The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ป.6 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-15 09:14:49

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ป.6 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ป.6 เทอม 1-63

โครงสร้างการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
ภาคเรยี นท่ี …………. ปกี ารศึกษา………………เวลา 20 ชัว่ โมง

ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
หนว่ ยท่ี การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน

เร่ือง / สปั ดาห์ 35

1 วิธีการทาง มาตรฐาน ส 4.1 วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็น 1

ประวตั ศิ าสตร์ รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของ ข้ันตอนที่สำคัญช่วยให้เราได้ (ส. 1)

(1) เวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่มี

สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา ความถูกต้องเท่ียงตรงสมบูรณ์

วิเคราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ และมคี วามนา่ เชื่อถอื

ตวั ชวี้ ัดป.6/1
อ ธิ บ า ย ค ว า ม ส ำคั ญ ข อ งวิ ธี ก า ร ท า ง

ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทาง
ประวตั ศิ าสตรอ์ ยา่ งง่ายๆ

1 วธิ ีการทาง มาตรฐาน ส 4.1 วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็น 1

ประวัติศาสตร์ รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของ ข้ันตอนที่สำคัญช่วยให้เราได้ (ส. 2)

(2) เวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ท่ีมี

สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา ความถูกต้องเที่ยงตรงสมบูรณ์

วิเคราะห์เหตกุ ารณต์ ่างๆ อย่างเป็นระบบ และมีความน่าเช่อื ถอื

ตวั ช้วี ดั ป. 6/1
อธิบายความสำคัญ ของวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเร่ืองราวทาง
ประวัตศิ าสตร์อย่างง่ายๆ

โครงสรา้ งการสอน วชิ าประวัตศิ าสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ภาคเรยี นที่ …………. ปกี ารศึกษา………………เวลา 20 ชวั่ โมง

ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
หน่วยที่ การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน
/ สปั ดาห์
เรอื่ ง

1 การนำวิธีการ มาตรฐาน ส 4.1 ใน ก ารศึ ก ษ าวิธีก ารท าง 1

ทางประวตั ิ- รู้เขา้ ใจความหมายความสำคญั ของเวลา ประวัติศาสตร์นั้น ทำให้เรา (ส. 3)

ศาสตร์มาใช้ และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตรส์ ามารถใช้ สามารถนำมาใช้ในการศึกษา

ศกึ ษาเรื่องราว วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะห์ ค้นคว้าเร่ืองราวในท้องถิ่น

ในท้องถิน่ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และมี

ความน่าเชอื่ ถอื มากทส่ี ุด

ตวั ชี้วัดป. 6/1

อธิบายความสำคัญ ของวิธีการทาง

ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเร่ืองราวทาง

ประวัตศิ าสตร์อยา่ งง่ายๆ

1 ประเภทของ มาตรฐาน ส 4.1 ประเภทหลักฐานทางประวัติ- 1

หลักฐานทาง รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา ศาสตร์ประกอบด้วยหลักฐาน (ส. 4)

ประวตั ิศาสตร์ และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ ชนั้ ตน้ หลกั ฐานชนั้ รอง

วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์

เหตกุ ารณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ

ตวั ชีว้ ัดป. 6/2
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย
ในการทำความเข้าใจเร่ืองราวสำคัญในอดตี

โครงสร้างการสอน วิชาประวตั ิศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
ภาคเรียนที่ …………. ปกี ารศกึ ษา………………เวลา 20 ช่ัวโมง

ช่ือหน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
หนว่ ยท่ี การเรียนรู้ / คะแนน
มาตรฐาน ส 4.1 แหลง่ หลกั ฐานทางประวัติ- (ชม.)
เรอื่ ง รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา ศาสตร์มีความสำคญั ตอ่ การ
และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ ศึกษาเร่ืองราวและหลักฐาน / สัปดาห์
1 แหลง่ หลกั วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ ทางประวัตศิ าสตร์ 1
ฐานทางประ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ (ส. 5)
วัตศิ าสตร์

ตวั ช้ีวดั ป. 6/2

นำเสนอข้อมลู จากหลักฐานที่หลากหลาย

ในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคญั ในอดีต

1 หลักฐานทาง มาตรฐาน ส 4.1 การศึกษาเรื่องราวในสมัย 1

ประวัติศาสตร์ รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา รัตนโกสินทร์ต้องอาศัยหลักฐาน (ส. 6)

ทใี่ ช้ในการ และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ ช้ันต้นหลักฐานช้ันรองและ

ศกึ ษาประวตั ิ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ แหล่งหลักฐานทางประวตั ิ-

ศ าส ต ร์ ส มั ย เหตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ ศาสตร์เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลท่ี

รตั นโกสินทร์ ถกู ต้องและน่าเชือถอื

ตัวชีว้ ัดป. 6/2

นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานท่ีหลากหลาย

ในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต

โครงสร้างการสอน วชิ าประวัติศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
ภาคเรียนท่ี …………. ปกี ารศึกษา………………เวลา 20 ชั่วโมง

ช่ือหน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
หน่วยที่ การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน
/ สปั ดาห์
เรอื่ ง

1 การศึกษา มาตรฐาน ส 4.1 การศึกษาเรื่องราวในสมัย 1

ประวัตศิ าสตร์ รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ต้ อ ง อ า ศั ย (ส. 7)

สมยั รัตน- และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ หลักฐานช้นั ตน้ หลักฐานช้นั รอง

โกสนิ ทร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ แ ล ะ แ ห ล่ ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง

เหตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ ประวัติศาสตร์เพื่อให้ทราบถึง

ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องและน่าเชอื ถอื

ตวั ชว้ี ัดป. 6/2

นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานท่ีหลากหลาย

ในการทำความเข้าใจเร่ืองราวสำคัญในอดตี

1 ทตี่ งั้ ของ มาตรฐาน ส 4.2 ประเทศท่ีตั้งอยู่ในภูมิภาค 1

ประเทศใน เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความ (ส. 8)

ภมู ิภาคเอเชยี จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ คล้ายคลึงกนั ในด้านต่างๆ

ตะวนั ออก การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่าง

เฉียงใต้ ต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญและ

สามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กิดข้ึน

ตัวช้วี ดั ป. 6/1
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมืองของป ระเทศเพ่ื อน บ้าน ใน
ปจั จุบนั

โครงสร้างการสอน วชิ าประวัตศิ าสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
ภาคเรยี นท่ี …………. ปกี ารศึกษา………………เวลา 20 ชว่ั โมง

ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
หน่วยท่ี การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน
/ สปั ดาห์
เรือ่ ง

1 ส า ธ า ร ณ รั ฐ มาตรฐาน ส 4.2 ประเทศพม่ามีความเป็นมา 1

แห่ งสห ภ าพ เข้าใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีต ทางประวัติศาสตร์ การเมือง (ส. 9)

เมียนมา จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม

การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่าง แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ มี ส่ ว น

ต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญและ คล้ายคลึงและแตกต่างกันกับ

สามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่เี กิดขนึ้ ประเทศในเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้

ตวั ชวี้ ดั ป. 6/1

อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ

การเมืองของป ระเทศเพื่ อน บ้าน ใน

ปัจจบุ ัน

1 ส า ธ า ร ณ รั ฐ มาตรฐาน ส 4.2 ประเทศลาวมีความเป็นมา 1

ประชาธิปไตย เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีต ทางประวัติศาสตร์ การเมือง (ส. 10)

ประชาชนลาว จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม

การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่าง แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ มี ส่ ว น

ต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ คล้ายคลึงและแตกต่างกันกับ

สามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบที่เกดิ ขึ้น ประเทศในเอเชียตะวันออก

เฉียงใตใ้ ต้

ตัวช้วี ัดป. 6/1

อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ

การเมืองของป ระเทศเพื่ อน บ้าน ใน

ปจั จบุ ัน

สอบกลางภาคเรียนที่ 1 (ส. 10) 10 คะแนน

โครงสรา้ งการสอน วชิ าประวตั ิศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ภาคเรยี นท่ี …………. ปกี ารศกึ ษา………………เวลา 20 ชว่ั โมง

ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
หนว่ ยท่ี การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน
/ สัปดาห์
เรื่อง 35

1 ส า ธ า ร ณ รั ฐ มาตรฐาน ส 4.1 ประเทศเวียดนามมีความ 1

สั ง ค ม นิ ย ม รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา เป็ น มาท างป ระวัติศาสตร์ (ส. 11)

เวียดนาม และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ การเมืองการปกครองเศรษฐกิจ

วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ สังคมและวัฒนธรรมที่มีส่วน

เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ คล้ายคลึงและแตกต่างกันกับ

ประเทศในเอเชียตะวันออก

ตวั ชวี้ ดั ป.6/2 เฉียงใต้

นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย

ในการทำความเข้าใจเร่ืองราวสำคัญในอดีต

1 ราชอาณาจักร มาตรฐาน ส 4.2 ประเทศกมั พูชามีความเป็นมา 1

กมั พูชา เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีต ทางประวัติศาสตร์การเมืองการ (ส. 12)

จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ ปกครองเศรษฐกิจสังคมและ

การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่าง วัฒนธรรมที่มีส่วนคล้ายคลึง

ต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ และแตกต่างกันกับประเทศใน

สามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดขน้ึ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

ตวั ช้วี ัดป.6/1
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมืองของป ระเทศเพ่ื อน บ้าน ใน
ปัจจุบนั

