The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการสมุทรสงครามอยู่ดี การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ฐานนิเวศวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suric innovataion, 2023-07-27 04:45:14

TRE2023_Samutrsongkhram

โครงการสมุทรสงครามอยู่ดี การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ฐานนิเวศวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน

Keywords: Samutrsongkhram,silpakorn,suric

COVER ���������������� ������������������������������� (265x210 mm).indd 1 26/7/2566 BE 09:25


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 1 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 1 25/7/2566 BE 15:54 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 1


2 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร สารจากนายกสภา มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดการเรียนการสอน มาเป็นระยะเวลา 80 ปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2486 โดยมุ่งบูรณาการ ศิลปวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ พัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการเรียนการสอนที่ หลากหลายให้มีทักษะที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันมีการเรียนการสอน หลากหลายสาขาวิชา ครอบคลุมทั้งด้านศิลปะและการออกแบบ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ นอกจากพันธกิจด้านการจัดการเรียนการสอนแล้ว อีกหนึ่งพันธกิจหลักของ มหาวิทยาลัยที่ส�ำคัญ คือ การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และ งานสร้างสรรค์ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนด้วยการบูรณาการ ศาสตร์ที่สร้างสรรค์ โดยมีเป้าหมายในการผลิตผลงานวิจัย นวัตกรรม และงาน สร้างสรรค์ โดยใช้องค์ความรู้และการบูรณาการศาสตร์ที่มีคุณภาพขับเคลื่อน เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม สร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สังคม และประเทศชาติ สู่เป้าหมาย การพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจและบรรลุตามเป้าหมาย มหาวิทยาลัย ศิลปากร ได้ผลิตงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง ทั้งงาน วิจัยเฉพาะทางตามสาขาความเชี่ยวชาญ และงานวิจัยแบบบูรณาการศาสตร์ เพื่อให้เกิดการน�ำไปใช้ประโยชน์ ขยายผล ต่อยอด และตอบโจทย์การแก้ไข ปัญหาและการพัฒนาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 2 26/7/2566 BE 10:11 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 2


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 3 ผลงานวิจัย “สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน” เป็นอีกหนึ่งตัวอย่าง งานวิจัยแบบบูรณาการศาสตร์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อพัฒนา พื้นที่ด้วยทุนทางศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ภายใต้กระบวนการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในท้องถิ่นอย่างใกล้ชิด เพื่อส่งเสริมการพัฒนา พื้นที่ทางวัฒนธรรม ผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์และบริการทางวัฒนธรรม น�ำไปสู่การสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยองค์ความรู้จาก งานวิจัยดังกล่าว สามารถน�ำไปปรับใช้ในการพัฒนาพื้นที่อื่น ๆ ตาม บริบทและศักยภาพของพื้นที่ได้ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ในวงกว้างต่อไป ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 3 26/7/2566 BE 10:11 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 3


4 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร มีพันธกิจด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ โดยมุ่งเน้นการผลิตผลงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ เพื่อสร้าง องค์ความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ รวมถึงบูรณาการศาสตร์และศิลป์เพื่อขับเคลื่อน เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์สู่เป้าหมาย เพื่อความผาสุกของสังคมอย่างยั่งยืน นอกจากการผลิตผลงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัย ได้ให้ความส�ำคัญในการเผยแพร่ผลงานและการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ สาธารณชน เพื่อแสดงศักยภาพทางด้านการวิจัยและการสร้างสรรค์ของ มหาวิทยาลัยในเวทีวิชาการต่าง ๆ ที่มีการเชื่อมโยงระหว่างนักวิจัยและ ผู้ใช้ประโยชน์ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และการน�ำผลงาน ไปใช้ประโยชน์ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการและสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชน สังคม และประเทศ มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ หรือ Thailand Research Expo ซึ่งจัดโดยส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับหน่วยงานเครือข่าย ในระบบวิจัยทั่วประเทศ นับเป็นเวทีวิชาการระดับชาติที่เปิดโอกาสให้ นักวิจัยได้น�ำเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเชื่อมโยงบูรณาการองค์ความรู้ไปสู่การใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ประเทศ ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากรได้เข้าร่วมน�ำเสนอผลงานวิจัยในงาน ดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา 15 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 และในปี พ.ศ. 2566 นี้ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้น�ำเสนอผลงานวิจัย ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 4 25/7/2566 BE 13:07 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 4


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 5 ศาสตราจารย์ ดร.ธนะเศรษฐ์ ง้าวหิรัญพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ในภาคนิทรรศการภายใต้กลุ่ม “งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อส่งเสริม เศรษฐกิจสร้างสรรค์” โดยน�ำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง “สมุทรสงคราม อยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและ วิถีชีวิตชุมชน” ซึ่งถือเป็นโอกาสดีที่นักวิจัยจะได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ น�ำเสนอและถ่ายทอดผลงานให้ผู้สนใจ และผู้ใช้ประโยชน์ได้น�ำไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างแพร่หลายทั้งในมิติเชิงวิชาการ นโยบาย เศรษฐกิจ และสังคม/ชุมชน ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยศิลปากร หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การเข้าร่วม น�ำเสนอผลงานวิจัยในครั้งนี้ จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ การวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ด้วยทุนทางศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ และสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชน ตลอดจนน�ำไปสู่การขยายผล ต่อยอด และการน�ำผลงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์ในวงกว้างมากยิ่งขึ้น ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 5 26/7/2566 BE 10:12 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 5


6 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร สารจากรองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร และ หัวหน้าโครงการวิจัย ส�ำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ (สวนส.) มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นหน่วยงานที่มีภาระหน้าที่เฉพาะในการสนับสนุน การด�ำเนินงานตามนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ศิลปากรด้านการวิจัย โดยท�ำงานเชื่อมโยงประสานระหว่างนักวิจัยใน มหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการท�ำวิจัยและงานสร้างสรรค์ในสาขา วิชาต่าง ๆ เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการและสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน และสังคม มุ่งเน้นให้นักวิจัยผลิตผลงานวิจัย นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ที่มีคุณภาพ สามารถน�ำผลงานไปใช้ประโยชน์ได้ ทั้งด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและชุมชน รวมถึงการตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ อีกทั้ง ยังท�ำหน้าที่สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ สู่วงวิชาการและสาธารณะ เพื่อแสดงให้เห็นถึงศักยภาพทางด้านวิชาการ และการวิจัยของมหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยศิลปากรได้เข้าร่วมน�ำ เสนอผลงานวิจัย นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ในภาคนิทรรศการในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ (Thailand Research Expo) มาอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2566 นี้ ส�ำนักงานบริหารการวิจัยฯ ได้น�ำผลงานวิจัย “สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน” เข้าร่วมน�ำเสนอในภาคนิทรรศการภายใต้กลุ่ม “งานวิจัย และนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์” ซึ่งผลงานวิจัยดังกล่าว มีเป้าหมายในการพัฒนาเชิงพื้นที่ให้เกิดความเข้มแข็งในมิติสังคมและ ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 6 25/7/2566 BE 13:07 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 6


