The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สวัสดิการและสิทธิผลประโยชน์ที่ควรรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iaudit.bmta, 2022-03-31 06:25:36

สวัสดิการและสิทธิผลประโยชน์ที่ควรรู้

สวัสดิการและสิทธิผลประโยชน์ที่ควรรู้

99

ข้อบังคบั องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 172
วา่ ดว้ ยการลาและการจา่ ยเงนิ เดอื นหรือค่าจ้างระหว่างลา (แก้ไขเพ่ิมเติมครง้ั ท่ี 1) พ.ศ. 2556

ดว้ ยคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันท่ี 18 มิถุนายน 2556 เหน็ ชอบการกำหนดขอบเขตสภาพการจ้าง
ที่เกี่ยวกับการเงินตามพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 มาตรา 13 (2) ที่ให้รัฐวิสาหกิจ
แต่ละแห่งสามารถดำเนินการเองได้เมื่อคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจนั้น เห็นชอบแล้วในเรื่องการลาไปช่วยเหลือ
ภรยิ าท่ีคลอดบตุ ร ตามมตคิ ณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกจิ สัมพันธ์ ครัง้ ที่ 3/2556 ลงวันที่ 20 มนี าคม 2556

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 (6) และ (12) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ องค์การขนสง่
มวลชนกรงุ เทพ พ.ศ. 2519 และมติดณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ในคราวประชุม
คร้ังที่ 13/2556 ลงวันท่ี 27 พฤศจกิ ายน 2556 เหน็ ชอบให้ปรับปรงุ แก้ไขจึงใหอ้ อกขอ้ บงั คับไว้ ดังต่อไปน้ี

ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า "ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่.!9.ว่าด้วย การลา
และการจ่ายเงินเดอื นหรอื ค่าจ้างระหวา่ งลา พ.ศ. 2556

ข้อ 2 ข้อบงั คับนีใ้ ห้ใชต้ ้งั แต่บดั น้เี ป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกขอ้ ความดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ 10 การลาแบ่งออกเปน็ 9 ประเภท คอื
10.1 ลาป่วย
10.2 ลากจิ สว่ นตัว
10.3 ลาพกั ผ่อนประจำปี
10.4 ลาคลอดบุตร
10.5 ลาอปุ สมบท หรือลาไปประกอบพิธฮี ัจย์
10.6 ลาเข้ารบั การตรวจสอบ การฝึกวชิ าทหาร การทดลองความพรัง่ พร้อม
10.7 ลากิจเพอ่ื เล้ียงดบู ตุ ร
10.8 ลาเพื่อทำหมนั
10.9 ลาไปถือศีลและปฏิบัติธรรม หรือเข้ารับการระดมพลและให้ใช้ข้อความ

ตอ่ ไปนี้แทน
ข้อ 10 การลาแบง่ ออกเปน็ 10 ประเภท คอื
10.1 ลาป่วย
10.2 ลากจิ ส่วนตัว
10.3 ลาพกั ผ่อนประจำปี
10.4 ลาคลอดบตุ ร
10.5 ลาอุปสมบท หรือลาไปประกอบพิธีฮจั ย์
10.6 ลาเข้ารบั การตรวจสอบ การฝกึ วชิ าทหาร การทคลองความพร่งั พรอ้ ม
10.7 ลากจิ เพ่ือเลีย้ งดูบตุ ร
10.8 ลาเพือ่ ทำหมัน
10.9 ลาไปถือศลี และปฏิบัตธิ รรม
10.10 ลาไปชว่ ยเหลอื ภริยาท่ีคลอดบตุ ร

100

ขอ้ 4 ให้เพ่ิมเตมิ ข้อความ ดังนี้
ขอ้ 22 พนกั งานจะลาไปชว่ ยเหลอื ภรยิ าท่ีคลอดบุตร ได้ ดังนี้
22.1 พนักงานซึ่งประสงค์จะลาไปช่วยเหลือภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายที่

คลอดบุตรให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจอนุญาตก่อนหรือในวันลาภายใน
เก้าสิบวันนับแต่วนั ที่คลอดบุตรและใหม้ สี ิทธิลาไปชว่ ยเหลือภรยิ าที่คลอดบุตร คร้งั หนึ่งตดิ ต่อกนั ได้ไมเ่ กนิ สิบห้าวัน
ทำงานและอาจใหพ้ นกั งานแสดงหลักฐานประกอบการพจิ ารณาอนุญาตด้วยก็ได้

22.2 พนักงานซึ่งลาไปช่วยเหลือภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่คลอดบุตรภายใน
สามสบิ วนั นับแตว่ ันทีภ่ ริยาคลอดบุตรให้ได้รบั ค่าจ้างระหว่างลาได้ไม่เกินสบิ ห้าวนั ทำงานแตถ่ ้าเป็นการลาเมื่อพ้น
สามสิบวัน นับแต่วันที่ภริยาคลอดบุตรไม่ให้ได้รับค่าจ้างระหว่างลา เว้นแต่ผู้บริหารสูงสุดเห็นสมควรจะให้จ่าย
ค่าจ้างค่าจา้ งระหวา่ งลานน้ั กไ็ ด้ แต่ไมเ่ กนิ สิบห้าวันทำงาน

ประกาศ ณ วนั ที่ 26 เดือนธันวาคม พุทธศักราช 2556

101

คำส่งั องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ท่ี 973/2559
เร่อื ง กำหนดวนั เวลาปฏิบัติงานและสิทธผิ ลประโยชนต์ อบแทนพนกั งาน

องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
ตามคำสั่งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ที่ 846/2559 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 กำหนด
วันเวลาปฏิบัติงาน และสิทธิผลประโยชน์ตอบแทนพนักงานองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ซึ่งเป็นไปตามมติที่
ประชุมคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ในคราวประชุมครั้งที่ 13/2559 เมื่อวันท่ี
26 ตุลาคม 2559 นั้น
เนื่องจากสทิ ธผิ ลประโยชน์ตอบแทนตามบัญชแี นบท้ายคำสั่งองค์การที่ 846/2559 ลงวันที่ 8
พฤศจิกายน 2559 ไม่ชัดเจนในการปฏิบัติ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 24 และมาตรา 26(2) แห่งพระราช
กฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พ.ศ. 2519 จึงให้ยกเลิกคำสั่งองค์การที่ 846/2559 ลงวันที่ 8
พฤศจิกายน 2559 และให้หน่วยงานและเขตการเดินรถต่าง ๆ ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินสิทธิผลประโยชน์
ตอบแทนพนกั งาน ดงั น้ี
1. พนักงานประจำสำนักงาน ปฏบิ ตั ิงานสัปดาห์ละ 5 วนั วนั ละ 8 ชัว่ โมง เวลาพกั 1 ชั่วโมง
2. พนักงานรายเดอื น

2.1 ระหว่างทดลองปฏิบัติงาน 120 วัน ทุกตำแหน่ง มีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างสำหรับวันหยุด
ประจำสปั ดาห์ และวันหยดุ ตามประเพณี

2.2 พนักงานประจำรายเดือน (ระบบเดิม) ที่มีวันหยุดประจำสัปดาห์ ๆ ละ 1 วัน ให้มี
วันหยุดประจำสัปดาห์ไดห้ ้าวันต่อสสี่ ปั ดาห์ โดยจะหยดุ วนั ท่ีหกและวันที่เจ็ดของสัปดาห์ใดก็ไดเ้ ปน็ สองวันติดต่อกัน
ภายในสี่สปั ดาห์

2.3 พนักงานประจำรายเดือน (ระบบใหม่) ทมี่ วี ันหยุดประจำสัปดาห์ ๆ ละหนึง่ วนั โดยมีสิทธ์ิ
ไดร้ บั เงนิ เดือนเตม็

3. พนักงานรายวนั ให้มวี นั หยุดประจำสัปดาห์ ๆ ละหน่ึงวนั โดยมไี ดร้ บั ค่าจา้ ง
4. กรณีวันหยุดใดตรงกับวันหยุดตามประเพณี ตามประกาศขององค์การเรื่องกำหนดวันหยุด
ตามประเพณี ใหเ้ ลื่อนวันหยุดตามประเพณีนัน้ ไปหยดุ ในวนั ถัดไป
5. การกำหนดวันหยุดประจำสัปดาห์ของพนักงานตามข้อ 2 และข้อ 3 ให้เขตการเดินรถ หรือ
หน่วยงานท่เี กีย่ วข้องเปน็ ผกู้ ำหนดตามความเหมาะสมของลักษณะงาน
6. พนกั งานที่ปฏบิ ตั งิ านเกินกว่าช่วั โมงทำงานปกติ (8 ช่ัวโมง) ไดร้ ับค่าตอบแทนเป็นเงินเท่ากับ
อัตราคา่ จา้ งต่อในชว่ั โมงในวนั ทำงานตามชวั่ โมงทีท่ ำ
7. พนักงานทปี่ ฏิบัติงานเป็นกะ จะตอ้ งอยู่ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีไปจนกว่าจะมผี ู้มารับหน้าท่ีแทน หากไม่มี
ผู้ใดมารับหน้าที่แทน ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาทราบโดยด่วน เว้นแต่ผู้บังคับบัญชาจะได้สั่งการไว้ล่วงหน้าให้ปฏิบัติ
หน้าทีเ่ กนิ เวลากำหนดเปน็ ครงั้ คราวตามความจำเปน็ สำหรบั พนกั งานทจี่ ะรบั งานกะใด จะตอ้ งมาถงึ สถานท่ีที่จะ
เข้าปฏิบัติหน้าที่ตามเวลาปฏิบัติหน้าที่ของตน หากพนักงานผู้ใดไม่มีเหตุผลอันสมควรมาปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า
หรือไม่มาปฏิบัติหน้าที่ในวันใด และมิได้ปฏิบัติโดยถูกต้องตามข้อบังคับว่าด้วยการลาของพนักงานจะต้องถูก
สอบสวนทางวนิ ัย

102

8. พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ตามบัญชีแนบท้ายคำสั่งนี้ มีสิทธิได้รับผลประโยชน์ตอบแทนตาม
ประเภท เงือ่ นไข และอัตราทีก่ ำหนดไว้

8.1 กรณที ี่ปฏิบัตหิ น้าท่ีหลายประเภทในเวลาเดยี วกัน แมเ้ วลาส้ินสุดการปฏบิ ตั ิหน้าที่จะไม่
พร้อมกัน ก็ให้ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนเฉพาะประเกทเดียวที่มีอัตราค่าตอบแทนสูงสุด ถ้าอัตราค่าตอบแทน
เทา่ กนั ก็ให้ไดร้ บั เพยี งประเภทเดียว

8.2 กรณีทป่ี ฏิบตั หิ นา้ ท่ีหลายประเภทในเวลาท่ีคาบเกีย่ วกัน ให้ไดร้ บั ผลประโยชน์ตอบแทน
ทกุ ประเภทที่ไดป้ ฏบิ ตั ิหนา้ ทีค่ รบตามเงือ่ นไข

9. การปฏบิ ตั ิงาน
9.1 งานประเภทที่ต้องปฏิบตั หิ น้ที่เปน็ ปกตติ ามบัญชีแนบทา้ ยคำสั่งน้ี ให้หัวหน้าหน่วยงาน

ต้งั แตร่ ะดับหวั หน้ากลมุ่ งานขน้ึ ไป สั่งหรอื มอบหมายให้พนักงานผู้มสี ทิ ธไิ์ ด้รบั ผลประโยชน์ตอบแทนน้ันเข้าปฏิบัติ
หนา้ ท่ไี ด้

9.2 งานประเภทที่ต้องปฏิบัติเป็นครั้งคราวให้หัวหน้าหน่วยงานตั้งแต่หัวหน้างานขึ้นไป
รายงาน ขออนุมัติให้พนักงานปฏิบัติหน้าที่ต่อหัวหน้าหน่วยงานระดับผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการเขต
รองผ้อู ำนวยการ เปน็ ผู้อนมุ ัตพิ นักงานที่อย่ใู นสังกัด

9.3 งานประเภทอื่นใด ซึ่งมิได้ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายคำสั่งนี้ หน่วยงานใดมีความจำเป็น
ต้องให้พนักงานปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีเป็นกรณีพเิ ศษเป็นคร้ังคราว ต่อเน่ืองจากเวลาปฏบิ ัติงานปกติ ให้เสนอขออนุมัติต่อ
ผอู้ ำนวยการเป็นครง้ั คราวไป

10. การจา่ ยผลประโยชน์ตอบแทนใหเ้ ปน็ ไปตามบัญชีแนบทา้ ยดำส่ังนี้
ทงั้ นี้ ต้งั แต่บัดนเ้ี ปน็ ต้นไป
สั่ง ณ วนั ท่ี 29 เดอื นธันวาคม พุทธศักราช 2559

103

104

105

106

107

108

109

สิทธกิ ารจา่ ยคา่ ตอบแทน

บนั ทกึ ข้อความที่ ผอก. 02/2557 ลงวนั ที่ 20 มกราคม 2557
เรื่อง การจ่ายคา่ ตอบแทนในการทำงานเกนิ กว่าช่ัวโมงทำงานปกติ
ตามท่สี หภาพแรงงานรัฐวสิ าหกิจองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีหนงั สอื ที่ สร.ขสมก. 743/2556
ลงวันที่ 26 ธนั วาคม 2556 ขอใหอ้ งคก์ ารจ่ายเงินคา่ ทำงานเกินเวลาปกตใิ ห้กับพนักงานทุกตำแหน่ง นั้น
ตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง มาตรฐานขนั้ ตำ่ ของสภาพการจ้าง
ในรัฐวิสาหกจิ ฉบบั ลงวนั ที่ 31 พฤษภาคม 2549
ข้อ 37. ในกรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน ให้นายจ้างจ่ายค่าล่วงเวลา
ให้แก่ลูกจ้างในอัตราไม่น้อยกว่าหนึ่งเท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อย
กว่าหนึ่งเท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคำนวณเป็นหนว่ ย
ข้อ 38. ในกรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันหยุด ให้นายจ้างจ่ายค่าล่วงเวลา
ในวันหยุดใหแ้ ก่ลูกจ้างในอัตราไม่น้อยกว่าสามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนช่ัวโมงท่ที ำ
หรือไม่น้อยกว่าสามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับ
ค่าจา้ งตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
ขอ้ 40. ลูกจา้ งซ่งึ นายจ้างให้ทำงานอยา่ งหนึง่ อยา่ งใดดงั ตอ่ ไปน้ี ไม่มสี ิทธไิ ด้รับค่าลว่ งเวลาตาม
ขอ้ 37 และค่าล่วงเวลาในวันหยุดตามข้อ 38 แต่มีสิทธิไดร้ ับค่าตอบแทนเป็นเงนิ เท่ากับอตั ราคา่ จ้างต่อช่วั โมง
ในวนั ทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ (2) งานขนส่ง
คำสั่งองค์การที่ 709/2549 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2549 เรื่อง กำหนดวันเวลาปฏิบัติงาน
และสิทธิผลประโยชน์ตอบแทนพนักงานองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ข้อ 6 ความว่า "พนักงานที่ปฏิบัติงาน
เกินกว่าชั่วโมงทำงานปกติ (8 ชั่วโมง ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเท่ากับอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมง ในวันทำงานตาม
จำนวนช่วั โมงทที่ ำ"
เพอ่ื ใหก้ ารปฏิบัตเิ ป็นไปตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรฐั วสิ าหกจิ สัมพันธ์ เร่ือง มาตรฐาน
ขั้นต่ำของสภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจ และคำสั่งองค์การดังกล่าว จึงแจ้งให้หัวหน้าหน่วยงานทุกหน่วยงาน
ถือปฏิบัตโิ ดยเคร่งครัด ตอ่ ไป