โครงสร้างการสอน วิชาประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรยี นท่ี …………. ปกี ารศึกษา………………เวลา 20 ช่วั โมง

ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
หน่วยท่ี การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน

เรอ่ื ง / สปั ดาห์

1 สหพนั ธรัฐ มาตรฐาน ส 4.1 ประเทศมาเลเซียและบรูไนมี 1
มาเลเซีย
และเนการา รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ (ส. 13)
บรไู นดารุส-
ซาลาม และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ การเมืองการปกครองเศรษฐกิจ

วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ สังคมและวัฒนธรรมท่ีมีส่วน

เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ คล้ายคลึงและแตกต่างกันกับ

ประเทศในเอเชียตะวันออก

ตัวช้วี ัดป. 6/2 เฉียงใต้

นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย

ในการทำความเข้าใจเร่ืองราวสำคัญในอดตี

1 สาธารณรัฐ มาตรฐาน ส 4.2 ป ร ะ เท ศ สิ ง ค โป ร์ แ ล ะ 1

สิงคโปรแ์ ละ เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีต อินโดนีเซียมีความเป็นมาทาง (ส. 14)

สาธารณรัฐ จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ ประวัติศาสตร์ การเมืองการ

อนิ โดนีเซยี การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่าง ปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและ

ต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ วัฒนธรรม ท่ีมีส่วนคล้ายคลึง

สามารถวิเคราะห์ผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ และแตกต่างกันกับประเทศใน

เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้

ตัวช้ีวดั ป. 6/1

อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ

การเมืองของป ระเทศเพ่ื อน บ้าน ใน

ปัจจุบนั

โครงสรา้ งการสอน วชิ าประวตั ศิ าสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6
ภาคเรยี นท่ี …………. ปกี ารศกึ ษา………………เวลา 20 ช่ัวโมง

ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
หนว่ ยท่ี การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน

เรือ่ ง / สัปดาห์

1 สาธารณรัฐ มาตรฐาน ส 4.1 ประเทศฟิลิปปินส์และติมอร์- 1

ฟลิ ิปปนิ ส์ และ รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา เล ส เต มี ค ว าม เป็ น ม าท าง (ส. 15)

สาธารณรฐั และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ ประวัติศาสตร์การเมืองการ

ประชาธิปไตย วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ ปกครองเศรษฐกิจสังคมและ

ติมอร์-เลสเต เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ วัฒนธรรมท่ีมีส่วนคล้ายคลึง

และแตกต่างกันกับประเทศใน

ตัวช้วี ดั ป. 6/2 เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้

นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย

ในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต

2 ความเหมือน มาตรฐาน ส 4.2 ประเทศไทยและประเทศ 1

และแตกต่าง เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีต เพ่ือนบ้านมีความเหมือนและ (ส. 16)

ระหวา่ ง จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ แตกต่างกันในด้านการปกครอง

ประเทศไทย การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่าง ด้านเศรษฐกิจดา้ นทรพั ยากร

กับประเทศ ต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญและ ธรรมชาติและด้านสังคมและ

เพอ่ื นบ้าน สามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กดิ ขนึ้ วฒั นธรรม

ตวั ชีว้ ดั ป. 6/1
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมืองของป ระเทศเพื่ อน บ้าน ใน
ปจั จบุ ัน

โครงสร้างการสอน วิชาประวตั ิศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนท่ี …………. ปกี ารศกึ ษา………………เวลา 20 ชว่ั โมง

ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
หนว่ ยที่ การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน

เร่ือง / สัปดาห์

2 ประวตั คิ วาม มาตรฐาน ส 4.1 ประเทศในภูมิภ าคเอเชีย 1
เป็นมาของ
อาเซียน รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา ตะวันออกเฉียงใต้ได้รวมกลุ่ม (ส. 17)

และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ กันตั้งองค์กรขึ้นมาเป็นสมาคม

วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ ป ร ะ ช า ช า ติ แ ห่ ง เ อ เ ชี ย

เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน

ซ่ึ งจั ด ต้ั งขึ้ น ต า ม ป ฏิ ญ ญ า

ตัวชี้วัดป.6/2 อาเซยี น

นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานท่ีหลากหลาย

ในการทำความเข้าใจเร่ืองราวสำคัญในอดตี

2 วตั ถปุ ระสงค์ มาตรฐาน ส 4.2 วัตถุประสงค์หลักของอาเซียน 1

หลักของ เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีต คือความร่วมมือและช่วยเหลือ (ส. 18)

อาเซยี น จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ กั น ท า ง เศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม

การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่าง วัฒนธรรมเทคโนโลยีและการ

ต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญและ บริการเพื่อส่งเสริมสันติภาพ

สามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทเี่ กิดขึน้ และความมั่นคงของภูมิภาค

ตัวช้ีวัดป.6/1
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมืองของป ระเทศเพ่ื อน บ้าน ใน
ปัจจบุ นั

โครงสรา้ งการสอน วชิ าประวัตศิ าสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
ภาคเรยี นท่ี …………. ปกี ารศึกษา………………เวลา 20 ชัว่ โมง

ชอื่ หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
หน่วยท่ี การเรียนรู้ / (ชม.) คะแนน

เรอ่ื ง / สปั ดาห์

2 ความสมั พันธ์ มาตรฐาน ส 4.1 ความสัมพันธข์ องกลุ่มอาเซียน 1

ของอาเซียน รู้เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลา มีจุดมุ่งหมายส่งเสริมความ (ส. 19)

ทางเศรษฐกิจ และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ ร่วมมือทางเศรษฐกจิ และสังคม

และสังคม วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์

เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ

ตวั ช้วี ดั ป. 6/2
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย
ในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดตี

2 ความรว่ มมอื มาตรฐาน ส 4.2 สมาชิกอาเซียนได้มีความ 1

ด้านต่างๆ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีต ร่ ว ม มื อ กั น ท า งด้ า น สั งค ม (ส. 20)

ของสมาชิก จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ วชิ าการและวฒั นธรรม

อาเซยี น ก าร เป ลี่ ย น แ ป ล งข อ งเห ตุ ก า ร ณ์ อ ย่ า ง

ต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ

สามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกิดขึ้น

ตวั ชีว้ ดั ป. 6/1
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมืองของป ระเทศเพื่ อน บ้าน ใน
ปจั จุบนั

สอบปลายภาคเรยี นที่ 1 (ส. 20) 20 คะแนน

สัปดาหท์ ี่ 1

โรงเรยี นขจรเกียรติพัฒนา
แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี………..… /…………….. ชอ่ื ผู้สอน……………………………………………………

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ่ี 6 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 การศกึ ษาเรอ่ื งราวทางประวตั ิศาสตร์

เร่อื ง วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ (1)

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้วี ัด
มาตรฐาน ส 4.1 รู้เข้าใจความหมายความสาคญั ของเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์สามารถใชว้ ิธีการทาง

ประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณต์ า่ งๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชว้ี ัด ป.6/1 อธบิ ายความสาคญั ของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ในการศึกษาเร่ืองราวทางประวัตศิ าสตร์อย่างง่ายๆ

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ เปน็ ขน้ั ตอนท่สี าคัญ ช่วยใหเ้ ราได้ขอ้ มูลทางประวัติศาสตรท์ มี่ ีความถกู ต้อง เท่ียงตรง สมบูรณ์

และมคี วามนา่ เชือ่ ถือ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความสาคญั ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ (K)
2. บอกขน้ั ตอนของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ได้ (P)
3. เหน็ คุณค่าวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่น
พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ความหมายและความสาคัญของวธิ ีการทาง
ประวตั ิศาสตร์อย่างงา่ ยๆ ท่ีเหมาะสมกบั นกั เรยี น

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ข้นั นา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ

1. ครูนาภาพวัดศรชี ุม จ. สุโขทยั มาให้นกั เรยี นดู แล้วตง้ั ประเดน็ คาถามถามนักเรยี น เชน่
- จากภาพเป็นสถานท่ีใด
- ภาพน้ีมคี วามสาคญั อยา่ งไร

2. ครูอธิบายเช่ือมโยงให้นักเรียนเห็นถึงความสาคัญของการ ศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และวิธีการศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลโดยใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์

ขน้ั สอน

ขัน้ สารวจค้นหา

3. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด นักเรียนสามารถสืบค้นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ได้โดยวิธีใดบ้าง (เช่น ไปดู
สถานท่จี ริง ค้นควา้ ขอ้ มูลจากหนงั สอื เป็นตน้ )

4. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้าง
อ่อน และอ่อน จากนั้นสมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้ เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จากหนังสือเรียนหรือบทเรียน
คอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite โดยให้นักเรียนจับคู่กับสมาชิกภายในกลุ่มเป็น 2 คู่ และให้แต่ละคู่ศึกษาตามหัวข้อ ท่ีกาหนด
ดังน้ี

- คทู่ ่ี 1 ศกึ ษาข้นั ตอนที่ 1 การกาหนดหวั ข้อทส่ี นใจ

- คทู่ ่ี 2 ศกึ ษาขัน้ ตอนท่ี 2 การรวบรวมหลักฐาน

ขัน้ อธิบายความรู้

5. เม่ือนักเรยี นแตล่ ะคนศกึ ษาความรูจ้ นเข้าใจแลว้ ใหผ้ ลัดกันอธิบายความรทู้ ไ่ี ดก้ บั เพ่อื นท่เี ปน็ ค่จู นมคี วามเข้าใจตรงกนั

