แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | ก
คำนำ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 มีจุดมุ่งหมายมุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
เป็นคนดีมีความรู้ และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเป็นสุข การดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพนั้นการวางแผนจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ตลอดจนเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการสร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วม
ของทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการศกึ ษาอย่างย่ังยนื โรงเรยี นบา้ นแม่กงุ้ หลวงจดั ทำแผนพัฒนา
การศึกษา ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 - 2567) โดยโรงเรียนได้วเิ คราะห์ความสอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์
ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการภายใต้กรอบ แนวคิดทิศทาง
นโยบาย/กลยุทธ์ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกัน
คุณภาพการศกึ ษาตอบสนองมาตรฐานการศึกษาของชาติ และมาตรฐานการศกึ ษาของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ศกึ ษาสภาพของโรงเรียนจากรายงานการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก
ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในรอบที่ผ่านมา และทำการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมทัง้ ภายใน – ภายนอกของโรงเรียน ซง่ึ ใช้เทคนคิ วธิ กี าร SWOT (SWOT Analysis) เพื่อประเมิน
สถานภาพของโรงเรียน นำข้อมูลมากำหนดทิศทางของโรงเรียน โดยกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์
และเป้าหมาย ตลอดจนจัดทำโครงการ ค่าเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จ เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้บริหาร คณะครแู ละบุคลากร
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา ระยะ 3 ปี
(พ.ศ. 2565 - 2567) ในคร้ังนจ้ี นสำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี โรงเรียนบา้ นแมก่ ุง้ หลวงหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ แผนพฒั นา
การศึกษา ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 - 2567) ฉบับนี้จะเป็นแนวทางในการผลักดันการนำกลยุทธ์ของ
กระทรวงศึกษาธิการและกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตลอดจนหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องไปสู่การปฏิบัติจนเกิดผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นเครื่องมือในการบริหารและจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษาในสงั กดั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลตอ่ ไป
(นางสาววพชิ ญาภคั โนลา)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านแมก่ ุ้งหลวง
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | ข
สารบัญ
หน้า
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานโรงเรียนบ้านแมก่ ุ้งหลวง
สว่ นท่ี 2 สรปุ ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและการประเมินสถานภาพของโรงเรียน
ส่วนท่ี 3 กลยทุ ธ์การพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา
กลยทุ ธ์ที่ 1 ............................................
กลยุทธท์ ่ี 2 ............................................
กลยทุ ธ์ที่ 3 ............................................
กลยทุ ธ์ท่ี 4 ............................................
ส่วนที่ 4 โครงการและกจิ กรรมตามกลยุทธ์
สว่ นท่ี 5 การกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงาน
ภาคผนวก
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 1
สว่ นท่ี 1
ขอ้ มูลพนื้ ฐานโรงเรยี นบา้ นแม่กุ้งหลวง
1. ประวัตคิ วามเป็นมา
ที่ตั้ง โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง เลขที่ 23 หมู่ที่ 11 บ้านศรีโพธิง์ าม ตำบลทุ่งต้อม อำเภอสันป่าตอง
จังหวัดเชยี งใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50120
ประวตั ิโรงเรียนโดยยอ่
โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2477 ครั้งแรกอาศัยศาลาวัด
สุพรรณรังษี เป็นสถานที่เล่าเรียน ย้ายมาอยู่ที่ปัจจุบันเมื่อเดือนมกราคม 2495 เดิมมีเนื้อที่ 2 ไร่ 2 งาน
23 ตารางวา ปลายปีการศึกษา 2495 นายดี อุปวรรณ ครูใหญ่ ได้ขอความร่วมมือจากราษฎร สละทรัพย์
สรา้ งอาคารเรียน แบบ ป.1ก ตึก ขนาด 9 × 27 เมตร มีมกุ 2 ขา้ ง โดยไมอ่ าศยั งบประมาณจากทางราชการ
ได้ทำบุญฉลองอาคารเมื่อวันที 7 พฤษภาคม 2498 รวมเวลาก่อสร้างนาน 3 ปี (อาคารดังกล่าว
ได้รื้อถอนไปแล้ว) และได้สร้างอาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช. 203 ขนาด 20 × 10 เมตร ขึ้นแทน
เมือ่ วันที่ 21 ธนั วาคม 2525
ในปีพุทธศักราช 2512 ได้ขอซ้ือที่ดินจาก นางแว่น ปั๋งเส็ง เนื้อที่ 96 ตารางวา เพื่อก่อสร้างอาคาร
เรยี นกึ่งถาวร เมือ่ วนั ที่ 1 กันยายน 2512 (อาคารไดร้ อ้ื ถอนเปน็ โรงเก็บรถแทน)
เดือนธันวาคม 2512 ได้รับงบประมาณจาก กองอนามัยโรงเรียน กระทรวงสาธารณสุข
จำนวน 5,000 บาท ราษฎรร่วมสมทบทุน 6,116 บาท รวมเป็นเงิน 11,116 บาท สร้างประปาโรงเรียน
ซ่งึ ถงั เก็บน้ำประปาดังกล่าว ไดช้ ำรุดทรดุ โทรมลงไมส่ ามารถใช้ประโยชน์ได้ ทางโรงเรียนได้รบั งบประมาณจาก
องค์การบริหารสว่ นจังหวัดเชียงใหม่สร้างถังประปา ขึ้นแทน เมื่อพทุ ธศักราช 2534 เพราะมีนกั เรยี นเพิม่ ข้ึน
ทำให้บริเวณโรงเรียนคับแคบลง จึงได้ติดต่อขอซอ้ื ท่ดี นิ ของ นายเป็ง สวนมะนลิ เนอื้ ที่ 2 ไร่ 10 ตารางวา เป็น
เงิน 22,000 บาท โดยราษฎร หมู่ท่ี 6,7 รว่ มบริจาคเงนิ ซอื้ ให้
ดา้ นการเรียนการสอน โรงเรียนไดเ้ ปิดสอนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เมือ่ ปี พ.ศ. 2515 และเปิดสอน
ช้ันเด็กเล็ก (เตรียมอนบุ าล) ในปกี ารศึกษา 2528 พอส้ินปีการศึกษา 2531 ไดเ้ ร่ิมปิดสอนระดบั ชั้นอนบุ าล
ซึ่งในปจั จุบนั คน เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล 1 – ป.6 มีนักเรียนรวมจำนวนทั้งส้ิน 41 คน ข้าราชการครู
จำนวน 4 คน ครูอัตราจ้าง 3 คน ครูพี่เลี้ยงเด็ก 1 คน และเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน มีเขตพื้นที่บริการ
คอื หมูท่ ่ี 4 หมทู่ ี่ 6 หมู่ท่ี 7 หมทู่ ่ี 11 หมูท่ ่ี 8 และหมทู่ ่ี 9
2. สภาพเขตพน้ื ทบี่ รกิ าร
2.1 สภาพภูมิศาสตร์ โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 23 หมู่ที่ 11 บ้านศรีโพธ์งิ าม
ตำบลทุ่งต้อม อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางจากโรงเรียนถึงเขตพื้นที่การศึกษา 13 กิโลเมตร
ระยะทางจากโรงเรยี นถงึ อำเภอสันป่าตอง 9 กโิ ลเมตร
2.2 เขตบริการ โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง ให้บริการประชากรวัยเรียนและชุมชน
ครอบคลุม 6 หมู่บา้ นในตำบลท่งุ ต้อม ไดแ้ ก่
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 2
หมูท่ ่ี 4 บา้ นศรีก่อเก๊า ตำบลทงุ่ ตอ้ ม อำเภอสนั ป่าตอง จังหวัดเชยี งใหม่
หมูท่ ่ี 6 บ้านแมก่ ้งุ หลวง ตำบลทุง่ ต้อม อำเภอสันป่าตอง จังหวดั เชียงใหม่
หม่ทู ี่ 7 บา้ นสันจิกุ่ง ตำบลทุ่งต้อม อำเภอสันปา่ ตอง จงั หวดั เชียงใหม่
หมทู่ ่ี 8 บา้ นแมก่ ้งุ น้อย ตำบลทงุ่ ตอ้ ม อำเภอสันปา่ ตอง จังหวดั เชยี งใหม่
หมู่ที่ 9 บา้ นแม่ก้งุ นอ้ ย ตำบลทงุ่ ตอ้ ม อำเภอสันป่าตอง จงั หวดั เชยี งใหม่
หม่ทู ่ี 11 บา้ นศรโี พธ์งิ าม ตำบลทงุ่ ตอ้ ม อำเภอสันปา่ ตอง จงั หวัดเชยี งใหม่
2.3 สภาพการคมนาคม สามารถเดินทางได้ทางบก โดยใชร้ ถยนต์ รถจักรยานยนต์
2.4 ด้านเศรษฐกิจ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ ประกอบอาชพี รับจ้างท่วั ไป ค้าขาย และเกษตรกร
3. สภาพปจั จบุ นั ของโรงเรียนบ้านแมก่ ุง้ หลวง
ที่ตั้ง เลขที่ 23 หมู่ที่ 11 บ้านศรีโพธิ์งาม ตำบลทุ่งต้อม อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
รหสั ไปรษณีย์ 50120 โทรศัพท์ o82-1859988
E-mail address : [email protected]
Website : https://www.facebook.com/banmaekungluangschool
ขนาดพ้นื ท่ี โรงเรยี นบา้ นแมก่ งุ้ หลวง มีเนื้อท่ีประมาณ 2 ไร่
อาคารส่ิงก่อสรา้ ง โรงเรียนบ้านแมก่ ุง้ หลวง มอี าคารสถานที่ ดงั นี้
* อาคารเรียน 3 หลงั
* อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง
* ส้วม 2 หลงั
เครอ่ื งหมายประจำโรงเรยี นบา้ นแม่กงุ้ หลวง
วสิ ยั ทัศน์
“โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวงเป็นโรงเรียนคุณภาพในตำบลทุ่งต้อม ผู้เรียนมีคุณธรรม
ล้ำเลิศความรู้ เน้นจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต
และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งในศตวรรษที่ 21 ภายใตก้ ารบริหารงานแบบมีสว่ นรว่ ม”
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 3
พันธกิจ
1. พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะหลักที่จำเป็นในการดำรงชีวิต พัฒนาและต่อยอด ได้เต็มตาม
ศักยภาพของแต่ละบุคคล มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย
รบั ผิดชอบต่อสงั คม และเป็นพลเมืองที่เขม้ แข็งในศตวรรษท่ี 21
2. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ ทั้งด้านการพัฒนา
หลักสูตร ด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต ด้านการพัฒนาส่ือ
การเรยี นการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ สนองตอ่ การพฒั นาศักยภาพผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคลอยา่ งเป็นองค์รวม
3. พฒั นาการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และการบริหารงานแบบมสี ่วนรว่ ม
ให้เปน็ แหลง่ เรียนรทู้ หี่ ลากหลายเออื้ ตอ่ การเรียนร้ทู ี่สอดคล้องกับพหุปัญญาและธรรมชาตขิ องผู้เรียน มกี าร
ประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรยี น ผูป้ กครอง ชุมชน และสร้างภาคีเครือข่ายเพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษา
เปา้ ประสงค์
1. ผู้เรียนให้มีสมรรถนะหลักที่จำเป็นในการดำรงชีวิต พัฒนาและต่อยอด ได้เต็มตาม
ศักยภาพของแต่ละบุคคล มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย
รับผิดชอบต่อสงั คม และเป็นพลเมืองทเี่ ขม้ แข็งในศตวรรษท่ี 21
2. ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาศักยภาพ มีความรู้ ความสามารถ ทั้งด้าน
การพัฒนาหลกั สูตร ด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นสมรรถนะที่จำเป็นในการดำรงชวี ติ ด้านการ
พฒั นาสื่อการเรยี นการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ สนองต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรยี นเป็นรายบุคคลอย่างเป็น
องค์รวม
3. โรงเรียนมกี ารบรหิ ารจัดการศึกษาอย่างมีระบบตามหลักธรรมาภบิ าล และการบริหารงาน
แบบมีส่วนร่วม เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเอื้อต่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพหุปัญญาและธรรมชาติของ
ผู้เรียน มกี ารประสานความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรยี น ผ้ปู กครอง ชมุ ชน และสร้างภาคีเครอื ขา่ ยเพื่อสนบั สนุนการ
จดั การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ
คำขวญั “ประพฤติดี มีความรู้ ส้งู าน ประสานชุมชน”
สีประจำโรงเรียน “แดง-ขาว”
เอกลักษณ์ “เกง่ ดี มคี ณุ ธรรม นอ้ มนำความพอเพยี ง”
อตั ลกั ษณ์ “เกง่ คดิ ส่อื สารเป็น เนน้ ประยกุ ต์ใช”้
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 4
4. ผลการดำเนินการท่ผี ่านมาสภาพปัญหาและข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา
ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID 19
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก
จดุ เนน้ เดก็ ไดร้ บั ประสบการณแ์ ละเรียนรูผ้ า่ นการเล่น
ผลการพิจารณา ตวั ชี้วัด สรปุ ผลการประเมนิ
/ ๑. มีการระบุเป้าหมายคุณภาพของเดก็ ปฐมวัย o ปรบั ปรุง (๐-๓ ข้อ)
/ ๒. มีการระบุวิธพี ัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัยอย่าง o พอใช้ (๔ ข้อ)
เป็นระบบ ตามเป้าหมายการพฒั นาเด็กปฐมวยั / ดี (๕ ขอ้ )
/ ๓. มีพัฒนาการสมวัยตามเป้าหมายการพัฒนา
เดก็ ปฐมวัย
/ ๔. มีการนำผลประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวัย
มาพฒั นาเดก็ ปฐมวัยใหม้ พี ัฒนาการสมวัย
/ ๕. มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของเด็ก
ปฐมวัยตอ่ ผ้ทู ่ี เกย่ี วขอ้ ง
ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดับสงู ขนึ้
สถานศึกษาควรระบุและตรวจสอบข้อมูลใน SAR ให้ชัดเจนขึ้น ในประเด็นการกำหนดค่าเป้าหมาย
คุณภาพเด็ก ควรระบุเป้าหมายคุณภาพของเด็กทั้งเป้าหมายเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ อาจใช้วิธีนำเสนอ
ข้อมูล เป็นตารางเปรียบเทียบค่าร้อยละ ให้สามารถเห็นผลการดำเนินงานที่บรรลุผลเป็นไปตามการตั้งค่า
เป้าหมายของ สถานศึกษาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ยิ่งขึ้น และควรระบุกระบวนการพัฒนาคุณภาพของเด็กว่า
มีการดำเนินการอย่างไร วิธีการประเมิน การนำผลการประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวัยไปปรับปรุงแก้ไข
เพอ่ื ยกระดับคุณภาพ ให้ครอบคลมุ กบั พัฒนาการของเดก็ ทั้ง ๔ ดา้ นดำเนินการอย่างไร โดยเฉพาะการนำเสนอ
