The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supapun.sj77, 2022-05-25 00:21:44

หนังสือเรียน

หนังสือเรียน

สาหรับพ้ืนที่เส่ียงภัยในทวีปเอเชียและประเทศต่าง ๆ ในโลกที่มีโอกาสสูงในการเกิด
เคลอื่ นสนึ ามไิ ด้ คอื บริเวณท่แี ผ่นเปลือกโลกเคล่ือนแบบมดุ ตัวและเกาะที่เกดิ จากภูเขาไฟ หรือแนว
ภูเขาไฟท่ีผุดข้ึนมาคู่กับร่องลึกในบริเวณของมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณดังกล่าวเรียกว่า “วงแหวน
แห่งไฟ”

สาหรับพ้ืนที่เส่ียงภัยในทวีปเอเชียและประเทศต่าง ๆ ในโลกมีความเก่ียวข้องกับประเทศ
ทต่ี ั้งอยูใ่ นแนววงแหวนแห่งไฟ (Ring of Fire) ดังได้กลา่ วไวใ้ นเร่อื งของแผ่นดนิ ไหว

ทีม่ า : https://engwell.wikispaces.com/RING+OF+FIRE+MAP

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 141

เร่อื งที่ 3 สถานการณ์การเกดิ สนึ ามิ

3.1 สถานการณก์ ารเกิดสึนามิในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี

เหตกุ ารณส์ ึนามิ 26 ธนั วาคม 2547 ในประเทศไทย

เหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ชาวไทย โดยเฉพาะ 6 จังหวัดภาคใต้ริมฝั่งทะเล
อันดามันไม่มีวนั ลมื คนท้งั โลกต้องจดจาและบนั ทกึ ไวใ้ นประวัตศิ าสตรโ์ ลก คือ เหตุการณ์ธรณีพิบัติ
สึนามิ ทค่ี ร่าชีวิตชาวโลกไปไมน่ ้อยกวา่ สองแสนคน

เช้าวันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2547 เป็นวันที่อากาศแจ่มใสตลอดชายฝั่งทะเลอันดา
มันของประเทศไทย ทะเลเรียบสงบ นักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและต่างประเทศท่ีเดินทางหลบลม
หนาวมาจากบ้านเมืองของตน เพื่อตากอากาศท่ีอบอุ่นบนชายหาดท่ีสวยงามริมชายฝ่ังทะเลอันดา
มันของไทย ไม่วา่ จะเป็นที่หาดในจงั หวดั ภูเกต็ ไข่มุกแหง่ อนั ดามนั เกาะพีพดี อน อ่าวนางทะเลน้าใส
แห่งจงั หวดั กระบี่ เขาหลักแหลง่ ทอ่ งเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดพงั งาที่มีช่ือไปทว่ั โลก นอกจากนี้ยังมี
นกั ทอ่ งเท่ยี วทไี่ ปยงั เกาะตา่ ง ๆ ทส่ี วยงามอีกจานวนมาก

ในหว้ งเวลาน้ีเป็นฤดูแห่งการทอ่ งเทีย่ วทางด้านทะเลอันดามัน เน่ืองจากเป็นชว่ งนอก
ฤดูมรสุม โดยมากสภาพอากาศจะแจม่ ใสทะเลสงบ ประกอบกบั ภูมปิ ระเทศทสี่ วยงาม และเปน็ ช่วง
ปลายปีท่ีมีเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ซึ่งมีชาวต่างประเทศและชาวไทยเข้ามาพักผ่อนใน
พื้นท่ีนจี้ านวนมาก ทกุ คนต่างมีความสขุ สดใสกบั วนั พกั ผ่อน ไม่มใี ครเคยคดิ ว่ามันจะเกิดมหันตภัยท่ี
กาลงั จะเขา้ มาคร่าชวี ติ อย่างไมท่ ันตง้ั ตัว

แม้ว่าในเช้าวันน้ันจะมีการรายงานข่าวทางสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ ถึงข่าวการ
เกิดแผ่นดินไหวในทะเลเหนือเกาะสุมาตรา มีความรุนแรงมากถึง 8.9 ริกเตอร์ เมื่อเวลาแปด
นาฬิกา ซ่ึงรู้สึกได้ถึงจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดชายฝ่ังทะเลอันดามันของไทยก็ตาม แต่ก็ไม่มีใคร
นึกถึงสิ่งท่ีจะเกิดขึ้นตามมาคือ “สึนามิ” คงเป็นเพราะไม่เคยมีการบันทึกในประวัติศาสตร์โลกมา
ก่อนว่าเคยเกิดในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งที่ผ่านมาเท่าที่มีการบันทึกในประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะเกดิ
ในมหาสมทุ รแปซิฟกิ

ประมาณหนึ่งชั่วโมงเศษถัดจากการเกิดแผ่นดินไหว สัญญาณเตือนทางธรรมชาติส่ิง
แรกก็มาถงึ ชายฝ่งั ประเทศไทย นนั้ คือระดบั นา้ ทะเลลดลงมากดว้ ยความรวดเรว็ อยา่ งไม่เคยเป็นมา
ก่อนถงึ ขนาดมีปลาขนาดใหญ่เกยต้ืน ผู้คนที่อยตู่ ามชายหาดต่างประหลาดใจกับเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึ้น
แต่กับคาดไม่ถึงว่าน้ันมันคือสัญญาณเตือนว่าจะมีมหันตภัยมาถึงตัว กลับมีบางคนว่ิงลงไปจับปลา
ทเ่ี กยตนื้ อยา่ งสนกุ สนาน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 142

ในเวลาไมถ่ งึ นาทตี ่อมา คล่นื ยกั ษส์ ึนามริ ะรอกแรกมันก็ปรากฏตัวใหญ่ทะมึนในทะเล
ทกุ คนทีเ่ หน็ ต่างรอ้ งตะโกนใหว้ ิง่ หนีขน้ึ ฝ่ัง ต่างคนตา่ งหนเี อาชีวติ รอด ด้วยความเรว็ ของคล่นื ขณะที่
ซัดเข้าฝั่งไม่น้อยกว่า 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยที่คลื่นยักษ์เดินทางข้ามทะเลอันดามันในช่วงท่ี
ทะเลมีความลึกมากจะมีความเร็วมากกว่า 500 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยความเร็วและรุนแรงหลาย
ระรอก คร่าชีวิตหลายคนที่หนีไม่รอด และกวาดทาลายล้างทุกส่ิงท่ีขวางทางมันไม่ว่าจะเป็นตึก
รามบา้ นชอ่ ง รถยนต์ต่างๆ เสียหายทงั้ หมดตลอดระยะทค่ี ลน่ื ซดั ถงึ

การเกดิ คลื่นสนึ ามใิ นทะเลอนั ดามนั เมื่อวนั ที่ 26 ธนั วาคม 2547
เดิมเคยเชื่อกันว่า ในบริเวณมหาสมุทรอินเดียคงจะไม่มีปรากฏการณ์คล่ืนสึนามิที่รุนแรง
เกิดข้ึน เพราะถงึ แมว้ ่าทางด้านตะวันออกของทะเลอันดามันจะเปน็ แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือก
โลกอนิ เดยี (Indian Plate) กบั แผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย (Eurasian Plate) และมีแผน่ ดนิ ไหวเกิดข้ึน
บอ่ ยครง้ั แต่กไ็ ม่เคยมคี ลน่ื สนึ ามิทที่ าลายชวี ติ และทรัพย์สนิ ของผู้คนตลอดระยะเวลาทผ่ี ่านมา
จนเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้เกิดคล่ืนสึนามิครั้งที่รุนแรงท่ีสุดในประวัติศาสตร์
มีผู้คนเสียชีวิตถึงประมาณ 220,000 คน นับเป็นภัยทางธรรมชาติที่มีผู้เสียชีวิตมากเป็นอันดับ 3
ของโลกเท่าท่ีมีการบนั ทึกไว้ โดยภัยธรรมชาติ ท่ีมีผู้เสียชีวิตมากเป็นอันดับ 1 เกิดจากพายุไซโคลน
พัดผ่านประเทศบังกลาเทศ เมื่อ พ.ศ. 2513 มีผู้เสียชีวิตประมาณ 300,000 คน และภัยทาง
ธรรมชาติท่ีมีผู้เสียชีวิตมากเป็นอันดับ 2 เกิดจากแผ่นดินไหว ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ของ
ประเทศจีน เม่อื ปพี .ศ. 2519 มีผเู้ สยี ชวี ติ ประมาณ 255,000 คน

ทม่ี า : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=30&chap=8&page=t30-8-infodetail05.html

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ้ภู ัยธรรมชาติ 2 - 143

แผนที่แสดงความสูงต่าของแผ่นดินในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงแนวที่
แผ่นเปลือกโลกอินเดียมุดลงใต้แผน่ เปลือกโลกยเู รเชีย ในทะเลอนั ดามัน ทีบ่ รเิ วณหมู่เกาะอนั ดามัน
หมู่เกาะนิโคบาร์ และเกาะสุมาตรา คลื่นสึนามิดังกล่าวเริ่มต้นข้ึนท่ีจุดกาเนิดของแผ่นดินไหวนอก
ชายฝ่ังด้านตะวันตกของหัวเกาะสุมาตราในประเทศอินโดนีเซีย แล้วเคล่ือนตัวแผ่ขยายไปท่ัวทะเล
อันดามัน จนถงึ ชายฝ่ังตะวนั ออกเฉียงใตข้ องประเทศอินเดียและเกาะศรีลังกา บางสว่ นของคลื่นยัง
เคลื่อนตัวไปถึงชายฝ่ังตะวันออกของทวีปแอฟริกาด้วย รวมประเทศท่ีประสบภัยจากคลื่นสึนามิ
และมีผู้เสียชีวิตในคร้ังน้ัน 11 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า อินเดีย บังกลาเทศ
ศรีลังกา มัลดีฟส์ โซมาเลีย แทนซาเนีย และเคนยา ในกรณีของประเทศไทย พิบัติภัยจากคล่ืน
สึนามิได้ก่อให้เกิดความต่ืนตระหนกแก่ประชาชนท่ัวท้ังประเทศ เพราะมีการสูญเสียทั้งชีวิตและ
ทรัพย์สินของผู้คนเป็นจานวนมากใน 6 จังหวัดภาคใต้ท่ีมีพ้ืนท่ีอยู่ติดกับชายฝั่งทะเลอันดามัน คือ
ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล โดยเฉพาะที่จังหวัดพังงา กระบี่ และภูเก็ต มีการสูญเสีย
มากท่ีสุด เป็นพิบัติภัยทางธรรมชาติที่เกิดข้ึนอย่างรุนแรงและรวดเร็ว โดยไม่มีผู้ใดคาดคิดมาก่อน
จึงไม่ไดม้ ีการระมัดระวังและป้องกนั ไวล้ ่วงหน้า

ลาดับเหตุการณ์ของการเกิดคลื่นสึนามิในทะเลอันดามัน เม่ือวันท่ี 26 ธันวาคม 2547 มี
ดังน้ี

เวลา 07.59 น. ตามเวลาในประเทศไทย ได้เกิดแผ่นดินไหว มีศูนย์กลางอยู่ที่บริเวณนอก
ฝงั่ ดา้ นตะวันตก ทางตอนเหนอื ของหัวเกาะสมุ าตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทลี่ ะตจิ ดู 3.3 องศาเหนือ
ลองจิจูด 95.8 องศาตะวันออก ลึกลงไปในแผน่ ดินประมาณ 30 กโิ ลเมตร มขี นาดความรุนแรง 8.9
ตามมาตราริกเตอร์ นับเป็นแผ่นดินไหว ครั้งรุนแรงท่ีสุดที่เกิดข้ึนในทะเลอันดามันและรุนแรงมาก
เป็นอันดบั 5 ของโลก นับตัง้ แต่ พ.ศ. 2500 เป็นตน้ มา ดงั แสดงในตารางข้างล่างนี้

อนั ดับท่ี ความรนุ แรง สถานท่เี กดิ พ.ศ.