ขน้ั สรุป

ข้ันขยายความเข้าใจ
6. นักเรียนแต่ละคู่กลับมารวมกลุ่มเดิม (4 คน) แล้วผลัดกันอธิบายองค์ความรู้ให้สมาชิกอีกคู่หนึ่งภายในกลุ่มฟัง

และซักถามข้อสงสัย ครูคอยใหค้ วามชว่ ยเหลอื

ขน้ั ตรวจสอบผล
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เร่ือง วิธีการทางประวัติศาสตร์ ในข้ันตอนของการกาหนดหัวข้อท่ีน่าสนใจ และการ

รวบรวมหลกั ฐาน

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมิน วิธีการวดั ผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล
จดุ ประสงค์
1. อธิบายความสาคัญ ของ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 70% ขึน้ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
ความรู้ความเข้าใจ (K)
วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ได้ (K) หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 การประเมนิ
ทักษะ / กระบวนการ (P)
2. บอกขั้นตอนของวธิ กี าทาง 2. ทาแบบฝกึ หดั 70% ขน้ึ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์
คณุ ลักษณะนิสยั (A)
ประวัติศาสตร์ได้ (P) การประเมนิ

3. เห็นคุณคา่ วธิ กี ารทาง 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขึ้นไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ประวัติศาสตร์ (A) ทางานรายบุคคล การประเมิน

7. สอ่ื / แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) อนิ เทอร์เนต็

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................................................... ................................................
.................................................................................. ................................................................................................................. ............
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................................... ................................................................
............................................................................................................................................................................................... ................
.................................................................................................................. .............................................................................. ...............

ลงชื่อ………………………………………………………ครูผ้สู อน ลงชื่อ………………………………………………………ฝา่ ยวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงช่อื ………………………………………………………ผ้บู ริหาร
(……………………………………………………)

สปั ดาหท์ ี่ 2

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นที่………..… /…………….. ช่อื ผูส้ อน……………………………………………………

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ี่ 6 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 การศกึ ษาเรื่องราวทางประวัตศิ าสตร์

เรื่อง วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ (2)

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัด
มาตรฐาน ส 4.1 รู้เข้าใจความหมายความสาคญั ของเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตรส์ ามารถใช้วธิ ีการทาง

ประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ
ตวั ชวี้ ัด ป.6/1 อธิบายความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตรใ์ นการศึกษาเรื่องราวทางประวตั ิศาสตร์อย่างง่ายๆ

2. สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด
วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ เปน็ ขน้ั ตอนท่ีสาคัญ ชว่ ยให้เราได้ข้อมูลทางประวตั ิศาสตร์ท่มี ีความถูกต้อง เท่ียงตรง สมบูรณ์

และมคี วามนา่ เชือ่ ถือ

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความสาคญั ของวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ได้ (K)
2. บอกข้นั ตอนของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ได้ (P)
3. เห็นคุณค่าวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ความหมายและความสาคัญของวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ ที่เหมาะสมกับนกั เรียน

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ขน้ั กระตุน้ ความสนใจ
1. นักเรยี นทบทวนความรเู้ ดิมเกย่ี วกับวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ ในสองขั้นแรก คือ ขน้ั กาหนดหัวขอ้ ท่สี นใจ และขัน้ การ

รวบรวมหลักฐาน

2. ครูตั้งคาถามว่า เมื่อนักเรียนรวบรวมหลักฐานมาได้แล้ว นักเรียนจะดาเนินการต่ออย่างไรในการศึกษาวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์

3. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า หลังจากมีการรวบรวมหลักฐานแล้ว จะมีข้ันตอนการตรวจสอบหลักฐาน การตีความ
หลักฐาน และการเรยี บเรยี งและนาเสนอข้อมูล

ขนั้ สอน

ข้นั สารวจค้นหา

4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากน้ันสมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง วิธีการทาง
ประวตั ศิ าสตร์ โดยให้นกั เรยี นจับค่กู บั สมาชิกภายในกล่มุ เปน็ 3 คู่ และให้แต่ละคูศ่ ึกษาตามหัวข้อทก่ี าหนด ดงั น้ี

- คู่ท่ี 1 ศกึ ษาข้นั ตอนที่ 3 การตรวจสอบหลักฐาน
- คู่ที่ 2 ศกึ ษาขัน้ ตอนท่ี 4 การตีความหลกั ฐาน
- คู่ที่ 3 ศึกษาขน้ั ตอนท่ี 5 การเรยี บเรยี งและนาเสนอข้อมูล
โดยค้นคว้าจากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรือห้องสมุด จากน้ันนาความรู้ท่ีได้จาก
การศึกษามาบนั ทึกลงในแบบบันทกึ การอา่ น

ข้ันอธิบายความรู้

5. นักเรียนแต่ละคู่กลับมารวมกลุ่มเดิม (6 คน) ผลัดกันอธิบายองค์ความรู้ให้สมาชิกคู่อ่ืนๆ ภายในกลุ่มฟัง และซักถาม
ขอ้ สงสัย จนสมาชกิ ทุกคนในกลมุ่ มีความเข้าใจชัดเจนครูคอยใหค้ วามช่วยเหลอื

ขั้นสรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ
6. นักเรยี นแตล่ ะคนจับคกู่ นั และผลัดกันอธบิ ายคาตอบในใบงานท่ี 1.1 ใหค้ ขู่ องตนเองฟังจนมคี วามเข้าใจอยา่ งชดั เจน
7. ครสู ุ่มตวั แทนของแตล่ ะคู่ออกมานาเสนอผลงานในใบงานท่ี 1.1 ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง
8. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดเพราะเหตุใด จึงต้องมีการตรวจสอบหลักฐานท่ีสืบค้นมาได้ก่อนเสมอ(เพื่อให้รู้ว่า

หลกั ฐานท่เี ราไดข้ ้อมูลมคี วามถูกต้อง สมบูรณห์ รือไม่)

ขั้นตรวจสอบผล

9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ ในข้ันตอนของการตรวจสอบหลักฐาน การตีความ
หลกั ฐาน และการเรยี บเรียงและนาเสนอขอ้ มลู

10. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดนักเรยี นสามารถนาเสนอข้อมูลท่ีได้จากการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้อย่างไร
บ้าง (การเขียนเรียงความ การทารายงาน การจัดนทิ รรศการ เปน็ ตน้ )

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมนิ วธิ กี ารวัดผล เครอ่ื งมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ ผล
จุดประสงค์
1. อธิบายความสาคัญ ของ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ขึน้ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K)
วิธกี ารทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้ (K) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 การประเมิน
ทกั ษะ / กระบวนการ (P)
2. บอกขัน้ ตอนของวิธีกาทาง 2. ใบงานที่ 1.1 เร่ือง วิธีการ 70% ข้ึนไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
คุณลักษณะนิสัย (A)
ประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ (P) ทางประวัตศิ าสตร์ การประเมนิ

3. เห็นคุณคา่ วธิ ีการทาง 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขนึ้ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

ประวัติศาสตร์ (A) ทางานรายบคุ คล การประเมิน

7. ส่อื / แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) บัตรภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) อนิ เทอร์เน็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ
........................................................................................................................................... ....................................................................
........................................................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. .................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
........................................................................................................................................................................... ....................................
.............................................................................................. .................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครูผสู้ อน ลงชอื่ ………………………………………………………ฝา่ ยวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอื่ ………………………………………………………ผบู้ ริหาร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 1.1
เรือ่ ง วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์

คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเขียนขยายความเกี่ยวกบั วิธีการทางประวัติศาสตร์ในแต่ละข้ันตอน
1. กาหนดหวั ขอ้ ทีศ่ ึกษา
และนาเสนอขอ้ มลู

2. รวบรวมหลักฐาน
และนาเสนอขอ้ มลู

3. ตรวจสอบหลักฐาน
และนาเสนอขอ้ มลู

4. ตีความหลักฐาน
และนาเสนอข้อมูล

5. เรยี บเรยี ง
และนาเสนอขอ้ มูล

สัปดาหท์ ี่ 3

โรงเรยี นขจรเกียรติพฒั นา
แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี………..… /…………….. ชือ่ ผู้สอน……………………………………………………

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ ่ี 6 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 การศกึ ษาเร่ืองราวทางประวตั ิศาสตร์

เรื่อง การนาวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์มาใช้ศึกษาเรือ่ งราวในท้องถิ่น

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ดั
มาตรฐาน ส 4.1 รู้เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ
ตวั ชวี้ ัด ป.6/1 อธบิ ายความสาคัญของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ

2. สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด
ในการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์นัน้ ทาใหเ้ ราสามารถนามาใช้ในการศกึ ษาค้นคว้าเรือ่ งราวในท้องถ่ิน เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมลู ที่

ถูกต้อง และมีความน่าเช่ือถือมากท่ีสุด

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายการนาวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาใช้ศกึ ษาเรอื่ งราวในท้องถ่ินได้ (K)
2. นาวิธีการทางประวัตศิ าสตร์มาใช้ศกึ ษาเรือ่ งราวในท้องถ่ินได้ (P)
3. เห็นคณุ คา่ การนาวิธีการทางประวตั ิศาสตรม์ าใชศ้ กึ ษาเร่ืองราวในท้องถ่นิ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ
พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา
การนาวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศกึ ษาเรือ่ งราวใน
ทอ้ งถน่ิ เชน่ ความเปน็ มาของภมู นิ ามของสถานท่ีใน
ทอ้ งถนิ่