110

คำส่งั องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ที่ 9๖/๒๕๖๔
เรื่อง อตั ราค่าตอบแทนพนกั งานกรณีการจำหนา่ ยบตั รโดยสารอิเล็กทรอนิกส์
ตามที่องค์การได้นำเครื่องรับชำระค่าโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Capture :
EDC) มาชำระค่าโดยสาร โดยได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานเกี่ยวกับบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องรับชำระ
ค่าโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ (EDC) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพในคราวประชุม
ครงั้ ท่ี ๒/๒๕๖๔ เมอ่ื วนั ที่ ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ เหน็ ชอบในหลักการสำหรับการจา่ ยอัตราคา่ ตอบแทนพนักงาน
กรณีการจำหน่ายบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้มีความเห็นว่าสามารถ
ดำเนินการได้ ตามหนังสอื ท่ี รง ๑๕๑๐/๓๖๖๖ ลงวนั ท่ี ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๓ เรือ่ งขอ้ หารือการจ่ายค่าตอบแทน
การจำหน่ายบัตรโดยสารอเิ ล็กทรอนิกส์ นัน้
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๖(๒) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การ
ขนสง่ มวลชนกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๑๙ จึงมีคำส่ัง ดงั น้ี
1. ยกเลิกคำสั่งองค์การที่ ๗๑๑/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ เรื่อง การจ่ายสิทธิ
ผลประโยชนต์ อบแทนพนักงาน กรณีการจำหน่ายบัตรโดยสารอเิ ล็กทรอนิกส์
2. ให้จ่ายค่าตอบแทนจากการจำหน่ายบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภทในอัตราร้อยละ ๕
ของมูลค่าบตั ร
ทั้งน้ี ตัง้ แต่วนั ที่ ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นตน้ ไป
สั่ง ณ วันที่ ๕ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

111

สทิ ธใิ นการรบั เงนิ ชดเชยกรณีเลกิ จา้ ง
คำสัง่ องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ที่ ๑๒๐/๒๕๖๓
เรอื่ ง กำหนดหลกั เกณฑก์ ารจ่ายเงนิ ชดเชยกรณเี ลกิ จา้ ง
เพื่อให้สอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของ
สภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ ๔) เกี่ยวกับอัตราเงินค่าชดเชยและอัตราเงินเพื่อตอบแทนความชอบ
ในการทำงานของพนกั งานเนอื่ งจากพน้ จากตำแหน่งเพราะเหตเุ กษยี ณอายุ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๖(2) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
พ.ศ. ๒๕๑๙ จึงยกเลกิ คำสั่งองค์การ ที่ ๕๘/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๓ และ คำสั่งองค์การที่ ๙๙/๒๕๖๓ ลง
วนั ท่ี 3 มกราคม ๒๕๖๓ เสยี ท้งั ส้ินและกำหนดหลกั เกณฑก์ ารจ่ายเงินชดเชยกรณเี ลกิ จา้ งใหแ้ กพ่ นักงาน ดงั ต่อไปน้ี
1. พนกั งานซ่งึ ทำงานติดต่อกนั ครบหนึง่ ร้อยย่สี บิ วันแต่ไมค่ รบหนึง่ ปี ใหจ้ ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา
สุดท้ายสามสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจา้ งของการทำงานสามสบิ วันสุดท้าย สำหรับพนกั งานซึง่ ได้รับค่าจา้ งตามผลงาน
โดยคำนวณเปน็ หนว่ ย
2. พนักงานซงึ่ ทำงานติดต่อกันครบหน่ึงปี แต่ไมค่ รบสามปีใหจ้ ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายเก้าสิบ
วัน หรือไมน่ อ้ ยกว่าค่าจา้ งของการทำงานเก้าสบิ วันสดุ ทา้ ย สำหรบั หนกั งานซง่ึ ได้รับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคำนวณเปน็ หน่วย
3. พนกั งานซ่งึ ทำงานตดิ ตอ่ กันครบสามปี แตไ่ ม่ครบหกปี ให้จ่ายไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างอตั ราสดุ ท้ายหน่ึง
ร้อยแปดสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานหนึ่งร้อยแปดสิบวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้าง
ซงึ่ ได้รับคา่ จ้างตามผลงาน โดยคำนวณเปน็ หนว่ ย
4. พนักงานซึ่งทำงานติดต่อกันครบหกปี แต่ไม่ครบสิบปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสอง
ร้อยสี่สิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานสองร้อยสี่สิบวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้าง
ตามผลงาน โดยคำนวณเป็นหนว่ ย
5. พนักงานซึง่ ทำงานติดตอ่ กันครบสิบปี แต่ไม่ครบย่ีสบิ ปี ใหจ้ ่ายไม่น้อยกว่าค่าจา้ งอัตราสดุ ท้ายสาม
ร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าคา่ จ้างของการทำงานสามร้อยวันสุตท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณ
เปน็ หน่วย
6. พนักงานซึ่งทำงานติดต่อกันครบยี่สิบปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสี่ร้อยวัน
หรอื ไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทำงานส่ีรอ้ ยวันสดุ ท้าย สำหรับลูกจา้ งซึง่ ได้รบั ค่าจ้างตามผลงาน โดยคำนวณเปน็ หน่วย
การเลิกจ้าง หมายความว่า การกระทำใดที่องค์การไม่ให้พนักงานทำงานต่อไป และไม่จ่ายค่าจ้างให้
โดยมีคำสั่งหรือหนังสอื ให้เลิกจ้างไมว่ ่า จะเปน็ เพราะเหตสุ ้ินสดุ สัญญาจ้างหรือเหตุอนื่ ใด และหมายความรวมถึงกรณีที่
พนักงานได้ทำงาน และไม่ใด้รับค่าจ้างเพราะเหตุที่องค์การไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไปได้ แต่ไม่รวมถึงการพ้นจาก
ตำแหน่งเพราะเหตุเกษียณอายุการจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาตามวรรคสาม ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจ
สัมพันธ์ เรือ่ ง มาตรฐานขน้ั ตำ่ ของสภาพการจ้างในรฐั วิสาหกจิ พ.ศ. ๒๕๔๙ หมวด ๙ ค่าชดเชย จะกระทำได้สำหรับการ
จา้ งงานในโครงการเฉพาะท่ีมิใชง่ านปกติขององค์การ ซึ่งตอ้ งมีระยะเวลาเรมิ่ ตน้ และสิน้ สุดของานที่แน่นอน หรือในงาน
อนั มีลกั ษณะเปน็ คร้ังคราวท่ีมีกำหนดการส้นิ สุด หรือความสำเร็จของงาน หรอื ในงานทเ่ี ปน็ ไปตามฤดูกาลและได้จ้างใน
ช่วงเวลาของฤดูกาลนั้นซึ่งงานนั้นจะต้องเสร็จภายในเวลาไม่เกินสองปี โดยองค์การและพนักงานได้ทำสัญญาเป็น
หนงั สอื ไวต้ ้ังแตเ่ มือ่ เรมิ่ จ้าง
ท้ังน้ี ตง้ั แตบ่ ดั น้ี เป็นตน้ ไป
ส่ัง ณ วันที่ 1๘ เดอื นกุมภาพนั ธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๓

112

สทิ ธิการเบกิ จา่ ยคา่ รับรอง

บันทกึ ข้อความท่ี ผอก. 09 /2557 ลงวันที่ 28 กุมภาพนั ธ์ 2557
เรอ่ื ง กำหนดหลักเกณฑก์ ารเบิกจ่ายค่ารบั รอง

เพอื่ ใหก้ ารเบิกจ่ายค่ารับรองในการจดั เลี้ยงอาหาร สอดคลอ้ งกบั สถานะทางการเงนิ ขององค์การ
จงึ กำหนดหลักเกณฑก์ ารปฏิบัตใิ นการเบกิ จา่ ยได้ ดังนี้

1. การเบกิ จา่ ยคา่ รับรอง
1.1 การจัดเลี้ยงอาหารกลางวันหรืออาหารเยน็ และอาหารวา่ ง (เช้าหรือบ่าย)
1.1.1 การประชุมคณะกรรมการบรหิ ารกจิ การองคก์ าร
1.1.2 การประชมุ คณะกรรมการที่มีบุคคลภายนอกรว่ มเปน็ กรรมการ
(เบิกจา่ ยได้เฉพาะบคุ คลภายนอก)
1.2 การจัดเลยี้ งอื่น ๆ ใหข้ ออนุมตั เิ ป็นกรณีไป

2. การจดั เลีย้ งอาหาร
ให้หน่วยงานที่กำหนดและจัดการประชุม จัดทำหนังสือขออนุมัติจัดเลี้ยงรับรองผู้เข้าร่วม

ประชุม โดยใช้แบบฟอร์มการขออาหารเลี้ยงรับรองในการประชุม (เอกสารแนบ) และต้องแนบคำสั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมการจากบุคคลภายนอกที่เข้าร่วมประชุมหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องทุกครั้ง โดยนำเสนอขออนุมัติต่อ
ผอู้ ำนวยการสำนกั บริการและจดั ซอื้ ตามหลักเกณฑ์การเบิกจา่ ยใน ขอ้ 1

จึงแจ้งมาเพ่ือทราบ และถอื ปฏิบตั ติ ั้งแตบ่ ัดน้เี ป็นตน้ ไป

113

องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
แบบขออาหารเลยี้ งรับรองในการประชมุ

...............................
เรียน ผู้อำนวยการสำนกั บรกิ ารและจัดซ้อื

ด้วย.................................................................มีความประสงค์ขอให้ สำนักบริการและจัดซ้ือ
ฝา่ ยบริหาร จดั อาหารเลี้ยงรบั รองผเู้ ขา้ ร่วมประชุม

( ) คณะกรรมการบรหิ ารกิจการองคก์ าร
( ) บคุ คลภายนอก
( ) อืน่ ๆ ................................................
เรอื่ ง ..............................................................................................ในวนั ท่ี ............... ..............................................
เวลา ..............................น. ณ หอ้ งประชมุ .......................ผ้เู ข้ารว่ มประชุม จำนวน .......................คน โดยให้จัด
อาหารเล้ียงรบั รอง ดังนี้
( ) อาหารว่าง (เช้า)
( ) อาหารกลางวัน
( ) อาหารว่าง (บ่าย)
( ) อาหารเยน็
( ) อื่น ๆ ................................................
จึงเรียนมาเพอื่ โปรดพจิ ารณาอนุมตั ิ และส่ังการให้ กลุ่มงานบรกิ าร ดำเนินการตอ่ ไป

ลงชือ่ ............................................................
(..........................................................)
.................../................./..................

คำสงั่

- อนมุ ตั ิ

- ห.กบก. ดำเนินการต่อไป

( )
ผอ.สบจ.

114

สิทธใิ นการหยุดตามประเพณี

คำสั่งองค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ที่ ๕๓๗/๒๕๖๔

เรื่อง กำหนดวันหยุดตามประเพณี ประจำปี ๒๕๖๕

ตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรฐั วิสาหกิจสัมพันธ์ เรอ่ื ง มาตรฐานขนั้ ต่ำของสภาพการจ้าง

ในรัฐวิสาหกิจ ฉบับลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ข้อ ๑๖ กำหนดให้รัฐวิสาหกิจจัดให้พนักงานมีวันหยุด

ตามประเพณไี ม่นอ้ ยกวา่ ปลี ะสิบสามวัน นั้น

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๒) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชน

กรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๑๙ จงึ กำหนดวันหยดุ ตามประเพณี ประจำปี ๒๕๖๕ ของพนกั งานทุกตำแหนง่ ดังน้ี

๑. วนั ขึน้ ปีใหม่ วันที่ 1 มกราคม

2. วันมาฆบชู า วนั ที่ 16 กมุ ภาพนั ธ์

3. วนั ที่ระลกึ มหาจักรีบรมราชวงศ์ วันท่ี ๖ เมษายน

๔. วนั สงกรานต์ วนั ท่ี ๑๓ ๑๔ ๑๕ เมษายน

5. วนั แรงงานแหง่ ชาติ วันท่ี 1 พฤษภาคม

6. วันฉตั รมงคล วนั ท่ี 4 พฤษภาคม

๗. วันพชื มงคล (สำนกั พระราชวงั จะประกาศเปน็ ปี ๆ ไป) 1 วนั

8. วันวสิ าขบูชา วนั ท่ี ๑๕ พฤษภาคม

9. วนั เฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินี วันที่ ๓ มิถุนายน

