานมหกรรมการจัด
การศึกษา ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ ๒๔ (อา้ งองิ ในหนา้ ๓๐)
๒. ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๑ (ระดับเหรยี ญทอง) การ
ประกวดแข่งขนั โครงงานภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา ๔-๖ ณ จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด ในงานมหกรรมการจดั
การศึกษา ระดับภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ครั้งที่ ๒๕ (อา้ งอิงในหน้า ๓๑)
๓. ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ได้รบั รางวัลชนะเลิศ (ระดบั เหรยี ญทอง) การประกวดแขง่ ขนั
โครงงานภาษาไทยระดับประถมศึกษา ๔-๖ ณ จงั หวัดบรุ รี ัมย์ ในงานมหกรรมการจดั การศกึ ษา ระดับภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ คร้ังที่ ๒๖ (อ้างองิ ในหนา้ ๓๒)
๔. ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั ๒ (ระดบั เหรียญทอง) การ
ประกวดแขง่ ขนั โครงงานภาษาไทยระดบั ประถมศกึ ษา ๔-๖ ณ กาฬสินธ์ุ ในงานมหกรรมการจัดการศกึ ษา
ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งท่ี ๒๗ (อา้ งอิงในหน้า ๓๓)
-๓๐-
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ (ระดบั เหรียญทอง) การประกวดแขง่ ขนั โครงงาน
ภาษาไทยระดับประถมศึกษา ๔-๖ ณ จังหวดั ขอนแกน่ ในงานมหกรรมการจัดการศึกษา
ระดับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ครงั้ ที่ ๒๔
-๓๑-
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑ (ระดบั เหรียญทอง) การประกวดแขง่ ขนั โครงงาน
ภาษาไทยระดับประถมศกึ ษา ๔-๖ ณ จงั หวดั ร้อยเอด็ ในงานมหกรรมการจัดการศึกษา
ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คร้งั ท่ี ๒๕
-๓๒-
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ (ระดบั เหรียญทอง) การประกวดแข่งขนั โครงงานภาษาไทย
ระดับประถมศกึ ษา ๔-๖ ณ จงั หวดั บุรรี มั ย์ ในงานมหกรรมการจดั การศึกษา
ระดับภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ คร้ังที่ ๒๖
-๓๓-
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒ (ระดับเหรียญทอง) การประกวดแข่งขนั โครงงาน
ภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา ๔-๖ ณ จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ ในงานมหกรรมการจดั การศึกษา
ระดับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ คร้งั ท่ี ๒๗
-๓๔-
ผลงานนักเรียนด้านการสอนภาษาไทย
วัน / เดือน / ปี รางวัลทีไ่ ดร้ ับ หน่วยงานทมี่ อบ ระดบั ของรางวัล
ปี พ.ศ.๒๕๕๗ เด็กหญงิ พลอยไพลนิ รตั นกจิ ธำรง “รางวัลชนะเลศิ ” การประกวด ระดับเทศบาล
เดก็ ชายภูมิ ศรีตลารมย์
เด็กหญิงรงุ่ ฟา้ ออง แขง่ ขนั โครงงานภาษาไทยระดบั