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ขัน้ นา

ขนั้ กระตุ้นความสนใจ
1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมเก่ียวกับวิธกี ารทางประวัติศาสตร์แล้วใหน้ ักเรียนร่วมกนั อภปิ รายว่า การตรวจสอบหลักฐานและการ

ตคี วามข้อมูลมีความสาคัญอย่างไร

2. นกั เรียนรวมกล่มุ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1) แล้วใหแ้ ต่ละกลมุ่ ร่วมกันศึกษาความรเู้ รื่อง ตัวอย่างการนาวิธีการ
ทางประวตั ิศาสตร์มาใช้ศึกษาเร่อื งราวในท้องถ่ิน จาก หนังสอื เรยี นหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite

3. นักเรยี นแต่ละกลุ่มกาหนดหัวขอ้ ท่สี นใจเก่ียวกับเรอื่ งราวในทอ้ งถิ่น กลมุ่ ละ 1 หัวขอ้ จากน้นั ใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์
ในการศึกษาเร่ืองราว

ข้ันสอน

ขน้ั สารวจคน้ หา

4. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ วางแผนการทางาน และแบง่ หนา้ ท่ใี ห้กับสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มตามความเหมาะสม
5. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ สบื ค้นขอ้ มูลตามประเดน็ ท่ีกาหนดจากแหล่งหลกั ฐานตา่ งๆ ในท้องถ่ิน

ข้ันอธิบายความรู้

6. นักเรียนแต่ละคู่กลับมารวมกลุ่มเดิม (6 คน) ผลัดกันอธิบายองค์ความรู้ให้สมาชิกคู่อ่ืนๆ ภายในกลุ่มฟัง และซักถาม
ขอ้ สงสยั จนสมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความเข้าใจชัดเจนครคู อยใหค้ วามชว่ ยเหลือ

ขน้ั สรปุ

ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ
7. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด
8. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาผลการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ มาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ และประเมินผลจากข้อมูล

ทีไ่ ดร้ วบรวมมา
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาผลสรุปจากการเปรียบเทียบ วิเคราะห์และประเมินผลจากข้อมูลที่ได้รวบรวมมาตีความและ

สงั เคราะห์วา่ ขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากหลักฐานใดมคี วามสาคัญ มีความนา่ เช่อื ถือ ถูกตอ้ งตามเหตกุ ารณม์ ากกวา่ กัน

ขั้นตรวจสอบผล

10. นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอใบงานที่ 1.2 หน้าชน้ั เรยี น
11. ครูและนักเรียนร่วมกันบอกประโยชน์ที่ได้รับจากการสืบค้นข้อมูลและแนวทางในการนาความรู้ไปปรับใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมนิ วธิ ีการวดั ผล เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
1. อธิบายการนาวธิ ีการทาง 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ขึน้ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์
ความร้คู วามเข้าใจ (K)
ประวตั ศิ าสตร์มาใช้ศกึ ษา หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 การประเมิน
ทกั ษะ / กระบวนการ (P)
เรื่องราวในท้องถน่ิ ได้ (K)
คุณลกั ษณะนสิ ยั (A)
2. นาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 2. ใ บ ง า น ท่ี 1.2 เ รื่ อ ง 70% ขึ้นไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์

มาใชศ้ ึกษาเรอ่ื งราวในท้องถ่ิน การศกึ ษาเรอ่ื งราวในทอ้ งถิน่ การประเมิน

ได้ (P)

3. เห็นคุณค่าการนาวธิ ีการทาง 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ข้นึ ไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ประวตั ิศาสตรม์ าใชศ้ ึกษา ทางานรายบคุ คล การประเมิน

เร่ืองราวในท้องถิ่น (A)

7. สื่อ / แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่ือการเรียนรู้
1) บัตรภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) อนิ เทอรเ์ นต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................... ........................................
.......................................................................................... .....................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
....................................................................................................................................................... ........................................................
.......................................................................... ............................................................................................................................. ........
.......................................................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครูผู้สอน ลงช่อื ………………………………………………………ฝา่ ยวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอ่ื ………………………………………………………ผบู้ รหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานที่ 1.2
เรือ่ ง การศกึ ษาเรอ่ื งราวในท้องถน่ิ

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นกาหนดเรื่องที่ต้องการศกึ ษาในท้องถน่ิ แล้วใช้ขั้นตอนของวิธกี ารทางประวัติศาสตรใ์ นการสืบคน้ ข้อมลู
1. กาหนดหวั ขอ้ ท่ีสนใจในท้องถิ่น
2. การรวบรวมหลกั ฐาน

3. การตรวจสอบหลักฐาน

4. การตคี วามหลักฐาน

5. การเรยี บเรยี งและนาเสนอขอ้ มลู

สปั ดาหท์ ี่ 4

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นที่………..… /…………….. ชือ่ ผสู้ อน……………………………………………………

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาปที่ ่ี 6 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 การศึกษาเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตร์

เรอ่ื ง ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชีว้ ัด
มาตรฐาน ส 4.1 รู้เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการทาง

ประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ
ตวั ชว้ี ัด ป.6/2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจเรื่องราวสาคัญในอดีต

2. สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด
ประเภทหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ประกอบด้วย หลักฐานชน้ั ต้น หลักฐานช้ันรอง

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ได้ (K)
2. จาแนกประเภทหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ได้ (P)
3. เหน็ คุณคา่ ประเภทของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรูท้ อ้ งถนิ่
พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตวั อยา่ งหลกั ฐานท่เี หมาะสมกับนักเรียนทจ่ี ะนามาใช้ใน
การศึกษาเหตุการณส์ าคัญในประวตั ศิ าสตร์ไทยสมัย
รัตนโกสนิ ทร์ เช่น พระราชหัตถเลขาของรชั กาลที่ 4 หรือ
รัชกาลที่ 5 กฎหมายสาคญั ฯลฯ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขัน้ นา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ

1. ครูนาภาพหลักฐานทางประวัติศาสตรแ์ ต่ละประเภทมาให้นกั เรียนดู และให้นกั เรยี นทายวา่ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์
เปน็ หลักฐานสมัยใด

2. ครอู ธบิ ายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า นักเรียนสามารถศึกษาประวตั ศิ าสตร์จากหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ต่างๆ

ขั้นสอน

ขนั้ สารวจค้นหา

3. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจในประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า มี 2 ประเภท ได้แก่ หลักฐานชั้นต้น และ
หลกั ฐานช้ันรอง

4. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) แล้วกาหนดหมายเลขประจาตัวให้สมาชิกแต่ละคน
เป็นหมายเลข 1-4

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เพ่ิมเติมเร่ือง ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จากหนังสือเรียนหรือบทเรียน
คอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรือห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบ
บนั ทกึ การอ่าน

ข้นั อธิบายความรู้
4. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดจังหวัดที่นักเรียนมีภูมิลาเนาอยู่นั้น มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญอะไรบ้าง

จงยกตัวอย่าง (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยให้อยใู่ น ดุลยพินิจของครผู สู้ อน)
5. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกกิจกรรมที่ 3 จากแบบวัดฯ โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ และช่วยกันอธิบาย

คาตอบใหเ้ พ่ือนสมาชกิ ในกลุ่มของตนมีความเข้าใจอยา่ งชดั เจน

ขั้นสรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ
6. ครูสุ่มเรียกสมาชิกหมายเลขใดหมายเลขหนึ่งออกจากกลุ่ม เพ่ือตอบคาถามและอธิบายให้สมาชิกท้ังช้ันฟัง (สมาชิก

หมายเลขท่ีได้รับการสุ่มเรียกจากแต่ละกลุ่มจะมาตอบหรืออธิบายคาตอบเรียงกันไปตามหัวข้อที่กาหนดในแบบฝึกกิจกรรมจนครบ
ทกุ ข้อ) จากนน้ั ครูตรวจสอบความถกู ต้อง

ขน้ั ตรวจสอบผล

7. นักเรียนร่วมกันสรุปความแตกต่างประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ว่าแต่ละประเภทมีข้อดี ข้อด้อย และ
ความสาคัญอย่างไรกับการศกึ ษาประวัติศาสตร์

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมิน วิธีการวดั ผล เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การประเมินผล
จดุ ประสงค์
1. อธบิ ายประเภทของหลกั ฐาน 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 70% ขน้ึ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K)
ทางประวัติศาสตร์ได้ (K) หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 การประเมนิ
ทักษะ / กระบวนการ (P)
2. จาแนกประเภทหลักฐาน 2. ใ บ ง า น ที่ 1.2 เ รื่ อ ง 70% ขน้ึ ไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
คณุ ลักษณะนสิ ัย (A)
ทางประวัตศิ าสตร์ได้ (P) การศกึ ษาเรอ่ื งราวในท้องถ่นิ การประเมนิ

3. เห็นคณุ ค่าประเภทของ 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขน้ึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์

หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ (A) ทางานรายบคุ คล การประเมิน

7. สอื่ / แหล่งการเรียนรู้
7.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) บัตรภาพ

7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) อนิ เทอรเ์ น็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ
........................................................................................................................................ .......................................................................
........................................................................................................................................................................................ .......................
........................................................................................................... ....................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
........................................................................................................................................................................ .......................................
........................................................................................... ....................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครผู ู้สอน ลงชอ่ื ………………………………………………………ฝา่ ยวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงช่ือ………………………………………………………ผู้บรหิ าร
(……………………………………………………)

