The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supapun.sj77, 2022-05-25 00:21:44

หนังสือเรียน

หนังสือเรียน

การเกิดอุทกภัยที่รุนแรงครั้งนี้ทาให้พื้นที่ด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมกว่า 150
ลา้ นไร่ ซ่งึ เป็นพืน้ ที่ทั้งใน 65 จังหวัด 684 อาเภอเกดิ ความเสยี หาย ประชาชนไดร้ ับความเดอื ดร้อน
4,086,138 ครัวเรือน ประชาชนได้รับผลกระทบกว่า 12.8 ล้านคน ความสูญเสียท่ีมีต่อชีวิตแล
ทรัพย์สินของประชาชนในชาติ มีมากมายมหาศาลธนาคารโลกประเมินมูลค่าความเสียหายสูงถึง
1.44 ล้านลา้ นบาท และภยั พิบตั ิครงั้ มีมูลค่าความเสียหายมากทส่ี ุดเป็นอนั ดบั สี่ของโลก

เหตกุ ารณ์นา้ ท่วมประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ภาพจาก http://www.thaiwater.net

3.2 สถานการณ์อทุ กภัยประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชยี
การเกิดอุทกภัยหรือภัยจากน้าท่วมในพื้นที่ทวีปเอเชียเกิดขึ้นในหลายประเทศ

ความรุนแรงและความเสียหายแต่ละคร้ังแต่ละประเทศจะแตกต่างกันออกไป ต่อไปน้ีเป็นตัวอย่าง
การเกดิ อทุ กภัย โดยเฉพาะอุทกภยั ทีม่ คี วามรุนแรงของประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชีย ดังนี้

3.2.1 เหตกุ ารณ์น้าทว่ มใหญท่ ีป่ ระเทศจนี
เหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่น้ีเกิดข้ึนเมื่อช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2541

เกิดนา้ ทว่ มเนื่องจากระดับความสูงของแม่น้าท่ีเพ่ิมขึ้น มลู คา่ ความเสียหายกว่า 30 พนั ลา้ นเหรียญ
สหรัฐฯ จานวนผู้เสียชีวิต 3,656 ราย ผู้ได้รับผลกระทบ 238,973,000 ราย บริเวณที่ ได้รับ
ผลกระทบ ได้แก่ มณฑลหูเป่ย หูหนาน เสฉวน เจียงซี ฝูเจี้ยนและเขตปกครองกว่างซี น้าท่วมนี้มี
ชอ่ื วา่ 1998 Yangtze River floods เพราะเปน็ เหตุการณ์นา้ ทว่ มทีเ่ กดิ จากแมน่ า้ ในแม่น้าแยงซีล้น
หลังจากฝนตกติดต่อกันนาน พ้ืนท่ีได้รับความเสียหายมากคือ บริเวณหูเป่ยและหูหนาน นับเป็น
เหตกุ ารณน์ ้าทว่ มทีร่ นุ แรงทีส่ ดุ ในรอบ 40 ปี ผคู้ นกวา่ 15 ล้านคนไมม่ ีท่อี ยอู่ าศยั

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 41

แมน่ า้ แยงซี (Papayoung Via Wikipedia)

อีกเหตุการณ์น้าท่วมใหญ่ในประเทศจีน เม่ือปี พ.ศ. 2553 (เดือนพฤษภาคม-
สิงหาคม) เกิดน้าท่วมเนื่องจากระดับความสูงของแม่น้าท่ีเพ่ิมขึ้นเหมือนกัน มูลค่าความเสียหาย
กว่า 20 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ จานวนผู้เสียชีวิต 1,907 ราย จานวนผู้ได้รับผลกระทบ
140,064,000 รายบริเวณที่ได้รับผลกระทบ คือ 28 มณฑลและเขตปกครอง โดยเฉพาะบริเวณ
ตอนกลางและใต้ของประเทศจีน น้าท่วมคร้ังนี้เกิดหลังจากช่วงมรสุมเอเชียตะวันออกรวมกับ
ปรากฏการณ์เอลนิญโญ่ แผ่นดินถล่ม ไปจนถึงการที่โลกร้อนขึ้นและน้าแข็งขั้วโลกละลายทาให้
นา้ ท่วมเปน็ บรเิ วณกว้างมากกว่าเหตกุ ารณใ์ นปี พ.ศ. 2541

3.2.2 เหตุการณ์นา้ ทว่ มอนิ เดีย-ปากีสถาน
เหตุการณ์อุทกภัยเกิดขึ้นเม่ือช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม 2557 (ค.ศ. 2014)

เกิดน้าท่วมเนื่องจากระดับความสูงของแม่น้าที่เพิ่มขึ้น มูลค่าความเสียหายกว่า 18.163 พันล้าน
เหรียญสหรัฐฯ จานวนผู้เสียชีวิต 760 ราย จานวนผู้ได้รับผลกระทบ 3,395,673 ราย บริเวณที่
ได้รับผลกระทบ ได้แก่ รัฐชัมมูและแคชเมียร์ รัฐอะซัดซัมมูและแคชเมียร์ กิลกิต-บัลทิสถานและ
ปันจาบ ท่ีต้องรวมทั้ง 2 ประเทศไว้ด้วยกันเพราะบริเวณที่ได้รับผลกระทบหนักสุด คือ แคว้น
แคชเมียร์ที่เป็นขอ้ พิพาทของ 2 ประเทศนี้อยู่ (มีการแบ่งส่วนแคชเมียร์เพื่อการปกครองอยู่) แต่ถา้
มองแยกฝงั่ กนั ฝง้ั ท่เี ปน็ ของอินเดยี และรัฐอ่นื ๆ ของอินเดยี ผู้เสยี ชีวติ 393 คน มูลคา่ ความเสยี หาย
16.163 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่วนฝั่งท่ีเป็นปากีสถานและรัฐอื่น ๆ ของปากีสถานมีผู้เสียชีวิต
367 คน มลู คา่ ความเสียหาย 2 พนั ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2 - 42

ภาพประกอบจาก PUNIT PARANJPE / AFP
ภาพจาก http://hilight.kapook.com

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 43

เรอื่ งที่ 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแกไ้ ขปัญหาผลกระทบท่ีเกดิ จากอุทกภัย

อทุ กภยั หรือภยั จากน้าทว่ ม เป็นภยั ใกลต้ วั ทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ไดใ้ นทุกพื้นที่ ทุกเวลา โดยเฉพาะ
อย่างยง่ิ ช่วงฤดูฝน เม่อื เกดิ อทุ กภัยคร้งั ใดยอ่ มส่งผลต่อความเสยี หาย ทั้งทรพั ยส์ ิน อาคารบ้านเรือน
รวมทงั้ ชวี ติ ของประชาชน ดังนัน้ การเรียนรู้เพ่ือเตรียมรับมือกับอุทกภัย ท้งั การเตรยี มความพร้อม
ก่อนเกิดอุทกภัย การปฏิบัติขณะเกิดอุทกภัยและหลังการเกิดอุทกภัย เพื่อควบคุมหรือลดอันตราย
และความเสียหายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ

4.1 การเตรียมความพรอ้ มรบั สถานการณก์ ารเกิดอทุ กภัย
เมือ่ เกิดน้าท่วม จะมหี นว่ ยงานสาหรับเตือนภัย โดยมีการเตือนภัย 4 ประเภท คือ

ประเภท ความหมาย ระดับการปฏิบตั ิ
1. การเฝ้าระวังนา้ ทว่ ม มีความเปน็ ไปได้ที่จะเกิดน้าท่วม ตอ้ งตดิ ตามขา่ วสารอยา่ งใกลช้ ดิ
(Flood Watch) และอยู่ในระหว่างสงั เกตการณ์
2. การเตอื นภยั น้าท่วม เตือนภยั จะเกดิ น้าท่วม ควรเตรยี มแผนและควรปอ้ งกันนา้
(Flood Warning) ทว่ มบา้ นเรือนและทร้พย์สินของ
ตนเอง
3. การเตือนภยั นาท่วมรุนแรง การเตือนภัยน้าท่วมรุนแรง เตรยี มอพยพนาสัมภาระทจ่ี าเป็น
(Severe Flood Warning) เกดิ น้าท่วมอย่างรุนแรง ตดิ ตัว และอย่านาไปมากเกนิ ไป
ให้คดิ วา่ ชวี ิตสาคญั ท่สี ดุ ตัดไฟฟา้
4.ภาะปกติ (All Clear) เหตุการณ์กลับสู่ภาวะปกติ หรือ ปดิ บา้ นให้เรยี บรอ้ ย
เปน็ พื้นที่ไมไ่ ด้รับผลกระทบจาก สามารถกลับเข้าสู่บา้ นเรอื นของ
ภาวะนา้ ทว่ ม ตนเองได้

หลังจากได้รับการเตือนภัยจากหน่วยงานด้านเตือนภัยน้าท่วมแล้ว ส่ิงท่ีต้องรีบ
ดาเนินการ คือ

4.1.1 ตดิ ตามการประกาศเตือนภัยจากวิทยุ โทรทัศน์ หรอื รถฉุกเฉนิ อยา่ งตอ่ เนื่อง
4.1.2 ถ้ามีการเตือนภัยน้าท่วมฉับพลันและอย่ใู นพน้ื ทห่ี บุ เขาใหป้ ฏิบตั ิ ดงั น้ี

1) ปนี ข้นึ ทส่ี งู ให้เรว็ ทสี่ ดุ เท่าที่จะทาได้
2) อยา่ นาสมั ภาระติดตวั ไปมาก ใหค้ ดิ วา่ ชวี ิตสาคญั ท่ีสุด
3) อยา่ พยายามวง่ิ หรอื ขบั รถผา่ นบรเิ วณทางน้าหลาก

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 44

4.1.3 ถ้ามีการเตือนการเฝา้ ระวังนา้ ท่วม ยงั พอมีเวลาในการเตรียมแผนรับมือน้าทว่ ม
4.1.4 ดาเนินการตามแผนรับมือนา้ ทว่ มที่วางไว้

4.1.5 ถ้ามีการเตอื นภยั นา้ ทว่ มและอยู่ในพื้นที่นา้ ท่วมถึง ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
1) อุดปิดช่องท่อน้าท้ิง อ่างล้างจาน พ้ืนห้องน้า และสุขภัณฑ์ที่น้าสามารถไหล

เข้าบา้ นได้
2) ปดิ อุปกรณเ์ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้าและแก๊สถา้ จาเป็น
3) ล็อคประตบู ้านและอพยพขน้ึ ทีส่ ูง หรือสถานที่หลบภัยของหนว่ ยงานต่าง ๆ

4.1.6 หากบ้านพักอาศัยไม่ได้อยู่ในท่ีน้าท่วมถึง แต่อาจมีน้าท่วมในห้องใต้ดิน
ควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้

1) ปดิ อปุ กรณ์เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ในหอ้ งใตด้ ิน
2) ปิดแกส๊ หากคาดว่านา้ จะท่วมเตาแก๊ส
3) เคลื่อนยา้ ยสิ่งของมีคา่ ขึ้นช้ันบน

4.1.7 การเตรียมความพร้อมของประชาชนที่อยู่ในบริเวณท่ีจะเกิดอุทกภัย นับว่ามี
ความสาคัญและจาเป็น เมื่อได้รับสัญญาณเตือนอุทกภัยควรติดตามข่าวสารและปฏิบัติตนเมื่อเกิด
เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่

1) เชอื่ ฟงั คาเตอื นอยา่ งเคร่งครัด เพื่อตดิ ตามขา่ วสารทางราชการ
2) เคลือ่ นยา้ ยคน สตั ว์เล้ยี ง และสิ่งของไปอยูใ่ นท่สี ูง ใหพ้ น้ ระดบั นา้ ท่ีเคยท่วม
มากอ่ น
3) ควรเตรียมเรือไม้ เรือยาง หรือแพไม้ไว้ใช้ เพ่ือเป็นยานพาหนะในขณะ
นา้ ทว่ มเป็นเวลานาน
4) เตรยี มไฟฉาย ถา่ นไฟฉาย เทยี นไข และไม้ขีดไฟ ไวใ้ ชเ้ ม่อื ไฟฟา้ ดบั
5) เตรียมวิทยุที่ใช้ถ่านไฟฉาย เพื่อติดตามฟังรายงานข่าวของลักษณะอากาศ
จากกรมอตุ นุ ยิ มวิทยา
6) เตรียมโทรศัพท์มือถือ พร้อมแบตเตอรี่สารองให้พร้อม เพื่อติดต่อขอความ
ช่วยเหลอื
7) เตรยี มยาแก้พิษกัดต่อยจากแมลงปอ่ ง ตะขาบ งู และสตั วอ์ ่นื ๆ
8) เตรยี มนา้ ดื่มสะอาดเก็บไวใ้ นภาชนะที่ปิดแน่น เพราะนา้ ประปาอาจจะหยุด
ไหลเปน็ เวลานาน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 45

9) เตรียมอาหารกระป๋องและอาหารสารองไว้ กรณีที่ความช่วยเหลือจาก
ทางการยงั เข้าไปไม่ถึง

4.1.8 การเกิดเหตุการณ์น้าท่วม ย่อมเป็นบทเรียนที่ดีต่อการแก้ไขปัญหาความ
เดอื ดร้อนไดเ้ ป็นอย่างดี ดงั นัน้ การรับมอื สาหรบั น้าทว่ มครง้ั ตอ่ ไปควรปฏิบัติ ดงั นี้

1) คาดคะเนความเสียหายทีจ่ ะเกิดกบั ทรัพย์สินของตนเองเมอื่ เกดิ นา้ ท่วม
2) ทาความคนุ้ เคยกับระบบการเตือนภยั ของหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง และขั้นตอน
การอพยพ
3) เรียนรู้เส้นทางการเดินทางที่ปลอดภัยท่ีสุดจากบ้านไปยังท่ีสูงหรือพื้นท่ีท่ี
ปลอดภัย
4) ผู้ที่อาศัยในพื้นท่ีเสี่ยงต่อน้าท่วมควรจะเตรียมวัสดุ เช่น กระสอบทราย
แผ่นพลาสตกิ เปน็ ตน้
5) นายานพาหนะไปเกบ็ ไว้ในพน้ื ทที่ นี่ า้ ท่วมไม่ถงึ
6) ปรึกษาและทาข้อตกลงกับบริษัทประกันภัยเก่ียวกับการประกันความ
เสียหายของบา้ น
7) บนั ทกึ หมายเลขโทรศพั ท์สาหรับเหตุการณ์ฉกุ เฉินไว้ในโทรศพั ท์มือถือ
8) รวบรวมของใช้ท่ีจาเปน็ และเสบียงอาหาร ไวใ้ นท่ีปลอดภัยและสูงกว่าระดับ
ทคี่ าดวา่ น้าจะทว่ มถึง
9) จดบันทึกรายการทรัพย์สินมีค่า และเอกสารสาคัญท้ังหมด ถ่ายรูปหรือถ่าย
วีดโิ อเก็บไวเ้ ป็นหลักฐาน และเกบ็ ไว้ในสถานท่ีปลอดภัยหรอื ห่างจากบริเวณที่นา้ ท่วมถึง เชน่ ตู้เซฟ
ทีธ่ นาคาร หรอื ไปรษณยี ์
10) ทาแผนการรับมือน้าท่วม และถ่ายเอกสารเก็บไว้ในที่สังเกตได้ง่าย และ
ตดิ ตง้ั อปุ กรณป์ อ้ งกนั น้าท่วมท่เี หมาะสมกบั บ้านของแต่ละคน