ผลการประเมินคุณภาพของเด็กต่อผู้ท่ี เกี่ยวข้องควรนำเสนออย่างเป็นระบบ โดยเริ่มตั้งแต่การวางแผน
การนำผลการประเมินมาใช้ให้เหมาะสมกับการ จัดทำแผนประสบการณ์ เน้นการพฒั นาการในด้านท่ีตอ้ งการ
สง่ เสรมิ พัฒนา มีการประเมนิ แผนการจัดประสบการณ์ สรปุ ผลการดำเนินงาน ปัญหาและอปุ สรรค และมีการ
นำเสนอผลการประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวยั ตอ่ ผทู้ ่ี เกยี่ วขอ้ งโดยวิธีการใด เชน่ วิธกี ารประชุมครู ผปู้ กครอง
หรอื เผยแพร่ในช่องทางอ่ืนๆ เช่น เอกสาร สอ่ื ออนไลน์ เป็นต้น อกี ทง้ั ควรมกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรรู้ ่วมกนั ของครู
เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นาแผนการจัดประสบการณ์ ในครั้งต่อไป
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 5
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
จดุ เนน้ ผู้บริหารมีระบบบรหิ ารคุณภาพแบบการมีสว่ นรว่ ม
ผลการพจิ ารณา ตวั ชีว้ ดั สรุปผลการประเมนิ
/
/ ๑. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแต่ละปกี ารศึกษา o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)
/ ๒. มีการนำแผนการดำเนนิ การไปใช้ดำเนินการ o พอใช้ (๔ ขอ้ )
/ / ดี (๕ ขอ้ )
/ ๓. มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตาม
แผน
๔. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไข
ในปี การศึกษาตอ่ ไป
๕. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา
ให้ผู้มีสว่ น ไดส้ ว่ นเสยี ไดร้ ับทราบ
ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดบั สูงข้นึ
สถานศึกษาควรระบุและตรวจสอบข้อมูลใน SAR เพิ่มเติม ในประเด็นของการมีส่วนร่วมของ
ผู้เกี่ยวขอ้ งใน การบรหิ ารจัดการ สถานศึกษาควรระบุว่ามกี ารดำเนินโครงการอะไรบ้าง มีการวางแผนอย่างไร
ดำเนินการอย่างไร บ้าง มีการประเมินผลการดำเนินการอย่างไร และมีการนำผลการดำเนินงานโครงการและ
กิจกรรมดังกล่าวมาสู่การ พัฒนาอย่างไร ซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพของกระบวนการบริหารที่ชัดเจนมากข้ึน
และมีการนิเทศ ติดตาม กำกับ ประเมินผลการดำเนินงานโดยใคร ประเมินอย่างไร มีเครื่องมือที่ใช้ในการ
ประเมินหรือไมอ่ ย่างไร ตลอดจนการนำ ผลการประเมนิ มาปรับปรงุ และพฒั นาอยา่ งไรใหค้ รอบคลุมทุกขั้นตอน
อยา่ งเป็นระบบ เพ่ือพฒั นาการบรหิ ารจัดการ ตามระบบการบริหารงานคณุ ภาพ PDCA และในการนำเสนอผล
การดำเนนิ งานการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาให้ ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียไดร้ บั ทราบ ควรมีการประเมนิ ความพงึ พอใจ
ด้วยเพื่อใช้เป็นขอ้ มูลในการร่วมวางแผน แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนา รวมถึงให้มีสว่ นรว่ มออกแบบการบริหาร
จัดการท่ีช่วยให้เกิดผลดีตอ่ การบริหารงานทดี่ มี ี ประสิทธภิ าพ ตอ่ ไป
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 6
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเปน็ สำคัญ
จดุ เนน้ ครูผสู้ อนจัดประสบการณแ์ บบบูรณาการการเรียนรู้ผ่านการเลน่
ผลการพิจารณา ตวั ชี้วัด สรปุ ผลการประเมิน
/
/ ๑. ครูมีการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ o ปรับปรุง (๐-๓ ข้อ)
/ รายปีครบทุก หน่วยการเรยี นรทู้ ุกช้ันปี o พอใช้ (๔ ข้อ)
/
/ ๒. ครูทุกคนมีการนำแผนการจัดประสบการณ์การ / ดี (๕ ข้อ)
เรยี นรู้ไปใช้ในการจัดประสบการณ์โดยใช้สอ่ื เทคโนโลยี
สารสนเทศและแหลง่ เรียนร้ทู เี่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้
๓. มีก าร ตร ว จส อ บ แ ละ ปร ะ เม ิน ผ ลก า ร จั ด
ประสบการณอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ
๔. มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัด
ประสบการณข์ องครู อยา่ งเป็นระบบ
๕. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับ
เพอ่ื พัฒนา ปรับปรุงการจดั ประสบการณ์
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดบั สงู ข้นึ
สถานศึกษาควรระบุและตรวจสอบข้อมูลใน SAR ให้ชัดเจนขึ้น ในประเด็น การวางแผนการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย ที่ครอบคลุมการเรียนรู้ที่เน้นประสบการณ์ตรงผ่านการเล่น
โดยใน แผนการจัดประสบการณ์ มีการออกแบบการจัดประสบการณ์ที่ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงตาม
ประสบการณ์ สำคัญและสาระที่ควรเรยี นรู้สัมพันธส์ อดคล้องกบั หลักสูตรสถานศึกษาระดับการศกึ ษาปฐมวยั
และควรจัดทำเครื่องมอื ประเมินผลการจัดประสบการณ์เพื่อนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัดประสบการณ์
ของครูอย่างเป็น ระบบ สถานศึกษาควรระบุรายละเอียดเพิ่มเติม โดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดเป้าหมาย
การวิเคราะห์ถึงสาเหตุและ ปัญหาที่เกิดขึ้น การนำผลการประเมินมาวางแผนการดำเนินงานพัฒนาโดยระบุ
วิธีการ และผลการดำเนินงาน เป็นต้น สำหรับประเด็นมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือ
พัฒนาปรบั ปรงุ การจัดประสบการณน์ นั้ สถานศกึ ษาควรระบุเพ่ิมเตมิ ในรายละเอยี ดการใหผ้ ู้ปกครองมีส่วนร่วม
ในการประเมินพัฒนาการเด็ก เช่น การจัด ประชุมผู้ปกครอง หรือใช้สื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ไลน์กลุ่มกับ
ผู้ปกครอง เป็นต้น และไดม้ กี ารจัดกิจกรรมอยา่ ง ตอ่ เน่อื งหรือไม่ ผลการดำเนินงานเป็นอยา่ งไร มีการประเมิน
ความพงึ พอใจของผปู้ กครองหรือไม่ และสถานศกึ ษาได้ นำความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะจากผ้ปู กครองมาสรปุ เพ่อื
นำมาพัฒนาปรับปรุงการจัดประสบการณ์อย่างไร และควรนำข้อมูลผลการพัฒนาการของเด็กเสนอต่อ
ผปู้ กครอง ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี รับทราบผลการพฒั นาของเด็ก ต่อไป
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 7
ระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น
จดุ เนน้ ผ้เู รียนมที กั ษะการคิดและปฏบิ ัติจรงิ ตามแบบ Active Learning
ผลการพจิ ารณา ตวั ชีว้ ัด สรุปผลการประเมนิ
/
/ ๑. มกี ารระบุเป้าหมายคณุ ภาพของผเู้ รยี น o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)
/ ๒. มีการระบุวิธีพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างเป็น o พอใช้ (๔ ข้อ)
/ ระบบตาม เปา้ หมายการพัฒนาผู้เรยี น / ดี (๕ ข้อ)
/ ๓. มีผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนตามเป้าหมายการพัฒนา
ผู้เรยี น
๔. มีการนำผลประเมินคุณภาพของผู้เรียนมาพัฒนา
ผู้เรยี นดา้ น ผลสัมฤทธใิ์ หส้ งู ขึ้น
๕. มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียน
ต่อผู้ท่ี เกยี่ วขอ้ ง
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดับสงู ขนึ้
สถานศึกษาควรระบแุ ละตรวจสอบขอ้ มูลใน SAR เพิม่ เติม ในประเดน็ มกี ารนำผลประเมินคณุ ภาพของ
ผู้เรียนมาพัฒนาผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น เช่น มีการนำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาของทุก
ระดับช้ัน มาวเิ คราะห์เพ่ือวางแผนหาแนวทางช่วยเหลอื ผ้เู รียนทไี่ ดร้ ะดับผลการเรียน ๑ และ ๑.๕ อย่างไร และ
จากผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน
(ONET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีตัวชี้วัด/มาตรฐานการเรียนรู้ใดบ้างที่ควรเร่งพัฒนาเพราะมีคะแนน
เฉลีย่ ตำ่ หรือต่ำกวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ พรอ้ มท้ังตั้งเป้าหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทุกรายวิชาทุก
ระดับชั้น ผลการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ผลการทดสอบระดับชาติข้ัน
พื้นฐาน (ONET) ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ให้สูงข้นึ จากฐานเดมิ รอ้ ยละ ๓ เปน็ ต้น สว่ นในประเด็น มีการ
นำเสนอผลการประเมินคุณภาพ ของผเู้ รียนตอ่ ผู้ท่ีเกยี่ วข้อง โดยสถานศกึ ษาควรระบุใหเ้ หน็ ถงึ รูปแบบ วิธีการ
ในการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพ ผู้เรียนต่อ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน หน่วยงาน
ต้นสังกัดและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวขอ้ ง เช่น มีการ ประชุมกลุ่มย่อย เปิดห้องเรียน (Open Class) หรือการเผยแพร่
ขอ้ มลู ผา่ นทางชอ่ งทางตา่ ง ๆ เช่น ไลนก์ ล่มุ เว็บไซต์ สถานศึกษา จลุ สาร แผน่ พบั เปน็ ต้น
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 8
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
จุดเนน้ ผู้บริหารมีระบบบรหิ ารคุณภาพแบบการมีสว่ นร่วม
ผลการพิจารณา ตัวชี้วดั สรุปผลการประเมนิ
/
/ ๑. มกี ารวางแผนการดำเนนิ การในแต่ละปกี ารศึกษา o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ้ )
/
/ ๒. มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนนิ การ o พอใช้ (๔ ขอ้ )
/ ๓. มีการประเมินผลสมั ฤทธ์ิของการดำเนนิ การตามแผน / ดี (๕ ขอ้ )
๔. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรุงแก้ไขในปี
การศกึ ษาตอ่ ไป
๕. มีการนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาให้
ผมู้ ีสว่ น ไดส้ ่วนเสยี ไดร้ ับทราบ
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สงู ข้นึ
สถานศึกษาควรระบุขอ้ มูลใน SAR ใหช้ ดั เจนยง่ิ ขนึ้ ในประเดน็ ของการมีการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิของการ
ดำเนินการตามแผน โดยสถานศึกษาควรระบุรายละเอียดขั้นตอน/กระบวนการดำเนินงาน เช่น มีการนิเทศ
ติดตาม กำกับ ประเมินผลการดำเนนิ งานโดยใคร ประเมนิ อย่างไร มีเครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมินหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
ตลอดจน การนำผลการประเมินมาปรบั ปรุงและพัฒนาอย่างไร ใหค้ รอบคลมุ ทกุ ขัน้ ตอนอยา่ งเปน็ ระบบ และใน
ประเดน็ มี การนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาใหผ้ ู้มสี ่วนได้ส่วนเสียไดร้ ับทราบ สถานศึกษาควร
ดำเนินการ เผยแพรผ่ ลการดำเนินงานอยา่ งหลากหลายวธิ ตี ามความเหมาะสม เชน่ Web Site ของสถานศึกษา
จุลสาร วารสาร แผ่นพับ เสียวตามสาย และการช้ีแจงในทีป่ ระชมุ เปน็ ต้น
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 9
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั
จุดเนน้ ครูผ้สู อนจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
ผลการพิจารณา ตวั ช้ีวดั สรปุ ผลการประเมนิ
/ ๑. ครมู ีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชา ทุก o ปรับปรุง (๐-๓ ข้อ)
/ ชั้นปี o พอใช้ (๔ ขอ้ )
๒. ครูทุกคนมีการนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการ / ดี (๕ ขอ้ )
/ จดั การ เรยี นการสอนโดยใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและ
/ แหลง่ เรียนรู้ที่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้
/ ๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการ
สอน อยา่ งเปน็ ระบบ
๔. มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนการ
สอน ของครอู ย่างเป็นระบบ
๕. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือ
พฒั นา ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน
ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดบั สูงขน้ึ
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมในประเด็น ครูมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้
ควรมีการระบุว่าครูผูส้ อนทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกสาระทุกระดับชั้น มีกิจกรรมที่ใช้จัดการ
เรียนการสอนท่ี เน้นการคิดและลงมือปฏิบัติแบบ Active Learning ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดและปฏิบัติ
จรงิ เปน็ ตน้ และการ ตรวจสอบประเมนิ ผลผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ เช่น รูปแบบ วิธีการวดั เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการ
วัดและประเมินผล สำหรับ ประเด็นการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนนั้น ครูผู้สอนอาจจะใช้
วธิ กี ารวิเคราะหต์ วั ชี้วัด/มาตรฐาน การเรยี นรทู้ ่ีมีผลการประเมินตำ่ แล้วนำแบบทดสอบท่ไี ดม้ าตรฐานมาเป็นส่ือ
การเรียนรู้หรือสอดแทรกระหว่างการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้คุ้นเคยกับการทำ
แบบทดสอบท่ีได้มาตรฐานซ่งึ จะช่วยให้เกิดการ พฒั นาทงั้ ดา้ นการจัดการเรียนรู้และการตรวจสอบประเมินผล
การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ส่วนในประเด็น มี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมลู ป้อนกลับเพื่อพัฒนา
ปรับปรงุ การจดั การเรียนการสอน สถานศึกษาควรระบุ กจิ กรรมเพิม่ เชน่ จัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (PLC) เพื่อให้ครูและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้อาจจัดในระดับสายชั้นหรือกลุ่มสาระการ
เรยี นรแู้ ละไดม้ กี ารจดั กิจกรรมอย่างต่อเน่ืองหรือไม่ ผลการ ดำเนินงานเป็นอยา่ งไร พรอ้ มท้ังนำขอ้ มูลมาพัฒนา
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของครอู ยา่ งไร เพื่อให้ส่งผลต่อ การพัฒนาผู้เรียนและนำเสนอต่อผู้ปกครอง
และผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี รบั ทราบผลการพัฒนาของเด็กตอ่ ไป
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 10
ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ
สถานศึกษาควรเขียน SAR ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เช่น ที่ตั้งควรระบุ E- mail รหัสไปรษณีย์
ด้านข้อมูล พื้นฐานของสถานศึกษา ควรมีข้อมูลโครงสร้างการบริหารงาน อาคารสถานที่ ปราชญ์ชาวบ้าน
หรือภูมิปัญญา ท้องถิ่น จำนวนครูผู้สอนในแต่ละระดับชั้น จำนวนร้อยละของผู้จบการศึกษาในแต่ละระดับ
จำนวนวันเปดิ การ จดั การเรียนการสอนตลอดปกี ารศึกษา เพื่อใหผ้ ทู้ ่ีเกีย่ วข้องได้ทราบบริบทของสถานศึกษาที่
ชดั เจนขน้ึ สำหรบั การ นำเสนอผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ควรมกี ารเรยี บเรียงเนือ้ หาใหอ้ ่านงา่ ย ให้
เป็นลำดับ กำหนดหัวข้อ เรื่องไม่ซำ้ ซ้อน และในส่วนที่ ๑ บทสรุปสำหรับผู้บริหารควรแสดงการสังเคราะห์ผล
การประเมนิ ตนเองทม่ี ีความ กระชับ ชัดเจน ตรงตามประเด็นสำคัญๆและมีทม่ี าของหลกั ฐานชัดเจนในเชิงการ
ประเมินสื่อให้เห็นผลกระทบจาก การดำเนินงานในการพัฒนาตามมาตรฐานของสถานศึกษา
ส่วนในรายมาตรฐานควรนำเสนอ ระดบั คณุ ภาพของ มาตรฐาน กระบวนการพฒั นาหรอื วิธดี ำเนินงาน ผลการ
พัฒนาหรอื ผลการดำเนินงาน จดุ เดน่ จดุ ทีค่ วรพัฒนา ข้อเสนอแนะ ข้อมูล หลักฐาน และเอกสารเชิงประจักษ์
สนับสนุนมีอะไรบา้ ง และแผนงาน/แนวทางพัฒนาคณุ ภาพ ใหด้ ีข้นึ กวา่ เดมิ
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 11
5. ขอ้ มลู สถติ ยิ ้อนหลัง / ปจั จยั สนบั สนุน
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนห้องเรยี น นักเรยี น ปีการศึกษา 2560 – 2563
ปกี ารศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563
ระดับการศึกษา หอ้ ง นกั เรยี น ห้อง นกั เรยี น หอ้ ง นกั เรียน หอ้ ง นักเรยี น
(คน) (คน) (คน) (คน)
อนบุ าล 1 1 0 1 11 1 4 1 4
อนบุ าล 2 10141914
อนุบาล 3 10141515
รวมชัน้ อนบุ าล 3 0 3 19 3 18 3 13
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 1 4 1 2 1 7 1 7
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 1 4 1 2 1 3 1 6
ประถมศึกษาปีท่ี 3 1 6 1 4 1 3 1 3
ประถมศึกษาปีท่ี 4 1 5 1 8 1 5 1 3
ประถมศึกษาปที ี่ 5 1 7 1 6 1 8 1 5
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1 4 1 7 1 2 1 7
รวมชั้นประถมศึกษา 6 30 6 29 6 28 6 31
รวมทั้งส้นิ 9 30 9 48 9 46 9 44
ตารางที่ 2 สถิติจำนวนขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕60 – ๒๕63
ตำแหนง่ จำนวนตำแหน่ง
ปีการศกึ ษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563
1. ผูอ้ ำนวยการ 1 0 1 1
2. ครปู ฐมวยั 0111
3. ครูประถมศกึ ษา 3 3 6 6
4. บุคลากรสนับสนุน 0 2 2 2
5. อ่นื ๆ 0000
รวม 4 6 10 10
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 12
ตารางท่ี 3 ข้อมูลอาคารเรยี น อาคารประกอบ
ประเภทอาคาร แบบ จำนวนช้นั ของ จำนวนหอ้ งใน พน้ื ทขี่ องอาคาร
อาคาร อาคาร (ตารางเมตร)
อาคารเรียนถาวร ทรงมนิลา 2 8 1,406.00
อาคารเรยี นถาวร ทรงมนิลา 1 3 243.00
อาคารเรียน ทรงมนิลา 1 1 223.00
โรงฝกึ งาน ทรงมนลิ า 1 1 238.50
บา้ นพักครู ทรงมนิลา 2 3 154.00
ส้วม ทรงเพงิ หมาแหงน 1 6
24.00
6. ผลการดำเนนิ งานที่ผ่านมา รวม ร้อยละ
ในปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นบ้านแมก่ ุง้ หลวง ไดจ้ ดั การศกึ ษาตามภารกิจ ดังนี้ เรียนตอ่
ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 เรียนตอ่ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ๖ ๘๕.๗๑
นกั เรียนชน้ั ป.6 เรยี นต่อในเขตพ้ืนทจ่ี ังหวดั เรยี นตอ่ นอกเขตพื้นท่ีจังหวัด
ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม
5 27๔ ๒ ๖ 0 0 0
ตารางที่ 5 ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
จำแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ชั้น / วชิ า ภาษาไทย คณติ วทิ ย์ สงั คม สุขศึกษา ศลิ ปะ การงาน อังกฤษ
ป.1 5 3 5 5 5 5 5 0
ป.2 4 4 4 4 5 4 5 0
ป.3 2 2 2 2 2 2 2 2
ป.4 3 3 3 3 3 3 3 0
ป.5 4 4 4 5 5 5 5 0
ป.6 5 6 7 7 7 7 7 0
รวม 23.22 22 25 26 27 26 27 2
รอ้ ยละ 74.19 70.96 80.64 83.87 87.09 83.87 87.09 6.45
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 13
ตารางท่ี 6 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับชาติ ปีการศึกษา 2563
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
สาระวชิ า จำนวน (คน) คะแนนเฉล่ยี จำนวนของนกั เรียนท่ีได้ระดบั
ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก
0
ภาษาไทย 2 53.25 0 1 1 0
คณิตศาสตร์ 2 33.50 1 1 0
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
สาระวิชา จำนวน คะแนน จำนวนของนกั เรียนทไ่ี ดร้ ะดบั
ภาษาไทย (คน) เฉลีย่ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีเยี่ยม
คณติ ศาสตร์ 0
วทิ ยาศาสตร์ 7 43.82 0 4 3 0
ภาษาอังกฤษ 0
7 23.57 0 7 0 0
7 36.34 0 6 1
7 31.07 2 5 0
ผลความร่วมมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาจากคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนตลอดจน
ส่วนราชการตา่ งๆ ทำให้การดำเนินงานภารกจิ ต่างๆ ของโรงเรียนมผี ลสำเรจ็ เป็นทีย่ อมรับทงั้ ในระดับเครือข่าย
ของสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 และหนว่ ยงานอนื่ ๆ เป็นอย่างดี
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 14
สว่ นท่ี 2
สรปุ ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและการประเมนิ สถานภาพของโรงเรียน
1. การวิเคราะหส์ ถานภาพของโรงเรียน
โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง ได้นำข้อมูลจากรายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ข้อเสนอแนะใน
รายงานของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มาดำเนินการวางแผนพัฒนา
อย่างต่อเน่ือง ซึ่งจะปรากฏในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาใหบ้ รรลุตามวิสัยทศั นซ์ ึง่ ผลการวเิ คราะห์สถานภาพของสถานศกึ ษา ณ ปัจจุบนั พอสรุปได้ดงั นี้
2. ข้ันตอนการประเมินสถานภาพของโรงเรยี น
การประเมินสถานภาพของโรงเรียนบา้ นแม่กุง้ หลวง ได้อาศยั หลักการมีสว่ นร่วมของผ้ทู เี่ กี่ยวขอ้ ง ได้แก่
ผ้บู ริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน นกั เรยี น และผมู้ สี ่วนได้เสียต่างๆ ร่วมกันเสนอแนะ
โดยมีขนั้ ตอนการปฏิบัตดิ ังนี้
1. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกนั พิจารณาความสำคัญของทุกประเด็นในแต่ละปัจจัย (2S4M/STEP) เพื่อ
พิจารณาว่า แต่ละประเด็นมีผลกระทบกับโรงเรียนมากน้อยเพียงใด เพื่อให้ทุกคนได้ศึกษาประเด็นต่างๆ
รว่ มกันกอ่ นท่ีจะประเมนิ ระดบั ความรุนแรงของผลกระทบทีม่ ตี ่อโรงเรยี น
2. ผู้สรุปผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดลอ้ มภายนอกของโรงเรยี น
การวิเคราะห์องคก์ ร SWOT Analysis ของโรงเรยี นบ้านแม่ก้งุ หลวง
วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร (Internal Environment) (2S4M)
ดา้ น จุดแขง็ (Strengths) จุดออ่ น (Weakness)
โ ค ร ง ส ร ้ า ง แ ล ะ 1. โรงเรียนกำหนดนโยบายและแผนงาน 1. คณะกรรมการสถานศึกษาและ
นโยบาย ครอบคลุมทุกสายงานของบุคลากรทุกฝ่าย ชุมชนมีส่วนร่วมกำหนดนโยบายของ
(S1) ส่งผลทำให้ได้รับความร่วมมือจากบุคลากร โรงเรียนน้อย ส่งผลให้การดำเนินงาน
ทกุ คนเป็นอยา่ งดี ไมเ่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของชมุ ชน
2. มกี ารกำหนดวิสัยน์ พนั ธกจิ และเป้าหมาย 2. นโยบายการจัดการศึกษาของชาติ
ดำเนินงานชัดเจน ส่งผลให้ สามารถนำ มภี าระงานมากข้ึน ทำใหป้ ระสิทธิภาพ
ทิศทางในการจดั การศกึ ษาได้ ถูกต้อง การจดั การเรยี นการสอนของครลู ดลง
3. การบริหารงานของโรงเรียนมีการกระจาย 3. โครงสร้างการบริหารของโรงเรียน
อำนาจตามโครงสร้างอย่างชัดเจน ทำให้มี เป็นระบบ แต่บุคลากรไม่เพียงพอต่อ
การบริหารงานของโรงเรียนมีประสิทธิภาพ ภาระงาน
มากข้ึน
จากการวิเคราะหพ์ บว่าด้านโครงสร้างและนโยบายมีจุดแขง็ มากกวา่ จุดที่ควรปรับปรุง สามารถพัฒนา
โรงเรยี นได้ โดยบูรณาการบคุ ลากรให้ชว่ ยกันทกุ ฝ่าย
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 15
ด้าน จุดแขง็ (Strengths) จุดออ่ น (Weakness)
ผลผลิตและบรกิ าร 1. โรงเรียนจัดการบริหารการศึกษาได้ 1. นักเรียนขาดความสนในการใช้
(S2) อย่างทั่วถึง ทำใหผ้ เู้ รียนได้รบั โอกาสอย่าง แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน โดยเฉพาะ
เสมอภาค การรักการอ่าน ส่งผลให้การได้รับ
2. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพ ความรู้จากห้องสมุดไมห่ ลากหลาย
การศึกษา ทำให้ยกระดับการบริหารและ 2. การพฒั นาหลักสูตรยังไม่ครบถ้วน
นักเรียนที่เรียนจบสามารถสอบเข้า สมบูรณ์ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์วิชาหลัก
สถาบันการศกึ ษาทส่ี งู ขนึ้ ได้มากกว่าเดมิ ตำ่
3. โรงเรียนมีห้องสมุดที่พร้อม ให้บริการ
แกน่ กั เรียนและผ้ทู ใี่ ฝร่ ู้
จากการวิเคราะห์พบว่าดา้ นผลผลิตและการบริการมจี ุดแขง็ มากกว่าจุดทีค่ วรปรบั ปรุง โรงเรียนมกี าร
บรกิ ารแหล่งเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย แตน่ กั เรียนขาดความสนใจ สามรถปรับปรงุ พฒั นาโดยการกระต้นุ เสริมสร้าง
แรงจงู ใจใหผ้ ้เู รียนได้เรยี นรูเ้ ต็มศกั ยภาพ
ด้าน จดุ แข็ง (Strengths) จดุ ออ่ น (Weakness)
บุคลากร 1. บุคลากรของโรงเรียนมีวุฒิทาง 1. บุคลากรบางส่วนขาดความ
(M1) การศึกษาระดับปริญญาตรีและโท ชำนาญ ทางด้านภาษาอังกฤษและ
มีความรู้ มีความสามารถ มีทักษะในการ คณิตศาสตร์ ทำให้ผลสัมฤทธิ์
ทำงานและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง คณติ ศาสตร์ และภาษาอังกฤษต่ำ
สง่ ผลให้มคี วามพรอ้ มในการจดั การศกึ ษา 2. บุคลากรบางส่วนขาดความ
2. บุคลากรตั้งใจทำง านอย่าง เ ต็ม ช ำ น า ญ ใ น ก า ร ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ลยี
ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม และอุปกรณ์สมัยใหม่ ทำให้เทคนิค
เปน็ แบบอย่างทด่ี ี มีความสามคั คี เสียสละ วิธีสอนให้หลากหลาย
และมีการทำงานเป็นหมู่คณะ
จากการวิเคราะห์พบว่าด้านบุคลากรมีจุดแข็งมากกว่าจุดที่ควรปรับปรุง บุคลากรมีความชำนาญ
ในการสอน เพียงแต่งบางส่วนขาดความชำนาญทางภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์ บุคลากรบางส่วน
ขาดความชำนาญในการใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหม่
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 16
ดา้ น จุดแขง็ (Strengths) จุดออ่ น (Weakness)
ประสิทธิภาพการเงิน 1. การใช้งบประมาณโปร่งใส สามารถ 1. การดำเนินงานด้านงบประมาณ
(M2) ติดตามตรวจสอบได้ ไม่คล่องตัว เนื่องจากงบประมาณ
2. การจัดสรรงบประมาณสำหรับซื้อ ในการบริหารงานที่ได้รับจัดสรร
อุปกรณ์ การเรียนการสอนมีเพียงพอกับ ไม่เพยี งพอ
ความต้องการ
จากการวิเคราะหพ์ บว่าดา้ นประสทิ ธิภาพการเงนิ มีจดุ แขง็ มากกว่า จุดทคี่ วรปรบั ปรงุ โดยการระดมทนุ
ในการสง่ เสริมสนบั สนุนการบรหิ ารงานให้เพียงพอ
ดา้ น จดุ แขง็ (Strengths) จดุ อ่อน (Weakness)
วสั ดอุ ุปกรณ์
(M3) 1. โรงเรียนมีงบประมาณจัดหาวัสดุ 1. โรงเรียนไม่มีสื่อวัสดุอุปกรณ์
อุปกรณ์ ในการจัดการเรียนการสอนอย่าง อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทันสมัยและครู
เพียงพอ บางส่วนขาดความชำนาญในการใช้
2. โรงเรียนไม่มีครุภัณฑ์เพียงพอ
ที่สามารถนำไปสนับสนุนการ
จัดการเรียนการสอน ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
จากการวิเคราะหพ์ บว่าดา้ นวัสดุอปุ กรณม์ ีจุดทคี่ วรปรบั ปรุงมากกว่าจุดแขง็ และครูบางทา่ นขาดความ
ชำนาญในการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ ควรพัฒนาโดยการจัดหาสื่ออิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์
และจดั อบรมหรือให้ความรู้
ดา้ น จดุ แขง็ (Strengths) จดุ ออ่ น (Weakness)
การบริหารจัดการ
(M4) 1. ระบบบริหารมีการแบ่งงานที่ชัดเจน 1. การประสานงาน การดำเนินงาน
เหมาะสมส่งผลให้งานสำเร็จอย่างมี การกำกับติดตาม บางโครงการขาด
ประสิทธิภาพ ความตอ่ เนื่อง
2. โรงเรียนมีแผนและโครงการ เพื่อใช้ใน 2. นโยบายด้านการศึกษามีการ
การพัฒนาโรงเรียนส่งผลให้การจัด เปลี่ยนแปลงบ่อย มีภาระรายงาน
การศึกษามีประสทิ ธภิ าพ ด้านเอกสารมากและซ้ำซ้อน
3. โรงเรียนมีระบบสารสนเทศที่ดี เป็นอุปสรรคในการจัดการเรียน
สง่ ผลต่อการใช้ขอ้ มลู ทำได้รวดเรว็ การสอน
4. การเบิกจ่ายเป็นไปตามระเบียบ 3. การประชาสัมพันธ์กิจการของ
ราชการ โรงเรียนใหช้ ุมชนทราบยงั มนี อ้ ย
5. ผู้บริหารมีภาวะเป็นผู้นำมีคุณธรรม
จริยธรรม
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 17
ดา้ น จุดแขง็ (Strengths) จดุ อ่อน (Weakness)
6. ครมู ศี ักยภาพในการปฏบิ ตั งิ าน
7. โรงเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครอง
ชุมชนและหน่วยงานในท้องถ่ิน ส่งผลดีต่อ
การจดั การศึกษา
จากการวเิ คราะห์พบว่าด้านการบรหิ ารจัดการมีจดุ แข็งมากกว่าจุดทีค่ วรปรับปรุง การปรับปรุงพัฒนา
การประชาสมั พันธ์ กำกบั ตดิ ตามงานตามโครงการใหค้ รบถ้วน และเพิม่ บคุ ลากรด้านรายงานเอกสารมากขน้ึ
วิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) ( STEP )
ด้าน โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Theats)
สงั คมและวัฒนธรรม 1. ชุมชนให้ความร่วมมือในด้านทรัพยากร 1. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีรายได้น้อย