สปั ดาหท์ ี่ 5

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา
แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนที่………..… /…………….. ชอ่ื ผสู้ อน……………………………………………………

กล่มุ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ี่ 6 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 การศกึ ษาเรอ่ื งราวทางประวัตศิ าสตร์

เรื่อง แหลง่ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ส 4.1 รู้เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชวี้ ดั ป.6/2 นาเสนอข้อมลู จากหลักฐานทหี่ ลากหลายในการทาความเข้าใจเร่ืองราวสาคัญในอดตี

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
แหลง่ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ มคี วามสาคัญต่อการศกึ ษาเรอื่ งราวและหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ได้ (K)
2. ยกตวั อย่างแหล่งหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ (P)
3. เห็นคณุ คา่ การนาหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ
พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
ตัวอยา่ งหลกั ฐานท่เี หมาะสมกับนักเรียนที่จะนามาใช้ใน
การศกึ ษาเหตุการณส์ าคัญในประวัติศาสตรไ์ ทยสมยั
รตั นโกสนิ ทร์ เช่น พระราชหัตถเลขาของรชั กาลที่ 4 หรือ
รัชกาลท่ี 5 กฎหมายสาคญั ฯลฯ

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ข้นั นา

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
1. ครนู าภาพแหล่งหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ มาใหน้ ักเรยี นดู และให้นักเรียนบอกว่า แหล่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์น้ี

อย่ทู ่ใี ด นักเรยี นเคยเห็นหรือไม่

ขัน้ สอน

ขั้นสารวจค้นหา

2. ครูอธิบายเชอ่ื มโยงใหน้ ักเรียนเขา้ ใจวา่ นกั เรยี นสามารถศึกษาประวัตศิ าสตร์จากแหล่งหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ
3. สมาชิกแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) ร่วมกันสืบค้นข้อมูลความรู้เกี่ยวกับแหล่งหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรือห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
จากนั้นนาความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการศึกษามาบนั ทึกลงในแบบบนั ทกึ การอ่าน
4. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ในโรงเรียนของนักเรียนมแี หล่งหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรห์ รอื ไม่ จงอธิบาย
(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของครูผู้สอน)

ขน้ั อธบิ ายความรู้
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ท่ีนักเรียนสนใจมา 1 แห่ง แล้วนามา

วเิ คราะหแ์ ละตอบคาถามตามหัวข้อในใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง แหลง่ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ เสร็จแลว้ นาส่งครู

ข้ันสรปุ

ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ
6. สมาชกิ แต่ละคนนาความรู้ทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ มาอภิปรายรว่ มกนั ภายในกลมุ่ และสรปุ ประเด็นสาคัญ

ข้ันตรวจสอบผล
7. ครสู รุปความรู้ ครูตรวจสอบความรคู้ วามเข้าใจของนักเรียนจากการทา ใบงานท่ี 1.3นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมนิ วธิ กี ารวดั ผล เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ ารประเมินผล
จดุ ประสงค์
1. อธบิ ายหลักฐานทาง 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 70% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์
ความรู้ความเข้าใจ (K) ประวัติศาสตร์ได้ (K)
2. ยกตวั อยา่ งแหลง่ หลกั ฐาน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 การประเมนิ
ทกั ษะ / กระบวนการ (P) ทางประวัตศิ าสตร์ได้ (P)
3. เห็นคณุ ค่าการนาหลกั ฐาน 2. ใบงานท่ี 1.3 เร่ือง แหล่ง 70% ขึ้นไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์
คณุ ลกั ษณะนสิ ัย (A) ทางประวตั ิศาสตร์ได้ (A)
หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ การประเมิน

3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขึ้นไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์

ทางานรายบคุ คล การประเมนิ

7. สื่อ / แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 ส่อื การเรียนรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องสมดุ
2) อินเทอรเ์ น็ต

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................................... ................................................................
............................................................................................................................................................................................... ................
.................................................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................... ................................................................................
............................................................................................................................................................................... ................................
.................................................................................................. .............................................................................................................

ลงช่อื ………………………………………………………ครูผสู้ อน ลงชื่อ………………………………………………………ฝ่ายวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอื่ ………………………………………………………ผบู้ รหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานที่ 1.3
เรอ่ื ง แหลง่ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์

คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นสืบคน้ ข้อมูลเกยี่ วกับแหล่งหลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ่นี ักเรียนสนใจ 1 แห่ง นามาวเิ คราะหแ์ ละตอบ
คาถาม

ชือ่ แหล่งหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์
(ข้อมลู สาคัญพรอ้ มภาพประกอบ)

ท่ีมา :
คาถาม
1.แหลง่ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรน์ ค้ี ือท่ใี ด ต้งั อยู่ทใ่ี ด

2.ลกั ษณะเด่นของแหล่งหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์น้คี ืออะไร

3.แหล่งหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์น้มี ีความสาคญั อยา่ งไรในทางประวตั ศิ าสตร์

สัปดาหท์ ี่ 6

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี………..… /…………….. ชอื่ ผู้สอน……………………………………………………

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ่ี 6 จานวน 1 คาบ

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 การศกึ ษาเรื่องราวทางประวตั ศิ าสตร์

เรื่อง หลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ี่ใชใ้ นการศึกษาประวตั ศิ าสตรส์ มยั รตั นโกสินทร์

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 4.1 รู้เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการทาง

ประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ
ตวั ชว้ี ัด ป.6/2 นาเสนอข้อมลู จากหลักฐานทีห่ ลากหลายในการทาความเข้าใจเรื่องราวสาคัญในอดตี

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
การศึกษาเร่ืองราวในสมัยรัตนโกสนิ ทรต์ ้องอาศัยหลกั ฐานช้ันต้น หลักฐานชน้ั รอง และแหล่งหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์

เพอื่ ให้ทราบถึงข้อมลู ทีถ่ ูกต้อง และนา่ เชือถือ

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายหลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ใ่ี ชใ้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์สมัยรตั นโกสินทรไ์ ด้ (K)
2. ยกตัวหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ใี่ ช้ในการศกึ ษาประวัตศิ าสตร์สมัยรัตนโกสนิ ทร์ได้ (P)
3. เห็นคณุ คา่ การนาหลักฐานทางประวัตศิ าสตรม์ าใช้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
ตัวอย่างหลกั ฐานทเ่ี หมาะสมกบั นักเรยี นท่จี ะนามาใชใ้ น
การศกึ ษาเหตุการณ์สาคัญในประวตั ิศาสตร์ไทยสมัย
รตั นโกสนิ ทร์ เชน่ พระราชหตั ถเลขาของรชั กาลที่ 4 หรือ
รชั กาลที่ 5 กฎหมายสาคัญ ฯลฯ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ข้ันกระต้นุ ความสนใจ

1. ครูนาภาพวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม มาใหน้ กั เรยี นดูแลว้ ตอบคาถามดังต่อไปนี้
1) ภาพนค้ี ือสถานทใ่ี ด
2) เป็นหลักฐานประเภทใด

2. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด นักเรียนรู้จักหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยรัตนโกสินทร์บ้างหรือไม่ จง
ยกตัวอยา่ ง (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)

3. ครูอธิบายเช่ือมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า นักเรียนสามารถศึกษาประวัติศาสตร์ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้จากหลักฐานทาง
ประวตั ิศาสตรต์ ่างๆ ในสมยั รตั นโกสินทร์ ได้แก่ หลักฐานชน้ั ตน้ หลักฐานชนั้ รอง และแหล่งหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

ข้นั สอน

ขน้ั สารวจค้นหา

4. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้
ในการศึกษา ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรือห้องสมุด
หรอื แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ แลว้ บนั ทกึ ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาลงในแบบบนั ทกึ การอา่ น

ข้นั อธบิ ายความรู้

5. นกั เรยี นแตล่ ะคนนาความรู้ที่ได้จากการศกึ ษามาอภิปรายรว่ มกนั ภายในกลุม่ แลว้ สรปุ ประเดน็ สาคญั

ข้นั สรปุ

ขัน้ ขยายความเข้าใจ

6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มดูตัวอย่างข้อมูลทางประวัติศาสตร์ท่ีได้จากหลักฐานช้ันต้นในสมัยรัตนโกสินทร์ จากเอกสาร
ประกอบการสอน

7. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายว่า จากข้อมลู หลักฐานชัน้ ต้นท่อี า่ นไปทาให้รู้ขอ้ มูลเกีย่ วกับอะไรบ้าง
8. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกันทาใบงานท่ี 1.4 เร่อื ง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรส์ มยั รัตนโกสินทร์

ขั้นตรวจสอบผล
9. ตวั แทนแตล่ ะกลุม่ ผลดั กนั ออกมานาเสนอใบงานที่ 1.4 หนา้ ช้นั เรียน แลว้ เก็บรวบรวมใบงานสง่ ครู
10.ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้เรอื่ ง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์สมยั รตั นโกสนิ ทร์
11. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดการหาข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากวรรณคดีและวรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ให้

ขอ้ มลู อะไรแกน่ ักเรียนบ้าง (ใหข้ อ้ มูลสภาพสงั คม และการดาเนนิ ชีวติ ของคนในสมยั นนั้ )

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวัดและประเมนิ วิธกี ารวดั ผล เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารประเมินผล
จุดประสงค์
1. อธบิ ายหลักฐานทาง 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 70% ขึ้นไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K)
ประวตั ศิ าสตร์ทีใ่ ชใ้ นการศึกษา หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 การประเมนิ
ทกั ษะ / กระบวนการ (P)
ประวตั ิศาสตร์สมัยรตั นโกสินทร์
คุณลักษณะนิสยั (A)
ได้ (K)