4.2 การปฏิบตั ิขณะเกิดอทุ กภยั

4.2.1 ตัดสะพานไฟ และปดิ แก๊สหงุ ตม้ ใหเ้ รยี บร้อย
4.2.2 อย่ใู นอาคารท่ีแข็งแรง และอยใู่ นทีส่ ูงพ้นระดับนา้ ท่เี คยทว่ มมากอ่ น
4.2.3 สวมเสอ้ื ผ้าให้ร่างกายอบอนุ่ อยเู่ สมอ
4.2.4 ไมค่ วรขบั ขี่ยานพาหนะฝา่ ลงไปในกระแสนา้ หลาก
4.2.5 ไมค่ วรเลน่ น้าหรอื วา่ ยนา้ ในขณะนา้ ทว่ ม

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 46

4.2.6 ระวงั สตั ว์มีพษิ ที่หนนี ้าท่วมกัดตอ่ ย
4.2.7 ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เช่น สังเกตลมฟ้าอากาศและติดตามรายงาน
อากาศของกรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา
4.2.8 เตรียมอพยพไปในท่ีปลอดภัยเม่ือสถานการณ์จวนตัว หรือปฏิบัติตาม
คาแนะนาของทางการ
4.2.9 เมื่อถึงคราวคบั ขนั ใหค้ านึงถึงความปลอดภัยของชวี ิตมากกว่าห่วงทรพั ยส์ ิน
4.3 การปฏิบัตหิ ลงั เกิดอุทกภัย
ภายหลังจากการเกิดอุทกภัยหรือน้าท่วมแล้ว ควรรื้อและเก็บกวาดสิ่งปรักหักพัง
และทาความสะอาดซอ่ มแซมบ้านเรือนให้เร็วที่สุด และดูแลรักษาสุภาพของตนเองและครอบครวั
ด่ืมน้าสะอาด แต่ถ้าได้รับความเสียหายมากผู้ประสบภัยสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานที่เกยี่ วข้องในเรอื่ งตา่ ง ๆ ดังต่อน้ี
4.3.1 การขอรับอาหารเครื่องนงุ่ ห่ม ยารกั ษาโรค
4.3.2 การซ่อมแซมบ้านเรือนท่ีพักอาศัย หรือการจัดหาแหล่งเงินกู้สาหรับซ่อมบ้าน
หรือสร้างบ้านใหม่ หรือการจดั หาทอี่ ย่อู าศยั ชว่ั คราวให้
4.3.3 การซ่อมแซมระบบไฟฟา้ ระบบประปาในบ้าน
4.3.4 การช่วยเหลือฟืน้ ฟใู นเรอื่ งสุขภาพทางกายและจติ ใจ
4.3.5 การประกอบอาชีพ เช่น การแนะนาทางด้านวิชาการเพื่อปลูกพืชทดแทน
การจดั หาพันธพ์ุ ืชผลไม้ และการหาแหลง่ เงินก้ฉู ุกเฉิน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 47

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 4

ดนิ โคลนถล่ม

สาระสาคญั

การเกิดดินถล่มหรือโคลนถล่ม มักพบในท้องถิ่นท่ีตั้งอยู่ตามเชิงเขาและเกิดข้ึนในช่วงที่มี
ฝนตกหนัก ท่ีน้าจากภูเขาไหลบ่าพัดเอาดินเอาโคลนมากองรวมกันไว้มาก ๆ และเม่ือถึงระดับหนง่ึ
ซ่ึงบริเวณท่ีรองรับทนน้าหนักไม่ไหว เกิดการถล่มลงมาของกองดินหรือโคลน ซ่ึงถ้าในบริเวณน้ันมี
การตั้งบา้ นเรือนอยู่ ก็จะเกดิ การสญู เสียท้ังชีวติ และทรัพยส์ นิ หรือบางครั้งเกดิ จากการตดั ต้นไม้บน
พน้ื ทภ่ี ูเขาและไหลเ่ ขา เมอ่ื เกดิ ฝนตกหนกั ไมม่ ีต้นไม้ใหญ่ทีจ่ ะยึดดนิ ไว้ทาใหเ้ กดิ ดินถล่ม

ตวั ช้ีวัด

1. บอกความหมาย สาเหตุ และปัจจัยในการเกดิ ดินโคลนถลม่
2. ตระหนักถึงภัยและผลกระทบที่เกิดดินถลม่
3. บอกสัญญาณกอ่ นเกิดดินโคลนถล่ม
4. บอกพื้นท่เี ส่ียงภยั และสถานการณ์ดินโคลนถล่มในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ใน
ทวปี เอเชยี
5. บอกวิธกี ารเตรียมความพรอ้ มรับสถานการณด์ ินโคลนถล่ม การปฏิบตั ิขณะเกิด และ
การปฏิบัติหลังเกดิ ดินโคลนถลม่

ขอบข่ายเนือ้ หา

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของดินโคลนถล่ม
เร่อื งที่ 2 การเกิดดินโคลนถล่ม

2.1 ประเภทดนิ โคลนถล่ม
2.2 สาเหตุการเกดิ ดนิ โคลนถลม่
2.3 ปัจจัยที่มีผลตอ่ การเกิดดินโคลนถลม่
2.4 ผลกระทบทีเ่ กิดจากดินโคลนถลม่
2.5 สัญญาณบอกเหตกุ ่อนเกดิ ดนิ โคลนถล่ม
2.6 พืน้ ท่ีเสี่ยงภัยตอ่ การเกดิ ดินโคลนถล่ม

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 48

เรื่องที่ 3 สถานการณ์ดนิ โคลนถล่มในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย
3.1 สถานการณด์ นิ โคลนถลม่ ในประเทศไทย
3.2 สถานการณ์ดนิ โคลนถลม่ ของประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชีย

เร่อื งท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแก้ไขปัญหาผลกระทบท่เี กิดจากดนิ โคลนถล่ม
4.1 แนวทางการป้องกันเหตุดนิ โคลนถล่มทีด่ าเนนิ โดยภาครฐั
4.2 แนวทางการปอ้ งกนั เหตุดนิ โคลนถล่มที่ดาเนนิ โดยภาคประชาชน

เรอ่ื งท่ี 5 การปฏิบตั ิกอ่ นเกิดเหตุ ขณะเกิด และหลงั เกดิ ดินโคลนถลม่
5.1 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณก์ ารเกดิ ดนิ โคลนถล่ม
5.2 การปฏบิ ัติขณะเกิดดนิ โคลนถล่ม
5.3 การปฏิบตั หิ ลังเกิดดนิ โคลนถลม่

เวลาทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 10 ชวั่ โมง
สื่อการเรยี นรู้

1. ชุดวชิ าการเรียนร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 2
2. สมุดบันทกึ กิจกรรมรายวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2
3. ส่ือสง่ิ พมิ พ์ เชน่ แผน่ พับ โปสเตอร์ ใบปลวิ เปน็ ตน้
4. ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ /ปราชญช์ าวบา้ น

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 49

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของดินโคลนถล่ม

ดินโคลนถล่ม (landslide) คือปรากฏการณ์ที่ส่วนของพ้ืนดิน ไม่ว่าจะเป็นก้อนหิน ดิน
ทราย โคลนหรือเศษดิน เศษต้นไม้ เกิดการไหล เล่ือน เคล่ือน ถล่ม พังทลาย หรือหล่นลงมาตาม
ที่ลาดเอียง อันเนื่องมาจากแรงดึงดูดของโลก ในขณะท่ีส่วนประกอบของชั้นดิน ความชื้นและ
ความชมุ่ นา้ ในดนิ ทาใหเ้ กดิ การเสียสมดุล

ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า ดินโคลนถล่ม เป็นปรากฏการณ์หรือเป็นภัยธรรมชาติของ
การสึกกร่อนชนิดหนึ่งท่ีก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริเวณพื้นท่ีท่ีเป็นเนินสูงหรือภูเขาที่มีความ
ลาดชันมาก มักเกิดในกรณีท่ีมีฝนตกหนักมากบริเวณภูเขาและภูเขานั้นอุ้มน้าไว้จนเกิดการอ่ิมตัว
จนทาให้เกิดการพังทลาย เกิดการถล่มลงมาของกองดินหรือโคลน ซ่ึงถ้าบริเวณนั้นมีการปลูกสร้าง
บ้านเรือนอยู่ก็จะเกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน หรือบางคร้ังเกิดจากการตัดต้นไม้บนพื้นที่
ภเู ขาและไหลเ่ ขาเม่ือเกิดฝนตกหนักไม่มีตน้ ไมใ้ หญ่ท่ีจะยดึ ดนิ

ดินโคลนถล่มมักเกิดพร้อมกับน้าป่าไหลหลาก หรือตามมาหลังจากน้าป่าไหลหลาก
เกดิ ข้นึ ในขณะหรอื ภายหลังพายุฝนตกหนักต่อเนอ่ื งอย่างรนุ แรง กล่าวคือ เมือ่ ฝนตกตอ่ เน่อื งน้าซึม
ลงในดินอย่างรวดเร็ว เม่ือถึงจุดหนึ่งดินจะอิ่มตัวชุ่มด้วยน้า ยังผลให้น้าหนักของมวลดินเพ่ิมข้ึน
และแรงยดึ เกาะระหวา่ งมวลดนิ ลดลง ระดับนา้ ใตผ้ ิวดนิ เพิม่ สงู ขน้ึ ทาให้แรงตา้ นทานการเลื่อนไหล
ของดนิ ลดลง จงึ เกิดการเลอ่ื นไหลของตะกอนมวลดนิ และหนิ

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 50

เรื่องท่ี 2 การเกิดดินโคลนถล่ม

2.1 ประเภทของดนิ โคลนถล่ม
ดินโคลนถล่ม มีองค์ประกอบหลายอย่าง ทั้งจากส่วนประกอบของดิน ความเร็ว

กลไกในการเคลื่อนที่ ชนิดของตะกอน รูปร่างของรอยดินถล่ม ปริมาณของน้าที่เข้ามาเกี่ยวข้องใน
กระบวนการดินโคลนถล่ม และสาเหตุต่าง ๆ ท่ีทาให้เกิดดินโคลนถล่ม ดินโคลนถล่มมี 5 ประเภท
ใหญ่ ๆ ดังน้ี

2.1.1 การถล่มแบบร่วงหล่น มักจะเป็นก้อนหินท้ังก้อนใหญ่และก้อนเล็กลักษณะ
อาจตกลงมาตรง ๆ หรอื ตกแล้วกระดอนลงมาหรอื อาจกลงิ้ ลงมาตามลาดเขากไ็ ด้

ภาพจาลองลกั ษณะการถลม่ แบบรว่ งหล่น
เปรยี บเทยี บภาพถา่ ยการถลม่ ของหนิ รว่ งหลน่ ที่เคลียรค์ รกี แคนยอน รฐั โคโลราโด สหรัฐอเมริกา

ในปี ค.ศ.2005
(ภาพถ่ายโดย หน่วยสารวจทางธรณีวิทยารัฐโคโลราโด
คดั ลอกจากหนงั สือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides)

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 51

2.1.2 การถล่มแบบล้มคว่า มักจะเกิดกับหินที่เป็นแผ่นหรือเป็นแท่งหินที่แตกและ
ล้มลงมา

ภาพจาลองลกั ษณะการถลม่ แบบล้มควา่ (Topples)
เปรยี บเทยี บกับภาพถา่ ยการถลม่ ของหินที่ ฟรอ้ ทเซนต์จอหน์ บริติชโคลมั เบียแคนาดา
(ภาพถา่ ยโดย GBianchiFasaniคัดลอกจากหนังสอื The Landslide Handbook - A Guide to Understanding

Landslides)

2.1.3 การถล่มแบบการเล่ือนไถล เป็นการเคล่ือนตัวของดินหรือหินจากที่สูง
ไปสู่ที่ลาดต่าอย่างช้า ๆ แต่หากถึงท่ีท่ีมีน้าชุ่มหรือพื้นท่ีที่มีความลาดชันสูงการเคล่ือนที่อาจมี
ความเรว็ เพิม่ ขนึ้ ได้

ภาพจาลองลกั ษณะการเลอ่ื นไถลแบบแนวระนาบ(Translation slide)
เปรียบเทยี บกบั ภาพถ่ายการเล่อื นไถลท่ี อ.ท่าปลาจ.อตุ รดติ ถ์ ซง่ึ เกดิ จากกระแสน้ากดั เซาะบรเิ วณตนี ของลาดเขา
(ภาพจาลองคดั ลอกจากหนงั สอื The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides)

(ภาพถา่ ยโดย ประดิษฐ์ นเู ลคดั ลอกจากเวบ็ ไซต์ กรมทรัพยากรธรณ)ี

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 52

2.1.4 การไหลของดนิ (Flows) เกดิ จากดินชุ่มนา้ มากเกนิ ไป ทาใหเ้ กิดดินโคลนไหล
ลงมาตามท่ีลาดชัน โดยการไหลของดินแบบนี้ ดินไหลอาจพัดพาเศษทราย ต้นไม้ โคลน หรือ
แม้กระท่ังก้อนหินเล็ก ๆ ลงมาด้วยและหากการไหลของดินพัดผ่านเข้ามาหมู่บ้านก็อาจทาให้เกิด
ความเสียหายร้ายแรงได้

ภาพจาลองลกั ษณะตะกอนไหล
เปรยี บเทยี บกับภาพถา่ ยความเสยี หาย ท่เี มือง Caraballeda ประเทศเวเนซเู อลา่ ในปี พ.ศ.2545
(ภาพถ่ายโดย L.M. Smith, WaterwaysExperiment Station, U.S. Army Corps of Engineers
คดั ลอกจากหนงั สอื The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides)

2.1.5 การถล่มแบบแผ่ออกไปด้านข้าง (Lataral Spreading) มักเกิดในพื้นที่
ท่ีลาดชันน้อยหรือพ้ืนท่ีค่อนข้างราบโดยเกิดจากดินที่ชุ่มน้ามากเกินไปทาให้เน้ือดินเหลว และ
ไม่เกาะตวั กนั จนแผ่ตัวออกไปด้านข้าง ๆ โดยเฉพาะดา้ ยทีม่ ีความลาดเอียงหรือตา่ กวา่

ภาพจาลองลักษณะการแผ่ออกไปดา้ นขา้ ง (Lateral spreading)
เปรียบเทยี บกบั ภาพถ่ายความเสยี หายของถนนจากแผน่ ดนิ ไหวทโี่ ลมาพรเี อตาแคลฟิ อรเ์ นยี สหรฐั อเมรกิ า

เมอ่ื ปี ค.ศ. 1989
ซง่ึ มีลกั ษณะการเคลื่อนตวั แบบแผอ่ อกไปด้านขา้ ง
(ภาพถ่ายโดย Steve Ellen คดั ลอกจากหนงั สอื The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides)

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 53

2.2 สาเหตุการเกิดดินโคลนถล่ม

การเกิดดินโคลนถลม่ เกดิ จากการท่ีพน้ื ดนิ หรอื สว่ นของพนื้ ดินเคลื่อน เลือ่ นตกหล่น
หรอื ไหลลงมาจากทล่ี าดชันหรอื ลาดเอยี งต่างระดับตามแรงดงึ ดูดของโลกตามแนวบรเิ วณฝัง่ แม่น้า
และชายฝงั่ ทะเลหรือมหาสมทุ ร รวมถงึ บริเวณใต้มหาสมทุ ร

สาเหตุหลักทที่ าให้เกิดดินโคลนถล่ม มี 2 สาเหตุ คือ

2.2.1 สาเหตุท่เี กิดตามธรรมชาติ เชน่

- โครงสรา้ งของดินทไี่ ม่แขง็ แรง
- พ้ืนที่มคี วามลาดเอียงและไม่มตี ้นไม้ยึดหนา้ ดิน
- การเกิดเหตกุ ารณฝ์ นตกหนักและตกนาน ๆ
- ฤดูกาลโดยเฉพาะฤดูฝนส่วนสาคัญทาให้เกดิ การอ่อนตวั และดนิ ถลม่
- ความแหง้ แลง้ และไฟป่าทาลายตน้ ไม้ยดึ หน้าดนิ
- การเกิดแผ่นดินไหว
- การเกิดคลน่ื สนึ ามิ
- การเปลี่ยนแปลงของน้าใต้ดิน
- การกัดเซาะของฝ่งั แมน่ า้ หรอื ฝ่งั ทะเล
- ภูเขาไฟระเบิดในบริเวณท่ีภูเขาไฟยังไมส่ งบ