10.วนั อาสาฬหบชู า วันท่ี 13 กรกฎาคม

11.วันเข้าพรรษา วันที่ ๑๔ กรกฎาคม

๑๒. วนั เฉลิมพระชนมพรรษา รชั กาลที่ ๑๐ วนั ที่ ๒๘ กรกฎาคม

๑๓. วันแมแ่ หง่ ชาติ วนั ท่ี ๑๒ สงิ หาคม

๑๔. วันคล้ายวนั สวรรคต รัชกาลท่ี ๙ วันที่ ๑๓ ตลุ าคม

๑๕. วันปยิ มหาราช วันท่ี ๒๓ ตลุ าคม

๑๖. วันคลา้ ยวนั พระราชสมภพ รชั กาลที่ ๙ วนั ท่ี ๕ ธนั วาคม

๑๗. วนั พระราชทานรฐั ธรรมนญู วนั ท่ี ๑๐ ธันวาคม

๑๘. วนั ส้ินปี วนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม

ในกรณีที่วันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดประจำสัปดาห์ให้พนักงานได้หยุดชดเชย

วันหยุดตามประเพณีในวันทำงานถัดไป ในกรณีที่วันหยุดชดเชยมีติดต่อกันเกินกว่าหนึ่งวันให้นายจ้างจัดให้

ลกู จา้ งหยุดชดเชยไดเ้ พยี งหนง่ึ วนั และใหน้ ายจ้างจัดใหล้ ูกจ้างไดห้ ยดุ ชดเชยวนั ทยี่ ังไมค่ รบในวนั อ่นื แทน

ส่ัง ณ วันที่ ๒๙ เดอื นพฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

115

สวัสดกิ ารรถใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน

ระเบียบองคก์ ารชนส่งมวลชนกรงุ เทพ

ว่าดว้ ยรถใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน พ.ศ.2562

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 26(2) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชน

กรงุ เทพ พ.ศ.2519 จงึ ให้วางระเบียบวา่ ดว้ ยรถใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน พ.ศ.2562 ดังน้ี

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ว่าด้วยรถใช้ในการปฏิบัติงาน

พ.ศ. 2562"

ข้อ 2 ให้ยกเลิกระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ว่าด้วยรถใช้ในการปฏิบัติงาน พ.ศ.2544

และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมทั้งระเบียบ หรือคำสั่งใดที่กำหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อกำหนด

แหง่ ระเบยี บนี้ ใหใ้ ชร้ ะเบียบนีแ้ ทน

ข้อ 3 ให้ใชร้ ะเบยี บนี้ ต้ังแตว่ นั ถดั จากวันออกระเบยี บน้ีเป็นตน้ ไป

ข้อ 4 ระเบียบนี้ใช้สำหรบั รถยนต์และรถจักรยานยนตข์ ององค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ

สว่ นท่ี 1

ขอ้ ความทว่ั ไป

ข้อ 5 ในระเบียบน้ี

"องคก์ าร" หมายความว่า องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ

"ผูอ้ ำนวยการ" หมายความวา่ ผอู้ ำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ

"รองผูอ้ ำนวยการ" หมายความว่า รองผู้อำนวยการทกุ ฝา่ ย

"ผชู้ ว่ ยผู้อำนวยการ" หมายความว่า ผชู้ ่วยผอู้ ำนวยการทุกฝ่าย

"พนักงาน" หมายความว่า ผู้ปฏบิ ตั งิ านในองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ

"รถประจำตำแหนง่ " หมายความว่า รถยนต์ที่องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพจัดให้แก่

พนกั งานผูด้ ำรงตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้

"รถส่วนกลาง" หมายความว่า รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ทจ่ี ัดไว้เพ่ือกิจการอันเป็น

ส่วนรวมขององค์การ

ข้อ 6 พนกั งานทอ่ี งค์การจัดรถประจำตำแหน่งใหไ้ ด้แก่

6.1 ผู้อำนวยการ

6.2 รองผอู้ ำนวยการ

6.3 ผ้ชู ่วยผ้อู ำนวยการ

ข้อ 7 รถส่วนกลางทุกคันให้มีตราเครื่องหมายและชื่ออักษรขององค์การ ที่มีขนาดความกว้าง

ความยาว และความสูง เหมาะสมกับขนาดของรถแต่ละประเภท ไว้ด้านข้างรถทั้งสองข้าง กรณีมีเหตุผลและ

ความจำเปน็ ซึง่ เหน็ วา่ การมตี ราเครื่องหมายและอักษรช่ือแสดงสังกัด แสดงไวด้ ้านข้างนอกรถอาจจะไม่ปลอดภัย

แก่ผู้ใช้ หรือไม่เหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน ให้ขออนุมัติผู้อำนวยการ เพื่อขอยกเว้นการมีตราเครื่องหมาย และ

อักษรช่อื แสดงสังกัดได้

ในกรณีที่มีการจำหน่ายรถองค์การ ให้หน่วยงานที่ควบคุมดูแล ลบหรือทำลายตราเครื่องหมาย

องค์การ ออกทัง้ หมดก่อนที่จะส่งมอบรถให้บคุ คลอ่ืน

116

ข้อ 8 รถคันใดได้รับการยกเว้นการมีตราเครื่องหมายองค์การ ให้หน่วยงานที่ควบคุมดูแลรายงาน
ให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินทราบ และให้มีการพิจารณาทบทวนเหตุผลและความจำเป็นของการยกเว้นการมี
ตราเคร่ืองหมายองค์การ ในชว่ งเวลาอันเหมาะสมอยูเ่ สมอดว้ ย

ข้อ 9 ให้ กลมุ่ งานบัญชี สำนกั บญั ชีและกองทุนกลาง และกลมุ่ งานบญั ชีและการเงิน เขตการเดินรถ
เป็นผู้จัดทำบัญชีรายการแสดงหลักฐานการได้มาและจำหน่ายจ่ายโอน ซึ่งรถปฏิบัติงานไว้เป็นหลักฐานตามแบบ
ทอี่ งค์การกำหนด

ข้อ 10 ในแต่ละปีงบประมาณ ให้หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ควบคุมรถใช้งานต้องสำรวจ
และกำหนดเกณฑ์การใชส้ ้ินเปลืองเช้ือเพลิงของรถทุกคัน เพื่อเป็นหลักฐานในการเบิกจ่ายเชื้อเพลิงและการตรวจสอบ
ของเจา้ หนา้ ท่ีตรวจสอบ

ส่วนท่ี 2
การจดั หา
ข้อ 11 รถประจำตำแหน่ง ให้มีได้ไม่เกินตำแหน่งละ 1 คัน พนักงานผู้ใดดำรงตำแหน่งหลาย
ตำแหนง่ ให้เลอื กใช้รถประจำตำแหนง่ ไดเ้ พยี งตำแหน่งเดยี ว
รถประจำตำแหน่ง ซึ่งมีอายุการใช้งานมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี และรถส่วนกลาง ซึ่งมี
อายกุ ารใชง้ านมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปี ใหถ้ อื เป็นเกณฑท์ ีจ่ ะพจิ ารณาจดั หารถคนั ใหม่ทดแทนคันเกา่ ได้
สำหรับรถประจำตำแหน่ง หรือรถส่วนกลาง ที่ได้รับความเสียหายต้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายใน
การซอ่ มสูง หรอื ประโยชน์ท่จี ะได้รบั ไมค่ ุ้มกบั ค่าซ่อม หรือเมอ่ื ซอ่ มแล้วไม่อยู่ในสภาพที่ใช้การได้โดยปลอดภัย ไม่อยู่
ในบังคับของระยะเวลาดังกลา่ วในวรรคขา้ งต้น
ข้อ 12 รถทจ่ี ัดหามาใช้ในการปฏิบัติงาน ไม่วา่ จะเป็นรถประจำตำแหน่งหรือรถส่วนกลาง โดยใช้
เงินงบประมาณของแผ่นดิน จะตอ้ งไม่เกินกว่าขนาดและราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณ หรือทางราชการเป็น
ผู้กำหนด
รถที่จดั หามาโดยใชเ้ งินโครงการหรอื เงนิ รายได้อื่น ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ ตกลงหรือท่ีกำหนด
ไว้ระหว่างองคก์ ารกบั หน่วยงานท่ีให้เงนิ อุดหนนุ โครงการน้นั ๆ
ข้อ 13 การคิดคำนวณค่าเสื่อมราคาของรถให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งที่
องค์การกำหนด
ส่วนที่ 3
การใช้
ขอ้ 14 รถประจำตำแหน่ง ใหใ้ ชใ้ นการปฏิบตั ิราชการในตำแหน่งหนา้ ท่ี หรือที่ได้รับมอบหมาย
โดยชอบ หรอื งานที่เกย่ี วเนอ่ื งโดยตรงกับงานในตำแหนง่ หนา้ ท่ี หรือฐานะที่ตำรงตำแหน่งน้นั รวมตลอดถงึ การใช้
เพื่อเดินทางไป - กลับระหว่างที่พักและสำนักงาน และเพื่อการอื่นที่จำเป็นและเหมาะสมแก่การดำรงตำแหน่ง
หนา้ ทีใ่ นหมู่ราชการและสังคม
ห้ามผู้มีสิทธิได้รถประจำตำแหน่ง ซึ่งได้รถประจำตำแหน่งแล้ว นำรถส่วนกลางไปใช้อีก
เว้นแต่มเี หตุผลความจำเปน็ เฉพาะคราว ทั้งนใ้ี หร้ ะบเุ หตุผลความจำเป็นทีต่ ้องใชร้ ถสว่ นกลางไว้ด้วย
ขอ้ 15 หนา้ ทก่ี ารควบคุมรถใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน ใหป้ ฏิบตั ิดังนี้

117

15.1 ให้ กลุ่มงานบริการ สำนักบริการและจัดซื้อ ฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ควบคุม
รถประจำตำแหนง่ และรถใช้งานส่วนกลางในสำนักงานใหญ่ทัง้ หมด รวมทั้งรถจักรยานยนต์ของงานธุรการกลาง
และดำเนินการใชร้ ถตามคำขอของแตล่ ะหน่วยงาน ตามความเหมาะสม

15.2 ให้ กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป เขตการเดินรถ มีหน้าที่ควบคุมรถส่วนกลาง
รถยนตช์ ่างและรถจักรยานยนต์ของเขตการเดินรถ และให้ดำเนินการใช้รถตามความเหมาะสม

15.3 ให้งานกำกับควบคุมการซ่อมบำรุง กลุ่มงานควบคุมและวิเคราะห์การเดินรถ
สำนักบรหิ ารการเดินรถ ฝ่ายการเดินรถองค์การ มหี นา้ ท่คี วบคุมรถยนต์ช่างในสังกดั และให้ดำเนินการใช้รถตาม
ความเหมาะสม

15.4 ให้ กลุ่มงานสายตรวจพิเศษ มีหน้าที่ควบคุมรถจักรยานยนต์ของสายตรวจพิเศษ
และดำเนินการใชร้ ถตามความเหมาะสม

ใบเบิกรถส่วนกลางให้ใช้ตามแบบที่องค์การกำหนด (เอกสารหมายเลข 1) โดยมีผู้อำนวยการ
สำนักหรือผู้อำนวยการเขตขึ้นไป หรือผู้ได้รับมอบหมายให้พิจารณาอนุญาตการใช้รถได้ตามความจำเป็น
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ยกเว้นรถส่วนกลางที่ใช้ในการปฏิบัติงานเดินรถ ให้ผู้อำนวยการเขต
พจิ ารณาตามความเหมาะสม

รถส่วนกลางทุกคันที่นำออกใช้ปฏิบัติงานนอกสถานที่ทำการองค์การจะต้องมีใบขอใช้รถ หรือ
หลักฐานระบุชื่อของผู้ใช้รถและกิจการที่ใช้วันเวลาที่ใช้รถและกำหนดเวลาที่รถกลับถึงที่ทำการองค์การ ยกเว้น
รถสว่ นกลางท่ีใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านเดนิ รถ ให้ผู้อำนวยการเขตพิจารณาตามความเหมาะสม

ให้ผู้ควบคุมการใช้รถส่วนกลาง จัดทำสมุดบันทึกการใช้รถส่วนกลางประจำรถแต่ละคัน โดยให้
ใช้ขอ้ ความ (เอกสารหมายเลข 2) และสมุดคุมการจา่ ยรถ (เอกสารหมายเลข 3)

ข้อ 16 หน้าที่ในการตรวจสอบการใช้รถ ให้สำนักตรวจสอบ เป็นผู้ตรวจสอบให้ผู้ใช้รถทุกตำแหน่ง
ปฏิบัติตามระเบียบนี้ และคำสั่งองค์การ เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์การใช้น้ำมันรถส่วนกลาง โดยจะต้องสรุป
รายงานเสนอผอู้ ำนวยการ เปน็ ประจำทุกเดือน

ข้อ 17 รถส่วนกลางให้ใช้ในการปฏิบัตงิ านขององค์การเท่านั้น จะใช้ในกิจการอ่ืนไม่ได้ เว้นแต่
จะไดร้ บั อนุมตั ิจากผูอ้ ำนวยการ และจะตอ้ งมีบันทึกการใช้รถดังกล่าวไวโ้ ดยละเอยี ด ผขู้ อใช้รถสว่ นกลางดังกล่าว
ต้องออกค่าใช้น้ำมันเชื้อเพลิง และค่าใช้จ่ายของพนักงานขบั รถ และความเสียหายจากการเกิดอุบัติเหตหุ รือจาก
การใชร้ ถคร้ังน้นั ผู้ขอใช้รถตอ้ งเปน็ ผ้รู ับผิดชอบ

17.1 กรณีขอใช้รถส่วนกลางเพื่อใช้ในกิจการขององค์การ ระยะทางเกินกวา่ 200 กิโลเมตร
ตอ้ งไดร้ บั อนุมัตจิ ากผอู้ ำนวยการ

17.2 กรณีขอใช้รถส่วนกลางเพื่อใช้ในกิจการขององค์การ ออกต่างจังหวัดไม่เกิน
200 กิโลเมตร ให้รองผอู้ ำนวยการที่รบั ผิดชอบในแตล่ ะฝ่ายเป็นผ้อู นมุ ตั ิ

ข้อ 18 ผ้ใู ชร้ ถประจำตำแหน่งต้องคืนรถให้องค์การภายในกำหนด 30 วนั นบั แต่วันที่พ้นตำแหน่ง
หรือกรณีที่ผู้ใช้รถประจำตำแหน่งถึงแก่กรรม ให้รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร หรือผู้ทำการแทนเรียกรถประจำ
ตำแหน่งคนื ภายในกำหนด 30 วนั เช่นกัน

ข้อ 19 ให้พนักงานขับรถ ลงรายการแสดงรายละเอียดที่เกี่ยวกับการใช้รถตามความเป็นจริง
ตามสมดุ บนั ทึกคุมการใช้รถส่วนกลาง (เอกสารหมายเลข 2) และให้ผู้ขอใช้รถลงนามในช่องลายมือช่ือผู้ใช้รถทุกครั้ง

118

ทะเบียนควบคุมดังกล่าว พนกั งานขบั รถต้องรวบรวมสง่ ให้หัวหน้าหน่วยงานที่ไดร้ ับมอบหมายให้ควบคุมรถใช้งาน
กอ่ นเลิกงานหรือในวนั ทำงานรงุ่ ขึน้ กอ่ นเวลา 09.00 น.