2. ยกตวั หลกั ฐานทาง 2. ใบงานที่ 1.4 เรอ่ื ง 70% ขึ้นไปถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

ประวัติศาสตรท์ ใ่ี ช้ในการศึกษา หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การประเมิน

ประวัติศาสตรส์ มยั สมัยรัตนโกสินทร์

รตั นโกสินทรไ์ ด้ (P)

3. เหน็ คณุ คา่ การนาหลักฐาน 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขึ้นไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ทางประวัตศิ าสตรม์ าใช้ (A) ทางานรายบคุ คล การประเมนิ

7. สอื่ / แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งสมุด
2) อินเทอรเ์ นต็

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
........................................................................................................................................................................................................ .......
........................................................................................................................... ....................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
........................................................................................................................................ .......................................................................
........................................................................................................................................................................................ .......................
........................................................................................................... ....................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครผู ู้สอน ลงชอ่ื ………………………………………………………ฝ่ายวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงช่ือ………………………………………………………ผู้บรหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานที่ 1.4
เรอื่ ง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรส์ มยั รตั นโกสนิ ทร์

คาชแี้ จง ให้นกั เรียนคน้ คว้าข้อมลู จากหลักฐานชนั้ ต้นหรือหลกั ฐานชนั้ รองในสมัยรตั นโกสินทร์ มา 1 อย่าง แลว้ วเิ คราะห์ว่า
หลกั ฐานน้นั ให้ข้อมูลเก่ียวกับอะไรบา้ ง

(ตดิ ภาพหลักฐานทส่ี บื ค้น)

จากหลกั ฐานนี้ให้ข้อมูล ดงั นี้

สปั ดาห์ที่ 7

โรงเรียนขจรเกียรติพฒั นา
แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนที่………..… /…………….. ช่อื ผู้สอน……………………………………………………

กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาป่ีท่ี 6 จานวน 1 คาบ

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 การศึกษาเร่ืองราวทางประวัตศิ าสตร์

เรือ่ ง การศกึ ษาประวัติศาสตรส์ มยั รัตนโกสนิ ทร์

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 4.1 รู้เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
ตวั ชว้ี ัด ป.6/2 นาเสนอข้อมลู จากหลักฐานท่ีหลากหลายในการทาความเข้าใจเร่ืองราวสาคัญในอดตี

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
การศึกษาเรื่องราวในสมยั รัตนโกสินทร์ต้องอาศยั หลกั ฐานชัน้ ต้น หลกั ฐานชั้นรอง และแหลง่ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์

เพอ่ื ให้ทราบถึงข้อมูลทีถ่ ูกต้อง และนา่ เชอื ถอื

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่ใชใ้ นการศึกษาประวัตศิ าสตร์สมยั รตั นโกสนิ ทรไ์ ด้ (K)
2. ยกตัวหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่ใชใ้ นการศึกษาประวัตศิ าสตร์สมยั รตั นโกสนิ ทร์ได้ (P)
3. เห็นคณุ ค่าการนาหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์มาใช้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่น
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
1) การนาวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ไปใช้ศึกษาเร่ืองราว
ในท้องถิน่ เช่น ความเปน็ มาของภูมินามของสถานทีใ่ น
ทอ้ งถ่ิน
2) สรุปขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากหลักฐานทง้ั ความจรงิ และ
ข้อเทจ็ จรงิ
3) การนาเสนอขอ้ มลู ที่ได้จากหลกั ฐานทางประวัติ
ศาสตร์ด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ เชน่ การเลา่ เรื่อง การจดั
นิทรรศการ การเขียนรายงาน

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ข้ันนา

ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ

1. ครทู บทวนความร้เู ดิมเกีย่ วกบั หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ท่ใี ชใ้ นการศึกษาประวัตศิ าสตร์สมัยรตั นโกสนิ ทร์
2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า เราสามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์ในสมัยน้ี และเห็นพัฒนาการของบ้านเมืองได้ ซ่ึงนักเรียนสามารถนาวิธีการทาง
ประวตั ิศาสตร์ 5 ขัน้ ตอน มาใช้ได้

ขน้ั สอน

ขน้ั สารวจค้นหา

3. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดภาพถ่ายสามารถใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้หรือไม่ และมีความสาคัญ
อยา่ งไร (ใช้เป็นหลักฐานได้ โดยให้ข้อมูลเกีย่ วกบั สภาพบ้านเมอื งในยคุ สมัยน้ัน)

4. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การศึกษาประวัติศาสตร์สมัย
รัตนโกสินทร์ จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite โดยครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถามข้อสงสัย
เพอื่ ใหส้ ามารถนาไปปฏิบตั ิได้จริง

ขน้ั อธบิ ายความรู้
5. สมาชกิ ในแต่ละกลมุ่ วางแผนการทางาน และแบ่งหนา้ ทใี่ ห้กับสมาชกิ แตล่ ะคนตามความเหมาะสม

. 6. นักเรยี นแต่ละกลุ่มสบื คน้ ขอ้ มูลตามประเดน็ ท่กี าหนดจากแหล่งหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ตา่ งๆ แล้วบันทึกผล

ขนั้ สรุป

ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ

7. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ นำผลสรปุ จำกกำรเปรยี บเทยี บ วเิ ครำะห์ และประเมนิ ผลจำกขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ วบรวมมำตคี วำมและ
สงั เครำะหว์ ่ำ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ำกหลกั ฐำนใดมคี วำมสำคญั มคี วำมน่ำเช่อื ถอื ถูกต้อง ตามเหตกุ ารณม์ ากกวา่ กัน แล้วบนั ทึกข้อมลู

ข้ันตรวจสอบผล

8. นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมารายงานผลการสบื ค้นขอ้ มูลในหวั ข้อที่กล่มุ สนใจหน้าชน้ั เรยี น
9. ครูและนักเรียนร่วมกันบอกประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการสืบคน้ ข้อมูลและแนวทางในการนาความรไู้ ปปรับใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
ในการดาเนินชีวิตประจาวัน
10. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ถ้ามีคนกล่าวว่าในบริเวณชุมชนของนักเรียนในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของชุมชนที่ทา
หมอ้ นักเรียนจะมีวิธีการตรวจสอบเรอ่ื งน้ีอย่างไร(ใชว้ ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ 5 ขนั้ ตอน)

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมนิ วิธีการวัดผล เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
1. อธบิ ายหลักฐานทาง 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความรคู้ วามเข้าใจ (K)
ประวัติศาสตรท์ ่ใี ช้ในการศึกษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การประเมนิ
ทักษะ / กระบวนการ (P)
ประวัตศิ าสตรส์ มยั รตั นโกสินทร์
คุณลักษณะนสิ ยั (A)
ได้ (K)

2. ยกตัวหลักฐานทาง 2. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั 70% ขึ้นไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ประวัติศาสตรท์ ่ใี ช้ในการศึกษา การประเมิน

ประวัติศาสตรส์ มยั

รัตนโกสนิ ทรไ์ ด้ (P)

3. เห็นคุณคา่ การนาหลักฐาน 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ข้นึ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์

ทางประวตั ศิ าสตรม์ าใช้ (A) ทางานรายบคุ คล การประเมิน

7. ส่อื / แหล่งการเรยี นรู้
7.1 สอ่ื การเรยี นรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) อนิ เทอรเ์ น็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
................................................................................................................................................ ...............................................................
................................................................................................................................................................................................ ...............
................................................................................................................... ............................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................

ลงช่ือ………………………………………………………ครูผูส้ อน ลงช่ือ………………………………………………………ฝา่ ยวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอื่ ………………………………………………………ผบู้ รหิ าร
(……………………………………………………)

สัปดาหท์ ี่ 8

โรงเรยี นขจรเกยี รติพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่………..… /…………….. ชือ่ ผสู้ อน……………………………………………………
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปี่ท่ี 6 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 ประเทศเพอ่ื นบา้ นของเรา
เร่อื ง ทีต่ งั้ ของประเทศในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ

เหตกุ ารณ์อยา่ งตอ่ เน่ือง ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทเี่ กิดขนึ้
ตัวชว้ี ัด ป.6/1 อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพื่อนบา้ นในปจั จุบนั

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด
ประเทศทีต่ ัง้ อยูใ่ นภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มีความคลา้ ยคลึงกันในด้านต่างๆ

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกท่ตี ัง้ ของประเทศต่างๆ ในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ได้ (K)
2. ยกตัวบอกที่ตั้งของประเทศตา่ งๆ ในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตไ้ ด้(P)
3. บอกความคลา้ ยคลงึ กนั ในดา้ นตา่ งๆ ของประเทศเพื่อนบ้านในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถิน่

ใช้แผนท่ีแสดงที่ต้งั และอาณาเขตของประเทศเพ่ือนบ้าน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ข้นั นา

ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครนู าแผนที่ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ มาให้นักเรียนดู แลว้ ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า ประเทศไทยตงั้ อยู่

ตดิ กบั ประเทศใดบ้าง

ขั้นสอน

ข้นั สารวจค้นหา

2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับประเทศที่ต้ังอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ว่า ประกอบด้วยประเทศใดบ้าง
ให้นักเรียนช้ีแผนทีแ่ ละบอกช่อื ประเทศนั้นๆ