2.2.2 สาเหตทุ เ่ี กดิ จากการกระทาของมนุษย์
- การขุดไหล่เขาทาใหไ้ หล่เขาชันมากขึ้น
- การดูดทรายจากกน้ แม่นา้ ลาคลองทาให้แม่นา้ ลาคลองลกึ ลง ตลิง่ ชนั มากขนึ้

ทาให้ดนิ ถล่มได้
- การขุดดินลึก ๆ ในการก่อสรา้ งอาจทาใหเ้ กดิ ดนิ ดา้ นบนโดยรอบเคลอื่ นตัวลง

มายังหลุมท่ขี ุดได้
- การบดอัดดินเพอ่ื การก่อสร้างก็อาจทาให้ดินขา้ งเคียงเคล่ือนตวั
- การสบู นา้ ใต้ดิน น้าบาดาลท่มี ากเกนิ ไปทาใหเ้ กดิ โพรงใตด้ ินหรอื การอดั นา้ ลง

ในดินมากเกินไปกท็ าใหโ้ ครงสรา้ งดินไม่แขง็ แรงได้
- การถมดินบนสนั เขาก็เป็นการเพ่ิมน้าหนักให้ดินเม่ือมีฝนตกหนักอาจทาให้ดนิ

ถลม่ ได้

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 54

- การตดั ไม้ทาลายป่าทาใหไ้ ม่มีตน้ ไม้ยดึ เกาะหนา้ ดนิ
- การสร้างอ่างเก็บน้าบนก็เป็นการเพมิ่ น้าหนักบนภูเขาและยงั ทาใหน้ า้ ซึมลงใต้
ดนิ จนเสยี สมดลุ
- การเปลย่ี นทางน้าตามธรรมชาติ ทาใหร้ ะบบน้าใต้ดนิ เสียสมดลุ
- น้าทง้ิ จากอาคารบ้านเรือน สวนสาธารณะ ถนนหนทาง บนภูเขา
- การกระเทอื นอย่างรนุ แรง เชน่ การระเบิดหนิ การระเบดิ ดนิ การขุดเจาะน้า
บาดาล การขดุ ดินเพือ่ สร้างอ่างเก็บน้า เข่อื น ฝายกัน้ นา้ เปน็ ตน้

2.3 ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการเกดิ ดินโคลนถลม่

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดดินโคลนถล่มที่เกิดขึ้นในประเทศไทย (คณะสารวจพ้ืนที่
เกดิ เหตดุ ินถลม่ ภาคเหนือตอนล่าง, 2550) เกิดจากปจั จยั หลกั 4 ประการ ดงั นี้

2.3.1 สภาพธรณีวิทยา โดยปกติช้ันดินท่ีเกิดการถล่มลงมาจากภูเขา เป็นช้ันดิน
ท่เี กิดจากการผกุ ร่อนของหนิ ให้เกดิ เปน็ ดนิ ซงึ่ ขนึ้ อยกู่ ับชนิดของหนิ และโครงสร้างทางธรณวี ิทยา

2.3.2 สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศที่ทาให้เกิดดินถล่มได้ง่าย ได้แก่ ภูเขา
และพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง หรือมีทางน้าคดเค้ียวจานวนมาก นอกจากน้ันยังพบว่า ลักษณะภูมิ
ประเทศที่เป็นร่องเขาด้านหน้ารับน้าฝน และบริเวณที่เป็นหุบเขากว้างใหญ่สลับซับซ้อนแต่มีลาน้า
หลกั เพยี งสายเดยี ว จะมีโอกาสเกิดดินโคลนถล่มได้งา่ ยกวา่ บรเิ วณอืน่ ๆ

2.3.3 ปริมาณน้าฝน ดินโคลนถล่มจะเกิดขึ้นเม่ือฝนตกหนักหรือตกต่อเนื่องเป็น
เวลานาน นา้ ฝนจะไหลซึมลงไปในช้ันดินจนกระทั่งชนั้ ดินอม่ิ ตัวด้วยน้า ทาให้ความดันของน้าในดิน
เพิ่มข้ึน เป็นการเพ่ิมความดันในช่องว่างของเม็ดดิน ดันให้ดินมีการเคล่ือนท่ีลงมาตามลาดเขาได้
ง่ายข้ึน และนอกจากนี้แล้วน้าท่ีเข้าไปแทนที่ช่องว่างระหว่างเม็ดดินทาให้แรงยึดเกาะระหว่างเม็ด
ดินลดนอ้ ยลง สง่ ผลใหด้ ินมีกาลังรบั แรงตา้ นทานการไหลของดนิ ลดลง

2.3.4 สภาพส่ิงแวดล้อม สภาพส่ิงแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงไป อาจทาให้เกิดดิน
โคลนถลม่ ได้ โดยพบว่าพนื้ ท่ีที่เกดิ ดินโคลนถล่มมักเป็นพน้ื ท่ภี ูเขาสูงชนั ท่มี ีการเปล่ียนแปลงการใช้
ประโยชนท์ ี่ดนิ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น

- พ้ืนท่ตี น้ น้า ลาธาร ปา่ ไม้ ถูกทาลายในหลาย ๆ จุด
- การบุกรุกทาลายปา่ ไม้เพื่อทาไร่และทาการเกษตรบนท่ีสงู

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2 - 55

- รูปแบบการทาเกษตร เช่นการเปลี่ยนแปลงสภาพป่าเป็นสวนยางพารา
โดยเฉพาะพวกตน้ ยางท่ียังมขี นาดเล็กอยู่ และการปลูกยางถงุ ซ่งึ รากแก้วไมแ่ ข็งแรง

- การใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ การตัดถนนผ่านไหลเ่ ขาสงู ชนั หรอื การตดั ไหล่เขาสร้าง
บา้ นเรอื น

- การปลกู สรา้ งสิง่ ก่อสร้างกดี ขวางทางน้า เชน่ สะพานที่มเี สาอย่ใู นทางน้า

2.4 ผลกระทบทเี่ กดิ จากดนิ โคลนถล่ม

การเกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่ม สามารถสร้างความเสียหายได้อย่างมาก โดยเฉพาะ
ถ้าเกิดขึ้นบริเวณใกล้กับชุมชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่จานวนมาก ซึ่งผลกระทบตามมาจากการเกิด
ดินโคลนถล่มทาให้เกิดความเสียหายในด้านหลักๆ 3 ด้าน ได้แก่ ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านเศรษฐกิจและสงั คม ตลอดจนดา้ นสขุ ภาพอนามัยและสภาพจิตใจของผปู้ ระสบภยั สรุปได้ดงั นี้

2.4.1 ผลกระทบด้านส่ิงแวดลอ้ ม
- เป็นการเร่งให้หน้าดินถูกชะล้าง พังทลายเพิ่มขึ้น เมื่อมาก ๆ เข้าป่าจะขาด

ความอดุ มสมบรู ณ์ ปา่ ต้นนา้ จะถูกทาลายตามมาจนเกดิ ภาวะแหง้ แลง้ เพิ่มขนึ้
- ปา่ และสัตว์ป่าลดลง ระบบนิเวศน์กจ็ ะเสยี สมดลุ
- เกิดการเปล่ียนแปลงของภูมิประเทศจากการพังทลาย การถูกทับถมด้วย

กรวด ทราย และกอ้ นหนิ
- สายน้าเปล่ียนทิศทาง เน่ืองจากถูกกีดขวางจากตะกอนมหึมาที่ทับถมปิดกั้น

เสน้ ทางการไหลของนา้ เปน็ ตน้

2.4.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ และสงั คม
- ประชาชนผู้ประสบเหตุแผ่นดินโคลนถล่มได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต รัฐบาล

เสยี งบประมาณในการรกั ษาการเจ็บปว่ ย
- ทอี่ ยู่อาศัย สิง่ ปลกู สร้างเสยี หายทาให้เป็นผูไ้ รท้ ่ีอยู่อาศยั ต้องอพยพโยกย้ายที่

อย่อู าศัย รฐั บาลเสยี งบประมาณในการฟ้นื ฟูความเปน็ อยู่เพ่ือให้กลับมาดาเนินชีวิตต่อไปได้
- สัตว์เลยี้ งล้มตายและสญู หาย
- พ้นื ทีท่ ากนิ และพืชผลทางการเกษตรเสียหาย
- เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด สาธารณูปโภคต่าง ๆ ไม่ว่าไฟฟ้า ประปาใช้การ

ไมไ่ ด้

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 56

2.4.3 ผลกระทบด้านสขุ ภาพอนามยั
- ระบบสาธารณปู โภคเสยี หาย อาจเกดิ การระบาดของโรคตา่ ง ๆ
- เกดิ การบาดเจบ็ ปว่ ยไข้ และทุพพลภาพ
- ผู้ประสบภัยมีปัญหาสุขภาพจิต หวาดวิตก เครียด ซึมเศร้า ส่งผลต่อสุขภาพ

กายตามมา

2.5 สัญญาณบอกเหตุก่อนเกดิ ดินโคลนถลม่
2.5.1 มีฝนตกหนกั ถึงหนักมากตลอดทง้ั วนั
2.5.2 มีน้าไหลซึมหรือน้าพุพุ่งขึ้นมาจากใต้ดิน นอกจากน้ีอาจจะสังเกตจากลักษณะ

การอุ้มนา้ ของช้นั ดิน เนือ่ งจากเกิดดนิ โคลนถล่ม ดินจะอม่ิ ตวั ดว้ ยน้าหรอื ชมุ่ นา้ มากกวา่ ปกติ
2.5.3 ระดับนา้ ในแมน่ ้าลาห้วยเพ่ิมสงู ขึน้ อยา่ งรวดเรว็ ผิดปกติ
2.5.4 สขี องนา้ มีสีขุ่นมากกวา่ ปกติ เปลีย่ นเปน็ เหมือนสดี ินภูเขา
2.5.5 มกี ่ิงไมห้ รือท่อนไม้ไหลมากับกระแสน้า
2.5.6 เกดิ ช่องทางเดนิ นา้ แยกข้นึ ใหมห่ รอื หายไปจากเดิมอย่างรวดเรว็
2.5.7 เกดิ รอยแตกบนถนนหรือพนื้ ดนิ อยา่ งรวดเร็ว
2.5.8 ดินบริเวณฐานรากของตึก หรือส่ิงกอ่ สรา้ งเกดิ การเคล่ือนตัวอยา่ งกะทันหนั
2.5.9 โครงสร้างต่าง ๆ เกิดการเคลอ่ื นหรอื ดันตัวขึ้น เชน่ ถนน กาแพง
2.5.10 ต้นไม้ เสาไฟ ร้ัว กาแพง เอยี งหรอื ล้มลง
2.5.11 ทอ่ นา้ ใต้ดินแตกหรือหักอย่างฉบั พลนั
2.5.12 ถนนยุบตวั ลงอย่างรวดเรว็
2.5.13 เกดิ รอยแตกร้าวขึน้ ท่ีโครงสรา้ งตา่ ง ๆ เชน่ รอยแตกท่กี าแพง
2.5.14 รอยแยกระหวา่ งวงกบกับประตูหรอื ระหวา่ งวงกบกบั หน้าตา่ งขยายใหญ่ขน้ึ

2.6 พ้นื ท่เี สี่ยงภัยต่อการเกดิ ดินโคลนถลม่

2.6.1 พ้ืนที่ท่ีมีโอกาสเกิดภัยโคลนดินถล่ม หมายถึง พ้ืนที่และบริเวณที่อาจจะเริ่ม
เกดิ การเล่อื นไหลของตะกอนมวลดนิ และหนิ ทีอ่ ยู่บนภูเขาสู่ท่ตี า่ ในลาหว้ ยและทางน้าขณะเมื่อมีฝน
ตกหนกั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ลักษณะของพ้ืนที่เส่ียงภัยดนิ โคลนถล่ม มีข้อสงั เกตดงั น้ี

- พืน้ ทต่ี ามลาดเชิงเขาหรือบรเิ วณท่ีลุ่มใกลเ้ ชงิ เขาท่ีมีการพงั ทลายของดินสูง

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 57

- พื้นที่เป็นภูเขาสูงชันหรือหน้าผาที่เป็นหินผุพังง่ายและมีชั้นดินหนาจาก
การผุกร่อนของหนิ

- พ้ืนท่ีท่ีเป็นทางลาดชัน เช่น บริเวณถนนที่ตัดผ่านหุบเขา บริเวณลาห้วย
บรเิ วณเหมอื งใตด้ นิ และเหมอื งบนดิน

- บริเวณที่ดินลาดชันมากและมีหินก้อนใหญ่ฝังอยู่ในดิน โดยเฉพาะบริเวณท่ี
ใกล้ทางนา้ เช่น ห้วย คลอง แมน่ ้า

- ทล่ี าดเชิงเขาท่มี กี ารขดุ หรอื ถม
- สภาพพน้ื ทตี่ น้ นา้ ลาธารท่ีมีการทาลายป่าไมส้ ูง ชน้ั ดนิ ขาดรากไมย้ ึดเหนีย่ ว
- เปน็ พื้นที่ทเ่ี คยเกดิ ดนิ ถลม่ มากอ่ น
- พื้นท่ีสูงชันไมม่ ีพชื ปกคลุม
- บริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชั้นดินอย่างรวดเร็วซ่ึงมีสาเหตุ
มาจากการกอ่ สร้าง
- บริเวณพื้นที่ลาดตา่ แต่ชั้นดนิ หนาและช้ันดินอิ่มตวั ด้วยน้ามาก

2.6.2 หมู่บ้านเสี่ยงภัยดินโคลนถล่ม หมายถึง หมู่บ้านหรือชุมชนท่ีตั้งอยู่ใกล้เคียง
ลาห้วยตามลาดเชิงเขา และท่ีลุ่มท่ีอยู่ติดหรือใกล้เขาสูงอาจจะได้ผลกระทบจากการเล่ือนไหลของ
ตะกอนมวลดินและหินปริมาณมากที่มาพร้อมกับน้าตามลาห้วยจากที่สูงชันลงมาสู่หมู่บ้านหรือ
ชุมชนท่ตี งั้ อยู่ โดยลกั ษณะท่ีตัง้ ของหมู่บ้านเส่ียงภยั ดินโคลนถล่ม มขี อ้ สังเกตไดด้ งั นี้

- อยู่ตดิ ภูเขาและใกล้ลาห้วย
- มรี อยแยกของพ้นื ดนิ บนภเู ขา หรือร่องรอยดินไหลหรือเลอ่ื นบนภเู ขา
- อยู่บนเนินหนา้ หบุ เขาและเคยมโี คลนถลม่ มาก่อน
- มนี า้ ป่าไหลหลากและน้าทว่ มบอ่ ย
- มีกองหิน เนนิ ทรายปนโคลนและต้นไมใ้ นหว้ ยหรือใกล้หมูบ่ ้าน
- พน้ื ห้วยจะมีกอ้ นหนิ ขนาดเล็กและใหญ่ปนกันตลอดท้องนา้
จากการสารวจเก็บข้อมูลทางธรณีวิทยา โดยกรมทรัพยากรธรณี พบว่าพ้ืนท่ีเส่ียงภัย
ดินโคลนถล่มใน 51 จังหวัด 323 อาเภอ 1,056 ตาบล 6,450 หมู่บ้าน ท่ัวประเทศ และพ้ืนที่เสี่ยง
ภัยในระดับสูงสุด 17 จังหวัด เป็นพ้ืนที่ภาคใต้ 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดระนอง ชุมพร กระบี่
สรุ าษฎร์ธานี นครศรธี รรมราช พัทลงุ และตรัง และภาคเหนอื 10 จงั หวัด ได้แก่ จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน
เชียงราย เชยี งใหม่ น่าน ลาพนู ลาปาง พะเยา แพร่ อตุ รดติ ถ์ และตาก

