The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สวัสดิการและสิทธิผลประโยชน์ที่ควรรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iaudit.bmta, 2022-03-31 06:25:36

สวัสดิการและสิทธิผลประโยชน์ที่ควรรู้

สวัสดิการและสิทธิผลประโยชน์ที่ควรรู้

49

การจำแนกตำแหน่งสายงานขั้นอัตราเงินเดือนและค่าจา้ ง
แนบท้ายคำส่งั องคก์ ารฉบับท่ี 187

ลำดับ ตำแหนง่ บังคบั บัญชา ตำแหนง่ สายงาน เทยี บเทา่ ระดับ

1 ผู้อำนวยการ นักบริหาร 11 11

2 รองผูอ้ ำนวยการ นักบริหาร 10 10

3 ผชู้ ว่ ยรองผอู้ ำนวยการ นักบริหาร 9 9

4 ผตู้ รวจการ ผตู้ รวจการ 8 8

ผ้อู ำนวยการสำนกั นติ กิ ร 8

ผู้อำนวยการเขต เจา้ หนา้ ที่ตรวจสอบภายใน 8

เจา้ หนา้ ที่บรหิ ารงานทั่วไป 8

เจา้ หนา้ ทว่ี เิ คราะห์นโยบายและแผน 8

เจา้ หนา้ ทก่ี ารเงินและบัญชี 8

เจา้ หนา้ ทร่ี ะบบงานคอมพวิ เตอร์ 8

บุคลากร 8

เจ้าหน้าทเ่ี ดินรถ 8

5 ผตู้ รวจการ ผู้ตรวจการ 7 7

ผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการสำนัก นติ ิกร 7

ผชู้ ว่ ยผ้อู ำนวยการเขต เจา้ หน้าที่ตรวจสอบภายใน 7

เจา้ หน้าท่ีบรหิ ารงานท่วั ไป 7

เจ้าหนา้ ที่วเิ คราะหน์ โยบายและแผน 7

เจา้ หน้าที่การเงนิ และบัญชี 7

เจ้าหนา้ ที่ระบบงานคอมพวิ เตอร์ 7

บุคลากร 7

เจา้ หนา้ ทเ่ี ดินรถ 7

6 ผูต้ รวจการ ผตู้ รวจการ 6 6-7

หวั หนา้ กลุ่มงาน นิติกร 6-7

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าทตี่ รวจสอบภายใน 6-7

เจา้ หน้าทบี่ รหิ ารงานทว่ั ไป 6-7

เจา้ หนา้ ที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 6-7

เจา้ หนา้ ทฝ่ี ึกอบรม 6-7

เจ้าหน้าท่กี ารเงินและบญั ชี 6-7

50

ลำดบั ตำแหนง่ บงั คับบัญชา ตำแหนง่ สายงาน เทียบเท่าระดบั
6 ผตู้ รวจการ เจา้ หน้าที่พสั ดุ 6-7 6-7
หวั หนา้ กลุ่มงาน เจา้ หน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 6-7 5
เจ้าหนา้ ท่ี เจา้ หน้าที่ประชาสัมพนั ธ์ 6-7
บคุ ลากร 6-7 3-4
7 หัวหนา้ งาน เจา้ หน้าที่เดินรถ 6-7
เจ้าหนา้ ที่ นิตกิ ร 5
ผู้จดั การสาย เจ้าหนา้ ที่ตรวจสอบภายใน 5
ช่างเทคนิค เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารงานท่ัวไป 5
พนกั งานธรุ การ 5
8 เจา้ หนา้ ท่ี เจ้าหนา้ ทพ่ี สั ดุ 5
หัวหน้าหมวด เจ้าหน้าทป่ี ระชาสมั พนั ธ์ 5
ผจู้ ดั การสาย พนักงานสื่อสาร 5
ช่างเทคนิค เจ้าหนา้ ทวี่ เิ คราะห์นโยบายและแผน 5
เจา้ หน้าที่การเงนิ และบญั ชี 5
เจ้าหนา้ ที่ระบบงานคอมพวิ เตอร์ 5
บคุ ลากร 5
เจ้าหน้าทฝ่ี ึกอบรม 5
เจา้ หนา้ ทเ่ี ดินรถ 5
ชา่ งเทคนคิ 5
นิตกิ ร 3-4
เจ้าหนา้ ทต่ี รวจสอบภายใน 3-4
เจ้าหน้าท่บี ริหารงานทว่ั ไป 3-4
เจ้าหน้าที่พัสดุ 3-4
เจา้ หน้าที่ประชาสัมพนั ธ์ 3-4
เจ้าหนา้ ทว่ี ิเคราะหน์ โยบายและแผน 3-4
เจ้าหน้าทก่ี ารเงินและบญั ชี 3-4
เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 3-4
บคุ ลากร 3-4
เจ้าหนา้ ที่ฝกึ อบรม 3-4

51

ลำดบั ตำแหนง่ บังคับบัญชา ตำแหน่งสายงาน เทียบเทา่ ระดับ
8 เจา้ หนา้ ท่ี พนักงานการเงนิ และบัญชี 4 3-4
หัวหน้าหมวด พนักงานธรุ การ 4 3
ผู้จดั การสาย เจ้าหนา้ ทีเ่ ดนิ รถ 4 3
ชา่ งเทคนคิ ชา่ งส่ือสาร 4
9 พนกั งาน พนกั งานธรุ การ 3 2
ครฝู ึกหดั ขบั รถ พนักงานธรุ การจา่ ยงาน 3
นายตรวจ พนักงานพสั ดุ 3 1
นายท่า พนกั งานสื่อสาร 3
9 สายตรวจพเิ ศษ พนกั งานการเงนิ และบญั ชี 3
ชา่ งสอื่ สาร พนกั งานคอมพวิ เตอร์ 3
ครูฝกึ ขบั รถ 3
10 พนักงาน นายตรวจ 3
ชา่ ง นายท่า นายทา่ อู่ 3
สายตรวจพเิ ศษ 3
11 พนักงาน ชา่ งสอ่ื สาร 3
พนกั งานธรุ การ 1-2
พนกั งานส่ือสาร 1-2
พนักงานการเงนิ และบัญชี 1-2
พนักงานคอมพวิ เตอร์ 1-2
พนักงานพสั ดุ 1-2
พนักงานขบั รถ 1-2
ช่าง 1-2
พนักงานเกบ็ ค่าโดยสาร 1
พนกั งานทำความสะอาด 1
พนกั งานเติมน้ำมนั เช้ือเพลงิ 1

52

สทิ ธแิ ละสวสั ดิการอตั ราเงินเดอื น และค่าจา้ ง

ข้อบงั คบั องคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 186
วา่ ด้วย การกำหนดบัญชีโครงสร้างอตั ราเงินเดือนพนักงานแยกตามกลุ่มงาน พ.ศ. 2561

ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การ ในการประชุมครัง้ ที่ 6/2561 เมื่อวันท่ี
19 กนั ยายน 2561 อนุมตั ิให้ปรบั ปรุงบัญชีโครงสร้างอตั ราเงนิ เดอื นพนักงานแยกตามกลุ่มงาน ใหส้ อดคลอ้ งกับ
ประกาศคณะกรรมการคา่ จา้ ง เรอื่ ง อัตราคา่ จา้ งขั้นตำ่ (ฉบับที่ 9) ลงวันท่ี 19 มกราคม 2561 นนั้

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (3) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชน
กรุงเทพ พ.ศ. 2519 และเพื่อให้มีข้อบังคับเก่ียวกับการกำหนดบัญชีโครงสร้างอัตราเงินเดือนแยกตามกลุ่มงาน
เพยี งฉบบั เดยี วในการบังคบั ใช้ จึงใหอ้ อกขอ้ บังคบั ไว้ ดงั นี้

ขอ้ 1 ข้อบังคบั นี้เรยี กว่า " ขอ้ บงั คบั องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ท่ี 186 วา่ ดว้ ย การกำหนด
บญั ชโี ครงสรา้ งอตั ราเงินเดอื นพนกั งานแยกตามกลมุ่ งาน พ.ศ. 2561"

ข้อ 2 ข้อบงั คบั น้ใี หใ้ ชบ้ ังคบั ตัง้ แตว่ ันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เป็นตน้ ไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 183 ว่าด้วย การกำหนดบัญชี
โครงสร้างอัตราเงนิ เดอื นพนกั งานแยกตามกลุ่มงาน พ.ศ. 2559 เสยี ทงั้ สิ้น
ประกาศ ณ วันที่ 24 เดอื นตลุ าคม พุทธศกั ราช 2561

53

สวัสดิการเก่ียวกับการรกั ษาพยาบาล

ข้อบังคับองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ท่ี 178
วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารเกีย่ วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2557
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (1) และมาตรา 29 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การ
ขนส่งมวลชนกรุงเทพ พ.ศ.2519 และมติคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การ ครั้งที่ 6/2557 เมื่อวันที่ 29
เมษายน 2557 จึงใหอ้ อกขอ้ บังคบั ไว้ ดังต่อไปน้ี
ข้อ 1 ขอ้ บงั คบั น้ีเรียกว่า ขอ้ บงั คับองคก์ ารขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ฉบบั ท่ี 178 ว่าดว้ ยสวัสดิการ
เก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2557
ข้อ 2 ให้ใช้ขอ้ บังคบั นีต้ งั้ แต่บดั น้ีเป็นต้นไป
ข้อ 3 ใหย้ กเลกิ ขอ้ บังคับองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ดังต่อไปนี้
3.1 ฉบบั ที่ 38 วา่ ด้วยสวสั ดิการของพนกั งาน พ.ศ. 2522
3.2 ฉบับท่ี 58 วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ครงั้ ที่ 2) พ.ศ.2522
3.3 ฉบับที่ 66 วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แกไ้ ขเพ่มิ เติม ครั้งท่ี 3) พ.ศ.2522
3.4 ฉบบั ที่ 76 วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แกไ้ ขเพิม่ เตมิ คร้งั ที่ 5) พ.ศ.2522
3.5 ฉบบั ที่ 79 ว่าด้วยสวสั ดิการของพนักงาน (แกไ้ ขเพิ่มเดมิ ครงั้ ที่ 6) พ.ศ.2522
3.6 ฉบับท่ี 80 วา่ ดว้ ยสวสั ดิการของพนกั งาน (แก้ไขเพิ่มเตมิ คร้งั ท่ี 7) พ.ศ.2534
3.7 ฉบับท่ี 83 ว่าดว้ ยสวสั ดกิ ารของพนกั งาน (แก้ไขเพิ่มเติม ครง้ั ที่ 8) พ.ศ.2535
3.8 ฉบับท่ี 89 วา่ ดว้ ยสวัสดกิ ารของพนักงาน (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ) พ.ศ.2535
3.9 ฉบบั ท่ี 107 ว่าดว้ ยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แกไ้ ขเพิม่ เติม) พ.ศ.2540
3.10 ฉบบั ท่ี 111 วา่ ด้วยสวัสดิการของพนักงาน (แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ) พ.ศ.2541
3.11 ฉบบั ท่ี 112 วา่ ด้วยสวสั ดิการของพนกั งาน (แกไ้ ขเพ่ิมเติม คร้ังที่ 2) พ.ศ.2541
3.12 ฉบบั ที่ 113 ว่าด้วยสวัสดิการของพนกั งาน (แก้ไขเพม่ิ เติม ครงั้ ท่ี 3) พ.ศ.2541
3.13 ฉบบั ที่ 120 ว่าดว้ ยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แก้ไขเพม่ิ เตมิ ครงั้ ท่ี 2) พ.ศ.2542
3.14 ฉบบั ที่ 126 ว่าด้วยสวัสดิการของพนักงาน (แก้ไขเพ่ิมเดมิ คร้ังท่ี 3) พ.ศ.2545
3.15 ฉบนั ท่ี 145 วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ครั้งท่ี 5) พ.ศ.2551
3.16 ฉบบั ท่ี 163 ว่าดว้ ยสวัสดิการของพนกั งาน (แก้ไขเพ่ิมเติม ครงั้ ที่ 19) พ.ศ.2553
3.17 ฉบับที่ 166 วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารของพนกั งาน (แกใ้ ขเพ่มิ เติม ครง้ั ที่ 4) พ.ศ.2555
ทั้งน้ี ระเบียบและคำส่ังอื่นใดที่ขดั หรอื แยง้ กับข้อบงั คับน้ีใหใ้ ช้ข้อบังคบั นี้แทน
ข้อ 4 ในขอ้ บังคบั นี้
"องคก์ าร" หมายความว่า องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
"ผ้อู ำนวยการ" หมายความวา่ ผู้อำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการสวสั ดกิ าร
"พนกั งาน" หมายความว่า พนกั งานประจำประเภทรายเดือนและรายวัน
"พนกั งานทดลองงาน" หมายความวา่ พนกั งานท่ีอย่รู ะหวา่ งทดลองงาน
"ลกู จา้ งช่วั คราว" หมายความว่า ลูกจา้ งที่มสี ัญญาจ้างกำหนดเวลาเป็นรายเดือนหรอื รายปี

54

"เงินเดือน" หมายความว่า อัตราเงินเดือนสำหรับพนักงานประจำรายเดือนและลูกจ้าง
ช่ัวคราว ที่จา่ ยเปน็ รายเดือน แต่ไม่รวมเงินเพม่ิ อย่างอนื่

"ค่าจา้ ง" หมายความวา่ อัตราคา่ จา้ งรายวันจำนวน 26 วัน แต่ไม่รวมเงินเพ่ิมอยา่ งอน่ื
"ค่ารักษาพยาบาล" หมายความวา่ ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กดิ ข้ึนจากการรักษาพยาบาลดงั ต่อไปนี้
(1) ค่ายา ค่าเวชภัณฑ์ ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ ค่าเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หรือสารทดแทน ค่าน้ำยาหรืออาหารทางเส้นเลือด ค่าออกซิเจน และอื่น ๆ ทำนองเดียวกันที่ใช้ในกา รบำบัด
รักษาโรคทงั้ น้ี ตามประเภทและอตั ราท่ีกระทรวงการคลงั กำหนด
(2) ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค รวมทั้งค่าซ่อมแซมอวัยวะเทียม
และอปุ กรณ์ดงั กลา่ ว ท้ังนี้ ตามประเภทและอัตราทีก่ ระทรวงการคลงั กำหนด
(3) ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าบริการทางการพยาบาล ค่าตรวจวินิจฉัยโรค ค่าวิเคราะหโ์ รค
แต่ไม่รวมถึงค่าธรรมเนียมแพทย์พิเศษ ค่าจ้างผู้พยาบาลพิเศษ ค่าธรรมเนียมพิเศษ และค่าบริการอื่นทำนอง
เดยี วกนั ทีม่ ีลักษณะเปน็ เงนิ ตอบแทนพเิ ศษ
(4) ค่าตรวจครรภ์ ค่าคลอดบตุ รและการดแู ลหลังคลอดบตุ ร
(5) ค่าห้องและ ค่าอาหาร ตลอดเวลาที่เข้ารบั การรกั ษาพยาบาล
(6) ค่าใชจ้ ่ายเพ่อื เปน็ การเสริมสรา้ งสุขภาพและการปอ้ งกันโรค
(7) ค่าฟืน้ ฟูสมรรถภาพร่างกายและจติ ใจ
(8) คา่ ใช้จา่ ยอน่ื ที่จำเปน็ แกก่ ารรักษาพยาบาลตามทก่ี ระทรวงการคลงั กำหนด
"การรักษาพยาบาล" หมายความว่า การใหบ้ รกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ โดยตรง
แก่พนักงานและบุคคลในครอบครัวของพนักงานผู้มีสิทธิ เพื่อรักษาโรค การตรวจวินิจฉัย การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต และให้หมายความรวมถึงการตรวจสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ
และการป้องกันโรคเพื่อประโยชน์ด้านสาธารณสุข ทั้งนี้ตามที่กระทรวงการคลังกำหนดแต่ไม่รวมถึงการเสริม
ความงาม
"สถานพยาบาล" หมายความว่า สถานพยาบาลของทางราชการและสถานพยาบาลของ
เอกชน
"สถานพยาบาลของทางราชการ" หมายความว่า สถานพยาบาลซึ่งเป็นส่วนราชการตาม
กฎหมายว่าด้วยระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน และให้หมายความรวมถึงสถานพยาบาลของมหาวิทยาลัยของรัฐ
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา องค์การมหาชน
ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีงบประมาณ กรุงเทพมหานคร
สภากาชาดไทย และองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก โรงพยาบาลประสานมิตร และสถานพยาบาลอื่นตามท่ี
กระทรวงการคลังกำหนด
"สถานพยาบาลของเอกชน" หมายความว่า สถานพยาบาลที่มีลักษณะการให้บริการเป็น
โรงพยาบาล ซึ่งได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการและดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและมีเตียงรับ
ผู้ป่วยไว้คา้ งคืน
"บุคคลในครอบครัว" หมายความว่า

55

(1) บุตรชอบด้วยกฎหมายของพนักงานซึ่ง ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือบรรลุนิติภาวะแล้ว
แต่เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของพนักงาน แต่ทั้งนี้
ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรมหรอื บุตรซึ่งยกใหเ้ ป็นบตุ รบญุ ธรรมของผ้อู ่นื

(2) ค่สู มรสทชี่ อบด้วยกฎหมายของพนกั งาน
(3) บิดา มารดาทีช่ อบดว้ ยกฎหมายของพนักงาน
ข้อ 5 การเบิกจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลตามข้อบังคับนี้ พนักงานผู้มีสิทธิจะต้องยื่นคำขอต่อ
ผู้บงั คับบัญชาชั้นต้น ภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันถัดจากวนั พ้นจากการรักษาในสถานพยาบาลสำหรับผู้ป่วยใน
หรอื วันรบั การรกั ษาพยาบาลสำหรับผู้ปว่ ยนอก มิฉะน้นั ถอื ว่าสละสทิ ธิ์ เวน้ แต่คณะกรรมการสวัสดิการจะผ่อนผัน
ให้เฉพาะบางรายโดยมเี หตุผลสมควร
ข้อ 6 พนักงานผู้ใดรายงานขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลตามขอ้ บังคับนี้เป็นเท็จ นอกจากจะถือ
ว่าเป็นการกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงของพนักงานแล้ว ยังอาจถูกตัดสิทธิเกี่ยวกับเงินช่วยเหลือค่าการรักษา
พยาบาล ตามข้อบงั คบั น้ีภายในระยะเวลาทผ่ี ูอ้ ำนวยการกำหนด
ในกรณดี ังกล่าวในวรรคแรก ถา้ พนักงานไดร้ ับการชว่ ยเหลือไปแลว้ ให้ชดใช้คืนท้ังหมดพร้อมท้ัง
ดอกเบ้ยี รอ้ ยละสิบห้าต่อปีโดยพลัน
ข้อ 7 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า "คณะกรรมการสวัสดิการ" ซึ่งผู้อำนวยการแต่งต้ัง
จากพนักงานประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน รองประธานกรรมการ 1 คน ผู้แทนสหภาพแรงงาน
รัฐวิสาหกิจองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพเป็นกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน
12 คน โดยมีหวั หน้างานสวสั ดิการ เป็นกรรมการและเลขานกุ าร
ข้อ 8 คณะกรรมการ มอี ำนาจหนา้ ท่ี ดังน้ี
8.1 พจิ ารณาวนิ จิ ฉัยช้ีขาดปญั หาเกย่ี วกับสวสั ดิการต่าง ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบงั คบั นี้
8.2 พจิ ารณาเร่ืองทมี่ ปี ญั หาท้ังข้อเทจ็ จรงิ และการตีความของข้อบงั คบั น้ี
8.3 พิจารณาเรอ่ื งอื่น ๆ ที่ประธานกรรมการเหน็ สมควรเสนอให้คณะกรรมการพิจารณา
คำวินิจฉัยของคณะกรรมการถือเป็นท่สี ดุ
ข้อ 9 ให้ประธานกรรมการเป็นประธานที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ หรือไม่สามารถ
เข้าร่วมประชุมได้ ให้รองประธานกรรมการทำหน้าที่แทน ถ้าทั้งประธานและรองประธานไม่อยู่หรือไม่อาจเข้า
รว่ มประชุมไดก้ ใ็ ห้กรรมการเลอื กกนั เองทำหน้าทีเ่ ปน็ ประธานช่ัวคราว
ในการประชมุ แต่ละครั้งต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกวา่ กึ่งหน่ึงของกรรมการทั้งหมดจึงจะ
เป็นองคป์ ระชมุ
การลงคะแนนเสียงของคณะกรรมการเกี่ยวกับปัญหาใด ๆ โดยให้ถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์
ในการลงมติ ถา้ มีเสยี งเท่ากนั ใหป้ ระธานของที่ประชุมออกเสียงช้ขี าด
ข้อ 10 พนักงานมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสำหรับบุตร ได้เพียงคน
ท่ีหนึ่งถงึ คนทสี่ าม
การนบั ลำดับบุตรคนที่หนึง่ ถึงคนทส่ี ามให้นับเรียงกันตามลำดับการเกดิ ก่อนหลงั ท้ังนี้ ไม่ว่าบุตร
ทเี่ กดิ จากการสมรสครั้งใด หรอื อยใู่ นอำนาจการปกครองของตนตามกฎหมายหรือไม่ และไมว่ ่าจะเป็นบุตรท่ีเกิด
กอ่ นหรือหลังการเป็นพนกั งาน

56

ในกรณีที่พนักงานผู้ใดได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของบุตรครบจำนวน
สามคนแล้ว ต่อมาบุตรคนหนึ่งคนใดในจำนวนนั้นตายลงก่อนที่จะบรรลุนิติภาวะ ก็ให้พนักงานผู้มีสิทธิได้รับเงนิ
สวัสดกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาลสำหรับบุตรเพม่ิ ข้ึนอีกเท่าจำนวนบตุ รทตี่ ายนัน้ โดยให้นบั บุตรคนท่อี ยู่ลำดับ
ถัดลงไปขึน้ มาแทนที่

ข้อ 11 พนักงานผู้ใดมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลผู้ใดยังไม่มีบุตรหรือ
มีบุตรที่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลยังไม่ถึงสามคน ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทำให้จำนวน
บุตรเกินสามคน ให้พนักงานผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล สำหรับบุตรคนที่หนึ่งถึง
คนสุดท้าย แต่บุตรแฝดดังกลา่ วจะต้องเป็นบุตรท่ีเกิดจากคูส่ มรส หรือเป็นบุตรของตนเองในกรณีที่หญิงเป็นผูใ้ ช้
สิทธิเบิกเงนิ สวสั ดกิ ารเก่ียวกบั การรกั ษาพยาบาล

ในกรณีที่บุตรคนใดคนหนึ่งของพนักงานผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
ดังกล่าว ตามวรรคหนึ่งตายลงก่อนที่จะบรรลุนิติภาวะก็ให้ลดจำนวนบุตรที่ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ
รักษาพยาบาลลงจนกว่าจำนวนบุตรที่ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเหลือไม่เกินสามคน และ
หลังจากนั้นผูม้ ีสทิ ธิได้รับเงนิ สวัสดกิ ารเกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาลดังกลา่ ว จึงจะมสี ทิ ธไิ ด้รบั เงนิ สวสั ดิการเก่ียวกับ
การรกั ษาพยาบาลเพ่มิ ขึน้

เพื่อประโยชน์แห่งข้อบังคับนี้ ข้อความที่อ้างถึงบุตรคนที่หนึ่งถึงคนที่สามของพนักงานผู้มีสิทธิ
ได้รับเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ให้หมายถึงบุตรคนที่หน่ึงถึงคนสุดท้ายของพนักงานผู้มีสิทธิได้รบั
เงินสวัสดิการเกีย่ วกบั การรักษาพยาบาลตามวรรคหนง่ึ

การนับลำดับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดท้ายในกรณีที่ไม่อาจทราบลำดับการเกิดก่อนหลังของบุตร
แฝดไดโ้ ดยแนช่ ดั ใหน้ ับลำดบั บุตรแฝดตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด

ข้อ 12 หากพนักงานและคสู่ มรสมีสิทธิได้รบั เงนิ สวัสดกิ ารค่ารักษาพยาบาลของบตุ รทัง้ สองฝ่าย
ให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ใช้สิทธิขอรับเงินสวัสดิการของบุตรได้ แม้จะมิได้เป็นฝ่ายที่ปกครองบุตรหรืออุปการะ
เลี้ยงดูบุตรของตน โดยผู้ใช้สิทธิขอรับเงินสวัสดิการสำหรับบุตรของตน จะต้องรับรองตนเองว่าเป็นผู้ใช้สิทธิ
แตฝ่ า่ ยเดียว