(S) และวิชาการ ทำให้โรงเรียนสามารถจัด ประกอบอาชีพรับจ้าง ค้าขาย
การศกึ ษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ เกษตรกร และทำงานในโรงงาน
2. ชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่นร่วมกัน อุตสาหกรรม ไม่มีเวลาดูแลนักเรียน
อนุรักษ์ ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิ ขาดวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการเรียน
ปัญญาท้องถิ่น ทำให้นักเรียนมีแหล่ง สง่ ผลกระทบตอ่ การเรยี น
เรียนรแู้ ละแบบอยา่ งทีด่ งี าม 2. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหาด้าน
3. ผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นความสำคัญ ครอบครัว แตกแยก สง่ ผลกระทบต่อ
ด้าน การศึกษาและให้การส่งเสริม สภาพจิตใจและผลกระทบการเรียน
สนับสนุน นักเรยี นเป็นอย่างดี ของนักเรยี น
จากการวิเคราะห์พบว่าด้านสังคมและวัฒนธรรมมีโอกาสมากกว่าอุปสรรค บุคลากรของโรงเรียน
และชมุ ชนมกี จิ กรรมร่วมกันสมำ่ เสมอ ส่งผลต่อการพฒั นานกั เรียนดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมไดด้ ขี นึ้
ดา้ น โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค (Theats)
เทคโนโลยี 1. ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณ 1. บคุ ลากรขาดความชำนาญในการใช้
(T) การเชา่ สัญญาณอินเทอรเ์ น็ต คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีทางการ
ศกึ ษา
2. ไม่มีเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
ให้นักเรียน ได้ศึกษาค้นคว้าและ
แสวงหาความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง
จากการวิเคราะห์พบว่าด้านเทคโนโลยีมีอุปสรรคมากกว่าโอกาส และอุปสรรคสามารถพัฒนาได้ดว้ ย
การพัฒนาบุคลากรในการใชเ้ ทคโนโลยี มอบหมายผมู้ คี วามชำนาญการดา้ นคอมพิวเตอร์ดแู ลระบบให้ใช้งานได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 18
ดา้ น โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Theats)
เศรษฐกจิ 1. องค์กรส่วนท้องถิ่น วัด ชุมชน 1. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีรายได้น้อย
(E) หน่วยงานเอกชนให้การ สนับสนุน และไม่มั่นคง ส่งผลกระทบต่อการ
ทุนการศึกษาแก่นักเรียน ส่งผลให้ เรยี นของนักเรียน
นักเรียนมีทุนใช้จ่ายในการซื้ออาหาร
และอุปกรณ์ การเรียน
2. ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา
องค์กรเอกชนต่างๆ ร่วมบริจาคทุน
ทรัพย์จัดซื้ออุปกรณ์สนับสนุนการจัด
การศึกษา ส่งผลให้การจัดการศึกษาของ
โรงเรียนพัฒนาขึน้
จากการวเิ คราะห์พบว่าด้านเศรษฐกจิ โอกาสมากกวา่ อปุ สรรค ผ้ปู กครองสว่ นใหญ่มรี ายไดน้ ้อย
ดา้ น โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค (Theats)
การเมืองและกฎหมาย 1. กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง 1. ผู้ปกครองบางส่วนไม่เข้าใจ
(P) บางส่วนเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายการจัด น โ ยบายก าร ปฏิร ูปก าร ศึก ษา
การศึกษาส่งผลให้โรงเรียนได้รับการ ขาดความรู้เรื่องกฎหมายและพ.ร.บ.
สนบั สนนุ มากขนึ้ การศึกษา ส่งผลให้ขาดความร่วมมือ
2. องค์กรท้องถิ่นให้การสนับสนุนในการ ในการจดั การศกึ ษา
พัฒนาการศึกษา
จากการวิเคราะห์พบว่าด้านการเมืองและกฎหมายโอกาสมากกว่าอุปสรรค โดยอุปสรรคสามารถ
เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองและชุมชน โดยการประชุมชี้แจงและประชาสัมพันธ์เผยแพร่ด้าน
เอกสาร
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 19
ส่วนที่ 3
กลยุทธก์ ารพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา
วิสัยทศั น์
“โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวงเป็นโรงเรียนคุณภาพในตำบลทุ่งต้อม ผู้เรียนมีคุณธรรม
ล้ำเลิศความรู้ เน้นจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต
และเป็นพลเมืองท่เี ขม้ แข็งในศตวรรษท่ี 21 ภายใตก้ ารบริหารงานแบบมสี ว่ นรว่ ม”
พนั ธกิจ
1. พัฒนาผ้เู รียนใหม้ ีสมรรถนะหลักทจี่ ำเป็นในการดำรงชีวิต พฒั นาและตอ่ ยอด ไดเ้ ต็มตามศักยภาพ
ของแต่ละบุคคล มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย รับผิดชอบ
ต่อสังคม และเป็นพลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ ในศตวรรษที่ 21
2. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร
ดา้ นการจดั กระบวนการเรียนการสอนทีเ่ นน้ สมรรถนะท่จี ำเป็นในการดำรงชีวิต ดา้ นการพัฒนาสอื่ การเรียนการ
สอน เทคโนโลยี สารสนเทศ สนองต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนเปน็ รายบคุ คลอย่างเป็นองค์รวม
3. พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ให้เป็น
แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเอื้อต่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพหุปัญญาและธรรมชาติของผูเ้ รียน มีการประสาน
ความร่วมมือระหว่างโรงเรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน และสรา้ งภาคเี ครือข่ายเพอ่ื สนับสนุนการจดั การศึกษา
อตั ลกั ษณ์
“เก่งคดิ ส่อื สารเปน็ เน้นประยกุ ต์ใช้”
เอกลกั ษณ์
“เกง่ ดี มคี ุณธรรม นอ้ มนำความพอเพยี ง”
เป้าประสงค์
1. ผเู้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะหลักที่จำเป็นในการดำรงชีวติ พฒั นาและตอ่ ยอด ได้เตม็ ตามศักยภาพของแต่
ละบุคคล มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่สมบรู ณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม รักความเปน็ ไทย รับผิดชอบต่อสังคม
และเปน็ พลเมอื งทเ่ี ข้มแข็งในศตวรรษท่ี 21
2. ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพฒั นาศกั ยภาพ มีความรู้ ความสามารถ ทั้งดา้ นการพัฒนา
หลักสูตร ด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต ด้านการพัฒนาสือ่
การเรียนการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ สนองต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคลอยา่ งเป็นองค์รวม
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 20
3. โรงเรียนมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างมีระบบตามหลักธรรมาภิบาล และการบริหารงาน
แบบมีส่วนร่วม เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเอื้อต่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพหุปัญญาและธรรมชาติของ
ผ้เู รยี น
มีการประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และสร้างภาคีเครือข่ายเพือ่ สนับสนุน
การจัดการศึกษาให้มีคณุ ภาพ
โดยกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน ทจ่ี ะทำใหบ้ รรลวุ ิสยั ทศั น์ ภารกิจ และเป้าประสงค์หลัก
3 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาศักยภาพครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผบู้ รหิ าร
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น
ตอบสนองเปา้ ประสงคท์ ่ี 1 ผเู้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะหลกั ที่จำเป็นในการดำรงชีวิต พฒั นาและต่อยอด ได้
เต็มตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล มสี ขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตท่สี มบรู ณ์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม รกั ความเปน็
ไทย รับผิดชอบต่อสังคม และเป็นพลเมอื งทเ่ี ข้มแขง็ ในศตวรรษที่ 21
กลยทุ ธท์ ี่ 1 การยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและสมรรถนะหลกั 6 ดา้ น
แนวทางการพฒั นา
1.1 ส่งเสริมเด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสตปิ ัญญา ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย อย่างมีคุณภาพ
1.2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหน้ กั เรียนสามารถอ่านออกเขยี นได้ตามวยั
1.3 สง่ เสริมสนับสนุนให้นกั เรยี นไดร้ บั การประเมนิ การเรียนรู้และการนำผลการประเมินมาใช้
ในการพัฒนาการเรยี นรขู้ องตนเอง
กลยุทธท์ ี่ 2 การพัฒนาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
แนวทางการพฒั นา
2.1 ปลูกฝังด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
2.2 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำความรู้ ทักษะ
และคณุ ลกั ษณะมาประยกุ ต์ใช้ในการทำงาน การแก้ปัญหา และการใชช้ ีวติ
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผบู้ ริหาร
ตอบสนองเป้าประสงค์ที่ 2 ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีความรู้
ความสามารถ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นสมรรถนะที่จำเป็นใน
การดำรงชีวิต ด้านการพฒั นาสอื่ การเรยี นการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ สนองต่อการพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน
เป็นรายบุคคลอย่างเปน็ องคร์ วม
กลยทุ ธท์ ี่ 1 ส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพ มคี วามรู้ ความสามารถ ท้ังดา้ นการพัฒนาหลักสตู ร
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 21
แนวทางการพฒั นา
1.1 ศึกษาค้นคว้า และเข้าร่วมการอบรม ประชุมสัมมนา เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา และหลักสูตรฐานสมรรถนะ เพื่อสนองต่อสนองตอ่ การพฒั นาศักยภาพผู้เรียนเปน็ รายบุคคลอย่าง
เป็นองค์รวม
1.2 การพัฒนากระบวนการการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา และหลกั สูตรฐานสมรรถนะ เพ่ือ
สนองต่อสนองตอ่ การพฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี นเป็นรายบุคคลอยา่ งเป็นองค์รวม
กลยุทธ์ที่ 2 สง่ เสริมการพฒั นาด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นสมรรถนะที่จำเป็นในการ
ดำรงชีวิต และด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ ท่ีสนองต่อการพัฒนาศักยภาพ
ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคลอยา่ งเป็นองค์รวม
แนวทางการพัฒนา
2.1 ศึกษาค้นคว้า และเข้าร่วมการอบรม ประชุมสัมมนา เกี่ยวกับการจดั กระบวนการเรียน
การสอนที่เน้นสมรรถนะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ สนองต่อการ
พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียนเป็นรายบุคคลอยา่ งเป็นองคร์ วม
2.2 ส่งเสริม สนับสนุนการจดั กระบวนการเรยี นการสอนท่ีบูรณาการความรูส้ หวิทยาการ
และการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) และการใชส้ ่ือการเรยี นการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ ท่ี
สนองต่อการพฒั นาศักยภาพผ้เู รียนเป็นรายบุคคลอย่างเป็นองค์รวม
2.3 ดำเนินการจัดระบบนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผล ใหม้ ีความเขม้ แขง็ และ
ตอ่ เนอ่ื งเป็นรปู ธรรมสามารถสะท้อนคุณภาพผู้เรยี น
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา
ตอบสนองเป้าประสงค์ที่ 3 โรงเรียนมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างมีระบบตามหลักธรรมาภิบาล
และการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เป็นแหล่งเรียนรูท้ ี่หลากหลายเอือ้ ต่อการเรียนรูท้ ี่สอดคล้องกับพหุปญั ญา
และธรรมชาติของผู้เรียน มีการประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และสร้างภาคี
เครอื ขา่ ยเพอ่ื สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ
กลยุทธท์ ่ี 1 การพฒั นาการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล
แนวทางการพัฒนา
1.1 ส่งเสริมกระบวนการการประกนั คุณภายในของสถานศึกษาให้มีความเขม้ แขง็ ยดึ หลัก
ธรรมาภิบาล
1.2 พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเอื้อต่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
พหปุ ญั ญาและธรรมชาติของผูเ้ รยี น
กลยทุ ธ์ท่ี 2 การพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาด้วยกระบวนการมีสว่ นรว่ ม
แนวทางการพัฒนา
2.1 สร้างความเข้าใจและความตระหนักในการจัดการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานใหแ้ ก่ผู้ปกครอง
2.2 ส่งเสรมิ กระบวนการประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรียน ผปู้ กครอง ชมุ ชน และสรา้ ง
ภาคีเครอื ข่ายเพอ่ื สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพ
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 22
สว่ นที่ 4
โครงการและกจิ กรรมตามกลยทุ ธ์
โครงการ/กจิ กรรมตามกลยุทธ์ระดับองคก์ ร ปีการศกึ ษา 2565 พรอ้ มเป้าหมายและงบประมาณการ
ดำเนินกจิ กรรม/โครงการตามกลยุทธ์
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
กลยทุ ธท์ ี่ 1 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสมรรถนะหลัก 6 ด้าน
กจิ กรรม/โครงการ 2565 ปกี ารศึกษา 2567
2566
1. โครงการสง่ เสริมความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
2. โครงการพัฒนาการจัดประสบการณ์ระดับ
ปฐมวยั
3. โครงการจัดทำแผนงบประมาณเพื่อการ
ประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
4. โครงการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
5. โครงการวดั ผลและประเมนิ ผล
6. โครงการเกษตรพื้นฐานสู่การพอเพียง
เน้นสมรรถนะผู้เรียนเปน็ ฐาน
7. โครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการใช้
เทคโนโลยี
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 23
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