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 58

เรอ่ื งที่ 3 สถานการณ์ดนิ โคลนถลม่ ในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย

3.1 สถานการณด์ ินโคลนถลม่ ในประเทศไทย

สาหรับในประเทศไทยการเกิดเหตุการณ์ดินถล่มน้ันส่วนใหญ่มีตัวกลางสาคัญ
ในการเคล่ือนย้ายมวลของดินคือ น้า โดยมากแล้วจะมีสาเหตุหลักมาจากการเกิดฝนตกหนักและ
น้าทว่ มทาให้ดนิ ไมส่ ามารถอุ้มนา้ ไว้ได้ ประเทศไทยเกิดเหตกุ ารณ์ดนิ โคลนถล่มรนุ แรง ดงั น้ี

22 พฤศจิกายน 2531 บ้านกะทูนเหนือ อาเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตประมาณ 230 คน บ้านเรือนเสียหายประมาณ 1,500 หลัง พื้นท่ีการเกษตร
เสยี หาย 6,150 ไร่ คดิ เป็นมลู คา่ ประมาณ 1,000 ล้านบาท

11 กันยายน 2543 บ้านธารทิพย์ อาเภอหล่มสัก และบ้านโพธ์ิเงิน อาเภอเมือง
จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้เสียชีวิต 10 คน สูญหาย 2 คน บ้านเรือนเสียหาย 363 หลัง การปศุสัตว์และ
พ้ืนท่กี ารเกษตรไดร้ บั ความเสียหาย

4 พฤษภาคม 2544 อาเภอวังช้ิน จังหวัดแพร่ ผู้เสียชีวิต 43 คน สูญหาย 4 คน
บา้ นเรือนเสียหาย 18 หลัง คดิ เป็นมลู ค่าประมาณ 100 ลา้ นบาท

11 สิงหาคม 2544 ตาบลน้าก้อ อาเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้บาดเจ็บ 109
คน เสียชีวิต 136 คน สูญหาย 4 คน บ้านเรือนเสียหาย 188 หลัง เสียหายบางส่วน 441 หลัง คิด
เปน็ มูลคา่ ประมาณ 645 ล้านบาท

22 พฤษภาคม 2547 บ้านสบโขง หมู่ 10 ตาบลแม่สวด อาเภอสบเมย จังหวัด
แมฮ่ ่องสอน ผปู้ ระสบภัย 400 คน 120 ครวั เรือน บ้านเรอื นเสยี หาย 100 หลัง

17 ตุลาคม 2547 ตาบลอ่าวนาง อาเภอเมือง จังหวัดกระบ่ี เกสเฮาส์ 14 หลัง
เสียหาย ดินทบั หลงั คา รว้ั และผนังหอ้ ง 10 หลังเสยี หาย รวมมูลค่ากว่า 10 ล้านบาท

22 พฤษภาคม 2549 พื้นที่อาเภอลับแลอาเภอเมืองและ อาเภอท่าปลาจังหวัด
อตุ รดติ ถ์ มีประชาชนผู้ประสบภยั ประมาณ 128,800 คน โดยมผี ูเ้ สียชีวติ ท้งั หมด 66 ราย สญู หาย
37 คน บ้านเรือนเสียหาย 3,076 หลัง ในจานวนนี้เป็นบ้านเรือนท่ีเสียหายทั้งหลัง จานวน 4
หลงั คาเรอื น

9 ตุลาคม 2549 ตาบลแม่งอน อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่มีผู้เสียชีวิต 8 ราย
บา้ นเรือนเสียหายรวม 29 หลัง

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 59

3 สิงหาคม 2554 บ้านปู่ทา ปดิ ทับเส้นทางหลวงแผ่นดิน 1194 แม่สะเรยี ง-แมส่ าม
แลบ กว่า 10 จุด และปิดทับบ้านเรือนเสียหายท้ังหลัง 1 หลัง และเสียหายบางส่วน 9 หลังมี
ผูเ้ สียชวี ิต 9 ราย ผ้ไู ด้รบั บาดเจ็บ 12 คน

23 กันยายน 2554 บ้านเปียงกอก ตาบลโป่งน้าร้อน อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
น้าท่วมบ้านเรือนประชาชน ทรัพย์สินได้รับความเสียหายและมีผู้เสียชีวิต จานวน 1 ราย และสูญ
หาย จานวน 2 ราย

28 กันยายน 2554 บ้านเมืองก๋าย ตาบลเมืองก๋าย อาเภอแมแ่ ตง จังหวัดเชียงใหม่
บ้านเรือนของประชาชนเสียหายจานวน 4 หลังคาเรือน มีผู้เสียชีวิต จานวน 4 ราย และสูญหาย
จานวน 1 ราย

การเกิดดินโคลนถล่มของประเทศในทวีปเอเซียมีลักษณะคล้ายกัน คือ มักเกิดใน
พ้ืนที่ภูเขาท่ีมีความลาดชัน จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ มีพายุ ฝนตกรุนแรงต่อเน่ือง
หลายวัน บวกกับฝีมือมนุษย์ที่ทาลายป่าไม้ ซ่ึงทาหน้าท่ีดูดซับอุ้มน้า เม่ือฝนตกหนักต่อเน่ือง
ยาวนานมากกว่า 24 ชั่วโมง มักจะเกิดแผ่นดินถล่มเอาดินโคลน เศษหิน ซากไม้ลงมาพร้อมกับ
สายนา้ สรา้ งความเสยี หายทง้ั ตอ่ ชวี ติ และทรพั ย์สนิ ทกุ คร้งั และการเกิดเหตกุ ารณด์ ังกลา่ วนี้มักเกิดถี่
ข้ึนและรนุ แรงมากข้ึนทกุ ๆ คร้ังดว้ ย

3.2 สถานการณด์ ินโคลนถล่มของประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชีย

3.2.1 น้าท่วม ดินโคลนถล่ม เสฉวนประเทศจีน จาก “ซูเปอร์ไต้ฝุ่นซูลิก
(Soulik)”

หลังจากหลายพื้นท่ีของจีนประสบกับพายุฝนที่โหมกระหน่ามาต้ังแต่ช่วงต้นเดือน
กรกฎาคม 2556 ทาให้ประชาชนต้องเผชิญกับอุทกภัยและดินโคลนถล่ม สร้างความเสียหาย
ต่อชีวิตและทรัพย์สินจานวนมาก ประเทศจีนยังประสบภัยจากพายุไตฝ้ ุ่น “ซูลิก” (Soulik) พัดเขา้
ถล่มอีกระลอก เมื่อวันท่ี 7 กรกฎาคม 2556 ทาให้เกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มทับร่างของ
ประชาชนกว่า 30-40 คนในมณฑลเสฉวนของประเทศจีน เน่ืองจากฝนที่ตกหนักจนทาให้เกิด
น้าท่วมฉับพลัน มีหลายพ้ืนท่ีซ่ึงได้รับกระทบจากฝนที่ตกหนักติดต่อกันหลายวันโดยเฉพาะที่
มณฑลเสฉวน สะพาน 3 แห่ง ได้พังถล่มลงมา เหตุดินโคลนถล่มและน้าท่วมเกิดข้ึนบ่อยในเขต
ภูเขาของจีน ทาให้มีผู้เสียชีวิตหลายร้อยคนทุกปี ซ่ึงภัยธรรมชาติในครั้งนี้ก่อให้เกิดความเสียหาย
อยา่ งมาก เทยี บเท่ากับการเกิดเหตุแผน่ ดินไหวครั้งใหญ่ 2 คร้งั ในรอบ 5 ปี ทีผ่ า่ นมา ทัง้ นีป้ ระเทศ
จีนต้องประสบกบั ภัยทางธรรมชาตมิ าโดยตลอดในระยะเวลา 30 ปี

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 60

กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ฝนกระหนา่ มณฑลเสฉวน ทาให้เกดิ น้าท่วมฉบั พลันประชาชนนับหม่นื เดือดร้อน

สถานการณ์ดนิ ถลม่ เมอื งตเู จยี งเยย่ี น มณฑลเสฉวนทางภาคตะวนั ตกของจนี

เจ้าหนา้ ทก่ี ู้ภยั ตอ้ งใช้รถขดุ ดนิ เข้าช่วยเหลอื ประชาชนในเมอื งแห่งหนง่ึ ของมณฑลเสฉวนหลงั เกดิ เหตุดนิ โคลน
ภาพจาก http://dpm.nida.ac.th/main/index.php/articles/storm/item/
ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 2 - 61

3.2.2 ดนิ โคลนถลม่ ในประเทศอฟั กานสิ ถาน
เม่ือวันท่ี 2 พฤษภาคม 2557 เกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มในเขตชนบททางภาค

ตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศอัฟกานิสถาน และคาดเดาวา่ อาจจะมีผู้เสียชีวติ หรือสูญหายกว่า
2,700 คน ดินถล่มครั้งน้ีสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง หมู่บ้านท้ังหมู่บ้านถูกพัดกลืนหายไป
ครอบครวั นบั ร้อยตอ้ งสญู เสียทุกสง่ิ อย่าง

ภาพประกอบจาก WAKIL KOHSAR / AFP

3.2.3 ดนิ โคลนถลม่ ท่ีประเทศศรีลังกา
เหตุการณ์ดินถล่มในจังหวัดบาดุลลา ประเทศศรีลังกา เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม

2557 โดยหายนะเกิดจากพ้ืนท่ีเกิดเหตุได้เผชิญกับมรสุมหนัก ทาให้ดินโคลนได้ถล่มลงมาทับ
หมู่บ้านปลูกชามีริบาเบดดา ซึ่งต้ังอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของศรีลังกาอย่างไม่ทันตั้งตัว
ถล่มทับหมู่บ้านแห่งนี้ส่งผลให้มีบ้านเรือนประชาชนกว่า 140 หลังพังและจมอยู่ใต้ดินโคลนที่ถล่ม
ลงมา มีผู้สญู หายไม่ตา่ กวา่ 300 คน และคาดวา่ นา่ จะมปี ระชาชนถกู ฝังท้ังเป็นมากกวา่ 100 ราย

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 62

เรือ่ งท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแกไ้ ขปัญหาผลกระทบท่เี กิดจากดนิ โคลนถล่ม

ในการป้องกันภัยธรรมชาติจากการเกิดดินโคลนถล่มนั้น นอกเหนือจากเป็นหน้าท่ีของ
ผู้รับผิดชอบโดยตรงคือหน่วยงานของรัฐแล้ว ยังมีส่วนของภาคประชาชน ที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมใน
การหาแนวทางป้องกันภยั แผน่ ดินถลม่ หรือดินโคลนถลม่ ดงั น้ี

4.1 แนวทางการป้องกันเหตดุ นิ โคลนถลม่ ทดี่ าเนนิ การโดยหนว่ ยงานของรฐั บาล
การป้องกันดินโคลนถล่มที่ดาเนินการโดยหน่วยงานของรัฐบาลในประเทศไทยส่วน

ใหญ่จะเป็นการดาเนนิ การปอ้ งกนั ดนิ โคลนถล่มท่ีเกดิ ข้นึ ในพืน้ ทที่ ่ีมนุษย์เป็นผู้สรา้ งข้นึ เช่น การตดั
ภูเขาเพื่อสร้างถนน ทาให้เกิดแนวดินข้างถนนท่ีตัดผ่านเป็นลักษณะลาดชัน การสร้างแนวป้องกัน
ต้องใช้งบประมาณมาก แต่มีความจาเป็นเน่ืองจากเป็นเส้นทางที่ใช้ในการคมนาคม จึงต้องมี
แนวทางในการป้องกันปญั หาดินโคลนถล่ม สรุปไดด้ งั นี้

4.1.1 ปรับความลาดชัน เพอื่ ลดแรงกระทาซง่ึ เปน็ เหตใุ หม้ วลดินเกิดการเคล่ือนตวั

ภาพแสดงการปรับความลาดชัน

4.1.2 เพิ่มกาลัง ใหม้ วลดนิ เช่น การลดระดบั นา้ ใต้ดนิ ลดความชน้ื ของดนิ เปน็ ต้น

ภาพแสดงการเพม่ิ กาลงั ใหม้ วลดนิ โดยการลดระดบั นา้ ใต้ดินผา่ นท่อระบายนา้
ทีม่ า :คัดลอกจาก The Landslide Handbook-A Guide to Understanding Landslides. By Lynn M. Highland,

United States Geological Survey, andPeterBobrowsky, Geological Survey of Canada.
ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 63

4.1.3 ติดต้ังอปุ กรณ์ท่ชี ่วยเพ่มิ ความต้านทานการเคลื่อนของมวลดิน เช่น กาแพงกัน
ดินหรือการตอกเสาเขม็

ภาพแสดงโครงสรา้ งกาแพงกนั ดิน ทม่ี า : http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm

4.1.4 การป้องกนั หนา้ ดนิ โดยการปลูกพืชคลมุ ดนิ หรอื การพ่นคอนกรตี

ภาพแสดงการรักษาหนา้ ดนิ โดยการปลูกพชื คลมุ ดิน
ทม่ี า : http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2357

ภาพแสดงการรักษาหนา้ ดนิ โดยการพ่นคอนกรตี
ท่มี า : http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 64

4.2 แนวทางการป้องกันการเกิดเหตแุ ผน่ ดนิ ถล่มทีด่ าเนินการโดยภาคประชาชน
การป้องกันการเกิดดินโคลนถล่มท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติน้ัน นอกจากจะเป็น

หน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงแล้ว คนในชุมชนควรร่วมมือกันในการกาหนด
แนวทางการป้องกนั ภยั พิบตั กิ ารเกดิ ดนิ โคลนถล่มในพ้นื ท่เี สย่ี ง สรุปได้ดังนี้

4.2.1 ร่วมกันดูแล รักษา และป้องกันไม่ให้มีการตัดต้นไม้ทาลายป่าในพื้นท่ีป่าและ
บรเิ วณลาหว้ ยใหม้ คี วามอุดมสมบรู ณ์

4.2.2 คนในชุมชนควรร่วมกันจัดสรรเขตพ้ืนท่ีป่าเป็นเขตป่าอนุรักษ์และเขตป่าใช้
ประโยชนอ์ อกจากกัน เพือ่ ป้องกันการโคน่ ล้มต้นไม้

4.2.3 สารวจบริเวณพื้นท่ีที่มีความเส่ียงในการเกิดดินโคลนถล่มโดยสังเกตลักษณะ
พน้ื ที่ ได้แก่

- เป็นภเู ขาหวั โล้น ทาให้ดินขาดรากไม้ยดึ เหนี่ยวอาจเกดิ การถล่มลงมาไดง้ า่ ย
- มีชน้ั ดินหนาวางตัวอยู่ตามลาดภเู ขาที่มคี วามลาดเอยี งสูง หรือเป็นหน้าผา
- มีชั้นหินที่รองรับชั้นดินเป็นหินชนิดที่ผุง่าย
4.2.4 ควรทาลายหรือขนยา้ ยเศษก่งิ ไม้ ตน้ ไม้แหง้ ที่ถูกพัดมาสะสมขวางทางนา้
4.2.5 ควรทาการอพยพประชาชนท่ีตั้งบ้านเรือนกีดขวางทางนา้ ขึน้ ไปอยู่บนเนนิ หรือ
ท่ีสูงช่วั คราว โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เมื่อมกี ารเตือนภัยว่าจะเกดิ ฝนตกหนกั ตดิ ตอ่ กนั
4.2.6 จดั ตัง้ กลุม่ เครือขา่ ยเฝ้าระวังและแจง้ เหตุแผน่ ดนิ ถล่ม
4.2.7 จดั ทาแผนการอพยพแผนการช่วยเหลือและฟ้นื ฟูผู้ประสบภัย และควรฝึกซอ้ ม
ตามแผนการอพยพในโอกาสทีเ่ สย่ี งจะเกดิ แผ่นดินถล่ม