ประถมศกึ ษา ๔-๖
ปี พ.ศ.๒๕๕๗ เด็กหญิงพลอยไพลนิ รตั นกจิ ธำรง “รางวลั ชมเชย (ระดบั เหรียญ ระดับภาค
เด็กชายภูมิ ศรีตลารมย์
เด็กหญิงรงุ่ ฟ้า ออง เงิน)” การประกวดแขง่ ขนั
โครงงานภาษาไทยระดับ
ประถมศกึ ษา ๔-๖ ในงาน
มหกรรมการจดั การศึกษา
ระดับภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ปี พ.ศ.๒๕๕๗ เด็กชายภมู ิ ศรีตลารมย์ “รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ๑” ระดับโรงเรยี น
การประกวดกล่าวสนุ ทรพจน์
ในงานวันรกั ษ์ไทย
ปี พ.ศ.๒๕๕๗ เดก็ หญิงรงุ่ ฟ้า ออง “รางวลั ชนะเลศิ ”การประกวด ระดับโรงเรยี น
การเปดิ พจนานุกรม ในงานวัน
รกั ษไ์ ทย
ปี พ.ศ.๒๕๕๘ เด็กหญงิ ณิชากร แสงเพ็ชร “รางวัลชนะเลศิ ” การประกวด ระดบั เทศบาล
ปี พ.ศ.๒๕๕๘ เด็กหญิงณฏั ฐธิดา และในสงิ ห์
เด็กหญงิ ธนั ย์ชนก วงษ์พฒั น์ แข่งขนั โครงงานภาษาไทยระดับ
เด็กหญงิ ณิชากร แสงเพ็ชร ประถมศกึ ษา ๔-๖
เด็กหญงิ ณฏั ฐธิดา และในสิงห์
เดก็ หญิงธันยช์ นก วงษ์พัฒน์ “รางวลั ชมเชย (ระดับเหรยี ญ ระดับภาค
เงนิ )” การประกวดแข่งขัน
โครงงานภาษาไทยระดบั
ประถมศึกษา ๔-๖ ณ อำเภอ
เชยี งคาร ในงานมหกรรมการ
จดั การศกึ ษา ระดับภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ คร้ังท่ี ๒๓
ปี พ.ศ.๒๕๕๘ เด็กหญงิ ณฏั ฐธดิ า และในสิงห์ “รางวลั ชนะเลิศ”การประกวด ระดับโรงเรียน
ปี พ.ศ.๒๕๕๘ เดก็ หญงิ ณชิ ากร แสงเพ็ชร การอา่ นทำนองเสนาะระดับ
เด็กหญิงณฏั ฐธิดา และในสงิ ห์
เด็กหญงิ ธันย์ชนก วงษ์พัฒน์ ประถมศกึ ษา ๔-๖ ในงานวนั
รักษไ์ ทย
“รางวัลชนะเลิศ”การประกวด ระดับโรงเรียน
เลา่ นิทานเป็นทีม ระดบั
ประถมศกึ ษา ๔-๖ ในงานวัน
รกั ษไ์ ทย
-๓๕-
วนั / เดือน / ปี รางวัลทไี่ ดร้ บั หนว่ ยงานทีม่ อบ ระดบั ของรางวัล
ปี พ.ศ.๒๕๖๐ เดก็ หญงิ เพ็ญพิชชา พงษร์ ตั น์ “รางวลั รองชนะเลศิ ” การ ระดับเทศบาล
เดก็ หญงิ กฤตพร ทองแพง ประกวดแขง่ ขนั โครงงาน
เดก็ หญงิ นชุ นาถ แสงตะวัน ภาษาไทยระดับประถมศกึ ษา
๔-๖
ปี พ.ศ.๒๕๖๐ เด็กหญิงเพ็ญพิชชา พงษ์รัตน์ “รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ ๑ ระดับภาค
เด็กหญงิ กฤตพร ทองแพง
เดก็ หญิงนุชนาถ แสงตะวัน (ระดับเหรยี ญทอง)” การ
ประกวดแขง่ ขันโครงงาน
ภาษาไทยระดับประถมศกึ ษา
๔-๖ ณ จังหวัดร้อยเอ็ด ในงาน
มหกรรมการจดั การศึกษาระดับ
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ คร้งั ท่ี
๒๕
ปี พ.ศ.๒๕๖๐ เด็กหญงิ เพญ็ พิชชา พงษ์รตั น์ “รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๒” ระดบั โรงเรียน
ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เด็กหญงิ พนมพร นิพขนั ธ์ การประกวดคดั ลายมือ ในงาน
เดก็ ชายพลวฒั น์ ระติวงษ์
เด็กหญงิ รชยา ฉายวิชัย วันรักษไ์ ทย
ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เด็กหญิงพนมพร นิพขันธ์ “รางวลั รองชนะเลิศ” การ ระดบั เทศบาล
เด็กชายพลวัฒน์ ระตวิ งษ์
เด็กหญิงรชยา ฉายวิชยั ประกวดแขง่ ขันโครงงาน
ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เด็กหญิงพนมพร นิพขันธ์ ภาษาไทยระดบั ประถมศกึ ษา
ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เด็กหญิงรชยา ฉายวิชยั ๔-๖
ปี พ.ศ.๒๕๖๒ เดก็ หญิงรชยา ฉายวิชยั “รางวัลชนะเลิศ (ระดับเหรียญ ระดับภาค
เด็กหญงิ ณฐั ชานันท์ น้อยเมล์
เดก็ หญงิ ฐาณติ า ชืน่ ชมบญุ ทอง)” การประกวดแข่งขัน
โครงงานภาษาไทยระดบั
ประถมศึกษา ๔-๖ ณ จงั หวดั
บรุ รี ัมย์ ในงานมหกรรมการจัด
การศกึ ษาระดบั ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื คร้ังที่ ๒๖
“รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั ๒” ระดบั โรงเรียน
การประกวดคดั ลายมือ ในงาน
วนั รักษ์ไทย
รางวลั ผลคะแนนสอบลำดบั ท่ี 2 ระดับจังหวัด
ของโรงเรียนและ 2 ของจังหวดั
โครงานทดสอบบริษทั เสริม
ปัญญา
“รางวลั รองชนะเลิศ” การ ระดับเทศบาล
ประกวดแข่งขันโครงงาน
ภาษาไทยระดบั ประถมศกึ ษา
๔-๖
-๓๖-
วัน / เดือน / ปี รางวลั ที่ไดร้ ับ หนว่ ยงานท่มี อบ ระดบั ของรางวัล
ปี พ.ศ.๒๕๖๒ เด็กหญิงรชยา ฉายวิชัย “รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒ ระดับภาค
เดก็ หญงิ ณฐั ชานันท์ น้อยเมล์ (ระดับเหรียญทอง)” การ
เดก็ หญงิ ฐาณติ า ช่ืนชมบุญ ประกวดแข่งขนั โครงงาน
ภาษาไทยระดับประถมศึกษา
๔-๖ ณ จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ ใน
งานมหกรรมการจัดการศกึ ษา
ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
ครง้ั ที่ ๒๗
ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เดก็ หญิงกชพรรณส์ บญุ ยธนศักดิ์ “รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั ๒” ระดับโรงเรยี น
ปี พ.ศ.๒๕๖๒ เดก็ หญงิ อศิ ราภรณ์ อินทจกั ร
ปี พ.ศ.๒๕๖๒ เด็กหญิงณัฐมน สืบศริ ิ การประกวดคัดลายมือ ในงาน
ปี พ.ศ.๒๕๖๒ เดก็ หญิงกุลพธิ า บญุ เจรญิ
ปี พ.ศ.๒๕๖๒ เดก็ ชายธีรเทพ ชนะโยธา วนั รกั ษไ์ ทย
“รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ๑” ระดบั โรงเรียน
การประกวดกลา่ วสุนทรพจน์
ในงานวนั รกั ษ์ไทย
รางวลั ผลคะแนนสอบลำดบั ที่ ๒ ระดบั จังหวัด
ของโรงเรียนและ ๒ ของ
จังหวดั โครงานทดสอบบรษิ ัท
เสริมปญั ญา
รางวลั ผลคะแนนสอบลำดับที่ ๔ ระดับจงั หวัด
ของโรงเรียนและ ๖ ของ
จงั หวดั โครงานทดสอบบริษัท
เสรมิ ปญั ญา
“รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั ๑ ” ระดบั โรงเรียน
การประกวดการเปดิ
พจนานกุ รม ในงานวันรกั ษ์ไทย
-๓๗-
ผลงานครูดา้ นการสอนภาษาไทย