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 7 ศาสตราจารย์ ดร.นันทนิตย์ วานิชาชีวะ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หัวหน้าโครงการวิจัย เศรษฐกิจ โดยได้ด�ำเนินการจัดท�ำฐานข้อมูลสารสนเทศนิเวศวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชนในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม น�ำไปสู่การจัดกิจกรรม ส่งเสริมเส้นทางการท่องเที่ยวทางน�้ำเพื่อการเรียนรู้นิเวศวัฒนธรรมและ วิถีชีวิต ท�ำให้กลุ่มผู้ประกอบการพายเรือคายัค และซับบอร์ดในจังหวัด สมุทรสงคราม ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพและน�ำไปสู่การต่อยอดทางด้านธุรกิจ บริการและการท่องเที่ยว และด้านกิจกรรมเพื่อสังคมและชุมชน นอกจากนี้ ได้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางศิลปะและการออกแบบ เพื่อสร้าง การรับรู้และถ่ายทอดคุณค่า อัตลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมให้แก่ผู้ประกอบการ ได้น�ำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่น และยังมีการน�ำองค์ความรู้ทาง ด้านวิทยาศาสตร์ไปหนุนเสริมเพื่อยกระดับคุณภาพและความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์อาหารพื้นถิ่นของจังหวัดสมุทรสงคราม เช่น น�้ำผึ้งดอกลิ้นจี่ หัวน�้ำปลา หอยดอง เป็นต้น ซึ่งเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้บริโภค อีกด้วย การน�ำเสนอผลงานวิจัยครั้งนี้ ส�ำนักงานบริหารการวิจัยฯ หวัง เป็นอย่างยิ่งว่า องค์ความรู้จากผลงานวิจัยเชิงบูรณาการข้ามศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยศิลปากรจะเผยแพร่สู่สาธารณชนในวงกว้าง เป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่สนใจ และน�ำไปสู่การต่อยอด ขยายผล เกิดการน�ำไปใช้ประโยชน์ ในมิติต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาในระดับชุมชนและระดับประเทศต่อไป ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 7 25/7/2566 BE 13:07 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 7


8 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 8 25/7/2566 BE 13:07 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 8


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 9 มหาวิทยาลัยชั้นนำ�แห่งการสร้างสรรค์ บูรณาการศาสตร์และศิลป์ เพื่อความผาสุกของสังคมอย่างยั่งยืน “มหาวิทยาลัยศิลปากร” ได้ก�ำหนดเป้าหมายในการขับเคลื่อน มหาวิทยาลัยไปในอนาคตข้างหน้า ด้วยวิสัยทัศน์ว่า “มหาวิทยาลัยชั้นนำ� แห่งการสร้างสรรค์ บูรณาการศาสตร์และศิลป์ เพื่อความผาสุกของ สังคมอย่างยั่งยืน” โดยใช้กลไกการบูรณาการประสานพันธกิจทุกด้าน เข้าด้วยกันเพื่อให้ทรงพลัง ทั้งพันธกิจด้านการเรียนการสอน การวิจัย การ บริการวิชาการ และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้วยหมายให้มหาวิทยาลัย ท�ำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของกลไกการพัฒนาและขับเคลื่อนสังคม ตลอดจน ได้ส่งมอบคุณค่าด้านต่าง ๆ สู่สังคม อย่างสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) อันเป็นความจ�ำเป็นเร่งด่วน ที่โลกทั้งผองต้องร่วมมือกัน นับตั้งแต่แรกสถาปนาในฐานะโรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรม ศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (Corrado Feroci) ชาวอิตาเลียน และได้ยกฐานะขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัยศิลปากร” เพื่อจัดการเรียนการสอน ในระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 ตราบจนกระทั่ง ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยศิลปากรก็ยังธ�ำรงบทบาทของตนเองอย่างเข้มแข็ง ในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ และผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ และมีทักษะ ส�ำคัญพร้อมทุกด้าน และส่งมอบคุณค่าหลากมิติสู่สังคม ผ่านการวิจัย การบริการวิชาการ และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งในระดับชาติ และในระดับสากล 9 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 9 26/7/2566 BE 10:20 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 9


10 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ท�ำเลที่ตั้ง และพื้นที่จัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยศิลปากร ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และในภาคกลางตอนล่าง กล่าวคือ พื้นที่จัดการศึกษาที่ “วังท่าพระ” อันมีท�ำเลที่ตั้งอยู่ท่ามกลางมรดก วัฒนธรรมอันเปรียบได้กับอัญมณีล�้ำค่าของ “กรุงรัตนโกสินทร์” ซึ่งเป็น โอกาสอย่างส�ำคัญส�ำหรับผู้เรียนด้านศิลปะและการออกแบบ ถัดออกมา คือ พื้นที่บริหารและจัดการศึกษาที่ “ตลิ่งชัน” อันเป็นที่ตั้งของส�ำนักงาน อธิการบดีอยู่ที่ฝั่ง “ธนบุรี” ซึ่งแวดล้อมด้วยย่านชุมชนเก่าซึ่งเป็นชุมชนเก่าแก่ ที่อยู่เคียงคู่กับฝั่งกรุงเทพฯ มาตั้งแต่โบราณ นอกจากนี้ ยังได้เปิดประตู เข้าไปสร้างความใกล้ชิดกับชุมชน สังคม และธุรกิจ ด้วยการขยายพื้นที่ไป จัดการเรียนการสอนที่ “บางรัก” อันเป็นย่านธุรกิจส�ำคัญที่ก�ำลังพัฒนา เป็นย่านสร้างสรรค์ที่เต็มไปด้วยโอกาสและศักยภาพ และ “เมืองทองธานี” ก็ร่วมกันส่งมอบคุณค่าสู่สังคมที่มีพลวัตปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็วได้อย่าง เต็มศักยภาพ พร้อมนี้ มหาวิทยาลัยยังขยายตัวให้ครอบคลุมศาสตร์การศึกษา ด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยมีพื้นที่บริการการศึกษาที่ “นครปฐม” หรือที่รู้จักกันใน นาม “พระราชวังสนามจันทร์” หรือ “ทับแก้ว” และ “เพชรบุรี” ในนามของ “วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี” “มหาวิทยาลัยศิลปากร” จึงท�ำหน้าที่เป็นตักศิลาของการศึกษา ขั้นสูงที่อุดมด้วยศิลปวิทยาการทุกแขนง มีศักยภาพในการต่อยอดให้ลึกซึ้ง และเชี่ยวชาญในแต่ละศาสตร์สาขา และยังมีศักยภาพในการเพิ่มโอกาสใหม่ จากการบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาจริงที่เกิดขึ้นในสังคม ตลอดจน ความท้าทายใหม่ ๆ ที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น 10 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 10 26/7/2566 BE 10:20 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 10


สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 11 วังทาพระ เพชรบุรี พระราชวังสนามจันทร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 11 25/7/2566 BE 13:15 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 11


12 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร สมุทรสงคราม เมืองนิเวศสามนํ้า ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 12 25/7/2566 BE 13:18 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 12


สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 13 สมุทรสงครามอยูดี มหาวิทยาลัยศิลปากร และ จังหวัด “สมุทรสงคราม” หรือ “เมืองแมกลอง” เปนจังหวัดที่เล็กที่สุด ของประเทศไทย มีเนื้อที่ราว 416.707 ตารางกิโลเมตร ทวากลับมีความอุดม สมบูรณ และมีความหลากหลายทางชีวภาพอยางสูงแหงหนึ่งของประเทศ ดวยมี สายนํ้าแมกลองเปนหัวใจหลักที่ไหลลัดเลาะมาจากดินแดนตอนในทางฝงตะวันตก อันเปนผืนปาอันอุดมสมบูรณ เมื่อไหลเขาสูเขตจังหวัดสมุทรสงครามตอนบนกอให เกิดเปน “นิเวศนํ้าจืด” เหมาะแกการทําเกษตรกรรม ทําไรและสวนผลไมนานา พันธุ เชน “สมโอพันธุขาวใหญ” ที่เปนที่รูจักกันอยางกวางขวาง “สมแกว” ซึ่งเปน พันธุสมโบราณที่ปลูกกันแพรหลายที่แมกลอง “ลิ้นจี่” ที่ปจจุบันใหผลผลิตนอย จึงถือเปนของหายากและมีราคา “มะพราว” ที่สรางรายไดเปนกอบเปนกําใหแก ชาวสวน และ “พริกบางชาง” ที่เลื่องชื่อ เปนตน ถัดลงมาตามสายนํ้าเปนพื้นที่ “นิเวศนํ้ากรอย” เนื่องจากไดรับอิทธิพลจากนํ้าทะเลหนุนจากนํ้าขึ้น-นํ้าลง วันละ 2 ครั้ง แถบนี้เต็มไปดวยสวนมะพราวและเปนพื้นที่ที่ตองใชภูมิปญญาในการจัดการ นํ้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และการคมนาคม จึงมีขุดคลอง แพรก และลําประโดง มากมาย และตรงบริเวณจุดตัดของลํานํ้ากลายเปนชุมทางที่มีการตั้งถิ่นฐานกอราง สรางตนเปนชุมชนตลาดที่มั่งคั่งขึ้นจากโอกาสและการใชประโยชนจากสายนํ้า ถัดลงมาใกลปากแมนํ้าเปน “นิเวศนํ้าเค็ม” ซึ่งเต็มไปดวยนิเวศปาชายเลนที่เปน แหลงอนุบาลสัตวนํ้าวัยออนและชวยปองกันลมกรรโชกรุนแรงจากทองทะเลให ทุเลากําลังลง ปกปองบานเรือนที่อยูอาศัยของชาวทะเลที่ตั้งอยูถัดเขาไปใหรอดพน จากวาตภัย และการกัดเซาะชายฝง ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 13 25/7/2566 BE 13:18 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 13


14 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร นอกจากนี้ สายนํ้าแมกลองยังหอบหิ้วตะกอนและแรธาตุมาจากดินแดน ตอนในมายัง “อาว ก.ไก” หนาเมืองแมกลองอันอุดมสมบูรณดวยสัตวนํ้านานา ซึ่งปฏิเสธไมไดวาไมมีใครที่ไมรูจัก “ปลาทูแมกลอง” รวมทั้ง ยังมีสิ่งมีชีวิตที่ไมไดพบ ไดงายทั่ว ๆ ไป หากแตมีความเฉพาะเจาะจงกับระบบนิเวศที่มีลักษณะเฉพาะ คือ “หอยหลอด” นอกจากนี้ บริเวณนิเวศนํ้าเค็มยังมีภูมิปญญาและภูมิทัศนวัฒนธรรม ที่เปนอัตลักษณเฉพาะ คือ “การทําถานไมโกงกาง” และ “การทํานาเกลือ” จากตนทุนของสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอตัวขึ้นภายใตความ สัมพันธกับสายนํ้าที่มีบริบทที่แตกตางกันออกไปเปนนิเวศนํ้าเค็ม นิเวศนํ้ากรอย และนิเวศนํ้าจืด จึงเรียกเปน “นิเวศสามนํ้า” ที่แสดงถึงความหลากหลายของ นิเวศที่แปรผันไปตามสายนํ้า ซึ่งตนทุนทางธรรมชาติแวดลอมดังกลาวสงผลตอ การปรับตัวในวิถีชีวิตและการตั้งถิ่นฐานของชาวแมกลองใหตองมีกระบวนการ เลือก-รับ-ปรับ-ปรน กอรูปวิถีชีวิตของตนเองใหสามารถอยูอาศัยในพื้นที่อยาง สอดคลองกับนิเวศที่แตกตางกันออกไปเพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูรวมกับ สภาพแวดลอมดังกลาวอยางเปนปกติสุข ซึ่งผลลัพธของการปฏิสัมพันธของมนุษยกับ บริบทแวดลอมที่มีลักษณะเฉพาะตัวกอใหเกิดเปน “นิเวศวิทยาวัฒนธรรม” ถึงแมวาเมืองสมุทรสงครามจะมีตนทุนทางนิเวศที่หลากหลายเปนฐาน อันสงผลใหวิถีวัฒนธรรมมีความหลากหลายแตเปนเอกลักษณ และสรางความมั่งคั่ง ใหแกชาวสมุทรสงครามมาในอดีต ทวาในโลกบริบทสังคมรวมสมัย โลกทั้งโลกตอง ประสบปญหาความทาทายโดยเฉพาะอยางยิ่งหลังจากเกิดเหตุการณแพรระบาด ของโรคอุบัติใหม ตลอดจนความรุดหนาของเทคโนโลยีที่เปนไปอยางกาวกระโดด ทําใหวิถีชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของผูคนตางไดรับผลกระทบอยาง รุนแรง ภายใตสภาวการณที่มีความซับซอน คลุมเครือ คาดการณไดยาก ทําให ไมอาจใชประสบการณหรือเงื่อนไขที่สรางความสําเร็จเชนที่เคยเปนมาใชในการ แกปญหาตาง ๆ ได จากการทบทวนบริบทเชิงพื้นที่เพื่อหาประเด็นทาทายของสมุทรสงคราม พบความทาทายในหลายประเด็น คือ 1) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 14 25/7/2566 BE 13:19 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 14


สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 15 พื้นที่เริ่มเสื่อมโทรมลง เนื่องจากการตั้งถิ่นฐานและการพัฒนาในพื้นที่ในชวงเวลา ที่ผานมาไมไดใหความสําคัญกับตนทุนอันเปนเอกลักษณเฉพาะตัวของพื้นที่ 2) การ บริหารจัดการทรัพยากรไมสอดคลองกับระบบนิเวศ 3) เสนทางนํ้าถูกทอดทิ้ง และ ไมไดรับการฟนฟู และไมมีการใชประโยชนอยางเปนรูปธรรม 4) คนวัยทํางานและ ผูมีการศึกษาที่เปนคนทองถิ่นไมไดทํางานอยูภายในพื้นที่ และอัตราผูสูงอายุมีจํานวน มากขึ้น 5) ขาดการสงเสริมและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและผลิตภัณฑ ทองถิ่นเพื่อการเพิ่มมูลคา 6) ขาดการประชาสัมพันธและการสื่อความหมายการ ทองเที่ยว ความทาทายหลากหลายประเด็นที่สั่นคลอนใหผูคนมีวิถีชีวิตเปราะบาง มากขึ้น อีกทั้งยังถางกวางความเหลื่อมลํ้าของผูคนในสังคม ดวยขาดโอกาสในการ พัฒนาเพื่อสรางความมั่นคงแกมนุษยชาติซึ่งความทาทายมากมายนั้น เกิดขึ้นจาก ทั้งปจจัยภายในพื้นที่ และปจจัยภายนอกที่เขามารุมเรา และเรงปฏิกิริยาใหความ เหลื่อมลํ้าถางกวางมากขึ้น จาก “ศักยภาพ” และ “ความทาทาย” ของจังหวัดสมุทรสงครามขางตน ประกอบกับมหาวิทยาลัยศิลปากรมีโอกาสเชิงกลยุทธจากความเขมแข็งของตนทุน ดานศิลปวัฒนธรรม การเรียนการสอนดานการสรางสรรคทัศนศิลป ดุริยางคศิลป และการออกแบบ อีกทั้งมีคณะวิชาดานมนุษยศาสตร สังคมศาสตร วิทยาศาสตร สุขภาพ และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงมีศักยภาพตอการบูรณาการวิจัยแบบ พหุศาสตร (Interdisciplinary Research) ที่ใชจุดแข็งแงมุมตาง ๆ มาประยุกต เขาดวยกันเพื่อใชความรู ความเชี่ยวชาญเฉพาะมาแกไขปญหาที่ซับซอนไดอยาง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กอปรกับพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามมีขนาดการปกครองไมใหญมากนัก มีเพียง 3 อําเภอ แตมีระบบนิเวศทั้ง 3 นํ้า ตั้งอยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร ชุมชนในพื้นที่มีความเขมแข็ง และมีสวนรวมในการพัฒนาและตัดสินใจตาง ๆ เชนนี้ แลวสามารถถอดผลลัพธการวิจัย ตลอดจนถอดบทเรียนเพื่อนําไปพัฒนาเปนชุด เครื่องมือในการทํางานเชิงพื้นที่ เพื่อนําไปประยุกตใชเพื่อการพัฒนายังพื้นที่อื่น ๆ ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 15 25/7/2566 BE 13:19 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 15