ข้อ 20 ห้ามมิให้พนักงานขับรถ ยินยอมให้ผู้อื่นขับรถแทน เว้นแต่ไนขณะนั้นพนักงานขับรถ
ไม่สามารถจะขับรถได้ และมีความจำเป็นเร่งด่วนในการใช้รถ ให้หัวหน้าหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ควบคุม
รถใช้งานเป็นผอู้ นุญาตใหผ้ ูอ้ ืน่ ขบั รถแทนได้

ข้อ 21 พนักงานขับรถจะต้องดูแลรักษารถที่อยู่ในความดูแลของตนให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้เสมอ
มีอุปกรณ์เครื่องมืออะไหล่ครบ และจะต้องขับรถด้วยความระมัดระวังเช่นวิญญูชนพึงมีและปฏิบัติ โดยใช้ความเร็ว
ไม่เกินท่กี ฎหมายกำหนด เหมาะสมกับการปฏบิ ัตงิ าน และไม่ทำการฝ่าฝนื พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก

พนกั งานขบั รถท่ีอยู่ในระหวา่ งเวลาปฏิบตั ิงาน จะเสพสุราเครือ่ งด่ืมมึนเมาหรือยาเสพติด
ใด ๆ ไมไ่ ด้เปน็ อนั ขาด และห้ามขบั ข่รี ถขณะเมาสรุ าหรือเมายาเสพตดิ อืน่

ส่วนที่ 4
การเกบ็ รักษาและซ่อมบำรุง
ข้อ 22 การเก็บรักษารถประจำตำแหน่ง ให้อยู่ในความควบคุมและความรับผิดชอบของผูด้ ำรง
ตำแหนง่ ทใ่ี ช้รถ
การเก็บรักษารถส่วนกลาง ให้อยู่ในความควบคุมและความรบั ผิดชอบของหนว่ ยงานท่ี
ได้รับมอบหมายตามข้อ 15 โดยเก็บรักษาในสถานที่เก็บหรือในบริเวณของที่ทำการองค์การ เว้นแต่จะได้รับ
อนญุ าตจากผอู้ ำนวยการ ใหน้ ำไปเก็บที่อืน่ เป็นครั้งคราวไดต้ ามความจำเป็น
รถทเี่ ดนิ ทางไปปฏิบัติงานในต่างจังหวดั ใหอ้ ยูใ่ นความควบคมุ และความรับผิดชอบของ
หวั หนา้ คณะผู้เดินทางไปปฏบิ ัติงานในต่างจงั หวดั
สำหรับรถส่วนกลาง การพจิ ารณาอนุญาตให้นำรถไปจอดเก็บรกั ษาท่ีอื่นเป็นการชว่ั คราว
หรอื เป็นคร้ังคราวไดใ้ นกรณีต่อไปนคี้ อื
(1) ส่วนรายการไมม่ ีสถานทีเ่ กบ็ รกั ษาปลอดภัยเพียงพอ หรอื
(2) มีราชการจำเป็นและเร่งด่วนหรือการปฏบิ ัตริ าชการลบั
การขออนุญาตให้นำรถไปจอดเก็บรักษาที่อื่นเป็นการชั่วคราวหรือเป็นครั้งคราว ให้
ผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษารถส่วนกลาง จัดทำรายงานขออนุญาตพร้อมด้วยเหตุผลความจำเป็น และ
รายละเอียดของสถานที่ที่จะนำรถส่วนกลางไปเก็บรักษา ซึ่งแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่ามีความปลอดภัย
เพยี งพอ เสนอขออนุญาตต่อผ้อู ำนวยการ เมื่อได้รับอนุญาตแลว้ ให้รายงานให้สำนักงานตรวจเงนิ แผ่นดนิ ทราบ
ข้อ 23 เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นกับรถประจำตำแหน่ง ผู้ใช้รถประจำตำแหน่งต้องรีบรายงาน
ผู้บังคับบัญชาตามลำดับทราบทันที กรณีไม่สามารถที่จะรายงานเองได้ ให้พนักงานขับรถประจำตำแหน่ง
รีบรายงานผูบ้ ังคับบญั ชาตามลำดับจนถงึ ผูอ้ ำนวยการ
กรณีเกิดความเสียหายขึ้นกับรถส่วนกลาง ให้พนักงานขับรถรีบรายงานผู้บังคับบัญชา
ตามลำดับทราบทันที
รถประจำตำแหน่ง ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความผิดของบุคคลภายนอก ให้ผู้ดำรง
ตำแหน่ง ซึ่งใช้รถประจำตำแหน่งเปน็ ผูเ้ รียกร้องค่าสนิ ไหมทดแทนจากบคุ คลภายนอกในนามขององค์การ แต่ถ้า

119

ความเสียหายน้นั เกดิ ขน้ึ เพราะความผดิ ของผู้ขับขี่ ซึ่งมิใช่พนักงานขับรถประจำตำแหน่ง ผู้ดำรงตำแหน่งซ่ึงใช้รถ
ประจำตำแหนง่ นน้ั ตอ้ งรับผดิ ชอบซ่อมแซมให้คงสภาพดีคงเดมิ

การดำเนินการตามวรรคก่อน ให้นำพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ
เจา้ หนา้ ทม่ี าใชบ้ ังคบั ตามระเบียบนี้

การรายงานกรณีรถเกิดความเสยี หายให้รายงานตามแบบรายงานอุบัติเหตุ
ข้อ 24 ให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดขอบในการควบคุมดูแลรถใช้งานส่วนกลาง มีหน้าท่ี
รับผิดชอบการซ่อมบำรุงรถใช้ในการปฏิบัตงิ านทุกประเภท ให้อยู่ในสภาพพร้อมท่ีจะใชง้ านได้ดีอยู่เสมอ และให้
จดั ทำประวัติการช่อมรถแต่ละคันไว้ด้วย

ให้หน่วยงานที่ควบคุมดูแลรถดำเนินการตรวจสอบและดูแลสภาพรถ มิให้มีมลพิษ
ทางอากาศและระดับเสียงจากท่อไอเสียเกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
กำหนดในการตรวจมลพษิ ของรถตามวรรคสอง ใหม้ กี ารตรวจสอบทุก 6 เดือนหรอื ทุกระยะทาง 15,000 กิโลเมตร
แล้วแต่จะถึงกำหนดอย่างใดก่อน และภายหลังการซ่อมบำรุงที่เกี่ยวกับระบบการทำงานของเครื่องยนต์ทุกครั้ง
เมื่อพบว่ารถคันใดมีมลพิษเกินระดับมาตรฐาน ให้ดำเนินการแก้ไขซ่อมบำรุงหรือปรับแต่งสภาพเครื่องยนต์ให้มี
สภาพดตี ามมาตรฐานทนั ที

ให้หน่วยงานที่ควบคุมดูแลรถรายงานผลการดำเนินงานมายังสำนักบริหารการเดินรถ
เพือ่ รวบรวมแจ้งกระทรวงวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและส่งิ แวดลอ้ ม อย่างนอ้ ยปลี ะ 1 ครัง้

ส่วนที่ 5
การเบกิ จ่ายค่าเชอื้ เพลิง
ข้อ 25 การใช้เชื้อเพลิงของรถประจำตำแหน่ง และรถใช้ส่วนกลาง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ี
องค์การกำหนด
ข้อ 26 ก่อนการใช้รถแต่ละคันในแต่ละวัน ให้พนักงานขับรถดูแลให้น้ำมันเชื้อเพลิง และ
น้ำมันเคร่ืองมีปรมิ าณเพียงพอทจี่ ะใชป้ ฏิบตั ิงานได้โดยไม่เกดิ ความเสียหาย
ในการเบิกจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละครั้ง ผู้เบิกจ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงจะต้องบันทึก
รายงานลงในทะเบียนควบคมุ การใชร้ ถทกุ ครง้ั

ส่วนท่ี 6
บทลงโทษ
ข้อ 27 ผู้ใดกระทำการโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ หรือกระทำการ
โดยมีเจตนาทุจริต หรือปราศจากอำนาจหรือนอกเหนืออำนาจหน้าที่ ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย ตามข้อบังคับ
องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพวา่ ดว้ ยวนิ ยั พนักงาน
ประกาศ ณ วันที่ 22 เดือนมีนาคม พุทธศกั ราช 2562

120

สวัสดกิ ารการใชร้ ถโดยสารส่วนบุคคล

คำสั่งองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ที่ ๒๓8/๒๕๖๓
เร่อื ง กำหนดหลักเกณฑ์การใช้รถโดยสารส่วนบุคคล
ตามที่องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ได้แลกเปลี่ยนครุภัณฑ์เป็นรถโดยสารส่วนบุคคลขนาด
ไม่น้อยกว่า ๓๖ ที่นั่ง จำนวน 2 คัน ไว้ใช้ในกิจกรรมขององค์การ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการรถโดยสาร
ส่วนบุคคลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ จึงให้ยกเลิกคำสั่งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
ที่ ๗๗๐/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เสียทั้งสิ้น และได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการใช้รถโดยสาร
สว่ นบุคคลดังนี้
๑. มอบหมายให้เขตการเดินรถที่ ๑ เป็นผู้ควบคุม ดูแลบำรุงรักษาและกำหนดรหัสทรัพย์สิน
ให้เป็นไปตามระเบียบองคก์ าร ดังนี้
๑.๑ ดแู ลการซ่อมแชมและบำรุงรกั ษาให้มคี วามพร้อม ปลอดภยั ในการใชง้ านตลอดเวลา
๑.๒ จัดหาพนักงานขบั รถทม่ี สี ุขภาพแขง็ แรง มีประสบการณแ์ ละความชำนาญในการขบั รถ
๑.๓ ดูแลรกั ษาความสะอาด พรอ้ มให้บรกิ ารตลอดเวลา
๑.๔ การซ่อมแชมและบำรุงรักษารถโดยสารส่วนบุคคล ใหด้ ำเนินการตามระเบียบขององค์การ
๒. กำหนดหลกั เกณฑก์ ารใช้
๒.๑ หน่วยงานที่มีความประสงค์ใช้รถ ต้องแจ้งกำหนดการใช้รถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
ล่วงหน้าประมาณ ๗ วัน และต้องได้รับอนุมัติจากผู้อำนวยการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ หรือรองผู้อำนวยการ
ฝา่ ยการเดนิ รถองค์การ
๒.๒ เมื่อได้รับอนุมัติจากผู้อำนวยการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ หรือ รองผู้อำนวยการ
ฝ่ายการเดินรถองคก์ าร แลว้ ให้เขตการเดินรถท่ี ๑ ดำเนนิ การตามภารกิจท่ีไดร้ ับอนุมตั ิ
ท้ังน้ี ต้ังแต่บัดนี้เป็นตน้ ไป
สั่ง ณ วันท่ี ๒๐ เดือนเมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๓

121

สวสั ดิการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ระเบยี บองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
วา่ ด้วย ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2555

คณะทำงานการส่งเสริมให้องค์การมีการกำกับดูแลกิจการที่ดี (CG) มีนโยบายการกำกับดูแล
องค์การด้านคุณภาพความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน และให้สอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 จึงได้ทำการปรับปรุงการคำเนินการบริหารและการจัดการด้าน
ความปลอดภัยอาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการ ทำงาน ให้เป็นไปตามระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ท่ีกฎหมายกำหนด
ตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่องมาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจ ฉบับ
ลงวันท่ี 31 พฤษภาคม 2549 กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน นนั้

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 26(2)แห่งพระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชน
กรุงเทพ พ.ศ.25 19 จึงให้ยกเลิกระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน พ.ศ. 2535 และ
ใหใ้ ช้ระเบียบต่อไปนีแ้ ทน

ข้อ 1 ระเบียบนี้ เรียกว่า " ระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ว่าด้วยความปลอดภัย
อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2555

ขอ้ 2 ในระเบยี บนี้
"องคก์ าร" หมายความวา่ องค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ
"ผู้อำนวยการ" หมายความวา่ ผู้อำนวยการองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ หรือ ผรู้ ับมอบ

อำนาจใหด้ ำเนนิ การแทนผู้อำนวยการ
"ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน" หมายความว่า การกระทำ

หรือสภาพการทำงาน ซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำให้เกิดการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือความเดือดร้อนรำคาญ
อนั เน่อื งจากการทำงานหรือเกีย่ วกบั การทำงาน

"เจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทำงาน" หมายความวา่ พนกั งานหรือลกู จ้าง ซึ่งองค์การ
แต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน ระดับบริหาร ระดับเทคนิ ค
ระดบั เทคนคิ ชนั้ สูง และระดับวิชาชีพ

"พนกั งาน " หมายความว่า พนกั งานหรอื ลกู จ้างขององคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ
"พนักงานระดับหัวหน้างาน" หมายความว่า พนักงานซึ่งทำหน้าที่ควบคุม ดูแล บังคับ
บญั ชาสั่งงานให้พนักงานหรอื ลูกจ้างทำงานตามหน้าที่ของหนว่ ยงานนนั้ ๆ
"พนักงานระดับบริหาร " หมายความว่า พนักงานซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยงานที่มีระดับสูงกว่า
หวั หนา้ งานขน้ึ ไปไมว่ า่ จะเรียกชื่ออยา่ งไรก็ตาม
"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอ้ มในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
"กรรมการ" หมายความว่า กรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมใน
การทำงานของสถานประกอบกจิ การ

122

"ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา" หมายความว่า พนักงานระดับหัวหน้างานหรือ
เทยี บเท่าข้นึ ไปท่ไี ด้รับการแต่งตงั้ จากองค์การให้เปน็ กรรมการ