1 9.5 ประเทศชิลี 2503

2 9.2 รฐั อะแลสกา ประเทศสหรฐั อเมริกา 2507

3 9.1 รฐั อะแลสกา ประเทศสหรฐั อเมริกา 2500

4 9.0 คาบสมทุ รคัมซตั คา ประเทศรัฐเซยี 2500

5 8.9 เกาะสมุ าตรา ประเทศอินโดนเี ซยี 2547

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 144

หลังจากเกดิ แผน่ ดนิ ไหวไม่นาน ได้เกิดคลนื่ สนึ ามิเคลอื่ นตัวเขา้ สูฝ่ ั่งตะวันตกเฉยี งเหนือสุด
ของเกาะสุมาตรา ในจังหวัดอาเจะห์ ความสูงและความรุนแรงของคล่ืนทาให้เมืองและชุมชนตาม
ชายฝั่งถูกทาลายอย่างกว้างขวาง มีผู้เสียชีวิตรวมกันทั้งหมดมากกว่า 150,000 คน บริเวณท่ีมี
ผู้เสียชีวิตมากที่สุดอยู่ท่ีเมืองบันดาอาเจะห์ (Banda Ajeh) ซึ่งเป็นเมืองหลักของจังหวัด รองลงมา
คือ ที่เมืองเมอลาโบะห์ (Meulaboh) ซึ่งเป็นเมืองชายทะเล อยู่ไปทางใต้ของเมืองบันดาอาเจะห์
นับเป็นการสูญเสียชีวิตของผู้คนจากภัยธรรมชาติครั้งใหญ่ท่ีสุดในประเทศอินโดนีเซีย เวลา
ประมาณ 10.00 น. คล่ืนสึนามิได้เริ่มเคลื่อนตัวมายังชายฝ่ังตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ซ่ึงอยู่
หา่ งจากจุดศูนยก์ ลางแผน่ ดินไหวประมาณ 500 - 600 กิโลเมตร กอ่ ให้เกิดความเสยี หาย ในบริเวณ
ชายฝ่ังตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย และภาคใต้ของไทย มีผู้เสียชีวิตท่ีเกาะปีนังในประเทศ
มาเลเซีย ประมาณ 70 คน และใน 6 จังหวัดภาคใต้ของไทย คือ จังหวัดสตูล ตรัง กระบ่ี พังงา
ภเู ก็ต และระนอง รวมกัน ประมาณ 5,400 คน

คล่ืนสึนามิส่วนหนึ่งเคลื่อนตัวต่อขึ้นไปทางเหนือจนถึงชายฝั่งของประเทศพม่าและ
ประเทศบังกลาเทศ ซ่ึงอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 1,500 - 1,700 กิโลเมตร
มผี ูเ้ สียชีวิตทบ่ี ริเวณปากแม่นา้ อิรวดี ของประเทศพม่า ประมาณ 60 คน สว่ นในประเทศบงั กลาเทศ
มีรายงานผเู้ สียชวี ิต 2 คน

คลื่นสึนามิส่วนท่ีเคล่ือนตัวจากเกาะสุมาตรามุ่งไปทางตะวันตก เคล่ือนท่ีผ่านหมู่เกาะ
อันดามันและหมู่เกาะนิโคบาร์ ซึ่งเป็นดินแดนของประเทศอินเดียกลางทะเลอันดามัน จากนั้น
เคล่ือนตัวต่อไปถึงชายฝ่ังของรัฐทมิฬนาฑู และทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย รวมทั้ง
บริเวณชายฝั่งตะวนั ออกของประเทศศรีลงั กา ซง่ึ เปน็ เกาะใหญ่ ทางใต้ของอินเดยี มีผเู้ สียชีวิตท่ีหมู่
เกาะอันดามันและหมู่เกาะนิโคบาร์ประมาณ 900 คน และท่ีรัฐทมิฬนาฑู ประมาณ 8,000 คน
ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ท่ีเมืองนาคาปัตตินัม (Nagapattinum) ส่วนในประเทศศรีลังกา มีผู้เสียชีวิต
ประมาณ 40,000 คน ต่อจากประเทศศรีลังกา คล่ืนสึนามิได้เคลื่อนตัวผ่านมหาสมุทรอินเดียไปถงึ
หมู่เกาะมัลดีฟส์ ซึ่งเป็นประเทศเล็กๆ ต้ังอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย ห่างจากเกาะศรีลังกาไปทางทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 650 กิโลเมตร เน่ืองจากประเทศนี้มีภูมิประเทศท่ีเป็นหมู่เกาะ จึงได้รับ
ความเสยี หายมาก มีรายงานผูเ้ สียชวี ติ ประมาณ 82 คน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 145

นักธรณีวิทยาให้ความเห็นว่า คล่ืนสึนามิท่ีเกิดข้ึนในทะเลอันดามันครั้งน้ี มีสาเหตุมาจาก
แผ่นเปลือกโลกอินเดีย ขยับตัวเลื่อนมาทางทิศตะวันออก และมุดลงใต้ขอบแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย
ทาให้เกิดแผ่นดินไหวตามแนวรอยต่อ ของแผ่นเปลือกโลก ซ่ึงมีลักษณะเป็นรอยเล่ือน (fault)
ขนาดใหญ่เป็นแนวยาว ต้ังแต่ทางตะวันออกของพม่า และตะวันตกของไทย ลงไปตามแนวของหมู่
เกาะอันดามัน และหมู่เกาะนิโคบาร์ จนถึงทางเหนือของเกาะสุมาตรา และเน่ืองจากแผ่นดินไหวมี
ความรุนแรงมากถึงระดับ 8.9 ตามมาตราริกเตอร์ จึงเกิดเป็นคล่ืนสึนามิ แผ่ขยายออกไปโดยรอบ
ในทะเลอันดามนั และบางสว่ นของมหาสมทุ รอนิ เดีย

3.2 สถิติการเกิดสนึ ามขิ องประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชยี
วันที่ 15 มถิ นุ ายน 2439 เกิดคล่ืนสึนามิ ชื่อ เมจซิ ันริจุ (Meiji Sanriju) ข้นึ ท่ปี ระเทศ

ญ่ีปุ่น เคล่ือนที่เข้าสู่ฝ่ัง ขนาดสูงประมาณ 30 เมตร มีผู้เสียชีวิตประมาณ 37,000 คน และ
บา้ นเรือนเสียหายประมาณ 10,000 หลงั

เกาะกรากะตวั
ภูเขาไฟบนเกาะกรากะตัว ในประเทศอินโดนีเซีย เกิดการระเบิดอย่างรุนแรงในปี
พ.ศ. 2426 หินเหลวละลายใต้ปล่องภูเขาไฟถูกพ่นออกมาจานวนมาก เกิดเป็นโพรงขนาดใหญ่ขึ้น
ใต้ดิน ทาให้พื้นแผ่นดินท่ีอยู่เบ้ืองบนและพ้ืนทะเลยุบตัวลง ส่งผลให้เกิดระลอกคลื่น
สึนามิขนาดใหญ่ขึ้น บางลูกมีความสูงกว่า 40 เมตรจากระดับน้าทะเล ระลอกคลื่นสึนามิท่ีเกิดข้ึน
จากการระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัวในอินโดนีเซียคร้ังนี้เคลื่อนตัวถาโถมเข้าสู่บริเวณช ายฝั่ง
มหาสมทุ รอนิ เดยี มหาสมทุ รแปซฟิ กิ ชายฝั่งตะวันตกของอเมรกิ า อเมรกิ าใต้ และบริเวณทหี่ ่างไกล
ออกไปอีกในช่องแคบอังกฤษ ส่วนพ้ืนที่ชายฝั่งใกล้เคียงในเกาะชวาและสุมาตรา กระแสน้าทะเล
ไหลบ่าท่วมทะลักเข้าไปถึงพ้ืนแผ่นดินภายในซ่ึงอยู่ห่างจากชายฝ่ังทะเลเข้าไปเป็นระยะทางหลาย
ไมล์สร้างความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงแก่สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในพ้ืนที่ภัยพิบัติครั้งน้ี และทาให้ไม่มี
การเข้าไปต้ังถ่ินฐานอาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าวอีกเลย ปัจจุบันพ้ืนที่บริเวณน้ีได้กลายเป็นเขตป่าทึบ
มชี อ่ื ว่า เขตอนุรกั ษธ์ รรมชาตอิ ูจงั กลู อน (Ujung Kulon nature reserve)

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ้ภู ัยธรรมชาติ 2 - 146

สึนามิจากแผน่ ดนิ ไหวในมหาสมุทรอินเดีย

พ.ศ. 2547 สึนามิจากแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอนิ เดยี คลื่นสึนามิครั้งแรกในประเทศไทย
เกิดจากแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ระลอกคลื่นยักษ์ดังกล่าวทา
ให้มีผู้เสียชีวิตล่าสุดจานวนกว่า 165,000 ราย (มากกว่า 105,000 รายเสียชีวิตในอินโดนีเซีย
คล่นื สึนามไิ ด้ถาโถมเขา้ ถล่มและครา่ ชีวติ ผคู้ นจานวนมากท่ีอาศัยอยู่ในพ้นื ทหี่ รอื บรเิ วณที่ใกลก้ ับจุด
เกิดแผ่นดินไหว เช่น อินโดนีเซีย ไทย และพ้ืนท่ีบริเวณชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงเหนือของ
มาเลเซีย ไปจนถึงพ้ืนที่ที่อยู่ห่างไกลออกไปหลายพันกิโลเมตรใน บังกลาเทศ อินเดีย
ศรีลงั กา หมูเ่ กาะมลั ดีลฟ์ และแม้กระท่งั โซมาเลีย เคนยา และแทนซาเนีย ซึ่งต้งั อยใู่ นแถบแอฟรกิ า
ตะวันออก

