The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ป.6 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-15 09:14:49

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ป.6 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ป.6 เทอม 1-63

ขน้ั สอน

ขั้นสารวจค้นหา

3. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) จากน้ันสมาชิกแต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้า และเลขานุการกลุ่ม
แลว้ แบ่งหนา้ ท่ีกันศกึ ษาและสบื ค้นความรู้เรอ่ื ง ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม ในประเดน็ ดงั นี้

1) ความเปน็ มาทางประวตั ิศาสตร์
2) การเมอื งการปกครองและเศรษฐกจิ
3) สงั คมและวัฒนธรรม

ข้นั อธิบายความรู้
4. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มปฏิบัติหน้าท่ีตามที่ตนรับผิดชอบโดยศึกษาและสืบค้นความรู้จากหนังสือเรียนหรือบทเรียน

คอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรอื ห้องสมดุ แล้วนาขอ้ มลู มาอธบิ ายและแลกเปลย่ี นความรกู้ นั ภายในกลุ่ม

ขั้นสรุป

ขนั้ ขยายความเข้าใจ
5. ครใู ห้แต่ละกลุ่มผลัดกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของคาตอบ ในใบสมดุ ครูเฉลยคาตอบ

ขน้ั ตรวจสอบผล

6. สมาชิกในกลุม่ รว่ มมือกนั ปรบั ปรงุ ผลงานในสมุด ใหด้ ีย่งิ ขึน้ แล้วนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรยี น
7. นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้พื้นฐานเก่ยี วกบั ประเทศเวียดนาม
8. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมทโ่ี ดดเดน่ ของประเทศเวยี ดนาม มอี ะไรบา้ งท่คี ล้ายคลึงกบั
ประเทศไทย จงอธิบาย(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน)

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมิน วธิ ีการวัดผล เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
1. บอกท่ตี ัง้ ของสาธารณรัฐ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 70% ขึ้นไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K) สังคมนิยมเวียดนามในภมู ิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ (K) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 การประเมนิ
ทักษะ / กระบวนการ (P) 2. ยกตวั อยา่ งสภาพภมู ิ
ประเทศของสาธารณรฐั สังคม 2. ทาแบบฝึกหดั 70% ขึน้ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
คุณลักษณะนสิ ยั (A) นิยมเวยี ดนาม(P) การประเมิน
3. อธบิ ายสภาพสงั คม
เศรษฐกิจ การเมอื งการ 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขน้ึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ปกครองของสาธารณรัฐสงั คม
นยิ มเวยี ดนามได้ (A) ทางานรายบคุ คล การประเมิน

7. ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้
7.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) ห้องสมุด
2) อินเทอร์เน็ต

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.............................................................................................. .................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
........................................................................................................................................................... ....................................................
........................................................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครูผ้สู อน ลงช่ือ………………………………………………………ฝ่ายวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอ่ื ………………………………………………………ผบู้ ริหาร
(……………………………………………………)

สัปดาหท์ ี่ 12

โรงเรยี นขจรเกยี รติพัฒนา
แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี………..… /…………….. ช่อื ผสู้ อน……………………………………………………
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปี่ท่ี 6 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 ประเทศเพือ่ นบ้านของเรา
เร่อื ง ราชอาณาจักรกมั พชู า

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ

เหตกุ ารณ์อยา่ งต่อเนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กิดข้นึ
ตัวชี้วดั ป.6/1 อธบิ ายสภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจุบนั

2. สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด
ประเทศกัมพูชามีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมท่ีมีส่วนคล้ายคลึง

และแตกตา่ งกันกบั ประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. บอกท่ีต้งั ของราชอาณาจักรกัมพชู าในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้ (K)
2. ยกตวั อยา่ งสภาพภูมปิ ระเทศของราชอาณาจกั รกมั พชู า (P)
3. อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกจิ การเมืองการปกครองของราชอาณาจักรกัมพชู าได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
1) พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ของประเทศเพื่อนบา้ น
โดยสังเขป เพ่อื ใหเ้ ข้าใจสภาพปัจจบุ ันของประเทศเหล่าน้ัน
2) สภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพ่ือน
บา้ นของไทยในปจั จุบัน โดยสังเขป

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ขนั้ นา

ข้ันกระตุ้นความสนใจ

1. ครูใหน้ ักเรยี นดูแผนทเ่ี อเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ แล้วตอบคาถามในประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้
- ประเทศกัมพชู าตั้งอยู่ทางทิศใดของประเทศไทย
- ประเทศกัมพชู ามีชายแดนติดกับจังหวดั ใดของไทยบ้าง

2. ครูอธิบายเชอื่ มโยงให้นักเรยี นเหน็ ถงึ ความสาคัญของประเทศกัมพชู าซ่ึงเปน็ ประเทศเพื่อนบา้ นทสี่ าคัญของเรา

3. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดเพราะเหตุใด คนกัมพูชาและคนไทยในจังหวัดท่ีมีเขตแดนติดต่อกันจึงอยู่ร่วมกันได้
อย่างมคี วามสุข (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครูผูส้ อน)

ขนั้ สอน

ขั้นสารวจคน้ หา

4. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมมือกันศึกษาความรู้เร่ือง
ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับราชอาณาจักรกัมพูชา จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite แล้วอภิปราย
ร่วมกนั ในประเด็นตอ่ ไปน้ี

1) ความเปน็ มาทางประวัตศิ าสตร์
2) การเมืองและการปกครอง
3) เศรษฐกิจ
4) สังคมและวฒั นธรรม
แลว้ บันทึกความรูท้ ่ีไดจ้ ากการศกึ ษาลงในแบบบนั ทึกการอ่าน

ขั้นอธบิ ายความรู้

5. ครูแจกใบงานท่ี 2.5 เรื่อง ประเทศกัมพูชา ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 1 ชุด แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าท่ีให้
สมาชิกแต่ละคนปฏิบตั ิ ดังนี้

- สมาชกิ คนท่ี 1 อา่ นคาสงั่ แยกแยะใหช้ ดั เจน
- สมาชิกคนท่ี 2 ฟังขนั้ ตอน รวบรวมข้อมลู หาแนวทาง เสนอแนะในการตอบคาถาม
- สมาชิกคนท่ี 3 ตอบคาถาม
- สมาชกิ คนที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้อง

ขั้นสรปุ

ขนั้ ขยายความเข้าใจ
6. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มหมุนเวยี นเปล่ยี นหน้าทก่ี นั ในการตอบคาถามในข้อต่อไปจนเสรจ็ ครบทุกข้อ เสร็จแลว้ รวบรวมใบ