"ผู้แทนลูกจ้าง" หมายความว่า ผู้แทนพนักงานหรือลูกจ้างซึ่งเป็นพนักงานระดับ
ปฏิบตั ิการทไี่ ดร้ ับการเลือกตงั้ จากฝ่ายพนกั งานหรือลูกจา้ ง ใหเ้ ปน็ กรรมการ

"งานความปลอดภัย" หมายความว่า หน่วยงานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำงาน ซึ่งองค์การให้ดูแลและปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกจิ การ

"เขตการเดินรถ" หมายความว่า สถานประกอบกิจการหรือที่ทำงานขององค์การแต่ละแห่ง
ท่ีประกอบกิจการแยกออกไปตามลำพังเป็นหน่วยๆ และมีพนกั งานหรือลูกจา้ งทำงานอยู่

ข้อ 3 ให้สำนักการเจ้าหน้าที่กำหนดแผนการฝึกอบรม เพื่อจูงใจพนักงานให้มีจิตสำนึกความ
ปลอดภัยในการทำงาน รูถ้ ึงวธิ ีการปฏบิ ตั ใิ ห้ตนเองไดร้ ับความปลอดภยั ในการทำงาน ตลอดจนวิธีการใช้อุปกรณ์
คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามสภาพของงาน ทั้งนี้ต้องได้รับอนุมัติจากผู้อำนวยการ และแจ้งสำนัก
พัฒนาบคุ ลากรดำเนินการฝกึ อบรม

ข้อ 4 เจ้าหนา้ ท่ีความปลอดภัยในการทำงานมหี นา้ ท่ี ดงั นี้
4.1 ดแู ลใหม้ ีการปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั ความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานในพืน้ ที่ท่ตี น

ไดร้ ับมอบหมาย
4.2 ตรวจสอบ เสนอแนะ และให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน

แกอ่ งคก์ ารและพนกั งานในเขตพนื้ ที่ที่ตนได้รบั มอบหมาย
4.3 แนะนำให้พนกั งานปฏิบตั ิตามระเบียบ และคมู่ ือความปลอดภยั ในการทำงาน
4.4 ควบคุมและดแู ลการใช้อุปกรณ์ความปลอดภยั ให้ถูกวธิ ีและใหอ้ ยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
4.5 ตรวจตราสภาพการทำงานและการปฏิบัติงานของพนักงานเก่ียวกับความปลอดภัย

ในการทำงาน ถา้ เหน็ ว่าการทำงานหรือการปฏบิ ัติงานไม่มีความปลอดภัยในการทำงาน ให้รายงานผู้บังคับบัญชา
สูงสดุ ในหนว่ ยงานของตนทราบ เพือ่ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน

4.6 บนั ทกึ จัดทำรายงาน สอบสวนอุบตั เิ หตุ วิเคราะห์ข้อมูลและขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับ
การประสบอันตราย การเจ็บปว่ ย หรอื การเกดิ เหตุเดอื ดรอ้ นรำคาญอันเนอื่ งจากการทำงานของพนกั งาน

4.7 สง่ เสริมและสนับสนุนให้มีกจิ กรรมเกย่ี วกบั ความปลอดภัยในการทำงาน
4.8 ปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทำงานอืน่ ตามท่อี งค์การมอบหมาย
4.9 จดั ทำร้ายงานการดำเนินการเกย่ี วกับความปลอดภยั อาชวี อนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทำงานทกุ 3 เดอื น ตามปปี ฏิทนิ ต่อผ้บู ังคับบัญชา

4.9.1 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานสังกัดเขตการเดินรถ ให้เสนอรายงาน
ตอ่ ผู้อำนวยการเขตการเดินรถ และจดั สง่ รายงานให้สำนักการเจ้าหน้าทีภ่ ายใน 15 วนั นบั แตว่ ันครบกำหนด 3 เดือน

4.9.2 เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทำงานสังกัดหนว่ ยงานอืน่ นอกจากที่ระบุ
ตามข้อ 4.9.1 ให้เสนอรายงานต่อรองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบรหิ าร

123

ขอ้ 5 เมือ่ ไดร้ บั รายงานขอ้ 4.9 แลว้ ใหผ้ ้อู ำนวยการเขตการเดนิ รถ จัดส่งรายงานการดำเนนิ การ
ของเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำงาน ตามแบบที่กำหนด ให้สำนักการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบริหาร ภายใน 15 วนั
นับแต่วนั ครบกำหนดสามเดือน

ขอ้ 6 ให้หน่วยงานต้นสังกัด แจง้ รายชอ่ื ของเจา้ หน้าท่ีความปลอดภยั ในการทำงาน เพ่ือขึ้นทะเบียน
ต่อกรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงานพื้นที่ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่องค์การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดังกล่าวพร้อมแนบ
เอกสาร สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือสำเนาหนังสือเดินทางของเจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
สำเนาเอกสารการแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำงาน สำเนาใบรับรองผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร
เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทำงาน สำเนาเอกสารแสดงวฒุ ิการศกึ ษาเจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยในการทำงาน

6.1 พนักงานสังกัดสำนักงานใหญ่ ให้งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทำงาน เป็นผูแ้ จ้ง

6.2 พนักงานสงั กัดเขตการเดนิ รถ ให้งานบริหารงานบคุ คลเขต เปน็ ผู้แจ้ง
ข้อ 7 กรณีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานพ้นจากหน้าท่ี ให้ผู้อำนวยการเขตการเดินรถ
แจง้ สำนกั การเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบริหาร ทราบภายใน 15 วัน นบั แตว่ นั ที่พน้ จากหน้าที่ และให้สำนักการเจ้าหน้าที่
เสนอแตง่ ตั้งผู้มีคุณสมบัติตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพนั ธ์ เร่ืองมาตรฐานข้ันต่ำของสภาพการจ้าง
ในรัฐวิสาหกิจ ฉบับลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2549 เสนอผู้อำนวยการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการ
ทำงานคนใหมท่ ดแทน
ข้อ 8 ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมงานทุกคน มีหน้าที่ต้องช่วยเหลือและให้ความร่วมมือกับ
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน โดยควบคุมดูแลให้พนักงานผู้ใต้บังคับบัญชา มีและใช้อุปกรณ์คุ้มครอง
ความปลอดภัยส่วนบุคคลที่มีอยู่ให้ถูกต้องและปลอดภัย รวมทั้งกระทำตนเป็นตัวอย่างการปฏิบัติตามเกณฑ์
ความปลอดภยั ในการทำงาน
ข้อ 9 พนักงานทุกคนต้องปฏิบัติตามตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
และตามคำแนะนำของผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
เพอื่ ประโยชน์ด้านความปลอดภัยอาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน
ข้อ 10 พนักงานทุกคน ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง และเพื่อนร่วมงานเป็นสำคัญ
ตลอดเวลาทปี่ ฏบิ ัตงิ าน
ข้อ 11 ให้ใช้ระเบียบน้ี ตั้งแตบ่ ัดน้เี ปน็ ตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี 31 เดือนตุลาคม พุทธศักราช 2555

124

สวสั ดิการค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปปฏิบตั ิงาน

ขอ้ บังคับองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ท่ี 151
วา่ ดว้ ย ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปปฏิบตั ิงาน พ.ศ. 2552
ตามมติคณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ครั้งที่ 7/2551 เมื่อวันท่ี
30 มิถุนายน 2551 ให้องค์การขนส่งมวลชนกรงเทพพิจารณาแก้ไขข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
ฉบับที่ 86 ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ พ.ศ. 2535 ให้มีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน
ประกอบกบั กระทรวงการคลงั ได้ออกระเบยี บว่าด้วยการเบิกค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ.2550 น้ัน
เพอ่ื ใหก้ ารเบิกคา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงานของพนักงานองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
มคี วามคลอ่ งตัวในการปฏบิ ตั ิงาน สอดคลอ้ งกบั ระเบยี บกระทรวงการคลัง พ.ศ.2550
อาศัยอำนาจตามดวามในมาตรา 20 (6) แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
พ.ศ. 2519 จงึ ให้ออกข้อบงั คบั วา่ ดว้ ยคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปปฏิบัตงิ าน ไว้ดงั ต่อไปนี้
ขอ้ 1 ข้อบังคับนเี้ รยี กว่า "ข้อบังคบั องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 151 วา่ ดว้ ยคา่ ใช้จา่ ย
ในการเดินทางไปปฏิบตั งิ าน พ.ศ.2552
ขอ้ 2 ให้ใช้ขอ้ บงั คบั น้ี ตง้ั แต่บัดนเ้ี ปน็ ต้นไป
ข้อ 3 ใหย้ กเลิกข้อบังคบั องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
(1) ฉบบั ท่ี 82 ว่าด้วย ค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปปฏิบัตงิ าน
(2) ฉบับท่ี 86 วา่ ด้วย ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปปฏบิ ตั งิ านตา่ งประเทศ (พ.ศ.2535)
(3) ฉบับที่ 90 วา่ ด้วย ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปปฏบิ ัติงาน (แก้ไขเพ่ิมเติม) พ.ศ.2536
(4) ฉบับที่ 100 วา่ ดว้ ย คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปปฏิบัตงิ าน (แก้ไขเพม่ิ เติม) พ.ศ.2538
ข้อ 4 ในข้อบังคบั นี้
"องคก์ าร" หมายความวา่ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชน
กรงุ เทพ
"ประธานกรรมการ" หมายความว่า ประธานกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่ง
มวลชนกรงุ เทพ
“กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการบรหิ ารกจิ การองค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ
“ผู้อำนวยการ” หมายความวา่ ผูอ้ ำนวยการองค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ
“พนักงาน” หมายความว่า พนักงาน ลูกจ้างขององค์การทุกตำแหน่งตลอดจนประธาน
กรรมการ และกรรมการบริหารกิจการขององค์การ
"คา่ เช่าท่ีพกั " หมายความวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเชา่ หอ้ งพกั ในโรงแรมหรือท่ีพกั แรม
"ยานพาหนะประจำทาง" หมายความว่า รถไฟ รถโดยสารประจำทางตามกฎหมาย
ว่าด้วยการขนส่งทางบกและเรือกลเดินประจำทางตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทย และให้
หมายความรวมถึง ยานพาหนะอื่นใดทีใ่ หบ้ ริการขนสง่ บุคคลทัว่ ไปเป็นประจำโดยมีเส้นทางอัตราค่าโดยสารและ
ค่าระวางทแ่ี นน่ อน

125

“พาหนะส่วนตัว” หมายความว่า รถยนต์ส่วนบุคคล หรือรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล
ซง่ึ มใิ ชข่ องทางราชการ ท้ังน้ี ไม่ว่าจะเปน็ กรรมสทิ ธิ์ของผเู้ ดนิ ทางไปปฏิบตั งิ านหรือไมก่ ่ตี าม

ข้อ 5 การอนุมัติการเดินทาง ไปปฏิบัติงาน ในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนระยะเวลา
เดนิ ทางไปปฏิบัตงิ านล่วงหน้าหรอื ระยะเวลาหลงั เสร็จสน้ิ การปฏิบัตงิ านของพนักงานระดับรองผู้อำนวยการลงมา
เป็นของผู้อำนวยการหรือผู้ได้รับมอบหมาย ตำแหน่งนอกจากนั้นให้นำเสนอประธานกรรมการ การอนุมัติให้
พิจารณาตามความจำเป็นและเหมาะสม

กรณีผู้เดินทางไปปฏิบัติงานได้รบั อนุมัติให้ลากิจหรือลาพักผ่อน ให้ขออนุมัตริ ะยะเวลาดงั กล่าว
จากผู้มอี ำนาจตามวรรคหนงึ่ ดว้ ย

การอนุมัติระยะเวลาในการเดินทางไปปฏิบัติงานต่างประเทศชั่วคราว ให้อนุมัติระยะเวลาออก
เดินทางล่วงหน้าก่อนเริ่มปฏิบัติงาน และอนุมัติระยะเวลาเดินทางกลับหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานภายในเวลา
ตามบัญชหี มายเลข 1 ทา้ ยขอ้ บงั คบั น้ี

สำหรับการเดินทางไปต่างประเทศเป็นการส่วนตัวของหนักงานตำแหน่งรองผู้อำนวยการลงมา
ใหผ้ ู้อำนวยการมอี ำนาขออนมุ ตั ิ ตำเหน่งนอกจากนัน้ ให้นำเสนอประธานกรรมการ

หมวดที่ 1
การเดินทางไปปฏิบัตงิ านในประเทศ
ข้อ 6 ให้ผเู้ ดินทางไปปฏิบตั ิงานในประเทศเบิกคา่ ใช้จ่ายไดต้ ามบัญชีท้ายข้อบังคับ ดงั ต่อไปนี้
(1) เบย้ี เล้ียงเดินทาง ให้เบกิ ตามบญั ชหี มายเลข 2
(2) ค่าเช่าทพี่ กั ใหเ้ บิกตามบัญชหี มายเลข 3
(3) ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัวในการเดินทางไปปฏิบัติงาน ให้เบิกตามบัญชีหมายเลข 4
การเดินทางไปปฏิบัติงานในท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูงหรือเป็นแหล่งท่องเที่ยวให้ผู้อำนวยการใช้ดุลพินิจพิจารณา
อนุมัตใิ หเ้ บกิ จ่ายคา่ เช่าทีพ่ ักสงู กว่าอัตราที่กำหนดขึน้ อีกไมเ่ กนิ ร้อยละยีส่ บิ ห้า
ผู้ดำรงตำแหน่งตามบัญชีหมายเลข 5 ท้ายข้อบังคับนี้ ให้เบิกค่าเช่าที่พักเท่าที่ จ่ายจริง
ตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยดั
ข้อ 7 การเดนิ ทางไปปฏบิ ตั ิงานใหใ้ ชย้ านพาหนะประจำทาง และให้เบกิ ค่าพาหนะได้เท่าท่ีจา่ ยจริง
โดยประหยัด ไม่เกนิ สิทธทิ ี่ผู้เดนิ ทางจะพึงไดร้ บั ตามประเภทของพาหนะท่ีใช้เดนิ ทาง
การเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ให้เบิกค่าพาหนะเดินทางได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน
อัตราที่คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางกำหนด เว้นแต่ กรณีจำเป็นที่ผู้เดินทางถูกเรียกเก็บเงิน
คา่ พาหนะเกนิ กว่าอัตราท่ีคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางกำหนด กใ็ หเ้ บิกว่าพาหนะได้เท่าทจี่ ่ายจรงิ
การเดินทางโดยรถไฟ ใหเ้ บิกค่าพาหนะเดินทางได้เทา่ ที่จ่ายจริง สำหรบั การเดินทางโดย
รถด่วนหรือรถด่วนพิศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) ให้เบิกได้เฉพาะผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ 6 ขึ้นไป
หรือตำแหนง่ ทเ่ี ทียบเทา่
ข้อ 8 การเดินทางไปปฏิบัติงานโดยพาหนะรบั จา้ งขา้ มเขตจังหวัด ระหว่างสถานที่อยู่ทีพ่ ักหรอื
สถานที่ปฏิบัติงานกับสถานียานพาหนะประจำทาง หรือสถานที่จัดพาหนะที่ต้องใช้ในการเดินทาง ไปยังสถานที่
ปฏิบตั งิ าน ใหเ้ บิกค่าพาหนะรับจา้ งไดเ้ ท่าทจี่ า่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กนิ อตั ราทก่ี ระทรวงการคลังกำหนด