พนักงานผู้ใดหย่าขาดจากคู่สมรสหรือแยกกันอยู่โดยมิได้หย่ากันตามกฎหมายกับคู่สมรส
พนักงานสามารถใช้สิทธิขอรับเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของบุตรตนได้ แม้จะมิได้เป็นฝ่ายปกครอง หรือ
อปุ การะเลีย้ งดูบตุ รของตน

พนักงานผู้ใดมีคู่สมรสที่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบา ลของบุตรจากหน่วยงานอื่น
เมื่อหย่าหรือแยกกัน โดยมิได้หย่ากันตามกฎหมายแม้พนักงานจะมิได้เป็นฝ่ายปกครอง หรืออุปการะเลี้ยงดูบตุ ร
พนักงานสามารถใช้สิทธิขอรับเงินสวัสดิการของบุตร เฉพาะส่วนทีไ่ ด้รับตำ่ กว่าสิทธทิ ี่พึงจะได้รับตามที่กำหนดไว้
ในข้อบังคับน้ี

ทั้งนี้ การใช้สิทธิหรือเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของบุตรดังกล่าวครั้งแรกในแต่ละกรณีให้
เรียกเก็บเอกสารเพื่อประกอบการเบิกจ่ายโดยกรณีที่มีการหย่ากันตามกฎหมายให้แนบสำเนาทะเบียนการหย่า
พร้อมบนั ทกึ การหย่า ส่วนกรณีท่แี ยกกนั อยู่โดยมไิ ด้หยา่ กันตามกฎหมายให้แนบทะเบยี นสมรส

ข้อ 13 เมื่อพนักงาน บุคคลในครอบครัวของพนักงาน พนักงานทคลองงาน ลูกจ้างชั่วคราว
เจ็บป่วยให้ใช้บริการของสถานพยาบาลขององค์การก่อน ซึ่งให้การรักษาพยาบาลโดยไม่คิดมูลค่า แต่ต้องมี

57

หนังสือส่งตัวจากผู้บังคับบัญชา ตั้งแต่ชั้นหัวหน้างานหรือเทียบเท่าข้ึนไปเป็นหลักฐาน พร้อมบัตรประจำตัวพนักงาน
บตั รประจำตวั ประชาชน หรือบตั รอ่นื ท่ีทางราชการออกให้

ในกรณีที่มีเหตุผลสมควรหรือในกรณีประสบอุบัติเหตุ อุบัติภัย หรือมีเหตุจำเป็นเร่งด่วน ผู้ป่วย
ไม่สามารถข้ารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลขององค์การได้ทันท่วงที ให้ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาพยาบาลใน
สถานพยาบาลของทางราชการกอ่ น

เว้นแตก่ รณีประสบอุบตั ิเหตุ อบุ ตั ภิ ยั หรอื มเี หตุจำเปน็ เร่งด่วน ซงึ่ หากมิไดร้ บั การรกั ษาพยาบาล
ในทันทีทันใดอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตของบุคคลดังกล่าว เมื่อได้มีใบรับรองของแพทยจ์ ากสถานพยาบาลเอกชน
เฉพาะคนไข้ในนั้นมาประกอบให้เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ แต่ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบในโอกาสแรกที่
สามารถแจ้งไดพ้ รอ้ มด้วยเหตุผลความจำเป็นเร่งดว่ น เพ่อื ทจ่ี ะไดด้ ำเนินการตามที่เห็นสมควรต่อไป

การเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนเป็นการเข้ารับการรักษาในเบื้องต้น
เปน็ การช่วั คราวก่อนจะยา้ ยไปรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการเทา่ นน้ั

ข้อ 14 การจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลอย่างอื่นซึ่งมิใช่เป็นการตรวจสุขภาพ
ประจำปี สำหรับพนกั งานและบคุ คลในครอบครวั ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และอัตราดงั น้ี

14.1 ผูท้ ี่เข้ารบั การรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการท้ังประเภทผู้ป่วย
นอกหรือผ้ปู ่วยใน ให้เบิกค่ารกั ษาพยาบาลไดเ้ ต็มจำนวนทจี่ า่ ยไปจรงิ เว้นแต่

14.1. 1 ค่าอวยั วะเทียมและอุปกรณใ์ นการบำบัดรกั ษาโรค รวมทัง้ คา่ ซ่อมแซม
อวัยวะเทียม ใหเ้ บกิ ไดต้ ามประเภทและอตั ราทกี่ ระทรวงการคลังกำหนด

14.1.2 พนักงานเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยใน ให้มีสิทธิเบิก
ค่าห้องและค่าอาหารได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินวันละ 1,200 บาท สำหรับบุคคลในครอบครัวให้มีสิทธิเบิก
คา่ ห้องและค่าอาหารไดเ้ ท่าท่ีจา่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กนิ วันละ 800 บาท

14.2 ผ้ทู เ่ี ขา้ รบั การรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนเฉพาะผูป้ ่วยใน ให้เบิก
คา่ รกั ษาพยาบาลได้ดง้ นี้

14.2.1 ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรครวมทั้งค่าซ่อมแซม
อวัยวะเทยี ม ใหเ้ บกิ ไดต้ ามประเภทและอตั ราทก่ี ระทรวงการคลังกำหนด

14.2.2 ให้พนักงานมีสิทธิเบิกค่าห้องและค่าอาหาร ได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน
วันละ 1,200 บาท สำหรับบุคคลในครอบครัวใหม้ สี ิทธิเบิกค่าหอ้ งและค่าอาหารไดเ้ ท่าทีจ่ า่ ยจริงแต่ไม่เกินวันละ
800 บาท

14.2.3 ค่ารักษาพยาบาลประเภทอืน่ ๆ ให้เบิกได้ครึ่งหน่ึงของจำนวนที่ได้จ่าย
ไปจริงแต่จะต้องไม่เกิน 4,000 บาท (สี่พันบาท) สำหรับระยะเวลาภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เข้ารับการ
รกั ษาพยาบาล และในกรณีท่ีเขา้ รับการรักษาพยาบาลเกนิ สามสิบวันใหเ้ บิกได้คร่ึงหนึ่งของจำนวนท่ีได้จ่ายไปจริง
แต่ท้ังนจี้ ะตอ้ งไม่เกินวันละ 100 บาท (หนง่ึ รอ้ ยบาท)

14.2.4 ในกรณีที่เข้ารับการรักษาพยาบาลหลายครั้ง แต่ละครั้งในระยะเวลา
ห่างกันไม่เกินสิบห้าวัน ให้นับระยะเวลาการเข้ารับการรักษาพยาบาลครั้งหลังติดต่อกับการเข้ารับการ
รกั ษาพยาบาลครงั้ ก่อน

58

14.3 การใช้สิทธิเบิกค่ายา ใหเ้ บกิ ได้เฉพาะค่ายาท่ีมีอยู่ตามบัญชยี าหลักแห่งชาติเท่านั้น
และใบเสรจ็ รับเงินท่ใี ช้เบิกค่ายาต้องระบุรายการค่ายาแยกเปน็ "คา่ ยาในบัญชียาหลักแห่งชาต"ิ และ "ค่ายานอก
บญั ชียาหลกั แหง่ ชาติ"

ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติต้องมีหนังสือรับรอง
ของคณะกรรมการแพทย์ที่ผู้อำนวยการของสถานพยาบาลนั้นแต่งตั้งเป็นผูว้ ินิจฉัย จึงจะใช้สิทธิเบกิ ค่ายานอกบัญชี
ยาหลักแห่งชาตชิ นดิ น้ันได้

กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลที่เปิดทำการรักษาพยาบาลนอกเวลา
ราชการและมีการเรยี กเก็บค่าบรกิ ารเปน็ คา่ ธรรมเนยี มพเิ ศษ จะนำมาเบิกไม่ได้

14.4 ในกรณีที่สถานพยาบาลไม่มียา เลือด และสารประกอบของเลือด หรือสาร
ทดแทน น้ำยา หรอื อาหารทางเส้นเลือด ออกซิเจนหรอื อวยั วะเทยี มจำหนา่ ย หรือสถานพยาบาลไม่อาจตรวจทาง
ห้องทดลองหรอื เอ็กซเรย์แก่ผู้เข้ารับการรักษาพยาบาลได้ และเมือ่ แพทยผ์ ตู้ รวจรักษาหรือหัวหน้าสถานพยาบาล
แหง่ น้นั ลงชือ่ รบั รองตามแบบทกี่ ระทรวงการคลงั กำหนดใหเ้ บิกไดต้ ามขอ้ 14.1 หรอื ข้อ 14.2 แลว้ แต่กรณี

14.5 การจา่ ยเงินสวัสดิการเก่ียวกบั การตรวจสุขภาพประจำปีให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
ดงั น้ี

14.5.1 ผูท้ ีม่ ีสิทธิไดร้ ับเงินสวสั ดิการเกี่ยวกบั การตรวจสขุ ภาพต้องเปน็ พนกั งาน
14.5.2 ต้องเข้ารบั การตรวจสขุ ภาพในสถานพยาบาลของทางราชการ
14.5.3 คา่ ตรวจสุขภาพประจำปีใหเ้ บกิ ไดต้ ามทอ่ี งค์การกำหนด
ข้อ 15 พนักงานหรือบุคคลในครอบครัวของพนักงานผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การรักษาพยาบาลจากหน่วยงานอื่นแล้ว ไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามข้อบังคับน้ี
เว้นแต่ค่ารักษาพยาบาลที่ได้รับต่ำกว่าเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่มีสิทธิจะได้รับตามข้อบังคับนี้
กใ็ ห้มสี ทิ ธไิ ดร้ บั เงินสวัสดิการเกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาลฉพาะส่วนทข่ี าดอยู่
กรณีที่คู่สมรสของพนักงานเป็นข้าราชการให้พนักงานเป็นผู้ใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
ค่ารักษาพยาบาลของบุตร
กรณีที่สามีของพนักงานเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจอื่น ให้ฝ่ายสามีใช้สิทธิเบิกก่อน หากสิทธิท่ี
ได้รับจากฝ่ายสามีต่ำกว่าสิทธิพนักงานจะได้รับจากองค์การ ให้พนักงานใช้สิทธิเบิกเพิ่มเติมเฉพาะส่วนต่างที่พึง
จะได้รบั ตามขอ้ บังคับนี้
ขอ้ 16 ในกรณีท่พี นักงานหรือบุคคลในครอบครัวของพนักงานได้รับค่าสินไหมทดแทน สำหรับ
ค่ารักษาพยาบาลจากบุคคลอื่นแล้ว พนักงานผู้นั้นไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตาม
ข้อบังคับนี้ เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทนสำหรับค่ารักษาพยาบาลที่ได้รับนั้นต่ำกว่าเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ
รักษาพยาบาลที่มีสิทธิจะได้รับตามข้อบังคับนี้ ก็ให้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะ
ส่วนที่ขาดอยู่
ในกรณีที่พนักงานหรือบุคคลในครอบครัวของพนักงานที่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การรักษาพยาบาล ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ตามข้อบังคับนี้ไปก่อนแล้ว ภายหลังได้รับ
ค่าสนิ ไหมทดแทนสำหรับค่ารักษาพยาบาลจากบุคคลอ่ืนมจี ำนวนเท่าหรือเกินกว่าเงินสวัสดิการเก่ียวกับค่ารักษา
พยาบาลทีไ่ ด้รับตามข้อบังคบั นี้ กใ็ หน้ ำเงินสวสั ดกิ ารคา่ รักษาพยาบาลที่ได้รบั มาน้ันสง่ คืนองค์การ แตถ่ ้าไดร้ ับเงิน
ค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับจากบุคคลอื่นต่ำกว่าเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่ได้รับตามข้อบังคับน้ี

59

ก็ให้ส่งคืนเท่าจำนวนที่ใด้รับจากบุคคลอื่นนั้น ทั้งนี้ ให้พนักงานส่งเงินคืนภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับเงิน
ค่าสินไหมทดแทนจากบุคคลอื่น มิฉะนั้นองค์การมีสิทธิหักเอาจากเงินรายได้ของพนักงานผู้ขอเบิกเงินสวัสดิการ
เกี่ยวกับรกั ษาพยาบาลนน้ั ได้

ในกรณีที่พนักงานและบุคคลในครอบครัวของพนักงานผู้นั้นประสบอุบัติเหตุ หรืออุบัติภัย
ในคราวเดียวกัน และพนักงานได้เสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุ หรืออุบัติภัยในคราวนั้น ให้บุคคลในครอบครัวของ
พนกั งานซง่ึ ได้เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลมสี ทิ ธิได้รบั เงนิ สวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลตาม
สิทธิท่ีกำหนดไว้สำหรบั การเจ็บป่วยในครัง้ น้ัน

ข้อ 17 พนักงานและหรือบุคคลในครอบครัวของพนักงานเจ็บป่วยเนื่องจากโรคเหตุอันตราย
หรือกระทำใด ๆ ดังตอ่ ไปนี้ จะเบิกคา่ รักยาพยาบาลไมไ่ ด้

17.1 กามโรค
17.2 การเสพสุราของมนึ เมาหรือยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ
17.3 เจตนาฝา่ ฝืนคำส่ังที่ชอบด้วยกฎหมายขององคก์ าร หรือคำสั่งของผู้บังคบั บัญชา
หรอื เจตนาฝ่าฝนื กฎหมาย
17.4 เจตนากระทำให้ตนเองประสบอันตราย หรือยอมให้ผู้อื่นกระทำให้ตนประสบ
อันตราย
ข้อ 18 พนักงานทดลองงาน ลูกจ้างชั่วคราว มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล
ขององค์การโดยไม่คิดมูลค่า และค่ารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลอื่นให้เบิกได้เฉพาะตนเองเท่านั้น คนละไม่เกิน
3,000 บาท (สามพันบาท) ตลอดระยะเวลาท่ที ดลองงาน หรอื ระหวา่ งเปน็ ลูกจา้ งชั่วคราวนัน้ แล้วแตก่ รณี
ข้อ 19 ใหผ้ ู้อำนวยการมอี ำนาจออกระเบียบเพอื่ ปฏบิ ัติการ ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบังคับนี้
ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 6 เดือนมิถนุ ายน พุทธศักราช 2557

ข้อบังคับองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ
ฉบบั ที่ ๑๗๙ ว่าด้วยสวสั ดิการเกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๗ (แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ครง้ั ที่ ๑)

ดว้ ยเหน็ สมควรให้แก้ไขปรับปรุงสวสั ดิการของพนักงาน ใหส้ อดคล้องกับประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยใน สถานพยาบาลของเอกชนกรณี
เจ็บป่วยฉุกเฉิน ลงวนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๗

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒0(๑) แหง่ พระราชกฤษฎกี าจัดต้ังองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ
พุทธศักราช ๒๕๑๙ และมติคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ในการประชุมครั้งที่
๑๓/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ จึงให้ปรับปรุงข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๘
วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๗ ดังตอ่ ไปน้ี

ข้อ ๑ ข้อบังคับฉบับนี้เรียกว่า “ ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพฉบับที่ 179 ว่าด้วย
สวสั ดิการเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๗ (แกไ้ ขเพมิ่ เติมครง้ั ท่ี ๑) “

ขอ้ ๒ ใหย้ กเลกิ ข้อความในข้อ ๑๔.๒.๓ แหง่ ขอ้ บงั คับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ที่ ๑๗๘
ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใชข้ อ้ ความต่อไปน้แี ทน

“ข้อ ๑๔.๒.๓ คา่ รักษาพยาบาลประเภทอนื่ ๆ ให้เบิกไดค้ รึง่ หนึ่งของจำนวนเงนิ ทงั้ หมดที่
ได้จา่ ยไปจริง แตไ่ มเ่ กิน ๘.๐๐๐ บาท (แปดพันบาทถว้ น)” ท้ังนี้ หากเป็นการเขา้ รับการรักษาพยาบาลก่อนวันที่

60

๑ มกราคม ๒๕๕๗ ให้เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดที่ได้จ่ายไปจริง แต่ไม่เกินสี่พันบาท ตามประกาศ
กระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยใน สถานพยาบาล
ของเอกชนกรณเี จ็บปว่ ย ฉุกเฉนิ ฉบับลงวนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๗

ข้อ ๓ ข้อบงั คบั นใี้ ห้ใชต้ ้งั แต่บดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป
ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 20 เดือนมกราคม พทุ ธศักราช 2558

ข้อบังคบั องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 181
วา่ ด้วยสวัสดิการเก่ียวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ.2558 (แก้ไขเพมิ่ เติมครัง้ ท่ี 2)
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (1) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชน
กรงุ เทพ พุทธศกั ราช 2519 และคณะกรรมการบริหารกิจการองคก์ ารขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ในการประชุมคร้งั ที่
10/2558 เมื่อวันท่ี 16 กันยายน 2558 มมี ติใหป้ รบั ปรงุ ข้อบงั คบั องค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ฉบบั ที่ 178
ว่าดว้ ยสวสั ดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2557 ดังต่อไปน้ี
ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า " ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 181 ว่าด้วย
สวัสดิการเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2558 (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ครัง้ ท่ี 2) "
ข้อ 2 ให้ยกเลิกข้อความในข้อ 18 แห่งข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 178
ว่าดว้ ยสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2557 และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้แทน

ข้อ 18 พนักงานทดลองงาน มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลขององค์การ
โดยไมค่ ิดมูลค่า และคา่ รักษาพยาบาลในสถานพยาบาลอนื่ ให้เบิกได้เฉพาะตนเองเท่านั้น คนละไมเ่ กิน 3,000 บาท
(สามพันบาทถ้วน) ตลอดระยะเวลาที่ทดลองงาน

ลกู จ้างช่วั คราว มสี ทิ ธิได้รับการรกั ษาพยาบาลเฉพาะตัวของผู้รบั จ้าง ดังน้ี
18.1 เข้ารับการรักษาท่สี ถานพยาบาลของผูว้ ่าจา้ งตลอดอายขุ องสญั ญาจา้ ง
18.2 เข้ารบั การรักษาท่ีสถานพยาบาลของรัฐทั้งประเภทผปู้ ่วยนอก หรือผู้ปว่ ยใน
ให้เบิกค่ารกั ษาพยาบาลไดเ้ ต็มจำนวนท่จี ่ายไปจริงตามประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด ค่าห้องและ
ค่าอาหารเบิกได้เท่าทจี่ ่ายจริงไมเ่ กินวันละ 1,200 บาท (หน่งึ พันสองรอ้ ยบาทถว้ น)
ขอ้ 3 ข้อบงั คับนี้ให้ใชต้ ้งั แตบ่ ดั นี้เป็นตน้ ไป
ให้ไว้ ณ วันที่ 21 เดอื นตุลาคม พทุ ธศักราช 2558

บันทึกข้อความ ท่ี ฝบร. 9 /2558 วันที่ 30 มนี าคม 2558
เรือ่ ง วิธีปฏบิ ตั ิกรณกี ารรักษาตัวในโรงพยาบาลเอกชนของผู้เสยี หาย
ตามมตทิ ป่ี ระชุมคณะกรรมการพจิ ารณาอบุ ัตเิ หตุ คร้ังท่ี 5/2557 เมื่อวนั ที่ 18 ธันวาคม 2557 กรณี
ผูเ้ สียหายรกั ษาตวั ที่โรงพยาบาลเอกชน ซ่งึ มคี ่ารกั ษาพยาบาลจำนวนมาก อันเปน็ ปัญหาทางด้านการเงนิ กบั องคก์ าร นั้น
เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน และมวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิกรณอี บุ ัติเหตจุ ากรถองค์การเป็นฝ่ายผิดผู้เสียหายท่ี
ต้องนำส่งโรงพยาบาลเอกชนเร่งด่วน ให้จัดส่งเจ้าหน้าที่เยี่ยมเขียนผู้เสียหาย และตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการ
รักษาพยาบาลภายใน 7 วัน นับจากโรงพยาบาลรับตัวเป็นคนไข้ เพื่อทราบจำนวนเงินค่าเสยี หาย พร้อมดำเนินการให้
คนไขย้ า้ ยตัวไปรกั ษายงั โรงพยาบาลของรฐั บาลต่อไป
จึงแจ้งมาเพือ่ ทราบ และถอื ปฏบิ ัตโิ ดยเคร่งครัด ต่อไป

61

สวัสดกิ าร คลอดบุตร เงินช่วยเหลือบตุ ร กรณีประสบภัยพิบตั ิ กรณพี นักงานตาย

ขอ้ บงั คบั องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ฉบบั ที่ 176
วา่ ด้วยสวัสดกิ ารเก่ียวกับการคลอดบตุ ร เงนิ ช่วยเหลอื บุตร

กรณีประสบภยั พบิ ัติ กรณีพนักงานตาย พ.ศ. 2557
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20(1) และมาตรา 29 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การ
ขนส่งมวลชนกรุงเทพ พ.ศ.2519 และมติคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การ ครั้งที่ 6/2557 เม่ือวันที่ 29
เมษายน 2557 จงึ ใหอ้ อกขอ้ บังคับไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้
ขอ้ 1 ข้อบังคบั น้ีเรียกว่า ขอ้ บงั คับองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ท่ี 176 วา่ ดว้ ยสวัสดกิ าร
เกี่ยวกับการคลอดบตุ ร เงนิ ช่วยเหลอื บตุ ร กรณปี ระสบภัยพบิ ตั ิ กรณีพนกั งานตาย พ.ศ. 2557
ข้อ 2 ให้ใชข้ อ้ บงั คับนี้ตั้งแต่บัดน้เี ป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลกิ ข้อบงั คบั องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ดังตอ่ ไปนี้

3.1 ฉบับท่ี 38 ว่าดว้ ยสวัสดกิ ารของพนักงาน พ.ศ. 2522
3.2 ฉบบั ท่ี 58 ว่าด้วยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แก้ไขเพิ่มเตมิ ครัง้ ท่ี 2) พ.ศ.2522
3.3 ฉบับที่ 73 วา่ ด้วยสวัสดกิ ารของพนกั งาน (แก้ไขเพม่ิ เติม ครั้งที่ 4) พ.ศ.2522
3.4 ฉบับที่ 76 วา่ ด้วยสวสั ดกิ ารของพนกั งาน (แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ครง้ั ที่ 5) พ.ศ.2522
3.5 ฉบบั ท่ี 80 วา่ ด้วยสวัสดิการของพนกั งาน (แก้ไขเพ่มิ เตมิ ครั้งท่ี 7) พ.ศ.2534
3.6 ฉบบั ท่ี 83 ว่าดว้ ยสวัสดกิ ารของพนักงาน (แก้ไขเพ่มิ เติม คร้งั ที่ 8) พ.ศ.2535
3.7 ฉบับท่ี 107 ว่าด้วยสวัสดิการของพนกั งาน (แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ) พ.ศ.2540
3.8 ฉบับที่ 114 วา่ ด้วยสวัสดิการของพนักงาน (แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ครง้ั ที่ 1) พ.ศ.2542
3.9 ฉบับที่ 120 วา่ ดว้ ยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แก้ไขเพมิ่ เตมิ ครัง้ ท่ี 2) พ.ศ.2542
3.10 ฉบบั ท่ี 145 ว่าดว้ ยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แก้ไขเพม่ิ เติม ครัง้ ท่ี 5) พ.ศ.2551
ท้งั นี้ ระเบยี บ และคำส่ังอ่นื ใดท่ขี ัดหรอื แยง้ กบั ขอ้ บังคับน้ีให้ใช้ข้อบงั คบั น้แี ทน

หมวด 1
ขอ้ ความทว่ั ไป
ข้อ 4 ในข้อบังคับน้ี
"องคก์ าร" หมายความว่า องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
"ผูอ้ ำนวยการ" หมายความว่า ผอู้ ำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
"คณะกรรมการ" หมายความวา่ คณะกรรมการสวสั ดกิ าร
"พนักงาน" หมายความว่า พนักงานประจำประเภทรายเดือนและรายวนั
"เงินเดือน" หมายความว่า อัตราเงินเดือนสำหรับพนักงานประจำรายเดือนและลูกจ้าง
ชว่ั คราวท่ีจา่ ยเป็นรายเดอื น แตไ่ มร่ วมเงินเพ่มิ อยา่ งอน่ื
"คา่ จ้าง" หมายความว่า อัตราค่าจ้างรายวนั จำนวน 26 วนั แตไ่ ม่รวมเงนิ เพมิ่ อย่างอน่ื
"บุคคลในครอบครัว" หมายความว่า