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 2 - 65

เรื่องที่ 5 การปฏิบตั กิ อ่ นเกิดเหตุ ขณะเกิด และหลังเกดิ ดนิ โคลนถลม่

5.1 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์การดินโคลนถล่ม ผู้มีความเสี่ยงประสบเหตุ
ดินโคลนถล่มควรปฏบิ ัตติ น ดังนี้

5.1.1 สังเกตลักษณะบริเวณโดยรอบท่ีต้ังของชุมชนและบริเวณที่เสี่ยงภัยจากดิน
โคลนถลม่

1) อยู่ติดกบั ภูเขาและใกลล้ าห้วย
2) มีรอ่ งรอยดนิ ไหล หรอื ดินเล่อื นบนภเู ขา
3) มรี อยแยกของพื้นดนิ บนภเู ขา
4) อยบู่ นเนนิ หน้าหุบเขาและเคยมีโคลนถลม่ ลงมาบ้าง
5) ถกู นา้ ปา่ ไหลหลากและน้าทว่ มบอ่ ย
6) มีกองหนิ เนินทรายปนโคลนและต้นไม้ในหว้ ยหรือใกลห้ ม่บู า้ น
5.1.2 สังเกตและเฝ้าระวงั น้าและดิน
1) มฝี นตกหนักถึงตกหนักมากตลอดทง้ั วัน
2) ปริมาณนา้ ฝนมากกวา่ 100 มิลลิเมตรต่อวัน
3) มีเสียงดังผิดปกติบนภูเขาและในลาห้วย เน่ืองจากการถล่มและเลื่อนไหล
ของน้า ดินและต้นไม้
4) ระดับนา้ ในลาห้วยสูงขึน้ อยา่ งรวดเรว็ และมนี า้ ไหลหลากล้นตล่ิง
5) สขี องน้าข่นุ ขน้ และเปล่ยี นเป็นสีดนิ ของภูเขา
6) มเี ศษของตน้ ไมข้ นาดเลก็ ไหลมากับนา้
5.1.3 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ดนิ โคลนถล่ม
1) ติดตามสถานการณ์ และข่าวพยากรณ์อากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง
ท้องถิน่ หรือเสียงตามสาย หอกระจายข่าวประจาหมู่บ้านอยา่ งใกลช้ ดิ
2) จัดเตรยี มอาหาร นา้ ดื่ม ยารักษาโรค และอุปกรณฉ์ ุกเฉนิ ทีจ่ าเป็นต้องใชเ้ มื่อ
ประสบเหตุ
3) ซักซ้อมแผนการอพยพ แผนการช่วยเหลือและฟ้ืนฟูผู้ประสบภัยแผ่นดิน
ถล่ม

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 66

4) หากมีการตดิ ตั้งอุปกรณ์สาหรับเตือนภัยไว้ในพืน้ ท่ีเส่ียงภัย ผูม้ สี ่วนเกีย่ วข้อง
หรือผู้ท่ีมีความเส่ียงประสบเหตุ ควรหมั่นตรวจสอบอุปกรณ์แจ้งเตือนภัยให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์
พร้อมใชง้ านอยเู่ สมอ

5) หากสังเกตแล้วพบวา่ มคี วามเสยี่ งในการเกดิ ดนิ โคลนถลม่ ควรทาการอพยพ
ออกจากพืน้ ท่ีที่มีความเสี่ยง หรืออยใู่ นบริเวณท่ีปลอดภยั

6) แจ้งสถานการณท์ ่ีเกดิ ขน้ึ ให้กับเจา้ หน้าทท่ี ่ีเกย่ี วข้อง หรอื ผนู้ าชมุ ชนให้ทราบ
โดยเร็ว เพ่ือแจ้งเตือนภัยให้ผู้ที่มีความเส่ียงประสบเหตุรายอ่ืน ๆ ได้ทราบอย่างท่ัวถึงและเตรียม
ความพรอ้ มไดอ้ ยา่ งทันท่วงที

5.2 การปฏบิ ตั ขิ ณะเกดิ ดินโคลนถลม่ ผู้ประสบเหตดุ นิ โคลนถล่มควรปฏิบัติตน ดงั นี้
5.2.1 ตัง้ สติ แล้วรวบรวมอปุ กรณฉ์ กุ เฉนิ ท่ีจาเป็นต้องใชเ้ มอื่ ประสบเหตุ
5.2.2 ทาการอพยพออกจากพื้นท่ีเสีย่ ง หรอื อย่ใู นบรเิ วณทป่ี ลอดภัย
5.2.3 แจ้งสถานการณ์เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง ผู้นาชุมชนให้ทราบเพื่อแจ้งเหตุ และ

เตรยี มการชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั ตามแผนการช่วยเหลือและฟน้ื ฟผู ูป้ ระสบภยั แผน่ ดนิ ถล่ม
5.3 การปฏิบตั ิหลงั เกดิ ดนิ โคลนถลม่ ผ้ปู ระสบเหตดุ นิ โคลนถลม่ ควรปฏิบตั ิตน ดังน้ี
5.3.1 ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง

ทอ้ งถน่ิ เสียงตามสาย หอกระจายข่าวประจาหม่บู ้านอยา่ งใกลช้ ดิ เพ่ือปอ้ งกนั การเกดิ เหตุซา้
5.3.2 จัดเวรยามเพื่อเดินตรวจตาดสู ถานการณ์รอบ ๆ หม่บู ้านเพอื่ สังเกตสิ่งผิดปกติ
5.3.3 ติดต่อขอรับความช่วยเหลอื และฟน้ื ฟูจากบุคคลหรอื หน่วยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 67

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5
ไฟป่า

สาระสาคัญ

ภยั พิบัติอย่างหน่ึงท่ีเกดิ ข้ึนในประทศไทยและประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ได้แก่ไฟป่า ซ่งึ เป็น
ปัญหาเร้ือรงั มานานและทวีความรนุ แรงข้ึนเร่ือย ๆ ในทุกปี ไฟปา่ เกดิ ข้นึ ทใ่ี ดกจ็ ะส่งผลกระทบและ
สร้างความเสยี หายแก่ทรัพยากรธรรมชาตขิ องป่าและส่งิ แวดล้อมอย่างมากย่ิงกว่าสาเหตุอน่ื เพราะ
ไฟป่าสามารถลุกลามไหม้ทาลายพ้นื ทจี่ านวนมากได้ในเวลาอันรวดเรว็ ย่ิงไปกวา่ นน้ั ไฟปา่ ที่เกิดขึ้น
ในพื้นท่หี นง่ึ ๆ ไม่เพยี งแต่จะกอ่ ความเสียหายแก่พืน้ ที่น้ันเท่านั้น แตจ่ ะส่งผลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อม
โดยรวมด้วย ซ่ึงเป็นความจาเป็นท่ีทุกคนต้องเรียนรู้ และเข้าใจถึงความรุนแรงของไฟป่าร่วมกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ปัญหาในระยะยาว ด้วยการเรียนรู้ถึงลักษณะของการเกิดไฟป่า
สถานการณ์และความรุนแรง ผลกระทบท่ีตามมา ตลอดจนการควบคุมและป้องกันเพ่ือร่วมมือ
อย่างจริงจงั ในการป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดไฟป่าขน้ึ หรอื ลดความสูญเสียให้น้อยลง

ตวั ชว้ี ดั

1. บอกความหมายของไฟป่า
2. บอกสาเหตุและปจั จัยการเกิดไฟป่า
3. บอกชนิดของไฟป่า
4. บอกผลกระทบที่เกิดจากไฟปา่
5. บอกฤดูกาลการเกิดไฟปา่ ในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี
6. อธบิ ายสถานการณไ์ ฟป่าในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย
7. บอกวธิ ีเตรียมพรอ้ มกอ่ นเกดิ ไฟปา่
8. บอกวิธีการปฏิบตั ิขณะเกิดไฟปา่
9. บอกวธิ กี ารปฏิบตั หิ ลังเกดิ ไฟปา่

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 68

ขอบขา่ ยเนือ้ หา

เรื่องที่ 1 ความหมายของไฟป่า
เรอ่ื งที่ 2 ลกั ษณะการเกิดไฟปา่

2.1 สาเหตแุ ละปัจจยั การเกิดไฟปา่
2.2 ชนดิ ของไฟป่า
2.3 ผลกระทบทีเ่ กดิ จากไฟปา่
2.4 ฤดกู าลเกิดไฟป่าในแตล่ ะพนื้ ท่ีของประเทศไทยและในแถบเอเชยี
เร่อื งที่ 3 สถานการณ์ไฟป่า
3.1 สถานการณ์การเกดิ ไฟปา่ ในประเทศไทย
3.2 สถานการณ์การเกดิ ไฟปา่ ของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชยี
เรื่องที่ 4 แนวทางการป้องกนั และการแก้ไขปัญหาผลกระทบทีเ่ กดิ จากไฟป่า
4.1 การเตรียมความพรอ้ มเพื่อป้องกันการเกิดไฟป่า
4.2 การปฏิบัตขิ ณะเกดิ ไฟป่า
4.3 การปฏิบัติหลังเกดิ ไฟป่า

เวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา 15 ชั่วโมง
ส่อื การเรยี นรู้

1. ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2
2. สมุดบันทึกกจิ กรรมรายวิชาการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2
3. ส่ือสิ่งพิมพ์ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ ใบปลวิ เปน็ ต้น
4. สือ่ วดิ ีทัศน์
5. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ /ปราชญ์ชาวบา้ น

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 69

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของไฟปา่

ภัยพิบัติร้ายแรงอย่างหนึ่งท่ีคงเกิดอยู่เสมอในทุก ๆ ปีก็คือ ไฟป่า ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้
ทุกภาคของประเทศ และทั่วโลก ทั้งน้ีไฟป่าอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทา
ของมนษุ ย์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในฤดแู ล้งมกั เกิดไฟปา่ ขึ้นในหลาย ๆ พืน้ ท่ี เมื่อมีไฟป่าเกิดข้นึ บริเวณ
ใดก็จะสร้างความเสียหายให้บริเวณนั้นและอาจลุกลามสร้างความเสียหายไปยังพื้นที่อ่ืน ๆ
เปน็ บริเวณกวา้ งอีกด้วย

ไฟป่า เป็นเสมือนฝันร้ายของท้ังสัตว์ป่าน้อยใหญ่รวมถึงป่าไม้ และมวลมนุษยชาติเพราะ
เม่ือไฟป่ามอดดับลงคงหลงเหลือแต่สภาพความเสียหายอันประมาณค่าไม่ไดแ้ ละเกิดปัญหาตามมา
อีกมากมาย

โดยสรุป ไฟป่า หมายถึง ไฟที่เกิดจากสาเหตุอันใดก็ตาม แล้วเกิดการลุกลามไปไดโ้ ดย
อิสระปราศจากการควบคมุ ทง้ั นีไ้ มว่ ่าไฟนนั้ จะเกิดข้นึ ในปา่ ธรรมชาตหิ รือสวนป่ากต็ าม

ไฟปา่ ในลกั ษณะตา่ งๆ

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 2 - 70

เรอื่ งท่ี 2 ลักษณะการเกดิ ไฟป่า

2.1 สาเหตแุ ละปจั จัยการเกดิ ไฟปา่
การเกิดไฟป่า มาจากสาเหตุและปัจจัย 2 อย่าง คือเกิดจากธรรมชาติ และเกิดจาก

การกระทาของมนุษย์ อย่างไรก็ตามสาหรับในประเทศไทยยังไม่พบไฟป่าที่เกิดโดยความร้อน
ตามธรรมชาติ ส่วนใหญ่เกิดจากฝีมือมนุษย์ทั้งส้ิน ดังนั้นมนุษย์จึงเป็นต้นเหตุของการเกิดไฟป่า
ทส่ี าคัญยิ่ง

2.1.1 ไฟป่าที่เกิดจากธรรมชาติ ไฟป่าที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เช่น จากฟ้าผ่า
ก่ิงไม้เกดิ การเสยี ดสีกนั ปฏกิ ิริยาเคมใี นดินป่าพรุ ซ่งึ สาเหตุที่สาคญั ไดแ้ ก่

1) ฟ้าผ่า เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่นของต่างประเทศ
ซึ่งแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ฟ้าผ่าแหง้ และฟา้ ผ่าเปยี ก

- ฟ้าผ่าแห้ง คือ ฟ้าผ่าท่ีเกิดข้ึนในขณะท่ีไม่มีฝนตก มักจะเกิดขึ้นในฤดูแล้ง
เปน็ สาเหตสุ าคัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น

- ฟ้าผ่าเปียก คือ ฟ้าผ่าที่เกิดข้ึนควบคู่กับการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าผ่า
ในเขตรอ้ นรวมถงึ ประเทศไทยมกั จะเป็นฟา้ ผา่ เปยี ก จึงแทบจะไมเ่ ปน็ สาเหตขุ องไฟป่าในเขตรอ้ น

ลักษณะของไฟปา่ ทเี่ กดิ จากฟ้าผ่า

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 71

2) กิ่งไม้เสียดสีกัน ไฟป่าที่เกิดจากกิ่งไม้เสียดสีกันอาจเกิดขึ้นได้ในพื้นท่ีป่า
ท่มี ไี ม้ขน้ึ อย่อู ย่างหนาแน่น และมี สภาพอากาศแห้งจัด เช่น ในป่าไผ่หรือปา่ สน

ลักษณะไฟป่าทเ่ี กิดตามธรรมชาติ

2.1.2 ไฟป่าท่ีมีสาเหตุจากมนุษย์ ไฟป่าท่ีเกิดในประเทศกาลังพัฒนาในเขตร้อน
ส่วนใหญ่จะมีสาเหตุมาจากกิจกรรมของมนุษย์ สาหรับประเทศไทยจากการเก็บสถิติไฟป่าต้ังแต่
ปี พ.ศ. 2528-2542 ซึ่งมีสถิติไฟป่าท้ังส้ิน 73,630 คร้ัง พบว่าเกิดจากสาเหตุตามธรรมชาติคือ
ฟ้าผ่าเพียง 4 คร้ัง เท่าน้ัน คือเกิดที่ภูกระดึง จังหวัดเลย ที่ห้วยน้าดัง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ท่าแซะ
จังหวัดชุมพร และที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา แห่งละหนึ่งคร้ัง ดังน้ันจึงถือได้ว่าไฟป่า
ในประเทศไทยทงั้ หมดเกดิ จากการกระทาของมนษุ ย์โดยมีสาเหตุต่าง ๆ กนั ไป ได้แก่

1) ไฟป่าท่ีเกิดจากการเผาหญ้า เศษวัสดุ เศษพืชผลทางการเกษตร นับเป็น
สาเหตสุ าคญั ประการหน่ึงทีล่ กุ ลามเปน็ ไฟปา่ ได้

การเผาเศษพืชผลทางการเกษตร

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 72

2) การเผาขยะมูลฝอยและวัสดุเหลือใช้ในชุมชน คนในชุมชนบางคนอาศัยความ
สะดวก มักนาขยะหรอื เศษวัสดุทเ่ี หลือใช้มาเผาในหมู่บ้านหรือในชุมชน อาจเปน็ สาเหตหุ น่ึงที่ทาให้
เกดิ ไฟไหมล้ ุกลามได้