16 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มีบริบทแวดลอมของสภาพแวดลอมทางกายภาพ และระบบนิเวศวัฒนธรรมที่มี ความคลายคลึงกันไดตอไป โดยเฉพาะชุมชนหรือเมืองที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณปากแมนํ้า สายตาง ๆ ของภาคกลางของไทย นอกจากนี้ ทําเลที่ตั้งของจังหวัดสมุทรสงครามอยูระหวางวิทยาเขตและ พื้นที่จัดการการศึกษาตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย ทั้งกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม และจังหวัดเพชรบุรี ราว 80 กิโลเมตร ซึ่งใชเวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง ประหยัดเวลาและงบประมาณในการเดินทางจากตนสังกัดมายังสนามการวิจัย ทําใหนักวิจัยสามารถปฏิบัติงานวิจัยในพื้นที่ไดอยางสมํ่าเสมอ เพราะการวิจัยเชิง พื้นที่ซึ่งตองทํางานอยางใกลชิด และเปนที่พึ่งใหแกชุมชนทองถิ่นไดอยางเหมาะสม และทันเหตุการณ “มหาวิทยาลัยศิลปากร” จึงไดคัดสรร “จังหวัดสมุทรสงคราม” เปน พื้นที่คูความรวมมือสําหรับการขับเคลื่อนโจทยวิจัยแบบบูรณาการพหุศาสตร (Interdisciplinary Research) เพื่อการวิจัยและพัฒนาเชิงพื้นที่ (Area-based Research and Development) ดวยการระดมสรรพความรู และความเชี่ยวชาญเพื่อนําไป ประยุกตใชในการวิจัยเพื่อออกแบบวิธีการแกไขปญหาไดอยางตรงเปา คาดการณ ผลกระทบได และรวดเร็วทันเวลา โดยบูรณาการเขากับพันธกิจตาง ๆ เพื่อใหเกิด กิจกรรมที่สรางองคความรู และกอใหเกิดประโยชนแกชุมชนในพื้นที่เปาหมายได อยางเปนรูปธรรม โครงการ “สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรค ฐานนิเวศวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน” ซึ่งไดรับการสนับสนุนการวิจัยโดย “หนวยบริหารและจัดการทุนดานการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ภายใตกรอบ การวิจัย“มหาวิทยาลัยกับการขับเคลื่อนทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเชิง พื้นที่” ทําหนาที่เปนโครงการวิจัยเรือธงของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่สงมอบคุณคา สูชุมชนในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม โดยการ “บูรณาการศาสตรและศิลป เพื่อความผาสุกของสังคมอยางยั่งยืน” ตามวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยและ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 16 25/7/2566 BE 13:20 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 16


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 17 ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ Output Outcome Impact เพื่อความผาสุกของสังคม อย่างยั่งยืน ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 17 26/7/2566 BE 10:15 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 17


18 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร แผนที่แสดงแหลงมรดกวัฒนธรรมประเภทศาสนสถานเนื่องในศาสนาตาง ๆ ในจังหวัดสมุทรสงคราม กึกกอง เสือดี - กุลเดช โกยอมร - เกรียงไกร เกิดศิริ. ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 18 25/7/2566 BE 13:26 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 18


สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 19 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร “นิเวศวิทยาวัฒนธรรมสมุทรสงคราม” “จังหวัดสมุทรสงคราม” เปนจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของไทย มีเนื้อที่ประมาณ 416.707 ตารางกิโลเมตรเทานั้น แบงขอบเขตการปกครอง ออกเปน 3 อําเภอ คือ “อำเภอเมืองสมุทรสงคราม” “อำเภออัมพวา” และ “อำเภอบางคนที” โดยมีแมนํ้าแมกลองไหลพาดผานทุกอําเภอ ชวงที่ไหลผาน จังหวัดสมุทรสงครามมีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร ในทางภูมิศาสตร เปนที่ทราบกันดีวาพื้นที่บริเวณที่แมนํ้าไหลลงบรรจบกับทะเลนั้นจะมีลักษณะ เปนที่ราบลุมตํ่าที่เกิดจากการทับถมของตะกอนดินละเอียดที่แมนํ้าหอบพัดพา ลงมาตามกระแสนํ้า และลักษณะทางภูมิศาสตรจะมีความลาดชันนอย จึงทําให แมนํ้าไหลกระหวัดลัดโคงไปมา ทําใหผูคนที่ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่บริเวณนี้ในอดีต จึงมีการขุดคลองลัดจํานวนมาก เพื่อยนเวลาในการสัญจร ตลอดจนการบริหาร จัดการนํ้ายามที่นํ้าขึ้นและนํ้าลง ในทองที่สมุทรสงครามจึงมีคลองขนาดตาง ๆ มากมายกวา 300 คลอง กระจายตัวอยูเต็มพื้นที่ และทําหนาที่ชวยเกื้อหนุน ชีวิตความเปนอยูของผูคนในพื้นที่สมุทรสงครามมาตั้งแตอดีต โครงการสมุทรสงครามอยูดีฯ จึงไดตอยอดงานงานวิจัยเรื่อง “การ พัฒนากรอบแนวทางสำหรับการปรับตัวเขาสูสมดุลใหมอยางเปนพลวัต ของชุมชนทองถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานในระบบนิเวศ และสิ่งแวดลอมที่มีความผันผวน บริเวณปากแมนํ้าแมกลอง”1 ที่ไดดําเนินการสํารวจ และปรับปรุงฐานขอมูล ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรของแมนํ้าลําคลองในพื้นที่สมุทรสงครามจนมี ความสมบูรณที่สุดเพื่อใชเปนแผนที่ฐานขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตรของ โครงการสมุทรสงครามอยูดีฯ เพื่อใหมีความถูกตองแมนยํา และสะทอนถึงวิถี วัฒนธรรมที่สัมพันธกับระบบนิเวศตามเปาหมายของโครงการ 1 กึกกอง เสือดี และเกรียงไกร เกิดศิริ. การพัฒนากรอบแนวทางสําหรับการปรับตัวเขาสูสมดุลใหมอยางเปนพลวัต ของชุมชนทองถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานในระบบนิเวศ และสิ่งแวดลอมที่มีความผันผวนบริเวณปากแมนํ้าแมกลอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. สนับสนุนโดยทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก วช. เกรียงไกร เกิดศิริ - กึกกอง เสือดี - กุลเดช โกยอมร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 19 25/7/2566 BE 13:29 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 19