62

(1) บุตรชอบด้วยกฎหมายของพนักงาน ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือบรรลุนิติภาวะแล้ว
แต่เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของพนักงาน แต่ทั้งนี้
ไม่รวมถงึ บุตรบญุ ธรรมหรือบตุ รซงึ่ ยกให้เป็นบตุ รบุญธรรมของผอู้ น่ื

(2) ค่สู มรสทชี่ อบดว้ ยกฎหมายของพนักงาน
(3) บดิ า มารดาทีช่ อบด้วยกฎหมายของพนกั งาน
"ผูอ้ ุปการะ" หมายความวา่ ผูท้ ีไ่ ด้อปุ การะเลยี้ งดู ใหก้ ารศึกษาพนักงานผตู้ าย
"ผ้อู ยใู่ นอุปการะ" หมายความวา่ ผ้ทู อี่ ยใู่ นอุปการะของพนกั งานผูต้ าย
ข้อ 5 การเบิกจา่ ยเงินช่วยเหลือใด ๆ ตามขอ้ บงั คับนี้ พนกั งานผมู้ ีสิทธจิ ะตอ้ งยน่ื คำขอต่อผู้บังคับ
บัญชาชั้นต้น ภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันเกิดสิทธิ ดังต่อไปนี้ มิฉะนั้นถือว่าสละสิทธิ์ เว้นแต่คณะกรรมการ
จะผ่อนผันให้เฉพาะบางรายโดยมเี หตุผลสมควร
5.1 เงินค่าช่วยเหลือในการคลอดบุตร ให้นับแต่การคลอด เว้นแต่มีการรักษาพยาบาล
ประเภทผู้ป่วยในให้นับแต่วันถัดจากวันพ้นจากการรักษาในสถานพยาบาลสำหรับผูป้ ่วยใน หรือวันรับการรักษา
พยาบาลสำหรบั ผู้ปว่ ยนอก
5.2 เงินช่วยเหลอื บุตรให้นับแต่วันทบี่ ุตรเกิด โดยยนื่ ครัง้ เดียวสำหรับคนหนึ่ง ๆ
5.3 เงนิ ช่วยเหลอื ในกรณีประสบภัยพิบตั ิให้นบั แต่วันทภ่ี ัยพบิ ัตนิ ั้น ๆ ผ่านพ้นไปแล้ว
5.4 เงนิ ค่าทำศพ ใหน้ บั แต่วนั ท่ีพนกั งานตาย เวน้ แตก่ รณีท่อี งค์การเขา้ จัดการศพเอง
ข้อ 6 พนกั งานผใู้ ดรายงานขอเบิกเงนิ ชว่ ยเหลือใด ๆ ตามขอ้ บังคับนี้เปน็ เท็จ นอกจากจะถือว่า
เป็นการกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงของพนักงานแล้ว ยังอาจถูกตัดสิทธิเกี่ยวกับเงินช่วยเหลือประเภทนั้น ๆ
ตามข้อบงั คบั น้ภี ายในระยะเวลาทผี่ ูอ้ ำนวยการกำหนด
ในกรณีดังกลา่ วในวรรคแรกถ้าพนักงานได้รับการชว่ ยเหลือไปแล้ว ให้ชดใช้คนื ทั้งหมดพร้อมท้ัง
ดอกเบ้ียรอ้ ยละสิบหา้ ตอ่ ปี โดยพลัน

หมวด 2
คณะกรรมการสวสั ดิการ
ข้อ 7 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า "คณะกรรมการสวัสดิการ" ซึ่งผู้อำนวยการแต่งตั้ง
จากพนักงานประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน รองประธานกรรมการ 1 คน ผู้แทนสหภาพแรงงาน
รัฐวิสาหกิจองค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพเป็นกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน
12 คน โดยมีหัวหน้างานสวัสดิการ เป็นกรรมการและเลขานกุ าร
ขอ้ 8 คณะกรรมการ มีอำนาจหนา้ ท่ี ดงั น้ี
8.1 พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ชข้ี าดปัญหาเกี่ยวกบั สวัสดกิ ารต่าง ๆ ให้เป็นไปตามขอ้ บงั คบั น้ี
8.2 พิจารณาเรื่องทีม่ ปี ญั หาทัง้ ข้อเทจ็ จริงและการตีความของข้อบงั คับนี้
8.3 พจิ ารณาเรอ่ื งอนื่ ๆ ทปี่ ระธานกรรมการเห็นสมควรเสนอให้คณะกรรมการพิจารณา
คำวินจิ ฉยั ของคณะกรรมการถอื เปน็ ที่สุด
ข้อ 9 ให้ประธานกรรมการเป็นประธานที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ หรือไม่สามารถ
เข้าร่วมประชุมได้ ให้รองประธานกรรมการทำหน้าที่แทน ถ้าทั้งประธานและรองประธานไม่อยู่ หรือไม่อาจเข้า
รว่ มประชมุ ได้ ก็ใหก้ รรมการเลือกกนั เอง ทำหน้าที่เปน็ ประธานชว่ั คราว

63

ในการประชุมแตล่ ะครั้งต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกวา่ ก่ึงหน่ึงของกรรมการท้ังหมดจึงจะ
เป็นองคป์ ระชุม

การลงคะแนนเสียงของคณะกรรมการเกี่ยวกับปัญหาใด ๆ โดยให้ถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์
ในการลงมติ ถ้ามเี สียงเทา่ กันใหป้ ระธานของท่ปี ระชุมออกเสยี งชข้ี าด

หมวด 3
การคลอดบุตร
ข้อ 10 พนกั งานหรือภริยาโดยชอบดว้ ยกฎหมายของพนักงานคลอดบุตร ไม่ว่าบุตรท่ีคลอดน้ัน
จะรอดเป็นทารกหรือไม่ก็ตาม ให้มีสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือในการคลอดบุตรทุกกรณี รายละ 400 บาท
(ร้อยบาท) และมสี ิทธเิ บกิ ค่ารักษาพยาบาลได้ตามหลกั เกณฑ์เงนิ สวัสดกิ ารเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล
การคลอดตามวรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึง กรณีที่ทารกตายในท้อง ซึ่งทารกต้องอยู่ในท้อง
ไมน่ อ้ ยกว่าเจด็ เดือนเตม็ ดว้ ย
ในกรณีท่ีคลอดบุตรแฝดไมว่ ่ากี่คนก็ตามให้ถือว่าเป็นการคลอดรายเดียว แต่จะได้รับเงินช่วยเหลือ
เป็นพิเศษเพิ่มขึ้นคนละ 150 บาท (หนึ่งร้อยห้าสิบบาท) ต่อทารกที่เพิ่มขึ้น นอกเหนือจากทารกคนแรกที่ได้รบั
เงินชว่ ยเหลอื 400 บาท (ส่รี ้อยบาท)
ข้อ 11 ในกรณที ีค่ ู่สมรสเป็นพนกั งานท้ังสองคนใหส้ ามีเป็นผ้มู สี ิทธิได้รบั เงินช่วยเหลือน้ีฝ่ายเดียว
ในกรณีที่พนักงานหรือสามีของพนักงานผู้ใด ได้รับเงินช่วยเหลือนี้จากส่วนราชการ ราชการ
สว่ นทอ้ งถนิ่ รฐั วสิ าหกิจ หรอื หนว่ ยงานอ่ืนของรฐั พนกั งานผนู้ ั้นไม่มสี ิทธิได้รับเงนิ ช่วยเหลือนี้ เว้นแต่เงินที่ได้รับนั้น
ตำ่ กวา่ ทจี่ ะได้รับตามข้อบงั คบั นี้ ใหม้ สี ทิ ธิได้รบั เพม่ิ เฉพาะสว่ นที่ยงั ขาดอยู่

หมวด 4
เงินช่วยเหลือบุตร
ข้อ 12 พนกั งานทม่ี ีบตุ ร มีสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือบตุ รสำหรบั บุตรคนทหี่ น่งึ ถึงคนที่สามเดือนละ
50 บาท (ห้าสบิ บาท) ต่อบุตรหนง่ึ คน แต่ไม่รวมถึง
12.1 บตุ รบุญธรรม
12.2 บุตรซึ่งมีอายุเกินสิบแปดปีบริบูรณ์ หรือไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่เป็นผู้บรรลุ
นิติภาวะโดยการสมรส
12.3 บตุ รท่ีเป็นพนกั งาน
ข้อ 13 การนับลำดับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนที่สามใหน้ บั เรียงลำดับเกิดกอ่ นหลัง ทั้งนี้ไม่วา่ จะเป็น
บตุ รทเี่ กดิ จากการสมรสครั้งใด หรอื อยูใ่ นอำนาจปกครองของตนตามกฎหมายหรือไม่ และไม่วา่ จะเป็นบุตรที่เกิด
กอ่ นหรอื หลงั การเป็นพนกั งาน
ในกรณที ่ีพนักงานได้รับเงินช่วยเหลือบุตรสำหรับบุตรที่ครบจำนวนสามคนแล้ว ตอ่ มาบุตรคนหน่ึง
คนใดในจำนวนนั้นตายลง ก่อนมีอายุครบสิบแปดปีบริบูรณ์ ก็ให้มีสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือบุตรเพิ่มขึ้น โดยนับ
บตุ รคนทอ่ี ยูใ่ นลำดับถดั ไปขึ้นมาแทนท่ี
ขอ้ 14 การใชส้ ิทธิเบกิ เงนิ ช่วยเหลือบตุ รใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี

64

14.1 พนักงานผู้ใดมีสามีซึ่งได้รับเงินช่วยเหลือบุตรจากส่วนราชการ ราชการส่วน
ท้องถ่ิน รฐั วิสาหกจิ หรอื หนว่ ยงานอ่นื ของรัฐ พนักงานผูน้ ้ันไม่มีสิทธิได้รบั เงินช่วยเหลือตามข้อบงั คับนอี้ ีก เว้นแต่
เงนิ ที่สามีของตนไดร้ บั น้ันต่ำกวา่ ทจี่ ะได้รับตามข้อบงั กบั นี้กใ็ ห้มสี ิทธิไดร้ ับเพิ่มเฉพาะส่วนท่ียงั ขาดอยู่

14.2 พนักงานและคู่สมรสมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการของบุตรทั้งสองฝ่าย ให้ฝ่ายใด
ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ใช้สิทธิขอรับเงินสวัสดิการของบุตรได้ แม้จะมิได้เป็นฝ่ายที่ปกครองบุตรหรืออุปการะเลี้ยงดูบุตร
ของตน โดยพนกั งานผู้ใชส้ ทิ ธิขอรับเงินสวัสดิการสำหรับบุตรของตน จะต้องรับรองตนเองว่าเป็นผู้ใช้สทิ ธิแต่ฝา่ ยเดียว

พนักงานผู้ใดหย่าขาดจากคู่สมรสหรือแยกกันอยู่โดยมไิ ด้หย่ากันตามกฎหมายกับคูส่ มรส
พนักงานสามารถใชส้ ทิ ธิขอรบั เงนิ ค่าชว่ ยเหลอื บตุ รได้ แม้จะมิได้เป็นฝา่ ยปกครองหรืออุปการะเลยี้ งดบู ตุ รของตน

พนักงานผใู้ ดมีคู่สมรสท่ีมสี ิทธิได้รับเงนิ ค่าช่วยเหลือบตุ รจากหนว่ ยงานอ่ืนเม่ือหย่าหรือ
แยกกัน โดยมิได้หย่ากันตามกฎหมายแม้พนักงานจะมิได้เป็นฝ่ายปกครอง หรืออุปการะเลี้ยงดูบุตรพนักงาน
สามารถใชส้ ิทธิขอรับเงินค่าชว่ ยเหลือบุตร เฉพาะส่วนท่ไี ดร้ ับต่ำกว่าสิทธิท่ีพงึ จะไดร้ ับตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้

ทั้งนี้ การใช้สิทธิค่าช่วยเหลือบุตรดังกล่าวครั้งแรกในแต่ละกรณี ให้เรียกเก็บเอกสาร
เพื่อประกอบการเบิกจ่าย โดยกรณีที่มีการหย่ากันตามกฎหมายให้แนบสำเนาทะเบียนการหย่า ส่วนกรณีที่
แยกกันอยโู่ ดยมไิ ด้หย่ากันตามกฎหมายให้แนบทะเบยี นสมรส

กรณีทส่ี ามีของพนักงานเปน็ พนักงานรฐั วิสาหกิจอ่ืนให้ฝ่ายสามีใช้สิทธิเบิกก่อน หากสิทธิ
ที่ได้รับจากฝ่ายสามีต่ำกว่าสิทธิพนักงานจะได้รับจากองค์การ ให้พนักงานใช้สิทธิเบิกเพิ่มเติมเฉพา ะส่วนต่างที่
พึงจะไดร้ ับตามข้อบังคบั นี้

14.3 ในกรณที ี่พนักงานตาม ข้อ 14.1 ผ้ใู ดสมรสใหม่ และสามีในการสมรสคร้ังใหม่นี้
เป็นบคุ คลดังระบุใน ขอ้ 14.1 ให้พนักงานผนู้ ั้นมสี ิทธิไดร้ ับเงนิ ช่วยเหลอื บตุ ร สำหรับบุตรทต่ี ดิ มากับตนนั้นต่อไป

14.4 ในกรณี ที่คู่สมรสเป็นพนักงานด้วยกันทั้งสองคนให้ฝ่ายสามีมีสิทธิได้รับเงิน
ชว่ ยเหลือบุตรแตฝ่ ่ายเดียว เว้นแต่ทกี่ ลา่ วไวใ้ นขอ้ 15 วรรคสอง

14.5 พนักงานผู้ใดยังไม่มบี ุตรหรือมบี ุตรท่ีมีสิทธิไดร้ ับเงินช่วยเหลือ ตามขอ้ 12 ยังไม่ถึง
สามคน ถา้ ตอ่ มามีบตุ รแฝดซึ่งทำให้จำนวนบุตรเกินสามคน ให้พนกั งานผู้น้นั มสี ิทธิไดร้ ับเงินชว่ ยเหลือบตุ รตามข้อ 12
สำหรับบตุ รคนที่หนึ่งถงึ คนสดุ ทา้ ย แตบ่ ตุ รแฝดดงั กลา่ วจะต้องเป็นบุตรที่เกิดจากค่สู มรสหรือเปน็ บุตรของตนเอง
ในกรณที ่ีหญงิ เป็นผูใ้ ช้สทิ ธเิ บกิ เงินช่วยเหลอื บุตร

ในกรณีที่บุตรคนใดคนหนึ่งของพนักงานดังกล่าวตามวรรคหนึ่งตายลงก่อนมีอายุครบ
สิบแปดปีบริบูรณ์ ก็ให้ลดจำนวนบุตรที่ได้รับเงินช่วยเหลือบุตรลงจนกว่าจำนวนบุตรที่ได้รับเงินช่วยเหลือบุตร
เหลอื ไมเ่ กินสามคน และหลงั จากนน้ั พนกั งานดังกลา่ วจึงจะมสี ทิ ธิได้รับเงินช่วยเหลือบตุ รเพ่ิมขึน้ ไดต้ ามข้อ 13

เพื่อประโยชน์แห่งข้อบังคับนี้ ข้อความที่อ้างถงึ บตุ รคนที่หนึ่งถึงคนที่สามของพนกั งาน
ทม่ี ีสิทธไิ ด้รับเงินชว่ ยเหลือบตุ ร ใหห้ มายถึงบุตรคนทห่ี นง่ึ ถึงคนสุดทา้ ยของพนักงานผมู้ สี ทิ ธิตามวรรคหนึ่ง

การนับลำดับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดท้ายในกรณีที่ไม่อาจทราบลำดับการเกิดก่อนหลัง
ของบุตรแฝดได้โดยแน่ชัด ใหน้ บั ลำดบั บุตรแฝดตามหลักเกณฑท์ กี่ ระทรวงการคลังกำหนด

ขอ้ 15 พนกั งานผูใ้ ดถูกสง่ั พกั งาน ให้ระงบั การจ่ายเงนิ ชว่ ยเหลือบุตรไว้ก่อนจนกว่าคดีหรือกรณี
ถงึ ท่สี ุด เม่ือคดีหรอื กรณถี งึ ที่สดุ แล้ว ถ้าปรากฎว่าพนักงานผถู้ ูกสั่งพักงานน้ันไดร้ บั เงินเดือนหรือค่าจ้างในระหว่าง
ถูกสง่ั พกั งาน ใหจ้ ่ายเงนิ ชว่ ยเหลือบตุ รย้อนหลงั จนถงึ เดอื นทส่ี ่ังระงบั การจ่าย

65

ในกรณีที่คู่สมรสเป็นพนักงานทั้งสองคน และสามีถูกสั่งพักงานให้ภริยาเป็นผู้มีสิทธิได้รับเงิน
ชว่ ยเหลอื บตุ ร เว้นแต่ท้ังสามีและภรยิ าถูกส่งั พักงาน ก็ใหป้ ฏบิ ัติตามวรรคแรก

ข้อ 16 พนักงานผู้ใดได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างในเดือนใดไม่เต็มเดือนก็ดี ได้สิทธิหรือเสียสิทธิ
เกี่ยวกบั เงินช่วยเหลือบตุ รสำหรบั บตุ รคนใดในเดือนใดไมเ่ ต็มเดือนก็ดี ให้ไดร้ ับเงินชว่ ยเหลือบุตรสำหรับบุตรคนนั้น
ได้เต็มเดือน ทง้ั น้ี ใหห้ มายรวมถึงกรณที ี่พนักงานได้รบั อนญุ าตให้ลาป่วยโดยไม่ไดร้ ับเงนิ เดือนดว้ ย

หมวด 5
กรณีประสบภยั พิบตั ิ
ข้อ 17 พนักงานผู้ใดประสบภัยพิบัติ เนื่องจากอาคารที่อยู่อาศัยประสบอัคคีภัย วาตภัย
อุทกภัย หรือภัยพิบัติโดยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้น โดยไม่อาจป้องกันได้ล่วงหน้า เป็นเหตุให้อาการที่อยู่อาศัยหรือ
ทรพั ยส์ ินในอาคารนน้ั เสยี หาย ให้ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือ ดังนี้
17.1 กรณีพนักงานมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านที่ประสบภัยพิบัติ จะได้รับการช่วยเหลือ
เทา่ ทเ่ี สยี หายจริง แต่ไมเ่ กิน 3 เท่าของเงินเดือน หรือคา่ จ้างของพนักงานผ้นู น้ั ดังน้ี
17.1.1 อาคารท่ีอยอู่ าศัยตามน้ันเป็นกรรมสทิ ธ์ิของพนักงาน หรอื คสู่ มรส หรอื
ของบิดา/มารดาของพนักงาน ให้ได้รับการช่วยเหลือความเสียหายของอาคารและทรัพย์สินของพนักงานใน
อาคารน้ัน
17.1.2 อาคารที่อยู่อาศัยนั้นเป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลอื่นนอกเหนือจาก
ขอ้ 17.1.1 ให้ไดร้ ับการช่วยเหลือเฉพาะความเสยี หายของทรพั ย์สนิ ส่วนตวั ของพนกั งานเท่าน้ัน
17.2 กรณีที่พนักงานไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านที่ประสบภัยพิบัติ แต่ได้แจ้งเป็น
ลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้าก่อนเกิดภัยพิบัติ ว่าได้เข้าอยู่อาศัยในอาคารที่อยู่อาศัยนั้น ให้ได้รับการช่วยเหลือ
ความเสยี หายของทรพั ย์สนิ สว่ นตัวของพนักงานเทา่ ทเ่ี สยี หายจริงแต่ไมเ่ กิน 5,000 บาท (ห้าพันบาทถว้ น)

หมวด 6
กรณพี นักงานตาย
ข้อ 18 พนักงานผู้ใดตายในระหว่างเป็นพนักงานให้จา่ ยเงินจำนวนหน่ึงที่เรียกว่า เงินค่าทำศพ
เปน็ จำนวนสามเทา่ ของเงนิ เดือนเดือนสดุ ท้าย
ขอ้ 19 เงินค่าทำศพตาม ข้อ 18 ใหจ้ า่ ยแกบ่ คุ คลทผี่ ู้ตายได้แสดงเจตนาระบุไว้เปน็ หนังสือตาม
แบบที่องค์การกำหนด ถ้าผู้ตายมิได้แสดงเจตนาระบุไว้ตามวรรคแรก หรือบุคคลซึ่งผู้ตายได้แสดงเจตนาระบุไว้
ได้ตายไปเสยี กอ่ น กใ็ ห้จ่ายเงินค่าทำศพใหแ้ กบ่ ุคคลตามลำดับก่อนหลังเพียงลำดับเดยี วดังต่อไปน้ี
19.1 คูส่ มรส
19.2 บตุ ร
19.3 บิดามารดา
19.4 ผอู้ ยใู่ นอปุ การะของผตู้ าย
19.5 ผอู้ ุปการะผตู้ าย
ข้อ 20 ในกรณีที่องค์การ มีความจำเป็นต้องเป็นผู้จัดการศพพนักงานผู้ตาย เพราะไม่มีผู้ ใด
เขา้ เปน็ ผู้จัดการศพในเวลาอันควร กใ็ หง้ านสวสั ดกิ าร สำนกั การเจ้าหนา้ ท่ี เป็นเจา้ ของเรื่องดำเนินการจัดการศพ
ผูต้ ายในนามขององคก์ ารให้สมกบั ฐานะของผ้ตู าย

66

คา่ ใช้จ่ายทส่ี ำนักการเจา้ หน้าท่ี ได้จ่ายไปเพื่อจัดการศพผตู้ าย ตามความในวรรคแรกเปน็ จำนวน
เท่าใดให้เบิกจากเงินค่าทำศพตามข้อบังคับนี้ แล้วส่งมอบเงินส่วนที่เหลอื ใหแ้ ก่ผู้มีสทิ ธิได้รับตามลำดับในข้อ 19
ต่อไป

ถา้ ไมม่ ผี มู้ สี ทิ ธติ ามข้อ 19 วรรคสองมาร้องขอรับเงินภายในกำหนดหนงึ่ ปี นับแตว่ นั ถดั จากวนั ท่ี
พนกั งานตาย ให้คณะกรรมการสวัสดิการพจิ ารณาตามแตจ่ ะเหน็ สมควรต่อไป

ข้อ 21 ใหผ้ อู้ ำนวยการมอี ำนาจออกระเบียบเพ่อื ปฏบิ ัติการให้เปน็ ไปตามข้อบงั คบั น้ี
ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 6 เดอื นมถิ ุนายน พุทธศกั ราช 2557

ข้อบังคบั องค์การขนส่งมวลซนกรุงเทพ ฉบบั ที่ 184
วา่ ด้วยสวสั ดิการเกยี่ วกับการคลอดบุตร เงนิ ชว่ ยเหลือบุตร

กรณีประสบภัยพิบตั ิ กรณีพนักงานตาย พ.ศ. 2560
(แก้ไขเพ่มิ เติมครั้งท่ี 1)

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (1) และมาตรา 29 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การ
ขนส่งมวลชนกรุงเทพ พ.ศ. 2519 และมติคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลซนกรุงเทพ ครั้งที่
2/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เห็นชอบให้ปรับปรุงแก้ไขข้อบังคับองค์การฉบับที่ 176 ว่าด้วย
สวัสดิการเกี่ยวกับการคลอดบุตร เงินช่วยเหลือบุตร กรณีประสบภัยพิบัติ กรณีพนักงานตาย พ.ศ. 2557
ดังตอ่ ไปนี้

ข้อ 1 ข้อบังคับฉบับนี้เรียกว่า " ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 184 ว่าด้วย
สวัสดกิ ารเก่ยี วกบั การคลอดบุตร เงินช่วยเหลอื บตุ ร กรณีประสบภัยพบิ ัติ กรณีพนักงานตาย พ.ศ. 2560 (แก้ไข
เพ่มิ เติมครง้ั ท่ี 1) "

ข้อ 2 ให้ยกเลิกข้อความในข้อ 12 หมวด 4 เงินช่วยเหลือบุตร แห่งข้อบังคับองค์การขนส่ง
มวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 176 ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการคลอดบุตร เงินช่วยเหลือบุตร กรณีประสบภัยพิบัติ
กรณีพนกั งานตาย พ.ศ. 2557 และให้ใชข้ ้อความต่อไปนแ้ี ทน

ข้อ 12 พนักงานทีม่ บี ตุ ร มีสทิ ธิไดร้ ับเงินชว่ ยเหลือบตุ รสำหรับบุตรคนทีห่ นึ่งถึงคนที่สาม
เดอื นละ 100 บาท (หนง่ึ รอ้ ยบาท) ตอ่ บุตรหนึง่ คน แตไ่ ม่รวมถงึ