3. ครูเฉลยคาตอบพร้อมอธิบายเพ่ิมเติมว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 11 ประเทศ ซ่ึงแยกออกเป็น 2
กลุ่ม ได้แก่ ประเทศที่ตั้งอยู่บนคาบสมุทรหรือแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย และประเทศท่ี
เป็นเกาะหรอื หมเู่ กาะ ได้แก่ อนิ โดนเี ซยี สงิ คโปร์ บรูไน ฟลิ ิปปินส์ และตมิ อร์-เลสเตขนั้ สารวจคน้ หา

ข้นั อธบิ ายความรู้
4. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้าง

อ่อน และอ่อน ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละคู่ร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง ที่ตั้งของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จากหนังสอื เรียนหรอื บทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ดงั น้ี

- คนท่ี 1 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ความคล้ายคลึงกันในดา้ นต่างๆ ของประเทศเพื่อนบ้าน
- คนที่ 2 ศกึ ษาความรู้เรอ่ื ง ประเทศเพ่อื นบ้านของไทย

ข้นั สรุป

ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ
5. เม่ือนักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้ที่ได้รับมอบหมายจนเข้าใจแล้วให้ผลัดกันอธิบายความรู้ให้สมาชิกที่เป็นคู่ฟัง และ

ซกั ถามข้อสงสัย
6. นักเรยี นแตล่ ะคชู่ ่วยกันทาใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้
7. เม่ือแต่ละคู่ทาใบงานที่ 2.1 เสร็จแล้ว ให้กลบั มารวมกลุ่มเดิม (4 คน) แล้วให้สมาชิกแต่ละคู่ผลัดกันอธิบายคาตอบในใบ

งานให้สมาชกิ อีกคู่หนึง่ ฟงั เพอ่ื ช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง

ขัน้ ตรวจสอบผล

8. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มแลกเปลีย่ นใบงานท่ี 2.1 กบั เพอื่ นกลุ่มอ่ืน เพื่อตรวจคาตอบตามที่ครเู ฉลย
9. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิดอิทธิพลด้านสังคมและวัฒนธรรมท่ีประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านได้รับจากจีน
และอินเดียมีอะไรบา้ งท่ีคลา้ ยคลึงกัน (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผ้สู อน)
10. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปความรู้เก่ียวกับที่ต้ัง และความคล้ายคลึงกันในด้านต่างๆ ของประเทศเพ่ือนบ้านในภูมิภาค
เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้

6. การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมนิ วธิ ีการวัดผล เครือ่ งมือวัด เกณฑ์การประเมินผล
จุดประสงค์
1. บอกทต่ี ้งั ของประเทศต่างๆ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 70% ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความร้คู วามเข้าใจ (K)
ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การประเมนิ
ทกั ษะ / กระบวนการ (P)
เฉยี งใตไ้ ด้ (K)
คุณลกั ษณะนสิ ัย (A)
2. ยกตัวบอกที่ตงั้ ของประเทศ 2. ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง 70% ข้นึ ไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ตา่ งๆ ในภมู ิภาคเอเชยี ประเทศในภูมิภาคเอเชีย การประเมิน

ตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้(P) ตะวนั ออกเฉยี งใต้

3. บอกความคลา้ ยคลงึ กนั ใน 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์

ดา้ นต่างๆ ของประเทศเพื่อน ทางานรายบคุ คล การประเมิน

บ้านในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออก

เฉยี งใต้ได้ (A)

7. ส่อื / แหลง่ การเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งสมุด
2) อนิ เทอร์เน็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
...................................................................................................................................................... .........................................................
...................................................................................................................................................................................................... .........
......................................................................................................................... ......................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
...................................................................................................................................... .........................................................................

ลงชอื่ ………………………………………………………ครูผ้สู อน ลงชือ่ ………………………………………………………ฝา่ ยวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงช่อื ………………………………………………………ผบู้ รหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 2.1
เรอื่ ง ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนดภู าพ แลว้ เขยี นท่ีตง้ั ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้

สปั ดาห์ที่ 9

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นที่………..… /…………….. ช่อื ผู้สอน……………………………………………………
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปี่ที่ 6 จานวน 1 คาบ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ประเทศเพื่อนบ้านของเรา
เรือ่ ง สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมา

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ

เหตกุ ารณอ์ ยา่ งตอ่ เน่อื ง ตระหนกั ถึงความสาคญั และสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบที่เกดิ ข้นึ
ตัวชวี้ ดั ป.6/1 อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพื่อนบา้ นในปจั จุบัน

2. สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด
ประเทศพมา่ มคี วามเปน็ มาทางประวตั ศิ าสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม ที่มีสว่ นคลา้ ยคลึงและ

แตกตา่ งกนั กบั ประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกที่ตั้งของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ ด้ (K)
2. บอกท่ีต้ังของประเทศตา่ งๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้ (P)
3. อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกจิ การเมืองการปกครองของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาได้ได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิน่
พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
1) พัฒนาการทางประวัตศิ าสตรข์ องประเทศเพื่อนบา้ น
โดยสงั เขป เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจสภาพปัจจุบันของประเทศเหล่าน้ัน
2) สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศเพื่อน
บา้ นของไทยในปจั จบุ ัน โดยสงั เขป

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ข้นั กระตนุ้ ความสนใจ

1. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ทาไมในปจั จุบนั เราจงึ เห็นคนพม่าเขา้ มาทางานในประเทศไทย (พจิ ารณาตามคาตอบ
ของนักเรียน โดยให้อย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)

2. ครูสมุ่ เรียกนักเรียน 1 คน ออกมาหนา้ ชนั้ เรยี น แล้วใหน้ กั เรยี นชี้ทตี่ ง้ั ของประเทศพม่า ในแผนที่เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
หรอื ลูกโลกจาลองท่ีครูเตรยี มไว้

3. ครูสนทนากับนกั เรยี นว่า เนื่องจากประเทศพม่ามีพรมแดนติดกับประเทศไทย นักเรยี นคิดว่าท้ังสองประเทศนจ้ี ะมีระบอบ
การปกครอง สภาพเศรษฐกจิ และสภาพสังคมเหมอื นกนั หรือไม่

ขน้ั สอน

ขน้ั สารวจค้นหา

5. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับ

สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมา จากหนังสอื เรยี นหรอื บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite ในหัวขอ้ ต่อไปนี้

1) ความเป็นมาทางประวตั ศิ าสตร์ 2) การเมืองการปกครอง

3) เศรษฐกจิ 4) สงั คมและวฒั นธรรม

แลว้ บนั ทึกความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาลงในแบบบันทกึ การอา่ น

ขั้นอธิบายความรู้

6. เม่ือนักเรียนศึกษาความรู้ตามท่ีได้รับมอบหมายจนเข้าใจแล้วให้ผลัดกันอธิบายความรู้ท่ีได้ศึกษามาให้สมาชิกภายในกลุ่ม
ฟงั และซักถามข้อสงสยั

7. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั ทาใบงานท่ี 2.2 เรอ่ื ง ประเทศพม่า
8. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาคาตอบในใบงานที่ 2.2 มาอภิปรายรว่ มกันภายในกลมุ่ เพอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

9. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดเพราะเหตุใด ประเทศพม่า จึงมีพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรมเป็น
หลกั (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดุลยพินิจของครผู สู้ อน)

ขัน้ สรุป

ขั้นขยายความเขา้ ใจ

10. ครตู งั้ ประเด็นคาถามถามนักเรียน เพ่ือประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจ เช่น
- การทป่ี ระเทศพม่าเปิดประเทศส่รู ะบอบประชาธปิ ไตย เกดิ ผลดอี ย่างไร
- นักเรยี นคดิ ว่า สถานทีใ่ ดในประเทศพม่าควรไดร้ ับการยกย่องเปน็ มรดกโลกทางวฒั นธรรม เพราะเหตุใด

ขนั้ ตรวจสอบผล

11. นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันออกมานาเสนอใบงานที่ 2.2 หน้าช้ันเรียน แล้วให้เพื่อนกลุ่มอ่ืนช่วยแสดงความคิดเห็น
เพ่ิมเติมในสว่ นท่ีแตกตา่ ง

12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมของประเทศพมา่

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมิน วธิ กี ารวัดผล เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
1. บอกทีต่ ง้ั ของประเทศต่างๆ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 70% ขึ้นไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความรูค้ วามเข้าใจ (K) ในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออก
เฉยี งใตไ้ ด้ (K) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การประเมิน
ทักษะ / กระบวนการ (P) 2. บอกทีต่ ั้งของประเทศต่างๆ
ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก 2. ใบงานท่ี 2.2 เร่ือง ประเทศ 70% ข้นึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
คณุ ลกั ษณะนิสัย (A) เฉียงใตไ้ ด้(P) พมา่ การประเมนิ
3. อธบิ ายสภาพสงั คม
เศรษฐกิจ การเมืองการ 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขนึ้ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ปกครองของสาธารณรฐั แห่ง
สหภาพเมียนมาได้ได้ (A) ทางานรายบุคคล การประเมนิ

7. สอ่ื / แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สื่อการเรยี นรู้
1) แผนทเี่ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตห้ รือลกู โลกจาลอง
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) อนิ เทอรเ์ น็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
.............................................................................................................................................. .................................................................
.............................................................................................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ..............................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
.............................................................................................................................. .................................................................................
.............................................................................................................................................................................. .................................