วนั / เดือน / ปี รางวัลทีไ่ ดร้ บั หนว่ ยงานที่มอบ ระดับของรางวัล
ระดบั เทศบาล
ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับรางวลั ครูผฝู้ กึ สอนโครงงาน เทศบาลนคร
ระดับภาค
ภาษาไทย “รางวลั ชนะเลิศ” การประกวด ขอนแกน่
ระดับเทศบาล
แข่งขนั โครงงานภาษาไทยระดับ ระดบั จังหวดั
ระดับเทศบาล
ประถมศกึ ษา ๔-๖ ระดับภาค
ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดร้ ับรางวัลครผู ู้ฝกึ สอนโครงงาน กรมส่งเสรมิ การ ระดบั เทศบาล
ภาษาไทย “รางวัลชมเชย (ระดับเหรียญ ปกครองท้องถน่ิ
เงนิ )” การประกวดแข่งขันโครงงาน ร่วมกับเทศบาลเชียง
ภาษาไทยระดับประถมศึกษา ๔-๖ ณ คาน จงั หวดั เลย
อำเภอเชียงคาร ในงานมหกรรมการจดั
การศกึ ษา ระดับภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
คร้งั ที่ ๒๓
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รบั รางวัล “ครูหวั ใจทองคำ” เน่ืองในวัน เทศบาลนคร
ครู เทศบาลนครขอนแกน่ ขอนแก่น จังหวัด
ขอนแก่น
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ไดร้ ับรางวลั “ครูดีเดน่ ” ดา้ นการจดั รายการ Nation TV
กระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายและ
ส่งเสรมิ ภาษาถ่นิ
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รบั รางวัลครูผฝู้ ึกสอนโครงงาน เทศบาลนคร
ภาษาไทย “รางวลั ชนะเลศิ ” การประกวด ขอนแกน่
แขง่ ขันโครงงานภาษาไทยระดบั
ประถมศกึ ษา ๔-๖
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รบั รางวลั ครผู ฝู้ กึ สอนโครงงาน กรมสง่ เสรมิ การ
ภาษาไทย “รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั ๒ ปกครองท้องถน่ิ
(ระดับเหรยี ญทอง)” การประกวดแข่งขัน รว่ มกบั องคก์ าร
โครงงานภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา ๔- บรหิ ารส่วนจงั หวดั
๖ ณ จังหวดั ขอนแก่น ในงานมหกรรม ขอนแก่น
การจดั การศกึ ษา ระดับภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื คร้ังท่ี ๒๔
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับรางวลั ครผู ูฝ้ กึ สอนโครงงาน เทศบาลนคร
ภาษาไทย “รางวลั ชนะเลิศ” การประกวด ขอนแกน่
แขง่ ขันโครงงานภาษาไทยระดบั
ประถมศึกษา ๔-๖
-๓๘-
วัน / เดอื น / ปี รางวัลทไี่ ดร้ ับ หน่วยงานที่มอบ ระดับของรางวัล
ระดับภาค
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รบั รางวลั ครผู ฝู้ ึกสอนโครงงาน กรมส่งเสริมการ
ระดบั เทศบาล
ภาษาไทย “รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั ๑ ปกครองท้องถิ่น ระดบั ภาค
(ระดับเหรยี ญทอง)” การประกวดแขง่ ขนั ร่วมกบั เทศบาลเมอื ง ระดบั เทศบาล
ระดับภาค
โครงงานภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา ร้อยเอ็ด
ระดบั โรงเรยี น