งานท่ี 2.5 ส่งครู
7. ครตู รวจคาตอบในใบงานท่ี 2.5 หรอื ให้แตล่ ะกลมุ่ ผลัดกนั ตรวจคาตอบ โดยมีแนวเฉลยคาตอบให้
8. ครปู ระกาศผลกลมุ่ ทไ่ี ด้คะแนนสงู สดุ

ขัน้ ตรวจสอบผล

9. นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้เกยี่ วกบั ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ การเมืองและการปกครอง เศรษฐกจิ สังคมและ
วัฒนธรรมของประเทศกมั พูชา

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมนิ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล
จดุ ประสงค์
1. บอกทีต่ ้ังของราชอาณาจักร 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K)
กมั พูชาในภมู ิภาคเอเชีย หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 การประเมิน
ทกั ษะ / กระบวนการ (P)
ตะวันออกเฉยี งใต้ได้ (K)
คุณลักษณะนิสยั (A)
2. ยกตัวอย่างสภาพภูมิประเทศ 2. ใบงานที่ 2.4 เรื่อง 70% ข้นึ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์

ของราชอาณาจักรกัมพชู า (P) ประเทศกมั พชู า การประเมิน

3. อธบิ ายสภาพสงั คม 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

เศรษฐกิจ การเมืองการ ทางานรายบุคคล การประเมนิ

ปกครองของราชอาณาจักร

กัมพชู าได้ (A)

7. ส่ือ / แหลง่ การเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) อนิ เทอรเ์ นต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................ ...............................................
...............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
................................................................................................................................................ ..............................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครผู ู้สอน ลงช่ือ………………………………………………………ฝา่ ยวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอื่ ………………………………………………………ผูบ้ รหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 2.4
เรอื่ ง ประเทศกัมพชู า

คาชีแ้ จง ให้นกั เรยี นขดี  หนา้ ข้อความท่ีถูกต้อง และกา  หนา้ ข้อความที่ไม่ถูกต้อง
1. ประเทศกมั พูชาต้งั อยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศไทย
2. เมืองหลวงของประเทศกัมพูชา คือ หลวงพระบาง
3. ประเทศกมั พูชามีการปกครองรูปแบบเหมือนกนั กับประเทศไทย
4. พืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ ของกมั พชู าขึ้นอยู่กับอตุ สาหกรรม ซ่ึงอตุ สาหกรรมท่ีทารายได้ให้แก่กมั พูชา คือ
อุตสาหกรรมอาหารสาเรจ็ รปู
5. พชื เศรษฐกจิ ที่สาคญั ของกมั พูชา ได้แก่ ขา้ ว
6. ปัจจบุ ันประเทศไทยส่งเสรมิ ธุรกิจของกัมพชู า ด้วยการเข้าไปลงทุนในอตุ สาหกรรมต่างๆ
7. ประเทศกัมพชู าใชภ้ าษาอังกฤษเป็นภาษาประจาชาติ
8. ศาสนาประจาชาติของกัมพูชา คือ พระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท
9. นครวัด คอื มรดกโลกทางธรรมชาติของประเทศกัมพชู า
10. ปราสาทหินตา่ งๆ แสดงใหเ้ ห็นถึงประวตั ศิ าสตรท์ ม่ี ีความเจรญิ รงุ่ เรืองของกมั พชู า

สปั ดาหท์ ี่ 13

โรงเรียนขจรเกยี รติพฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี………..… /…………….. ชื่อผูส้ อน……………………………………………………
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ่ี 6 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ประเทศเพ่ือนบ้านของเรา
เรื่อง สหพนั ธรัฐมาเลเซยี และเนการาบรไู นดารุส-ซาลาม

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้วี ัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ

เหตุการณ์อยา่ งตอ่ เน่อื ง ตระหนกั ถึงความสาคัญและสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่เี กิดข้นึ
ตัวชี้วัด ป.6/1 อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจุบนั

2. สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด
ประเทศมาเลเซีย และบรูไนมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ที่มี

สว่ นคลา้ ยคลึงและแตกตา่ งกนั กบั ประเทศในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. บอกทต่ี งั้ ของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี และเนการาบรไู นดารุส-ซาลามในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้ (K)
2. ยกตัวอยา่ งสภาพภมู ิประเทศของสหพันธรัฐมาเลเซียและเนการาบรูไนดารสุ -ซาลาม(P)
3. อธิบายสภาพสงั คม เศรษฐกจิ การเมืองการปกครองของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี และเนการาบรไู นดารุส-ซาลามได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น

1) พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ของประเทศเพื่อนบ้าน พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

โดยสังเขป เพอ่ื ให้เข้าใจสภาพปัจจุบนั ของประเทศเหลา่ น้ัน

2) สภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศเพื่อน

บ้านของไทยในปัจจุบนั โดยสงั เขป

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1

ขนั้ นา

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
1. ครนู าแผนท่ีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาใหน้ ักเรยี นดูและใหอ้ าสาสมคั รนักเรียนออกมาชต้ี าแหน่งของประเทศมาเลเซยี

และประเทศบรูไน ครชู มเชยนกั เรยี นทช่ี ีแ้ ผนที่ไดถ้ ูกตอ้ ง

ขนั้ สอน

ขน้ั สารวจคน้ หา

2. นักเรียนรวมกลมุ่ เดมิ (จากแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1) แล้วใหส้ มาชกิ แต่ละกลุ่มจับคกู่ ันเป็น 2 คู่ และให้แตล่ ะคู่ศกึ ษา
ความรู้จากหนังสือเรียนหรอื บทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ตามหวั ขอ้ ทีก่ าหนด ดังนี้

- คู่ที่ 1 ศึกษาความรเู้ รื่อง ความรพู้ น้ื ฐานเกี่ยวกบั สหพนั ธรัฐ มาเลเซยี
- คู่ที่ 2 ศึกษาความร้เู ร่ือง ความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกบั เนการา- บรไู นดารุสซาลาม

ขัน้ อธบิ ายความรู้

3. ให้สมาชกิ แต่ละคูผ่ ลดั กนั อธบิ ายความรู้ที่ได้จากการศกึ ษา จนมคี วามรูค้ วามเข้าใจท่ีตรงกนั จากน้ันใหส้ มาชิกแต่ละคู่
ช่วยกนั ทาใบงาน ดังน้ี

- คทู่ าใบงานท่ี 2.7 เร่อื ง ประเทศบรไู น
4. เมื่อแตล่ ะคู่ทาใบงานเสร็จแล้วใหร้ วมกลุ่มเดิม (4 คน) แล้วผลดั กนั อธิบายคาตอบในใบงานทคี่ ูข่ องตนรบั ผิดชอบ
ให้สมาชกิ อีกค่หู นง่ึ ฟงั และรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันเก็บรวบรวมใบงานส่งครูตรวจ