126

ข้อ 9 การใช้พาหนะส่วนตัวเดินทางไปปฏิบัติงาน ให้เบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะในลักษณะ
เหมาจ่ายให้แก่พนักงานที่เดินทางไปปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองแล้วแต่กรณีในอัตราต่อ 1 คัน
ตามอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด โดยให้คำนวณระยะทางเพื่อเบิกเงินซดเชยตามเส้นทางของกรมทางหลวง
ในทางสัน้ และตรง ซง่ึ สามารณดินทางได้โดยสะดวกและปลอดภยั

ในกรณีที่ไม่มีเส้นทางของกรมทางหลวง ให้ใช้ระยะทางตามเส้นทางของหน่วยงานอื่นทีต่ ัดผ่าน
เช่น เส้นทางของเทศบาล เป็นต้น และในกรณีที่ไม่มีเส้นทางกรมทางหลวงและของหน่วยงานอื่น ให้ผู้เดินทาง
เป็นผู้รับรองระยะทางในการเดินทาง

หมวดท่ี 2
การเดนิ ทางไปปฏิบตั ิงานต่างประเทศ
ข้อ 10 ให้ผู้เดินทางที่ไปปฏิบัตงิ านต่างประเทศชั่วคราวเบิกค่าใช้จ่ายได้ตามปญั ชีท้ายขอ้ บังคับน้ี
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) เบี้ยเลี้ยงเดินทาง หรือค่าอาหาร ค่าเครื่องด่ืม ค่าภาษี และค่าบริการที่โรงแรม
ภตั ตาคาร หรือร้านคา้ เรียกเก็บค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด และค่าทำความสะอาดเสือ้ ผ้า ใหเ้ บกิ ตามบญั ชีหมายเลข 5
(2) คา่ เช่าท่ีพัก ใหเ้ บิกเทา่ ที่จ่ายจริง แตไ่ ม่เกินอัตราตามบัญชีหมายเลข 6 และให้เบิก
คา่ เช่าทพี่ กั เทา่ ทจ่ี ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสมโดยประหยัด
ขอ้ 11 ให้ผูเ้ ดนิ ทางท่ีเดินทางไปปฏิบตั ิงานต่างประเทศชั่วคราว เบิกค่าใช้จ่ายอ่ืนที่จำเป็นต้องจ่าย
เนื่องในการเดินทางไปปฏิบตั งิ านตามเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกำหนด ได้เท่าทจ่ี า่ ยจรงิ
ข้อ 12 ผู้เดินทางที่จะเดินทางไปปฏิบัติงานต่างประเทศช่ัวคราว โดยได้รับความช่วยเหลือจาก
ต่างประเทศ หรือจากหน่วยงานใด ๆ นอ้ ยกวา่ สทิ ธิทีพ่ ึงไดร้ บั ใหเ้ บิกคา่ ใช้จา่ ยสมทบได้ ดังต่อไปน้ี
(1) ค่าโดยสารเครื่องบิน กรณีผู้ให้ความช่วยเหลือไม่ออกค่าโดยสารเครื่องบินให้เบิก
ค่าโดยสารเครื่องบินไป-กลับ ได้ตามสิทธิของผู้เดินทาง กรณีได้รับความช่วยเหลือค่าโดยสารเครื่องบินไป-กลับแล้ว
ให้งดเบิกเงินสมทบค่าโดยสารเครื่องบิน แม้ความช่วยเหลือนั้นชั้นที่นั่งจะต่ำกว่าสิทธิ์ที่พึงได้รับ และกรณีใด้รับ
ความช่วยเหลือค่าโดยสารเครื่องบินเพียงเที่ยวเดียว ให้เบิกค่าโดยสารเครื่องบินอีกหนึ่งเที่ยวในชั้นเดียวกับที่ได้รับ
ความช่วยเหลือ แตต่ ้องไมส่ งู กวา่ สิทธิท่พี งึ ไดร้ บั
(2) เบย้ี เลยี้ งเดินทาง กรณีท่ไี ม่ได้รับความช่วยเหลือค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางให้เบิกเบี้ยเล้ียง
เดินทางให้ตามสิทธิของผู้เดินทาง กรณีที่ได้รับความช่วยเหลือค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง หรือผู้ให้ความช่วยเหลือจัด
เล้ยี งอาหารให้ ใหเ้ บกิ คา่ เบี้ยเล้ียงเดินทางสมทบไดใ้ นกรณี ดงั ตอ่ ไปนี้
(ก) ถ้าได้รับความช่วยเหลือต่ำกว่าสิทธิที่พึงใด้รับ ให้เบิกสมทบเฉพาะส่วนที่ขาด
ซึง่ เมอ่ื รวมกบั คา่ เบี้ยเล้ยี งเดินทางท่ีใด้รับความช่วยเหลอื แล้ว จะต้องไม่เกินสิทธิที่พงึ ไดร้ ับ
(ข) ถ้าผู้ให้ความช่วยเหลือจัดเลี้ยงอาหารทุกมื้อ ให้งดเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
ในกรณีทจ่ี ดั เลีย้ งอาหาร 2 ม้ือ ให้เบิกได้ไม่เกนิ 1 ใน 3 ของอัตราเบยี้ เดนิ ทางเหมาจ่าย และกรณีจดั เลย้ี งอาหาร
1 ม้ือ ใหเ้ บกิ ไดไ้ มเ่ กิน 2 ใน 3 ของอตั ราเบ้ียเลยี้ งเดินทางเหมาจา่ ย
(3) ค่าที่หัก กรณีผู้ให้ความช่วยเหลือไม่ออกค่าเช่าที่พักให้ ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้ตาม
สิทธิของผู้เดินทาง กรณีได้รับความช่วยเหลือค่าท่ีพักต่ำกว่าสิทธิที่พึงได้รับ ให้เบิกสมทบเฉพาะส่วนที่ขาดตาม

127

จำนวนที่จ่ายจริง ซึ่งเมื่อรวมกบั คา่ ที่พักที่ใด้รบั ความช่วยเหลือแลว้ จะต้อง ไม่เกินสิทธิที่พึงได้รับ และกรณีที่ผ้ใู ห้
ความชว่ ยเหลือจัดที่พกั ให้ ให้งดเบิกค่าช่าทีพ่ กั

(4) ค่าเครื่องแต่งตัว กรณีไม่ใด้รับความช่วยเหลือค่าเครื่องแต่งตัว ให้เบิกค่าเครื่อง
แต่งตัว ใดต้ ามสิทธขิ องพนกั งาน กรณใี ดร้ ับความช่วยเหลือคา่ เครื่องแต่งตัวตำ่ กว่าสิทธิที่พึ่งใด้รับให้เบิกค่าเคร่ือง
แตง่ ตัวสมทบ เฉพาะส่วนทข่ี าค ซง่ึ เม่ือรวมกับค่าเคร่อื งแต่งตัวที่ได้รบั ความชว่ ยเหลือแล้ว จะต้องไม่เกินสิทธ์ิท่ีพึง
ไดร้ ับ

(5) ค่าพาหนะเดินทาง ไปกลับระหว่างสถานที่อยู่ ที่พัก หรือสถานที่ปฏิบัติงานกับ
สถานียานพาหนะ และค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นเนื่องในการเดินทางไปปฏิบัติงาน กรณีที่มีได้รับความช่วยเหลือให้
เบิกได้ตามสิทธิ กรณีได้รับความช่วยเหลือต่ำกว่าสิทธิที่พึ่งใด้รับให้เบิกสมทบเฉพาะส่วนที่ขาดตามจำนวนที่ได้
จา่ ยจรงิ รวมแล้วต้องไมเ่ กินกวา่ สทิ ธิที่พึงได้รับ

การเดินทางเพื่อดูงาน ให้เบิกค่าใช้จ่ายสมทบตามวรรคหนึ่งได้ แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินวงเงิน
ทไ่ี ด้รับความช่วยเหลอื

ข้อ 13 การพิจารณาอนุมัติให้ผู้เดินทางไปปฏิบัติงานต่างประเทศชั่วคราวเบิกค่าใช้จ่ายตาม
ข้อ 12 ได้เท่าท่จี ่ายจรงิ ตามความจำเปน็ เหมาะสม และประหยดั ให้เปน็ ไปตามขอ้ 18

ข้อ 14 ผู้เดินทางไม่ปฏิบัติงานต่างประเทศชั่วคราวทีจ่ ะเบิกค่าเครื่องแต่งตัวตามอัตราในบัญชี
หมายเลข 7 ไดต้ อ้ งอยู่ในหลักเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) เป็นกรณีที่จำเป็นต้องใช้เครื่องแต่งตัวพิเศษ หรือกรณีจำเป็นอย่างอื่น โดยได้รับ
อนมุ ตั จิ ากผู้อำนวยการ

(2) เปน็ การเดินทางไปปฏิบัตงิ านต่างประเทศซึง่ มใิ ช่ประเทศตามรายชื่อท่ีกำหนดไว้ใน
บญั ชีหมายเลข 8 ทา้ ยข้อบังคบั น้ี หรือท่ีกระทรวงการคลังจะกำหนดเพิม่ เติม

(3) ผู้ซึ่งเคยได้รับค่าเครื่องแต่งตัวในการเดินทางไปปฏิบัติงานต่างประเทศหรือเคย
ได้รับค่าเคร่ืองแต่งตวั จากองค์การ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายระเบียบอื่นใดหรอื ได้รับความ
ช่วยเหลือจากหน่วยงานใด ๆ ทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ มีสิทธิเบิกค่าเครื่องแต่งตัวได้ เมื่อการเดินทางไป
ปฏิบัติงานต่างประเทศชั่วคราวครั้งใหม่ มีระยะเวลาห่างจากการเดินทางไปปฏิบัติงานต่างประเทศครั้งสุดท้าย
เกินกว่าสองปี นับแต่วันที่เดินทางออกจากประเทศ หรือมีระยะเวลาห่างจากการเดินทางไปปฏิบัติงานต่างประเทศ
ครั้งสดุ ทา้ ยเกินกว่าสองปีนบั แต่วนั ที่เดนิ ทางกลับถึงประเทศไทย

กรณีที่องค์การสั่งงดการเดินทางโดยมิใช่ความผิดของผู้เดินทาง และผู้เดินทางได้
จา่ ยเงนิ คา่ เครื่องแต่งตวั ไปแลว้ หรอื มขี ้อผกู พันที่จะต้องจ่ายค่าเคร่ืองแตง่ ตวั โดยสจุ ริต โดยมีหลักฐานก็ให้เบิกค่า
เครอื่ งแต่งตัวได้ และให้ถอื วา่ วนั ที่ไดร้ ับคา่ เครื่องแต่งตวั นน้ั เป็นวนั เดินทางออกจากประเทศไทย

หมวดท่ี 3
การเบิกจา่ ยเงิน
ขอ้ 15 การเบิกคา่ เช่าท่ีพักเทา่ ทจ่ี ายจรงิ ผเู้ ดนิ ทางท่ีเดนิ ทางไปปฏิบัติงานตา่ งประเทศชั่วคราว
จะใช้ใบเสร็จรับเงินหรือใบแจ้งรายการของโรงแรม หรือที่พักแรมที่มีข้อความแสดงว่าได้รับชำระเงินค่าเช่าที่พัก
เรียบร้อยแล้ว โดยเจ้าหน้าที่รับเงินของโรงแรมหรือที่พักแรมลงลายมือชื่อ วัน เดือน ปี และจำนวนเงินที่ได้รับ
เพื่อเป็นหลกั ฐานในการขอเบิกคา่ เช่าท่ีพักก็ได้

128

การเบิกค่าเช่าที่พักในต่างประเทศ ผู้เดินทางจะใช้ใบแจ้งรายการค่าเช่าที่พักบันทึก
ดว้ ยเคร่ืองอเิ ล็กทรอนกิ ส์ทแี่ สดงว่าไดร้ ับชำระเงินจากพนักงานแลว้ เปน็ หลักฐานในการขอเบกิ คา่ เช่าทพ่ี กั โดยไม่
ต้องมีลายมือชื่อเจ้าหน้าที่รับเงินของโรงแรมหรือที่พักแรมก็ได้ แต่ทั้งนี้พนักงานจะต้องลงลายมือชื่อรับรองว่า
ผเู้ ดินทางไดช้ ำระคา่ เช่าที่พกั ตามจำนวนท่เี รียกเก็บนัน้

ข้อ 16 การเบิกค่าเช่า ที่พักในอัตราห้องพักคู่ที่ผู้เดินทางไปปฏิบัติงานใช้สิทธิเบิกค่าใช้จ่าย
ในการเดินทางอยตู่ ่างสังกัดกัน แตต่ อ้ งใช้ใบเสรจ็ รับเงนิ หรอื ใบแจ้งรายการ ของโรงแรมหรือที่พักแรมชุดเดียวกัน
ให้ผู้เดินทางฝ่ายหนึ่งใช้ต้นฉบับ อีกฝ่ายหนึ่งใช้สำเนาภาพถ่ายที่ผู้นั้นรับรองสำเนาถูกต้อง โดยให้มีบันทึกแนบท้าย
ระบุว่ารายการใดที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะเป็นผู้เบิกฝ่ายเดียว และรายการใดทั้งดูจะเป็นผู้เบิกฝ่ายและเป็นจำนวน
เทา่ ใด ทงั้ ต้นฉบับและฉบับสำเนาภาพถา่ ยและลงลายมือชือ่ ของพนกั งานทง้ั คใู่ นแตล่ ะฉบับ