12.1 บุตรบญุ ธรรม
12.2 บุตรซึ่งมีอายุเกินสิบแปดปีบริบูรณ์ หรือไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่เป็น
ผู้บรรลนุ ติ ภิ าวะโดยการสมรส
12.3 บตุ รที่เป็นพนักงาน
ข้อ 3 ข้อบงั คบั น้ใี ห้ใช้ตง้ั แตบ่ ัดนีเ้ ป็นต้นไป
ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 24 เดือนมีนาคม พทุ ธศกั ราช 2560

67

สวัสดกิ ารเงนิ ทดแทนกรณีประสบอนั ตราย หรอื เจ็บป่วย หรือตาย หรอื สูญหายเน่อื งจากการทำงาน

ขอ้ บงั คับองค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ฉบบั ที่ 175
วา่ ดว้ ยการจา่ ยเงนิ ทดแทนกรณีประสบอันตราย หรอื เจ็บป่วย หรอื ตาย หรอื สญู หายเน่ืองจากการทำงาน

พ.ศ. 2557
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (12) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชน
กรุงเทพ พุทธศักราช 2519 และมติคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การ ครั้งที่ 6/2557 เมื่อวันที่ 29
เมษายน 2557 จงึ ให้ออกข้อบงั คบั ไว้ ดงั ต่อไปนี้
ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 175 ว่าด้วยการ
จ่ายเงินทดแทนกรณีประสบอนั ตรายหรอื เจ็บปว่ ย หรอื ตาย หรอื สญู หายเนือ่ งจากการทำงาน พ.ศ. 2557
ขอ้ 2 ให้ใช้ข้อบังคับน้ีตัง้ แต่บัดนเ้ี ปน็ ต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกขอ้ บงั คับองค์การ ดังต่อไปน้ี

3.1 ฉบับที่ 106 ว่าดว้ ยการจ่ายเงินทดแทนกรณีประสบอันตราย หรอื เจ็บป่วย หรือตาย
หรือสญู หาย เนอื่ งจากปฏบิ ัติหนา้ ที่ พ.ศ. 2540

3.2 ฉบับที่ 140 วา่ ด้วยการจา่ ยเงนิ ทดแทนกรณีประสบอันตราย หรือเจบ็ ป่วย หรือตาย
หรอื สูญหาย เนือ่ งจากปฏบิ ัตหิ น้าที่ (แกไ้ ขเพิ่มเติม คร้งั ท่ี 1) พ.ศ. 2549

ทงั้ น้ี ระเบยี บและคำสั่งอนื่ ใดทข่ี ัดหรือแยง้ กบั ข้อบงั คบั นี้ใหใ้ ชข้ อ้ บังคับน้ีแทน
ขอ้ 4 ในข้อบงั คบั น้ี

"องคก์ าร" หมายความวา่ องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ
"ผ้อู ำนวยการ" หมายความวา่ ผู้อำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ
"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการสวสั ดิการ
"พนักงาน" หมายความวา่ ผทู้ ี่องค์การบรรจเุ ป็นพนกั งาน
"ประสบอันตราย" หมายความว่า การที่พนักงานได้รับอันตรายแก่กายหรือผลกระทบ
แกจ่ ิตใจ หรือถึงแกค่ วามตายเน่ืองจากการทำงาน หรือป้องกันรักษาประโยชน์ให้แก่องค์การ หรอื การปฏิบัติตาม
คำสั่งของผบู้ งั คับบัญชา
"เจ็บป่วย" หมายความว่า การที่พนักงานมีความผิดปกติที่เกิดขึ้นทางร่างกาย หรือจิตใจ
หรือถึงแก่ความตายด้วยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงานตามกฎหมาย
ว่าดว้ ยเงนิ ทดแทน
"สูญหาย" หมายความว่า การที่พนักงานหายไปในระหว่างทำงานหรือปฏิบัติตามคำส่ัง
ของผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีเหตุอันควรเชื่อว่าถึงแก่ความตาย เพราะประสบเหตุอันตรายที่เกิดขึ้นในระหว่างทำงาน
หรอื ปฏิบตั ิตามคำส่งั ของผ้บู ังคับบัญชาน้ัน รวมตลอดถงึ การท่ีพนักงานหายไปในระหวา่ ง เดนิ ทางโดยพาหนะทางบก
ทางอากาศ หรือทางน้ำ เพื่อไปทำงานในองค์การซึ่งมีเหตุอันควรเชื่อว่าพาหนะนั้นได้ประสบเหตุอันตรายและ
พนกั งานถึงแกค่ วามตาย ทั้งนี้ เปน็ ระยะเวลาไมน่ ้อยกว่าหนงึ่ รอ้ ยยส่ี บิ วนั นบั แต่วันที่เกิดเหตุ น้นั
"สูญเสียสมรรถภาพ" หมายความว่า การสูญเสียอวัยวะหรือการสูญเสียสมรรถภาพใน
การทำงานของร่างกายหรือจติ ใจภายหลังการรกั ษาด้วยวธิ ีทางการแพทยส์ น้ิ สดุ แลว้

68

"เงนิ ทดแทน" หมายความว่า เงินทจ่ี ่ายเปน็ ค่าทดแทน คา่ รักษาพยาบาล ค่าฟนื้ ฟสู มรรถภาพ
ในการทำงาน

"ค่าทดแทน" หมายความว่า เงินที่จ่ายให้พนักงานหรือผู้มีสิทธิตามข้อ 15 สำหรับ
การประสบอันตรายหรือการเจบ็ ป่วย หรอื สญู หายของพนักงานตามขอ้ บังคับน้ี

"ค่ารักษาพยาบาล" หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการตรวจ การรักษา การพยาบาล
และค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น เพื่อให้ผลของการประสบอันตรายหรือการเจ็บป่วยบรรเทาหรือหมดสิ้นไป และ
หมายความรวมถึงค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอุปกรณ์ เครื่องใช้ หรือวัตถุที่ใช้แทน หรือทำหน้าที่แทนหรือช่วยอวัยวะที่
ประสบอันตรายดว้ ย

"ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน" หมายความว่า ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นเกี่ยวกับการฟื้นฟู
สมรรถภาพในการทำงาน

"การฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน" หมายความว่า การจัดให้พนักงานซึ่งประสบอันตราย
หรือเจ็บป่วย หรือสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพของร่างกายหรือจิตใจ หรือการฟื้นฟู
อาชีพ เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพทีเ่ หมาะสมตามสภาพของร่างกาย

"ค่าทำศพ" หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดการศพตามประเพณีทางศาสนาของ
พนักงาน หรือตามประเพณีแห่งท้องถิ่น ในกรณีที่พนักงานถึงแก่ความตาย เนื่องจากการประสบอันตราย หรือ
เจ็บปว่ ย หรอื สูญหาย

"เงินเดือนหรือค่าจ้าง" หมายความวา่ อตั ราเงินเดือนหรืออัตราคา่ จ้างในเดือนท่ีพนักงาน
ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หรือเจ็บป่วยจนถึงแก่ความตาย หรือสูญหาย หรืออัตราค่าจ้างรายวันสุดท้าย
คูณด้วยยี่สิบหก สำหรับพนักงานซึ่งได้รับค่าจ้างรายวัน หรือค่าจ้างรายวันโดยเฉลี่ยจากค่าจ้างคราวสุดท้าย
ก่อนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หรือเจ็บป่วยจนถึงแก่ความตาย หรือสูญหายคูณด้วยยี่สิบหก สำหรับ
ลูกจา้ งซ่งึ ได้รบั ค่าจ้างเป็นรายช่ัวโมงและลูกจ้างซงึ่ ได้รบั คา่ จา้ งตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

"ทุพลภาพ" หมายความว่า การสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะหรือ
ของรา่ งกาย หรอื สญู เสยี สภาวะปกตขิ องจติ ใจ จนไมส่ ามารถทำงานได้

ข้อ 5 พนักงานที่ประสบอันตราย หรือเจ็บป่วย หรือตาย หรือสูญหาย เนื่องจากการทำงาน
มสี ิทธิได้รับค่ารกั ษาพยาบาล ค่าฟน้ื ฟสู มรรถภาพ คา่ ทดแทนหรอื คา่ ทำศพตามข้อบงั คับนี้

ข้อ 6 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า "คณะกรรมการสวัสดิการ" ซึ่งผู้อำนวยการแต่งตั้ง
จากพนกั งานประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน รองประธานกรรมการ 1 คน ผ้แู ทนสหภาพแรงงานรฐั วิสาหกิจ
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพเป็นกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน 12 คน
โดยมหี ัวหน้างานสวัสดิการ เป็นกรรมการและเลขานกุ าร คณะกรรมการมีอำนาจหนา้ ที่

6.1 พิจารณาวินิจฉัยการจา่ ยเงนิ ทดแทนตามขอ้ บังคับนี้
6.2 พิจารณาเรอ่ื งทม่ี ปี ญั หาทั้งข้อเท็จจริงและการตีความของข้อบังคบั นี้
6.3 พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ที่ประธานกรรมการเห็นสมควรเสนอให้คณะกรรมการคำวินิจฉัย
ของคณะกรรมการถอื เปน็ ที่สุด
ข้อ 7 พนักงานที่ได้รับค่ารักษาพยาบาลหรือค่าทำศพตามข้อบังคับนี้แล้ว ไม่มีสิทธิได้รับเงิน
ค่ารักษาพยาบาลหรือค่าทำศพตามขอ้ บังคบั อนื่ ขององค์การ

69

ขอ้ 8 องค์การจะจา่ ยค่ารกั ษาพยาบาลเทา่ ที่จ่ายจรงิ ตามความจำเป็นดังต่อไปน้ี
8.1 กรณีท่ีเขา้ รบั การรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของทางราชการให้ไดร้ บั ค่ารักษา

พยาบาลเตม็ จำนวนทจ่ี ่ายจรงิ
8.2 กรณีที่เข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของเอกชนให้ได้รับค่ารักษา

พยาบาลได้เท่าท่จี ่ายจรงิ ตามความจำเปน็ แต่ไม่เกิน 45.000 บาท (สหี่ มื่นห้าพนั บาท)
ข้อ 9 ในกรณีที่ค่ารักษาพยาบาลตามข้อ 8.2 ไม่เพียงพอ ให้องค์การจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าท่ี

จ่ายจริงตามความจำเปน็ เพิ่มขน้ึ อีกได้แต่ไมเ่ กนิ 65,000 บาท (หกหมนื่ หา้ พันบาท) สำหรับการประสบอันตราย
หรือเจ็บป่วยของพนักงานทมี่ ีลกั ษณะดังตอ่ ไปน้ี คอื

9.1 บาดเจ็บอยา่ งรนุ แรงของอวัยวะภายในหลายส่วนและตอ้ งได้รับการผ่าตดั แกไ้ ข
9.2 บาดเจบ็ อยา่ งรุนแรงของกระดกู หลายแหง่ และต้องไดร้ ับการผ่าตดั แกไ้ ข
9.3 บาดเจบ็ อย่างรนุ แรงทศี่ ีรษะและต้องได้รบั การผ่าตดั เปดิ กะโหลกศรี ษะ
9.4 บาดเจบ็ อยา่ งรุนแรงของกระดูกสันหลงั ไขสนั หลงั หรอื รากประสาท
9.5 ประสบภาวะทตี่ ้องผ่าตัดต่ออวยั วะที่ยงุ่ ยากซ่งึ ต้องใช้วิธจี ุดศัลยกรรม
9.6 ประสบอันตรายจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก สารเคมี หรอื ไฟฟา้ จนถึงขน้ั สูญเสียผิวหนัง
ลกึ ถึงหนังแท้เกนิ กวา่ รอ้ ยละสามสิบของร่างกาย
9.7 ประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรังตามประกาศที่ออกตาม
กฎหมายว่าด้วยเงนิ ทดแทน
ขอ้ 10 ในกรณีคา่ รักษาพยาบาลท่ีจา่ ยตามข้อ 9 ไมเ่ พียงพอ ให้จ่ายค่ารักษาพยาบาลเพ่มิ ขึ้นได้
อีกเท่าที่จายจริงตามความจำเป็น ทั้งนี้ เมื่อรวมค่ารักษาพยาบาลตามข้อ 8.2 และข้อ 9 แล้ว ต้องไม่เกิน
200,000 บาท (สองแสนบาท) สำหรับการประสบอันตรายหรอื เจ็บปว่ ยของพนกั งานในลักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้
10.1 ประสบอันตรายหรอื เจบ็ ปว่ ย ตามข้อ 9.1 ถงึ 9.6 ต้ังแต่สองรายการขึ้นไป
10.2 ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ตามข้อ 9.1 ถึง 9.6 รายการใดรายการหน่ึง
ท่จี ำเป็นตอ้ งใชเ้ ครื่องช่วยหายใจ หรอื ต้องพักรักษาตัวอยู่ในหอผูป้ ว่ ยหนัก หอผูป้ ่วยวิกฤต หรือหอผู้ป่วย ไฟไหม้
น้ำร้อนลวก ต้งั แตย่ ่สี บิ วนั ขนึ้ ไป
10.3 บาดเจ็บอย่างรุนแรงของระบบสมองหรือไขสันหลังที่จำเป็นต้องรักษาตั้งแต่
สามสิบวนั ตดิ ตอ่ กันขึน้ ไป
10.4 ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรังเป็นผลให้อวัยวะสำคัญ
ล้มเหลว
ข้อ 11 ในกรณีค่ารักษาพยาบาลที่จ่ายตามข้อ 10 ไม่เพียงพอ ให้องค์การจ่ายค่ารักษาพยาบาล
เพิ่มข้ึนได้อีกเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่รวมทงั้ สิน้ ไมเ่ กิน 300,000 บาท (สามแสนบาท) โดยให้คณะแพทย์
ที่องค์การแต่งตั้งจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจำนวนไม่น้อยกว่าสามคนพิจารณา และคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ
ใหค้ วามเห็นชอบ
ขอ้ 12 ค่ารักษาพยาบาลตามข้อ 8-11 ให้รวมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยเกีย่ วกบั ค่าห้องและค่าอาหารดว้ ย

70

ข้อ 13 ในกรณีที่คณะแพทย์ตามข้อ 11 มีความเห็นว่า พนักงานจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู
สมรรถภาพในการทำงานภายหลังการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ให้องค์การจ่ายค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการ
ทำงานของพนักงานเทา่ ท่จี ่ายจรงิ ตามความจำเปน็ ตามหลักเกณฑแ์ ละอตั รา ดังต่อไปน้ี

13.1 ค่าใช้จ่ายในกระบวนการเวชศาสตร์ฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงานด้านการแพทย์
และค่าใช้จา่ ยในการฟน้ื ฟสู มรรถภาพในการทำงานด้านอาชพี ไม่เกิน 20,000 บาท (สองหม่นื บาท)

13.2 คา่ ใช้จา่ ยในการผ่าตัดเพ่ือประโยชน์ในการฟ้ืนฟูสมรรถภาพในการทำงานไม่เกิน
20,000 บาท (สองหมืน่ บาท)

ข้อ 14 องคก์ ารจะจ่ายคา่ ทำศพเป็นจำนวนสามเท่าของเงินเดือนหรือค่าจา้ งรายเดือน เดอื นสุดท้าย
ทพี่ นักงานได้รบั อยู่

ข้อ 15 องคก์ ารจะจ่ายค่าทดแทนเปน็ รายเดือน ดังต่อไปน้ี
15.1 รอ้ ยละหกสิบของเงินเดือนหรือค่าจ้าง สำหรบั กรณที ี่พนักงานไม่สามารถทำงาน

ติดต่อกันได้เกินสามวันไม่ว่าพนักงานจะสูญเสียอวัยวะตาม 15.2 ด้วยหรือไม่ก็ตาม โดยจ่ายนับแต่วันแรก
ทพ่ี นกั งานไมส่ ามารถทำงานไดไ้ ปจนตลอดระยะเวลาท่ีไมส่ ามารถทำงาน ได้ แต่ตอ้ งไมเ่ กนิ หนงึ่ ปี

15.2 ร้อยละหกสบิ ของเงนิ เดือนหรอื คา่ จา้ ง สำหรบั กรณีทีพ่ นักงานต้องสูญเสียอวัยวะ
บางส่วนของร่างกาย โดยจ่ายตามประเภทของการสูญเสียอวัยวะและตามระยะเวลาที่กำหนดในตารางที่ 1
ท้ายข้อบงั คบั นี้ แตร่ วมกนั ตอ้ งไมเ่ กนิ สบิ ปี

15.3 ร้อยละหกสิบของเงินเดือนหรอื ค่าจ้าง สำหรับกรณที ี่พนักงานทุพพลภาพตามที่
กำหนดไวใ้ น ตารางที่ 2 ท้ายขอ้ บังคบั นี้ แตร่ วมกันต้องไมเ่ กนิ สิบหา้ ปี

15.4 ร้อยละหกสิบของเงินเดือนหรือค่าจ้าง สำหรับกรณีที่พนักงานถึงแก่ความตาย
หรือสญู หาย มีกำหนดแปดปี

การประสบอันตราย หรือเจ็บป่วย ซึ่งเป็นเหตุให้สูญเสียสมรรถภาพในการทำงานของอวัยวะ
ไปเพียงบางส่วน ให้ถือว่าพนักงานสูญเสียอวัยวะนั้นด้วย แต่การคำนวณค่าทดแทนให้เทียบอัตราส่วนร้อยละ
จากจำนวนระยะเวลาทก่ี ำหนดไว้สำหรบั การสูญเสียอวัยวะประเภทนนั้ ๆ ตามตารางที่ 1

ในกรณีที่องค์การจ่ายค่าทดแทนตาม 15.2 หรือ 15.3 และต่อมาพนักงานได้ถึงแก่ความตาย
ในขณะทยี่ งั รับค่าทดแทนไม่ครบระยะเวลาตามสทิ ธิดงั กล่าว องค์การจะจ่ายค่าทดแทนให้แก่ผู้มสี ิทธิตามข้อ 20
จนครบกำหนดระยะเวลาตามสิทธิ แตท่ ัง้ น้ี ระยะเวลาการจ่ายคา่ ทดแทนรวมกนั ต้องไม่เกินแปดปี

ข้อ 16 ในกรณีที่พนักงานสูญเสียอวัยวะบางส่วนของร่างกาย หรือสูญเสียสมรรถภาพของ
อวัยวะไปเพยี งบางส่วนนอกเหนอื จากทก่ี ำหนดไว้ตามตารางท่ี 1 ทา้ ยขอ้ บังคบั น้ี ให้ถอื ว่าเป็นกรณสี ญู เสียอวัยวะ
ตามข้อ 15.2 และให้มีระยะเวลาการจ่ายค่าทดแทนตามผลการประเมินการสูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพของ
อวัยวะเป็นร้อยละของสมรรถภาพทั้งร่างกายในอัตราความสูญเสียสมรรถภาพร้อยละหนึ่ง ต่อระยะเวลาจ่าย
ค่าทดแทนสองเดอื น แต่ต้องไม่เกนิ สิบปี

ข้อ 17 ให้พนักงานได้รับการประเมินการ สูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะกายหลังจากเหตุใด
เหตหุ นึง่ ดังตอ่ ไปนี้

17.1 เมื่อพนักงานได้รับการรักษาด้วยวิธีการต่าง ๆ ทางการแพทย์อย่างเต็มที่แล้ว
หรือส้นิ สดุ การรักษาซ่งึ ไมส่ ามารถรักษาใหเ้ ป็นปกตไิ ดแ้ ละพยาธิสภาพของอวัยวะน้นั คงที่ไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงอกี

71

17.2 เม่ือพ้นกำหนดระยะเวลาหนึ่งปี นับแตว่ นั ทีพ่ นักงานประสบอนั ตรายหรือเจ็บป่วย
ขอ้ 18 ในกรณีที่พนักงานสูญเสียอวยั วะของร่างกายหรือสูญเสียสมรรถภาพของอวยั วะเกินกว่า
รอ้ ยละหกสิบ ให้ถือวา่ เป็นกรณที ุพพลภาพตามขอ้ 15.3 และใหม้ ีระยะเวลาการจ่ายค่าทดแทนสบิ ห้าปี
ข้อ 19 ให้แพทย์ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเป็นผู้ประเมินการสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสีย
สมรรถภาพของอวยั วะ โดยให้นำวิธีการประเมินและอัตราการสูญเสียสมรรถภาพทางกายและจิตใจที่กำหนดขึ้น
สำหรบั การจ่ายเงินทดแทนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยเงินทดแทนมาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดวิธีการประเมินและอัตราการสูญเสียสมรรถภาพสำหรับอวัยวะใด
ให้คณะแพทย์ที่องค์การแต่งตั้งจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจำนวนไม่น้อยกว่าสามคนเป็นผู้ประเมินและกำหนด
อตั ราการสญู เสียสมรรถภาพของอวัยวะน้นั
ข้อ 20 เมื่อพนักงานประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจนถึงแก่ความตายหรือสูญหาย ให้บุคคล
ดังตอ่ ไปน้มี สี ทิ ธิไดร้ บั เงินทดแทนจากองค์การ

(1) บิดา มารดา
(2) สามี หรือ ภรรยา
(3) บุตรซงึ่ มีอายตุ ่ำกว่าสิบแปดปี หรือมอี ายตุ ้ังแต่สิบแปดปีและยังศึกษาอยู่ในระดับท่ี
ไมส่ ูงกวา่ ปริญญาตรี ท้ังน้ใี หส้ ทิ ธไิ ด้รับไดไ้ ม่เกินอายุย่ีสบิ หา้ ปี
(4) บตุ รซง่ึ มีอายุตงั้ แตส่ บิ แปดปีและทุพพลภาพหรือจิตฟ่ันเฟือน ไมส่ มประกอบ ซึ่งอยู่
ในอปุ การะของพนักงานก่อนพนักงานถงึ แก่ความตายหรือสญู หาย
ให้บุตรของพนักงานซึ่งเกิดภายในสามร้อยสิบวัน นับแต่วันที่พนักงานถึงแก่ความตาย หรือวัน
เกดิ เหตสุ ูญหายมสี ทิ ธิได้รบั เงนิ ทดแทนนบั แตว่ นั คลอด
ถา้ ไม่มผี ู้มีสิทธติ ามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ให้องค์การจา่ ยเงนิ ทดแทนแกผ่ ซู้ ่ึงอยใู่ นอปุ การะของ
พนกั งานที่ตายหรือสูญหายก่อนประสบอันตรายหรือเจบ็ ปว่ ย จนถึงแก่ความตาย หรอื สูญหาย แต่ผู้อยู่ในอุปการะ
ดงั กลา่ วจะตอ้ งได้รับความเดอื ดรอ้ นเพราะขาดอุปการะจากพนักงานทีต่ าย หรือสญู หายดว้ ย
ให้ผมู้ สี ทิ ธิดงั กลา่ วได้รับสว่ นแบ่งเทา่ กัน ในกรณีทสี่ ิทธิไดร้ ับเงินทดแทนสิ้นสุดลง เพราะผู้มีสิทธิ
ผู้หน่งึ ผูใ้ ดถงึ แกค่ วามตาย หรอื สามี หรอื ภรรยาสมรสใหม่ หรอื มไิ ดส้ มรสใหมแ่ ตม่ พี ฤติการณ์แสดงให้เห็นว่าได้อยู่
กันฉันสามี หรือภรรยากัน กับชายหรือหญิงอื่น หรือบุตรไม่มีลักษณะตาม (3) หรือ (4) อีกต่อไปให้นำส่วนแบ่ง
ของผหู้ มดสทิ ธเิ พราะเหตุใดดังกลา่ วไปเฉล่ียใหแ้ ก่ผู้มีสิทธิอนื่ ต่อไป
การไดร้ ับสว่ นแบ่งตามข้อน้ี ถา้ มิไดร้ ับส่วนแบ่งในคราวเดียวกันท้ังหมดให้รับส่วนแบ่งอยู่ได้ไม่เกิน
แปดปี นบั แตว่ ันทีพ่ นักงานถึงแก่ความตายหรือวันทส่ี ญู หาย
ข้อ 21 พนกั งานทป่ี ระสบอนั ตรายหรือเจ็บป่วยเพราะเหตอุ ย่างหน่งึ อยา่ งใดดังต่อไปน้ี ไมม่ สี ิทธิ
ไดร้ ับเงินทดแทน
21.1 เสพของมนึ เมาหรอื ส่ิงเสพติดอนื่ จนไมส่ ามารถครองสตไิ ด้
21.2 จงใจให้ตนเองหรือผู้อน่ื ประสบอนั ตรายหรือยอมให้ผอู้ ืน่ ทำใหต้ นประสบอันตราย
ข้อ 22 กรณีจะเป็นประการใดก็ตาม ค่าทดแทนตามข้อ 15 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละหกสิบของ
อัตราคา่ จา้ งขนั้ ต่ำขององคก์ าร และไม่เกินเดอื นละ 12,000 บาท (หนึง่ หม่ืนสองพนั บาท)