ขนั้ สรุป

ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ
5. ครูให้ตัวแทนกล่มุ ผลัดกนั เฉลยคาตอบ และสมาชกิ กล่มุ อนื่ ๆ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง

ขั้นตรวจสอบผล

6. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้เก่ยี วกับความเปน็ มาทางประวตั ิศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและ
วฒั นธรรมของประเทศมาเลเซียและบรไู น

7. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดในปจั จุบนั น้ปี ระเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย และบรไู น มีความสมั พันธก์ นั อย่างไร
(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของครูผู้สอน)

6. การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมนิ วิธกี ารวดั ผล เคร่ืองมือวัด เกณฑ์การประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
1. บอกท่ตี ้ังของสหพนั ธรัฐ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ข้นึ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K)
มาเลเซยี และเนการาบรูไนดารุส หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 การประเมิน
ทักษะ / กระบวนการ (P)
(K)
คณุ ลักษณะนิสยั (A)
2. ยกตวั อย่างสภาพภมู ิประเทศ 2. ใบงานที่ 2.6 เรอ่ื ง 70% ขนึ้ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์

ของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี และเนกา ประเทศบรูไน การประเมิน

ราบรไู นดารสุ (P)

3. อธบิ ายสภาพสงั คม เศรษฐกิจ 3. แบบสังเกตพฤติกรรม 70% ขึ้นไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

การเมืองการปกครองของ การทางานรายบุคคล การประเมิน

สหพนั ธรฐั มาเลเซียและเนการา

บรูไนดารุส (A)

7. สอ่ื / แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 สอ่ื การเรยี นรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมดุ
2) อินเทอรเ์ นต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
.................................................................................................................................................. .............................................................
..................................................................... ............................................................................................................................. .............
..................................................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................................................................. .............................................................................
.................................................................................................................................................................................. .............................
..................................................................................................... ..........................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชือ่ ………………………………………………………ครผู ้สู อน ลงชือ่ ………………………………………………………ฝ่ายวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชื่อ………………………………………………………ผูบ้ ริหาร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 2.6
เรอ่ื ง ประเทศบรไู น

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นหาภาพที่แสดงเอกลกั ษณ์ของประเทศมาเลเซีย 1 อยา่ ง มาตดิ ลงในกรอบ จากนั้นนามาวิเคราะห์และตอบ
คาถาม

(ตดิ ภาพ)

ท่ีมา :
1. ภาพนคี้ อื ภาพอะไร
2. แสดงถึงเอกลกั ษณ์ของประเทศมาเลเซยี อยา่ งไร

สปั ดาหท์ ่ี 14

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี………..… /…………….. ชื่อผสู้ อน……………………………………………………
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศกึ ษาปี่ที่ 6 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 ประเทศเพื่อนบา้ นของเรา
เร่อื ง สาธารณรัฐสงิ คโปร์และสาธารณรัฐอินโดนเี ซีย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ

เหตกุ ารณอ์ ย่างต่อเน่อื ง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบทีเ่ กิดข้นึ
ตวั ช้ีวัด ป.6/1 อธบิ ายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพื่อนบา้ นในปจั จุบนั

2. สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด
ประเทศสิงคโปร์ และอินโดนีเซียมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม ท่ี

มสี ่วนคลา้ ยคลงึ และแตกตา่ งกนั กับประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายสภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองของสาธารณรฐั สงิ คโปรแ์ ละสาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี (K)
2. ยกตัวอย่างสภาพภมู ิประเทศของสาธารณรัฐสิงคโปร์และสาธารณรัฐอินโดนีเซยี (P)
3. เห็นคุณคา่ และความสาคัญประเทศเพ่ือนบา้ น (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

1) พฒั นาการทางประวัติศาสตรข์ องประเทศเพื่อนบ้าน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

โดยสังเขป เพ่อื ให้เขา้ ใจสภาพปัจจุบันของประเทศ

เหล่านนั้

2) สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศ

เพ่อื นบา้ นของไทยในปจั จุบัน โดยสังเขป

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ

1. ครูนาภาพ 2 ภาพ มาให้นกั เรียนดู แลว้ ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์วา่ สิ่งทอ่ี ย่ใู นภาพนัน้ มีอยูใ่ นประเทศใด เพราะอะไรจงึ คดิ เช่นน้ัน

2. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดถ้าพูดถึงประเทศสิงคโปร์ นักเรียนจะนึกถึงสิ่งใด(พิจารณาตามคาตอบของ
นกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน)

ข้ันสอน

ขั้นสารวจคน้ หา

1. สมาชกิ กลุม่ เดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1) รว่ มกันศกึ ษาความร้เู รื่อง ความรู้พ้ืนฐานเก่ยี วกับสาธารณรฐั สงิ คโปร์
และสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรือห้องสมุด หรอื แหล่งขอ้ มลู
สารสนเทศ แลว้ บนั ทึกความรู้ทไ่ี ด้ลงในแบบบันทึกการอ่าน

2. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั นาความรู้ท่ีได้จากการศึกษามาอภปิ รายสรุปประเดน็ สาคัญเกีย่ วกับความรู้พ้นื ฐานของประเทศ
สิงคโปรแ์ ละอนิ โดนเี ซยี

ขน้ั อธบิ ายความรู้

3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 2.7 เรื่อง ความแตกต่างระหว่างประเทศสิงคโปร์และอินโดนีเซีย โดยแบ่ง
หน้าท่กี ันปฏิบตั กิ จิ กรรม ดงั นี้

- สมาชิกคนที่ 1 เขียนคาตอบขอ้ ที่ 1 แลว้ ส่งใบงานไปยังสมาชกิ คนที่ 2
- สมาชิกคนที่ 2 อ่านคาตอบของสมาชิกคนท่ี 1 ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขหรือเขียนเพ่ิมเติมให้สมบูรณ์
แลว้ ตอบคาถามในขอ้ ตอ่ ไป
- สมาชิกคนที่ 3 อ่านคาตอบของสมาชิกคนท่ี 2 ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขหรือเขียนเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
แล้วตอบคาถามในข้อตอ่ ไป
- สมาชิกคนที่ 4 อ่านคาตอบของสมาชิกคนท่ี 3 ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขหรือเขียนเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
แล้วตอบคาถามในขอ้ ต่อไป

ข้นั สรุป

ขนั้ ขยายความเขา้ ใจ

4. สมาชิกแต่ละคนในกล่มุ จะได้มีโอกาสอ่านและเขียนคาตอบหมนุ เวียนกันไปเรอ่ื ยๆ จนเสรจ็ กล่าวคอื สามารถตอบปญั หา
ไดช้ ดั เจนครบถ้วนทกุ คาถาม