ข้อ 17 การเบิกค่าเช่าที่พักกรณีท่ีเจา้ ภาพผู้จัดประชมุ เป็นผูเ้ รยี กเก็บค่าเข่าที่พักจากผูเ้ ดินทาง
ไปปฏิบัติงานต่างประเทศช่ัวคราวโดยตรง ใหผ้ ู้เดินทางใช้ใบเสร็จรับเงินหรือใบแจ้งรายการที่เจ้าภาพผู้จัดประชุม
ไดเ้ รยี กเกบ็ คา่ เชา่ ที่พักเปน็ หลกั ฐานเพือ่ ขอเบิกคา่ เช่าท่ีพักก็ได้

ข้อ 18 การอนุมัติเบิกคา่ ใช้จ่ายของพนกั งานตั้งแต่ระดับ รองผู้อำนวยการ ลงมาให้เป็นอำนาจ
ของผู้อำนวยการ สำหรบั ตำแหนง่ ทส่ี งู กวา่ หรอื คณะกรรมการใหน้ ำเสนอประธานกรรมการ

ข้อ 19 การเบิกจ่ายเงินและหลักฐานการจ่ายซึ่งมิได้กำเหนดไว้ในข้อบังคับนี้ ให้ถือปฏิบัติ
อิงแนวทางตามที่กระทรวงการคลังกำหนด

ใหไ้ ว้ ณ 25 เดอื นกุมภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช 2552

129

บญั ชหี มายเลข 1
ระยะเวลาอนมุ ัติการเดินทางไปปฏิบตั ิงานตา่ งประเทศชั่วคราว
ประเทศทีเ่ ดินทางไปปฏิบตั ิงาน กอ่ นเริม่ ปฏบิ ตั งิ าน หลงั เสร็จสิน้ การปฏิบตั ิงาน
(ก) ประเทศในทวีปเอเชีย ไม่เกนิ 24 ช่ัวโมง ไม่เกิน 24 ช่วั โมง
(ข) ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ประเทศในทวีปยุโรป หรือ ไม่เกนิ 48 ช่ัวโมง ไมเ่ กนิ 48 ชั่วโมง
ประเทศในทวปี อเมริกาเหนือ
(ค) ประเทศในทวีปอเมรกิ าใต้ หรอื ประเทศในทวีปแอฟริกา ไมเ่ กิน 72 ชว่ั โมง ไม่เกิน 72 ช่ัวโมง

บญั ชหี มายเลข 2
อตั ราเบ้ยี เลย้ี งเดนิ ทางในประเทศในลกั ษณะเหมาจา่ ย บาท:วัน
บาท:วนั
อัตราค่าเบีย้ เลี้ยงเดินทาง
ระดับพนกั งาน
ประเภท ก ประเภท ข

พนกั งานระดับ 9 ข้ึนไป หรอื เทียบเทา่ เท่าท่จี า่ ยจรงิ เทา่ ท่จี ่ายจรงิ

พนักงานระดบั 7-8 หรือเทยี บเท่าขนึ้ ไป 300 300

พนกั งานระดับ 5-6 หรือตำแหน่งเทยี บเท่า 250 250

พนกั งานระดบั 1-4 หรือเทียบเท่าขน้ึ ไป 200 200

รายชื่อจงั หวัดที่มีสิทธิไดร้ บั คา่ เบ้ยี เลี้ยงและคา่ เชา่ ท่ีพักประเภท ก.
1. อบุ ลราชธานี 16. นครพนม 31. ยะลา
2. กระบ่ี 17. นครราชสีมา 32. ระนอง
3. กาจนบุรี 18. นครศรีธรรมราช 33. ระยอง
4. กำแพงเพชร 19. นครสวรรค์ 34. ลำปาง
5. ขอนแกน่ 20. นนทบรุ ี 35. สงขลา
6. จนั ทบรุ ี 21. นราธวิ าส 36. สตลู
7. ฉะเชงิ เทรา 22. ประจวบคีรขี ันธ์ 37. สมทุ รปราการ
8. ชลบุรี 23. ปราจนี บรุ ี 38. สระบรุ ี
9. ชมุ พร 24. พระนครศรีอยุธยา 39. สุโขทัย
10. เชียงราย 25. พงั งา 40. สรุ าษฎรธ์ านี
11. เชยี งใหม่ 26. พิษณุโลก 41. สรุ นิ ทร์
12. ตรงั 27. เพชรบุรี 42. สรุ ินทร์
13. ตราด 28. แพร่ 43. อดุ รธานี
14. ตาก 29. ภูเก็ต
15. นครปฐม 30. แม่ฮ่องสอน
...............................
หมายเหตุ ประเภท ข ได้แก่จงั หวัดอนื่ ๆ นอกจากที่กำหนดในประเภท ก

130

บญั ชีหมายเลข 3

อตั ราค่าเช่าท่พี ดั ในประเทศ

บาท:วนั

ระดับพนักงาน อัตราคา่ เชา่ ท่พี กั ในประเทศ

พนักงานระดับ 10 ข้ึนไป หรือตำแหน่งเทยี บเท่า เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 2,500 บาท/วัน

กรณีเพิ่มอีกหนึ่งห้อง เบิกเพิ่มได้เท่าที่จ่าย

จริงไม่เกิน 2,500 บาท/วัน กรณีเช่าห้อง

ชุดเบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 5,000

บาท/วัน

พนกั งานระดับ 9 หรือตำแหนง่ เทียบเทา่ เหมาจา่ ยไมเ่ กิน 1,600 บาท/วัน

พนกั งานระดับ 8 ลงมา หรอื ตำแหนง่ เทียบเท่า เหมาจ่ายไมเ่ กนิ 1,000 บาท/วัน

บัญชหี มายเลข 4

อตั ราค่าขนยา้ ยส่ิงของส่วนตัวในการเดนิ ทางไปปฏบิ ตั ิงานในประเทศ

ระยะทาง (กม.) อัตรา (บาท)

1 – 50 2,000

51 – 100 2,500

101 – 150 3,000

151 – 200 4,000

201 – 250 4,500

251 – 300 5,000

301 – 350 6,000

351 – 400 6,500

401 – 450 7,000

451 – 500 8,000

501 – 550 8,500

551 – 600 9,000

601 – 650 9,500

651 – 700 10,000

701 – 750 11,000

751 – 800 11,500

801 – 850 12,000

851 – 900 13,000

901 – 950 13,500

951 – 1,000 14,000

1,001 – 1,050 15,000

1,051 – 1,100 15,500

131

ระยะทาง (กม.) อัตรา (บาท)

1,101 – 1,150 16,000
1,151 – 1,200 17,000
1,201 – 1,250 17,500
1,251 – 1,300 18,500
1,301 – 1,350 19,000
1,351 – 1,400 19,500
1,401 – 1,450 20,000
1,451 – 1,500 20,500

สำหรับระยะทางที่เกิน 1,500 กิโลเมตรขึ้นไป ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้อำนวยการที่จะพิจารณาอนุมัติให้
เบิกจ่ายในลักษณะเหมาจา่ ยได้ตามความจำเป็นเหมาะสม

บัญชหี มายเลข 5

อัตราเบ้ยี เลยี้ งเดินทางไปปฏิบัตงิ านตา่ งประเทศและค่าใช้จา่ ยอืน่
1. กรณีเบกิ เบยี้ เลี้ยงเดินทางแบบเหมาจา่ ย

ผูด้ ำรงตำแหน่ง อตั รา (บาท:วนั )
พนกั งานระดบั 9 ขึน้ ไป หรือเทยี บเท่า 3,100
พนกั งานระดับ 8 หรือเทียบเทา่ ลงมา 2,100

2. กรณมี ไิ ด้เบิกเบ้ียเล้ยี งเดินทางเหมาจา่ ย ให้เบิกค่าใชจ้ ่าย ดังน้ี
2.1 ค่าอาหาร – ค่าเครอ่ื งด่มื คา่ ภาษี - ค่าบริการท่โี รงแรม ภัตตาคาร หรือรา้ นคา้ เรียกเก็บ

ใหเ้ บิกเท่าทีจ่ ่ายจริง ไม่เกินวนั ละ 4,500 บาท
2.2 ค่าทำความสะอาดเสอ้ื ผา้ สำหรับระยะเวลาท่เี กนิ 7 วัน ใหเ้ บิกเท่าทจ่ี ่ายจรงิ ไมเ่ กนิ วัน

ละ 500 บาท
2.3 ค่าใช้สอยเบด็ เตลด็ ให้เบิกในลกั ษณะเหมาจ่าย ไมเ่ กินวนั ละ 500 บาท
ค่าใช้จ่ายตาม 2.1 – 2.2 ให้คิดคำนวณเบิกจ่ายในแต่ละวัน จำนวนเงินส่วนที่เหลือ

จา่ ย ในวันใดจะนำมาสมบทในวันถัดไปไม่ได้

132

บัญชหี มายเลข 6 บาท:วนั :คน
คา่ เช่าที่พักในการเดนิ ทางไปปฏบิ ัติงานต่างประเทศชั่วคราว ประเภท ค (บาท)
ไม่เกิน 4,500
ผ้ดู ำรงตำแหนง่ ประเภท ก (บาท) ประเภท ข (บาท) ไมเ่ กนิ 3,100
พนกั งานระดับ 9 ขึน้ ไป หรือเทยี บเทา่ ไมเ่ กนิ 10,000 ไมเ่ กิน 7,000
พนกั งานระดับ 8 หรือเทยี บเท่าลงมา ไมเ่ กิน 7,500 ไม่เกิน 5,000

หมายเหตุ
ประเทศที่มีสิทธเิ บิกค่าเช่าที่พกั เพิม่ ขึน้ จากประเภท ก อีกไม่เกินร้อยละสี่สิบ ได้แก่ ประเทศ
รัฐ เมือง
1. ญ่ีปนุ่ 2. สาธารณรัฐฝร่ังเศส
3. สหพันธ์รัฐรสั เซีย 4. สมาพนั ธ์รัฐสวิส
5. สาธารณรัฐอิตาลี
ประเทศที่มีสิทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นจากประเภท ก อีกไม่เกินร้อยละยี่สี่สิบห้า ได้แก่
ประเทศ รฐั เมอื ง
1. ราชอาณาจักรเบลเยย่ี ม 2. ราชอาณาจกั รสเปน
3. สหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 4. สหรฐั อเมริกา
5. สหราชอาณาจักรบรเิ ตนใหญ่และไอรแ์ ลนดเ์ หนือ 6. สาธารณรัฐโปรตุเกส
7. สาธารณรฐั สงิ คโปร์
ประเภท ก ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมอื ง
1. แคนาดา 2. เครือรัฐออสเตรเลีย
3. ไตห้ วนั 4. เตริ ก์ เมนสิ ถาน
5. นิวซแี ลนด์ 6. บอสเนียและเฮอรเ์ ซโกวีนา
7. ปาปวั นิวกนี ี 8. มาเลเซีย
9. ราชรัฐโมนาโก 10. ราชรัฐลักเซมเบริ ์ก
11. ราชรัฐอันดอรร์ า 12. ราชอาณาจักรกัมพชู า
13. ราชอาณาจักรเดนมารก์ 14. ราชอาณาจกั รนอร์เวย์
15. ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ 16. ราชอาณาจักรโมรอ็ กโก
17. ราชอาณาจกั รสวาซิแลนด์ 18. ราชอาณาจักรสวีเดน
19. รัฐสุลต่านโอมาน 20. โรมาเนีย
21. สหพันธส์ าณารณรัฐบราซลิ 22. สหรัฐอาหรบั อมิ เิ รตส์
23. สหพันธส์ าธารณรฐั ยูโกสลาเวีย 24. สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต)้
25. สาณารณรัฐโครเอเชีย 26. สาธารณรัฐชลิ ี
27. สาธารณรัฐเช็ก 28. สาธารณรัฐตุรกี
29. สาธารณรฐั บลั แกเรีย 30. สาธารณรัฐประชาชนจีน
31. สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนแอลจเี รยี 32. สาธารณรฐั เปรู
33. สาธารณรฐั ประชาธิปไตยตมิ อร์-เลสเต 34. สาธารณรัฐโปแลนด์
35. สาธารณรัฐฟนิ แลนด์ 36. สาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์
37. สาธารณรัฐมอริเชยี ส 38. สาธารณรฐั มอลตา