๔-๖ ณ จงั หวดั ร้อยเอด็ ในงานมหกรรม ระดบั โรงเรียน
ระดับประเทศ
การจดั การศึกษาระดับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื ครั้งที่ ๒๕
ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดร้ บั รางวัลครผู ู้ฝกึ สอนโครงงาน เทศบาลนคร
ภาษาไทย “รางวัลชนะเลศิ ” การประกวด ขอนแกน่
แข่งขันโครงงานภาษาไทยระดบั
ประถมศึกษา ๔-๖
ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รบั รางวลั ครูผู้ฝึกสอนโครงงาน กรมสง่ เสรมิ การ
ภาษาไทย “รางวลั ชนะเลิศ (ระดบั เหรยี ญ ปกครองท้องถ่ิน
ทอง)” การประกวดแข่งขันโครงงาน รว่ มกับเทศบาลเมอื ง
ภาษาไทยระดบั ประถมศกึ ษา ๔-๖ ณ นางรอง จงั หวัด
จงั หวัดบุรีรัมย์ ในงานมหกรรมการจัด บุรรี มั ย์
การศึกษา ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
คร้ังที่ ๒๖
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับรางวัลครผู ู้ฝึกสอนโครงงาน เทศบาลนคร
ภาษาไทย “รางวลั ชนะเลศิ ” การประกวด ขอนแกน่
แขง่ ขนั โครงงานภาษาไทยระดับ
ประถมศกึ ษา ๔-๖
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ไดร้ บั รางวัลครผู ู้ฝึกสอนโครงงาน กรมสง่ เสรมิ การ
ภาษาไทย “รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั ๒ ปกครองท้องถิ่น
(ระดับเหรยี ญทอง)” การประกวดแข่งขัน ร่วมกับเทศบาลเมอื ง
โครงงานภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา กาฬสนิ ธุ์
๔-๖ ณ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ ในงาน
มหกรรมการจัดการศึกษาระดับภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ คร้ังที่ ๒๗
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ รางวัล “ครูดเี ด่น” ด้านการนำเทคโนโลยี โรงเรียนเทศบาลสวน
และนวตั กรรมมาใช้ในการสอน สนกุ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ รางวลั “ครูดีเด่น” ด้านการผลิตส่ือการ โรงเรียนเทศบาลสวน
เรยี นรทู้ ที่ ันสมัย สนกุ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ รางวลั “ครดู ีเดน่ สาขาครภู าษาไทย” มลู นธิ ิสมาน-คุณหญงิ
เบญจา แสงมลิ
อ้างองิ ในภาคผนวกหน้า ๔๕
-๓๙-
๓.๒ ผลงานทแี่ สดงถึงการนำความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ดา้ นภาษาไทย ไปให้ความ
รว่ มมือ สง่ เสรมิ พฒั นาหน่วยงาน องคก์ รและชุมชน
ขา้ พเจา้ ได้ให้ความชว่ ยเหลือในกจิ กรรม โครงการตา่ งๆ ท่ีทางโรงเรยี น เทศบาลและชุมชน
จดั ข้นึ อย่างเตม็ ใจ ปฏบิ ตั ิงานตามท่ีได้รบั มอบหมายอย่างเต็มความสามารถ ให้สำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ และ
ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ผูร้ ว่ มงานตามความเหมาะสมและกำลงั ทเี่ ราจะชว่ ยเหลือได้โดยไม่ต้องร้องขอ เหน็ ประโยชน์