5. สมาชิกในกลมุ่ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบในใบงานท่ี 2.7 และเพ่มิ เตมิ ให้มีความสมบรู ณย์ ิง่ ขนึ้
6. ครูเฉลยคาตอบในใบงานที่ 2.7 นักเรียนแต่ละกลุ่มตรวจใบงานของตนแล้วแก้ไขในส่วนท่ีไม่ถูกต้องและปรับปรุงให้
ผลงานมคี วามสมบูรณ์

ขั้นตรวจสอบผล

7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปว่า ประเทศสิงคโปร์และอินโดนีเซียนั้นมีการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมทีเ่ หมอื นกนั หรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมิน วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
1. อธบิ ายสภาพสังคม 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์
ความรู้ความเข้าใจ (K)
เศรษฐกจิ และการเมืองของ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 การประเมนิ
ทักษะ / กระบวนการ (P)
สาธารณรัฐสิงคโปร์และ
คุณลกั ษณะนสิ ัย (A)
สาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี (K)

2. ยกตัวอย่างสภาพภูมปิ ระเทศ 2. ใบงานท่ี 2.7 เร่อื ง ความ 70% ข้ึนไปถือว่าผา่ นเกณฑ์

ของสาธารณรฐั สิงคโปรแ์ ละ แตกตา่ งระหวา่ งประเทศ การประเมนิ

สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย (P) สงิ คโปรแ์ ละอินโดนเี ซยี

3. เห็นคุณคา่ และความสาคญั 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

ประเทศเพื่อนบา้ น (A) ทางานรายบุคคล การประเมนิ

7. ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่ือการเรียนรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) ห้องสมดุ
2) อนิ เทอร์เนต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
................................................................................................................................. ..............................................................................
................................................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
................................................................................................................................................................. ..............................................

ลงช่อื ………………………………………………………ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ………………………………………………………ฝา่ ยวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอ่ื ………………………………………………………ผู้บริหาร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 2.7 ท่กี าหนด
เรื่อง ความแตกต่างระหวา่ งประเทศสงิ คโปรแ์ ละอนิ โดนีเซยี

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเขยี นสรุปความแตกตา่ งของประเทศสิงคโปร์ และอินโดนเี ซีย ลงในตารางตามหวั ข้อ

ขอ้ มูลประเทศ สาธารณรฐั สงิ คโปร์ สาธารณรฐั อินโดนเี ซีย
ธงชำติ

ดา้ นการเมือง
การปกครอง

ด้านเศรษฐกจิ

ด้านสังคม
และวฒั นธรรม

สปั ดาหท์ ่ี 15

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนที่………..… /…………….. ชื่อผู้สอน……………………………………………………

กล่มุ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ ี่ 6 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 ประเทศเพื่อนบา้ นของเรา

เรอ่ื ง สาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยตมิ อร์-เลสเต

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชวี้ ัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ

เหตกุ ารณอ์ ย่างตอ่ เนือ่ ง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึน
ตัวชีว้ ัด ป.6/1 อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
ประเทศฟิลิปปินส์ และติมอร์-เลสเตมคี วามเปน็ มาทางประวตั ิศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกจิ สงั คมและวัฒนธรรม

ทมี่ สี ว่ นคลา้ ยคลงึ และแตกตา่ งกันกับประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายสภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (K)
2. ยกตวั อย่างสภาพภูมิประเทศของสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ และสาธารณรฐั ประชาธิปไตยตมิ อร์-เลสเต (P)
3. เห็นคุณคา่ และความสาคัญประเทศเพื่อนบ้าน (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่

1) พฒั นาการทางประวตั ิศาสตรข์ องประเทศเพ่ือนบ้าน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

โดยสังเขป เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจสภาพปัจจบุ นั ของประเทศ

เหล่าน้นั

2) สภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศ

เพือ่ นบ้านของไทยในปจั จุบัน โดยสงั เขป

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขั้นนา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ
1. ครนู าภาพธงชาตขิ องประเทศฟิลิปปนิ สแ์ ละติมอร์-เลสเตมาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ใหน้ ักเรียนชว่ ยกันวเิ คราะห์วา่ ภาพธงชาตินี้

เป็นของประเทศใด และนกั เรียนเคยเห็นภาพธงชาติของทัง้ สองประเทศนหี้ รือไม่

2. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดถ้าพูดถึงประเทศฟิลิปปินส์ นักเรียนจะนึกถึงส่ิงใด(พิจารณาตามคาตอบของ
นักเรียน โดยให้อย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของครผู ู้สอน)

ข้ันสอน

ข้ันสารวจคน้ หา

3. นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เร่ือง ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ -
เลสเต จากหนงั สอื เรยี นหรือบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite

4. ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนทาใบงานที่ 2.8 เรอื่ ง ประเทศฟลิ ิปปินส์ และ ประเทศติมอร์-เลสเต

ขั้นอธิบายความรู้

5. เมื่อทาใบงานที่ 2.8เสร็จแล้วให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือน แล้วผลัดกันเล่าผลงานในใบงานของตนเองให้เพ่ือนท่ีเป็นคู่ฟัง
และช่วยกันเสริมเพม่ิ เติมใหส้ มบรู ณ์

6. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั เฉลยคาตอบในใบงานท่ี 2.8

ขัน้ สรุป

ข้ันขยายความเขา้ ใจ

7. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิดลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมที่คล้ายคลงึ กันระหวา่ งประเทศสงิ คโปร์และประเทศ
ตมิ อร์-เลสเต ได้แก่อะไรบ้าง (ดา้ นศาสนา ศาสนาประจาชาติของท้งั สองประเทศ คือ ศาสนาคริสต)์

ขัน้ ตรวจสอบผล

8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าประเทศฟิลิปปินส์และประเทศติมอร์-เลสเตมีการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมทแี่ ตกตา่ งกันอย่างไร

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมิน วิธกี ารวดั ผล เครือ่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมินผล
จดุ ประสงค์
1. อธิบายสภาพสังคม 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 70% ขึน้ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์
ความรู้ความเข้าใจ (K) เศรษฐกจิ และการเมืองของ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 การประเมิน

ทกั ษะ / กระบวนการ (P) สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ และ

คณุ ลักษณะนิสยั (A) สาธารณรฐั ประชาธิปไตยตมิ อร์

(K)

2. ยกตัวอยา่ งสภาพภูมิประเทศ 2. ใบงานท่ี 2.8 เรอ่ื ง 70% ขน้ึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
ของสาธารณรฐั ฟิลปิ ปินส์ และ ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ และ การประเมิน
สาธารณรัฐประชาธิปไตยตมิ อร์ ประเทศติมอร์-เลสเต

(P)

3. เห็นคุณคา่ และความสาคญั 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ข้ึนไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ประเทศเพ่ือนบ้าน (A) ทางานรายบุคคล การประเมิน

7. ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้
7.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) ห้องสมุด
2) อินเทอร์เน็ต

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.............................................................................................. .................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
........................................................................................................................................................... ....................................................
........................................................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครูผ้สู อน ลงช่ือ………………………………………………………ฝ่ายวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอ่ื ………………………………………………………ผบู้ ริหาร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 2.8

เร่ือง ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ และ ประเทศตมิ อร-์ เลสเต

คาช้แี จง ให้นกั เรยี นเขียนแผนผงั ความคิด สรปุ ลักษณะการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของสาธารณรฐั แหง่
สหภาพเมียนมา

การเมอื งการปกครอง

เศรษฐกิจ สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมา
สงั คมและวฒั นธรรม

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขียนแผนผงั ความคิด สรปุ ลักษณะการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรมของสาธารณรัฐแหง่
สหภาพเมียนมา

การเมอื งการปกครอง

เศรษฐกิจ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมา
สงั คมและวฒั นธรรม

สปั ดาห์ท่ี 16

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นที่………..… /…………….. ชอ่ื ผสู้ อน……………………………………………………

กล่มุ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปี่ท่ี 6 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ประเทศเพอื่ นบ้านของเรา

เร่ือง ความเหมือนและแตกต่างระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศเพ่ือนบา้ น

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ

เหตุการณ์อยา่ งต่อเนือ่ ง ตระหนกั ถงึ ความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชว้ี ดั ป.6/1 อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
ประเทศไทยและประเทศเพ่ือนบ้านมีความเหมือนและแตกต่างกันในด้านการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ด้าน

ทรัพยากรธรรมชาติ และดา้ นสังคมและวฒั นธรรม

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายความเหมือนและแตกต่างระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพือ่ นบา้ นได้ K)
2. ยกตวั อย่างความเหมอื นและแตกต่างระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศเพ่ือนบ้านได้(P)
3. เหน็ คณุ ค่าและความสาคญั ประเทศเพ่ือนบ้าน (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ตวั อย่างความเหมือนและความต่างระหว่างไทยกับ
ประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น ภาษา ศาสนา การปกครอง

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ข้ันนา

ขน้ั กระต้นุ ความสนใจ

1. ครทู บทวนความรูเ้ ดิมของนกั เรียนโดยตั้งคาถามเกี่ยวกับประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตด้ ้านการเมืองการ
ปกครอง เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ สงั คมและวัฒนธรรม แล้วให้นกั เรียนร่วมกันตอบคาถาม

2. ครูแจ้งให้นกั เรยี นทราบวา่ ครูจะให้นักเรียนเล่นเกม “ตอบใหต้ รงกับใจ” โดยครูอธิบายกตกิ าในการเลน่ เกมให้นกั เรยี นฟัง
แลว้ ให้นักเรยี นเล่นเกมตามเวลาทีก่ าหนด กลมุ่ ใดตอบได้คะแนนมากท่สี ดุ เป็นกล่มุ ชนะ

3. ครูสอบถามนักเรียนว่า จากการเล่นเกมนักเรยี นได้รบั ความรู้อะไรบ้าง จากนนั้ ครูอธบิ ายเช่ือมโยงเพื่อใหน้ ักเรยี นเข้าใจถงึ
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศเพื่อนบ้านในดา้ นต่างๆ

ขนั้ สอน

ขั้นสารวจค้นหา

4. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ตัวอย่างความเหมือนและความ

แตกต่างระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบ้าน จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ในประเด็น

ต่อไปน้ี

1) ดา้ นการปกครอง 2) ดา้ นเศรษฐกิจ 3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ

ข้นั อธิบายความรู้

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายความรู้ที่ได้จากการศึกษาเก่ียวกับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างประเทศไทยกับ
ประเทศเพือ่ นบ้านและช่วยกนั สรุปประเด็นสาคญั เพอ่ื เปน็ องคค์ วามร้ปู ระจากลุม่

6. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดประเทศไทยมีระบอบการปกครอง เศรษฐกิจทรัพยากรธรรมชาติ สังคมและ
วัฒนธรรมคล้ายกบั ประเทศใดบา้ ง (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อย่ใู น ดลุ ยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

ข้นั สรุป

ขนั้ ขยายความเขา้ ใจ

7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาแผนผังความคิด เร่ือง ความแตกต่างระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบ้าน จากน้ัน
สง่ ตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น)

ข้ันตรวจสอบผล

8. ครูสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรยี นแตล่ ะคน นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ข้อ 1-2

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมิน วิธกี ารวดั ผล เครือ่ งมือวดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
จุดประสงค์
1. อธบิ ายความเหมือนและ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 70% ขนึ้ ไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
ความรู้ความเข้าใจ (K) แตกต่างระหวา่ งประเทศไทย หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 การประเมิน

ทกั ษะ / กระบวนการ (P) กบั ประเทศเพอื่ นบ้านได้ K)

คุณลักษณะนิสยั (A) 2. ยกตัวอย่างความเหมอื นและ 2. ทาแบบฝึกหัด 70% ขึ้นไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
แตกตา่ งระหว่างประเทศไทย การประเมนิ

กบั ประเทศเพอ่ื นบ้านได้(P)

3. เหน็ คณุ ค่าและความสาคญั 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ข้ึนไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ประเทศเพื่อนบา้ น (A) ทางานรายบคุ คล การประเมนิ

7. สอ่ื / แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สือ่ การเรียนรู้
1) บัตรภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งสมุด
2) อินเทอร์เนต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
................................................................................................................................................................... ............................................
...................................................................................... .........................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
................................................................................................................................................... ............................................................
................................................................................................................................................................................................... ............

ลงช่ือ………………………………………………………ครผู ้สู อน ลงช่อื ………………………………………………………ฝ่ายวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอ่ื ………………………………………………………ผบู้ ริหาร
(……………………………………………………)

สัปดาหท์ ี่ 17

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี………..… /…………….. ช่อื ผสู้ อน……………………………………………………
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ี่ 6 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ความสมั พันธ์ของกล่มุ อาเซยี น
เรือ่ ง ประวตั ิความเปน็ มาของอาเซียน

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ

เหตุการณ์อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ขนึ้
ตัวชวี้ ัด ป.6/2 บอกความสมั พนั ธข์ องกลุ่มอาเซยี นโดยสงั เขป

2. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด
ประเทศในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตไ้ ด้รวมกลมุ่ กันต้ังองค์กรขึน้ มา เป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียง

ใต้ หรอื อาเซยี น ซ่งึ จัดต้งั ขึ้นตามปฏิญญาอาเซยี น

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายประวัติความเป็นมาของอาเซียนได้ K)
2. ยกตวั อย่างประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ (P)
3. เห็นคุณคา่ และความสาคญั ประเทศในกลุม่ อาเซียน (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ
พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- ความเป็นมาของกลุ่มอาเซยี นโดยสังเขป
- สมาชิกของอาเซยี นในปัจจุบัน