การลกุ ลามของไฟป่าจากจดุ เลก็ ๆ

3) เก็บหาของป่า เป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดไฟป่ามากท่ีสุด การเก็บหาของป่า
ส่วนใหญ่ได้แก่ ไข่มดแดง เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้าผึ้ง ผักหวาน และไม้ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่
เพ่ือให้พ้ืนป่าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือ
จุดไฟเพอ่ื กระตุน้ การงอกของเหด็ หรอื กระตุน้ การแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตงึ หรอื จุดไฟ
เพ่ือไลต่ ัวมดแดงออกจากรัง รมควนั ไลผ่ ึ้ง หรือไล่แมลงต่าง ๆ ในขณะท่ีอยู่ในปา่

4) เผาไร่ เป็นสาเหตุที่สาคัญรองลงมา การเผาไร่ก็เพื่อกาจัดวัชพืชหรือเศษซาก
พืชท่ีเหลืออยู่ ภายหลังการเก็บเก่ียว ท้ังน้ีเพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบต่อไป โดยปราศจาก
การทาแนวกันไฟ และปราศจากการควบคมุ ไฟจงึ ลกุ ลามเข้าป่าท่อี ยู่ในบรเิ วณใกลเ้ คียง

5) แกล้งจุด ในกรณีที่ประชาชนในพ้ืนที่มีปัญหาความขัดแย้งกับหน่วยงานของ
รัฐในพื้นท่ี โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเกิดจากเร่ืองท่ีทากินหรือถูกจับกุมจากการกระทาผิดในเรื่อง
ป่าไม้ ก็มักจะหาทางแก้แค้นเจ้าหน้าท่ีด้วยการเผาป่า ซ่ึงอาจจะเป็นการกระทาท้ังที่ตั้งใจหรือ
ไมต่ งั้ ใจกต็ าม

6) ความประมาท เกิดจากการเข้าไปพักแรมในป่า ก่อกองไฟเพื่อให้เกิดความ
อบอนุ่ หรอื ป้องกนั สตั ว์ร้ายแล้วลมื ดับ หรือทิ้งก้นบหุ ร่ี ลงบนพ้ืนปา่ เปน็ ตน้

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 73

7) ล่าสัตว์ โดยใช้วิธีไล่เหล่า คือจุดไฟไล่ให้สัตว์หนีออกจากท่ีซ่อน หรือจุดไฟ
เพื่อให้แมลง บินหนีไฟ นกชนิดต่าง ๆ จะบินมากินแมลง แล้วดักยิงนกอีกทอดหน่ึง หรือจุดไฟเผา
ทุ่งหญ้า เพ่ือให้ หญ้าแตกใบใหม่ เป็นการล่อให้สัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่น กระทิง กวาง กระต่าย หมูป่า
มากนิ อาหาร แลว้ ดักรอยงิ สตั ว์เหลา่ นน้ั

8) เล้ียงปศุสัตว์ ประชาชนท่ีเล้ียงสัตว์แบบปล่อยให้หากินเองตามธรรมชาติมี
จานวนไม่นอ้ ยที่ทาการลกั ลอบจดุ ไฟเผาป่าให้โลง่ มีสภาพเป็นทุง่ หญ้าเพอื่ เปน็ แหล่งอาหารของสัตว์
ทีต่ นเองเลีย้ งไว้

9) ความคึกคะนอง บางคร้ังการจุดไฟเผาป่าเกิดจากความคึกคะนองของผู้จุด
โดยไม่มจี ดุ ประสงคใ์ ด ๆ แต่เป็นการจดุ เลน่ เพอ่ื ความสนกุ สนานเทา่ น้นั

10) การเผาวัชพืชริมถนนหนทาง อาจลุกลามเป็นบริเวณกว้างจนกลายเป็น
ไฟป่าทเ่ี ผาผลาญทาลายบ้านเรอื นและชุมชนได้

เจ้าหนา้ ท่ชี ่วยกนั ดับไฟจากการเผาหญา้ รมิ ถนน

2.2 ชนิดของไฟปา่
ไฟปา่ แบ่งออกเป็น 3 ชนดิ ตามลกั ษณะของเชอ้ื เพลงิ ทถ่ี กู เผาไหม้ ไดแ้ ก่
2.2.1 ไฟใต้ดิน เป็นไฟท่ีไหม้อินทรียวัตถุที่สะสมอยู่ในดินลุกลามไปช้า ๆ ใต้ผิวดิน

ไม่มีเปลวไฟปรากฏให้เห็นชัดเจนและมีควันให้เห็นน้อยมาก ฉะนั้นไฟใต้ดินจึงเป็นไฟท่ีตรวจพบ
หรือสังเกตพบได้ยากท่ีสุดและเป็นไฟท่ีมีอัตราการลุกลามช้าท่ีสุดแต่สร้างความเสียหายให้แก่พ้ืนท่ี
ป่ า ไ ม้ ม า ก ท่ี สุ ด เ พ ร า ะ ไ ฟ จ ะ ไ ห ม้ ท า ล า ย ร า ก ไ ม้ ท า ใ ห้ ต้ น ไ ม้ ให ญ่ น้ อ ยท้ั ง ป่ า ต า ย ใน เ ว ลา ต่ อ ม า
ย่ิงไปกว่าน้ันยงั เปน็ ไฟทค่ี วบคุมได้ยากที่สดุ อีกด้วย

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 2 - 74

ไฟใต้ดนิ ยังสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ยอ่ ย คอื
1) ไฟใต้ดินสมบูรณ์แบบ คือ ไฟที่ไหม้อินทรียวัตถุอยู่ใต้ผิวพ้ืนป่าจริง ๆ ดังน้ัน

เมื่อยืนอยู่บนพ้ืนป่าจึงไม่สามารถตรวจพบไฟชนิดน้ีได้ หากจะตรวจให้ได้ผลต้องใช้เครื่องมือพิเศษ
เช่น เคร่ืองตรวจจับความร้อน เพ่ือตรวจหาไฟชนิดนี้ ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนของไฟใต้ดิน
สมบรู ณ์แบบ คือ ไฟท่ีไหม้ช้ันถา่ นหนิ ใต้ดนิ

ลกั ษณะไฟใต้ดิน

2) ไฟกึ่งผิวดินกึ่งใต้ดิน ได้แก่ ไฟที่ไหม้ในแนวระนาบไปตามผิวพ้ืนป่า
เช่นเดียวกับไฟผิวดิน ในขณะที่อีกส่วนหน่ึงจะไหม้ในแนวดงิ่ ลึกลงไปในช้ันอินทรียวัตถุใต้ผิวพน้ื ป่า
ซึ่งอาจไหม้ลึกลงไปได้หลายฟุต ไฟชนดิ นี้สามารถตรวจพบได้โดยงา่ ยเชน่ เดยี วกับไฟผิวดินท่ัว ๆ ไป
แต่การดับไฟจะต้องใช้เทคนิคการดับไฟผิวดินผสมผสานกับเทคนิคการดับไฟใต้ดิน จึงจะสามารถ
ควบคุมไฟได้ ตัวอย่างของไฟชนิดน้ี ได้แก่ ไฟที่ไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
ในจงั หวัดนราธวิ าส ของประเทศไทย

ไฟก่งึ ผวิ ดินกงึ่ ใตด้ ิน ในปา่ พรุจังหวดั นราธิวาส

2.2.2 ไฟผิวดิน เป็นไฟที่ไหม้เชื้อเพลิงบนพื้นดิน ได้แก่ ใบไม้ ก่ิงไม้แห้งที่ตกสะสม
อยู่บนพื้นป่า หญ้า ลูกไม้เล็ก ๆ ไม้พ้ืนล่าง กอไผ่ ไม้พุ่มต่าง ๆ ไฟชนิดน้ีลุกลามอย่างรวดเร็ว
ความรุนแรงของไฟผิวดินจะข้ึนอยู่กับชนดิ และประเภทของเช้ือเพลิงไฟป่าที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
ส่วนใหญ่เปน็ ไฟผวิ ดนิ

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 75

ลกั ษณะของไฟผิวดนิ

2.2.3 ไฟเรือนยอด คือ ไฟท่ีไหม้ลุกลามจากยอดของต้นไม้หรือไม้พุ่มต้นหน่ึงไปยัง
ยอดของต้นไม้หรือไม้พุ่มอีกต้นหน่ึง ไฟชนิดน้ีมีอัตราการลุกลามท่ีรวดเร็วมาก ทั้งน้ีเนื่องจากไฟ
มีความรุนแรงมากและมีความสูงเปลวไฟประมาณ 10 - 30 เมตร ในบางกรณีไฟอาจมีความสูง
ถงึ 40 - 50 เมตร ไฟเรือนยอดโดยทว่ั ไปอาจต้องอาศยั ไฟผิวดินเปน็ สือ่ ในการลกุ ไหม้

ลักษณะไฟเรอื นยอดท่พี บเห็นโดยท่ัวไป
ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 76

ไฟเรอื นยอดแบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่
1) ไฟเรือนยอดท่ีต้องอาศัยไฟผิวดินเป็นสื่อ คือ ไฟเรือนยอดที่ต้องอาศัยไฟ

ท่ีลุกลามไปตามผิวดินเป็นตัวนาเปลวไฟข้ึนไปสู่เรือนยอดของต้นไม้อ่ืนที่อยู่ใกล้เคียง ลักษณะของ
ไฟชนิดนี้ จะเหน็ ไฟผวิ ดนิ ลกุ ลามไปกอ่ นแลว้ ตามด้วยไฟเรอื นยอด

2) ไฟเรือนยอดทไี่ ม่ตอ้ งอาศัยไฟผิวดนิ มักเกดิ ในปา่ ท่ีมีต้นไมท้ ีต่ ดิ ไฟไดง้ ่ายและ
มีเรือนยอดแน่นทึบติดต่อกัน การลุกลามจะเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรงจากเรือนยอดหน่ึงไปสู่
อีกเรือนยอดหน่ึงที่อยู่ข้างเคียงได้โดยตรง จึงทาให้เกิดการลุกลามไปตามเรือนยอดอย่างต่อเน่ือง
ในขณะเดียวกนั ลูกไฟจากเรอื นยอดจะตกลงบนพนื้ ป่า กอ่ ให้เกิดไฟผิวดนิ ไปพร้อม ๆ กันดว้ ย

2.3 ผลกระทบทเ่ี กดิ จากไฟปา่
ไฟป่าที่เกิดขึ้นในพ้ืนที่หนึ่ง ๆ ไม่เพียงแต่จะก่อความเสียหายแก่พื้นท่ีเท่านั้น แต่จะ

สง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและระบบนเิ วศโดยรวมของโลกหลายดา้ น เช่น เปน็ ผลเสยี ตอ่ สังคมพืช
ผลเสียต่อดิน ผลเสียต่อทรัพยากรน้า ผลเสียต่อสัตว์ป่าและส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในป่า ผลเสียต่อชีวิต
และทรพั ยส์ ินของมนุษย์ และผลเสยี ตอ่ สภาวะอากาศของโลก ซึง่ ผลเสียหายดงั กลา่ ว มีดงั นี้

2.3.1 ผลเสียของไฟป่าต่อสังคมพืช เมื่อเกิดไฟป่าข้ึนจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ด้านโครงสร้างของป่า โดยเฉพาะพ้ืนท่ีป่าท่ีถูกไฟไหม้ซ้าซากเป็นประจาทุกปี จะมีผลทาให้
โครงสร้างของป่าเปล่ียนแปลงไป ต้นไม้จะถูกไฟไหม้ตายหมด พื้นที่ป่าจะคงเหลือแต่พืชที่ปรับตัว
ได้ดี เชน่ หญ้าคา จนสภาพปา่ กลายเปน็ ทุ่งหญา้

2.3.2 ผลเสียของไฟป่าต่อดิน ความร้อนจากการเผาผลาญของไฟป่า ทาให้พ้ืนดิน
เสื่อมความอุดมสมบูรณ์ หน้าดินท่ีเปิดโล่ง ทาให้ดินสูญเสียความช้ืน นอกจากนี้ จุลินทรีย์ที่อาศัย
อยู่ในดินถกู ทาลาย ดินปราศจากแรธ่ าตุอาหารไม่สามารถท่ีจะเอ้ืออานวยประโยชน์ตอ่ การดารงชีพ
ของพืชอีกต่อไป

2.3.3 ผลเสียของไฟป่าต่อทรัพยากรน้า ไฟป่าทาให้เกิดความร้อน น้าที่มีอยู่จะ
ละเหยไป เมื่อผืนป่าถูกไฟไหม้ ความสามารถในการดูดซับน้าลดลง เม่ือถึงฤดูแล้งในช้ันดินไม่มีน้า
เก็บสะสมอยู่ตามช่องรูพรุนของดิน จึงไม่มีน้าไหลออกมาหล่อเล้ียงลาน้า ทาให้เกิดภาวะแห้งแล้ง
ขาดแคลนน้า เพ่ือการอุปโภคบริโภค และเพื่อการเกษตร ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
ความเป็นอยู่ของมนุษย์

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 77

2.3.4 ผลเสียของไฟป่าต่อสัตว์ป่าและสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เม่ือเกิดไฟไหม้ป่า สัตว์เล็ก
ท่ีหากินอยู่บนพื้นป่าจะถูกควันไฟรมและถูกไฟคลอกตาย นอกจากน้ีไฟป่ายังทาลายแหล่งอาหาร
และเปล่ียนแปลงสภาพแหลง่ ท่ีอย่อู าศัย ทาให้ไม่เหมาะสมต่อการดารงชวี ิตของสตั ว์ป่าอกี ตอ่ ไป

2.3.5 ผลเสียของไฟป่าต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ ไฟป่าเมื่อเกิดขึ้นแล้ว
ลุกลามเขา้ ไหม้บา้ นเรือน เรือกสวน ไร่นา และทรพั ยส์ ินของประชาชน ท่อี าศยั อยู่ใกล้ ประชาชนไร้
ทอี่ ยอู่ าศัย ล้มตาย หรอื ได้รับบาดเจบ็ จากไฟปา่ ควนั ไฟ ยังก่อให้เกิดโรคระบบทางเดนิ หายใจทาให้
มีจานวนผู้ป่วยเพ่ิมมากขึ้น นอกจากนี้ป่าที่เคยเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่สวยงามก็หมดสภาพลง ส่งผล
ให้จานวนนักท่องเที่ยวลดลง ทาให้ขาดรายได้จากการท่องเท่ียว เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
โดยรวมของประเทศ

2.3.6 ผลเสียของไฟป่าต่อสภาวะอากาศของโลก ไฟป่าก่อให้เกิดสภาวะเรือน
กระจก ซึ่งมีผลทาให้อุณหภูมิของโลกสูงข้ึน และอุณหภูมิที่สูงขึ้น ยังทาให้ระบบนิเวศของโลกเสีย
สมดุลตามธรรมชาติ ทาให้เกดิ การก่อตวั ของพายทุ ี่มีความรนุ แรง ฝนตกไมส่ ม่าเสมอ ไมต่ กต้องตาม
ฤดูกาล สรา้ งความเสยี หายต่อการประกอบอาชีพและสง่ ผลถงึ ระบบเศรษฐกิจของประเทศทต่ี ามมา
อีกด้วย

2.4 ฤดกู าลเกดิ ไฟปา่ ในแต่ละพืน้ ทขี่ องประเทศไทยและในแถบเอเชีย
2.4.1 ฤดูกาลเกิดไฟป่าในประเทศไทย การเกิดไฟป่ามักจะเกิดช่วงฤดูร้อน เพราะ

ในชว่ งฤดรู อ้ นอากาศแหง้ ตน้ ไมข้ าดน้า หญา้ หรือต้นไม้เลก็ ๆ อาจจะแห้งตายกลายเป็นเชื้อเพลิงได้
เป็นอย่างดี การเกิดไฟป่าในแต่ละภมู ภิ าคของประเทศไทย จะมีดงั น้ี