ลงชื่อ………………………………………………………ครูผสู้ อน ลงชือ่ ………………………………………………………ฝ่ายวชิ าการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงช่อื ………………………………………………………ผู้บรหิ าร
(……………………………………………………)

ใบงานท่ี 2.2
เรื่อง ประเทศพมา่

คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นแผนผงั ความคิด สรปุ ลักษณะการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรมของสาธารณรฐั แหง่
สหภาพเมยี นมา

การเมืองการปกครอง

เศรษฐกิจ สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมา
สงั คมและวฒั นธรรม

สัปดาหท์ ี่ 10

โรงเรยี นขจรเกียรตพิ ฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี………..… /…………….. ชอื่ ผู้สอน……………………………………………………
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปท่ี ี่ 6 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 ประเทศเพอ่ื นบา้ นของเรา
เร่ือง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ

เหตกุ ารณ์อย่างตอ่ เนือ่ ง ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบท่เี กิดขนึ้
ตัวชีว้ ดั ป.6/1 อธบิ ายสภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศเพ่ือนบ้านในปัจจุบัน

2. สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด
ประเทศลาวมีความเปน็ มาทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ที่มีส่วนคล้ายคลึงและ

แตกตา่ งกนั กับประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ใต้

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. บอกท่ีตั้งของประเทศลาวในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ได้ (K)
2. ยกตัวอย่างสภาพภมู ปิ ระเทศของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวได้ (P)
3. อธิบายสภาพสงั คม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครองของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ
พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา
1) พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ของประเทศเพื่อนบ้าน
โดยสงั เขป เพอื่ ให้เข้าใจสภาพปจั จบุ นั ของประเทศเหล่าน้ัน
2) สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศเพื่อน
บา้ นของไทยในปจั จบุ นั โดยสังเขป

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ขัน้ นา

ขน้ั กระต้นุ ความสนใจ

1. ครนู าบตั รภาพมาแสดงให้นักเรียนดู จากนัน้ ครูถามนักเรยี นวา่ ภาพทีเ่ ห็นคอื อะไร และอยใู่ นประเทศใด
2. ครูให้นกั เรียนดูแผนท่ปี ระเทศลาว แลว้ อธบิ ายใหน้ กั เรียนเข้าใจวา่ ประเทศลาว เปน็ ประเทศทม่ี ีพรมแดนตดิ กับประเทศ
ไทย และเป็นประเทศเพ่อื นบ้านที่มคี วามสาคญั อยา่ งย่งิ กับประเทศไทย

3. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดประเทศลาวมีการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมท่ีคล้ายคลึงกับ
ประเทศไทยหรอื ไม(่ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครผู สู้ อน)

4. ครูสนทนากับนักเรียนว่า ประเทศลาวน้ันจะมีการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมท่ีคล้ายคลึงกับ
ประเทศไทยหรอื ไม่

ขั้นสอน

ขั้นสารวจคน้ หา

5. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) จากนั้นให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความรู้
พ้นื ฐานเก่ียวกับสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว จากหนงั สอื เรียนหรือบทเรียนคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite

6. ครูต้ังประเดน็ คาถามให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั วเิ คราะหแ์ ละหาคาตอบรว่ มกัน ดงั นี้
- เมืองหลวงของประเทศลาว คอื เมอื งอะไร
- ระบอบการปกครองของประเทศลาวมีรูปแบบอยา่ งไร
- พืน้ ฐานทางเศรษฐกิจของลาวนน้ั ขนึ้ อยู่กบั ผลผลิตใดบ้าง
- ลักษณะสงั คมและวฒั นธรรมของประเทศลาวมีลักษณะอยา่ งไร

ขนั้ อธบิ ายความรู้

7. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มช่วยกันทาใบงานท่ี 2.3 เร่อื ง ประเทศลาว โดยให้สมาชิกในแตล่ ะกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ แล้วให้แต่ละคู่
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ดังนี้

- สมาชิกคนท่ี 1 อา่ นโจทย์คาถาม และเขียนคาตอบ
- สมาชกิ คนท่ี 2 เปน็ ฝา่ ยสงั เกต และตรวจสอบคาตอบ
ใหส้ มาชิกแตล่ ะคูเ่ ปล่ียนบทบาทกันในคาถามข้อตอ่ ไป

ข้ันสรุป

ข้นั ขยายความเข้าใจ

8. เมอื่ จบการตอบคาถาม 2 ข้อ แล้วใหส้ มาชิกทงั้ 2 คู่ รวมกลมุ่ เดิม (4 คน) ใหแ้ ตล่ ะค่นู าคาตอบของค่ตู นเองมานาเสนอให้
เพื่อนอีกคูห่ นึ่งฟัง เพื่อช่วยกันตรวจสอบความ ถูกตอ้ ง จากนน้ั ให้แตล่ ะคู่ตอบคาถามในใบงานที่ 2.3 จนเสร็จครบทกุ ข้อ แล้วนาส่งครู
ตรวจ

ขั้นตรวจสอบผล

9. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปความรู้เกี่ยวกบั ความเปน็ มาทางประวัตศิ าสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมของประเทศลาว

10.นักเรียนรว่ มกันบอกแนวทางในการสรา้ งความสัมพนั ธ์ทด่ี ีต่อประเทศลาว
11.นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียนคิดว่า แม่น้าโขงอยู่ท่ีประเทศไทยเป็นแม่น้าสายเดียวกับท่ีอยู่ท่ีประเทศลาว
หรอื ไม่ อธิบายเหตุผล
(เป็นแม่น้าสายเดยี วกัน คือ แม่น้าโขง มีต้นกาเนิดมาจากเทือกเขาหิมาลยั ไหลผ่าน จนี ลาว พม่า ไทย กัมพูชา แลว้ จึงไหลลงสู่ทะเล
จนี ใตท้ ่ีเวียดนาม)

6. การวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมิน วิธีการวัดผล เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จุดประสงค์
1. บอกทตี่ ้ังของประเทศลาวใน 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 70% ขึ้นไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ความรู้ความเข้าใจ (K)
ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 การประเมนิ
ทกั ษะ / กระบวนการ (P)
ได้ (K)
คณุ ลักษณะนสิ ยั (A)
2. ยกตัวอย่างสภาพภูมิประเทศ 2. ใบงานท่ี 2.3 เรอื่ ง 70% ข้ึนไปถือว่าผา่ นเกณฑ์

ของสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประเทศลาว การประเมิน

ประชาชนลาวได้ (P) (

3. อธิบายสภาพสังคม 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการ 70% ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์

เศรษฐกจิ การเมอื งการ ทางานรายบคุ คล การประเมนิ

ปกครองของสาธารณรฐั

ประชาธิปไตยประชาชนลาวได้

(A)

7. สื่อ / แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) บตั รภาพ
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) อนิ เทอรเ์ นต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
.......................................................................................................................................................................... .....................................
............................................................................................. ..................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................................
.......................................................................................................................................................... .....................................................
.......................................................................................................................................................................................................... .....

ลงช่อื ………………………………………………………ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ………………………………………………………ฝา่ ยวิชาการ
(……………………………………………………) (……………………………………………………)

ลงชอ่ื ………………………………………………………ผู้บริหาร
(……………………………………………………)

ใบงานที่ 2.3
เร่ือง ประเทศลาว

ตอนที่ 1

คาช้ีแจง ให้นักเรยี นเติมข้อมูลของประเทศลาวใหถ้ ูกตอ้ ง
1. ประเทศลาวมีแม่น้าสายสาคัญ คือ
2. เมอื งหลวง คือ
3. ปกครองด้วยระบอบ
4. ผนู้ าปัจจบุ นั คอื
5. พืชเศรษฐกจิ สาคัญ ได้แก่
6. เมืองท่องเทีย่ วของลาว ไดแ้ ก่
7. ศาสนาประจาชาติ คือ

ตอนที่ 2

คาช้แี จง ให้นักเรยี นติดภาพที่บ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของประเทศลาว 1 ภาพ พรอ้ มอธบิ ายประกอบ
(ติดภาพ)

สปั ดาหท์ ี่ 11

โรงเรยี นขจรเกยี รติพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นที่………..… /…………….. ชื่อผู้สอน……………………………………………………
กล่มุ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาป่ที ่ี 6 จานวน 1 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ประเทศเพอื่ นบ้านของเรา
เรือ่ ง สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้วี ดั
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ

เหตกุ ารณอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึน
ตวั ชวี้ ดั ป.6/1 อธบิ ายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจุบัน

2. สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด
ประเทศเวียดนามมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ที่มีส่วน

คลา้ ยคลงึ และแตกตา่ งกันกับประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกท่ตี ั้งของสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวียดนามในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้ (K)
2. ยกตวั อยา่ งสภาพภมู ิประเทศของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม(P)
3. อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกจิ การเมืองการปกครองของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนามได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่

1) พัฒนาการทางประวัตศิ าสตรข์ องประเทศเพ่ือนบา้ น พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา

โดยสงั เขป เพ่ือให้เข้าใจสภาพปัจจุบันของประเทศ

เหล่านัน้

2) สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศ

เพอ่ื นบ้านของไทยในปจั จุบัน โดยสังเขป

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1

ข้นั นา

ขั้นกระต้นุ ความสนใจ

1. ครูนาภาพหมวกกุบและชดุ อา๋ วหญา่ ยมาให้นักเรียนดู แล้วใหน้ กั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เครื่องแตง่ กาย
2. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจว่า หมวกกุบและชุดอ๋าวหญ่ายเปน็ ชดุ ประจาชาตขิ องเวยี ดนาม เป็นชดุ ที่แสดงความเป็น
เอกลักษณ์ของเวยี ดนาม


Click to View FlipBook Version