20 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร แผนที่แสดงแหลงมรดกวัฒนธรรมประเภทศาสนสถานเนื่องในศาสนาตาง ๆ ในจังหวัดสมุทรสงคราม กึกกอง เสือดี - กุลเดช โกยอมร - เกรียงไกร เกิดศิริ. ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 20 25/7/2566 BE 13:32 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 20


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 21 จากการส�ำรวจแหล่งมรดกทางวัฒธรรมตามเป้าหมายของโครงการ วิจัยสมุทรสงครามอยู่ดีฯ น�ำมาสู่การบันทึกข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ โดยคณะนักวิจัยได้ด�ำเนินการบันทึกข้อมูลโดยจ�ำแนกชั้นข้อมูล (Data Layer) ต่าง ๆ อย่างสมบูรณ์เพื่อน�ำไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูล และการน�ำไปใช้ในการ วางแผนการวิจัยต่อเนื่อง ตลอดจนการน�ำข้อมูลต่าง ๆ บริการแก่ผู้ใช้ (User) กลุ่มต่าง ๆ ทั้งภาคราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพิื่อใช้ประกอบการ ตัดสินใจในด้านต่าง ๆ ตลอดจนภาคเอกชนที่น�ำไปสู่การขับเคลื่อนและส่งเสริม การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมภายในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 21 25/7/2566 BE 13:32 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 21


22 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร เกรียงไกร เกิดศิริ - กึกก้อง เสือดี - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - กุลเดช โกยอมร - สมราช ธอร์, ณัฐวุฒิ สมิทธิปรีชาวงษ์ - บุษกล จงวัฒนาศิลป์กุล - ศรศักดิ์ นวลภักดิ์ - ปภาวดี สะนัย การศึกษาผลกระทบ จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อชุมชนตลาดน�้ำอัมพวา “ตลาดน�้ำอัมพวา” เคยซบเซาลงมาแล้วคราหนึ่งเมื่อหลายสิบปี มาแล้ว เนื่องจากผู้คนต่างทิ้งบ้านเรือนแถวการค้าริมน�้ำออกไปตั้งถิ่นฐาน ตามแนวถนนเมื่อการคมนาคมทางน�้ำลดบทบาทลง เนื่องจากแนวทางการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งถนนหนทางต่าง ๆ และระบบสาธารณูปโภคนั้น ได้ลดทอนความส�ำคัญของชุมชนฐานน�้ำ (Water Based Communities) ซึ่งสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับชุมชนเก่าแก่ที่อิงอาศัยแม่น�้ำล�ำคลองมา ในอดีต ทว่าต่อมาแนวความคิดเรื่องการอนุรักษ์และฟื้นฟูชุมชน โดยเริ่มต้น จากการจัดท�ำแผนที่วัฒนธรรม ภายใต้การสนับสนุนของส�ำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และองค์กรในระดับนานาชาติ ซึ่งเป็นประวัติศาสตร์หน้าส�ำคัญของอัมพวา และในราวปี พ.ศ. 2547 ได้ มีการฟื้นฟูตลาดน�้ำอัมพวา ท�ำให้ชุมชนตลาดน�้ำที่ซบเซาลงได้ตื่นตัวขึ้นมา โดยเฉพาะเมื่อมีการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ขึ้นในพื้นที่ ท�ำให้อัมพวา กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญที่ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ราว 1 ชั่วโมง และสามารถบอกเล่าให้เห็นถึงชุมชนฐานน�้ำที่มีวิถีการอยู่อาศัยใกล้ชิด กับแม่น�้ำได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีสินค้าการท่องเที่ยวที่แตกต่างออกไป จากแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ อันท�ำให้ตลาดน�้ำอัมพวาได้กลายเป็นที่รู้จัก และ ใครต่อใครต่างหาโอกาสมาเยี่ยมเยือน ปัจจัยทางเศรษฐกิจดังกล่าวได้ดึงดูด ให้นักลงทุนภายนอกเริ่มเข้ามาแสวงหาโอกาสภายในพื้นที่ อันเป็นจุดเริ่มต้น ของ “กระบวนการเปลี่ยนแปลงบริบทของชุมชน (Gentrification)” อันเกิดขึ้นจากการเข้ามาของผู้เข้ามาใหม่ (New Commer) ที่มีวิถีวัฒนธรรม ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 22 25/7/2566 BE 13:32 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 22


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 23 การอยู่อาศัย และอาชีพที่แตกต่างออกไปจากชาวชุมชนท้องถิ่น ด้วยโอกาส ทางธุรกิจที่มีมากขึ้น อันเป็นผลมาจากความต้องการที่มาจากการท่องเที่ยว ท�ำให้มีการซื้อขายเปลี่ยนมือความเป็นเจ้าของอาคารบ้านเรือนริมน�้ำ ก่อนหน้าการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เป็นห้วงเวลาที่ นักท่องเที่ยวชาวจีนเดินทางไปท่องเที่ยวในทุกหัวระแหง รวมทั้งที่ตลาดน�้ำ อัมพวาด้วย กระแสการท่องเที่ยวที่เชี่ยวกรากเป็นทุนเดิมยิ่งถูกเร่งเร้ามาก ยิ่งขึ้นจากความต้องการบริโภคของนักท่องเที่ยวชาวจีน ยิ่งท�ำให้ราคาการ ซื้อขายและให้เช่าอาคารบ้านเรือนรวมทั้งที่ดิน ยิ่งมีราคาสูงมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งท�ำเลตลาดริมน�้ำคลองอัมพวา ปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อมเริ่มมีมากขึ้น เนื่องจากการท่องเที่ยวที่ล้นเกิน (Over Tourism) เกินไปกว่าที่ขีดจ�ำกัดความสามารถต่อการรองรับในด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมจะรองรับได้ จนกระทั่งการเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ท�ำให้นักท่องเที่ยวชาวจีนซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มส�ำคัญต้องยุติการเดิน ทางมาประเทศไทยอย่างกระทันหัน อันเนื่องมาจากมาตรการปิดประเทศ รวมทั้งนักท่องเที่ยวชาวไทยก็ยุติลงด้วยเช่นเดียวกัน เนื่องจากต้องปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดตามแนวทางสากล ท�ำให้ตลาดริมน�้ำอัมพวา ต้องปิดตัวลงไปโดยปริยาย ทั้งนี้ โครงการสมุทรสงครามอยู่ดีฯ ได้รับการสนับสนุนให้ด�ำเนิน การวิจัยในปีพ.ศ. 2564 อันเป็นช่วงระหว่างการแพร่ระบาด ท�ำให้ไม่สามารถ เก็บข้อมูลบริบทก่อนหน้าเพื่อน�ำมาเปรียบเทียบผลกระทบได้ จึงได้ออกแบบ การเก็บข้อมูลย้อนหลังจาก Google Street View ที่ได้บันทึกข้อมูลก่อน การแพร่ระบาด จึงท�ำให้ผู้วิจัยสามารถน�ำข้อมูลมาจัดการในระบบสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์เพื่อเปรียบเทียบกับในช่วงระหว่างการแพร่ระบาด และหลัง จากการแพร่ระบาด โดยน�ำเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้ระบบ สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการเปรียบเทียบได้ ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 23 25/7/2566 BE 13:32 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 23