1) ภาคเหนอื มักเกดิ ในช่วงระหวา่ งเดอื นเมษายนถงึ เดอื นพฤษภาคมของทกุ ปี
2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักเกิดในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน
พฤษภาคมของทุกปี
3) ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก และภาคใต้ มักเกิดในชว่ งระหว่างเดือนมนี าคม
ถงึ เดือนพฤษภาคมของทกุ ปี
2.4.2 ฤดูกาลเกิดไฟป่าในเอเชีย การเกิดไฟป่าในประเทศแถบเอเชียท่ีเป็นความ
รุนแรงและกินบริเวณมหาศาล ส่วนใหญ่เกิดขึ้นท่ีประเทศอินโดนีเซีย ซ่ึงส่งผลกระทบเร่ือง
หมอกควัน ไปยังประเทศอ่ืนๆอกี หลายประเทศ เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ รวมถึงภาคใตข้ องประเทศ
ไทยด้วย ซึ่งมักจะเกิดในช่วงเดือนตุลาคม ซ่ึงเป็นหน้าแล้งของอินโดนีเซีย โดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ี
เกาะกาลิมันตัน หรอื เกาะบอร์เนยี วเหนือ และทเี่ กาะสุมาตรา

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 78

เรอ่ื งที่ 3 สถานการณ์ไฟป่า

3.1 สถานการณก์ ารเกิดไฟปา่ ในประเทศไทย
ในประเทศไทย แม้จะยังไม่มีการศึกษาถึงประวัติการเกิดไฟป่าอย่างจริงจังมาก่อน

แต่จากการศึกษาประวัตกิ ารเจริญเตบิ โตของตน้ ไม้ท่ีมีอายุนบั รอ้ ยปโี ดยการวิเคราะห์วงปีของต้นไม้
พบหลักฐานว่าได้เกิดไฟป่าขึ้นหลายครั้งในช่วงชวี ิตของต้นไม้นั้น ๆ จึงพอบอกได้ว่าอย่างน้อยท่ีสุด
กม็ ไี ฟไหมป้ า่ มาเปน็ เวลานบั รอ้ ยปีแล้ว

อย่างไรก็ตามในอดีตน้ัน พื้นท่ีประเทศไทยยังมีป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์และเป็นป่า
ประเภทท่ีมีความชุ่มช้ืนสูง ไฟป่าท่ีเกิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์มีไม่บ่อยนัก จึงอยู่ในวิสัยท่ีกลไก
ของธรรมชาตจิ ะปรับตวั เพอื่ รกั ษาสภาวะสมดุลของระบบนเิ วศป่าไม้เอาไวไ้ ด้

แต่ในช่วง 20 - 30 ปีท่ีผ่านมา อัตราการเพ่ิมของประชากรไทยเป็นไปอย่างรวดเร็ว
ทาให้ความจาเป็นในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้มีมากข้ึนตามไปด้วย ป่าไม้ถูกแผ้วถาง
เป็นพื้นท่ีทางการเกษตรกรรม พ้ืนที่ป่าถูกจัดสรรให้เป็นที่ต้ังและขยายชุมชนต่าง ๆ ทาให้พ้ืนท่ีป่า
ถูกทาลาย ผืนป่าทีเ่ หลืออยกู่ ็อยูใ่ นสภาพเสอ่ื มโทรมและเปล่ียนแปลงไปสู่ป่าทมี่ ีความชุ่มชื้นน้อยลง
เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าละเมาะและป่าหญ้า ซ่ึงเป็นป่าที่เกิดไฟป่าได้ง่าย ประกอบกับ
ความยากจนของผู้คนในชนบทบีบบังคับให้ประชาชนต้องอาศัยป่าเพื่อการยังชีพมากข้ึน ไม่ว่าจะ
ด้วยการเก็บหาของป่า ล่าสัตว์ บุกรุกป่าเพ่ือทาการเกษตร กิจกรรมเหล่านี้ล้วนต้องใช้ไฟและเป็น
สาเหตใุ ห้เกิดไฟปา่ ทัง้ สน้ิ

ไฟป่าจากกิจกรรมของประชาชนมีความถี่และความรุนแรงมากเกินกว่าที่กลไก
ธรรมชาติจะปรับตัวเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศป่าไม้เอาไว้ได้ ไฟป่าจึงกลายเป็นปัจจัยท่ีสร้าง
ความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อทรัพยากรป่าไม้และส่ิงแวดล้อม ส่งผลให้ไฟป่ากลายเป็นปัญหา
สาคัญระดบั ชาติที่ทุกฝา่ ยตระหนกั และห่วงใยอย่ใู นขณะน้ี

ไฟป่าบรเิ วณทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 108 ในเขตพ้ืนทีจ่ งั หวัดแมฮ่ ่องสอน เมอื่ เดือนมีนาคม 2553
มสี าเหตจุ ากชาวบ้านจดุ ไฟเผากระตุ้นการเจรญิ เตบิ โตของเหด็ เผาะ แล้วลกุ ลามเปน็ ไฟปา่

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 79

ปัจจุบัน จากการสารวจพ้นื ท่ไี ฟไหม้ปา่ เปรยี บเทียบการเกดิ ไฟไหมป้ า่ ในชว่ งเวลาเดยี วกัน
ระหวา่ งปี พ.ศ. 2557 - 2558 พบว่าภาคเหนือมพี นื้ ทีป่ ่าท่ีถกู ไฟไหมม้ ากท่ีสุด

ตารางเปรยี บเทียบการเกดิ ไฟไหมป้ ่า ระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2559

1 ตุลาคม 57 – 29 มถิ นุ ายน 58 1 ตุลาคม 58 -29 มถิ ุนายน 59
พื้นที่ ดบั ไฟป่า(ครัง้ ) พืน้ ท่ีถกู ไฟไหม้(ไร่) ดบั ไฟป่า(ครง้ั ) พ้ืนที่ถูกไฟไหม้(ไร)่

1. ภาคเหนอื 3,444 35,862.14 4,536 70,397.29

2. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1,077 14,848.57 1,560 26,702.58

3. ภาคกลางและภาคตะวันออก 392 7,137 530 11,100.13

4. ภาคใต้ 56 1,951.14 113 10,126.50

รวม 4,969 59,798.85 6,739 118,326.50

หมายเหต:ุ ข้อมลู จาก ส่วนควบคมุ ไฟปา่ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธุ์พชื
http://www.dnp.go.th/forestfire/2546/firestatistic%20Th.htm

3.2 สถานการณก์ ารเกิดไฟป่าของประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย
บนพ้ืนผิวโลกเกือบทุกทวีป ต่างเคยประสบกับปัญหาการเกิดไฟป่ามาแทบท้ังส้ิน

การเกิดไฟป่ามีความรุนแรงมากหรือน้อยแตกต่างกันไป แม้แต่ประเทศที่มีความเจริญ
ทางเทคโนโลยกี ไ็ มอ่ าจหลีกเลย่ี งการเกดิ ไฟปา่ ได้ เชน่

ไฟไหม้ป่าที่อินโดนเี ซีย
การเกิดเหตุไฟไหม้ป่าบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ไม่เพียงก่อให้เกิดความ
เดือดรอ้ นเฉพาะในประเทศอินโดนีเซียเท่าน้ัน แตก่ ลุม่ ควนั สีดาที่หนาทบึ ถูกลมพัดพาเข้าสู่ประเทศ
เพื่อนบ้านใกลเ้ คียง เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ รวมถึงทางภาคใตข้ องประเทศไทยด้วย

ผลจากไฟไหม้ปา่ ที่เกาะสมุ าตราประเทศอนิ โดนีเซยี
ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 80

ไฟไหมป้ ่าทป่ี ระเทศมาเลเซยี
เม่ือเดือนมีนาคม 2558 มาเลเซียได้ประสบปัญหาหมอกควันในเมืองหลวง
กรงุ กัวลาลมั เปอร์ และเมืองโดยรอบ เนอื่ งจากปัญหาไฟป่าที่เกดิ จากภาวะแห้งแล้งภายในประเทศ
กรุงกัวลาลัมเปอร์เผชิญปัญหาหมอกควันจากไฟป่าเมื่อย่างเข้าฤดูร้อน ส่งผลให้มลพิษในอากาศ
เพิ่มสูงจนถงึ ข้ันเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ

สภาพบรรยากาศหลงั จากไฟไหมป้ า่ ในมาเลเซีย

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 81

เรอื่ งที่ 4 แนวทางการป้องกันและการแกไ้ ขปัญหาทเี่ กดิ จากไฟปา่

4.1 การเตรียมความพร้อมเพือ่ ป้องกนั การเกดิ ไฟปา่
4.1.1 ร่วมกนั ดูแลเพือ่ รักษาพนื้ ทป่ี ่าไม้ ไมต่ ัดไมท้ าลายป่า เพ่อื สร้างความชมุ่ ช้นื และ

รักษาสมดุลทางระบบนิเวศของผืนปา่ จะช่วยลดความเสย่ี งต่อการเกิดไฟป่า
4.1.2 กาจัดวัสดุท่ีเป็นเชื้อเพลิง โดยเก็บกวาดใบไม้แห้ง ก่ิงไม้แห้ง หรือหญ้าแห้ง

ไม่ใหก้ องสุม เพราะหากเกดิ ไฟไหม้ จะเปน็ เช้อื เพลิงท่ีทาให้ไฟลกุ ลามเป็นไฟปา่
4.1.3 สร้างแนวป้องกันไฟกันไฟลุกลามไปยังพ้ืนที่ใกล้เคยี ง โดยจัดทาคันดินกั้น หรือ

ขุดเป็นร่องดินล้อมรอบพ้ืนท่ี จะช่วยสกัดมิใหไ้ ฟลุกลามอย่างรวดเร็ว รวมถึงตรวจสอบแนวกันไฟมิ
ให้มีต้นไม้พาดขวาง เพราะหากเกิดไฟป่า จะทาให้เพลิงลุกลามไหม้ต้นไม้ข้ามแนวกันไฟ ส่งผลให้
ไฟปา่ ขยายวงกว้างขนึ้

4.1.4 งดเว้นการเผาขยะหรือวัชพืชใกล้แนวชายป่าหรือในป่า ให้กาจัดโดยการฝัง
กลบแทนการเผา เพื่อลดความเสย่ี งทีท่ าใหไ้ ฟลกุ ลามกลายเปน็ ไฟปา่

4.1.5 ไม่เก็บหาของป่าหรือล่าสัตว์ด้วยวิธีจุดไฟหรือรมควัน เช่น การหาเห็ด ไม้ไผ่
ใบตองตึง นา้ ผ้งึ ผกั หวานป่า ไข่มดแดง หนู กระต่าย นก เปน็ ตน้ เพราะมคี วามเส่ยี งท่ไี ฟจะลกุ ลาม
เป็นไฟปา่

4.1.6 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงท่ีทาให้เกิดไฟป่า ไม่ทิ้งก้นบุหร่ีลงบนพงหญ้าแห้ง
หากก่อกองไฟ ควรดับไฟให้สนิททุกคร้ัง พร้อมจัดเตรียมถังน้าไว้ใกล้กับบริเวณท่ีก่อไฟ หากไฟ
ลุกลามจะได้ดบั ไฟทนั

4.1.7 ดูแลพ้ืนท่ีการเกษตร โดยหมั่นตัดหญ้าและเก็บกวาดใบไม้แห้งมิให้กองสุม
เพราะหากเกิดไฟไหม้ จะเป็นเชื้อเพลงิ ทีท่ าใหไ้ ฟลกุ ลามกลายเปน็ ไฟป่า

4.1.8 เตรียมพ้ืนที่การเกษตรหรือเพาะปลูกพืชโดยวิธีฝังกลบ ไม่เผาตอซังข้าวและ
วัชพืชในพน้ื ที่เกษตร เพราะจะเพ่มิ ความเส่ียงท่ีไฟจะลกุ ลามกลายเป็นไฟป่า

4.1.9 เพ่ิมความระมัดระวังการจุดไฟหรือก่อกองไฟในป่าเป็นพิเศษ ไม่จุดไฟใกล้
บริเวณท่ีมีก่ิงไม้ หญ้าแห้งกองสุม เพราะจะเพ่ิมความเสี่ยงต่อการเกิดไฟป่า พร้อมดับไฟให้สนิท
ทุกครงั้ เพื่อป้องกันไฟลุกลามเปน็ ไฟป่า

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ้ภู ัยธรรมชาติ 2 - 82

4.2 การปฏิบัติขณะเกิดไฟปา่
4.2.1 กรณไี มม่ ีเคร่ืองมอื ดับไฟปา่
1) กรณีท่ียังไม่มีอุปกรณ์ เคร่ืองมือหรือยังไม่มีเจ้าหน้าที่ดับเพลิงจากหน่วย

ควบคุมไฟป่า อย่าเส่ียงเข้าไปดับไฟ เว้นแต่เป็นการลุกไหม้เล็กน้อยของไฟที่เกิดจากพวกหญ้า
ตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ หญ้าคา หญา้ ขจรจบ หรอื หญ้าสาบเสือ เป็นตน้

2) ควรช่วยกันตัดกิ่งไม้สด ตีไฟที่ลุกไหม้ตามบริเวณหัวไฟให้เชื้อเพลิงแตก
กระจาย แลว้ ตขี นานไปกับไฟปา่ ท่กี าลงั จะเร่ิมลุกลาม

3) ถ้ามีรถแทร็กเตอร์ ควรไถไร่อ้อยหรือต้นข้าวให้โล่งว่าง เพ่ือทาเป็นแนว
กันไฟ ไม่ใหเ้ กิดการติดตอ่ ลกุ ลามได้

4.2.2 กรณมี อี ุปกรณ์ เครื่องมือดับไฟปา่
เครอ่ื งมือพนื้ ฐานในการดบั ไฟปา่
1) ที่ตบไฟ ส่วนหัวจะทาจากผ้าใบหนาเคลือบด้วยยางขนาด 30 x 40

เซนติเมตร ใช้ในการดับไฟทางตรง โดยการตบคลุมลงไปบนเปลวไฟเพ่ือป้องกันไม่ใหอ้ ากาศเข้าไป
ทาปฏิกิริยากับไฟ เปลวไฟก็จะดับลง เหมาะสาหรับการดับไฟที่ไหม้เชื้อเพลิงเบา ได้แก่ หญ้าและ
ใบไมแ้ หง้ เปน็ ตน้

2) ถังฉีดน้าดับไฟ อาจเป็นถังประเภทถังแข็งคงรูป หรือถังอ่อนพับเก็บได้ ใช้
สาหรับฉดี ลดความร้อนของไฟในการดับไฟทางตรงเพ่ือให้เคร่ืองมือดับไฟป่าชนิดอ่ืนสามารถเข้าไป
ทางานทีข่ อบของไฟได้ นอกจากน้ียังใชฉ้ ีดดับไฟทย่ี ังคงเหลืออยู่ในโพรงไม้ ในรอยแตกของไม้ หรือ
ในฐานกอไผ่ ที่เครอ่ื งมืออื่นเขา้ ไปไมไ่ ด้

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 83

3) ครอบไฟปา่ ลักษณะของครอบไฟป่าดา้ นหน่ึงจะเปน็ จอบ อกี ด้านหนงึ่ เป็น
คราด ใชใ้ นการทาแนวกันไฟ โดยใช้ด้ามท่เี ป็นจอบในการถากถาง ขุด สบั ตัด เช้ือเพลิงทีเ่ ป็นวัชพืช
จากนนั้ จึงใช้ด้านท่ีเป็นคราด คราดเอาเช้อื เพลิงเหล่าน้ีออกไปทิ้งนอกแนวกันไฟ

ทตี่ บไฟ ถังฉดี น้าสาหรับดบั ไฟ ครอบไฟป่า
4) พล่ัวไฟป่า ตัวพล่ัวปลายจะเรียวแหลมและมีคมสามด้านใช้ขุด ตัดถาก