สว่ นรวมมากกว่าประโยชนส์ ่วนตน ร่วมกิจกรรมของชมุ ชนอย่างสม่ำเสมอและอำนวยความสะดวกแก่
หนว่ ยงานราชการอ่นื ๆ ท่ีมาขอความร่วมมืออย่างสม่ำเสมอ
อกี ทั้งข้าพเจ้านำความรู้ ความสามารถและประสบการณด์ ้านภาษาไทยท่มี มี าประยุกตใ์ ช้ใน
การพัฒนาตนเองให้เปน็ วิทยากรในการบรรยายพิเศษใหค้ วามรู้ การถา่ ยทอดความรูแ้ ละการสื่อสารเพ่ือสร้าง
แรงบนั ดาลใจให้กับบุคลากรในหน่วยงาน องคก์ รและชมุ ชนตา่ ง ๆ ถือว่าเปน็ กลไกการขับเคลื่อนทช่ี ่วยส่งเสริม
พฒั นาหน่วยงาน องคก์ รและชุมชนให้เกดิ การเรียนรทู้ ่ีอยา่ งย่ังยนื ดังน้ี
ผลงานด้านการเปน็ วิทยากร
๑. ได้รับเชญิ จากศนู ย์การศึกษาพิเศษบา้ นไผ่ ให้เป็นวทิ ยากรบรรยาย
ให้กบั ผ้พู ิการในวันคนพิการ กวา่ ๕๐ คน ในหัวข้อ
“การสร้างแรงบันดาลในในการใช้ชวี ติ อย่างไรให้มีความสขุ ”
๒. ได้รับเชญิ จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ให้เป็น
วทิ ยากรบรรยายใหก้ ับครูระดับประถมศึกษาท่ีมคี วามสนใจเข้ารว่ มอบรม
กวา่ ๗๐ คน ในหวั ข้อ“การสรา้ งแรงจงู ใจสอนอย่างไรให้สนุก”
๓. ไดร้ บั เชญิ จากโรงเรียนโคกสีพิทยาสรรพ์ จงั หวัดขอนแกน่ ใหเ้ ปน็
วทิ ยากรบรรยายให้กับนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษา จำนวน ๑๒๐ คน
ในหัวข้อ “ทำไม ?...ต้องเรยี นภาษาไทย”
๔. ได้รับเชญิ จากคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย ใหเ้ ปน็
วทิ ยากรบรรยายใหก้ บั นักศึกษาชั้นปีที่ ๔ สาขาการสอนวิชาภาษาไทย
จำนวน ๖๐ คน ในหัวขอ้ “จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ภาษาไทยอย่างไรให้
ได้ความรู้ สนุกและมีความสุขกับการเรียน”
-๔๐-
๕. ไดร้ ับเชิญจากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ศนู ย์
ขอนแก่น ให้เป็นวิทยากรบรรยายให้กับนักศกึ ษาชนั้ ปที ่ี ๓ และ ๔
สาขาการสอนคณิตศาสตร์ จำนวน ๘๐ คน
ในหัวขอ้ “การกิจกรรมการเรียนร้สู ำหรบั นักเรียนประถมศึกษา”
๖. ไดร้ บั เชญิ จากคณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย ศูนย์
ขอนแกน่ ให้เปน็ วทิ ยากรบรรยายใหก้ บั นักศึกษาชัน้ ปีท่ี ๔ สาขาการ
สอนคอมพิวเตอร์ จำนวน ๔๐ คน ในหัวขอ้ “การกิจกรรมการ
เรยี นรสู้ ำหรบั นักเรียนประถม”
๗. ได้รับหน้าท่ีเป็นวิทยากรบรรยายใหก้ ับคณะครภู าษาไทยสังกดั
เทศบาลนครขอนแก่น ในหัวขอ้ “เทคนิคกระบวนการจดั กิจกรรมการ
เรียนรูภ้ าษาไทยในทศวรรษท่ี ๒๑”
๘. ไดร้ ับหนา้ ทเ่ี ป็นวิทยากรบรรยายใหก้ บั คณะครภู าษาไทยสังกดั
เทศบาลนครขอนแก่น ในหัวขอ้ “การจัดกิจกรรมเปดิ สมองและการ
ผลิตสื่อการเรยี นรอู้ ย่างงา่ ยและน่าสนใจ”
๙. ได้รบั หน้าท่เี ป็นวิทยากรบรรยายให้กบั คณะครูโรงเรยี นเทศบาล
สวนสนุก ในหัวขอ้ “ภาษาในการสอื่ สาร”