ประเทศในแถบมหาสมุทรอินเดีย ยังไม่มีระบบเตือนภัยคล่ืนสึนามิท่ีสมบูรณ์ ส่วนหน่ึง
เน่ืองจากไม่มีภัยพิบัติท่ีเกิดจากคล่ืนยักษ์ในภูมิภาคมานานแล้ว นับต้ังแต่เกิดคลื่นสึนามิจากการ
ระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัวในปี พ.ศ. 2426 ซึ่งทาให้มีผู้เสียชีวิต 36,000 คน ภัยพิบัติสึนามิใน
มหาสมุทรอินเดยี ล่าสดุ น้ีสง่ ผลให้ยูเนสโกและองคก์ ารระหว่างประเทศหลายแหง่ ออกมาเคลื่อนไหว
เรียกรอ้ งให้มกี ารจัดตง้ั ระบบเตือนภัยสึนามิโลกขน้ึ

ตารางแสดงสถติ ิการเกิดสึนามใิ นเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้

วันที่/เดอื น/พ.ศ. สถานท่เี กิด
26 สิงหาคม 2426 ภูเขาไฟกรากะตวั ระเบดิ
16 สิงหาคม 2519 รอบอ่าวโมโร (เมืองโคตาบาโต) ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์
26 ธันวาคม 2547 หม่เู กาะสุมาตรา ประเทศอนิ โดนีเซยี
25 ตุลาคม 2553 หมูเ่ กาะเมินตาวยั ประเทศอินโดนีเซยี
หมเู่ กาะสมุ าตรา ประเทศอนิ โดนเี ซยี ขนาด 8.9 และ 8.3
11 เมษายน 2555 ประเทศไทยสามารถรับรแู้ รงส่ันสะเทอื นได้
เกดิ คล่นื สึนามิขนาดเล็ก และไมส่ ่งผลกระทบต่อประเทศไทย

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 147

เรือ่ งที่ 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแก้ไขปญั หาผลกระทบที่เกดิ จากสนึ ามิ

4.1 การเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณ์การเกิดสนึ ามิ

4.1.1 เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางราชการเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณทะเล
อนั ดามนั ให้เตรยี มรบั สถานการณ์ท่ีอาจจะเกดิ คล่นื สนึ ามิตามมา

4.1.2 สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่ง หากทะเลมีการลดของระดับน้าลงมาก
หลังการเกิดแผ่นดินไหวให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ ให้อพยพ คนในครอบครัว
สัตวเ์ ลี้ยง ใหอ้ ยหู่ ่างจากชายฝั่งมากๆและอย่ใู นที่ดอนหรือนา้ ทว่ มไมถ่ ึง

4.1.3 ติดตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกล้ชิดและตอ่ เนื่อง
4.1.4 หากท่ีพักอาศัยอยู่ใกล้ชายหาด ควรจัดทาเข่ือน กาแพง ปลูกต้นไม้ วางวัสดุ
ลดแรงปะทะของนา้ ทะเล และก่อสรา้ งท่พี กั อาศัยให้ม่นั คงแข็งแรง ในบริเวณย่านท่มี ีความเส่ียงภัย
ในเร่ืองคลื่นสนึ ามิ
4.1.5 หลกี เล่ยี งการกอ่ สร้างใกลช้ ายฝ่ังในย่านที่มีความเสี่ยงสูง
4.1.6 วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ เช่น กาหนดสถานที่ในการอพยพ
แหล่งสะสมนา้ สะอาด เป็นตน้
4.1.7 จัดผงั เมอื งใหเ้ หมาะสม บริเวณแหลง่ ที่อาศยั ควรมีระยะห่างจากชายฝง่ั
4.1.8 ประชาสมั พันธ์และใหค้ วามรปู้ ระชาชน ในเรอื่ งการป้องกนั และบรรเทาภัยจาก
คล่ืนสึนามแิ ละแผน่ ดินไหว
4.1.9 วางแผนลว่ งหน้า หากเกดิ สถานการณ์ขึน้ จริง ในเรื่องการประสานงานระหว่าง
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง กาหนดขั้นตอนในดา้ นการช่วยเหลือบรรเทาภัยดา้ นสาธารณสุข การรื้อถอน
และฟืน้ ฟูส่งิ ก่อสร้าง เปน็ ต้น
4.1.10 คลื่นสึนามิ ในบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดเล็ก แต่อีกบริเวณหน่ึงอาจมีขนาดใหญ่
ดงั น้นั เม่ือได้รับทราบข่าวการเกิดคล่ืนสึนามิอย่าประมาทใหเ้ ตรียมพร้อมรับสถานการณ์

4.2 การปฏบิ ัติขณะเกิดสนึ ามิ

4.2.1 ในกรณีท่ีได้รับการเตือนภัยว่าจะเกิดคล่ืนสึนามิ ให้ต้ังสติให้ดี และปฏิบัติตาม
ขั้นตอนที่ได้รับการอบรมมา ควรเตรียมอาหารแห้ง น้าด่ืม ยา เวชภัณฑ์ เอกสารสาคัญและเงินสด
จานวนหนึ่งติดตัวไปด้วย ให้อพยพขึ้นไปยังที่เนินสูงน้าท่วมไม่ถึงหรือใช้เส้นทางที่ทางราชการ
กาหนดไว้ให้

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 148

4.2.2 เม่ือเห็นน้าทะเลลดลงอย่างผิดปกติ อย่าลงไปในชายหาด เพราะหากเกิดคล่ืน
เคลื่อนตัวเข้ามาจะไม่สามารถวิ่งหลบหนีคล่ืนได้ทัน ควรรีบออกให้ห่างจากบริเวณฝ่ังชายทะเลให้
มากท่ีสุด

4.2.3 ผู้ท่ีเดินเรืออยู่ในทะเล เม่ือได้รับทราบการเตือนภัย ห้ามนาเรือเข้ามาบริเวณ
ชายฝ่ังเป็นอันขาด ถ้าอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเลห่างจากชายฝ่ัง เพราะ
คล่ืนสึนามทิ อ่ี ยู่ไกลชายฝงั่ มาก ๆ จะมีขนาดเล็ก

4.2.4 คลื่นสึนามิสามารถโถมเข้าหาชายฝั่งได้หลายระลอก แต่ละระลอกอาจท้ิงช่วง
ประมาณ 20 นาที ควรรอสักระยะหรือจนกว่าจะได้รับการยืนยันว่าปลอดภัยแล้ว ผู้ที่อพยพขึ้นสทู่ ่ี
สูงจงึ ลงมาจากท่หี ลบภยั หรอื เรือที่ลอยลาอยู่กลางทะเลจึงกลบั เขา้ ฝ่งั

4.2.5 เม่ือรู้ว่ามีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น ขณะท่ีอยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝั่ง ให้รีบออก
จากบริเวณชายฝั่งไปยังบริเวณที่สูงหรือท่ีดอนทันที โดยไม่ต้องรอประกาศจากทางราชการ
เนอื่ งจากคลน่ื สนึ ามีเคลอ่ื นท่ดี ้วยความเรว็ สงู

4.2.6 คลื่นสึนามิอาจเกิดข้ึนได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว
เนือ่ งจากมีการแกวง่ แผ่นเปลือกโลก

4.2.7 อย่าลงไปในชายหาดเพ่ือดูคล่ืนสึนามิ เพราะเม่ือเห็นคล่ืนแล้วก็ใกล้เกนิ กว่าจะ
หลบหนที นั

4.3 การปฏบิ ตั หิ ลังเกิดสึนามิ

4.3.1 สารวจดูตนเองและคนที่ใกล้ชิดว่ามีใครได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายหรือไม่
ถา้ มีควรรบี ปฐมพยาบาลและนาส่งโรงพยาบาลโดยดว่ น

4.3.2 หลังจากคล่ืนสึนามิพัดเข้าสู่ชายฝ่ัง เม่ือเหตุการณ์จะสงบลง ส่ิงท่ีควรระวัง คือ
การเกดิ แผ่นดินไหวตาม หรือท่ีเรียกว่า อาฟเตอรช์ ็อก (aftershock) ตามมา ซงึ่ มักจะเกดิ ตามมา
หลังจากเกิดแผ่นดนิ ไหวประมาณครง่ึ ชว่ั โมงถงึ 2 วัน และหากเกิดอาฟเตอรช์ อ็ กข้ึนไมค่ วรออกจาก
ตัวอาคารบา้ นเรือน ไมค่ วรยนื ใกล้หนา้ ต่าง ประตู เพราะกระจกอาจจะแตก ทาใหไ้ ดร้ ับอันตรายได้

4.3.3 สารวจความเสียหายของอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ แจ้งให้ทาง
ราชการทราบ

4.4.4 คอยฟังประกาศจากทางราชการ หากให้มีการอพยพออกนอกพื้นท่ี ควรหยิบ
เอกสารสาคัญและทรัพย์สินมีคา่ แล้วออกจากบริเวณดงั กลา่ วไปอยูใ่ นเขตปลอดภัยต่อไป

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 149

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 9
บคุ ลากรและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องกบั การช่วยเหลือผู้ประสบภยั ธรรมชาติ

สาระสาคญั

การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติแต่ละครั้ง นามาซ่ึงความสูญเสียอย่างมากมายมหาศาล
ประมาณค่ามิได้ สูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สิน นอกจากน้ีทางด้านจิตใจนับเป็นความสูญเสียที่ยาก
จะทาใจได้ จาเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้ได้รับผลจากภัยพิบัติทางธรรมชาติต้องได้รับการดูแล ช่วยเหลือและ
เยียวยา ดังน้ันจาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องมีองค์กร บุคคลหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเข้ามาให้ความ
ช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั ในทุกขั้นตอน

ตวั ช้ีวัด

1. ระบุบคุ ลากรท่ีเกีย่ วข้องกับการให้ความช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั ธรรมชาติ
2. ระบุหน่วยงานที่เกย่ี วข้องกับการใหค้ วามชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ธรรมชาติ

ขอบข่ายเน้ือหา

เรอ่ื งที่ 1 บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการใหค้ วามช่วยเหลือผูป้ ระสบภยั ธรรมชาติ
เร่อื งที่ 2 หน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งกบั การให้ความชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ

เวลาทใี่ ช้ในการศกึ ษา 3 ชว่ั โมง
ส่อื การเรียนรู้

1. ชดุ วิชาการเรียนรูส้ ู้ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ 2
2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ ประกอบชดุ วชิ าเรียนรสู้ ูภ้ ัยพบิ ัติทางธรรมชาติ 2
3. เวบ็ ไซต์ หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งกับภัยธรรมชาติ
4. สื่อประกอบอ่นื ท่ีสามารถหาไดใ้ นทอ้ งถน่ิ

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 150

เร่อื งที่ 1 บคุ ลากรที่เกย่ี วข้องกบั การให้ความชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั ธรรมชาติ

ความสูญเสียและความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็น ภัยแล้ง วาตภัย
อทุ กภัย ดนิ โคลนถลม่ ไฟปา่ หมอกควัน แผ่นดนิ ไหว รวมถึงภัยจากการเกดิ คล่นื สึนามิ ลว้ นเปน็ ภยั
ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างมากมายมหาศาล บางคร้ังประชาชนบางกลุ่ม
บางพื้นท่ี ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงความสูญเสียที่เกิดจากการเสียชีวิต
ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์และพันธุ์พืชต่าง ๆ ฉะน้ัน เม่ือเกิดเหตุการณ์เหล่าน้ีข้ึนมา ผู้ประสบภัยจึงควร
ไดร้ บั การดแู ล ช่วยเหลือจากบุคคลหรอื บคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้องเพ่ือเปน็ การบรรเทาความเดอื ดรอ้ นได้

บุคลากรท่ีสามารถให้ความช่วยเหลือเม่อื เกิดความรุนแรงของภยั ธรรมชาตมิ ีอยูจ่ านวนมาก
หากเป็นพื้นที่ในชุมชน เช่นภายในหมู่บ้าน ตาบล หรือชุมชนที่เราอยู่อาศัย เมื่อเกิดภัยทาง
ธรรมชาตคิ ร้ังใด ผทู้ ่ีเราสามารถขอความช่วยเหลือ ได้แก่ ผูน้ าในชมุ ชน เชน่

- ผใู้ หญบ่ ้าน กานัน
- นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบล หรือ นายก อบต.
- นายกเทศมนตรเี ทศบาลตาบล
- นายกเทศมนตรเี มอื ง นายกเทศมนตรนี คร
- รวมทง้ั ผ้ทู ี่ได้รับการยอมรบั และเคารพนบั ถอื ในแตล่ ะชมุ ชน เปน็ ต้น

แต่ถ้าเป็นการขอความช่วยเหลือระดับ อาเภอ จังหวัด หรือในระดับประเทศ สามารถแจ้ง
ความประสงคเ์ พอ่ื ขอความชว่ ยเหลือ ดงั น้ี

- นายอาเภอ ผวู้ ่าราชการจังหวัด
- นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั หรอื อบจ.
- หัวหนา้ หนว่ ยงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ีต้งั อยใู่ นจังหวัด
- ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานหรือองค์กรที่รับผิดชอบ เช่น รัฐมนตรี และ
ปลัดกระทรวงต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กระทรวงดิจิทัล
เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม กระทรวงสาธารณสขุ เปน็ ต้น

ทงั้ น้เี นอ่ื งจากบุคลากรระดับสงู แต่ละองคก์ ร เป็นผูม้ ีอานาจ หน้าท่ีและศักยภาพในการให้
ความช่วยเหลือได้มากกว่าระดับท้องถ่ิน อีกทั้งสามารถประสานงานเพ่ือขอความช่วยเหลือจาก
ผบู้ ริหารระดับสงู ๆ ไดง้ ่ายและมีความรวดเรว็ กว่าระดบั ท้องถ่ิน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ้ภู ัยธรรมชาติ 2 - 151

เรื่องท่ี 2 หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการให้ความช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั ธรรมชาติ

หน่วยงานหรือองค์กรที่สามารถขอความช่วยเหลือ กรณีเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติทาง
ธรรมชาตไิ ม่วา่ จะเปน็ อุทกภัยและวาตภัย หนว่ ยงานดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่

2.1 หนว่ ยงานระดบั ทอ้ งถิ่น ตัง้ แตร่ ะดบั ตาบล อาเภอ จงั หวัด ได้แก่องคก์ ารบรหิ ารส่วน
ตาบล ท่ีทาการเทศบาลตาบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร ท่ีว่าการอาเภอ ศาลากลางจังหวัด
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เป็นตน้

2.2 หน่วยงานระดับประเทศ ประกอบด้วย กรม กองและระดับกระทรวง เช่น
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซึ่งแต่ละ
หน่วยงานจะมบี ทบาท หนา้ ท่ีและการให้ความชว่ ยเหลือได้ ดังนี้

2.2.1 กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่โดยตรงในการป้องกัน

และให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภยั จากเหตุการณ์ภัยพิบัติทางทางธรรมชาติทุกประเภท ท้ังภัยจาก
การเกิดอทุ กภัย วาตภัย แผ่นดนิ ไหว ดินโคลนถลม่ หรือภยั อนื่ ๆ

หน่วยงานหรือองค์กรสังกัดกระทรวงมหาดไทยหลายองค์กร มีหน้าที่หลัก
และบทบาทสาคัญในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาความเดอื ดร้อนของประชาชนอันเน่ืองมาจากภยั
พิบัติทางธรรมชาติ ซ่ึงก็รวมถึงการเกิดอุทกภัยและวาตภัยด้วยแต่หน่วยงานที่ถือว่ามีบทบาท
โดยตรงเม่ือเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติทุกประเภท คือ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัย ซ่ึงมีหน่วยงานที่ต้ังอยู่ประจาแต่ละจังหวัด คือ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
(ปภ.)

2.2.2 กระทรวงคมนาคม

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทย
ประเภทกระทรวง มีหน้าท่ียกระดับการให้บริการประชาชน พัฒนา ปรับปรุงระบบโครงสร้าง
พ้ืนฐานและบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทาให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความ
ปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเช่ือมโยงโครงข่าย
ระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาค
ทัว่ ถงึ กนั

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 152

การเกิดอุทกภัยและวาตภัยมักจะทาให้เกิดความเสียหายต่อระบบการ
คมนาคมขนส่งไม่ว่าจะเป็นทางบก ทางน้า หรือทางอากาศ กระทรวงคมนาคมจะมีหน้าที่ในการ
แก้ไขปัญหาร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น ทางหลวงชนบท ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
จงั หวัด เปน็ ต้น

2.2.3 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เมื่อเกิดอุทกภัยและวาตภัย ย่อมส่งผลเสียหายต่อพ้ืนท่ีดินทากิน และพืชผล

ทางการเกษตร จนบางครั้งทาให้เกษตรกรแทบส้ินเนื้อประดาตัว ไม่สามารถพื้นตัวดาเนินอาชีพ
หลักทางการเกษตรได้ ด้วยเหตุน้ี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงเข้ามามีบทบาทสาคัญในการให้
ความช่วยเหลือ แนะนาและฟน้ื ฟูอาชพี ของเกษตรกรได้อย่างเปน็ รปู ธรรม

หน่วยงานหรือองค์กรสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น กรมวิชาการ
เกษตร กรมการข้าว กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริม
การเกษตร สานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมถึงราชการบริหารส่วนภูมิภาค ได้แก่
สานักงานเกษตรจังหวัด เกษตรอาเภอ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ฯลฯ จะมีส่วนช่วย
แก้ไขปัญหาท่เี กี่ยวข้องกับหน่วยงานหรอื องคก์ ารน้นั ๆ ได้

2.2.4 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เปน็ องค์กรท่ีถือได้ว่ามีบทบาท

และหน้าท่ีโดยตรง หากเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ภัยจากน้าท่วมหรืออุทกภัย
ภัยจากความรนุ แรงของลมหรือวาตภยั ภัยจากดนิ โคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน เปน็ ต้น

2.2.5 กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม
กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน

สง่ สรมิ พัฒนา และดาเนินกจิ การเกยี่ วกับดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม การอตุ ุนยิ มวิทยา การสถติ ิ
ฯลฯ

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 153

หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการดูแล รกั ษา ป้องกันและให้คาแนะนา ชว่ ยเหลอื เม่ือเกิด
ภัยธรรมชาติ เช่น

1. ศนู ย์เตอื นภยั พบิ ัติแห่งชาติ

ทอี่ ยู่ : 120 หมู่ 3 อาคารรวมหนว่ ยราชการ (อาคาร B) ช้นั 6
ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลักสี่ กทม. 10210
โทร : 02–152–1230
ศูนย์ประสานงานเหตุฉุกเฉนิ โทร : 192 ฟรีตลอด 24 ช่ัวโมง

2. กรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ทอ่ี ยู่ : 3/12 ถ.อทู่ องนอก แขวงดุสติ กทม. 10300
โทร : 02-637-3000
สายด่วนตลอด 24 ชวั่ โมง โทร : 1784

3. กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา

ทีอ่ ยู่ : 4353 ถ.สขุ มุ วทิ แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 10260
โทร : 02-399-4566, 02-399-4568-74
สายดว่ น โทร : 1182

4. สถาบนั การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
กระทรวงสาธารณสขุ

ทอ่ี ยู่ : 88/40 หมู่ 4 สาธารณสขุ ซอย 6 (ในกระทรวงสารณสขุ )
ถนนตวิ านนท์ ตาบลตลาดขวัญ อาเภอเมืองจงั หวัดนนทบุรี 11000
โทร : 02-287201669, 02-2872-1601-05
เจ็บปว่ ยฉุกเฉิน โทร : 1669

5. สมาคมเพ่ือนเตอื นภัย

ที่อยู่ :125/37 หมู่ 1 ตาบลลปิ ะน้อย อาเภอเกาสมุย
จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ิธานี 84140
โทร : 07-741-5545

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 154

หน่วยประสานงาน การป้องกนั ไฟป่า
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการดูแล รักษา ป้องกันและให้คาแนะนา ช่วยเหลือ เมื่อเกิด

ปัญหาไฟป่าและหมอกควัน เชน่
2.1.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้ เช่น สานักงานป่าไม้อาเภอ สานักงานป่าไม้จังหวัด

วนอุทยาน/กรมอทุ ยานแหง่ ชาติสตั ว์ป่าและพันธพ์ุ ืชหน่วยพิทักษ์ไฟปา่ เปน็ ต้น
2.1.2 สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอาเภอ/จังหวัด (สายด่วน 1784)
2.1.3 กรมควบคมุ มลพษิ กรมควบคมุ ไฟป่า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
2.1.4 หนว่ ยแจง้ เหตุดบั เพลงิ (199)