ตักและสาด ตบไฟ รวมทั้งใชใ้ นการขุดหลมุ บคุ คลสาหรับเป็นท่หี ลบกาบังจากไฟป่าในกรณีฉกุ เฉนิ
5) ขวานขุดไฟป่าหรือพูลาสก้ี หัวเป็นขวานอีกด้านหนึ่งเป็นจอบหน้าแคบ

ใช้ในการขุดร่องสนาม เพ่ือเป็นแนวกันไฟในการดับไฟก่ึงผิวดินกึ่งใต้ดิน โดยการใช้ด้านท่ีเป็นจอบ
หนา้ แคบในการขุดดนิ และเชือ้ เพลงิ ในขณะที่ดา้ มที่เป็นขวานใชใ้ นการตัดรากไม้ทสี่ านกนั แนน่

6) คบจุดไฟ ใช้เป็นเครื่องมือในการจุดไฟ เพื่อชิงเผากาจัดเชื้อเพลิงหรือใช้ใน
การจุดไฟเผากลับในการดบั ไฟด้วยไฟ

พลั่ว ขวานขดุ ไฟป่า คบจุดไฟ
4.3 การปฏิบัตหิ ลงั เกดิ ไฟปา่

4.3.1 ตรวจดบู รเิ วณที่ยงั มีไฟคุกรุน่ เมอ่ื พบแล้วจัดการดบั ให้สนิท
4.3.2 ค้นหาและชว่ ยเหลือคน สตั ว์ทห่ี นีไฟออกมาและไดร้ ับบาดเจบ็
4.3.3 ระวงั ภัยจากสตั ว์ที่หนไี ฟปา่ ออกมา จะทาอนั ตรายแก่ชวี ติ และทรพั ย์สนิ ได้
4.3.4 ทาการปลกู ปา่ ทดแทน ปลูกพืชคลมุ ดิน ปลูกไมโ้ ตเรว็

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 84

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6
หมอกควนั

สาระสาคัญ

หมอกควัน เป็นปัญหาสาคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทยในช่วงหน้าแล้ง สาเหตุของ
การเกิดหมอกควัน คือ ไฟป่า การเผาพื้นที่ทางการเกษตร การเผาขยะ ฝุ่นควันจากคมนาคม
ในเมืองใหญ่และโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ปัจจัยที่ทาให้เกิดปัญหาหมอกควัน คือ การเผา
ทั้งภายในประเทศและในประเทศเพ่ือนบ้าน สภาพภูมิประเทศท่ีเป็นหุบเขาหรือมีเขาล้อมรอบ
และสภาพภูมิอากาศท่ีมีความกดอากาศสูง ปัญหาหมอกควันส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ
ประชาชนในพื้นท่ีเป็นบริเวณกว้าง อีกทั้งส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจและการคมนาคมอีกด้วย
ผู้ท่ีอยู่ในพื้นท่ีที่อาจเผชิญกับภาวะปัญหาหมอกควันควรรู้จักวิธีเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับ
ปัญหาหมอกควนั และรู้จักวิธปี ฏบิ ัตติ นท่ถี ูกตอ้ งเม่อื เผชิญกบั ปญั หาหมอกควนั

ตัวช้วี ดั

1. บอกความหมายของหมอกควนั
2. บอกสาเหตุและปัจจัยการเกิดหมอกควนั
3. บอกผลกระทบทีเ่ กิดจากหมอกควัน
4. บอกสถานการณ์หมอกควันในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในเอเซยี
5. บอกวิธีการเตรียมความพรอ้ มรบั สถานการณ์การเกดิ หมอกควัน
6. บอกวธิ ีปฏบิ ัติขณะเกิดหมอกควัน

ขอบขา่ ยเน้ือหา

เร่อื งที่ 1 ความหมายของหมอกควนั
เร่อื งท่ี 2 ลกั ษณะการเกิดหมอกควัน

2.1 สาเหตุการเกดิ หมอกควัน
2.2 ปัจจยั การเกิดหมอกควัน
2.3 ผลกระทบท่เี กดิ จากหมอกควัน
เรอ่ื งที่ 3 สถานการณ์หมอกควนั
3.1 สถานการณก์ ารเกิดหมอกควันในประเทศไทย
3.2 สถานการณก์ ารเกิดหมอกควันในทวปี เอเซยี

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 85

เรอื่ งท่ี 4 แนวทางการป้องกนั และแก้ปญั หาหมอกควัน
4.1 การเตรยี มความพรอ้ มรับสถานการณก์ ารเกิดหมอกควนั
4.2 การปฏิบตั ิขณะเกิดหมอกควนั
4.3 การปฏิบัตหิ ลังการเกิดหมอกควัน

เวลาทใี่ ชใ้ นการศึกษา 12 ชว่ั โมง
สือ่ การเรียนรู้

1. ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2
2. สมดุ บันทกึ กิจกรรมรายวชิ าการเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2
3. ส่ือส่งิ พมิ พ์ เช่น แผน่ พับ โปสเตอร์ ใบปลิว เป็นต้น

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 86

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของหมอกควนั

มลพิษทางอากาศ (Air Pollution) คือ สภาพอากาศท่ีมีสารเจือปน และถ้าสารเจือปน
สะสมอยู่ในอากาศเป็นเวลานาน จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ และพืชผลต่าง ๆ
รวมท้งั สงิ่ แวดลอ้ มรอบ ๆ

หมอก (Fog, Mist) คือ เมฆท่ีเกิดในระดับใกล้พื้นดิน ซึ่งทาให้ทัศนวิสัยหรือการมองเห็น
เลวลง เป็นอันตรายท้ังทางบกและทางอากาศ ในวันท่ีมีอากาศช้ืนและท้องฟ้าใส เม่ือถึงเวลา
กลางคืนพ้ืนดินจะเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว ทาให้ไอน้าในอากาศเหนือพื้นดินควบแน่นเป็นหยดน้า
เกิดเป็นหมอกข้ึน หมอกซึ่งเกิดข้ึนโดยวิธีน้ีจะมีอุณหภูมิต่าและมีความหนาแน่นสูง เคลื่อนตัวลงสู่
ทต่ี ่าและมอี ยู่อยา่ งหนาแน่นในบรเิ วณหบุ เหว

หมอกควัน (Haze, Smog) คือปรากฏการณ์ที่ฝุ่น ควัน และอนุภาคแขวนลอยในอากาศ
รวมตัวกันในสภาวะทีอ่ ากาศปิด

หมอกควันเกินได้ง่ายในสภาพอากาศแห้ง แตกต่างจากหมอกท่ีสภาพอากาศต้องมี
ความชนื้ สงู หมอกควนั จดั เป็นมลพษิ ทางอากาศอยา่ งหนง่ึ

เรอื่ งท่ี 2 ลักษณะการเกิดหมอกควัน

ฝนุ่ ละอองท่มี อี ยใู่ นบรรยากาศโดยทั่วไปมีขนาดตัง้ แต่ 0.002 ไมครอน ซง่ึ มองไมเ่ หน็ ด้วย
ตาเปล่า ไปจนถึงขนาดใหญ่กว่า 500 ไมครอนเป็นฝุ่นทรายขนาดใหญ่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
ฝุ่นละอองท่ีแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานมักจะเป็นฝุ่นละอองขนาดเล็ก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
น้อยกว่า 10 ไมครอน หากมีการไหลเวียนของอากาศและกระแสลม ก็จะทาให้แขวนลอยอยู่ใน
อากาศได้นานมากข้ึน ฝุ่นละอองที่มีขนาดใหญ่ คือขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 100 ไมครอน
อาจแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้เพียง 2-3 นาที แต่ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 0.5 ไมครอน
อาจแขวนลอยอย่ใู นอากาศไดน้ านเป็นปี

ช้ันบรรยากาศท่ีมีอุณหภูมิผกผันและหมอกควันเปรียบเสมือนกาแพง ที่ก้ันไม่ให้ฝุ่นหรือ
ควันลอยขึ้นไปยังบรรยากาศช้ันบนได้ มักเกิดในช่วงฤดูหนาวก่อนเข้าสู่ฤดูร้อน เพราะเป็นช่วงที่
อากาศน่ิง ช้ันของอากาศเย็นมีความหนาแน่นสูงกว่า และมีความช้ืนน้อยกว่า จากสภาพความกด
อากาศสูงดังกล่าวทาให้ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่ถกู พัดพาข้นึ สู่ชนั้ บรรยากาศระดับสูง แต่จะวนเวยี น
อยู่ในระดับท่ีประชาชนอยู่อาศัย จึงกลายเป็นลักษณะโดมอากาศ ดังนั้นฝุ่นควันจึงถูกกักไว้ และ
สง่ ผลกระทบทางสขุ ภาพอยา่ งหลกี เลย่ี งไม่ได้

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 87

หมอกควัน ประกอบด้วยฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ซ่ึงเกิดจาก
กระบวนการเผาไหม้หรือสันดาปที่ไม่สมบูรณ์ ฝุ่นละอองขนาดเล็กเหล่านี้ สามารถเข้าสู่ระบบ
ทางเดินหายใจของมนุษย์ และจะเกาะตัวหรือตกตัวได้ในส่วนต่าง ๆ ของระบบทางเดินหายใจ
ก่อให้เกิดการระคายเคืองและทาลายเน้ือเย่ือของอวัยวะน้ัน ๆ เช่นเนื้อเย่ือปอด ซึ่งหากได้รับใน
ปริมาณมากหรือในช่วงเวลานาน จะสามารถสะสมในเน้ือเยื่อปอด เกิดเป็นผังผืดหรือแผลขึ้นได้
จะทาให้การทางานของปอดเสื่อมประสิทธิภาพลง หลอดลมอักเสบ เกิดหอบหืด ถุงลมโป่งพอง
และมโี อกาสเกดิ โรคระบบทางเดนิ หายใจเนอ่ื งจากตดิ เชื้อเพิ่มข้นึ ได้

2.1 สาเหตุและปจั จัยการเกดิ หมอกควนั
2.1.1 สาเหตุของการเกิดหมอกควัน ประกอบดว้ ย
1) ไฟป่า ไฟป่าเป็นสาเหตุสาคัญท่ีทาให้เกิดหมอกควัน การเผาไหม้เชื้อเพลิง

จาพวกเศษไม้ เศษใบไม้ เศษวัชพืช ปริมาณมากเช่นนี้ ทาให้เกิดเป็นหมอกควันปกคลุมอยู่ใน
บริเวณท่ีเกดิ ไฟป่าและพ้ืนที่ใกล้เคียง เมือ่ มีการพัดพาของกระแสลมจะทาให้หมอกควันกระจายตัว
ไปยงั พน้ื ทีอ่ ่นื ๆ

หมอกควนั ทเี่ กิดจากไฟปา่

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ้ภู ัยธรรมชาติ 2 - 88

โดยทัว่ ไปไฟป่าจะเกิดจาก 2 สาเหตุ คือ
- เกิดจากธรรมชาติ เช่น ฟ้าผ่า ก่ิงไม้เสียดสี ภูเขาไฟระเบิด ก้อนหิน
กระทบกัน แสงแดดตกกระทบผลึกหิน แสงแดดส่องผ่านหยดน้า ปฏิกิริยาเคมีในดินป่าพรุ
การลุกไหม้ในตัวเองของสง่ิ มีชีวติ
- เกิดจากมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นความประมาท คะนอง หรือต้ังใจก่อให้เกิด
ไฟป่า โดยมีสาเหตุต่าง ๆ กันไป เช่น การจุดไฟเผาเพื่อให้พ้ืนท่ีป่าโล่งเดินสะดวก การจุดไฟเพ่ือ
ล่าสัตว์ เก็บหาของป่า การจุดไฟเผาป่าเพ่ือบุกรุกครอบครองพื้นท่ีป่า การจุดไฟเผาป่าให้โล่ง
มีสภาพเป็นทุ่งหญ้าเพ่ือเป็นแหล่งอาหารสัตว์ สาเหตุของการเกิดไฟป่าในประเทศไทยพบว่า
สว่ นใหญ่เกิดจากมนุษย์
2) การเผาเศษวัชพืช วัสดุทางการเกษตร และวัชพืชริมทาง เช่น ซังข้าว
ซังข้าวโพด การเผาเศษหญ้าริมทาง ฯลฯ โดยเกษตรกรมีความเชื่อว่าการเผาเป็นการกาจัดเศษ
วัชพืชและเชื้อโรคในดินได้ ซ่ึงในการเตรียมดินเพาะปลูกจาเป็นท่ีต้องมีการถางพ้ืนท่ีเพื่อกาจัดเศษ
วัชพืช โดยการเผาเศษวัชพืชเป็นวิธีการท่ีเกษตรกรนิยมใช้กันมาก เนื่องจากเป็นวิธีการท่ีง่าย
สะดวก และประหยัด จากการติดตามคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ พบว่าในจังหวัดที่มี
การทาการเกษตรมาก เช่น ปทุมธานี อยุธยา อ่างทอง ราชบุรี สระบุรี กาญจนบุรี นครสวรรค์
เชยี งใหม่ ขอนแก่น จะมปี ริมาณของฝนุ่ ละอองในอากาศสูงในช่วงฤดแู ล้ง เนอ่ื งจากสภาวะอากาศท่ี
แห้งและน่ิง ทาให้ฝุ่นสามารถแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้นาน และในช่วงดังกล่าวเกษตรกรจะมี
การเผาเศษวสั ดุทางการเกษตรเพือ่ เตรียมพนื้ ทีส่ าหรบั ทาการเกษตรในช่วงฤดูฝน

การเผาเศษวัชพชื วสั ดทุ างการเกษตร และวัชพชื รมิ ทาง

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 89

3) การเผาขยะจากชุมชน การเผาขยะจากชุมชนถือว่าเป็นแหล่งปลดปล่อย
มลพษิ เข้าไปในบรรยากาศ โดยพบว่าปรมิ าณขยะมลู ฝอยท่ีเกดิ ขึน้ จากชมุ ชนรอ้ ยละ 70-80 ท่ีไดร้ บั
การกาจัด และมีเพียงร้อยละ 30 เท่าน้ันที่ได้รับการกาจัดถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ส่วนขยะที่
ไม่ได้รับการกาจัดจะถูกกองท้ิงกลางแจ้งและเผา การเผาขยะพบสารพิษหลายชนิดท่ีก่อให้เกิด
โรคมะเร็ง เช่น ไดออกซินซ่ึงเกิดจากการเผาไหม้พลาสติก ฟิวแรนเป็นสารก่อมะเร็งที่เกิดจาก
การเผาไหม้พลาสติกที่มีส่วนผสมของคลอรีน และสไตรีนเป็นสารก่อมะเร็งท่ีเกิดจากการเผาไหม้
ของโฟม เปน็ ตน้ ซ่ึงล้วนแต่ส่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพทัง้ ในระยะส้นั และระยะยาว

ควันจากการเผาขยะประกอบด้วยสารกอ่ มะเรง็ หลายชนดิ

4) การคมนาคมขนส่ง เป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเมืองที่มีการใช้ยานพาหนะในการคมนาคมและขนส่งมาก สารมลพิษมาจาก
การเผาไหม้ที่เกิดขึ้นภายในเครื่องยนต์ ได้แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น ออกซิแดนท์
สารอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เขม่า ก๊าซไนตริกออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ รวมทั้งก๊าซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ ซ่ึงปริมาณของสารมลพิษท่ีออกมาจากระบบท่อไอเสียน้ันจะมีความสัมพันธ์
กับความสมบูรณ์ในการเผาไหม้เชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ โดยพบว่าเคร่ืองยนต์ดีเซลจะปล่อยก๊าซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ออกมาน้อยกว่าเครื่องยนต์เบนซิน แต่ในขณะเดียวกันกลับปล่อยก๊าซ
ไนโตรเจนออกไซด์ และอนุภาคต่าง ๆ ออกมาสูงกวา่

หมอกควันจากการคมนาคม
ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 90


Click to View FlipBook Version