72

ข้อ 23 ในการจ่ายค่าทดแทนเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป องค์การจะหักส่วนลดได้ไม่เกิน
ร้อยละสต่ี ่อปขี องคา่ ทดแทนท่ีไดร้ ับ

ข้อ 24 ในกรณีที่พนักงานประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ให้พนักงานหรือผู้มีสิทธิยื่น
คำร้องเรยี กเงินทดแทนต่อผู้บงั คับบัญชาตน้ สังกัดภายใน 180 วนั (หนงึ่ ร้อยแปดสิบวัน) นับแตว่ นั ประสบอันตราย
หรือเจบ็ ปว่ ย หรอื สญู หาย

ในกรณีที่การเจ็บป่วยเกิดขึ้นภายหลังสิ้นสภาพการเป็นพนักงาน ให้พนักงานหรือ ผู้มีสิทธิยื่น
คำร้องเรยี กเงนิ ทดแทนภายในสองปนี บั ต้งั แต่วันท่ที ราบการเจ็บป่วย

เมื่อผู้บังคับบัญชาต้นสังกัดได้รับคำร้องให้ดำเนินการสอบสวนข้อเท็จจริงโดยเร็ว หากเห็นว่า
พนกั งานมีสิทธิไดร้ บั เงินทดแทน ใหเ้ สนอเรอ่ื งตอ่ สำนกั การเจ้าหน้าทภ่ี ายใน 15 วัน นับตงั้ แตว่ นั ท่รี ับทราบ

ให้ผู้บังคับบัญชามีหนังสือแจ้งผลการพิจารณา ให้พนักงานหรือผู้มีสิทธิทราบโดยไม่ชักช้าว่ามี
สทิ ธไิ ด้รบั เงินทดแทนหรือไม่ จำนวนเท่าใด และเปน็ ระยะเวลาเทา่ ใดในกรณีที่มสี ิทธิไดร้ ับเงินทดแทนให้จ่ายเงิน
ทดแทนแก่พนกั งานหรือผู้มสี ทิ ธติ งั้ แต่วนั ท่พี นักงานประสบอนั ตราย หรอื เจบ็ ป่วย หรอื สญู หาย

ในกรณีที่ปรากฏภายหลังว่าผลการประสบอันตราย หรือการเจ็บป่วยของพนักงานเปลี่ยนแปลง
ไปอันเป็นเหตุให้สิทธิการได้รับเงินทดแทนเปลี่ยนแปลง ให้มีหนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงของสิทธิให้พนักงาน
หรือผู้มีสิทธิทราบ และจ่ายเงินทดแทนตามสิทธิที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น โดยให้มีผลการจ่ายเงินทดแทนในคราว
ตอ่ ไป

ในกรณีท่ีพนกั งานหรือผู้มีสิทธิไม่พอใจผลการพิจารณาตามหนังสือแจ้ง ใหพ้ นกั งานหรือผู้มีสิทธิ
นำคดีไปฟอ้ งศาลแรงงานภายในสามสิบวนั นับแตว่ ันทไี่ ด้รับหนังสือแจ้ง

ขอ้ 25 หา้ มหกั เงินทดแทนน้เี พ่ือการใด ๆ
ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 6 เดอื นมิถุนายน พทุ ธศกั ราช 2557

73

ตารางแนบท้ายขอ้ บังคบั ฉบับท่ี 175
ตารางท่ี 1

ประเภทของการสญู เสียอวยั วะและระยะเวลาการจ่ายคา่ ตอบแทน

ประเภทของการสูญเสียอวยั วะ คำจำกดั ความ ระยะเวลาการจ่าย
คา่ ทดแทน (เดือน)

1. แขนขาดระดบั ข้อศอก แขนขาดระดับข้อศอกขึ้นไป 120
2. แขนขาดระดับต่ำกว่าศอก 114
แขนขาดระดับต่ำกว่าศอก และ/หรือ
ขอ้ มอื และยังงอขอ้ ศอกได้

3. . มือขาด น้ิวมือทงั้ ห้าน้ิวขาด ตั้งแต่ระดับข้อโคนนิ้ว 108
ของทกุ น้วิ ขึ้นไปถึงข้อมือ

4. นิ้วหัวแมม่ อื ขาด นิ้วหัวแม่มือขาดตั้งแต่ระดับข้อโคนน้ิว 44
ข้นึ ไปถึงขอ้ มือ

5. นิ้วหวั แม่มือขาดระดับขอ้ ปลายนว้ิ นว้ิ หวั แม่มือขาดระดบั ขอ้ ปลายน้วิ 22
6. นิ้วช้ีหรอื น้ิวกลางขาด นิ้วช้ีหรือนิ้วกลางขาดระดบั ขอ้ โคนน้ิว 22
7. น้ิวชี้หรือนิว้ กลางขาดระดับข้อกลางนิ้ว นว้ิ ชี้หรือนิ้วกลางขาคระดับข้อกลางนิ้ว 16
8. น้วิ ข้ีหรอื นว้ิ กลางขาดระดับข้อปลายนิว้ นวิ้ ข้ีหรือน้วิ กลางขาดระดบั ข้อปลายน้ิว 10
9. น้วิ นางหรอื นิว้ ก้อยขาด นิ้วนางหรือนิ้วกอ้ ยขาดระดบั ข้อโคนนิ้ว 10
10. นิว้ นางหรอื นิว้ กอ้ ยขาดระดับข้อกลางนว้ิ นิ้วนางหรือนิว้ ก้อยขาคระดับข้อกลางนิ้ว 8
11. นิ้วนางหรือนวิ้ กอ้ ยขาดระดับข้อปลายนิ้ว นว้ิ นางหรือนวิ้ ก้อยขาดระดบั ข้อปลายนิว้ 6
12. ขาขาดขอ้ สะโพก ขาขาดผ่านข้อสะโพก 80
13. ขาขาดระดับขอ้ เขา่ ขาขาดผา่ นข้อเข่า 64
14. เท้าขาด เทา้ ขาดผ่านข้อเท้า 50
15. เทา้ ขาดระดับกลางเท้า เท้าขาดระดับกลางเท้า 36
16. นิ้วหัวแมเ่ ท้าขาดท่ีระดบั ข้อโคนนวิ้ นว้ิ หวั แมเ่ ท้าขาคระดับข้อโคนนิ้ว 10
17. นิ้วหัวแม่เทา้ ขาดที่ระดับขอ้ ปลายน้ิว นิ้วหัวแม่เท้าขาดทรี่ ะดบั ข้อปลายน้ิว 4
18. นิว้ เท้าอนื่ หนง่ึ น้ิวขาดทข่ี อ้ ระดับข้อโคนนว้ิ นิ้วเท้าอน่ื หน่งึ นวิ้ ขาดท่ีระดบั ขอ้ โคนน้วิ 2
19. นวิ้ เท้าอืน่ ทงั้ สีน่ ิ้วขาดทีร่ ะดับขอ้ โคนน้วิ นว้ิ เท้าขาดทุกนิ้วท่รี ะดบั ขอ้ โคนน้ิว 18

74

ตารางแนบทา้ ยข้อบังคับฉบับท่ี 175

ตารางท่ี 2

ประเภทของการทพุ พลภาพและระยะเวลาการจา่ ยคา่ ทดแทน

ประเภทของการทุพพลภาพ ระยะเวลาการจ่ายคา่ ทดแทน (ป)ี

1. ขาทัง้ สองขา้ งขาด 15

2. มอื หนึง่ ขา้ งกบั เท้าหน่ึงขา้ งขาด 15

3. มอื ทั้งสองขา้ งขาด 15

4. สูญเสียลูกตาทั้งสองข้าง หรือสูญเสียลูกตาข้างหนึ่งกับสูญเสียสมรรถภาพ 15
ในการมองเห็นร้อยละเก้าสิบขึ้นไป หรือเสียความสามารถในการมองเห็น
ตั้งแต่ 3/60 หรือมากกว่าของตาอีกข้างหนึ่ง หรือสูญเสียสมรรถภาพใน
การมองเห็นร้อยละเก้าสิบขึ้นไปหรือเสียความสามารถในการมองเห็น
ตง้ั แต่ 3/60 หรือมากกว่าของตาทัง้ สองข้าง

5. ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยที่ศีรษะ และ/หรือกระดูกสันหลังเป็นเหตุให้ 15
สูญเสยี สมรรถภาพในการทำงานโดยสิน้ เชงิ ของ
5.1 ขาท้งั สองขา้ ง หรือ
5.2 มอื หน่งึ ขา้ งกับเท้าหน่ึงขา้ ง หรอื
5.3 มือทงั้ สองขา้ ง

6. ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยที่ศีรษะอันเป็นเหตุให้เกิดความผิดปกติของ 15
ความรสู้ กึ ตัว และหรอื จิตฟน่ั เฟือนเปน็ เหตใุ หไ้ ม่สามารถปฏบิ ัติงานได้ และ
ไมส่ ามารถรกั ษาใหห้ ายไดห้ รอื วิกลจรติ

75

สวสั ดิการเกี่ยวกับการศกึ ษาของบตุ ร

หนงั สอื เวียนของกรมบญั ชกี ลาง

ที่ กค 0๔๒๒.3/ว ๒๕๗ ลงวันที่ 28 มิถุนายน ๒๕๕๙ เรื่อง ประเภทและอัตราเงินบำรุง
การศกึ ษาและคา่ เล่าเรียน

ตามหนังสือที่อ้างถึง กรมบัญชีกลางได้กำหนดประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาและ
ค่าเล่าเรียนตามมาตรา ๘ แห่งพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อให้ข้าราชการ ลูกจ้างประจำและผู้ได้รับเบี้ยหวัดบำนาญซึ่งเป็นผู้มีสิทธิสามารถนำหลักฐาน
การรบั เงินของสถานศึกษาของทางราชการและสถนศึกษาของเอกชนมาเบิกจา่ ยเงินสวสั ดิการเก่ียวกับการศึกษา
ของบุตรจากทางราชการได้ และแจง้ ให้สว่ นราชการทราบและถอื ปฏิบตั แิ ลว้ นัน้

กรมบัญชีกลาง ขอเรียนว่า เนื่องจากสถานศึกษามีรายการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เกี่ยวกับ
การศึกษาของบุตรเพิ่มขึ้น ทำให้ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาและค่าเล่าเรียน ไม่สอดคล้องกับ
สภาวการณ์ปัจจุบัน ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาภาระให้แก่ผู้มีสิทธิ จึงเห็นสมควรยกเลิกประเภทและอัตรา
เงินบำรุงการศึกษาและค่าเล่าเรียน ตามหนังสือที่อ้างถึง และได้กำหนดประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึ กษา
และคา่ เลา่ เรยี นใหม่ โดยไม่กำหนดรายการเปน็ ขอ้ ยกเว้น รวมทงั้ ปรับเพ่ิมอตั ราการเบิกจา่ ยเงินสวสั ดิการเก่ียวกับ
การศึกษาของบุตรในสถานศึกษาของทางราชการและสถานศึกษาของเอกชน ตามสิ่งที่ส่งมาด้วย ทั้งนี้ ให้ถือ
ปฏบิ ตั ิตัง้ แตป่ ีการศึกษา ๒๕๕๙ เป็นต้นไป

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและโปรดแจ้งให้เจา้ หน้าท่ที เ่ี กี่ยวข้องทราบและถือปฏิบตั ติ ่อไป

แนบหนงั สือกรมบัญชีกลาง ด่วนทส่ี ุด ที่ กค 0๔๒๒.๓/ว ๒๕๗ ลงวันที่ ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙

ประเภทและอัตราเงนิ บำรงุ การศกึ ษาในสถานศึกษาของทางราชการ

1. ระดับอนุบาลหรือเทยี บเทา่ ปกี ารศึกษาละไม่เกนิ ๕,๘๐๐ บาท

2. ระดบั ประถมศึกษาหรือเทยี บเท่า ปีการศึกษาละไมเ่ กิน ๔,๐๐๐ บาท

3. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หรือเทียบเท่า ปกี ารศึกษาละไม่เกิน ๔,๘๐๐ บาท

4. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย/หรือหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.)

หรอื เทียบเท่า ปีการศึกษาละไมเ่ กิน ๔,๘๐๐ บาท

5. ระดับอนุปริญญาหรือเทยี บเทา่ ปีการศกึ ษาละไมเ่ กนิ ๑๓,๗๐๐ บาท

6. ระดบั ปรญิ ญาตรี ปีการศึกษาละไมเ่ กิน ๒๕,๐๐๐ บาท

เงินบำรุงการศึกษา ทใ่ี หเ้ บิกจ่ายไดจ้ ะต้องเป็นเงนิ ประเภทต่าง ( ทสี่ ถานศึกษาของทางราชการเรียกเก็บตามอัตรา

ทไ่ี ด้รับอนุมตั ิจากกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนราชการเจ้าสังกดั หรือท่ีกำกับมหาวิทยาลัย องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด

เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมาย

จัดตง้ั หรือองค์การของรฐั บาล

76

ประเภทและอัตราเงินคา่ เล่าเรียนในสถานศกึ ษาของเอกชน ๑๓,๖๐๐ บาท
สถานศกึ ษาของเอกชนประเภทสามัญศึกษา ๑๓,๒๐๐ บาท
1. สถานศึกษาที่ไม่รบั เงินอุดหนุน ๑๕,๘๐๐ บาท
๑๖,๒๐๐ บาท
ค่าเล่าเรยี นปกี ารศกึ ษาละไม่เกิน
(๑) ระดับอนุบาลหรือเทียบเทา่ ๔,๘๐๐ บาท
(๒) ระดับประถมศึกษาหรอื เทยี บเทา่ ๔,๒๐๐ บาท
(๓) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นหรอื เทียบเท่า ๓,๓๐๐ บาท
(๔) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า ๓,๒๐๐ บาท
2. สถานศึกษาทร่ี ับเงินอุดหนนุ
ค่าเลา่ เรียนปกี ารศกึ ษาละไมเ่ กนิ ๑๖,๕๐๐ บาท
(๑) ระดับอนุบาลหรือเทียบเท่า ๑๙,๙๐๐ บาท
(๒) ระดับประถมศึกษาหรือเทยี บเท่า ๒๐,๐๐๐ บาท
(๓) ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นหรอื เทียบเท่า ๒๑,๐๐๐ บาท
(๔) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี บเท่า ๒๔,๔๐๐ บาท
สถานศึกษาของเอกชนประเภทอาชีวศกึ ษา ๒1,๑๐๐ บาท
1. หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) หรอื เทียบเท่า ๒1,๑๐๐ บาท
1.๑ สถานศึกษาทไี่ ม่รับเงินอุดหนนุ ๒๔,๔๐๐ บาท

คา่ เล่าเรียนปกี ารศึกษาละไม่เกนิ ในประเภทวชิ าหรอื สายวิชา ดังน้ี ๓,๔๐๐ บาท
(๑) คหกรรม หรือคหกรรมศาสตร์ ๕,๑๐๐ บาท
(๒) พาณิชยกรรม หรอื บริหารธรุ กจิ ๓,๖๐๐ บาท
(๓) ศิลปหัตถกรรม หรือศลิ ปกรรม ๕,๐๐๐ บาท
(๔) เกษตรกรรม หรือเกษตรศาสตร์ ๗,๒๐๐ บาท
(๕) ชา่ งอตุ สาหกรรม หรอื อตุ สาหกรรม ๕,๐๐๐ บาท
(๖) ประมง ๕,๑๐๐ บาท
(๗) อตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี ว
(๘) อุตสาหกรรมส่งิ ทอ
๑.๒ สถานศกึ ษาที่รบั เงินอุดหนุน
คา่ เลา่ เรยี นปีการศึกษาละไม่เกินในประเภทวิชาหรือสายวิชา ดงั น้ี
(๑) คหกรรม หรือคหกรรมศาสตร์
(๒) พาณิชยกรรม หรือบริหารธรุ กจิ
(๓) ศลิ ปหตั ถกรรม หรือศลิ ปกรรม
(๔) เกษตรกรรม หรอื เกษตรศาสตร์
(๕) ช่างอุตสาหกรรม หรืออตุ สาหกรรม
(๖) ประมง
(๗) อตุ สาหกรรมการท่องเท่ยี ว

77

(๘) อตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ ๗,๒๐๐ บาท

2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค

(ปวท.) หรือเทียบเท่า ใหเ้ บกิ ได้คร่ึงหนึ่งของจำนวนท่ีจ่ายจริงของค่าเล่าเรียนปีการศึกษาละไม่เกินในประเภทวิชา

หรือสายวิชา ดังนี้

(๑) ช่างอุตสาหกรรม หรอื อุตสาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ทศั นศาสตร์ ๓๐,๐๐๐ บาท

(๒) พาณิชยกรรม หรือบริหารธรุ กิจ ศิลปหตั ถกรรม หรอื ศลิ ปกรรม ๒๕,๐๐๐ บาท

เกษตรกรรม หรือเกษตรศาสตร์คหกรรม หรอื คหกรรมศาสตร์

อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทีย่ ว

สำหรับรายละเอียดของสาขาวชิ าตามประเภทวิชาหรือสายวชิ าของหลกั สูตรทก่ี ำหนดดังกล่าวใหเ้ ป็นไปตามท่ี

กระทรวงศกึ ษาธิการได้อนญุ าตให้สถานศึกษาเอกชนทำการเปดิ สอนในสาขาวชิ านั้น ๆ

3. หลักสูตรระดบั ปริญญาตรี

ให้เบกิ จา่ ยได้ครึ่งหน่ึงของจำนวนทไ่ี ดจ้ า่ ยไปจริงของค่าเล่าเรียน ปกี ารศึกษาละไมเ่ กิน ๒๕,๐๐๐ บาท

ค่าเล่าเรียน ที่ให้เบิกจ่ายได้จะต้องเป็นค่าธรมเนียมการเรียนหรือค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ซึ่งสถานศึกษาเอกชน

เรยี กเกบ็ ตามอตั ราทไี่ ด้รบั อนุมัติจากกระทรวงศึกษาธกิ าร หรอื มหาวทิ ยาลัย

ที่ กค 0๔08.5/ว ๒2 ลงวันที่ 12 มกราคม ๒๕61 เรื่อง ประเภทและอัตราเงินค่าเล่าเรียน

ในสถานศึกษาของเอกชนประเภทอาชวี ศึกษา

ตามหนังสือที่อ้างถึง กระทรวงการคลังได้กำหนดประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษา และ

คา่ เลา่ เรยี น เพื่อให้ผู้มีสิทธิสามารถนำมาเบิกจา่ ยจากทางราชการได้ ตามมาตรา ๘ แหง่ พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการ

เก่ยี วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ และท่ีแก้ไขเ่ พม่ิ เติม น้ัน

กรมบัญชกี ลางพจิ ารณาแลว้ เหน็ วรกำหนดประเภทและอตั ราเงินคา่ เลา่ เรยี นในสถานศกึ ษาของ

เอกชนประเภทอาชีวศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖

ทก่ี ระทรวงศึกษาประกาศใช้ โดยกำหนดหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) หรอื เทยี บเท่า ประเภทวิซาหรือ

สายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพมิ่ เตมิ ดงั นี้

1. สถานศกึ ษาท่ีไมร่ ับเงินอุดหนนุ คา่ เล่าเรยี นปกี ารศกึ ษาละไมเ่ กนิ ๒๒,๙๐๐ บาท

๒. สถานศึกษารบั เงินอุดหนุน คา่ เลา่ เรยี นปกี ารศึกษาละไม่เกนิ ๕,๘๐๐ บาท

ทง้ั นี้ ตั้งแตภ่ าคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ เปน็ ต้นไป

กรณีที่บุตรของผู้มีสิทธิได้ศึกษาในหลักสูตรการศึกษาดังกล่าวข้างต้นและได้ชำระค่าเล่าเรียน

ก่อนวันที่หนังสือเวียนฉบับนี้ใช้บังคับ และผู้มีสิทธิได้นำหลักฐานการรับเงินของสถานศึกษามายื่นขอเบิกจาก

ทางราชการเกินระยะเวลาที่กำหนดตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ

การศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๖0 ข้อ ๑0 ให้ส่วนราชการอนุมัติเบิกจา่ ยเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

ใหแ้ กผ่ ูม้ ีสิทธิไดต้ ามประเภทและอัตราเงนิ คา่ เลา่ เรียนดังกล่าว โดยไม่ตอ้ งขอทำความตกลงกบั กระทรวงการคลัง

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ และแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทท่ี ่เี กี่ยวข้องทราบและถือปฏิบตั ติ ่อไป

78

ขอ้ บังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ท่ี 177
ว่าดว้ ยสวัสดิการเกี่ยวกบั การศึกษาของบุตร พ.ศ. 2557
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (1) และมาตรา 29 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การ
ขนส่งมวลชนกรุงเทพ พ.ศ.2519 และมติคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การ ครั้งที่ 62557 เมื่อวันที่ 29
เมษายน 2557 จึงให้ออกขอ้ บงั คบั ไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ 1 ข้อบงั คบั น้เี รียกวา่ ข้อบงั คับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ท่ี 177 ว่าด้วยสวัสดิการ
เกี่ยวกบั การศึกษาของบุตร พ.ศ. 2557
ข้อ 2 ให้ใช้ข้อบังคบั น้ดี งั้ แต่บดั น้เี ป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลกิ ขอ้ บงั คับองค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ดงั ตอ่ ไปนี้
3.1 ฉบบั ที่ 38 ว่าดว้ ยสวสั ดิการของพนกั งาน พ.ศ. 2522
3.2 ฉบบั ท่ี 50 ว่าด้วยสวัสดิการของพนักงาน (แก้ไขเพิม่ เติม ครั้งที่ 1) พ.ศ.2522
3.3 ฉบบั ที่ 58 วา่ ด้วยสวสั ดิการของพนกั งาน (แก้ไขเพม่ิ เตมิ ครงั้ ที่ 2) พ.ศ.2522
3.4 ฉบบั ที่ 76 วา่ ดว้ ยสวสั ดิการของพนกั งาน (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ครั้งท่ี 5) พ.ศ.2522
3.5 ฉบบั ที่ 80 วา่ ดว้ ยสวสั ดิการของพนกั งาน (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ คร้งั ที่ 7) พ.ศ.2534
3.6 ฉบับที่ 83 ว่าด้วยสวสั ดิการของพนกั งาน (แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ 8) พ.ศ.2535
3.7 ฉบับท่ี 107 ว่าด้วยสวสั ดกิ ารของพนักงาน (แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ) พ.ศ.2540
3.8 ฉบับท่ี 120 วา่ ด้วยสวัสดิการของพนักงาน (แก้ไขเพิ่มเตมิ ครั้งท่ี 2) พ.ศ.2542
3.9 ฉบับที่ 137 ว่าดว้ ยสวัสดิการของพนักงาน (แกไ้ ขเพมิ่ เติม ครั้งท่ี 4) พ.ศ.2549
3.10 ฉบบั ที่ 145 วา่ ด้วยสวัสดิการของพนักงาน (แก้ไขเพิ่มเติม คร้ังท่ี 5) พ.ศ.2551
3.11 ฉบบั ที่ 149 วา่ ดว้ ยสวัสดกิ ารของพนกั งาน (แกไ้ ขเพิม่ เติม ครัง้ ท่ี 5) พ.ศ.2551
ท้ังนี้ ระเบยี บ และคำสัง่ อ่นื ใดทขี่ ดั หรือแย้งกับข้อบังคบั นใี้ ห้ใชข้ อ้ บังคบั นีแ้ ทน
ข้อ 4 ในข้อบังคบั นี้
"องคก์ าร" หมายความว่า องคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ
"ผู้อำนวยการ" หมายความวา่ ผู้อำนวยการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
"คณะกรรมการ" หมายความวา่ คณะกรรมการสวัสดิการ
"พนักงาน" หมายความว่า พนักงานประจำประเภทรายเดือนและรายวนั
"เงินเดือน" หมายความว่า อัตราเงินเดือนสำหรับพนักงานประจำรายเดือนและลูกจ้าง
ชั่วคราวที่จ่ายเป็นรายเดือน แต่ไมร่ วมเงนิ เพิ่มอยา่ งอื่น
"ค่าจ้าง" หมายความว่า อตั ราค่าจ้างรายวันจำนวน 26 วัน แต่ไมร่ วมเงนิ เพิ่มอยา่ งอ่ืน
"สถานศกึ ษาของทางราชการ" หมายความว่า
(1) มหาวิทยาลัยหรอื สถาบันอุดมศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
หรอื สว่ นราชการอน่ื หรอื ท่อี ย่ใู นกำกบั ของรัฐ
(2) วทิ ยาลัยหรือสถานศึกษาที่เรียกชือ่ อย่างอืน่ ซ่งึ มีฐานะเทียบเท่าวิทยาลัยในสังกัดหรือ
อยใู่ นกำกบั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรอื ส่วนราชการอื่นท่ี ก.พ. รบั รองคุณวุฒิ