กลยุทธ์ท่ี 1 การยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและสมรรถนะหลัก 6 ด้าน
โครงการ ส่งเสริมความเปน็ เลิศทางวิชาการ
ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ่ เนอ่ื ง
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวสมุ ิตรา แก้วปนั และนางสาวอริสรา การะหงษ์
กลุม่ งานทร่ี ับผดิ ชอบ กลุม่ งานวิชาการ
1. หลักการและเหตุผล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของ
ชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย
และเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มคี วามร้แู ละทักษะพ้นื ฐาน รวมทงั้ เจตคติ ท่จี ำเปน็ ตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมุ่งเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั บนพนื้ ฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ
ทางโรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง ได้จัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถ
ได้นำเสนอผลงานตัวเองเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ เข้าค่ายพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ตามสาระการ
เรียนรู้ มีความเป็นเลิศทางวิชาการ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบ โรงเรียนเหน็ ประโยชน์
ที่เอื้อต่อการเรียนการสอน ที่จะได้ส่งเสริมนักเรียนให้ได้รบั การพัฒนาจากการจัดกิจกรรม เช่น การเข้าค่าย
ทางวิชาการ การพัฒนาการเรียนการสอน และการส่งเสรมิ ให้ไปแข่งขันทักษะวชิ าการ เปิดโอกาสใหน้ ักเรียน
ได้ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ร่วมกับสถาบันต่าง ๆ เพื่อที่จะยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งในปัจจุบัน
ได้มุ่งการพัฒนากระบวนการสอนตามแนวทางปฏิรูปการเรียนการสอนถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด ครูต้องจัด
กิจกรรมการสอนให้นักเรียนได้ลงมอื ปฏิบตั จิ ริง แสวงหาความรูด้ ้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ แล้ววิธีการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย กิจกรรมประกวดความเป็นเลิศทางวิชาการของนักเรียน เป็นกิจกรรมให้นักเรียน
ได้แสดงออก เชิงความรู้ ความสามารถ อันจะช่วยเพิ่มพนู ประสบการณ์ที่มคี ่าแก่นักเรียน และพัฒนานักเรียน
สคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการต่อไป
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาทกั ษะให้สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะ 6 ด้าน
2. นักเรียนสามารถฝึกทักษะกระบวนการคิด ทักษะด้านต่าง ๆ ของนักเรียนในการประเมิน
คิดวิเคราะห์ และสงั เคราะหอ์ ยูใ่ นระดบั ทด่ี ขี น้ึ ไป
3. นักเรยี นไดเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมแข่งขนั ทักษะวิชาการ
3. เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ
1. นักเรยี นทุกคนมีสว่ นรว่ มในการคดั เลอื กเข้าแข่งขนั ความเป็นเลิศทต่ี นเองถนัด
2. ครูทกุ ทา่ นมสี ่วนรว่ มในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ฝึกและสง่ นักเรยี นเขา้ แข่งขนั
เชิงคุณภาพ
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 24
1. นักเรียนมีความรู้ความสามารถ มีสว่ นร่วมและ ผลการแขง่ ขันด้านทักษะความเปน็ เลิศทางวิชาการ
อย่ใู นระดับน่าพอใจทั้งในระดบั กลมุ่ โรงเรียน ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา และระดบั ภาค
2. ครูได้ปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพของตนเองอยเู่ สมอ
3. สถานศึกษาสามาถนำข้อมูลทไ่ี ดม้ ากำหนดวิสัยทศั น์ พนั ธกจิ และเป้าหมายในปตี ่อไป
4. ข้นั ตอนการดำเนินงาน
ท่ี กจิ กรรมท่ดี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ
ปฏบิ ตั ิ
ผู้บรหิ าร,
1 ประชุมช้ีแจงนโยบายของโครงการ เพื่อสร้างความ คณะครูทกุ ท่าน
เขา้ ใจรว่ มกันในการจัดกจิ กรรมแต่ละกิจกรรม ปีการศึกษา คณะครูทกุ ท่าน
เพื่อใหด้ ำเนนิ การตามแผนงาน ดำเนินการช้แี จงใน 2565 คณะครทู กุ ท่าน
การดำเนนิ กจิ กรรม เพอื่ ใหน้ กั เรียนได้เขา้ ร่วม
กจิ กรรมทไ่ี ดจ้ ัดขน้ึ
2 ส่งนกั เรยี นเขา้ ร่วมการแขง่ ขันทกั ษะทางวิชาการ สงิ หาคม -
ท้ังในระดับกลมุ่ โรงเรยี นระดบั เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา กันยายน
และระดับภาค 2565
3 ประเมินผลการดำเนินงาน/สรปุ ผลการดำเนิน กันยายน -
โครงการ ตุลาคม 2565
5. งบประมาณ บาท ถัวเฉลีย่ ทุกรายการ
- เงนิ อดุ หนนุ รายหัวกอ่ นประถม บาท
บาท
- เงนิ อดุ หนุนรายหวั ประถม
เครือ่ งมือวดั
6. ระยะเวลาในการดำเนินงาน - แบบสงั เกต
- แบบสอบถาม
7. ระดบั ความสำเรจ็ วิธีการประเมนิ ผล - ข้อมูล การเปรียบเทยี บ
ตวั บ่งชีส้ ภาพความสำเร็จ - สงั เกต สอบถาม
- การบนั ทกึ ผล
1. นักเรียนได้เขา้ ร่วมกจิ กรรม
2. นกั เรยี นได้รับรางวลั
เกยี รติบตั ร
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 25
8. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั
1. นกั เรียนมคี วามรู้ความสามารถ มผี ลการแขง่ ขันดา้ นทกั ษะความเป็นเลิศทางวิชาการในระดับ
น่าพอใจ
2. นักเรียนไดแ้ ละเปล่ยี นประสบการณด์ ้านความรู้ ความคิดและการแสดงออกซึง่ ความสามารถ
3. ครแู ละนักเรียนมวี ิสัยทัศนแ์ ละไดป้ รับปรงุ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
4. ผ้ปู กครองและชมุ ชนใหก้ ารยอมรับโรงเรยี นมากข้ึน
9. ผู้เสนอโครงการ
ลงช่อื ............................................................ผู้เสนอโครงการ
(นางสาวสมุ ิตรา แก้วปัน)
ครูอตั ราจา้ ง โรงเรยี นบา้ นแม่กุ้งหลวง
ลงชอ่ื ............................................................ผู้อนุมตั ิโครงการ
(นางสาวพิชญาภคั โนลา)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นแม่กุ้งหลวง
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 26
กลยทุ ธ์ท่ี 1
โครงการ พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
ลกั ษณะโครงการ การยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและสมรรถนะหลกั 6 ดา้ น
ผรู้ ับผิดชอบโครงการ พัฒนาการจดั ประสบการณ์ระดบั ปฐมวัย
กลุม่ งานที่รับผดิ ชอบ โครงการตอ่ เนอ่ื ง
นางสาวสุมติ รา แก้วปัน
กลมุ่ งานวิชาการ
1. หลกั การและเหตุผล
เนื่องด้วยปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั ตอ้ งจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาเดก็ ตัง้ แตแ่ รกเกิดถึง 5 ปี บนพ้ืนฐาน
การอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
แต่ละคนตามศักยภาพใหส้ อดคลอ้ งกบั ฐานสมรรถนะการเรยี นรูท้ ัง้ 6 ดา้ น ภายใต้บรบิ ทสงั คม วฒั นธรรมท่เี ดก็
อาศยั อยดู่ ้วยความรัก ความเอ้ืออาทร และความเขา้ ใจของทกุ คน เพือ่ สรา้ งรากฐานคุณภาพชวี ิตให้เด็กพัฒนา
ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม การจัดการศึกษาปฐมวัยต้องใช้หลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยเปน็ กลไกขับเคล่ือนพรอ้ มกับการจัดสภาพแวดล้อม การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
จะไม่จัดเป็นรายวิชา แต่จะจดั ในรปู ของกิจกรรมบรู ณาการผ่านการเล่นและการทดลองเพอ่ื ให้เด็กได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์ตรง เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และเพื่อให้มีความพร้อมในการเรียนรู้ทักษะชีวิต
ผปู้ กครองจงึ ต้องให้ความรว่ มมอื ทจ่ี ะช่วยเหลือเด็กในด้านตา่ ง ๆ เพราะพื้นฐานจากทบ่ี ้านมีสว่ นสำคญั เปน็ อยา่ ง
มาก ทั้งนี้ วสั ดุและครภุ ัณฑเ์ ปน็ ปัจจัยสำคญั ท่ีต้องสนับสนุนและสง่ เสริมในการพฒั นาศักยภาพผู้เรียนในระดับ
ปฐมวัย เพื่อช่วยเอ้ืออำนวยให้ครูผู้สอนจดั ประสบการณ์การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการ
จดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ให้กบั เดก็ และการทำงานขององคก์ รใหเ้ กิดผลสำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี จำเปน็ ต้องมวี สั ดุ อุปกรณ์
และครุภัณฑ์เพียงพอต่อการดำเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ สำหรับใช้งานกับผู้เรียนรายบุคคล เพื่อให้เกิดการ
ทำงานทั้งระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยมีคุณภาพ
มปี ระสิทธภิ าพและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาจงึ ได้จัดทำโครงการนี้ขึน้
2. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อใหเ้ ด็กปฐมวยั มคี วามรู้และทักษะเบ้อื งต้น สามารถคิดแก้ปญั หา และมคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์
และมคี วามใฝ่รู้
2. เพ่ือให้โรงเรียนมีสื่อการเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมกับพฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั
3. เพื่อจัดบรรยากาศใหเ้ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรียนการสอนสำหรับเดก็ ปฐมวัย
4. เพือ่ ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยได้เข้ารว่ มแขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการ
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 27
3. เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ
1. เด็กปฐมวัยร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะเบื้องต้นจากการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ต่าง ๆ
และจากการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์
2. โรงเรยี นมีสื่อการเรยี นการสอนท่เี หมาะสมกับพฒั นาการของเดก็ ปฐมวัย
3. ครผู ู้สอนและเดก็ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 90 มีความสุขในการปฏิบตั ิงานและการเรียนรู้
เชงิ คณุ ภาพ
1. เดก็ ปฐมวยั มีความใฝ่เรยี นรู้ รกั การอา่ น พัฒนาตนเอง และเรียนรู้รว่ มกบั ผอู้ ื่นได้
2. เด็กปฐมวัย ไดเ้ ขา้ รว่ มแข่งขันทักษะทางวชิ าการ
3. บรรยากาศของหอ้ งเรยี นเอื้อต่อการจัดการเรยี นการสอน
4. ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน
ท่ี กิจกรรมท่ีดำเนนิ การ ระยะเวลาปฏบิ ัติ งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ
1 จัดประสบการณ์การเรยี นรูโ้ ดยเน้นเดก็ นางสาวสมุ ติ รา แกว้ ปัน
เปน็ ศูนยก์ ลางแหง่ การเรยี นรู้และ นางสาวสุมิตรา แก้วปนั
นางสาวสุมติ รา แกว้ ปนั
เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับ นางสาวสุมิตรา แกว้ ปัน
ปฐมวัย พฤศจกิ ายน
- จัดซอ้ื สือ่ การเรยี นการสอน 2564
- จดั ซอ้ื วสั ดุอุปกรณ์ในการเรยี นการ
สอน และการทดลองทางวิทยาศาสตร์
(จดั ซ้ือวสั ด)ุ
2 รว่ มแข่งขันทักษะทางวชิ าการในระดบั สงิ หาคม -
เครอื ข่าย / ระดบั เขต และรว่ มกับ กนั ยายน 2565
หน่วยงานอื่น (จัดซือ้ วัสดุ)
3 ประเมนิ ผล ปีการศึกษา 2565
4 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน ปกี ารศกึ ษา 2565
5. ระยะเวลาดำเนนิ งาน เป็นกิจกรรมทีต่ อ้ งทำตอ่ เนอื่ งตลอดปงี บประมาณปีการศกึ ษา 2565
6. งบประมาณทง้ั สน้ิ บาท
7. หนว่ ยงาน/ผู้เกยี่ วข้อง
คณะครู และผปู้ กครอง
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 28
8. ระดับความสำเร็จ
ตัวบ่งชีส้ ภาพความสำเรจ็ วิธกี ารวัด เคร่ืองมือวัด
ผลผลิต 1. ใบงาน
2. แบบสังเกต
1. เดก็ ปฐมวยั ร้อยละ 80 มีความรูแ้ ละทักษะเบ้ืองตน้ จากการ 1. ตรวจผลงาน
เรียนรู้ผา่ นประสบการณต์ า่ ง ๆ และจากการทดลองทาง 2. สงั เกต
วทิ ยาศาสตร์
2. โรงเรยี นมีสื่อการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม
กบั พฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั
ผลลัพธ์
1. เดก็ ปฐมวัย มีความใฝเ่ รยี นรู้ รักการอ่าน พฒั นาตนเอง
และเรยี นรรู้ ่วมกับผอู้ นื่ ได้
2. เด็กปฐมวัย ได้เขา้ รว่ มแขง่ ขันทกั ษะทางวิชาการ
9. ผลท่คี าดวา่ จะได้รับ
1. เด็กปฐมวัยมีความใฝ่รูแ้ ละทกั ษะเบ้อื งต้น สามารถคดิ แก้ปญั หา และมีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์
2. โรงเรียนมีส่ือการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสมกบั พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
3. มีวัสดุ ครุภัณฑ์ใช้และมีสิ่งอำนวยความสะดวกพร้อมใช้งานที่ทำให้สภาพแวดล้อมบรรยากาศ
เอ้ือตอ่ การเรียนการสอนของครแู ละเดก็
10. ผเู้ สนอโครงการ
ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอโครงการ
(นางสาวสมุ ิตรา แก้วปนั )
ครอู ตั ราจา้ ง โรงเรียนบ้านแมก่ งุ้ หลวง
ลงชือ่ ............................................................ผอู้ นมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพชิ ญาภคั โนลา)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นแมก่ งุ้ หลวง
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 29
กลยุทธ์ท่ี 1
โครงการ พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
ลกั ษณะโครงการ การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนและสมรรถนะหลกั 6 ดา้ น
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ จัดทำแผนงบประมาณเพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
กลมุ่ งานทรี่ ับผิดชอบ โครงการต่อเน่ือง
นางสาวสุมิตรา แก้วปนั
กล่มุ งานงบประมาณ
1. หลักการและเหตผุ ล
การพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนบ้านแม่กุง้ หลวงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุก ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