24 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร แผนที่แสดงการใช้ประโยชน์อาคาร และการเปิด-ปิดของธุรกิจในชุมชนตลาดริมน�้ำอัมพวา เกรียงไกร เกิดศิริ - กึกก้อง เสือดี - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - กุลเดช โกยอมร - Samrach Thor ณัฐวุฒิ สมิทธิปรีชาวงษ์ - บุษกล จงวัฒนาศิลป์กุล - ศรศักดิ์ นวลภักดิ์ - ปภาวดี สะนัย ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 24 25/7/2566 BE 13:32 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 24


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 25 1 กึกก้อง เสือดี และเกรียงไกร เกิดศิริ. การพัฒนากรอบแนวทางส�ำหรับการปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างเป็นพลวัตของชุมชน ท้องถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานในระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อมที่มีความผันผวนบริเวณปากแม่น�้ำแม่กลอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. สนับสนุนโดยทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก วช. การใช้ประโยชน์ที่ดินในเทศบาลตำ�บลอัมพวา เทศบาลตำ�บลอัมพวา จำ�นวน 1 ตำ�บล พื้นที่ชุมชนนำ�ร่อง กึกก้อง เสือดี - เกรียงไกร เกิดศิริ แผนที่แสดงความหนาแน่นด้วย heatmap เพื่อวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของการตั้งถิ่นฐานริมน�้ำกับแนวคลองซึ่งได้ จากการส�ำรวจ โดยผนวกกับข้อมูลสิ่งปกคลุมดิน/การใช้ ประโยชน์ที่ดิน จาก Sentinel-2 10m Land Use/Land Cover–Esri, Impact Observatory, and Microsoft1 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 25 25/7/2566 BE 13:33 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 25


26 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร การสำ�รวจด้วยเทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ (UAV) และโฟโตแกรมเมทรี (Photogrammetry) เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลแผนที่ทางกายภาพชุมชนท้องถิ่น เพื่อการวางแผนการอนุรักษ์และพัฒนาเชิงพื้นที่ ชุมชนตลาดน�้ำอัมพวา | ชุมชนตลาดน�้ำบางน้อย จำ�นวน 4 แหล่ง ชุมชนเขายี่สาร | ชุมชนป่าชายเลนบางบ่อ พื้นที่ชุมชนนำ�ร่อง อิสรชัย บูรณะอรรจน์ “โครงการสมุทรสงครามอยู่ดีฯ” ได้ด�ำเนินการเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ให้ทันสมัยกับช่วงเวลาของการวิจัย เนื่องจากเมื่อทบทวนสารสนเทศแล้ว พบว่า ข้อมูลที่ใช้กันอยู่นั้นไม่ได้ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์อาจท�ำให้การ วิเคราะห์ข้อมูลคลาดเคลื่อนไปจากบริบทปัจจุบัน การส�ำรวจได้ประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle (UAV)) เพื่อบันทึกภาพถ่ายสภาพทางกายภาพของพื้นที่โดยการ ท�ำการบันทึกภาพแบบตั้งฉากจ�ำนวนมาก โดยให้แต่ละภาพมีขอบเขต พื้นที่ที่บันทึกให้เหลื่อมกัน จากนั้นจึงน�ำมาประมวลผลด้วยซอฟแวร์ โฟโตแกรมเมทรีเพื่อน�ำผลลัพธ์ไปท�ำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการใช้ประโยชน์ในการวิจัย ซึ่งมีเป้าหมายในการวางแผนจัดการ ทรัพยากรนิเวศวัฒนธรรมชุมชน และการใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์ และพัฒนาชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบนฐานคุณค่า และ ธ�ำรงรักษาสภาพแวดล้อมธรรมชาติและนิเวศวัฒนธรรม ในพื้นที่น�ำร่อง 4 ชุมชน เนื่องจากในพื้นที่ที่มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และนิเวศ วัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับธรรมชาติอย่างใกล้ชิดจะเป็นพื้นที่ที่เปราะบาง อ่อนไหว และมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งที่เกิดขึ้นตามปัจจัย แวดล้อมตามธรรมชาติ หรือมนุษย์เป็นผู้เร่งให้ความเปลี่ยนแปลงนั้น เกิดเร็วมากขึ้น ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 26 25/7/2566 BE 13:33 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 26


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 27 ภาพฉายตั้งฉาก (Orthographic) ฐานข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศชุมชนเขายี่สาร ด้วยอากาศยานไร้คนขับ และการประมวลผลภาพถ่ายด้วยเทคนิคโฟโตแกรมเมทรี ภาพแบบจ�ำลองระดับสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model: DEM) ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 27 25/7/2566 BE 13:33 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 27


28 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 28 25/7/2566 BE 13:33 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 28


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 29 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 29 25/7/2566 BE 13:33 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 29


30 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร การสำ�รวจเพื่อจัดทำ�ฐานข้อมูล มรดกสถาปัตยกรรมทรงคุณค่าสมุทรสงคราม ด้วยเทคโนโลยี 3Ds Laser Scanner สำ�หรับการทำ�แผนการอนุรักษ์ และการพัฒนาทุนมรดกทางสถาปัตยกรรม “โครงการสมุทรสงครามอยู่ดีฯ” ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการส�ำรวจ รังวัดมรดกทางสถาปัตยกรรม ด้วยเทคโนโลยีการส�ำรวจสมัยใหม่โดย ใช้เครื่องสแกนเนอร์เลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner) ทั้งแบบ ตั้ง (Stand) และแบบมือถือ (Handheld) ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับคุณลักษณะ และขนาดของแหล่งมรดกสถาปัตยกรรม ตลอดจนผลงานศิลปกรรม ตกแต่ง เพื่อบันทึกข้อมูลในรูปแบบสามมิติของภาพหมอกจุด (Point Cloud) มีความละเอียด มีความถูกต้องแม่นย�ำ มีประสิทธิภาพสูง และ ประหยัดทั้งเวลาและบุคลากร ตลอดจนความเสี่ยงในการบันทึกข้อมูล และการส�ำรวจในงานภาคสนาม ฐานข้อมูลดิจิทัลที่บันทึกไว้จะช่วยลดความเสี่ยงของการสูญหาย ขององค์ความรู้ของมรดกสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรม อันอาจเกิดขึ้น จากความเสี่ยงต่าง ๆ ทั้งที่เกิดขึ้นจากอุบัติภัย การขาดความรู้ความ เข้าใจในคุณค่าของแหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะแหล่งมรดกพื้นถิ่น (Vernacular Heritage) ที่ไม่ได้มีกลไก การอนุรักษ์ หรือการคุ้มครองตามกฎหมาย ตลอดจนการเสื่อมสภาพ ที่มีความรุนแรงมากขึ้น ภายใต้สภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ (Climate Change) ที่มีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น จำ�นวน 26 แหล่ง 42 อาคาร เกรียงไกร เกิดศิริ - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - สุริยันต์ จันทร์สว่าง - พิพัฒน์ ศักดิ์ศิริเกษมกุล ประธาน เลิศงาม - สิริชัย ร้อยเที่ยง - กึกก้อง เสือดี - Samrach Thor ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 30 25/7/2566 BE 13:33 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 30


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 31 25/7/2566 BE 13:33 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 31