79

(3) โรงเรียนในสังกัดหรืออยู่ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การส่วนบริหารตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถนิ่ ทีม่ กี ฎหมายจดั ตัง้ และให้หมายความรวมถงึ โรงเรียนทเี่ รียกชอ่ื อยา่ งอืน่ ท่ีมีการจัดระดบั ช้ันเรียนดว้ ย

(4) โรงเรยี นในสงั กดั หรืออยู่ในกำกับของสว่ นราชการอื่น หรือองค์การของรัฐบาลท่ี ก.พ.
รบั รองคณุ วฒุ ิ

(5) โรงเรียนในสงั กัดส่วนราชการที่กระทรวงการคลงั กำหนด
(6) สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยทม่ี กี ารจัดระดับช้นั เรยี นในสังกัดสว่ นราชการ
"สถานศึกษาเอกชน" หมายความวา่
(1) สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถาบันอดุ มศึกษาเอกชน
(2) โรงเรียนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนที่จัดการศึกษาในระบบโรงเรียน และ
ใหร้ วมถงึ โรงเรียนนานาชาติ
"เงินบำรุงการศึกษา" หมายความว่า เงินประเภทต่าง ๆ ที่สถานศึกษาของทางราชการ
เรียกเก็บตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนราชการเจ้าสังกัด หรือที่กำกับ มหาวิทยาลัย
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ อ่ืนท่มี กี ฎหมายจดั ตัง้ หรอื องค์การของรฐั บาล
"เงินค่าเล่าเรียน" หมายความว่า เงินค่าธรรมเนียมการเรียนหรือค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
ซ่ึงสถานศกึ ษาของเอกชนเรยี กเก็บตามอตั ราทไี่ ด้รบั อนุมัติจากกระทรวงศึกษาธกิ าร
"บุตร" หมายความวา่ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของพนกั งาน
"ปีการศกึ ษา" หมายความว่า ปกี ารศกึ ษาทกี่ ำหนดโดยกระทรวงศึกษาธกิ าร สว่ นราชการ
เจา้ สังกดั หรือที่กำกบั มหาวทิ ยาลัย องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เทศบาล องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล กรงุ เทพมหานคร
เมอื งพทั ยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อื่นทม่ี ีกฎหมายจัดตัง้ หรอื องคก์ ารของรัฐบาล
ขอ้ 5 การเบกิ จ่ายเงินค่าการศึกษาของบตุ รตามข้อบงั คับน้ี พนักงานผูม้ ีสิทธิจะต้องยื่นคำขอต่อ
ผู้บังคับบัญชาช้ันต้น ภายในกำหนด 1 ปี ให้นับแต่วันท่ีจ่ายเงินให้แก่สถานศึกษา มิฉะนั้นถือว่าสละสทิ ธิ์ เว้นแต่
คณะกรรมการสวสั ดกิ ารจะผ่อนผันใหเ้ ฉพาะบางรายโดยมเี หตผุ ลสมควร
ขอ้ 6 พนกั งานผใู้ ดรายงานขอเบิกเงินค่าการศึกษาของบุตรตามข้อบังคับนเี้ ป็นเท็จ นอกจากจะ
ถือว่าเป็นการกระทำผิดวนิ ัยอย่างร้ายแรงของพนกั งานแลว้ ยงั อาจถูกตัดสิทธเิ กี่ยวกับเงินช่วยเหลือค่าการศึกษา
ของบุตรตามข้อบังคับนีภ้ ายในระยะเวลาที่ผูอ้ ำนวยการกำหนด
ในกรณดี ังกลา่ วในวรรคแรก ถ้าพนกั งานได้รับการชว่ ยเหลือไปแล้วใหช้ ดใช้คืนทั้งหมดพร้อมท้ัง
ดอกเบีย้ ร้อยละสบิ หา้ ตอ่ ปโี ดยพลนั
ข้อ 7 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า "คณะกรรมการสวัสดิการ" ซึ่งผู้อำนวยการแต่งต้ัง
จากพนักงานประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน รองประธานกรรมการ 1 คน ผู้แทนสหภาพแรงงาน
รัฐวิสาหกิจองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เป็นกรรมการ 1 คน และกรรมการอ่ืน ๆ ไม่นอ้ ยกวา่ 7 คน แต่ไม่เกิน
12 คน โดยมีหวั หน้างานสวัสดิการ เป็นกรรมการและเลขานกุ าร
ขอ้ 8 คณะกรรมการมีอำนาจหนา้ ท่ี ดังนี้
8.1 พจิ ารณาวินิจฉยั ชข้ี าดปัญหาเกีย่ วกับสวสั ดิการตา่ ง ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคบั นี้

80

8.2 พจิ ารณาเรือ่ งทมี่ ีปญั หาทงั้ ขอ้ เท็จจรงิ และการตีความของข้อบงั คบั นี้
8.3 พจิ ารณาเรอ่ื งอ่ืน ๆ ทป่ี ระธานกรรมการเห็นสมควรเสนอให้คณะกรรมการพจิ ารณา
คำวินิจฉยั ของคณะกรรมการถือเปน็ ท่ีสุด
ข้อ 9 ให้ประธานกรรมการเป็นประธานที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่หรือไม่สามารถ
เข้าร่วมประชุมได้ให้รองประธานกรรมการทำหน้าที่แทน ถ้าทั้งประธานและรองประธานไม่อยู่หรือไม่อาจเข้า
รว่ มประชุมได้ กใ็ ห้กรรมการเลอื กกันเองทำหนา้ ท่เี ปน็ ประธานช่วั คราว
ในการประชมุ แต่ละครั้งตอ้ งมีกรรมการมาประชมุ ไม่น้อยกว่าก่งึ หนง่ึ ของกรรมการทั้งหมด จึงจะ
เป็นองค์ประชมุ
การลงคะแนนเสียงของคณะกรรมการเกี่ยวกับปัญหาใด ๆ โดยให้ถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์
ในการลงมติ ถา้ มีเสยี งเทา่ กันให้ประธานของท่ีประชมุ ออกเสียงชี้ขาด
ข้อ 10 พนักงานท่มี ีบุตรมีสิทธไิ ด้รับเงินสวสั ดิการเก่ยี วกับการศกึ ษาของบุตร ได้เพียงคนที่หน่ึง
ถงึ คนท่ีสาม เว้นแต่
10.1 บุตรนั้นมีอายุต่ำกว่าสามปีบริบูรณ์ หรือเกินกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ในวันที่
1 พฤษภาคมของทกุ ปี
10.2 บตุ รนน้ั เป็นบตุ รบุญธรรม
10.3 บตุ รน้นั บดิ ามารดาได้ยกใหเ้ ปน็ บุตรบญุ ธรรมของผอู้ ่นื ไปแลว้
10.4 บุตรนั้นมีรายได้ของตนเองและอยู่ในฐานะที่จะจ่ายเงินเกี่ยวกับการศึกษาของ
ตนเองได้
การนับลำดบั บุตรคนทีห่ น่งึ ถึงคนทส่ี าม ใหน้ บั เรียงลำดบั การเกิดกอ่ นหลงั ท้ังนี้ไม่ว่าบุตร
ท่ีเกดิ จากการสมรสครั้งใด หรืออยู่ในอำนาจปกครองของตนตามกฎหมายหรือไม่ และไมว่ ่าจะเปน็ บตุ รท่ีเกิดก่อน
หรือหลงั การเป็นพนกั งาน
ในกรณีที่พนักงานผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรครบจำนวน
สามคนแล้ว ตอ่ มาบตุ รคนหน่งึ คนใดในจำนวนนั้นตายลงก่อนอายุครบย่ีสิบห้าปีบริบูรณ์ ก็ให้พนักงานผู้น้ันมีสิทธิ
ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรเพิ่มขึ้นอีกเท่าจำนวนบุตรที่ตายนั้น โดยให้นับบุตรคนที่อยู่ลำดับ
ถัดลงไปขน้ึ มาแทนที่
ข้อ 11 พนักงานผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ผู้ใดยังไม่มีบุตรหรือ
มีบุตรที่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรยังไม่ถึงสามคน ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทำให้จำนวน
บุตรเกินสามคน ให้พนักงานผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร สำหรับบุตรคนที่หนึ่งถึง
คนสุดท้าย แต่บุตรแฝดดังกล่าวจะต้องเป็นบุตรที่เกิดจากคู่สมรสหรือเป็นบุตรของตนเองในกรณีที่หญิงเป็นผู้ใช้
สทิ ธเิ บิกเงินสวสั ดิการเก่ยี วกับการศกึ ษาของบุตร
ในกรณที บ่ี ุตรคนใดคนหน่ึงของพนักงานผู้มสี ิทธิ ได้รบั เงนิ สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร
ดังกล่าว ตามวรรคหนึง่ ตายลงกอ่ นมีอายคุ รบยี่สิบห้าปบี รบิ ูรณ์ ก็ให้ลดจำนวนบุตรที่ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาของบุตรลง จนกว่าจำนวนบุตรที่ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรเหลือไม่เกินสามคน
และหลังจากนั้นผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรดังกล่าว จึงจะมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ
เก่ียวกบั การศกึ ษาของบตุ รเพิ่มขึน้

81

เพื่อประโยชน์แห่งข้อบังคับนี้ ข้อความที่อ้างถึงบุตรคนที่หนึ่งถึงคนที่สามของพนักงานผู้มีสิทธิ
ได้รับเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ให้หมายถึงบตุ รคนทีห่ นึ่งถงึ คนสุดท้ายของพนักงานผู้มีสิทธิได้รับ
เงินสวสั ดิการเก่ยี วกับการศึกษาของบุตรตามวรรคหน่งึ

การนับลำดับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดท้ายในกรณีที่ไม่อาจทราบลำดับการเกิดก่อนหลังของ
บตุ รแฝดไดโ้ ดยแน่ชัด ใหน้ ับลำดับบุตรแฝดตามหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลงั กำหนด

ข้อ 12 ใหพ้ นักงานไดร้ บั การช่วยเหลือเก่ยี วกบั การศกึ ษาของบุตรตามหลักเกณฑแ์ ละอัตราดังนี้
12.1 บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการในหลักสูตรระดับไม่สูงกว่าอนุปริญญา

หรือเทียบเท่าและหลักสูตรนั้นแยกต่างจากหลักสูตรปริญญาตรี ให้ได้รับเงินบำรุงการศึกษาเต็มจำนวนที่ได้จ่าย
ไปจรงิ แตท่ งั้ นี้ ตอ้ งเปน็ ไปตามประเภทและไม่เกินอตั ราท่ีกระทรวงการคลังกำหนด

12.2 บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้รับ
เงินบำรุงการศึกษาเต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประเภทและไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลัง
กำหนด

12.3 บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชนในหลักสูตรระดับไม่สูงกว่ามัธยมศึกษา
ตอนปลายหรือเทียบเท่า ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียนและเงินค่าธรรมเนียมเต็มจำนวนที่ได้ง่ายไปจริง แต่ทั้งน้ี
ตอ้ งเปน็ ไปตามประเภทและไม่เกนิ อตั ราท่ีกระทรวงการคลังกำหนด

12.4 บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชนในหลักสูตรระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาตอน
ปลายหรือเทียบเท่า แต่ไม่สูงกว่าระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า และหลักสูตรนั้นแยกต่างหากจากหลักสูตร
ระดบั ปริญญาตรี ใหไ้ ด้รับเงนิ ค่าเล่าเรยี นและเงินคา่ ธรรมเนยี มครง่ึ หนงึ่ ของจำนวนที่จา่ ยไปจริง แตท่ ง้ั น้ี ต้องเป็น
ไปตามประเภทและไม่เกนิ อัตราที่กระทรวงการคลงั กำหนด

12.5 บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้เงิน
คา่ เลา่ เรยี นคร่ึงหนงึ่ ของจำนวนทจี่ ่ายไปจริง แต่ท้งั นี้ ต้องเปน็ ไปตามประเภทและไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลัง
กำหนด

ทั้งนี้ บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการหรือเอกชนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีตาม
ขอ้ 12.2 12.5 ต้องเปน็ การศึกษาในระดับปริญญาตรเี ปน็ หลกั สูตรแรกเทา่ นนั้

การเบกิ จา่ ยเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาบุตรดังกล่าว ใหถ้ ือปฏิบัตใิ นลักษณะเหมาจ่ายท้ังปี
การศึกษาซึ่งค่าใช้จ่ายที่จะเบิกจ่ายได้จะต้องเป็นค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่สถานศึกษาได้รับอนุมัติให้เรียกเก็บตาม
ระเบยี บ ข้อบังคบั หรอื ประกาศของสถานศกึ ษาน้นั ๆ

ข้อ 13 ในภาคการศึกษาหนึ่ง ๆ ถ้าพนักงานคนใดไดจ้ ่ายเงินค่าบำรุงการศึกษาและหรือค่าเล่าเรียน
ของบุตรคนเดียวกันใหแ้ ก่สถานศึกษาเกนิ หนึ่งแหง่ ขนึ้ ไปพนักงานผู้นัน้ จะรับเงนิ ชว่ ยเหลือน้ี ได้เพียงแห่งเดียว

ขอ้ 14 หากพนักงานและค่สู มรสมีสิทธิไดร้ ับเงินสวัสดิการของบุตรท้ังสองฝ่าย ให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
เป็นผู้ใช้สิทธิขอรับเงินสวัสดิการของบุตร ได้แม้จะมิได้เป็นฝ่ายที่ปกครองบุตรหรืออุปการะเลี้ยงดูบุตรของตน
โดยผใู้ ชส้ ทิ ธิขอรับเงินสวัสดิการสำหรบั บตุ ร ของตนจะต้องรับรองตนเองว่าเป็นผู้ใช้สทิ ธแิ ตฝ่ ่ายเดียว

พนักงานผู้ใดหย่าขาดจากคู่สมรสหรือแยกกันอยู่โดยมิได้หย่ากันตามกฎหมายกับคู่สมรส
พนกั งานสามารถใช้สิทธขิ อรับเงนิ สวสั ดิการของบุตรตนได้แมจ้ ะมิไดเ้ ป็นฝ่ายปกครองหรืออปุ การะเลีย้ งดูบุตรของตน

82

พนักงานผู้ใดมีคู่สมรสที่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการของบุตรจากหน่วยงานอื่น เมื่อหย่าหรือแยกกัน
โดยมิได้หย่ากันตามกฎหมายแม้พนักงานจะมิได้เป็นฝ่ายปกครองหรืออุปการะเลี้ยงดูบุตรพนักงาน สามารถใช้
สิทธิขอรบั เงนิ สวสั ดิการของบุตรเฉพาะสว่ นที่ต่ำกว่าสทิ ธิที่พงึ จะไดร้ บั ตามท่ีกำหนดไว้ในขอ้ บังคับ

ทง้ั นี้การใช้สิทธิหรือเงินสวสั ดิการดังกล่าวคร้ังแรกในแต่ละกรณีให้เรียกเก็บเอกสารเพื่อประกอบ
การเบกิ จ่ายโดยกรณีท่มี ีการหยา่ กนั ตามกฎหมายให้แนบสำเนาทะเบียนการ หย่าพร้อมบนั ทกึ การหยา่ ส่วนกรณี
ทแี่ ยกกนั อยโู่ ดยมิได้หย่ากันตามกฎหมายให้แนบทะเบียนสมรส

กรณีที่คู่สมรสของพนักงานเป็นข้าราชการ ให้พนักงานเป็นผู้ใช้สิทธิเบิกสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาบตุ ร

กรณีที่สามีของพนักงานเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจอื่น ให้ฝ่ายสามีใช้สิทธิเบิกก่อน หากสิทธิ
ที่ได้รับจากฝ่ายสามีต่ำกว่าสิทธิพนักงานจะได้รับจากองค์การ ให้พนักงานใช้สิทธิเบิกเพิ่มเติมเฉพาะส่วนต่าง
ทพ่ี ึงจะได้รับตามขอ้ บังคับน้ี

ข้อ 15 ใหผ้ ูอ้ ำนวยการมอี ำนาจออกระเบยี บเพ่ือปฏบิ ัตกิ ารให้เป็นไปตามข้อบังคบั น้ี
ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 6 เดือนมิถุนายน พุทธศักราช 2557

83

สวัสดิการชดุ ทำงาน

ระเบียบองค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ
ว่าด้วย การใหส้ วสั ดิการแกพ่ นักงานดว้ ยการแจกผ้าสำหรับตัดเครือ่ งแบบให้แก่พนักงาน พ.ศ. ๒๕๖๓

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๖(๒) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
พ.ศ. ๒๕๑๙ จึงใหอ้ อกระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ว่าด้วย การให้สวัสดิการแก่
พนักงานดว้ ยการแจกผ้าสำหรบั ตัดเคร่ืองแบบให้แก่พนักงาน พ.ศ. ๒๕๖๓

ขอ้ ๒ ระเบยี บนใ้ี ห้ใชต้ ง้ั แตบ่ ัดน้ีเป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ว่าด้วย การแจกผ้าสำหรับตัดเครื่องแบบ
ให้แก่พนักงาน พ.ศ. ๒๕๒๓ และระเบียบใด ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องการแจกผ้าสำหรับตัดเครื่องแบบให้แก่พนักงาน
เสยี ทง้ั สนิ้ รวมทงั้ บรรดาขอ้ ความและคำส่ังอื่นใดขัดหรือแย้งกับระเบียบน้ี ให้ใชร้ ะเบยี บนแี้ ทน
ขอ้ ๔ ในระเบยี บน้ี

"องค์การ" หมายความวา่ องคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ
"ผอู้ ำนวยการ" หมายความว่า ผอู้ ำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
"พนักงาน" หมายความวา่ บุคคลที่องค์การได้ออกคำสั่งแต่งตั้งให้เป็นพนักงานหรือ
พนกั งานทีท่ ดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีครบ ๑๒๐ วนั และมีสทิ ธไิ ดร้ ับการแตง่ ต้ังเป็นพนักงาน
ข้อ ๕ เพื่อให้พนักงานได้แต่งเครื่องแบบเป็นระเบียบเรียบร้อยทั่วกัน และเป็นสวัสดิการให้แก่
พนักงานองค์การจะแจกผ้าสำหรับตัดเครื่องแบบให้แก่พนักงาน คนละ ๒ ชุด ต่อปีงบประมาณหนึ่ง ๆ ส่วนค่าตัด
ให้พนักงานเป็นผู้ออกเอง
พนักงานในปีงบประมาณใดยอ่ มได้สิทธิตามวรรคหนึง่ ในปงี บประมาณน้นั
ข้อ ๖ สำหรับผ้าที่จะแจกให้แก่พนักงานให้เป็นไปตามข้อบังคับปัจจุบัน ว่าด้วยเครื่องแบบ
พนกั งานองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ทอี่ งค์การกำหนดไว้ หรือข้อบังคับที่องคก์ ารได้กำหนดขน้ึ ในอนาคต
ข้อ 7 การแจกผ้าสำหรับตัดเครื่องแบบประจำปี ให้แจกตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม และไม่เกินวันที่
๓๑ มีนาคมของปีงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้างให้ดำเนินการตามกระบวนการพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖o หรือที่จะแก้ไขเพิ่มเติม กรณีจำเป็นและเหมาะสมองค์การอาจให้แจก
เปน็ เงิน โดยใหจ้ า่ ยเงินแกพ่ นกั งานตามราคากลางในการจัดซ้ือจดั จา้ งในครง้ั น้ันกไ็ ด้
ประกาศ ณ วันท่ี 27 เดอื นกุมภาพนั ธ์ พทุ ธศกั ราช 2563

84

สิทธิและสวัสดิการ การลา การมาทำงาน และค่าตอบแทน

ข้อบังคับองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 188
ว่าดว้ ย การเล่อื นข้นั เงนิ เดือนและค่าจ้างพนักงาน พ.ศ. 2562
เนื่องจากข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 168 ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือน
และค่าจ้างพนักงาน พ.ศ. 2555 ที่ประกาศใช้ในปัจจุบัน มีข้อความและแนวทางการปฏิบัติยังไม่สอดคล้องกับ
การดำเนนิ งานตามนโยบายขององค์การในปัจจุบนั เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านขององค์การดำเนินการเปน็ ไปด้วยความ
เรยี บร้อย และสอดคล้องกบั นโยบายขององค์การ เหน็ สมควรปรับปรงุ และแก้ไขขอ้ บงั คบั ฉบบั ดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (3) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชน
กรงุ เทพ พ.ศ. 2519 คณะกรรมการบรหิ ารกิจการองค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ จงึ ใหอ้ อกขอ้ บังคบั ไว้ดังต่อไปน้ี

หมวด 1
ขอ้ ความท่ัวไป
ข้อ 1 ข้อบงั คับนเ้ี รยี กว่า ข้อบังคบั องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 188 วา่ ดว้ ยการเล่ือน
ข้ันเงนิ เดือนและคา่ จ้างพนกั งาน พ.ศ. 2562
ข้อ 2 ข้อบงั คับนใี้ ห้ใช้ต้งั แต่บัดนีเ้ ป็นต้นไป
ขอ้ 3 ใหย้ กเลิกข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 168 ว่าดว้ ยการเล่อื นข้ันเงินเดือน
และค่าจ้างพนักงาน พ.ศ. 2555
ท้งั น้ี ระเบยี บ และคำสั่งอ่นื ใดทข่ี ัดแยง้ กับข้อบังคับนใี้ ห้ใชข้ ้อบังคับน้ีแทน
ข้อ 4 ในข้อบงั คับน้ี
"คณะกรรมการ" หมายความวา่ คณะกรรมการซึ่งผ้อู ำนวยการแต่งต้ังขึน้ ตามขอ้ บังคับนี้
"องคก์ าร" หมายความวา่ องค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ
"ผู้อำนวยการ" หมายความว่า ผอู้ ำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
"พนกั งาน" หมายความว่า พนักงานองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
"เงนิ เดอื น" หมายความวา่ อตั ราเงนิ เดือนสำหรบั พนักงานประจำรายเดอื น และลกู จ้างชั่วคราว
ที่จ่ายเป็นรายเดอื น ทงั้ น้ีไม่รวมเงนิ เพม่ิ อยา่ งอน่ื
"ค่าจา้ ง" หมายความว่า อตั ราค่าจา้ งรายวัน ทัง้ น้ไี ม่รวมเงินเพมิ่ อยา่ งอ่ืน
"ปีงบประมาณ" . หมายความวา่ ระยะเวลาตงั้ แตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคมของปี ถงึ วันท่ี 30 กนั ยายน
"ปีพิจารณาผลการปฏิบัตงิ าน" หมายความว่า ระยะเวลาตัง้ แต่วันที่ 1 กรกฎาคมของปี ถึงวันที่
30 มิถนุ ายนของปีถัดไป

หมวด 2
คณะกรรมการพจิ ารณาเลอื่ นขน้ั เงนิ เดอื นและคา่ จ้าง
ข้อ 5 ให้มีคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้าง ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ
เป็นประธานกรรมการ รองผอู้ ำนวยการเป็นกรรมการ โดยมผี อู้ ำนวยการสำนกั การเจา้ หนา้ ท่ีเป็นเลขานกุ าร
ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อช่วยการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ
ได้ตามความจำเป็น โดยเฉพาะการพิจารณาในพนักงาน ระดับ 3 ลงมา ให้มีผู้แทนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ
เขา้ รว่ มด้วย

85

คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่พิจารณาเล่ือนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างพนักงาน ให้เป็นไปตาม
ข้อบังคับนี้

ข้อ 6 พนักงานในตำแหน่ง รองผู้อำนวยการ (ระดับ 10) ผู้ช่วยผู้อำนวยการ (ระดับ 9)
ผู้อำนวยการสำนัก (ระดบั 8) ผตู้ รวจการ (ระดบั 8) ที่ขึ้นตรงตอ่ ผอู้ ำนวยการ ให้ผู้อำนวยการเสนอขอความเห็นชอบ
ในการเลอื่ นขั้นเงนิ เดอื นและค่าจา้ งจากคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพกอ่ น