เนอ่ื งจากคุณภาพของสถานศึกษาจะเก่ียวขอ้ งกับ งบประมาณ คุณภาพของบุคลากร ผเู้ รียน และความร่วมมือ
สนับสนุนจากทุกฝ่าย ตลอดถึงการบริหารจัดการของ สถานศึกษา ที่มีความเป็นอิสระมากข้ึน
กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
อันนำไปสู่มาตรฐานการศึกษา เพื่อสร้างความมัน่ ใจใหก้ ับผู้ปกครอง และผู้รับบริการ และเนื่องจากโรงเรียน
มีงบประมาณจำกัด ไม่พอเพียงต่อการดำเนินงาน จึงต้องมีการระดมพลังสมองจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
มาพัฒนาโรงเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ซึ่งในปัจจบุ ันได้มุ่งการพัฒนากระบวนการ
สอนตามแนวทางปฏิรูปการเรียนการสอนถือวา่ ผเู้ รยี นสำคัญทส่ี ุด
ดังน้นั เพอื่ ใหก้ ารใชง้ บประมาณทมี่ อี ยอู่ ย่างจำกัด ได้เกิดประโยชน์สงู สดุ คมุ้ ค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้
จึงต้องจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อใช้งบประมาณประจำปีให้ครอบคลุม และเกิดประโยชน์สูงสุด
โดยใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด และสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามความจำเป็นตามมาตรฐานของหลักสูตร
และมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการจัดทำแผนงบประมาณเพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาขึ้น สำหรับเป็นแนวทางในการดำเนินงาน และใช้เงินได้ถูกต้องตามระเบียบ โปร่งใส
สามารถตรวจสอบไดแ้ ละประหยัดคุ้มค่า
2. วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ จดั ทำมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะทง้ั 6 ด้าน
2. เพื่อให้ครูและผเู้ กี่ยวขอ้ ง มงุ่ พัฒนาด้านการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั สมรรถนะท้งั 6 ดา้ น
3. เพื่อดำเนินงานตามแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการประจำปีอย่าง ประสิทธิภาพสูงประหยัด
คุ้มคา่ ถูกตอ้ งตามระเบียบ โปร่งใส ตรวจสอบได้
4. เพ่ือตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
5. เพ่ือจดั ทำรายงานคณุ ภาพการศึกษาประจำปี
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 30
3. เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
1. โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวงมีแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564
คำรบั รองปฏบิ ตั ิราชการ และระบบประกนั คุณภาพภายใน เป็นแนวทางในการพฒั นาโรงเรียนใหเ้ กิดคุณภาพ
2. นักเรยี นโรงเรยี นบา้ นแม่กงุ้ หลวง
3. ครูโรงเรยี นบ้านแมก่ ุ้งหลวงทกุ คน ผเู้ กีย่ วข้อง และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
เชงิ คณุ ภาพ
1. โรงเรยี นบรหิ ารจัดการศกึ ษาเกิดคุณภาพ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขึน้ บรรลุตามวิสยั ทัศน์
ปรชั ญา ตามแผนปฏิบตั กิ ารทเ่ี นน้ การมสี ่วนรว่ มของผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ภาคส่วน
2. นกั เรยี นทกุ คนมีความสามารถและความพรอ้ มในดา้ นทักษะต่าง ๆ ตามมาตรฐานการศึกษา
3. ครู สถานศกึ ษา มีการพฒั นาองคก์ ร ระบบงานหลกั ท้ัง 5 งาน อย่เู สมอ
4. สถานศึกษาได้รับการยอมรบั จากชมุ ชน และชุมชนมีสว่ นร่วมในการพฒั นาสถานศกึ ษา
4. ขนั้ ตอนการดำเนนิ การ ระยะเวลาปฏิบตั ิ งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ
ท่ี กจิ กรรมทีด่ ำเนินการ ปีการศกึ ษา 2564 - ผู้อำนวยการ
1 ประชมุ ชี้แจงคณะครแู ละแตง่ ตง้ั ปกี ารศกึ ษา 2564 ผอู้ ำนวยการ
คณะทำงานและผ้รู บั ผิดชอบ และคณะครู
2 ดำเนินการตามแผน
- วเิ คราะหข์ อ้ มูลสภาพปญั หาความ
ตอ้ งการ และจำนวนงบประมาณ
- พฒั นามาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน
- จัดทำแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการ
ประจำปีของโรงเรียน และคำรับรอง
ปฏบิ ตั ิราชการ
- พัฒนาการเรยี นการสอนให้มคี ุณภาพ
2 - พฒั นาครูและผู้เก่ยี วขอ้ งดา้ น
การศึกษา
- พฒั นาสถานศึกษาให้มมี าตรฐาน
- พฒั นาระบบสารสนเทศให้พร้อมใช้
- จัดทำระบบประกันคณุ ภาพภายใน
- จดั ทำป้าย/ไวนลิ ข้อมูล แผนงาน
ตา่ ง ๆ เพือ่ เปน็ แนวนางในการ
ปฏิบตั งิ าน
ท่ี กิจกรรมที่ดำเนินการ แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 31
3 ดำเนินการตามแผนปฏบิ ตั กิ าร ระยะเวลาปฏิบัติ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ
ประจำปี และระบบประกันคณุ ภาพ
- นิเทศ กำกบั ติดตาม ปีการศึกษา 2564 - นางสาวสุมติ รา
- ประเมนิ ผลพัฒนาคณุ ภาพประจำปี แก้วปนั
- สรปุ รายงานการประเมนิ ตนเอง
นำไปเผยแพร่และพฒั นาในปีต่อไป
5. ระยะเวลาในการดำเนินงาน ต้งั แต่ 17 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565
6. งบประมาณทั้งสน้ิ บาท
7. หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4
คณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาฯ
8. ระดับความสำเร็จ
ตัวบ่งชี้สภาพความสำเร็จ วิธีการวัด เครอื่ งมือวัด
ผลผลิต
1. โรงเรยี นมีแผนพัฒนา และแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 คำ สอบถาม - แบบสอบถาม
รับรองปฏบิ ตั ิราชการระบบประกันคุณภาพภายใน ทพ่ี ฒั นาสถานศกึ ษาให้เกิด - แบบสังเกต
คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาบรรลุตามวิสยั ทัศน์ ปรัชญา โดยใช้งบประมาณได้
ประหยดั คุ้มค่าพร้อมรายงานผลการประเมนิ ตนเองแก่ผู้เก่ียวข้องทราบ
2. โรงเรยี นบริหารจัดการศึกษาเกิดคุณภาพ ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขึ้น สอบถาม แบบสอบถาม
บรรลตุ ามวิสัยทัศน์ ปรัชญา
- นกั เรียนไดเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม
- นกั เรียนได้รบั รางวัล
- ครูไดร้ บั การพฒั นา
- ชมุ ชนมสี ว่ นสนับสนนุ การศกึ ษา
- สถานศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาทกุ ดา้ น
9. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ
1. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขน้ึ
2. ผู้มสี ่วนเกย่ี วข้องมคี วามพงึ พอใจการจัดการศึกษาของโรงเรยี น
3. นักเรียนมีผลการประเมินทกุ ดา้ นดขี นึ้ และมสี ว่ นรว่ มกิจกรรมทุกกจิ กรรมตามความเหมาะสม
4. ครทู ุกคนมงุ่ ม่นั ในการพฒั นาตนและพฒั นางาน
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 32
5. สถานศกึ ษามีความพร้อมในการรบั การประเมินจาก ผ้ปู กครอง ชมุ ชน สพท. และองคก์ ร
ภายนอก
10. ผเู้ สนอโครงการ
ลงชื่อ............................................................ผเู้ สนอโครงการ
(นางสาวสุมิตรา แก้วปัน)
ครอู ตั ราจ้าง โรงเรยี นบ้านแมก่ งุ้ หลวง
ลงชอื่ ............................................................ผอู้ นุมตั ิโครงการ
(นางสาวพชิ ญาภคั โนลา)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านแมก่ ุ้งหลวง
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 33
กลยุทธท์ ี่ ๑
พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
โครงการ การยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและสมรรถนะหลัก 6 ดา้ น
ลกั ษณะโครงการ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง
นางสาวอริสรา การะหงษ์
กลุ่มงานท่รี บั ผิดชอบ กลมุ่ งานวิชาการ
1. หลกั การและเหตุผล
ในการจัดกระบวนการเรียนรู้เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามพระราชบัญญัติ
การศึกษา 2551 มงุ่ เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั เน้นใหน้ กั เรียนได้ฝึกทกั ษะการคิดท่หี ลากหลาย เพ่อื ทจี่ ะได้เรียนรู้
โดยการลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ และนักเรยี นตอ้ งมีคณุ ลักษณะ ดี เก่ง และมีสขุ ดงั น้นั กระบวนการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนการบูรณาการท้ัง 8 กลุ่มสาระ ครูต้องมีการพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่งเสริมการ
การอ่าน การเขียน คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะกระบวนการคิดการคิด เพื่อพัฒนาการ
เรียนการสอนยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผ้เู รยี นใหส้ งู ขึ้น
จากคะแนน O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ในระดับโรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง
สาระวิชาภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย 43.82 สาระวิชาคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย 23.57 สาระวิชา
วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉล่ีย 36.34 สาระวชิ าภาษาตา่ งประเทศ คะแนนเฉลยี่ 31.07 จากข้อมลู ดงั กล่าว สรปุ
ไดว้ า่ มีคะแนนยังไมน่ ่าพอใจ สว่ นผลสอบ NT พบว่าคะแนนเฉล่ียในด้านภาษาไทยสูงกว่าคา่ เฉล่ียของประเทศ
แต่ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ควรได้รับการแก้ไข และผลสอบ RT พบว่าคะแนนเฉล่ยี ในท้งั 2 ด้านสูงกว่า
คา่ เฉลีย่ ของประเทศ ควรได้รบั การพฒั นาใหด้ ยี ่ิงขึน้ ไปอกี ดงั นน้ั จึงจำเป็นต้องยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
กล่มุ สาระให้ดขี ้ึน รวมทั้งผลสมั ฤทธกิ์ ารจดั การเรียนร้ปู ฐมวยั
2. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 8 กลมุ่ สาระ โดยการจัดการเรยี นรตู้ ามฐานสมรรถนะ และ
ผู้ปกครองมสี ่วนร่วม
2. เพอ่ื ยกระดบั สมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู ร การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น เป็นไปตามเกณฑ์
3. เพ่อื ยกระดับพัฒนาการนกั เรยี นปฐมวยั เป็นไปตามเกณฑ์
4. เพอื่ ยกระดับผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเพ่ิมขึน้
3. เปา้ หมาย
1. นกั เรยี นรอ้ ยละ 75 มรี ะดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 8 กลุ่มสาระเพิ่มข้นึ เฉล่ีย 3% และค่าเฉลย่ี
ทุกกล่มุ สาระ ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 75
2. นักเรยี นรอ้ ยละ 75 มสี มรรถนะสำคัญตามหลกั สูตร อ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี นเป็นไปตาม
เกณฑร์ ะดบั ดี
3. นักเรยี นปฐมวยั รอ้ ยละ 75 มพี ฒั นาการเดก็ ปฐมวัยเป็นไปตามเกณฑ์ ระดบั ดีมาก
4. นักเรียนร้อยละ 75 มผี ลการทดสอบรวบยอดระดับชาตเิ พิม่ ข้นึ เฉลยี่ 3%
5. ผลการทดสอบรวบยอด ระดับ โรงเรยี น / NT / O-NET ทกุ กล่มุ สาระดี คา่ เฉลย่ี ไมต่ ำ่ กว่าระดับ
สพป.และระดบั ชาติ
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 34
4. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน
กิจกรรม งบประมาณ ระยะเวลา ผ้รู บั ผดิ ชอบ
1. จัดทำและเสนอโครงการ กิจกรรม ตลุ าคม 2564 นางสาวอริสรา/
นางสาวจินตนา
2. ดำเนินกิจกรรม ตลุ าคม 2564
2.1 ประชุมผ้บู ริหารและครูผูส้ อนเพื่อ ผู้บรหิ ารและ
นำไปปฏบิ ตั ิ พฤศจิกายน 2564 ครผู ้สู อน
2.2 ดำเนนิ ตามแผนงานโครงการยกระดับ ครูผสู้ อนทกุ ท่าน
ผลสมั ฤทธ์ิทกุ ระดับชั้น
2.3 จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื พฤศจิกายน 2564 ครูผสู้ อนทุกท่าน
ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ - กันยายน 2565
-ทกุ กล่มุ สาระ 8 สาระ
- การสอนโดยโครงงาน มนี าคม 2564 ครูผู้สอน
- การสอนแบบบูรณาการ ครผู สู้ อนทกุ ท่าน
- กจิ กรรมสอนเสรมิ 4 กล่มุ สาระเพือ่ กันยายน 2565
พฤศจิกายน 2564 - ผูบ้ รหิ ารและครู
สอบ O-NET ชัน้ ป.6 กันยายน 2565 วชิ าการ
- ค่าวัสดุฝกึ ,สอน สอบ ผลติ ส่อื เช่าเครื่อง กนั ยายน 2565 ครูผ้สู อน
ถ่ายเอกสาร
2.4 นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม
2.5 สรุป/ ประเมินผล/ รายงาน
3. นเิ ทศ กำกบั และติดตาม
4. สรุป ประเมินผลและรายงาน
5. งบประมาณ จำนวนท้งั ส้นิ บาท
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 35
6. ระดบั ความสำเรจ็ วธิ ีการ เครอ่ื งมือทีใ่ ช้วัด
ประเมนิ ผล แบบทดสอบ
ตัวบ่งชี้สภาพความสำเร็จ
การทดสอบ
1.นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขน้ึ รอ้ ยละ 75 ของทุกกลมุ่
สาระ การประเมนิ แบบประเมิน
2. นกั เรยี นมสี มรรถนะสำคัญตามหลักสูตร อา่ น คดิ วเิ คราะห์ และ
เขียนเปน็ ไปตามเกณฑ์ รอ้ ยละ 75 ระดบั ดี การประเมิน แบบประเมิน
3. นักเรียนปฐมวยั รอ้ ยละ 75 มีพฒั นาการเด็กปฐมวยั เปน็ ไปตาม
เกณฑ์ ระดับดมี าก การทดสอบ แบบทดสอบ
4. นักเรยี นรอ้ ยละ 75 มผี ลการทดสอบรวบยอดระดับชาติ
เพิ่มขน้ึ เฉล่ยี 3%
7. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั
1. นกั เรียนได้รบั การส่งเสริมการเรยี นรใู้ นทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ โดยการจัดการเรยี นรู้ตามฐาน
สมรรถนะ และผู้ปกครองมีส่วนร่วม และมีความพร้อมในประเมินการเรียนรู้การสอบระดับโรงเรียน และ
ระดับชาติ
2. นักเรยี นได้รับการสง่ เสริมการการอ่าน การเขยี น คดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และ
ทกั ษะกระบวนการคิด
3 นกั เรียนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – 6 จำนวนไมต่ ำ่ กว่าร้อยละ 80 มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
ทกุ กลมุ่ สาระเฉลี่ยสงู ขึน้
4. นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 และชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 มีผลการทดสอบ NT และ O-NET ทุก
กลุม่ คะแนนผ่านเกณฑเ์ ฉลยี่ ร้อยละ 50 ทกุ คน
๘. ผนู้ ำเสนอโครงการ
ลงช่อื ................................................................ผเู้ สนอโครงการ
(นางสาวอรสิ รา การะหงษ์)
ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนบา้ นแมก่ ุง้ หลวง
ลงชอ่ื .............................................................ผอู้ นมุ ัตโิ ครงการ
(นางสาวพิชญาภัค โนลา)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นแม่กุง้ หลวง
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 36
กลยุทธท์ ี่ ๑
โครงการ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
ลกั ษณะโครงการ การยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นและสมรรถนะหลกั 6 ด้าน
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ วัดผลและประเมนิ ผล
กลุม่ งานทีร่ ับผิดชอบ โครงการต่อเนอื่ ง
นางสาวอรสิ รา การะหงษ์
กลุม่ งานวิชาการ
1. หลักการและเหตุผล
การวัดและประเมินผลการเรียนเป็นกระบวนการที่ให้ผู้สอนใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน จัดทำข้อมูล
สารสนเทศที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้าและความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียนรวมทั้งข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ต่อการสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การพัฒนา และเรียนรู้เตม็ ตามศกั ยภาพโรงเรยี น จะตอ้ งจัดทำหลักเกณฑ์
และแนวปฏิบัติในการวดั และประเมินผลการเรียน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ถือปฏิบัติร่วมกันเปน็
มาตรฐานเดียวกัน ต้องมีผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจากการวัดและประเมินทั้งในระดับชั้นเรียน
ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ ตลอดจนการประเมินภายนอก เพื่อใช้เป็นข้อมูล
สร้างความมั่นใจเกี่ยวกับคุณภาพของผู้เรียนพัฒนาความก้าวหน้า ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรม
และคา่ นยิ มอนั พึงประสงค์
เพื่อให้การดำเนินงานเปน็ ไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ และบรรลุตามมาตรฐาน งานวัดผลและ
ประเมินผลจึงได้กำหนดระบบการวัด และการประเมินผลของนักเรียนให้ครอบคลุมภารกิจทั้งหมด โดย
กำหนดให้มีการดำเนินงานเป็นระบบ มีระเบียบเป็นข้อกำกับการปฏบิ ัติในส่วนที่ต้องมีผลต่อกฎหมาย และ
กำหนดบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบในกิจกรรมต่างๆ มีแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมการวัดผลและการ
ประเมนิ ผล งานยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ข้นึ เพอื่ รองรบั การพฒั นาคุณภาพของนกั เรยี นและยกระดับ
คุณภาพโรงเรยี นเข้าสู่มาตรฐานสากล จึงจำเป็นต้องใช้เคร่ืองมือและวธิ ีการที่หลากหลาย เน้นการปฏิบตั ิให้
สอดคล้องเหมาะสมกับสาระ การเรียนรู้ กระบวนการ กิจกรรมการเรียนรู้เป็นรายชั้นปี และดูแลการส่ง
คะแนนผลการเรียนของผู้สอน การบันทึกผลการเรียนลงในโปรแกรม Schoolmis มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่
ทันสมัยมีความสะดวกในการค้นหาเอกสารและสามารถปฏิบัติงานอย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของทาง
ราชการ เพื่อนำข้อมูลไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนตลอดจนคุณภาพของ
ผ้เู รยี นให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้
2. วัตถปุ ระสงค์
2. เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษามีการจัดระบบการบนั ทึก การรายงานผล และการสง่ ต่อขอ้ มูลของนักเรยี น
3. เพ่ือใหค้ รูผู้สอนมีการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพการเรียนรู้ โดย
การจดั การเรียนรตู้ ามฐานสมรรถนะ และผปู้ กครองมีส่วนรว่ ม
4. เพือ่ ให้โรงเรยี นมีการจัดระบบการวัดและประเมินผลตามมาตรฐานสากล
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 37
5. เพื่อใหก้ ารจดั ทำขอ้ มลู เก่ียวกบั งานทะเบียนวัดผลมีความเปน็ ระบบ ครอบคลุม มีความทนั สมยั
และทนั ตอ่ การใช้งาน
6. เพอ่ื ใหผ้ ลสมั ฤทธทิ์ างเรียนผา่ นการประเมินระดบั ชาติอยู่ในระดับดี
3. เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ
1. มีวสั ดุอปุ กรณ์ และเทคโนโลยีทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพในการประมวลผลการเรยี นรู้และเพียงพอกบั ความ
ต้องการใช้งานในกิจกรรมตา่ ง ๆ
2. นักเรยี นชน้ั ป.1- ป.6 จำนวน 28 คน มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนทกุ วชิ าอยู่ในระดบั ดี – ดมี าก
3. นักเรียนช้ัน ป.3, ป.6 จำนวน 21 คน มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระดบั ชาติสูงขน้ึ รอ้ ยละ 1
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนมคี วามรแู้ ละทักษะที่จำเป็นตามหลกั สูตร
2. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการท่ีสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นพัฒนาตามธรรมชาตเิ ต็ม
ศักยภาพ
3. ผลสมั ฤทธิท์ างเรยี นผา่ นการประเมินระดับชาตอิ ยใู่ นระดับดี
4. โรงเรียนมกี ารจัดระบบการวดั และประเมนิ ผลตามมาตรฐาน
5. ครมู ีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและเน้นนกั เรียนเป็นสำคญั
4. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน งบประมาณ ระยะเวลา ผูร้ ับผดิ ชอบ
ท่ี กจิ กรรม
1 ประชุมผูเ้ กี่ยวขอ้ ง วางแผนการปฏิบัตงิ าน ตลุ าคม 2564 ผบู้ ริหารและ
คณะครู
2 สำรวจเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ทต่ี อ้ งใช้ในการจัดทำ
ระบบฐานข้อมลู สำรวจข้อมลู ครู บุคลากร และ เมษายน 2565 นางสาวอริสรา
นกั เรียน
3 จดั ซ้อื ปพ.1 ปพ.2 ปพ.3 สมุดทะเบยี น หมึกพิมพ์ ตุลาคม-
และ วสั ดุอนื่ ๆ พฤศจกิ ายน
4 ปรบั ปรงุ ฐานข้อมูล ครู บุคลากร และนักเรยี น 2564
เพือ่ เตรยี มจัดส่งให้กับ สพป.ชม.เขต 4 ครัง้ ที่ 2 ปี
การศกึ ษา 2564 สิ้นสดุ ภาคเรยี น
5
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 38
งบประมาณ ระยะเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ
ท่ี กจิ กรรม
ปรบั ปรงุ ฐานข้อมลู ครู บุคลากร และนักเรยี น สนิ้ ปีการศึกษา
6 เพ่ือเตรียมจัดส่งให้กับ สพป.ชม.เขต 4 ครั้งท่ี 1 ปี สน้ิ ปกี ารศกึ ษา
การศกึ ษา 2565
7
จดั ทำเอกสาร หลกั ฐานทางการศึกษา สำหรบั
นักเรียนทีจ่ ะใชส้ มคั รสอบ ลาออก หรอื ย้าย
สถานศึกษา และนักเรยี นทสี่ ำเร็จการศกึ ษา
สรุปและประเมนิ ผล
1) งานทะเบียนและฐานขอ้ มลู นักเรยี น
2) การวดั และประเมินผล
- รายงานผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
3) การยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
5. งบประมาณ จำนวนทัง้ สิน้ บาท
วิธีการประเมินผล
6. ระดบั ความสำเร็จ การสังเกต
การสังเกต
ตวั บ่งช้ีสภาพความสำเร็จ เคร่ืองมือวดั
แผนการวดั ผลประเมินผล แบบสงั เกต
1. สถานศกึ ษามีการจดั ระบบการบันทึก การรายงานผล
การสังเกต แบบบนั ทกึ การ
และการสง่ ต่อข้อมลู ของนักเรียน สงั เกต
การทดสอบ
2.โรงเรียนมีการจัดระบบการวัดและประเมนิ ผลตาม เอกสารรายงานผลสัมฤทธิ์ แบบทดสอบ
มาตรฐานสากล ของโรงเรยี น แบบสังเกต
3. ครูมีการประเมินผลการเรยี นการสอนท่ีสอดคล้องกับ แบบทดสอบ
ระดับชาติ
สภาพการเรียนรทู้ ่จี ัดให้นักเรียนและอิงพฒั นาการของ
นกั เรยี น
4.โรงเรยี นมกี ารจดั ทำข้อมลู เก่ียวกับงานทะเบียนวดั ผล
มคี วามเป็นระบบ ครอบคลุม มคี วามทนั สมยั และทันตอ่
การใชง้ าน
5.นกั เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนผ่านการประเมิน
ระดับชาติอย่ใู นระดบั ดี
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 39
๗. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั
1. มวี ัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีทีท่ ันสมัย และเพียงพอต่อการใชง้ านในแต่ละกิจกรรม
2. การทำหลกั ฐานการศกึ ษาให้เปน็ ปัจจบุ ัน ถกู ตอ้ งและใหบ้ ริการแก่นกั เรยี น ผ้ปู กครองไดร้ วดเรว็
3. การวัดและการประเมนิ ผลเปน็ ไปตามปฏิทินที่กำหนดไว้ ถกู ต้องตามเกณฑ์ท่ีกำหนดไวใ้ น
หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
๘. ผนู้ ำเสนอโครงการ
ลงชื่อ.............................................................ผู้เสนอโครงการ
(นางสาวอรสิ รา การะหงษ)์
ครูผู้ชว่ ย โรงเรียนบา้ นแม่กุ้งหลวง
ลงช่อื ................................................................ผู้อนมุ ัติโครงการ
(นางสาวพิชญาภัค โนลา)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านแม่กงุ้ หลวง
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 40
กลยุทธ์ที่ 1
โครงการ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
ลกั ษณะโครงการ การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและสมรรถนะหลกั 6 ดา้ น
ผูร้ ับผิดชอบโครงการ เกษตรพ้ืนฐานสกู่ ารพอเพยี ง เนน้ สมรรถนะผเู้ รยี นเป็นฐาน
กลุ่มงานทีร่ ับผดิ ชอบ โครงการตอ่ เนื่อง
นายเทวินทร์ ไชยมา
กลุ่มงานบริหารท่ัวไป
1. หลกั การและเหตุผล
การจดั การศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มแี นวทางการจดั การศึกษาที่มุง่ เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ มีการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกหอ้ งเรียนเพือ่ มุง่ เน้นให้ผูเ้ รียนได้ฝกึ ทักษะการปฏบิ ัติทัง้ ภาคทฤษฎีและ
การปฏบิ ัติ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หวั ทรงมี พระราชดำรสั ชแ้ี นะแก่ พสกนกิ รชาวไทยมานานกว่า 30 ปี ดงั จะเห็นได้วา่ ปรากฏความหมาย
เปน็ เชงิ นัยเปน็ ครง้ั แรกใน พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ในปี 2517
ที่พระองค์ได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการพัฒนา บนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง เพื่อให้เกดิ ความพอมี พอกิน พอใช้ของ
คนส่วนใหญ่ โดยใช้หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงการมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรง
เตือนสติ ประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนที่ถูกต้องตามหลักวิชา
และการมีคุณธรรมเป็นกรอบในการ ปฏิบัติและการดำรงชีวิต ในช่วงที่ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤต
เศรษฐกิจในปี 2540 นับเป็นบทเรียนสำคัญที่ทำใหป้ ระชาชนเข้าใจถึงผลจากการพัฒนา ที่ไม่คำนึงถึงระดับ
ความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ความสำคัญกับการปฏิรูปการศึกษาโดยเน้น
และกำหนดเป็นยทุ ธศาสตร์ ปี 2554 ข้อ 2 ปลูกฝังคุณธรรมสำนึกความสำนึกในความเป็นไทย และวิถีชีวติ
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักเรียนทุกคน ให้สถานศึกษาทุกแห่งนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง มาประยกุ ต์ใช้ มาเปน็ แนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวงได้ตระหนักถึงความสำคัญของการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏิบัติ ด้วยการการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกคนจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
จัดกิจกรรม/โครงการเพือ่ ให้เกิดผลกับนักเรียนในการ น้อมนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจไปประยุกต์ใช้อย่างย่งั ยนื
จึงได้ดำเนินการขึน้ เพื่อรองรบั การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นการเรียนการสอนสมรรถนะเป็นฐาน
การเรียนรู้ ฝึกทักษะทางด้านการเกษตร ส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เรียน และนำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างสูงสุดโดยยดึ หลักตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถงึ การจัดการกบั ขยะท่ถี กู วิธีดว้ ย
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 41
2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือใหน้ ักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกับแนวทางปฏิบัตติ นตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยเรียนรู้
ร่วมกันเป็นกลุม่ ยดึ การเรยี นการสอนสมรรถนะเปน็ ฐาน แลกเปลี่ยนความเหน็ ซ่ึงกันและกันและมีการ
แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง สามารถนำแนวนางไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ และเกิดทักษะทางด้านการเกษตร สามารถใช้เป็น
แนวทางในการประกอบอาชีพไดใ้ นอนาคต ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง
3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ร่วม
อนรุ กั ษ์และพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม
3. เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ
นักเรียนโรงเรียนบ้านแม่กุง้ หลวง ทุกคน
เชงิ คุณภาพ
นักเรยี นโรงเรียนบ้านแม่กงุ้ หลวงได้เขา้ ร่วมโครงการเกษตรพ้ืนฐานสูก่ ารพอเพยี ง เนน้ สมรรถนะผ้เู รียน
เป็นฐานโดยเก ิดทักษะ ด้าน สมรร ถนะของ ผู้เรียน มีความรู้คว ามเข้าใจ สามารถปฏิบั ติ
และตระหนกั เกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ติ นตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน งบประมาณ ระยะเวลา ผรู้ ับผดิ ชอบ
กจิ กรรมดำเนินการ งบอุดหนนุ รายได้สถาน
-- ตลอด นายเทวินทร์
1. วางแผนจัดทำโครงการ ปงี บประมาณ นายสงิ หแ์ กว้
2565 นายเกรียงศักด์ิ
2. ดำเนนิ ตามโครงการดงั น้ี -
2.1 ให้ความรูเ้ กยี่ วกบั หลกั การ
ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
2.2 ปลูกผัก
2.3 เล้ียงสตั ว์
2.4 การจัดการขยะ
3. จดั ทำเอกสารประกอบการเรยี นรู้ -