32 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร “วิหารพระพุทธบาท วัดบางกะพ้อม” มรดกศาสนสถานพื้นถิ่นส�ำคัญ ของ อ. อัมพวา จ. สมุทรสงคราม ตัวอาคารเป็นเครื่องก่อขนาดไม่ใหญ่โตนัก หน้าบันของอาคารทั้งด้านหน้าและด้านหลังตกแต่งด้วยปูนปั้นเป็นลวดลาย มงคลแบบจีนผสมกับกลิ่นอายแบบตะวันตก หลังคามุงกระเบื้อง ประตูทาง เข้าทั้งด้านหน้าและหลังเป็นช่องประตูรูปวงกลมแบบช่องประตูจีน ภายใน อาคารประดิษฐาน “รอยพระพุทธบาทสี่รอย” เพื่อแสดงนัยยะความหมาย ที่เชื่อมโยงกับการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าทั้งสี่พระองค์ในภัทรกัป บนผนังภายในอาคารตกแต่งด้วยประติมากรรมปูนปั้นนูนสูงลงสี จ�ำแนก เป็น 3 เรื่องหลัก คือ รอยพระพุทธบาทที่พระพุทธเจ้าทรงพระราชทานไว้ตาม แหล่งต่าง ๆ ที่พระองค์ได้เสด็จไปเยี่ยมเยือนตามจักรวาลทัศน์พุทธศาสนา ตลอดจนเรื่องธุดงควัตรของภิกษุ และการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ ประติมากรรมปูนปั้นที่ตกแต่งและให้ความหมายที่เชื่อมโยง กับโลกพระพุทธศาสนา และเรื่องราวตามคัมภีร์อย่างน่าสนใจแล้ว จิตรกร ยังเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญเรื่องธรรมชาติ และนิเวศวัฒนธรรม ซึ่งย่อม ต้องเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรมในถิ่นที่อัมพวาและบางช้างแห่งนี้เอง โครงการสมุทรสงครามอยู่ดีฯ เล็งเห็นศักยภาพในฐานะของแหล่งเรียนรู้ ส�ำคัญจึงส�ำรวจรังวัดมรดกสถาปัตยกรรมด้วยการบูรณาการเทคโนโลยี สมัยใหม่ อาทิ เลเซอร์สแกนเนอร์สามมิติ อากาศยานไร้คนขับ และกล้อง DSL และน�ำข้อมูลมาประมวลผลในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เป็นฐานข้อมูล เพื่อการต่อยอดในแง่มุมต่าง ๆ ต่อไป การสำ�รวจรังวัดมรดกสถาปัตยกรรม วิหารพระพุทธบาทวัดบางกะพ้อม อำ�เภออัมพวา เกรียงไกร เกิดศิริ - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - สุริยันต์ จันทร์สว่าง - ประธาน เลิศงาม - กึกก้อง เสือดี ศรศักดิ์ นวลภักดิ์ - Pham Le Gia - Samrach Thor ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 32 25/7/2566 BE 13:34 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 32


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 33 หุ่นจำ�ลองอาคารขึ้นรูปจากการประมวลผล ข้อมูลที่เก็บจากเทคโนโลยีต่าง ๆ วิหารพระพุทธบาทสี่รอย จำ�นวน 1 หลัง วัดบางกะพ้อม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม มรดกสถาปัตยกรรม ภาพฉายตั้งฉาก (Ontho Orthographic) หน้าบันวิหารพระพุทธบาทวัดบางกะพ้อม หน้าบันวิหารทิศตะวันออก หน้าบันวิหารทิศตะวันตก ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 33 25/7/2566 BE 13:34 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 33


34 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร การสื่อความหมายแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และ การท่องเที่ยว เกรียงไกร เกิดศิริ - กัมปนาท ธาราภูมิ - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - พิพัฒน์ ศักดิ์ศิริเกษมกุล - ประธาน เลิศงาม กึกก้อง เสือดี - สิริชัย ร้อยเที่ยง - ภาคย์ธิร์วัฒน์ บุญมี - ภัคพล ท้าวเวชสุวรรณ - ภาณุพงษ์ ทองเปรม ชลกรานต์ อวยจินดา - ไวรัลย์ เลาหะกุล - ณัฐกรณ์ อุตรารัชต์กิจ - กุลธิดา โพธินิมิตร - กุลยา วิงวอน ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 34 25/7/2566 BE 13:34 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 34


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 35 วิหารพระพุทธบาทสี่รอย จำ�นวน 2 ชุด พระอุโบสถ วัดเกษมสรณาราม (วัดบางจาก) ระบบสื่อความหมาย วัดบางกะพ้อม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม วัดเกษมสรณาราม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 35 25/7/2566 BE 13:34 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 35


36 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 36 25/7/2566 BE 13:35 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 36


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 37 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 37 25/7/2566 BE 13:35 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 37


38 สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร กฤษฎี กลิ่นจงกล - กฤติยะ มีทวี - กมลทิพย์ กันตะเพ็ง - เกรียงไกร เกิดศิริ กึกก้อง เสือดี - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - ประธาน เลิศงาม - สิริชัย ร้อยเที่ยง กุลเดช โกยอมร - ปภาวดี สะนัย - Samrach Thor แผนที่มรดกวัฒนธรรม และ ความทรงจำ�ล�้ำค่า ของ ผู้คนในท้องถิ่น และ ผู้มาเยือน ชุมชนตลาดริมน�้ำ จำ�นวน 1 พื้นที่นำ�ร่อง อัมพวา แผนที่มรดกวัฒนธรรม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 38 25/7/2566 BE 13:35 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 38


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 39 เส้นทางทดลองการท่องเที่ยวทางน�้ำและการเยี่ยมชม แหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรม และนิเวศวัฒนธรรม ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 39 25/7/2566 BE 13:35 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 39