133 40. สาธารณรฐั เยเมน
42. สาธารณรฐั สโลวัก
39. สาธารณรฐั โมซัมบกิ 44. สาธารณรฐั ออสเตรยี
41. สาธารณรฐั ลิทัวเนีย 46. สาธารณรฐั อนิ โดนีเซีย
43. สาธารณรฐั สโลวเี นยี 48. สาธารณรัฐเอสโตเนีย
45. สาธารณรฐั อาเซอรไ์ บจาน 50. สาธารณรัฐไอซ์แลนด์
47. สาธารณรฐั อินเดีย 52. สาธารณรัฐเฮเลนิก (กรีซ)
49. สาธารณรัฐแอฟรกิ าใต้ 2. จอรเ์ จีย
51. สาธารณรฐั ฮงั การี 4. เนการาบรูไนดารสุ ซาลาม
53. ฮอ่ งกง 6. ยูเครน
ประเภท ข ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมอื ง 8. รัฐคเู วต
1. เครือรัฐบาฮามาส 10. รฐั อิสราเอล
3. จาเมกา 12. ราชอาณาจักรตองกา
5. มาซิโตเนีย 14. สหพนั ธ์สาธารณรฐั ไนจีเรยี
7. รัฐกาตาร์ 16. สหภาพพมา่
9. รฐั บาร์เรน 18. สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย
11. ราชอาณาจักรซาอุดอิ าระเบยี 20. สาธารณรฐั แกมเบีย
13. ราชอาณาจักรเนปาล 22. สาธารณรัฐคอสตาริกา
15. ราชอาณาจักรฮัซไมตจ์ อร์แดน 24. สาธารณรัฐเคนยา
17. สหรัฐเม็กซิโก 26. สาธารณรฐั คาซคั สถาน
19. สาธารณรฐั กานา 28. สาธารณรฐั ชาด
21. สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (ไอเวอร่โี คส) 30. สาธารณรฐั เซเนกัล
23. สาธารณรฐั คีรก์ ิซ 32. สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน
25. สาธารณรัฐแคเมอรูน 34. สาธารณรัฐตูนิเซีย
27. สาธารณรฐั จิบูตี 36. สาธารณรฐั ทาจกิ สิ ถาน
29. สาธารณรัฐซีมบับเว 38. สาธารณรฐั บรุ นุ ดี
31. สาธารณรัฐแซมเบยี 40. สาธารณรฐั เบลารสุ
33. สาธารณรฐั ไซปรสั 42. สาธารณรฐั ปานามา
35. สาธารณรัฐตรนิ แิ ดดละโตเบโก 44. สาธารณรัฐมาลี
37. สาธารณรัฐไนเจอร์ 46. สาธารณรัฐลตั เวีย
39. สาธารณรฐั เบนนิ 48. สาธารณรัฐอารเ์ จนตินา
41. สาธารณรฐั ประชาชนบังคลาเทศ 50. สาธารณรฐั อาร์เมเนยี
43. สาธารณรัฐมอลโดวา 52. สาธารณรัฐอาหรับอยี ิปต์
45. สาธารณรัฐยกู ันดา 54. สาธารณรัฐอสิ ลามปากีสถาน
47. สาธารณรฐั สังคมนิยมประชาธปิ ไตยศรลี งั กา 56. สาธารณรฐั อิสลามอิหรา่ น
49. สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม 58. สาธารณรัฐแอฟรกิ ากลาง
51. สาธารณรัฐอาหรบั ซเี รีย
53. สาธารณรัฐอริ กั
55. สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนยี
57. สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน

134

ประเภท ค ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมืองอ่ืน ๆ นอกจากทก่ี ำหนดในประเภท ก และประเภท ข

บัญชีหมายเลข 7
ค่าเครือ่ งแต่งตัวในการเดนิ ทางไปปฏบิ ัตงิ านตา่ งประเทศช่วั คราว

ผู้ดำรงตำแหนง่ อัตรา (บาท:คน)
ผ้ดู ำรงตำแหนง่ ตัง้ แต่ระดับ 6-9 ข้ึนไป เหมาจา่ ย 9,000
ผูด้ ำรงตำแหนง่ ตัง้ แต่ระดับ 5 หรอื เทยี บเท่าลงมา เหมาจา่ ย 7,500

บัญชหี มายเลข 8

ประเทศทีผ่ ู้เดนิ ทางไปปฏิบตั ิงานตา่ งประเทศชว่ั คราวไมส่ ามารถเบิกคา่ เคร่ืองแต่งตัวได้

1. สหภาพพม่า 2. เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม

3. สาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 4. ราชอาณาจักรกัมพชู า

5. สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 6. มาเลเซยี

7. สาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ 8. สาธารณรฐั สิงคโปร์

9. สาธารณรฐั สงั คมนยิ มประชาธปิ ไตยศรีลงั กา 10. สาธารณรฐั สังคมนิยมเวยี ดนาม

11. สาธารณรัฐหมูเ่ กาะฟจิ ิ 12. ปาปัวนวิ กินี

13. รัฐเอกราชซามัว 14. สาธารณรฐั ประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต

135

ข้อมูลเพมิ่ เติมจากประเด็นท่ีตรวจพบ
และหน่วยรับตรวจควรให้ความสนใจนำไปทบทวน
1. แบบฟอร์มใบเบิกเงินสวัสดิการค่าการศึกษาของบุตร (แบบ สก.02) ไม่เป็นไปตามข้อบังคับองค์การฉบับท่ี
177 วา่ ด้วยสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบตุ ร พ.ศ.2557
2. ใบเบิกเงินสวัสดิการคา่ การศกึ ษาของบตุ รควรระบุจำนวนเงินภาคเรียนที่ 1 ของปกี ารศกึ ษาทกุ ครง้ั
3. ใบเบิกเงินสวสั ดกิ ารคา่ การศกึ ษาของบตุ รควรระบขุ ้อมลู คูส่ มรส
4. ใบเบกิ เงนิ สวสั ดกิ ารค่าการศกึ ษาของบตุ รควรระบุข้อมูลรบั รองผู้ขอเบิก
5. ใบทำงาน พขร. (ขสมก.1-02) ควรบันทกึ การลงนามของผ้มู อี ำนาจและผู้เก่ียวข้องใหส้ มบูรณ์ครบถ้วน
6. ใบทำงาน พกส. (ขสมก.1-01) ควรบันทึกการลงนามของผู้มีอำนาจและผเู้ กีย่ วข้องให้สมบรู ณ์ครบถว้ น
7. ใบทำงาน พขร. (ขสมก.1-02) ควรบันทึกรายละเอียดเวลารับงาน-เลิกงานของพนักงานให้ถูกต้อง เพื่อให้
ผลประโยชนต์ อบแทนพนกั งานถกู ตอ้ งตามความเป็นจรงิ และเป็นไปตามระบบควบคมุ ภายในท่ีมีอยู่
8. ใบทำงาน พกส. (ขสมก.1-01) ควรบันทึกรายละเอียดเวลารับงาน-เลิกงานของพนักงานให้ถูกต้อง เพื่อให้
ผลประโยชน์ตอบแทนพนักงานถูกตอ้ งตามความเปน็ จรงิ และเปน็ ไปตามระบบควบคมุ ภายในทีม่ ีอยู่
9. ใบทำงาน พขร. (ขสมก.1-02) ควรเปรียบเทียบกับใบลงชื่อทำงานประจำวัน (บช.ข.2) เมื่อคำนวณค่าล่วงเวลา
แล้วต้องตรงกัน เพื่อให้ผลประโยชน์ตอบแทนพนักงานถูกต้องตามความเป็นจริง และเป็นไปตามระบบ
ควบคมุ ภายในทม่ี อี ยู่
10. ใบทำงาน พกส. (ขสมก.1-01) ควรเปรียบเทียบกับใบลงชื่อทำงานประจำวัน (บช.ข.2) เมื่อคำนวณ
ค่าลว่ งเวลาแลว้ ตอ้ งตรงกนั เพอ่ื ใหผ้ ลประโยชน์ตอบแทนพนกั งานถูกต้องตามความเป็นจริง และเปน็ ไปตาม
ระบบควบคุมภายในทม่ี ีอยู่
11. เงินช่วยเหลือบุตรควรบันทึกลงทะเบียนประวัติพนักงาน และบันทึกลงระบบสารสนเทศให้เป็นไปตาม
ข้อบังคับองค์การฉบับที่ 184 และเจา้ หนา้ ทีท่ เี่ ก่ยี วข้องควรสุ่มตรวจสอบวันเดือนปเี กิดในระบบสารสนเทศ
เป็นประจำเดือน หรือไตรมาส เพอื่ ป้องกันการจ่ายเงนิ เกินอายุที่ไดเ้ งินช่วยเหลือบุตร
12. จำนวนเงินช่วยเหลือบุตรที่ระบุใน Payroll จะต้องเป็นไปตามที่ระบุวันเดือนปีเกิดของบุตรที่บันทึกการ
มบี ตุ รในทะเบียนประวัตพิ นกั งาน (สิทธิท่คี วรไดร้ บั ตามข้อบังคับองค์การฉบับท่ี 184)

136

ท่ีมาของขอ้ มลู
1. ประกาศองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เรอื่ ง นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
2. ประกาศองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เรื่อง เจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรีอคุกคาม

ทางเพศในการทำงาน
3. ประกาศองค์การชนสง่ มวลชนกรุงเทพ เร่อื ง กำหนดอัตราการเกบ็ ผลประโยชน์ตอบแทนในการจัดหาประโยชน์ใน

ทรพั ย์สินขององค์การ
4. ประกาศองค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ เรอื่ ง กำหนดอัตราการเก็บผลประโยชนต์ อบแทนในการจัดหาประโยชน์ใน

ทรัพยส์ ินขององค์การ (แกไ้ ขครงั้ ท่ี 1/2563)
5. ประกาศองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เรื่อง กองทุนความปลอดภัยเพื่อลดและป้องกันอุบัติเหตุจากรถยนต์

โดยสาร
6. ประกาศองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เรื่อง กองทุนความปลอดภัยเพื่อลดและป้องกันอุบัติเหตุจากรถยนต์

โดยสาร (แก้ไขครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2562)
7. ระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ วา่ ด้วย เงนิ ประกันและผู้คำ้ ประกันของพนักงาน พ.ศ. 2562
8. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 152 ว่าด้วย การบรรจุ การแต่งตั้ง การย้าย และการลงโทษ

พนักงาน พ.ศ. 2552
9. ตามคำส่งั องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ท่ี 885/2559 เร่อื งกำหนดคูม่ ือปฏบิ ัติงานการบริหารงานบุคคล
10. ขอ้ บงั คบั องค์การขนส่งมวลขนกรุงเทพ ฉบับท่ี 189 ว่าด้วยวินยั การสอบสวน การลงโทษ และการอุทธรณ์การ

ลงโทษพนกั งาน พ.ศ. ๒๕๖๒
11. ระเบยี บองค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ ว่าดว้ ย วธิ ปี ฏบิ ัติเก่ยี วกบั เงนิ บำเหนจ็ พ.ศ. 2563
12. ขอ้ บังคับองค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 190 วา่ ดว้ ยเงินบำเหน็จ พ.ศ. 2562
13. บันทึกข้อความ ที่ ฝบร. 005 /2563 ลงวันที่ 8 มกราคม 2563 เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจ่ายเงิน

ตามข้อบังคบั องค์การฉบับที่ 190
14. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑8๗ ว่าด้วย การจำแนกตำแหน่งสายงานขั้นอัตราเงินเดือน

และค่าจ้างพนักงาน พ.ศ. ๒๕๖๑
15. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 186 ว่าด้วย การกำหนดบัญชีโครงสร้างอัตราเงินเดือน

พนกั งานแยกตามกลุ่มงาน พ.ศ. 2561
16. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 178 ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล

พ.ศ. 2557
17. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๙ ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการรั กษาพยาบาล

พ.ศ.๒๕๕๗ (แกไ้ ขเพ่ิมเติมครั้งที่ ๑)
18. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 181 ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล

พ.ศ.2558 (แก้ไขเพิ่มเติมครั้งท่ี 2)
19. บันทกึ ขอ้ ความ ที่ ฝบร. 96 /2558 วนั ที่ 30 มีนาคม 2558 เรอ่ื ง วิธปี ฏบิ ัติกรณกี ารรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล

เอกชนของผ้เู สียหาย
20. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 176 ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการคลอดบุตร

เงินช่วยเหลือบุตร กรณปี ระสบภัยพบิ ตั ิ กรณีพนกั งานตาย พ.ศ. 2557

137

21. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลซนกรุงเทพ ฉบับที่ 184 ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการคลอดบุตร
เงนิ ชว่ ยเหลอื บุตร กรณปี ระสบภัยพิบัติ กรณีพนกั งานตาย พ.ศ. 2560 (แก้ไขเพมิ่ เตมิ คร้ังท่ี 1)

22. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 175 ว่าด้วยการจ่ายเงินทดแทนกรณีประสบอันตราย หรือ
เจ็บปว่ ย หรอื ตาย หรือสญู หายเนือ่ งจากการทำงาน พ.ศ. 2557

23. หนังสือเวียนของกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0๔๒๒.3/ว ๒๕๗ ลงวันที่ 28 มิถุนายน ๒๕๕๙ เรื่อง ประเภทและ
อตั ราเงินบำรุงการศึกษาและค่าเลา่ เรยี น

24. หนังสือเวียนของกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0๔08.5/ว ๒2 ลงวันที่ 12 มกราคม ๒๕61 เรื่อง ประเภทและอัตรา
เงินคา่ เล่าเรยี นในสถานศกึ ษาของเอกชนประเภทอาชวี ศึกษา

25. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 177 ว่าด้วยสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร
พ.ศ. 2557

26. ระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ว่าด้วย การให้สวัสดิการแก่พนักงานด้วยการแจกผ้าสำหรับตัด
เครอ่ื งแบบให้แก่พนักงาน พ.ศ. ๒๕๖๓

27. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 188 ว่าด้วย การเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้างพนักงาน พ.ศ.
2562

28. ข้อบงั คับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับท่ี 169 วา่ ดว้ ยการลาและการจ่ายเงนิ เดือนหรือคา่ จ้างระหว่างลา
พ.ศ. 2555

29. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบบั ที่ 172 วา่ ดว้ ยการลาและการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้างระหว่างลา
(แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ครั้งท่ี 1) พ.ศ.2556

30. คำสั่งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ที่ 973/2559 เรื่อง กำหนดวันเวลาปฏิบัติงานและสิทธิผลประโยชน์
ตอบแทนพนกั งานองค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ

31. บันทึกข้อความที่ ผอก. 02/2557 ลงวันที่ 20 มกราคม 2557 เรื่อง การจ่ายค่าตอบแทนในการทำงานเกิน
กวา่ ช่วั โมงทำงานปกติ

32. คำสั่งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ที่ 9๖/๒๕๖๔ เรื่อง อัตราค่าตอบแทนพนักงานกรณีการจำหน่าย
บัตรโดยสารอิเลก็ ทรอนิกส์

33. คำสั่งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ที่ ๑๒๐/๒๕๖๓ เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายเงินชดเชยกรณี
เลกิ จ้าง

34. บันทึกข้อความที่ ผอก. 09 /2557 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่า
รบั รอง

35. คำส่งั องค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ ที่ ๕๓๗/๒๕๖๔ เร่อื ง กำหนดวนั หยุดตามประเพณี ประจำปี ๒๕๖๕
36. ระเบยี บองค์การชนส่งมวลชนกรงุ เทพ วา่ ด้วยรถใช้ในการปฏิบตั ิงาน พ.ศ.2562
37. คำส่ังองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ท่ี ๒๓8/๒๕๖๓ เร่อื ง กำหนดหลักเกณฑ์การใช้รถโดยสารสว่ นบุคคล
38. ระเบียบองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ว่าด้วย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

พ.ศ. 2555
39. ข้อบังคับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ 151 ว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน

พ.ศ. 2552


Click to View FlipBook Version