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 155

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

1. ค. ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
2. ค. การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3. ข. กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา
4. ง. ลดการทาลายป่า และเพม่ิ พืน้ ที่ป่า
5. ค. การชะล้างการพังทลายของดนิ
6. ข. กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา
7. ง. พายเุ ขตรอ้ นแฮรเ์ รียต–ไทย
8. ค. ดาพกั อยใู่ นอาคารบา้ นเรอื นปิดประตหู นา้ ตา่ ง เมื่อเกิดพายุ
9. ง. หากมีผู้บาดเจ็บใหช้ ว่ ยเหลือทนั ที หรอื นาส่งโรงพยาบาล
10. ค. 3 ชว่ั โมง
11. ง. ความแตกต่างในระดบั ความสงู -ต่าของพนื้ ท่ี
12. ข. นาเครื่องใช้ไฟฟา้ ท่ถี กู นา้ ท่วมไปใชง้ านตอ่ ไป
13. ง. ผง้ึ มดแดง ทารังบนยอดไม้ แสดงว่าปีน้นั จะมฝี นตกมาก
14. ก. ก่อนการเกดิ อุทกภยั
15. ค. เปิดวทิ ยฟุ งั สถานการณ์
16. ข. เพมิ่ กาลังใหม้ วลดิน เช่น การลดระดบั น้าใตด้ ินและลดความชนื้ ของดิน
17. ค. พื้นทีท่ ากนิ และพชื ผลทางการเกษตรเสียหาย
18. ก. ป่าลดลง สตั วป์ ่ากล็ ดลง ระบบนเิ วศน์ก็จะเสยี สมดลุ
19. ก. มฝี นตกหนกั ถงึ หนักมาก
20. ง. ไฟใตด้ นิ ไฟผวิ ดิน ไฟเรอื นยอด
21. ก. เกิดจากธรรมชาติ สาเหตุจากมนุษย์
22. ค. ประเทศอนิ โดนเี ชีย
23. ก. ความชน้ื
24. ง. ภเู ขาไฟปะทุ
25. ง. ปรากฏการณ์ที่ฝุ่นควนั และอนภุ าคแขวนลอยในอากาศรวมตัวกนั ในสภาวะท่ี

อากาศปิด
26. ก. สภาพภมู อิ ากาศร้อนชนื้

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 156

27. ค. อนิ โดนีเซยี
28. ค. คนวยั ทางาน
29. ก. ลด เลกิ หรือหลีกเลี่ยงการเผาหรอื กจิ กรรมที่ทาใหเ้ กิดฝุ่นควนั
30. ข. แผน่ ดนิ ไหว เป็นการสนั่ สะเทอื นของแผน่ ดินทีร่ สู้ กึ ได้ ณ บริเวณใดบริเวณหนงึ่

บนผวิ โลก
31. ก. ไซสโมมิเตอร์
32. ค. ขนาด 5.0
33. ก. บริเวณวงแหวนแห่งไฟ
34. ก. ญปี่ ุ่น
35. ง. แผน่ ดนิ ไหวไตพ้ ื้นมหาสมทุ ร
36. ง. 100 – 200 กิโลเมตร
37. ค. 8.9 - 9.0
38. ค. รีบนาเรอื อกจากฝ่ังสู่ทะเลลกึ ให้เรว็ ที่สุด
39. ข. รบี ตามหาญาติ เพื่อน หรือคนทร่ี จู้ ัก
40. ข. ผ้ใู หญบ่ ้าน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 157

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

1. ก. การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2. ข. กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา
3. ข. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนอื
4. ง. ลดการทาลายป่าและเพ่มิ พ้ืนที่ป่า
5. ก. การชะลา้ งการพังทลายของดิน
6. ข. มนี าคม ถึง เมษายน
7. ค. พายุไซโคลนนาร์กีส–พมา่
8. ง. บริเวณแหลมตะลมุ พุก อาเภอปากพนัง จงั หวัดนครศรธี รรมราช
9. ก. หากมผี ูบ้ าดเจบ็ ให้ช่วยเหลือทันที
10. ค. ตาพายุ
11. ง. ความแตกต่างในระดับความสูง-ตา่ ของพืน้ ที่
12. ข. ที่ราบเชงิ เขาทตี่ ง้ั อยู่ห่างจากแม่น้า
13. ข. นาเครื่องใชไ้ ฟฟ้าทถ่ี ูกน้าท่วมไปใช้งานต่อไป
14. ค. ฤดรู อ้ นในตอนบา่ ย ถ้ามลี มค่อนข้างแรงพดั เข้าสภู่ เู ขาจนถึงเย็น เปน็ สัญญาณ

เตือนว่าคืนน้จี ะมฝี นตกหนกั
15. ก. การเฝ้าระวัง การเตือนภยั การป้องกันภยั และการแก้ปญั หาเมอ่ื เกิดภยั
16. ก. ที่อย่อู าศยั ส่ิงปลูกสรา้ งเสียหาย ทาให้เปน็ ผู้ไร้ทีอ่ ยอู่ าศัย
17. ค. พ้นื ท่ีทากินและพืชผลทางการเกษตรเสยี หาย
18. ก. การตดั ไมท้ าลายป่า ทาไร่เลอื่ นลอย
19. ก. ร่วมกนั ดูแล รกั ษา และป้องกนั ไม่ให้มีการตัดตน้ ไมท้ าลายปา่ ในพืน้ ทีป่ ่าและ

บรเิ วณลาห้วยใหม้ ีความอุดมสมบรู ณ์
20. ค. ไฟใตด้ ิน ไฟผวิ ดนิ ไฟเรอื นยอด
21. ข. เกิดจากธรรมชาติ สาเหตุจากมนษุ ย์
22. ง. ประเทศอินโดนีเชีย
23. ข. ควรเช่อื มนั่ ในตนเองเสมอ
24. ค. การเฝ้าระวงั การเตอื นภยั การปอ้ งกนั ภัย และการแกไ้ ขปัญหาเมอ่ื เกดิ ภัย

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 158

25. ก. ปรากฏการณ์ทฝ่ี นุ่ ควนั และอนุภาคแขวนลอยในอากาศรวมตัวกนั ในสภาวะ
ทอี่ ากาศปดิ

26. ค. การเผาป่าในประเทศเพื่อนบ้าน
27. ก. ลาว
28. ก. ใส่แวน่ ตาและสวมหนา้ กากอนามยั ปิดปากและจมูก
29. ก. ลด เลิก หรือหลกี เลยี่ งการเผาหรอื กจิ กรรมที่ทาให้เกิดฝุ่นควนั
30. ง. เพื่อทราบผลกระทบหรอื ความเสียหายทจี่ ะเกดิ ข้นึ
31. ง. บริเวณรอยตอ่ ภเู ขาแอลป์และภูเขาหิมาลยั
32. ข. ความรุนแรงของแผ่นดินไหว
33. ค. เปลอื กโลกเกิดการโค้งงออยา่ งฉับพลัน
34. ค. หาวัสดมุ าเคาะให้เกิดเสียงดงั
35. ค. แผ่นดนิ ไหวไต้พ้นื มหาสมทุ ร
36. ก. DART
37. ข. 8.9-9.0
38. ค. รบี นาเรืออกจากฝ่ังสู่ทะเลลึกให้เรว็ ทส่ี ุด
39. ง. รบี หนีขึน้ บนฝัง่ และขึน้ ไปยงั ที่สูงโดยเร็วทสี่ ุด
40. ค. ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยจังหวัด

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 159

แนวตอบกิจกรรมการเรียนรู้หนว่ ยที่ 1 ภยั แล้ง

กิจกรรมท่ี 1.1

1. ภัยแล้ง หมายถึง ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้าในพื้นท่ีใดพ้ืนท่ีหนึ่งเป็นเวลานาน
จนก่อใหเ้ กิดความแห้งแลง้

2. จงอธบิ ายความหมายของฝนแล้ง ฝนทิ้งชว่ ง

2.1. ฝนแล้ง หมายถึง ความแห้งแล้งของลมฟ้าอากาศอันเกิดจากการท่ีฝนน้อยกว่า
ปกติ ไมเ่ พียงพอต่อความตอ้ งการ หรอื ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ระยะเวลาท่เี กิดความแหง้ แล้งและ
ความกว้างใหญ่ของพ้ืนที่ท่ีมีความแหง้ แล้ง ฝนแล้งที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากได้แก่ฝนแลง้
ท่ีเกิดในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะอย่างย่ิงช่วงฝนท้ิงช่วงท่ียาวนาน ระหว่างเดือนมิถุนายนต่อเน่ือง
เดอื นกรกฎาคม

2.2. ฝนท้ิงช่วง หมายถึง ช่วงท่ีมีปริมาณฝนตกไม่ถึงวันละ 1 มิลลิเมตรติดต่อกันเกิน
15 วัน ในช่วงฤดฝู น เดอื นทีม่ โี อกาสเกิดฝนท้งิ ชว่ งสงู คอื เดอื นมิถุนายนและกรกฎาคม

3. สาเหตขุ องการเกิดภัยแลง้

3.1 โดยธรรมชาติ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก สภาพภูมิอากาศ
ระดบั นา้ ทะเล และภยั ธรรมชาติ เชน่ วาตภยั แผน่ ดินไหว

3.2 โดยการกระทาของมนุษย์ โดยการทาลายชั้นโอโซน และผลกระทบของภาวะ
เรอื นกระจก

4. ผลกระทบทีเ่ กดิ จากภัยแลง้
- ด้านเศรษฐกิจ ส้ินเปลืองและสูญเสียผลผลิตด้านเกษตร ปศุสัตว์ ป่าไม้ การประมง

เศรษฐกิจท่ัวไป เช่น ราคาท่ีดินลดลง โรงงานผลิตเสียหาย การว่างงาน สูญเสียอุตสาหกรรม
การท่องเทย่ี ว พลังงานอตุ สาหกรรมขนสง่

- ด้านส่ิงแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสัตว์ต่าง ๆ ทาให้ขาดแคลนน้า เกิดโรคกับสัตว์
สูญเสียความหลากหลายพันธ์ุ รวมถึงผลกระทบด้านอุทกวิทยา ทาให้ระดับและปริมาณน้าลดลง
พื้นที่ชุ่มน้าลดลง ความเค็มของน้าเปลี่ยนแปลง ระดับน้าในดินเปลี่ยนแปลง คุณภาพน้า
เปล่ียนแปลง เกิดการกัดเซาะของดนิ ไฟปา่ เพม่ิ ขึน้ สง่ ผลต่อคณุ ภาพอากาศและสูญเสียทศั นียภาพ
เปน็ ตน้

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2 - 160

- ดา้ นสังคม เกดิ ผลกระทบในดา้ นสขุ ภาพอนามยั เกิดความขดั แย้งในการใช้นา้ และ
การจัดการคณุ ภาพชวี ติ ลดลง

5. จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
5.1 ตอบตามความร้สู กึ จากภาพท่เี ห็น
5.2 ภยั แล้ง
5.3 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก การเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

การเปล่ียนแปลงของระดับน้าทะเล ภัยธรรมชาติ การทาลายช้ันโอโซน ผลกระทบของภาวะ
เรือนกระจก การพฒั นาด้านอุตสาหกรรม การตัดไม้ทาลายป่า

6. - เตรียมกกั เกบ็ นา้ สะอาดเพ่อื การบรโิ ภคใหเ้ พยี งพอ
- ขดุ ลอกคู คลอง และบ่อนา้ บาดาล เพอ่ื เพิม่ ปริมาณกักเกบ็ น้า
- วางแผนการใช้น้าอยา่ งประหยัด เพอ่ื ให้มนี ้าใชต้ ลอดช่วงภยั แล้ง
- เตรยี มหมายเลขโทรศพั ทฉ์ กุ เฉนิ เพอ่ื การขอนา้ บริโภคและการดบั ไฟปา่
- ปลูกหญ้าแฝกรอบ ๆ ต้นไม้ผล หรือรอบแปลงปลูกผัก ตัดใบหญ้าแฝกในช่วงฤดูแลง้

ลดการคายน้า ลดการใช้นา้ ของหญ้าแฝก และนาใบมาใชใ้ บคลุมโคนตน้ ไม้และแปลงผกั

กิจกรรมท่ี 1.2

1. สรุปเน้ือหาท่ีคน้ คว้าจากขา่ ว/ส่ืออนิ เตอร์เนต็ และเป็นเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในปจั จบุ ัน
2. ประเทศอินเดีย ประชากรได้รบั ผลกระทบจานวน 425,000,000 คน

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 161

แนวตอบกิจกรรมการเรยี นรู้หนว่ ยที่ 2 วาตภัย

กิจกรรมท่ี 2.1

วาตภัย หมายถึง ภัยจากลม หรือ พายุที่มีความรุนแรง จนท้าให้เกิดความเสียหายอย่าง
รุนแรงในวงกว้าง

กจิ กรรมที่ 2.2

ก 1) พายโุ ซนร้อน
ข 2) พายุจะเกิดในชว่ งทมี่ ีลักษณะอากาศรอ้ นอบอ้าวตดิ ต่อกนั หลายวัน แลว้ มกี ระแส

อากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัดมาปะทะกัน ท้าให้เกิดฝนฟ้า
คะนองมพี ายลุ มแรง และอาจมีลูกเหบ็ ตกได้
ก 3) พายใุ ตฝ้ ุ่น
ก 4) ดเี ปรสช่ัน
ค 5) พายุหมุนรุนแรงท่ีเกิดในทวีปอเมริกามีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อย แต่หมุนด้วย
ความเร็วสูงเกดิ ข้ึนไดท้ ง้ั บนบกและในทะเล
ข 6) พายทุ ส่ี ว่ นมากจะเกิดระหวา่ งเดอื นมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยจะเกดิ ถใี่ น
ภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

กจิ กรรมที่ 2.3

ปัจจยั ท่ีท้าให้เกดิ วาตภัย มีสาเหตุมาจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ ดงั น้ี
1. พายุหมุนเขตรอ้ น เป็นพายุหมุนทเ่ี กิดเหนอื ทะเลหรือมหาสมุทรในเขตรอ้ น ได้แก่ พายุ
ดีเปรสชน่ั พายโุ ซนรอ้ น พายไุ ต้ฝุ่น
2. พายุฤดรู อ้ น เปน็ พายทุ ี่เกดิ ในฤดูรอ้ น ในประเทศไทยสว่ นมากเกิดระหว่างเดือนมนี าคม
ถึงเดือนเมษายน มีลักษณะอากาศร้อนอบอ้าวติดต่อกันหลายวันแล้วมีกระแสอากาศเย็นจาก
ความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัดมาประทะกัน ท้าให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมี
ลกู เหบ็ ตกได้

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 162

3. ลมงวง หรือพายุทอร์นาโด เป็นพายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการหมุนเวียนของ
ลมภายใต้เมฆก่อตัวในแนวด่ิงหรือเมฆพายุฝนฟ้าคะนองที่มีฐานเมฆต่้า กระแสลมวนที่มีความเร็ว
ลมสูงนี้ จะท้าให้กระแสอากาศเป็นลมพุ่งข้ึนสู่ท้องฟ้า หรือย้อยลงมาจากฐานเมฆดูคล้ายกับงวง
หรอื ปล่องยืน่ ลงมา ถา้ ถึงพน้ื ดินก็จะท้าความเสยี หายแก่ บ้านเรือน ตน้ ไม้ และสง่ิ ปลูกสรา้ งได้

กิจกรรมท่ี 2.4

พายทุ ีเ่ กดิ ข้ึนและเคล่อื นทผ่ี ่านบรเิ วณใดจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายได้ มดี ังนี้
1. เกิดฝนตกหนักและเกิดน้าท่วมอย่างรุนแรง บ้านเรือนหลายหลังพังทลาย ประชากร
เสียชีวติ เป็นจา้ นวนมาก
2. พชื ผลทางการเกษตรไดร้ บั ความเสยี หาย
3. ความเสียหายตอ่ กิจการขนส่ง ดงั นี้

3.1 ทางบก การเกิดนา้ ท่วมอย่างรนุ แรงท้าให้ถนนและสะพานชา้ รุดใช้การไมไ่ ด้
3.2 ทางอากาศ พายุที่พัดอย่างรุนแรงจ้าท้าให้เคร่ืองบินได้รับอันตรายจากฝน
ทต่ี กหนัก ลกู เห็บ และฟา้ ผ่าซ่งึ อาจทา้ ให้เคร่ืองบนิ ตกได้
3.3 ทางเรือ การเกิดพายุในทะเลจะท้าให้เกิดคล่ืนขนาดใหญ่ และความรุนแรงของ
พายทุ า้ ให้เรอื อบั ปางได้

กิจกรรมท่ี 2.5

หลกี เล่ียงอันตรายจากพายุและฟา้ ผา่ เมอื่ ตอ้ งอยใู่ นท่โี ล่งแจ้ง ดังน้ี
- หากอยใู่ นทโ่ี ลง่ แจ้ง ให้นั่งกอดเขา่ โนม้ ตัวไปข้างหนา้ โดยพยายามให้เทา้ ติดดินน้อย

ท่สี ุด และไม่ควรนอนราบกับพน้ื เพราะพ้นื ที่เปยี กจะเปน็ สื่อน้าไฟฟา้ มาท้าอันตรายได้
- ไม่ควรหลบใต้ต้นไม้ใหญ่ รวมทั้งป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ เสาไฟฟ้า เพราะเส่ียง

ต่อการถกู ล้มทับได้
- ควรหลบในอาคาร หรือในรถยนต์ แต่ห้ามอยู่ใกล้ผนังอาคาร และอย่าแตะตัวถงั รถ

เป็นอนั ขาด เพราะหากเกดิ ฟา้ ผ่าขึน้ ส่งิ เหล่านีจ้ ะเป็นตัวนา้ กระแสไฟฟา้ เข้าถงึ ตวั ได้
- ไม่ใส่เคร่ืองประดับโลหะ รวมท้ังถือวัตถุที่เป็นโลหะ เช่น ทองค้า ทองแดง เงิน

เนอื่ งจากโลหะสามารถน้าไฟฟ้าได้
- งดเวน้ การใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟา้ ทกุ ชนิด โทรศพั ท์มอื ถอื หรอื อุปกรณ์สือ่ สาร

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 163

กิจกรรมท่ี 2.6

ระดับพน้ื ทเ่ี ส่ียงเกดิ วาตภยั มี 3 ระดับ ดังนี้
- พ้ืนที่เส่ียงวาตภัยระดับสูง เป็นพ้ืนที่ที่อยู่ในรัศมี 50 กิโลเมตร จากแนวศูนย์กลาง

การเคลือ่ นทขี่ อง พายุ สภาพพน้ื ท่เี ป็นทร่ี าบต้่า อย่ใู กล้แถบชายฝ่งั ทะเล หรอื พืน้ ที่เกาะ
- พ้ืนที่เสี่ยงวาตภัยระดับปานกลาง เป็นพื้นที่อยู่ในแนวรัศมี 50 - 100 กิโลเมตรจาก

แนวศูนย์กลางพายุ สภาพพ้ืนที่เป็นท่ีลอนลาดและท่ีราบเชิงเขา สภาพการใช้ประโยชน์มักจะเป็น
พืน้ ทเี่ กษตรเป็นส่วนใหญ่

- พื้นที่เส่ียงวาตภัยระดับต้่า เป็นพื้นที่อยู่นอกแนวรัศมี 100 กิโลเมตรจากศูนย์กลาง
การเคลอื่ นท่ีของพายุ สภาพพ้ืนทเี่ ปน็ ภเู ขาสงู เป็นสว่ นใหญ่ ความเสียหายจึงเกดิ ข้นึ ไม่มาก

กิจกรรมท่ี 2.7

พายุหมุนนาร์กิส เริ่มต้ังเค้าเม่ือวันท่ี 27 เมษายน 2551 ณ อ่าวเบงกอลตอนกลาง
ในระยะเร่ิมแรกพายุหมุนนาร์กิสเคล่ือนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือโดยช้า สภาพเกื้อหนุนใน
บริเวณดังกล่าวส่งผลให้พายุมีก้าลังรุนแรงข้ึนอย่างรวดเร็ว บรรยากาศแห้งแล้งใน วันที่ 29
เมษายน 2551 เป็นเหตุให้พายุอ่อนก้าลังลง และเปล่ียนทิศทางไปยังภาคตะวันออกของโลก
ซ่ึงพายุได้ทวีความรุนแรงโดยมีความเร็วลมสูงสุด อย่างน้อย 165 กิโลเมตรต่อหนึ่งช่ัวโมง และ

ต่ อ ม าศู น ย์ค วาม ร่วม มื อ ระ ห ว่าง ก อ ง ทั พ เรือ แ ล ะ ก อ ง ทั พ อ าก าศ แ ห่ ง ส ห รัฐอ เม ริกา
เพื่อการเตือนภัยไตฝ้ ุ่นแถลงว่า ความเร็วลมสูงสุดของพายุหมนุ น้ีจะทวีเป็นสองร้อยสิบห้ากิโลเมตร
ต่อช่ัวโมง หลังจากท่ีพายุหมุนนาร์กิสข้ึนฝ่ังท่ีเขตอิรวดี ประเทศพม่า โดยมีก้าลังลมใกล้เคียงกับ
ความเร็วลมสูงสุดและพัดผ่านนครย่างกุ้ง แล้วก็อ่อนตัวลงตามล้าดับและสลายตัวไป ณ บริเวณ
ชายแดนไทยกับพม่า ซ่ึงส่งผลกระทบให้เกิดภัยพิบัติจากเหตุการณ์ดินโคลนถล่มตามมา
ในวันท่ี 2 พฤษภาคม 2551 ท้าใหม้ ผี เู้ สียชวี ิตมากกว่า 130,000 คน