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขั้นนา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ

1. ครูนาภาพธงอาเซยี น มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกันตอบคาถามตามประเดน็ ทีก่ าหนด ดังนี้
- ภาพนค้ี ือภาพอะไร
- เมอื่ ดภู าพนแี้ ล้วนักเรียนคดิ ว่านา่ จะเกี่ยวข้องกับเร่ืองใด

ขนั้ สอน

ขัน้ สารวจค้นหา

2. ครูอธิบายและเช่ือมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่าปัจจุบันประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รวมกลุ่มกัน เพ่ือ
พฒั นาภมู ิภาคทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม เม่ือประเทศใดประสบปัญหา ประเทศสมาชิกอ่ืนๆ ก็ได้ให้ความช่วยเหลอื การรวมกลุ่มกัน
ทาใหภ้ มู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตม้ คี วามแข็งแกรง่ และมน่ั คง

ขัน้ อธบิ ายความรู้
3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้าง

อ่อน และออ่ น แล้วให้แต่ละกลุ่มรว่ มกันศึกษาความรู้เรื่อง ประวัติความเป็นมาอาเซียน จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์
Smart L.O. LMS Lite หรอื หอ้ งสมดุ หรือแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ

4. นักเรียนศกึ ษาความรู้เพมิ่ เติมเรอ่ื ง พฒั นาการอาเซียนจากเอกสารประกอบการสอน

ขน้ั สรปุ

ขั้นขยายความเขา้ ใจ

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายความรู้ท่ีได้จากการศึกษา ผลัดกันซักถามข้อสงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจ
ชัดเจนตรงกัน

6. ครูอธิบายความรู้เรื่อง ประวัติความเป็นมาอาเซียน ให้นักเรียนฟังเพ่ิมเติม เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจชัดเจน
มากย่ิงข้นึ

7. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันทาใบงานท่ี 3.1 เรอื่ ง ประวัติความเปน็ มาของอาเซียน
8. ครูเฉลยคาตอบในใบงานที่ 3.1 สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ตรวจสอบความถกู ต้อง
9. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ

ข้ันตรวจสอบผล

10. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันสรปุ ความรเู้ ร่อื ง ประวตั คิ วามเปน็ มาของอาเซียน
11. ครูแนะนาใหน้ กั เรยี นนาความร้ทู ่ีได้จากการศึกษาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการศึกษาอาเซียนตอ่ ไป

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมนิ วิธีการวดั ผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จุดประสงค์
1. อธบิ ายประวัติความเปน็ มา 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 70% ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์
ความรูค้ วามเข้าใจ (K) ของอาเซียนได้ K)
2. ยกตัวอย่างประเทศในกล่มุ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 การประเมนิ
ทกั ษะ / กระบวนการ (P) อาเซียนได้ (P)
3. เห็นคุณคา่ และความสาคัญ 2. ใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง ประวตั ิ 70% ขนึ้ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์
คณุ ลกั ษณะนสิ ัย (A) ประเทศในกลุ่มอาเซียน (A) ความเป็นมาของอาเซยี น การประเมิน

3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขน้ึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์

ทางานรายบคุ คล การประเมนิ

7. สอ่ื / แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) อนิ เทอรเ์ นต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................ ...................................
............................................................................................... ................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................................................ ...................................................
............................................................................... ............................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชื่อ………………………………………………………ครผู ูส้ อน ลงช่อื ………………………………………………………ฝา่ ยวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชื่อ………………………………………………………ผู้บริหาร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 3.1
เรอื่ ง ประวตั คิ วามเปน็ มาของอาเซียน

คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี
1. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตห้ รืออาเซยี น ไดจ้ ดั ต้ังข้ึนตามข้อตกลงใด ในพ.ศ. ใด
2. สมาชกิ แรกเร่ิมของอาเซยี นมีกีป่ ระเทศ ได้แก่ประเทศใดบ้าง

3. ปจั จบุ นั สมาชิกของอาเซยี นมีทง้ั หมดกปี่ ระเทศ

4. การรวมตวั กันของกลุ่มอาเซยี นมีประโยชนอ์ ย่างไรกับประเทศสมาชกิ

สัปดาหท์ ่ี 18

โรงเรียนขจรเกยี รติพัฒนา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนที่………..… /…………….. ชอ่ื ผูส้ อน……………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศึกษาป่ที ี่ 6 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 ความสัมพันธข์ องกลุม่ อาเซียน
เรือ่ ง วัตถปุ ระสงค์หลกั ของอาเซยี น

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ

เหตุการณอ์ ย่างตอ่ เน่อื ง ตระหนกั ถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทเี่ กิดข้ึน
ตวั ชีว้ ัด ป.6/2 บอกความสมั พนั ธ์ของกล่มุ อาเซยี นโดยสังเขป

2. สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด
วัตถุประสงค์หลักของอาเซียน คือ ความร่วมมือและช่วยเหลือกันทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และการ

บริการ เพื่อสง่ เสริมสันตภิ าพและความม่นั คงของภูมิภาค

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายวตั ถปุ ระสงค์หลักของอาเซยี นได้ (K)
2. ยกตวั วัตถุประสงค์หลกั ของอาเซียนได้ (P)
3. เห็นคณุ ค่าวตั ถุประสงค์หลักของอาเซยี นได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน
พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ความเปน็ มาของกลมุ่ อาเซียนโดยสังเขป

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ข้นั นา

ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ
1. ครใู ห้นักเรียนร้องเพลงอาเซยี นร่วมใจ แล้วให้นกั เรยี นวิเคราะห์เน้ือเพลงว่ามีขอ้ ความสาคัญอยา่ งไรบา้ ง
2. ครูอธบิ ายเช่อื มโยงให้นักเรยี นเหน็ ถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศในอาเซยี น

ขัน้ สอน

ข้นั สารวจค้นหา

3. นักเรยี นแต่ละกลุ่ม (กล่มุ เดมิ จากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ ร่อื ง วัตถุประสงค์หลักของอาเซียน
จากหนงั สือเรยี นหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรอื ห้องสมุด หรือแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ จากนัน้ ศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน แลว้ อภปิ รายร่วมกันในประเด็นต่อไปนี้

1) สานักเลขาธกิ ารอาเซยี นและเลขาธิการอาเซยี น
2) ปฏิญญาอาเซยี น
3) กฎบตั รอาเซยี น
4) เขตการคา้ เสรีอาเซียน
แล้วบนั ทึกความร้ทู ่ีได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน

ขน้ั อธบิ ายความรู้
4. ครูแจกใบงานที่ 3.2 เรื่อง วตั ถุประสงค์หลกั ของอาเซยี น ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม กลุ่มละ 1 ชดุ แล้วให้นักเรยี นแต่ละกลุ่ม

แบ่งหนา้ ทีใ่ หส้ มาชกิ แต่ละคนปฏบิ ัติ ดงั น้ี
- สมาชิกคนท่ี 1 อ่านคาสง่ั แยกแยะใหช้ ดั เจน
- สมาชกิ คนท่ี 2 ฟงั ขั้นตอน รวบรวมขอ้ มลู หาแนวทางเสนอแนะในการตอบคาถาม
- สมาชิกคนที่ 3 ตอบคาถาม
- สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้อง

ข้นั สรปุ

ขั้นขยายความเขา้ ใจ

5. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มหมนุ เวยี นเปลี่ยนหน้าที่กนั ในการตอบคาถามในขอ้ ต่อไปจนเสรจ็ ครบทุกข้อ เสร็จแล้วรวบรวมใบ
งานที่ 3.2 สง่ ครู ครูตรวจคาตอบดว้ ยตนเอง หรือให้ แต่ละกลมุ่ ผลดั กันตรวจคาตอบ โดยมีแนวเฉลยคาตอบให้

ข้นั ตรวจสอบผล

6. ครูประกาศผลกลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญเกี่ยวกับวัตถุประสงค์หลักของ
อาเซียน

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมนิ วธิ ีการวัดผล เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การประเมินผล
จดุ ประสงค์
1. อธิบายวัตถปุ ระสงคห์ ลักของ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 70% ข้ึนไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การประเมนิ
อาเซียนได้ (K)
ทักษะ / กระบวนการ (P)
2. ยกตัววตั ถุประสงค์หลกั ของ 2. ใบงานท่ี 3.2 เรอื่ ง 70% ขน้ึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A)
อาเซียนได้ (P) วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของอาเซยี น การประเมิน

3. เห็นคุณค่าวัตถปุ ระสงคห์ ลัก 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขึ้นไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์

ของอาเซยี นได้ (A) ทางานรายบุคคล การประเมนิ

7. สอ่ื / แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) อินเทอร์เนต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
........................................................................................................................................................................ .......................................
........................................................................................... ....................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
........................................................................................................................................................ .......................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครูผูส้ อน ลงช่อื ………………………………………………………ฝ่ายวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชื่อ………………………………………………………ผบู้ ริหาร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 3.2
เรื่อง วัตถุประสงค์หลักของอาเซียน

คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขียนอธบิ ายความหมายและความสาคัญของคาต่อไปน้ี
1. ปฏญิ ญากรุงเทพ

2. กฎบตั รอาเซยี น

3. เขตการคา้ เสรอี าเซียน

สัปดาหท์ ่ี 19

โรงเรียนขจรเกยี รติพฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนที่………..… /…………….. ชอื่ ผสู้ อน……………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ่ี 6 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ความสัมพนั ธ์ของกลมุ่ อาเซยี น
เร่ือง ความสัมพนั ธ์ของอาเซยี นทางเศรษฐกิจและสงั คม

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ

เหตกุ ารณ์อย่างตอ่ เนือ่ ง ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึน
ตวั ช้วี ดั ป.6/2 บอกความสัมพันธข์ องกลมุ่ อาเซียนโดยสังเขป

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
ความสัมพนั ธข์ องกลมุ่ อาเซียนมีจุดมุ่งหมายสง่ เสรมิ ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ และสังคม

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกิจและสงั คมได้ (K)
2. ยกตัวอยา่ งอธบิ ายความสมั พนั ธ์ของกลมุ่ อาเซยี นทางเศรษฐกจิ และสงั คมได้ (P)
3. เหน็ คุณคา่ ความสัมพันธข์ องกลมุ่ อาเซยี นทางเศรษฐกจิ และสังคมได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ

ความสมั พันธข์ องกลุม่ อาเซยี นทางเศรษฐกจิ และสงั คมใน พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

ปจั จบุ ันโดยสงั เขป

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขั้นนา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ

1. นักเรียนดูภาพเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของอาเซียน แล้วตอบคาถามว่า ภาพท่ีเห็นแสดงให้เห็นด้านเศรษฐกิจ
และสภาพสงั คมในอาเซียนอยา่ งไร

2. ครสู นทนากบั นกั เรยี นเก่ยี วกบั ความสมั พนั ธ์ของอาเซยี นทางเศรษฐกจิ และสงั คมวา่ มคี วามสมั พันธ์กนั อย่างไร

3. นักเรียนตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ

ขน้ั สอน

ขน้ั สารวจคน้ หา

4. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความสัมพันธ์ของอาเซียนทาง
เศรษฐกิจและสังคม จากหนังสอื เรยี นหรอื บทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite

ขน้ั อธิบายความรู้
5. นักเรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกนั อธบิ ายความร้ทู ่ีไดจ้ ากการศกึ ษาเก่ยี วกบั ความสัมพนั ธข์ องอาเซยี นทางเศรษฐกจิ และสังคม
6. นักเรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกนั ทาใบงานที่ 3.3 เรอื่ ง ความร่วมมอื ของอาเซียนด้านเศรษฐกจิ และสังคม

ขั้นสรุป

ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ

7. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มผลัดกันออกมานาเสนอใบงานท่ี 3.3 หน้าชั้นเรยี น แลว้ เก็บรวบรวมใบงานสง่ ครู
8. ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับประโยชน์ของความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและสังคมของอาเซียน

ขน้ั ตรวจสอบผล

10. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 5-6 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน แล้วให้เพื่อนกลุ่มอ่ืนช่วยเสนอแนะเพ่ิมเติม
ในส่วนที่แตกต่าง

11. ครูตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทาใบงานท่ี 3.3 และจากการนาเสนอผลการอภิ ปราย พร้อมกับ
สังเกตพฤติกรรมความร่วมมอื ในการปฏิบัตกิ ิจกรรม

12. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความรูเ้ รอื่ ง ความสัมพนั ธ์ของอาเซยี นทางเศรษฐกจิ และสังคม

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมิน วิธีการวดั ผล เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมินผล
จุดประสงค์
1. อธบิ ายความสมั พันธ์ของ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ข้ึนไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K) กลมุ่ อาเซยี นทางเศรษฐกิจและ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 การประเมนิ
สงั คมได้ (K)
ทกั ษะ / กระบวนการ (P) 2. ยกตวั อยา่ งอธบิ าย 2. ใบงานท่ี 3.3 เร่ือง ความ 70% ข้ึนไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความสมั พนั ธ์ของกลุม่ อาเซียน ร่วมมอื ของอาเซียนด้าน การประเมนิ
คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) ทางเศรษฐกิจและสงั คมได้ (P) เศรษฐกิจและสังคม
3. เหน็ คุณค่าความสัมพนั ธข์ อง
กลมุ่ อาเซียนทางเศรษฐกิจและ 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขึน้ ไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
สงั คมได้ (A)
ทางานรายบคุ คล การประเมิน