หมวด 3
หลกั เกณฑ์การเล่ือนขน้ั เงนิ เดือนและคา่ จ้าง
ข้อ 7 การเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างประจำปีของพนักงานและลกู จ้าง ให้กระทำได้หนึ่งคร้ัง
ในรอบปีงบประมาณหนงึ่
ข้อ 8 พนักงานเก็บค่าโดยสารที่เปลี่ยนหน้าท่ีเปน็ พนักงานขับรถ และได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือน
และค่าจ้างตามมาตรการจูงใจขององค์การแล้ว หากมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่จะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น
เงนิ เดือนและคา่ จ้างประจำปี ใหม้ สี ิทธ์ิได้รบั การพจิ ารณาเล่ือนขนั้ เงินเดือนและคา่ จา้ งประจำปีได้ดว้ ย
ข้อ 9 การพิจารณาความดีความชอบ เพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างประจำปีของพนักงาน
และลูกจา้ ง แบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะ ดังนี้
9.1 พิจารณาไมเ่ ลื่อนขน้ั เงนิ เดือนและคา่ จ้าง
9.2 พจิ ารณาเลื่อนขั้นเงนิ เดือนและค่าจา้ งใหไ้ มเ่ กนิ 1 ขน้ั
9.3 พิจารณาเลือ่ นขั้นเงินเดือนและค่าจ้างให้เปน็ กรณีพิเศษเกินกว่า 1 ขัน้ แต่ไมเ่ กนิ 2 ขั้น
ข้อ 10 การเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้าง ให้เลื่อนได้ไม่เกินขั้นสูงของเงินเดือนและค่าจ้าง
สำหรับตำแหน่งนั้น ๆ พนักงานที่ได้รับเงินเดือนและค่าจ้างเท่ากับหรือสูงกว่าขั้นสูงของเงินเดือนและค่าจ้าง
สำหรับตำแหน่งทด่ี ำรงอยแู่ ลว้ จะเล่อื นขัน้ มิได้
ข้อ 11 การพิจารณาความดีความชอบเพื่อเล่ือนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างพนักงาน ให้พิจารณา
ผลการปฏิบัตงิ าน ตั้งแตว่ นั ที่ 1 กรกฎาคมของปี ถึงวนั ท่ี 30 มิถนุ ายนของปถี ัดไป
ข้อ 12 จำนวนของผู้มีสิทธิได้รบั การเลือ่ นข้ันเงนิ เดือนและค่าจ้าง เปน็ กรณีพเิ ศษเกินกว่า 1 ขน้ั
แต่ไม่เกิน 2 ขั้น ให้มีจำนวนไม่เกินร้อยละ 15 ของจำนวนพนักงานแต่ละกลุ่มที่ยังเป็นพนักงานอยู่ ณ วันท่ี
1 กรกฎาคมของแต่ละปี โดยแบ่งกลุ่มเปน็ ดังน้ี
12.1 พนกั งานในตำแหนง่ รองผู้อำนวยการ (ระดบั 10) ผชู้ ว่ ยผู้อำนวยการ (ระดบั 9)
และตำแหน่งเทยี บเท่า
12.2 พนักงานในตำแหน่งผู้ตรวจการ ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการเขต (ระดับ 8
และตำแหนง่ เทียบเทา่
12.3 พนักงานในตำแหนง่ ผตู้ รวจการ ผชู้ ว่ ยผู้อำนวยการสำนกั ผู้ช่วยผอู้ ำนวยการเขต
หัวหน้ากลมุ่ งาน หวั หน้างาน (ระดบั 7 - 5) และตำแหนง่ เทยี บเท่า
12.4 พนกั งานในตำแหน่ง ระดบั 4 - 1 และตำแหน่งเทียบเท่า
12.5 พนกั งานในตำแหน่งผูจ้ ัดการสาย ผู้ชว่ ยผูจ้ ดั การสาย นายท่า นายตรวจ พนักงานขับรถ
พนกั งานเกบ็ ค่าโดยสาร และตำแหน่งเทยี บเท่า

86

ผ้มู สี ิทธเิ ลอื่ นขน้ั เงนิ เดอื นและค่าจ้างเป็นกรณีพเิ ศษมากกว่า 1 ขัน้ แต่ไม่เกนิ 2 ข้นั ของกลุ่มใด
เมื่อคำนวณจำนวนคนตามร้อยละแล้วได้ไม่ถึง 1 คน ให้พนักงานกลุ่มนั้นมีสิทธิเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างได้
เป็นกรณีพเิ ศษ 1 คน หรอื เมอื่ คำนวณแลว้ ได้จำนวนเตม็ แต่มีเศษทศนยิ มตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป ใหป้ ัดเศษเป็น 1 คน
แต่ถ้ามีเศษทศนิยมไม่ถึง .50 ให้ตัดเศษทศนิยมทิ้ง แต่ทั้งนี้เมื่อรวมจำนวนผู้มีสิทธิเลื่อนขั้นเงนิ เดอื นและค่าจ้าง
เป็นกรณีพิเศษเกินกว่า 1 ขั้น แต่ไม่เกิน 2 ขั้น ของทุกกลุ่มแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของจำนวนพนักงาน
ท้งั หมดขององค์การที่ยังเปน็ พนักงานอยู่

หมวด 4
การพจิ ารณาเล่ือนขน้ั เงนิ เดือนและคา่ จา้ ง
ข้อ 13 พนกั งานผู้ใดประพฤติหรือปฏบิ ัติเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ ไม่มีสิทธิได้รับการ
พจิ ารณาเลือนข้ันเงินเดือนและค่าจ้าง
13.1 ประพฤติผิดวินัยและฝา่ ฝืนคำสง่ั ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ขององคก์ ารอยู่เนือง ๆ
13.2 ขาดความตงั้ ใจในการทำงาน
13.3 ผลการปฏบิ ตั งิ านตำ่ กวา่ มาตรฐาน '
13.4 เปน็ ผพู้ ้นสภาพการเป็นพนกั งานกอ่ นวนั ท่มี ีคำสง่ั เล่ือนขั้นเงินเดือนและคา่ จ้าง
13.5 ในรอบปีพิจารณาผลการปฏิบัตงิ านมีเวลาทำงานนอ้ ยกว่า 8 เดือน ทั้งนี้ ไม่นับ
วนั ลาอุปสมบท ลาไปประกอบพิธีฮจั ย์ และลาปว่ ยเพราะประสบอนั ตรายขณะปฏบิ ตั หิ น้าที่
13.6 ถูกลงโทษทางวินัย เว้นแต่ถูกลงโทษภาคทัณฑ์ มีวันขาดงาน มีวันลาและวันมา
ทำงานสายเกินกว่าทก่ี ำหนดไวใ้ นบัญชแี นบท้ายขอ้ บังคบั น้ี
13.7 เป็นพนักงานที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นพร้อมกับได้รับการปรับ
เงนิ เดอื นหรอื ค่าจา้ งสูงขึ้นเทา่ กบั อัตราเงนิ เดือนและค่าจ้างขั้นตน้ ในตำแหนง่ ใหม่ ในระหว่างวันท่ี 2 พฤศจิกายน
ถึงวันที่ 30 กันยายนของปีงบประมาณที่ผ่านมาเกินกว่า 0.5 ขั้น เว้นแต่กรณีที่เป็นพนักงานเก็บค่าโดยสาร
ซึ่งเปลี่ยนหน้าทีเ่ ป็นพนักงานขับรถและได้รับการปรับเงินเดือนและค่าจ้างตามมาตรการจูงใจขององค์การ ให้มีสิทธิ
ไดร้ บั การพจิ ารณาเลอื่ นข้นั เงินเดือนและค่าจ้าง
ข้อ 14 พนักงานทีม่ สี ิทธิไดร้ ับการพจิ ารณาเล่ือนขนั้ เงินเดือนและคา่ จ้าง 1 ขน้ั นอกจากไม่เป็น
ผ้ไู มม่ สี ิทธไิ ดร้ ับการพจิ ารณาเลอ่ื นข้นั เงนิ เดอื นและค่าจา้ งตามข้อ 13 แลว้ จะตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิดังนี้ดว้ ย คือ
14.1 เป็นผรู้ กั ษาวินยั และประพฤตติ ามคำสั่ง ระเบยี บ ข้อบงั คบั องค์การโดยสม่ำเสมอ
14.2 มคี วามต้ังใจและอุตสาหะบากบ่ันในการทำงานและงานที่ไดป้ ฏบิ ัติไปน้ันเรียบร้อย
เป็นผลดีแกอ่ งคก์ าร
14.3 ผลการปฏิบตั ิงานไดม้ าตรฐาน
14.4 เป็นพนกั งานอยู่ในวันทม่ี คี ำส่ังเลือ่ นข้นั เงนิ เดอื นและคา่ จา้ ง
14.5 ในรอบปีพิจารณาผลการปฏิบัติงาน จะต้องมีวันลาและวันมาทำงานสายไม่เกิน
ท่กี ำหนดไว้ในบญั ชแี นบท้ายข้อบังคับน้ี
ข้อ 15 พนกั งานทีม่ สี ิทธไิ ด้รบั การพจิ ารณาเล่ือนข้ันเงินเดือนและคา่ จา้ งเปน็ กรณีพเิ ศษมากกว่า
1 ขั้น แต่ไมเ่ กิน 2 ขั้น นอกจากเปน็ ผู้มสี ิทธิได้รบั การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้าง 1 ขัน้ ตามข้อ 14 แล้ว
จะต้องมคี ณุ สมบัตดิ งั น้ีดว้ ย คอื

87

15.1 ในรอบปีพิจารณาผลการปฏิบัติงานมีเวลาทำงานครบ 12 เดือน ไม่ถูกลงโทษ
ทางวินัยมีวันลาและวันมาทำงานสาย ไม่เกินที่กำหนดไว้ในบัญชีแนบท้ายข้อบังคับนี้ และไม่ได้ลาไปศึกษา
ฝึกอบรมหรือดูงานทั้งในและนอกประเทศ ยกเว้นการไปปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายหรือการปฏิบัติงาน
หนา้ ท่ีอื่นตามขอ้ ตกลงสภาพการจ้างทท่ี ำไวก้ ับนายจา้ ง หรือตามสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ตามกฎหมายเก่ียวกับแรงงาน

15.2 เปน็ ผู้ปฏบิ ัตงิ านอยู่ในหลักเกณฑ์ประการใดประการหนง่ึ ดงั นี้
15.2.1 เป็นผอู้ ุทิศเวลาปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความวริ ิยะ อุตสาหะ จนมีผลการปฏบิ ัติงาน

อยใู่ นเกณฑด์ เี ดน่ จนถอื เปน็ ตวั อยา่ งท่ีดไี ด้
15.2.2 ปฏิบตั ิงานเกินกวา่ ตำแหน่งหนา้ ท่ีจนเกิดประโยชนต์ ่อหน่วยงานเป็นพิเศษ

ท้งั นี้ยังได้ปฏิบตั งิ านในตำแหน่งท่ีเปน็ ผลดดี ว้ ย
15.2.3 ปฏิบตั งิ านตามหนา้ ทท่ี ี่ต้องมคี วามเสย่ี งอันตรายในกรณีพิเศษ
15.2.4 ปฏิบัติงานโดยมีความคิดริเริม่ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งเกิดประโยชน์ต่อ

องคก์ ารหรือทางราชการเปน็ อย่างยิง่
ข้อ 16 พนักงานท่ีครบเกษียณอายุ เมื่อสิ้นปีงบประมาณและมีคุณสมบัติครบถ้วนหลักเกณฑ์

ตามการเลื่อนขัน้ เงินเดือนเกินกว่า 1 ขนั้ ใหม้ ีสทิ ธิไดร้ บั การพิจารณาเล่ือนขนั้ ไดเ้ กนิ กว่า 1 ขัน้ ในวันสุดท้ายของ
ปีงบประมาณ

จำนวนผู้ใด้เลื่อนขั้นเงินเดือนเกินกว่า 1 ขั้น ทั้งพนักงานที่ครบเกษียณอายุและพนักงานที่ยัง
ไม่เกษียณอายุรวมกันตอ้ งไม่เกินรอ้ ยละ 15 ของผู้มสี ทิ ธิได้รบั การพิจารณาเลอื่ นข้ันเงินเดือน

ทง้ั น้ี การเลอื่ นขน้ั เงินเดือนกรณีเกษยี ณอายุในวันท่ี 30 กนั ยายน มใิ ชเ่ ปน็ การเลื่อนขั้นเงินเดือน
ตามปกตปิ ระจำปี จงึ ไมม่ ีการจ่ายเปน็ ตัวเงิน แตเ่ พอ่ื ประโยชนในการคำนวณบำเหนจ็ เทา่ น้ัน

ข้อ 17 ในปีพิจารณาผลการปฏิบัติงาน พนักงานผู้ใดซึ่งมีสิทธิได้รับการพิจารณาเลื่อนข้ัน
เงินเดือนและค่าจ้าง ถ้าผู้นั้นอยู่ในระหว่างถูกสอบสวนว่ากระทำผิดวินัย หรือถูกฟ้องร้องในคดีอาญา ให้รอการ
เลื่อนขั้นไว้ก่อน เมื่อสอบสวนพิจารณาเสร็จแล้ว ถ้าผู้นั้นไม่ถูกลงโทษทางวินัยหรือไม่ถูกศาลพิพากษาให้ลงโทษ
หรอื ไมม่ มี ลทินหรอื มัวหมอง ใหเ้ ล่ือนข้ันเงินเดือนหรือคา่ จ้างประจำปี และใหเ้ ลอื่ นขัน้ ย้อนหลงั ไปตามสทิ ธิ

หมวด 5
วิธแี ละขัน้ ตอนในการขออนุมัตเิ ล่ือนขนั้ เงินเดือนและค่าจา้ ง
ข้อ 18 ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นรายงานผลงานของผู้ปฏิบัติงานเสนอผ่านไปยังผู้บังคับบัญชา
ชั้นเหนอื ขน้ึ ไปตามลำดบั
ผลการพจิ ารณาตามวรรคแรก ให้ผูบ้ งั คบั บญั ชาชั้นเหนือแต่ละระดับ ที่ได้รบั รายงานเสนอความเห็น
เพอ่ื ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ
ข้อ 19 ให้ทุกฝ่ายเสนอขออนุมัติเลื่อนขั้นให้แก่พนักงานในสังกัดต่อคณะกรรมการตามแบบ
ที่กำหนดท้ายข้อบังคับนี้ โดยแยกเป็น 4 บัญชี คือบัญชีรายชื่อพนักงานที่ไม่ได้รับการเลื่อนขั้น บัญชีรายช่ือ
พนกั งานที่ได้รับการเลื่อนขน้ั 0.5 ข้นั บญั ชรี ายชอ่ื พนักงานท่ีไดร้ ับการเล่ือนขนั้ 1 ขั้น บญั ชรี ายชื่อพนักงานท่ีได้รับ
การเลอื่ นขน้ั 2 ขนั้
ข้อ 20 พนักงานที่ย้ายสังกัดในระหว่างปี ให้หัวหน้าหน่วยงานที่พนักงานสังกัดอยู่ในปัจจุบัน
เป็นผู้เสนอขอเล่ือนขั้นโดยให้พิจารณาผลงานจากหน่วยงานเดิมด้วย

88

ข้อ 21 ให้ผู้บังคับบัญชาของพนักงานผู้ที่ไม่รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างตาม
ข้อ 13 แจ้งเหตผุ ลการไมเ่ ลอื่ นขัน้ เงินเดือนและค่าจ้างใหพ้ นกั งานผู้นน้ั ทราบ หากพนักงานผู้น้นั ไม่เห็นด้วยให้ทำ
รายงานพร้อมทัง้ ชีแ้ จงเหตุผลเพื่อขอใหผ้ ู้บังคับบัญชาพิจารณาทบทวนภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้รบั แจ้งและ
ใหผ้ บู้ ังคับบญั ชาพจิ ารณาเสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการพจิ ารณาเล่ือนขน้ั เงนิ เดือนและค่าจ้างพิจารณาวนิ จิ ฉัย

คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างให้เป็นที่สุด เว้นแต่กรณี
พนกั งานตามขอ้ 6 ใหถ้ ือคำวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการบรหิ ารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพเปน็ ทีส่ ุด

ประกาศ ณ วันท่ี 27 เดือนพฤษภาคม พทุ ธศักราช 2562

89

สทิ ธแิ ละสวสั ดิการ ลาและการจ่ายเงินเดอื นหรอื ค่าจา้ งระหว่างลา

ข้อบงั คับองคก์ ารขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ฉบบั ที่ 169
ว่าด้วยการลาและการจ่ายเงนิ เดอื นหรือคา่ จา้ งระหวา่ งลา พ.ศ. 2555
เนือ่ งจากขอ้ บังคบั องค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ ว่าดว้ ยการลาและการงา่ ยเงนิ เดือนหรือค่าจ้าง
ระหว่างลาที่ประกาศใช้อยู่ในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหลายครั้ง ทำให้มีเอกสารหลายฉบับในการพิจารณา
เรื่องที่ต้องอ้างอิงข้อบังคับ อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ เพื่อให้การปฏิบัติงานขององค์การดำเนินการได้
ด้วยความสะดวกเกิดความคล่องตัวและมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น เห็นสมควรปรับปรุงแก้ไขรวบรวมข้อบังคับองค์การ
ใหเ้ ป็นฉบับเดียว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (6) และ (12) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ องค์การขนสง่
มวลชนกรุงเทพ พ.ศ. 2519 คณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ จึงให้ออกข้อบังคับไว้
ดังต่อไปน้ี
ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า "ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 169 ว่าด้วยการลา
และการจ่ายเงินเดือนหรอื คา่ จ้างระหวา่ งลา พ.ศ. 2555
ข้อ 2 ข้อบงั คบั นใ้ี หใ้ ช้ต้งั แตบ่ ดั นี้เปน็ ตน้ ไป
ขอ้ 3 ให้ยกเลิกข้อบังคบั องคก์ าร ดงั นี้

3.1 ฉบบั ที่ 45 วา่ ดว้ ย การลาและการจ่ายเงนิ ดือนหรอื ค่าจ้างระหวา่ งลา
3.2 ฉบบั ที่ 54 ว่าด้วย การลาและการจ่ายเงนิ เดอื นหรอื คา่ จ้างระหว่างลา
3.3 ฉบับที่ 61 วา่ ด้วย การลาและการจา่ ยเงนิ เดือนหรือค่าจ้างระหวา่ งลา
3.4 ฉบบั ท่ี 68 วา่ ดว้ ย การลาและการจา่ ยเงนิ เดอื นหรือค่าจ้างระหว่างลา
3.5 ฉบบั ที่ 97 ว่าด้วย การลาและการจา่ ยเงนิ เดอื นหรอื ค่าจ้างระหวา่ งลา
3.6 ฉบับที่ 105 วา่ ดว้ ยการลาและการจา่ ยเงินเดือนหรือค่าจ้างระหว่างลา (แกไ้ ขเพิ่มเติม
ครัง้ ที่ 5) พ.ศ. 2540
3.7 ฉบบั ท่ี 108 ว่าด้วยการลาและการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้างระหว่างลา (แก้ไขเพ่ิมเติม
คร้ังท่ี 5) พ.ศ. 2540
3.8 ฉบับท่ี 139 ว่าด้วยการลาและการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้างระหว่างลา (แก้ไขเพ่ิมเติม
ครั้งที่ 6) พ.ศ. 2549
3.9 ฉบบั ที่ 148 ว่าดว้ ยการลาและการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้างระหว่างลา (แกไ้ ขเพ่ิมเติม
ครงั้ ที่ 7) พ.ศ. 2551
3.10 ฉบับท่ี 150 ว่าด้วยการลาและการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้างระหว่างลา (แก้ไขเพ่ิมเติม
ครัง้ ท่ี 8) พ.ศ. 2552
ทงั้ นี้ ระเบียบ และคำส่งั อื่นใดทีข่ ัดหรอื แยง้ กบั ขอ้ บังคบั นีใ้ ห้ใช้ข้อบังคบั นี้แทน
ขอ้ 4 ในขอ้ บังคับนี้
"องคก์ าร" หมายความวา่ องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ
"ผู้อำนวยการ" หมายความวา่ ผู้อำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
"พนกั งาน" หมายความว่า พนักงานและลกู จ้างองค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ

90

"พนักงานประจำรายเดือน" หมายความว่า ผู้ที่องค์การจ้างไว้เป็นการประจำและได้รับ
เงนิ เดอื นหรือคา่ จา้ งเป็นรายเดอื น

"พนักงานประจำรายวัน" หมายความว่า ผู้ที่องค์การจ้างไว้เป็นการประจำและได้รับ
คา่ จา้ งเป็นรายวนั

"ลูกจ้างชั่วคราว" หมายความว่า ผู้ที่องค์การตกลงจ้างไว้ไม่เป็นการประจำเพื่อทำงาน
อันมีลักษณะเป็นครัง้ คราว เป็นการจ้างตามฤดกู าลหรือโดยมกี ำหนดระยะเวลาแนน่ อน

"เงินเดือน" หมายความว่า อัตราเงินเดือนสำหรับพนักงานประจำรายเดือน และลูกจ้าง
ช่ัวคราวทจ่ี า่ ยเปน็ รายเดอื น ท้งั นี้ไมร่ วมเงินเพมิ่ อย่างอื่น

ข้อ 5 การนับวันลาตามขอ้ บงั คบั น้ี ใหน้ บั ตามปงี บประมาณขององคก์ าร
การลาในประเภทเดียวกันซ่ึงมีระยะเวลาตอ่ เนอ่ื ง จะเป็นไปในปเี ดียวกนั หรอื ไม่กต็ าม ใหน้ ับเป็น
การลาครัง้ หนงึ่ ถ้าวนั ลาครั้งหน่งึ รวมกนั เกินอำนาจของผ้มู ีอำนาจอนุญาตระดบั ใด ใหเ้ สนอข้ึนไปตามลำดับจนถึง
ผู้ที่มอี ำนาจอนญุ าต
ถ้ามีวันหยุดงานในระหว่างลาประเภทเดียวกัน ให้นับวันหยุดงานนั้นเป็นวันลา เว้นแต่การลา
พักผอ่ นประจำปี การลาปว่ ยและการลากจิ ส่วนตวั ซ่ึงผูข้ ออนุญาตลาต้องระบุวนั หยุดงานน้ันไวใ้ นใบลาดว้ ย
ข้อ 6 กรณีที่ผู้ขอได้รับอนุญาตลาจะต้องมีการมอบหน้าที่การงาน ให้นับวันลาเริ่มต้นตั้งแต่วนั
มอบหน้าที่การงานเสร็จเป็นต้น ไป เว้นแต่ถ้ามอบหน้าที่การงานภายหลังเท่ียง ให้นับเวลาเริ่มต้นตั้งแตว่ ันรุ่งขึน้
เป็นตน้ ไป
ข้อ 7 เมื่อผู้ลากลับเข้าปฏิบัติงานก่อนครบกำหนดวันลา ให้ถือว่าวันลาเป็นอันสิ้นสุดในท้าย
กอ่ นวนั เข้าปฏบิ ัตงิ าน
ข้อ 8 ถ้าองค์การเห็นว่ามีความจำเป็นแก่กิจการขององค์การจะเรียกให้ผู้ได้รับอนุญาตให้ลา
กลับเข้าทำงานก่อนครบกำหนดวันลาก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี้ ให้ถือว่าวันลาเป็นอันสิ้นสุดในวันก่อนวันกลับเข้า
ทำงาน และวนั ลาทีเ่ หลือน้นั พนักงานมีสทิ ธิการลาในครงั้ ตอ่ ไปได้ หากจะไม่ใชส้ ทิ ธิในการลา
สำหรบั วนั ลาท่เี หลอื ก็ให้องคก์ ารจ่ายค่าทำงานในวันหยดุ ในวนั ทำงานนัน้ ๆ ดว้ ย
ขอ้ 9 ผู้มอี ำนาจอนญุ าตการลาใหเ้ ป็นไปตามบัญชขี า้ งทา้ ยน้ี
ขอ้ 10 การลาแบ่งออกเปน็ 9 ประเภท คอื

10.1 ลาป่วย
10.2 ลากจิ สว่ นตัว
10.3 ลาพกั ผ่อนประจำปี
10.4 ลาคลอดบุตร
10.5 ลาอุปสมบท หรอื ลาไปประกอบพธิ ีฮจั ย์
10.6 ลาเข้ารับการตรวจสอบ การฝึกวิชาทหาร การทดลองความพรั่งพร้อม หรือเข้า
รับการระดมพล
10.7 ลากจิ เพ่อื เล้ียงดบู ตุ ร
10.8 ลาเพอ่ื ทำหมัน
10.9 ลาไปถอื ศีลและปฏบิ ัติธรรม