กิจกรรมท่ี 2.8

การเตรียมตัวป้องกันอันตรายจากวาตภยั ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้
- ติดตามฟังข่าวอากาศจากแหล่งข่าวรัฐบาลตลอดเวลา และปฏิบัติตามอย่าง

เครง่ ครัด
- หากอาศยั อยู่ในที่ราบหรือริมน้า ควรรีบทา้ การอพยพผู้คน สัตวเ์ ลีย้ ง และทรัพย์สิน

ข้ึนไปอยู่ในท่สี ูง ท่มี ัน่ คงแขง็ แรง

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 164

- ควรตอกปิดรัดบานประตู หน้าต่างให้แน่นหนา โดยเฉพาะประตูหน้าต่าง กระจก
ควรหาไม้ตอกตรึง หรือหาเทป กาวหนังกาวกระดาษปิดทับให้แน่น เพ่ือป้องกันลมแรงกระจกแตก
การปิดประตหู นา้ ต่าง จะชว่ ยปิดกัน้ ช่องลมทางน้าได้

- จัดเตรียมนา้ อาหารแหง้ ยารักษาโรค ตะเกียง ไมข้ ีดไฟ ไฟฉายพร้อมถ่านแบตเตอรี่
เคร่ืองมือชา่ ง เชน่ ตะปู คอ้ น ลวด เพอ่ื ทา้ แพไม้ หรอื แพถงั น้ามนั สา้ หรบั อพยพ

- ควรดับไฟในเตา ปลดสะพานไฟฟ้า ปิดวาลว์ แกส๊

กิจกรรมที่ 2.9

ข้อควรปฏบิ ตั ิขณะเกดิ วาตภัย ข้อควรปฏบิ ัติหลังจากเกดิ วาตภัย

1. พยายามคุมสตใิ หด้ ีขณะมีลมพายุ 3. เมื่อพายุสงบควรรออย่างน้อย 3 ชั่วโมง

2. ไมค่ วรออกมานอกอาคาร ก่อน เพือ่ ให้แน่ในวา่ พายสุ งบแนน่ อน

4. ไมค่ วรอยใู่ นทล่ี ุ่ม หรอื ที่ราบรมิ ทะเล 5. หากมีผู้บาดเจ็บให้ช่วยเหลือทันที หรือ

7. ปิดประตู หน้าต่างทุกบาน รวมท้ังยึดประตูและ นา้ สง่ โรงพยาบาล
หน้าต่างให้ม่ันคงแข็งแรง ถ้าประตูหน้าต่างไม่ 6. หากมีสิ่งหักพัง ต้นไม้ล้ม ควรเก็บหรือ
แขง็ แรง ให้ใช้ไม้ทาบตีตะปูตรงึ ปดิ ประตู หนา้ ต่างไว้ จดั การให้ปลอดภยั
จะปลอดภัยย่งิ ขึน้
8. ปิดก้ันช่องทางลมและช่องทางต่าง ๆ ที่ลมจะเข้า 11. ถ้ามีท่อประปาแตก ไม่ควรใช้น้าประปา
ไปท้าใหเ้ กดิ ความเสยี หาย เพราอาจท้าให้เกิดโรคได้ ควรรีบแจ้งให้

9. เตรียมตะเกียง ไฟฉาย และไม้ขีดไฟไว้ให้พร้อม เจา้ หน้าทที่ ราบ
ให้อยู่ใกล้มือ เมื่อเกิดไฟฟ้าดับจะได้หยิบใช้ได้อย่าง 13. หากมีเสาไฟฟ้าล้ม สายไฟขาด อย่าเข้า
ทนั ท่วงที และนา้ สะอาด พร้อมท้ังอปุ กรณ์ เครอ่ื งหงุ ใกล้ ให้ท้าเครื่องกีดขวาง เพ่ือแจ้งอันตราย

ตม้ และแจ้งให้เจา้ หน้าทีม่ าจัดการโดยเร็ว

10. เตรียมอาหารส้ารอง อาหารกระป๋องไว้บ้าง

ส้าหรับการยังชีพในระยะเวลา 2-3 วนั

12. ดับเตาไฟให้เรียบร้อยและควรจะมีอุปกรณ์

สา้ หรบั ดบั เพลิงไว้

14. เตรยี มเครื่องเวชภัณฑ์

15. ส่ิงของควรไว้ในท่ีต้่า เพราะอาจจะตกหล่น

แตกหกั เสยี หาย

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 165

แนวตอบกิจกรรมการเรยี นรู้หนว่ ยที่ 3 อทุ กภัย

กจิ กรรมท่ี 3.1

1. อุทกภัย หมายถึงภัยหรืออันตรายท่ีเกิดจากน้าท่วม หรืออันตรายอันเกิดจากภาวะ
น้าไหลเอ่อล้นฝ่ังแม่น้า ลาธาร หรือทางน้าเข้าท่วมพื้นท่ีซ่ึงโดยปกติแล้วไม่ได้อยู่ใต้ระดับน้า หรือ
เกิดจากการสะสมนา้ บนพื้นทซ่ี ่ึงระบายออกไม่ทัน ทาใหพ้ น้ื ท่ีนั้นปกคลุมไปดว้ ยนา้

2. สาเหตุและปัจจัยสาคัญท่ีทาให้เกิดอุทกภัยมี 2 ประการ คือ การเกิดภัยธรรมชาติ
และการกระทาของมนุษย์

2.1 การเกดิ ภยั ธรรมชาติ ไดแ้ ก่
1) ฝนตกหนักจากพายุหรือพายุฝนฟ้าคะนอง เป็นพายุที่เกิดขึ้นติดต่อกัน

เป็นเวลานานหลายชว่ั โมง
2) ฝนตกหนักจากพายุหมุนเขตร้อน เป็นเวลานานทาให้บริเวณน้ันมีฝนตกหนัก

ตดิ ต่อกันตลอดเวลาและมีนา้ ทว่ มขัง นอกจากนี้ถ้าเกดิ พายขุ ึ้นต่อเนือ่ งกันกท็ าให้นา้ ท่วมได้
3) ฝนตกหนักในป่าบนภูเขา ทาให้น้าป่าไหลสู่ท่ีราบเชิงเขา เกิดน้าท่วมข้ึนอยา่ ง

กะทันหัน
4) ผลจากน้าทะเลหนุน ในระยะที่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์อยู่ในแนวท่ีทาให้

ระดับน้าทะเลขึ้นสูงสุดน้าทะเลจะหนุนให้ระดับน้าในแม่น้าสูงข้ึน ประกอบกับระยะเวลาท่ีน้าป่า
และน้าจากภูเขาไหลลงส่แู มน่ า้ นา้ ในแมน่ า้ ไม่สามารถไหลลงสทู่ ะเลได้ ทาให้เกิดนา้ เออ่ ลน้ ตลิ่งและ
ทว่ มเป็นบริเวณกวา้ งย่ิงถ้ามีฝนตกหนักหรือมีพายุเกิดขน้ึ ความเสยี หายกย็ งิ่ จะมมี ากขน้ึ

5) ผลจากลมมรสมุ มีกาลังแรง มรสุมตะวนั ตกเฉยี งใตเ้ ปน็ มรสุมทพ่ี ัดพาความช้ืน
จากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย เมื่อมีกาลังแรงเป็นระยะเวลาหลายวัน ทาให้เกิดคล่ืนลม
แรง ระดบั นา้ ในทะเลจะสงู ข้นึ ประกอบกับมีฝนตกหนักทาใหเ้ กดิ น้าท่วมได้

6) ผลจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด เม่ือเกิดแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟ
บนบกและภูเขาไฟใต้น้าระเบิดเปลือกของผิวโลกบางส่วนจะได้รับความกระทบกระเทือน
ต่อเนื่องกัน บางส่วนของผิวโลกจะสูงขึ้นบางส่วนจะยุบลง ทาให้เกิดคล่ืนใหญ่ในมหาสมุทร
ซดั ขึ้นฝัง่ เกดิ น้าท่วมตามหมู่เกาะและเมอื งตามชายฝ่งั ทะเลได้เกิดข้ึนบอ่ ยครง้ั ในมหาสมุทรแปซฟิ ิก

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 2 - 166

2.2 การกระทาของมนษุ ย์ ได้แก่
1) การตัดไมท้ าลายป่าในพื้นทเี่ สีย่ งภยั
2) การขยายเขตเมอื งลกุ ล้าเขา้ ไปในพื้นทลี่ มุ่ ต่า ซง่ึ เปน็ แหลง่ น้าตามธรรมชาติ
3) การกอ่ สร้างโครงสร้างขวางทางนา้ ธรรมชาติ ทาให้มีผลกระทบตอ่ การระบาย

น้าและกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาน้าทว่ ม
4) การออกแบบทางระบายนา้ ของถนนไม่เพียงพอ ทาใหน้ ้าลน้ เออ่ ในเมอื ง
5) การบริหารจัดการน้าที่ไม่ดี เป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้เกิดน้าท่วมโดยเฉพาะ

บรเิ วณดา้ นท้ายเขื่อนหรืออ่างเกบ็ นา้

3. จงบอกผลกระทบท่ีเกิดจากอุทกภัย
3.1 ผลกระทบทางด้านการศึกษา สถานศึกษาที่ถูกน้าท่วมเกิดความเสียหายเพื่อ

ความปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา และลดปัญหาการเดินทาง ทาให้ต้องปิดการเรียนการสอน
ซึ่งจาเป็นต้องมกี ารสอนชดเชย หรอื การปดิ ภาคเรยี นไมต่ รงตามเวลาท่กี าหนด

3.2 ผลกระทบทางด้านการเกษตร เม่ือเกิดอุทกภัยจะทาให้ผลผลิตทางด้าน
การเกษตรไดร้ ับความเสียหาย เคร่อื งมอื เครอ่ื งจกั รและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ จะไดร้ บั ความเสียหาย สง่ ผล
กระทบต่อราคาข้าว พืชไร่ พืชสวน สัตว์น้าและผลผลิตอ่ืน ๆ ทาให้การผลิต และการขนส่ง
มีต้นทุนสูงข้ึนกว่าปกติ ท้ังในระดับประเทศและระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกษตรกรท่ีไม่มี
เงินทนุ สารองจะตอ้ งกู้หนยี้ มื สนิ เพ่ือลงทนุ ทาการเกษตรต่อไป