7. สื่อ / แหล่งการเรยี นรู้
7.1 สอ่ื การเรยี นรู้
1) บัตรภาพ

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) อนิ เทอร์เนต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
........................................................................................................................ .......................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
..................................................................................................................................... ..........................................................................
..................................................................................................................................................................................... ..........................
........................................................................................................ .......................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชือ่ ………………………………………………………ครผู ู้สอน ลงช่ือ………………………………………………………ฝา่ ยวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอ่ื ………………………………………………………ผบู้ รหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานที่ 3.3
เรอื่ ง ความร่วมมอื ของอาเซียนดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม

ตอนที่ 1
คาช้แี จง ให้นกั เรยี นหาขา่ วเกย่ี วกับความร่วมมือของอาเซียนในด้านเศรษฐกิจหรอื ด้านสังคม มา 1 ขา่ ว แล้วเขียนสรุป
สาระสาคญั จากขา่ ว

ทมี่ า :

 ข่าวน้เี ปน็ ขา่ วเกย่ี วกับ
 ใจความสาคัญของข่าว มีดงั น้ี

ตอนท่ี 2
คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้

1. ลกั ษณะความสมั พันธท์ างเศรษฐกจิ ของประเทศสมาชิกในกล่มุ อาเซียนเปน็ อย่างไร

2. ยกตวั อย่างความสมั พันธข์ องกลุ่มอาเซยี นในดา้ นวฒั นธรรม

3. เขตการคา้ เสรมี ีประโยชน์อยา่ งไรกบั ประเทศสมาชกิ

สัปดาหท์ ี่ 20

โรงเรียนขจรเกียรติพฒั นา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนที่………..… /…………….. ช่ือผสู้ อน……………………………………………………
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาป่ีที่ 6 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 ความสัมพันธข์ องกลุ่มอาเซียน
เรื่อง ความรว่ มมือดา้ นตา่ งๆ ของสมาชิกอาเซยี น

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ

เหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กิดขนึ้
ตวั ชวี้ ัด ป.6/2 บอกความสมั พันธ์ของกล่มุ อาเซยี นโดยสังเขป

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
สมาชกิ อาเซยี นได้มคี วามรว่ มมือกนั ทางดา้ นสงั คม วิชาการ และวัฒนธรรม

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความร่วมมอื ดา้ นต่างๆ ของสมาชกิ อาเซียนได้ (K)
2. ยกตัวอย่างความรว่ มมอื ด้านตา่ งๆ ของสมาชกิ อาเซยี นได้ (P)
3. เหน็ คุณค่าความรว่ มมอื ด้านตา่ งๆ ของสมาชิกอาเซียน (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ

ความสมั พนั ธ์ของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกจิ และสังคมใน พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

ปจั จบุ ันโดยสังเขป

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ข้ันนา

ข้ันกระตุ้นความสนใจ

1. ครนู าภาพหนังสือท่ีได้รบั รางวัลซไี รตห์ รือตวั อย่าง มาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ให้นักเรยี นตอบคาถามตามประเด็นที่กาหนด เชน่
- รจู้ ักหนังสือเหลา่ นีห้ รือไม่
- หนังสือเหลา่ น้มี คี วามพเิ ศษตา่ งจากหนังสอื อื่นอยา่ งไร

ขัน้ สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา

2. นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เร่ือง ความร่วมมือด้านต่างๆของสมาชิกอาเซียน จากหนังสือเรียนหรือบทเรียน
คอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite จากน้ันให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือนผลัดกันซักถามข้อสงสัยและอภิปรายจนมีความเข้าใจชัดเจน
ตรงกนั
ขั้นอธิบายความรู้

3. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับความร่วมมือด้านต่างๆ ของสมาชิกอาเซียน ให้นักเรียนฟังเพ่ิมเติม เพื่อให้นักเรียนมีความรู้
ความเขา้ ใจชัดเจนมากยิง่ ข้นึ

ขั้นสรุป

ขนั้ ขยายความเข้าใจ

4. นักเรยี นแต่ละคนทาใบงานท่ี 3.4 เรื่อง ความรว่ มมือดา้ นตา่ งๆ ของอาเซยี น
5. เม่ือทาเสร็จแล้วให้นักเรียนแต่ละคนอธิบายคาตอบในใบงานที่ 3.4 ให้คู่ของตนเองฟัง ผลัดกันซักถามข้อสงสัย และ
ร่วมกนั สรุปเพ่อื เปน็ คาตอบของค่ตู นเอง

ขั้นตรวจสอบผล

6. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้เรอื่ ง การรว่ มมือดา้ นต่างๆของสมาชกิ อาเซยี น

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมิน วิธีการวดั ผล เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จุดประสงค์
1. อธิบายความรว่ มมือดา้ น 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 70% ขึ้นไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความร้คู วามเข้าใจ (K) ตา่ งๆ ของสมาชิกอาเซยี นได้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 การประเมิน

ทักษะ / กระบวนการ (P) (K)

คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A) 2. ยกตวั อย่างความรว่ มมอื ด้าน 2. ใบงานท่ี 3.4 เรอ่ื ง ความ 70% ข้นึ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
ตา่ งๆ ของสมาชกิ อาเซียนได้ ร่วมมือดา้ นตา่ งๆ ของ การประเมนิ
(P) อาเซียน

3. เหน็ คุณคา่ ความร่วมมอื ดา้ น 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขึ้นไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

ต่างๆ ของสมาชิกอาเซียน (A) ทางานรายบุคคล การประเมิน

7. ส่อื / แหล่งการเรียนรู้
7.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องสมดุ
2) อินเทอร์เนต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ

............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................................................................ ...................................
............................................................................................... ................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................................................ ...................................................

ลงช่อื ………………………………………………………ครูผูส้ อน ลงช่ือ………………………………………………………ฝ่ายวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงช่อื ………………………………………………………ผบู้ รหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานที่ 3.4
เรอื่ ง ความรว่ มมือดา้ นต่างๆ ของอาเซียน

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. รางวัลซไี รต์ หมายถึง

2. จงยกตัวอยา่ งวรรณกรรมของไทยที่ไดร้ บั รางวัลซีไรต์

3. การแขง่ ขนั กีฬาของกลุม่ ประเทศในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ

4. จงยกตวั อยา่ งความรว่ มมือทางดา้ นอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้


Click to View FlipBook Version