๑๐. ได้รับเชิญจากศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ๙ จ.ขอนแกน่
ใหเ้ ปน็ วิทยากรบรรยายให้กบั คณะครปู ระจำศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ
รุ่นท่ี ๑ จำนวน ๘๐ คน ในหวั ขอ้ “การพัฒนาบุคลากรส่อู งค์กรที่
เขม้ แข็ง”
๑๑. ไดร้ ับเชิญจากศูนยก์ ารศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ๙ จ.ขอนแกน่
ให้เปน็ วทิ ยากรบรรยายให้กับพนกั งานประจำศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ รุ่น
ท่ี ๒ จำนวน ๖๐ คน
ในหัวขอ้ “การพฒั นาบุคลากรส่อู งค์กรที่เข้มแข็ง”
-๔๑-
๑๒. อกี ทั้งขา้ พเจา้ ยังไดท้ ำหน้าท่ีเป็นวทิ ยากรฝึกอบรมให้กบั นักเรียนตามโครงการ
และกจิ กรรมตา่ งๆ ทท่ี างโรงเรียนและเทศบาลนครขอนแก่นจัดข้นึ เป็นประจำ เชน่ กิจกรรมค่ายบรู ณาการ
วชิ าการ , ค่าย English Camp, คา่ ยคณิตศาสตร์ , ค่ายส่ิงแวดลอ้ ม , ค่ายแกนนำ TO BE NUMBER ONE,
ค่ายสภานกั เรียน , คา่ ยลูกเสือ-เนตรนารี เป็นตน้
สรปุ
ผลการปฏิบตั เิ ช่นน้นี อกจากจะชว่ ยส่งเสริมการพัฒนาตนเอง พัฒนาหนว่ ยงาน องค์กรและ
ชมุ ชนแล้วนน้ั ยงั สง่ ผลให้ข้าพเจ้าได้เปน็ ทีร่ ู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขนึ้ และมเี ครอื ขา่ ยของบคุ ลากรทาง
การศกึ ษาท่ีเข้มแขง็ จากหลากหลายหนว่ ยงานองค์กร ไดม้ ีโอกาสร่วมแลกเปล่ียนหลักการ แนวคดิ และ
ประสบการณ์ดา้ นการสอนและการทำงานในอนาคตไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
-๔๒-
ผลงานดา้ นการเปน็ พธิ กี ร
ข้าพเจ้าไดน้ ำความรู้และทักษะดา้ น
การพดู ภาษาไทย ไปใชใ้ นการทำหนา้ ที่พธิ ีกร
ในการดำเนินกจิ กรรมต่างๆ ท่ีทางโรงเรยี น
เทศบาล และชมุ ชนจัดขึน้ เปน็ ประจำ
สมำ่ เสมอ เช่น
- กิจกรรมวนั รักษ์ไทย
- กิจกรรมวนั วิทยาศาสตร์
- กจิ กรรมกีฬาภายใน
- กฬี ากลมุ่ สงั กดั เทศบาล
- กฬี าชุมชน
- การประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง
- การประชุมครูสังกดั เทศบาล
- การอบรมตา่ งๆ
- กิจกรรมให้ความรู้หน้าเสาธง
- วันเกษยี ณอายรุ าชการ
- งานประเพณีตา่ งๆ
- กิจกรรมวนั เทศบาล
- กจิ กรรมส่งท้ายปีเกา่ ต้อนรับปีใหม่
- ตอ้ นรบั คณะศกึ ษาดูงานต่างๆ
- วันแหง่ เกยี รติยศ
- วนั พอ่ แห่งชาติ
- วนั แม่แห่งชาติ
- วันสำคญั ตา่ งๆ
- กจิ กรรมเรียนรนู้ อกห้องเรยี น
- กิจกรรมเรยี นรู้โดยปราชญท์ ้องถิ่น
- ฯลฯ
-๔๓-
ตอนท่ี ๓ ความคดิ เหน็ ของผูบ้ งั คบั บัญชาชั้นต้น
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่อื .............................................................
(นางชอ่ เอื้อง ฤกษ์รจุ ิพิมล)
ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนเทศบาลสวนสนุก
-๔๔-
ภาคผนวก
-๔๕-