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร จากการ “สำ�รวจโครงข่ายเส้นทางสัญจรทางน�้ำ” ที่เชื่อมโยงพื้นที่ ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งโครงข่ายเส้นทางน�้ำเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเส้นทางที่ขุดขึ้น โดยมนุษย์ ทั้งนี้ จากการสุ่มส�ำรวจภาคสนามแบบเร็ว (Rapid Survey) ท�ำให้พบว่าระบบโครงข่ายเส้นทางน�้ำจ�ำนวนมากไม่ปรากฏในฐานข้อมูล จึงมี ความจ�ำเป็นที่ต้องปรับปรุงแผนที่ฐาน “ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System - GIS)” เพื่อใช้ในโครงการวิจัย ที่ต้องการข้อมูลที่มีความถูกต้องแม่นย�ำ ในการส�ำรวจภาคสนาม พบว่าในบางพื้นที่ไม่มีถนนหนทางให้ยานพาหนะ เข้าถึงได้ จึงได้ประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับช่วยในการส�ำรวจเพื่อบันทึก ภาพถ่ายมุมสูง ทว่าบางพื้นที่ลึกและมีขนาดพื้นที่กว้างขวาง จนไม่อาจควบคุม สัญญาณอากาศยานไร้คนขับได้ ในการนี้ จึงต้องด�ำเนินการส�ำรวจภาคสนาม โดยนักวิจัยเองโดยการ “พายเรือคายัค (Kayaking)” ที่ติดตั้ง “เครื่อง ระบุตำ�แหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System - GPS)” เพื่อ ติดตามเส้นทางโครงข่ายของแม่น�้ำ ล�ำคลอง ล�ำประโดง ที่ยังไม่ถูกก�ำหนด ในแผนที่มาตรฐานที่ใช้กันทั่วไป เพื่อให้แผนที่ฐานและระบบสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยสมุทรสงครามอยู่ดีฯ มีความถูกต้องของข้อมูล มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 40 การฟื้นฟูเส้นทางสัญจรทางน�้ำ และการส่งเสริมการท่องเที่ยว และ การเรียนรู้วัฒนธรรม วิถีแห่งสายน�้ำแม่กลอง คลองอัมพวา - คลองบางจาก - คลองวัดดาวดึงส์ - คลองบางสะแก เส้นทางสัญจรทางน�้ำ ที่ได้รับการฟื้นฟู และ ส่งเสริมการท่องเที่ยว 4 เส้นทางน�้ำ 40 กฤษฎี กลิ่นจงกล - ทศพล ชื่นจิต - วิสูตร นวมศิริ - กฤติยะ มีทวี - มนัสชัย สินเสวี - มนัส บุญพยุง กมลทิพย์ กันตะเพ็ง - กึกก้อง เสือดี - รัฐสภา มหาชน - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - เกรียงไกร เกิดศิริ จากการ “สำ�รวจโครงข่ายเส้นทางสัญจรทางน�้ำ” ที่เชื่อมโยงพื้นที่ ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งโครงข่ายเส้นทางน�้ำเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเส้นทางที่ขุดขึ้น โดยมนุษย์ ทั้งนี้ จากการสุ่มส�ำรวจภาคสนามแบบเร็ว (Rapid Survey) ท�ำให้พบว่าระบบโครงข่ายเส้นทางน�้ำจ�ำนวนมากไม่ปรากฏในฐานข้อมูล จึงมี ความจ�ำเป็นที่ต้องปรับปรุงแผนที่ฐาน “ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System - GIS)” เพื่อใช้ในโครงการวิจัย ที่ต้องการข้อมูลที่มีความถูกต้องแม่นย�ำ ในการส�ำรวจภาคสนาม พบว่าในบางพื้นที่ไม่มีถนนหนทางให้ยานพาหนะ เข้าถึงได้ จึงได้ประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับช่วยในการส�ำรวจเพื่อบันทึก ภาพถ่ายมุมสูง ทว่าบางพื้นที่ลึกและมีขนาดพื้นที่กว้างขวาง จนไม่อาจควบคุม สัญญาณอากาศยานไร้คนขับได้ ในการนี้ จึงต้องด�ำเนินการส�ำรวจภาคสนาม โดยนักวิจัยเองโดยการ “พายเรือคายัค (Kayaking)” ที่ติดตั้ง “เครื่อง ระบุตำ�แหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System - GPS)” เพื่อ ติดตามเส้นทางโครงข่ายของแม่น�้ำ ล�ำคลอง ล�ำประโดง ที่ยังไม่ถูกก�ำหนด ในแผนที่มาตรฐานที่ใช้กันทั่วไป เพื่อให้แผนที่ฐานและระบบสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยสมุทรสงครามอยู่ดีฯ มีความถูกต้องของข้อมูล มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 40 26/7/2566 BE 10:16 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 40


สมุทรสงครามอยู่ดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้งนี้ ในการส�ำรวจภาคสนามโดยใช้เรือคายัคได้รับการสนับสนุนและ ความร่วมมือจากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานในพื้นที่ ร่วมการส�ำรวจและอ�ำนวยความสะดวก อันน�ำไปสู่การร่วมกันวางแผนการ ฟื้นฟู และการส่งเสริมการกลับมาใช้ประโยชน์เส้นทางสัญจรทางน�้ำ เพื่อการ คมนาคมขนส่ง ตลอดจนส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และกีฬาทาง น�้ำ อาทิ การพายเรือคายัค และซับบอร์ด เพื่อเจียระไนคุณค่าของสายน�้ำให้ กลับมาเปล่งประกายมีบทบาทในบริบทสังคมร่วมสมัย ตลอดจนเพื่อเป็นการกระจายรายได้จากการท่องเที่ยวที่เดิมกระจุกตัว อยู่เฉพาะแหล่งท่องเที่ยวหลักให้กระจายออกไปยังพื้นที่ข้างเคียง ตลอดแนว เส้นทางการท่องเที่ยวทางน�้ำ อีกทั้งเป็นการส่งเสริมความภาคภูมิใจของชุมชน และประชาชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตลอดแนวเส้นทางให้หันกลับมามีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์สายน�้ำ เนื่องจากจะมีโอกาสในการร่วมรับประโยชน์อันจะเกิดขึ้น จากการฟื้นฟูเส้นทางสัญจรทางน�้ำและการท่องเที่ยวทางน�้ำไปสู่ความยั่งยืน ต่อไปในอนาคต 41 ทั้งนี้ ในการส�ำรวจภาคสนามโดยใช้เรือคายัคได้รับการสนับสนุนและ ความร่วมมือจากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานในพื้นที่ ร่วมการส�ำรวจและอ�ำนวยความสะดวก อันน�ำไปสู่การร่วมกันวางแผนการ ฟื้นฟู และการส่งเสริมการกลับมาใช้ประโยชน์เส้นทางสัญจรทางน�้ำ เพื่อการ คมนาคมขนส่ง ตลอดจนส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และกีฬาทาง น�้ำ อาทิ การพายเรือคายัค และซับบอร์ด เพื่อเจียระไนคุณค่าของสายน�้ำให้ กลับมาเปล่งประกายมีบทบาทในบริบทสังคมร่วมสมัย ตลอดจนเพื่อเป็นการกระจายรายได้จากการท่องเที่ยวที่เดิมกระจุกตัว อยู่เฉพาะแหล่งท่องเที่ยวหลักให้กระจายออกไปยังพื้นที่ข้างเคียง ตลอดแนว เส้นทางการท่องเที่ยวทางน�้ำ อีกทั้งเป็นการส่งเสริมความภาคภูมิใจของชุมชน และประชาชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตลอดแนวเส้นทางให้หันกลับมามีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์สายน�้ำ เนื่องจากจะมีโอกาสในการร่วมรับประโยชน์อันจะเกิดขึ้น จากการฟื้นฟูเส้นทางสัญจรทางน�้ำและการท่องเที่ยวทางน�้ำไปสู่ความยั่งยืน ต่อไปในอนาคต ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 41 26/7/2566 BE 10:17 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 41


42 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 42 25/7/2566 BE 15:50 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 42


สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 43 กิจกรรม “เรือรื่นธารารมย ชมชื่นอัมพวา” เพื่อแสวงหาความรวมมือกับ หนวยงานภาครัฐสวนภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิน ภาคธุรกิจและ เอกชน และผูประกอบการรายยอย ใหเขามามีสวนรวมในการพัฒนาเสนทาง การทองเที่ยววัฒนธรรมทางนํ้า โดยมุงสรางความรูความเขาใจเรื่องวิถีชีวิต และนิเวศวัฒนธรรม และมีสวนรวมธํารงรักษา “นิเวศวัฒนธรรมแมกลอง” ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 43 25/7/2566 BE 15:50 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 43


44 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 44 25/7/2566 BE 15:50 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 44


สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 45 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 45 25/7/2566 BE 15:51 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 45


46 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 46 25/7/2566 BE 15:51 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 46


สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 47 ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 47 25/7/2566 BE 15:52 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 47


48 สมุทรสงครามอยูดี: การขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร ���������������� ������������������������������� (145x210 mm).indd 48 25/7/2566 BE 15:52 (เเก้ไข 1) เรยีงหน้าเข้าเล่ม 48


Click to View FlipBook Version