91

ขอ้ 11 พนกั งานจะลาปว่ ย เพอ่ื รักษาตัวในปีหนึ่งได้ดังน้ี
11.1 พนกั งานประจำรายเดือน (ระบบเดิม มสี ิทธลิ าปว่ ย ได้ไมเ่ กินหกสิบวันโดยได้รับ

เงนิ เดือนเตม็ ไม่เกินสามสบิ วัน และไดร้ ับเงนิ เดอื นครงึ่ หน่งึ อกี ไม่เกินสามสิบวนั
11.2 พนกั งานประจำรายเดอื น (ระบบใหม่ มสี ทิ ธิลาปว่ ยได้ไม่เกินสามสิบวนั โดยไดร้ ับ

เงินเดือนเต็มไม่เกินสามสิบวัน
11.3 พนักงานประจำรายวันมสี ทิ ธิลาปว่ ย โดยได้รับคา่ จ้างเต็มไมเ่ กนิ สามสบิ วัน
11.4 ลกู จา้ งช่วั คราว มสี ิทธิลาป่วยได้ไมเ่ กนิ สามสิบวัน แต่ไม่ไดร้ ับเงินเดือนหรอื ค่าจ้าง

ระหวา่ งลา
11.5 พนักงานทุกประเภท ซึ่งป่วยเพราะประสบอันตรายขณะปฏิบัติงานในหน้าที่มี

สิทธิลาป่วย โดยได้รบั เงินเดอื นหรือคา่ จา้ งเตม็ ตลอดเวลาทพ่ี ักรักษาตัว แต่ไม่เกินหน่ึงร้อยแปดสิบวนั
ผู้ขออนุญาตลาป่วย ต้องเสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อน หรือในวันเริ่มลา เว้นแต่การลาป่วย

ไม่สามารถเสนอใบลาในวันดังกล่าว จึงให้เสนอใบลาในโอกาสแรกที่สามารถทำได้ พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลด้วย
การลาป่วยต่อเนื่องกันสามวัน เมื่อยื่นใบลาต้องมีใบตรวจรับรองแพทย์ขององค์การ หรือของทางราชการ หรือ
แพทยแ์ ผนปัจจบุ ันชัน้ หนึ่ง กรณที มี่ ิใช่ใบรับรองแพทย์องค์การ หรือของทางราชการ ผขู้ ออนุญาตลา จะต้องแจ้ง
เหตผุ ลทไ่ี มส่ ามารถใหแ้ พทยอ์ งคก์ าร หรอื ของทางราชการตรวจในใบลาด้วย

กรณีมีเหตุไม่สามารถที่จะหาใบรับรองแพทย์มาแสดงประกอบการลาได้ ให้ชี้แจงเหตุผลหรือ
แสดงหลักฐานประกอบคำชี้แจงอันจะเปน็ ทีเ่ ช่ือถือได้ว่าป่วยจริง แต่ทั้งนี้การพิจารณาอนญุ าตให้อยูใ่ นดลุ ยพินิจ
ของผูม้ ีอำนาจเก่ยี วกับการลา

ขอ้ 12 พนักงานจะลากจิ สว่ นตวั ในปีหนง่ึ ได้ ดังน้ี
12.1 พนักงานประจำรายเดือน หรือพนักงานประจำรายวัน ที่ทำงานมาครบหนึ่งปี

จะลาได้ไม่เกินยี่สิบวัน โดยได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างเต็ม แต่ถ้าผู้นั้นทำงานมาแล้วเกิน หกเดือนแต่ไม่ครบรอบ
หนึง่ ปี จะลาได้ไม่เกนิ เจ็ดวัน โดยไดร้ บั เงินเดือนหรอื ค่าจ้างเตม็

12.2 ลูกจ้างชั่วคราว ลากิจส่วนตัว โดยไม่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างในวันลา หากลา
เกินปีละย่ีสิบวนั องคก์ ารจะพิจารณาเลกิ จา้ งโดยไม่จ่ายคา่ ชดเชยหรือคา่ จ้างใด ๆ กไ็ ด้

การขออนุญาตลากิจส่วนตัว ต้องเสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้นก่อนวันเริ่มลาพอสมควร
และต้องได้รับอนุญาตก่อนแล้ว จึงหยุดงานเพื่อกิจส่วนตัวได้ แต่ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นไม่อาจเสนอใบลา
หรือไม่อาจรอรับอนุญาตได้ จะเสนอใบลาพร้อมทั้งชี้แจงเหตุจำเป็นต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้นภายในสามวัน
หลังจากหยุดงานเพ่ือกจิ สว่ นตวั ไปแลว้ แต่ถ้าไดม้ าปฏิบัตงิ านภายในสามวัน หลงั จากหยดุ งานไปให้เสนอใบลาใน
วนั นั้น

ขอ้ 13 พนักงานจะลาพกั ผอ่ นประจำปี ได้ ดังนี้
13.1 พนักงานประจำรายเดือนที่ทำงานมาครบรอบหน่ึงปี ลาพักผ่อนได้ไม่เกินสิบวนั

โดยไดร้ ับเงินเดือนและเบ้ียขยนั หรอื เงนิ อ่นื ใดในลักษณะนี้ โดยถือเสมอื นวันปฏบิ ตั ิงาน เวน้ แต่เบย้ี เลย้ี ง
13.2 พนักงานประจำรายวันที่ทำงานมาครบหนึ่งปี ลาพักผ่อนได้ไม่เกินสิบวันโดยได้รับ

เงนิ คา่ จ้างและเบีย้ ขยัน หรอื เงินอืน่ ใดในลกั ษณะนี้ โดยถอื เสมือนวันปฏิบัติงาน
13.3 ลกู จ้างชั่วคราว ไมม่ ีสทิ ธลิ าพกั ผ่อน

92

การลาพักผ่อน ต้องเสนอใบลาต่อผ้บู ังคบั บัญชาช้ันต้นก่อนวันเริ่มลา ไม่นอ้ ยกว่าห้าวันและต้อง
ได้รบั อนุญาตกอ่ น จึงจะหยดุ ได้ และต้องปฏบิ ัตติ ามระเบยี บทผ่ี ้อู ำนวยการกำหนดอีกด้วย

พนักงานที่ปฏิบัติงานติดต่อกันมาแล้วน้อยกว่าสิบปี โดยมีสิทธิลาพักผ่อนประจำปี แต่มิได้
ลาพักผอ่ นประจำปีในปีน้นั ใหม้ ีสิทธิสะสมวนั ลาพกั ผอ่ นประจำปี เพื่อไปรวมเป็นวันลาพกั ผอ่ นประจำปีในปีถัดไป
เพียงปเี ดียวไดเ้ ต็มสิบวนั

พนกั งานท่ปี ฏิบตั ิงานติดต่อกนั มาแล้วสบิ ปีขึ้นไป ถ้าในปใี ดพนักงานผใู้ ดมิได้ลาพักผ่อนประจำปี
หรอื ลาพักผอ่ นประจำปีแลว้ แต่ไม่ครบสบิ วนั ทำการ ให้สะสมวนั ที่ยังมิได้ลาในปีนั้น รวมเข้ากบั ปีต่อ ๆ ไปได้ แต่
วนั ลาพกั ผ่อนสะสมรวมกับวนั ลาพกั ผอ่ นในปีปัจจุบนั ได้ไมเ่ กนิ สามสบิ วันทำการ

ขอ้ 14 พนักงานทเ่ี ปน็ หญงิ จะลาเก่ยี วกบั การลาคลอดบตุ ร ไดต้ ามความจำเปน็ ดงั นี้
14.1 พนักงานประจำรายเดือน หรือพนักงานประจำร้ายวัน ลาได้ไม่เกินเก้าสิบวัน

โดยไดร้ ับเงนิ เดือน หรือค่าจา้ งเต็ม
14.2 ลูกจ้างชั่วคราวลาได้ไม่เกินเก้าสิบวัน โคยไม่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างเว้นแต่

หญงิ น้นั ทำงานไมน่ อ้ ยกว่าหนึง่ ร้อยแปดสิบวนั มีสิทธลิ าคลอด โดยไดร้ ับเงินเดือนหรอื ค่าจา้ งเต็มในวันท่ีลาไม่เกิน
สามสิบวนั

ผู้ขออนุญาตเกี่ยวกับการลาคลอด จะต้องยื่นใบลาก่อนคลอด ถ้ายื่นใบลาหลังคลอดตอ้ งไม่เกนิ
สิบวัน นับจากวันคลอด โดยยื่นใบตรวจรับรองแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่ง ถ้าหากไม่มีใบรับรองแพทย์ดังกล่าว
ก็ให้ชี้แจงพร้อมด้วยหลักฐานทางราชการ

พนักงานที่เป็นหญิงมีสิทธิลาคลอดบุตรโดยได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างเท่าเวลาที่ลา ตามอัตรา
ทไี่ ด้รบั อยู่แตไ่ ม่เกินเกา้ สิบวนั โดยให้นบั รวมวนั หยดุ ทม่ี รี ะหวา่ งวนั ลาด้วย

การลาคลอดบุตรจะลาในวันที่คลอดก่อนหรือหลังวันคลอดบุตรก็ได้ แต่เมื่อรวมวันลาแล้ว
ต้องไม่เกินเกา้ สิบวัน

การลาคลอดบุตรที่คาบเกี่ยวกับการลาประเภทใด ซึ่งยังไม่ครบกำหนดวันลาของการลาประเภทน้ัน
ให้ถอื วา่ การลาประเภทนั้นส้นิ สดุ และให้ถือเป็นการลาคลอดบตุ รตั้งแต่วันเรม่ิ ลาคลอดบตุ ร

พนักงานซึ่งคลอดบุตรตามวรรคหนึ่ง หากประสงค์จะลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตรให้มีสิทธิลาต่อเนื่อง
จากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกินหนึ่งรอ้ ยหา้ สบิ วันทำการ โดยไม่มสี ิทธไิ ด้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างระหว่างลา

ข้อ 15 พนักงานประจำรายเดือน หรือพนักงานประจำรายวัน ซึ่งทำงานติดต่อกันมาแล้ว
ไม่น้อยกว่าสามปี และยังไม่เคยอุปสมบท จะลาอุปสมบทได้ครั้งเดียวไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สบิ วนั โดยได้รับเงินเดือน
หรือคา่ จ้างเตม็

เมื่อลาสิกขาก่อนครบกำหนด ต้องมารายงานตัวเข้าปฏิบัติงานภายในเจ็ดวัน นับแต่วันลาสกิ ขา
แตต่ ้องไม่เกินกำหนดวันลาเดิม

ผู้ขออนุญาตลาอุปสมบท ต้องเสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้นก่อนวันอุปสมบทไม่น้อยกว่า
สีส่ บิ วัน ตามบัญชหี มายเลข 2 เม่ือไดร้ บั อนญุ าตแล้ว จงึ จะหยุดงานเพื่ออปุ สมบทได้

ข้อ 16 ใหพ้ นกั งานหญิงลาไปถือศีลและปฏิบัติธรรมได้
16.1 ต้องเป็นสถานปฏิบัติธรรมที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานพระพุทธศาสนา

แห่งชาติ

93

16.2 พนักงานหญิงของหนว่ ยงานทีล่ าไปถือศีลและปฏิบัติธรรมได้ครัง้ หนึง่ ตลอดอายุ
การทำงานโดยไมถ่ ือเปน็ วนั ลา เป็นระยะเวลาไม่ตำ่ กว่าหนึ่งเดือน แตไ่ มเ่ กนิ สามเดือน โดยจะต้องไดร้ ับการอนุญาต
จากผบู้ งั คบั บัญชาก่อน

16.3 ต้องยื่นคำขออนุญาตต่อผู้บงั คับบัญชาล่วงหนา้ อย่างนอ้ ยสามสิบวัน ในกรณีที่มี
เหตุพิเศษไม่อาจเสนอขออนญุ าตล่วงหนา้ ได้ ใหช้ แี้ จงเหตุผลความจำเปน็ ประกอบการขออนุญาต

16.4 ข้ันตอนการดำเนนิ การของพนกั งาน
16.4.1 พนักงานประจำรายเดือน หรือพนักงานประจำรายวันที่เป็นสตรี

ซึ่งทำงานติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี และยังไม่เคยลาไปถือศีลและปฏิบัติธรรม จะลาได้เป็นระยะเวลา
ไมต่ ำ่ กว่าหนง่ึ เดือน แต่ไม่เกนิ สามเดือน โดยได้รับเงนิ เดือนหรือคา่ จา้ งเต็ม

16.4.2 เมื่อลาไปถือศีลและปฏิบัติธรรมครบกำหนดแล้วจะต้องมารายงานตัว
เขา้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทภ่ี ายในสามวัน นับตง้ั แตว่ ันลา แตต่ ้องไมเ่ กนิ กำหนดวันลาเดิม

16.4.3 ตรวจสอบบัญชีรายชื่อสำนักปฏิบัติธรรมที่ได้รับการรับรองและสมัคร
เข้ารับการถือศีลและปฏิบัติธรรมได้ที่ฝ่ายเผยแพร่พระพุทธศาสนากองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนา
แหง่ ชาติ และนำใบรับเขา้ รับการถือศีลและปฏิบัตธิ รรมเสนอขออนุญาตต่อผบู้ ังคับบัญชา ตามข้อ 16.3 ตามแบบ
ทกี่ ำหนด

16.4.4 ขอรับวุฒิบัตรหรือหนังสือรับรองจากสำนักปฏิบัตธิ รรมนั้น ๆ เมื่อสิ้นสุด
ระยะเวลาถือศีลและปฏบิ ัตธิ รรม เพอ่ื นำไปเป็นหลักฐานรายงานต่อผู้บงั คบั บญั ชาหรือหน่วยงานตน้ สังกดั

16.4.5 ผู้สมัครเข้ารับการถือศีลและปฏิบัติธรรม ต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่าย
ท่ีเกิดจากไปถือศลี และปฏิบตั ิธรรมด้วยตนเอง

16.5 ผบู้ งั คับบญั ชาหรอื หน่วยงานตน้ สังกัด ดำเนินการ ดังนี้
16.5.1 พิจารณาคำขออนญุ าตเข้ารับการถือศีลและปฏิบัตธิ รรมของพนกั งาน
16.5.2 รับวุฒิบัตรหรือหนังสือรับรองการไปถือศีลและปฏิบัติธรรมของ

พนักงานในสงั กัดเพอื่ เป็นหลักฐานสำหรับบนั ทกึ ลงในทะเบียนประวตั ิ
16.5.3 แจ้งให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาตทิ ราบ

16.6 รายช่ือสำนกั ปฏิบัตธิ รรมเป็นไปตามท่สี ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติให้การ
รบั รอง

ข้อ 17 พนักงานประจำรายเดือน หรือพนักงานประจำรายวันผู้นบั ถือศาสนาอิสลามซึง่ ทำงาน
ติดตอ่ กนั มาแลว้ ไม่น้อยกว่าสามปี และยงั ไม่เคยเดินทางไปประกอบพธิ ีฮัจย์ ณ เมอื งเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
จะลาไปประกอบพธิ ีฮัจย์ดงั กล่าวได้คร้งั เดยี ว โดยไดร้ บั เงนิ เดอื นหรือคา่ จ้างเตม็ ไม่เกนิ เจด็ สิบวัน

ผู้ขออนุญาตไปประกอบพิธีฮัจย์ ต้องเสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้นล่วงหน้า ก่อนวันเดินทาง
ไปประกอบพิธีฮัจย์ดังกล่าวไม่น้อยกว่าสี่สิบวัน ตามบัญชีหมายเลข 2 เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงจะหยุดเพื่อไป
ประกอบพธิ ดี งั กลา่ วได้

ข้อ 18 พนกั งานซ่ึงถูกเรยี กเข้ารับการตรวจสอบ การฝกึ วิชาทหาร การทดลองความพร่ังพร้อม
หรือเข้ารับการระดมพล ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้นภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่รับหมายเรียกเป็นต้นไป
และให้ไปเข้ารับการตรวจสอบ การฝึกวิชาทหาร การทดลองความพรั่งพร้อม หรือเข้ารับการระดมพล แล้วแต่กรณี

94

ตามวันเวลาในหมายเรียกนั้น โดยไม่ต้องรอรับคำสั่งอนุญาต และให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นรายงานไปยัง
ผู้อำนวยการเขต หรือหัวหน้างานแล้วแต่กรณี เพื่อรับทราบ และเมื่อผูน้ ั้นพ้นจากราชการทหารดังกล่าวแล้วต้อง
กลับเข้าทำงานโดยเร็ว โดยให้คำนงึ ถึงระยะการเดนิ ทางเป็นสำคญั

ข้อ 19 พนักงานที่ถูกเรียกไปปฏิบัติราชการทหารดังกล่าวในข้อ 18 จะได้รับเงินเดือนหรือ
คา่ จา้ งในระหว่างถูกเรยี กตวั ไปปฏบิ ตั ิราชการทหารดังกล่าวหรือไม่เพยี งใด ให้อยู่ในหลกั เกณฑ์ ดงั นี้

19.1 พนักงานประจำรายเดือน ให้ได้รบั เงนิ เดือนเต็มตลอดเวลาที่ปฏิบัติราชการทหาร
ดงั กลา่ วทุกกรณี

19.2 พนักงานประจำรายวันให้ได้รับค่าจ้างเต็มเฉพาะกรณีเข้ารับราชการตรวจสอบ
การฝึกวิชาทหาร และการทดลองความพรั่งพร้อม ตลอดเวลาที่ทางการเรียกตัว แต่ไม่เกินปีละหกสิบวัน กรณี
นอกจากนใ้ี หล้ าได้โดยไม่ไดร้ บั คา่ จา้ ง เวน้ แตท่ างราชการจะกำหนดเปน็ อยา่ งอื่น

19.3 ลูกจา้ งชั่วคราว ใหล้ าได้ทกุ กรณี โดยไม่ไดร้ บั เงนิ เดือนหรอื คา่ จ้าง
ข้อ 20 การหยุดงานโดยไม่เสนอใบลาตามข้อบังคับนี้ หรือการหยุดงานโดยไม่ได้รับอนุญาต
ให้ลาตามข้อบังคับนี้ เว้นแต่ กรณีเหตุสุดวิสัย ให้ถือเป็นการขาดงาน และให้หักเงินเดือนหรือค่าจ้างตามส่วน
เฉลี่ยรายวันตลอดเวลาที่ขาดงาน นอกจากนั้น ใหพ้ จิ ารณาลงโทษทางวนิ ยั ตามควรแก่กรณีด้วย
ข้อ 21 การลาประเภทอื่นที่ไม่ได้เป็นไปตามข้อบังคับนี้ ให้กระทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจาก
คณะกรรมการบรหิ ารกจิ การองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพแลว้
ประกาศ ณ วนั ที่ 17 เดือนกนั ยายน พทุ ธศักราช 2555

95

96

97

องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ (1)
ใบลาไปถือศลี และปฏิบตั ธิ รรมของสตรี

เร่ือง ขอลา................................................. เขียนท่ี................................................
เรยี น ......................................................... วันท.่ี ...................................................
สิ่งท่สี ่งมาดว้ ย ..........................................

ด้วยข้าพเจ้า ........................................................ตำแหนง่ ............................................................
เบอรเ์ งนิ เดอื น.................................ส่วนงาน..........................................กล่มุ งาน.....................................................
สำนักงาน/เขต....................................ไดร้ ับการบรรจเุ ป็นพนกั งานเมอ่ื วันท่.ี ...........เดือน..................พ.ศ...............
ขา้ พเจ้าขออนญุ าตลา.....................................................................................................มีกำหนด.......................วัน
ตง้ั แตว่ ันท.ี่ .............................................................ถึงวนั ที่..........................................................

ในระหว่างลา ข้าพเจา้ เขา้ รับการถอื ศลี และปฏิบัติธรรม ณ วดั .....................................................
เลขท่.ี ..................ซอย................................ถนน........................................ตำบล......................................................
อำเภอ...........................................จังหวัด...........................................................โทรศัพท์........................................

ขา้ พเจ้าขอรับรองว่า ไมเ่ คย เคยลาไปถอื ศลี และปฏิบตั ิธรรม เมื่อวนั ที่...........................
เดอื น........................................................สถานท.ี่ ...................................................................................................

ในระหวา่ งลา ขา้ พเจ้าถือศลี และปฏิบตั ธิ รรม ณ วดั ....................................................................
เลขที่...................ซอย................................ถนน........................................ตำบล......................................................
อำเภอ...........................................จังหวดั ...........................................................โทรศพั ท์........................................

พรอ้ มนข้ี า้ พเจา้ ได้แนบใบรบั เข้าการถอื ศีลและปฏบิ ตั ธิ รรมจากวดั ...............................................
.........................................มาด้วยแล้ว

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดอนญุ าต

ลงชื่อ..............................................ผขู้ ออนญุ าตลา
(.............................................)

ความเหน็ ผู้บังคับบญั ชา (2)

1. เรยี น.................................................... 2. เรยี น....................................................
................................................................................... ....................................................................................
................................................................................... ....................................................................................

ลงชอ่ื ......................................หวั หนา้ ส่วน ลงชือ่ .....................................หัวหน้ากลุ่ม
(.....................................) (...................................)
ตรวจสอบสทิ ธจิ ากการลา
เรียน..................................................
ไดต้ รวจสอบประวัติ นาง/นางสาว...........................................ตำแหนง่ .......................................แล้ว ดังน้ี
1. เริ่มทำงานตั้งแตว่ ันท่ี..............................................ถึง ปัจจบุ นั มีอายุงาน....................................ปี
2. พนักงาน ไม่เคย เคยลาไปถือศลี และปฏิบัติธรรม เมือ่ วันท.ี่ ........ เดือน.....................................
...............................................สถานที่........................................................................

98

3. พนกั งานยื่นใบลาขอลาไปถือศีลและปฏิบตั ิธรรม ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง (ระบเุ หตผุ ล)
...............................................................................................................................................................

4. พนกั งาน มสี ิทธิลา โดยไดร้ ับเงินเดอื นและสทิ ธผิ ลประโยชน์ตามขอ้ บงั คับองค์การฉบับท่.ี ..................ข้อ.............
ไมม่ ีสทิ ธลิ า

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณาอนุญาต

เรยี น.................................................... ลงชือ่ ............................................................ห.ขบ/ห.บค.
เพ่อื โปรดอนญุ าตการลา (..........................................................)
คำสง่ั
อนุมตั ิ

ลงช่อื ......................................หวั หนา้ กลมุ่ ลงชอ่ื .....................................
(.....................................) (...................................)
องคก์ ารขนส่งมวลชนกรงุ เทพ
ใบขอกลับเขา้ รบั หน้าที่ กรณลี าไปถือศีลและปฏบิ ัติธรรมของสตรี
วนั ท.ี่ .....................................................
เรยี น...................................................
ขา้ พเจา้ .......................................................ตำแหน่ง................................................................ เบอรเ์ งินเดือน
................................ส่วนงาน.........................................กลุ่มงาน.................................................. สำนกั งาน/เขต
...................................................ได้รับอนุมัติใหล้ าไปถือศีลและปฏบิ ตั ิธรรม ระหว่างวันที่..................................................ถึงวนั ที่
...............................................ตามอนุมตั ลิ งวนั ที.่ ...................................
บดั นี้ขา้ พเจา้ .........................................................จงึ ขอกลบั เขา้ รับหนา้ ที่ตามปกติ ต้งั แต่วนั ท่ี
..............................................................เป็นต้นไป โดยได้แนบ............................................................................มาเป็นหลักฐาน
ดว้ ยแล้ว

ลงชอื่ ..............................................ผขู้ ออนญุ าตลา
(.............................................)
คำส่ัง
เรียน.......................................... เรยี น .................................
เพื่อดำเนนิ การตอ่ ไป เพื่อตรวจสอบหลักฐานในการรายงานตัวรวมทั้ง
ระยะเวลาในการเข้ารับการถือศีลและปฏิบัติธรรม รวมทั้งการ
ลงช่อื ...................................... รายงานตวั เข้ารบั หนา้ ทีว่ ่าเปน็ ไปตามระเบยี บหรอื ไม่
(.....................................)
ลงช่อื ..................................... ห.ขบ./ห.บค.
(...................................)
รายการตรวจสอบทะเบียนประวตั ิ
เรยี น ..............................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..................................... งานประวัติ
(...................................)


Click to View FlipBook Version