- ปา้ ยไวนิล/แผ่นพบั ให้ความรู้
- ตุลาคม
4. ควบคมุ ติดตาม ประเมินผล 2565
สรปุ – รายงาน
5. ระยะเวลาดำเนนิ การ เป็นกิจกรรมท่ีต้องทำต่อเนือ่ งตลอดปีงบประมาณ 2565
6. งบประมาณ จำนวน บาท บาทถ้วน)
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 42
7. หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4
สมาคมผ้ปู กครอง กรรมการสถานศกึ ษาฯ นกั เรียน
การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
8. ระดบั ความสำเรจ็
ตัวช้วี ัดสภาพความสำเรจ็ วธิ ีการวัด เครอื่ งมือท่ใี ช้
และประเมินผล
แบบบันทึกการ
ด้านผลผลิต สังเกต
ภาพถ่าย
1. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ และเกิดทักษะด้านสมรรถนะผู้เรยี น การสงั เกต
ข้อทดสอบ
ทางด้านการเกษตร สามารถใช้เป็นแนวทางในการ
แบบบันทกึ การ
ประกอบอาชีพได้ในอนาคต ตามแนวเศรษฐกิจ สังเกต
พอเพยี งได้ ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป
ด้านผลลัพธ์ การทดสอบ
2. นกั เรียนมคี วามรู้ ด้านสมรรถนะของผ้เู รียนความเข้าใจ
เกี่ยวกบั แนวทางปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง
โดยเรยี นรู้รว่ มกนั เป็นกลุ่ม แลกเปลีย่ นความเหน็ ซ่ึงกัน
และกันและมีการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
3. นักเรียนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการ การสงั เกต
ปฏบิ ัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมอนุรักษ์และ
พัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม
9. ผลท่จี ะไดร้ ับ
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความพงึ พอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียน โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชน
ผเู้ รยี นมีสมรรถนะพื้นฐาน สง่ เสรมิ ให้เกิดเอกลกั ษณ์และอัตลกั ษณ์ของโรงเรียนบ้านแมก่ งุ้ หลวง
10. ผเู้ สนอโครงการ
ลงชื่อ............................................................ผ้เู สนอโครงการ
(นายเทวินทร์ ไชยมา)
ครูชำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนบา้ นแมก่ งุ้ หลวง
ลงชื่อ............................................................ผู้อนมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพชิ ญาภคั โนลา)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นแมก่ งุ้ หลวง
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 43
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน
กลยุทธ์ที่ 1 การยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและสมรรถนะหลัก 6 ด้าน
โครงการ พัฒนาผู้เรยี นให้มที ักษะการใชเ้ ทคโนโลยี
ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเกรียงศักดิ์ ศรีบญุ เรอื ง, นายเทวนิ ทร์ ไชยมา, นายสิงหแ์ กว้ ปันออ่ ง
กลุ่มงานทรี่ บั ผิดชอบ กลุม่ งานวิชาการ
1. หลักการและเหตุผล
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ซ่งึ ความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ หนงึ่ ในสมรรถนะที่ต้องเกิดกับผู้เรยี นโดยม่งุ เน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเลือก
และใช้ เทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้าน
การเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรมเพื่อสนอง
นโยบายดงั กล่าวงานคอมพวิ เตอรจ์ งึ ไดว้ างแผนพฒั นาคณุ ภาพครูไปพร้อมกับจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนด้าน
เทคโนโลยี เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนให้มีสมรรถนะความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ตามหลักสูตร
กำหนดและรู้เท่าทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของสงั คมในปจั จุบนั
2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้นักเรียนทุกระดบั ชน้ั มคี วามรู้ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
2. เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดแ้ สดงออกซง่ึ ความสามารถในด้านทกั ษะคอมพิวเตอร์
3. เพอื่ ส่งเสริมและพฒั นานักเรียนทุกระดับชน้ั ใหส้ ามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการประยุกต์ใช้
งานในชวี ติ ประจำวัน
3. เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ นักเรียนโรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง ไดร้ ับการส่งเสรมิ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนำ
ความรดู้ ้านเทคโนโลยสี ารสนเทศไปประยกุ ต์ใช้ไดร้ ้อยละ 85
เชิงคุณภาพ นักเรียนโรงเรียนบ้านแม่กุ้ง มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการสร้างงาน
และแสวงหาความรู้สามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
4. ขน้ั ตอนการดำเนินงาน งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ
ท่ี กจิ กรรม - ตลุ าคม 2564 ครูเกรยี งศกั ดิ,์
1 ประชมุ ครเู พอ่ื ชแี้ จงแนวทาง ครเู ทวินทร์, ครสู งิ หแ์ ก้ว
ดำเนินงาน -
แตง่ ตงั้ คณะทำงานฝา่ ยต่างๆ พฤศจกิ ายน ครเู กรียงศักด,์ิ
2 ดำเนินงานตามแผนงาน
2564 ครเู ทวินทร์, ครูสิงหแ์ ก้ว
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 44
ท่ี กิจกรรม งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รบั ผิดชอบ
3 บำรงุ รักษา ซ่อมแซมอปุ กรณท์ ีช่ ำรุด 2,000 พฤศจกิ ายน ครเู กรียงศกั ด์ิ
4 นเิ ทศ ติดตามผล 2564 ผู้บริหารและคณะครู
5 สรปุ และรายงานผล มนี าคม 2565 ครเู กรยี งศกั ดิ,์
มีนาคม 2565
ครเู ทวินทร์, ครสู งิ ห์แก้ว
5. ระยะเวลาดำเนินงาน เปน็ กิจกรรมท่ีตอ้ งทำตอ่ เนอื่ งตลอดปงี บประมาณ 2565
6. งบประมาณ จำนวนทั้งส้นิ 2,000 บาท ถัวจ่ายทกุ รายการ
ทม่ี าของงบประมาณ เงินอดุ หนุนรายหัวประถมศกึ ษา 2,000 บาท
7. หนว่ ยงาน/ผ้เู กี่ยวขอ้ ง โรงเรียนบ้านแม่กงุ้ หลวง
8. การติดตามประเมนิ ผล
ตวั บง่ ชี้ความสำเรจ็ วิธีการวดั เครื่องมือวดั
ด้านปริมาณ การประเมิน แบบประเมิน
นักเรยี นโรงเรยี นบา้ นแมก่ ุ้งหลวงได้รับการสง่ เสริม กจิ กรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศและนำความรูด้ ้านเทคโนโลยีไป การทดสอบการปฏิบตั ิ
ประยกุ ต์ใชไ่ ดร้ ้อยละ 85 การปฏิบตั ิ
ดา้ นคณุ ภาพ นกั เรียนโรงเรียนบา้ นแม่กุ้งหลวง มคี วามรู้
และทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีในการสร้างงานและ
แสวงหาความรู้สามารถประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการทำงานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
9. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั
1. นักเรียนทกุ ระดบั ช้ัน มีความรคู้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
2. นกั เรยี นไดเ้ ข้าร่วมการแขง่ ขนั ทักษะในดา้ นทักษะคอมพวิ เตอร์
3. นกั เรียนทกุ ระดับชนั้ ได้รับการส่งเสริมและพฒั นาใหส้ ามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการประยุกตใ์ ช้
งานในชีวิตประจำวันได้
4. มีครภุ ัณฑพ์ ร้อมใชง้ าน และสามารถใช้ในการจดั การเรียนการสอนได้
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 45
10. ผู้เสนอโครงการ
ลงชื่อ............................................................ผูเ้ สนอโครงการ
(นายเกรยี งศกั ดิ์ ศรบี ญุ เรือง)
ครูอตั ราจ้าง โรงเรยี นบ้านแม่กุ้งหลวง
ลงชอ่ื ............................................................ผเู้ สนอโครงการ
(นายสงิ ห์แก้ว ปนั อ่อง)
ครูชำนาญการ โรงเรียนบา้ นแมก่ งุ้ หลวง
ลงชอื่ ............................................................ผู้เสนอโครงการ
(นายเทวนิ ทร์ ไชยมา)
ครชู ำนาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านแมก่ งุ้ หลวง
ลงช่อื ............................................................ผอู้ นุมตั โิ ครงการ
(นางสาวพิชญาภัค โนลา)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านแมก่ งุ้ หลวง
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 46
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น
กลยทุ ธ์ท่ี 2 การพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กจิ กรรม/โครงการ ปกี ารศึกษา
2565 2566 2567
1. โครงการเปิดบ้านวิชาการ และปจั ฉิมนิเทศ
2. โครงการโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ
3. โครงการห้องสมุดส่งเสริมการเรยี นรู้
4. กฬี าเพื่อสุขภาพตา้ นยาเสพติด
5. โครงการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น
6. โครงการลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 1 แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 47
กลยทุ ธ์ที่ 2
โครงการ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
ลกั ษณะโครงการ การพฒั นาคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ เปิดบา้ นวชิ าการ และปัจฉมิ นเิ ทศ
กลุ่มงานท่ีรับผดิ ชอบ โครงการต่อเน่อื ง
นางสาวสุมติ รา แก้วปนั และนางสาวประไพศรี กนั ทะวงศ์
กลมุ่ งานวิชาการ
1. หลกั การและเหตุผล
กระบวนการจัดการเรียนการสอนเป็นกระบวนการที่สำคัญที่สุด ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง พฒั นา หล่อหลอม ปลกู ฝังให้เยาวชนทเี่ ข้ารับการศกึ ษา มลี ักษณะท่พี ึงประสงค์ตามที่หลักสูตร
ต้องการ และสอดคล้องกับความต้องการของสังคม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม และมีการ
บรู ณาการระหวา่ งกลมุ่ สาระฯ และมงุ่ เน้นให้นกั เรียนมีส่วนร่วมลงมือปฏบิ ัติ สามารถหาคำตอบและหาความรู้
ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง จึงจะทำให้การจัดการเรียนการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการ
และสามารถพัฒนานักเรียนได้ตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตรที่กำหนดไว้ ซึ่งโครงการเปิดบา้ น
วิชาการนี้จะจัดร่วมกับงานปัจฉิมนิเทศโรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง โดยมีจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ ตามหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในทุก ๆ ปีการศึกษาโรงเรียน
บ้านแม่กุ้งหลวง ได้ผลิตนักเรียนให้จบการศึกษาภาคบังคับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดของ
โรงเรียน ซง่ึ จะตอ้ งสำเรจ็ การศึกษาและเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั มัธยมศกึ ษา
ท้งั น้ี โรงเรียนเห็นวา่ กิจกรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรรู้ ะหว่างกนั ของโรงเรยี น โดยการจดั นทิ รรศการทาง
วชิ าการจะทำให้ครู ผูเ้ รยี นได้พฒั นาคณุ ภาพได้ตามเป้าหมาย อีกประการหนึง่ การแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยการ
จัดนิทรรศการทางวิชาการเป็นการเผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานอื่นได้รับทราบผลการพั ฒนาการศึกษาของ
โรงเรียน เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูและลูกศิษย์ จึงได้จัดให้มี
โครงการน้ีข้ึน
2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือใหน้ กั เรยี นเกดิ ความภาคภมู ิใจในความสำเรจ็
2. เพอ่ื เปิดโอกาสให้นักเรยี นได้แสดงความรู้ความสามารถด้านต่าง ๆ
3. เพอื่ เผยแพร่ผลงานของนักเรียนและครสู ู่ชมุ ชน
4. เพือ่ ให้นักเรยี นเกดิ ทัศนคติที่ดีตอ่ โรงเรียน
3. เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ
1. ทุกกลุม่ สาระมีผลงานนำเสนอในงานนทิ รรศการทางวิชาการของโรงเรียน
2. นกั เรียนชัน้ อนุบาลปที ่ี 3 และประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่สำเร็จการศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2564
3. ครูและบุคลากรโรงเรยี นบา้ นแมก่ งุ้ หลวง
แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า | 48
เชงิ คณุ ภาพ
1. ผูเ้ ขา้ ชมมีความพงึ พอใจต่อการจัดนทิ รรศการร้อยละ 80
2. นักเรียนท่ีสำเรจ็ การศึกษาชน้ั สูงสดุ ของโรงเรียนเกิดความภาคภมู ิใจในความสำเร็จของตน
3. นักเรียนมีขวัญและกำลงั ใจในการศึกษาต่อ
4. นกั เรยี นเป็นตวั อยา่ งท่ีดีใหก้ ับนกั เรยี นรุน่ ตอ่ ไป
4. ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ระยะเวลาปฏิบตั ิ งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ
ท่ี กิจกรรมทดี่ ำเนนิ การ -
ผอู้ ำนวยการ
1 ขั้นเตรยี มการ 1 มิถนุ ายน 2564 และคณะครู
- ประสานงานทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
จัดเตรียมผลงาน
- ประชมุ ปรึกษาหารอื วางแผนการจดั
นทิ รรศการ
2 ขั้นดำเนนิ การ
- จัดนิทรรศการเปดิ บ้านวชิ าการ (คร้งั ท1่ี )
1. ระดับปฐมวยั (อ.1-3) 8 ตุลาคม 2564 คณะครู
2. ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน คณะครู
นางสาวสุมิตรา
(ป.1-ป.6)
แก้วปนั
3 ข้นั ดำเนนิ การ
- จัดนทิ รรศการเปดิ บ้านวชิ าการ (ครงั้ ที่2) 31 มนี าคม 2565
- งานปจั ฉิมนิเทศ
4 ประเมินผล และสรปุ โครงการ เมษายน 2565 -
5. ระยะเวลาดำเนนิ การ
วนั เร่ิมตน้ โครงการ วนั ที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
วันสนิ้ สุดโครงการ วันท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2565
6. งบประมาณ
โครงการน้ี ใชง้ บประมาณทงั้ ส้นิ เปน็ เงนิ 3,000 บาท จำแนกตามรายการค่าใช้จ่ายโดยสรุป ดังนี้
กิจกรรม แหลง่ เงินงบประมาณ /จำนวนเงนิ รวม หมายเหตุ
เงนิ อดุ หนนุ เงินรายได้ฯ เงินนอกงบ
1. คา่ วสั ดุจดั นิทรรศการทกุ กลุ่มงาน 3,000 3,000
รวม 3,000 3,000