3.3 ผลกระทบด้านอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งท่ีได้รับผลกระทบจาก
การเกิดอุทกภัย ทาให้เกิดความขัดข้องในการผลิตและการขาดแคลนปัจจัยเพื่อป้อนโรงงานที่มี
ฐานการผลติ ในประเทศไทย นอกจากน้ยี ังสง่ ผลต่อการสง่ ออกเพราะขาดวัตถุดิบในการผลติ สินค้า

3.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ จากการขาดวัตถุดิบในการผลิตสินค้าอาจทาให้สินค้า
ขาดตลาด เสยี โอกาสในการผลติ และการสง่ ออกอดี ว้ ย

3.5 ผลกระทบด้านการสาธารณสุข เม่ือเกิดน้าท่วมติดต่อกันยาวนาน มักจะพบ
ปญั หาสง่ิ ปนเปื้อนในแหลง่ นา้ และโรคระบาด เชน่ ตาแดง ไขฉ้ ี่หนู อจุ จาระรว่ ง นา้ กัดเท้า ฯลฯ

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2 - 167

กจิ กรรมท่ี 3.2

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 168

แนวตอบกิจกรรมการเรียนรู้หนว่ ยที่ 4 ดนิ โคลนถล่ม

กจิ กรรมท่ี 4.1

1. ดินโคลนถล่ม เปน็ ปรากฏการณ์ทสี่ ่วนของพ้ืนดนิ ไมว่ ่าจะเป็นก้อนหิน ดนิ ทราย โคลน
หรือเศษดิน เศษต้นไม้ เกิดการไหล เล่ือน เคลื่อน ถล่ม พังทลาย หรือหล่นลงมาตามที่ลาดเอียง
อันเน่อื งมาจากแรงดึงดูดของโลก ในขณะที่สว่ นประกอบของช้ันดนิ ความชืน้ และความช่มุ น้าในดิน
เกิดเสยี สมดลุ

2. สาเหตุของการเกดิ ดนิ โคลนถล่ม มดี งั น้ี

1) สาเหตุท่ีเกิดตามธรรมชาติ เช่น การสึกกร่อนของช้ันหินใต้ดิน พื้นที่ที่ลาดเอียง
การทตี่ ้นไมถ้ กู ทาลายโดยไฟป่า หรือความแห้งแล้ง หรือเกดิ น้าท่วมฉบั พลนั

2) สาเหตุท่ีเกิดจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การที่มนุษย์ขุดพ้ืนดินตามบริเวณ
ไหล่เขา ท่ีลาดหรือเชิงเขาเพ่ือการเกษตรหรือทาถนนหนทาง การกระเทือนต่าง ๆ เช่น การระเบดิ
หิน การระเบดิ ดิน การขดุ เจาะน้าบาดาล

ปจั จัยของการเกิดดนิ โคลนถลม่ มดี งั น้ี
1) สภาพธรณีวทิ ยา โดยปกตชิ ้ันดินทีเ่ กดิ การถลม่ ลงมาจากภเู ขา เปน็ ช้ันดินท่เี กดิ จาก
การผุกรอ่ นของหินให้เกดิ เป็นดิน ซึ่งขน้ึ อยู่กับชนดิ ของหนิ และโครงสร้างทางธรณวี ิทยา
2) สภาพภูมิประเทศ ที่ทาให้เกิดดินถล่มได้ง่าย ได้แก่ ภูเขาและพ้ืนที่ที่มีความลาดชัน
สูง หรือมีทางน้าคดเค้ียวจานวนมาก นอกจากนั้นยังพบว่า ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นร่องเขา
ด้านหน้ารับน้าฝน และบริเวณที่เป็นหุบเขากว้างใหญ่สลับซับซ้อนแต่มีลาน้าหลักเพียงสายเดียว
จะมโี อกาสเกดิ ดนิ ถลม่ ได้งา่ ยกวา่ บริเวณอื่น ๆ
3) ปริมาณน้าฝน ดินถล่มจะเกิดข้ึนเม่ือฝนตกหนักหรือตกต่อเน่ืองเป็นเวลานาน
น้าฝนจะไหลซึมลงไปในช้ันดินจนกระท่ังชั้นดินอิ่มตัวด้วยน้า ทาให้ความดันของน้าในดินเพิ่มขึ้น
เปน็ การเพิ่มความดนั ในชอ่ งวา่ งของเมด็ ดนิ ดันให้ดนิ มกี ารเคลอื่ นทลี่ งมาตามลาดเขาได้งา่ ยขนึ้
4) สภาพสิ่งแวดล้อม ท่ีเปลี่ยนแปลงไปโดยพบว่าพื้นท่ีที่เกิดดินโคลนถล่มมักเป็นพ้ืนท่ี
ภูเขาสงู ชนั ทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินในรูปแบบต่าง ๆ

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 169

3. จงบอกผลกระทบที่เกดิ จาก ดนิ โคลนถลม่
ผลกระทบดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม
- เป็นการเร่งให้หน้าดินถูกชะล้างพังทลายเพิ่มขึ้น ดินไม่ดูดซับน้า เกิดภาวะแห้ง

แลง้ เพิ่มขึ้นป่าลดลง สตั วป์ ่าก็ลดลง ระบบนิเวศน์กจ็ ะเสยี สมดุล
- เกิดการเปลี่ยนแปลงของภมู ิประเทศ จากการพังทลาย การถกู ทบั ถมด้วยก้อนหิน

กรวด ทราย สายน้าเปล่ียนทิศทาง เนื่องจากถูกกีดขวางจากตะกอนมหึมาที่ทับถมปิดเส้นทาง
การไหลของน้าเป็นต้น

ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ และสังคม
- ประชาชนผ้ปู ระสบเหตแุ ผน่ ดินถล่ม หรือโคลนถล่ม ไดร้ ับบาดเจบ็ และเสยี ชวี ิต
- ที่อยอู่ าศัย ส่งิ ปลูกสรา้ งเสียหาย ทาใหเ้ ปน็ ผูไ้ ร้ที่อยู่อาศัย
- สตั ว์เล้ียงล้มตาย และสูญหาย
- พ้นื ที่ทากนิ และพชื ผลทางการเกษตรเสียหาย
- เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด สาธารณูปโภคตา่ ง ๆ ใช้การไมไ่ ด้
- เสียงบประมาณในการรักษาการเจบ็ ปว่ ย
- เสยี งบประมาณในการฟ้นื ฟูความเป็นอยู่ หรืออพยพโยกย้ายทีอ่ ยูอ่ าศยั

ผลกระทบดา้ นสขุ ภาพอนามัย
- ระบบสาธารณูปโภคเสียหาย อาจเกิดการระบาดของโรคตา่ ง ๆ
- เกิดการบาดเจ็บ ป่วยไข้ ทพุ พลภาพ
- ผูป้ ระสบภยั มปี ัญหาสขุ ภาพจติ หวาดวิตก เครยี ด ซมึ เศร้า

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 170

กจิ กรรมที่ 4.2 จากรปู จงอธบิ ายลักษณะการเกดิ ดินโคลนถล่มในลักษณะไหนพร้อมอธบิ าย

เกดิ ลักษณะ การรว่ งหล่น คือการท่ชี ้ินส่วนของมวล
ดินหรือหนิ แตกออกจากชน้ิ สว่ นหลกั แลว้ รว่ งหลน่ หรอื กล้ิง
ลงมาตามแนวลาดท่ีมีความชันสูงโดยอาจมีนา้ หรือไม่มีนา้
เข้ามาเกี่ยวข้องก็ได้ ดินหรือหินท่พี ังทลายลงมาจะกองสะสม
อยู่บริเวณเชิงเขาหรือหน้าผานน้ั เองถ้าเปน็ หน้าผาหินและ
ตะกอนทต่ี กลงมาสว่ นมากเป็นหิน เรียกว่า หนิ รว่ ง หนิ หลน่

เกดิ ลักษณะ การลื่นไถล เป็นการเคลอ่ื นตวั ของ
มวลดินหรือหินผ่านแนวระนาบท่ีมคี วามแขง็ แรงนอ้ ยทสี่ ุด
โดยอตั ราการเคล่อื นตวั อยู่ในชว่ ง 0.06 เมตรต่อนาที ถึง 0.3
เมตรต่อนาที การเกิดดินถล่มชนดิ นี้มนี ้าเขา้ มาเก่ยี วข้องเสมอ

เกดิ ลักษณะ การไหลของเศษซากดินทรายและเศษ
ต้นไมต้ ะกอนที่ไหลลงมาจะมีหลายขนาดปะปนกนั ท้ังตะกอน
ดิน หนิ และซากตน้ ไม้ มักเกดิ ขึ้นตามทางนา้ เดิมทมี่ ีอยู่แลว้
หรอื บนรอ่ งเล็ก ๆ บนลาดเขา

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 171

กิจกรรมท่ี 4.3

.......... 1. มฝี นตกหนกั ถงึ หนักมากตลอดทง้ั วัน
..... ..... 2. นกจะบนิ ตา่ ผง้ึ จะหายไปจากแปลงดอกไม้
.......... 3. มีกง่ิ ไม้หรอื ท่อนไมไ้ หลมากบั กระแสนา้
..... ..... 4. พน้ื ทีใ่ กลช้ ายลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
.......... 5. สีของนา้ มีสขี นุ่ มากกวา่ ปกติ เปล่ียนเป็นเหมืองสดี นิ ภเู ขา
..... ..... 6. การปลกู พืชหลากหลายชนดิ
.......... 7. เกิดช่องทางเดนิ นา้ แยกข้นึ ใหมห่ รอื หายไปจากเดมิ อยา่ งรวดเรว็
.......... 8. เกิดรอยแตกบนบนภเู ขา หรือซอกหิน
.......... 9. มเี สยี งดัง ออ้ื อึง ผิดปกตดิ งั มาจากภูเขาและลาห้วย
..... ..... 10. กบจะรอ้ งดงั และนานกว่าปกตสิ ุนัขจะหอนหรอื ครางและกระวนกระวาย

สตั วท์ อ่ี ยูใ่ ตด้ ินออกจากรูหนีขึ้นทส่ี ูง
.......... 11. ท่ลี าดเชิงเขาท่ีมกี ารขุดหรือถม
.......... 12. พืน้ ที่สงู ชันไม่มพี ชื ปกคลุม
.......... 13. พืน้ ที่ลาดเชงิ เขาหรอื บรเิ วณท่ีลุ่มใกล้เชิงเขามีโอกาสเกิดดนิ ถลม่ สงู
.......... 14. อยบู่ นเนนิ หน้าหุบเขาและเคยมโี คลนถลม่ มาก่อน
.......... 15. มีน้าป่าไหลหลากและน้าท่วมบ่อย

กจิ กรรมท่ี 4.4

สรปุ ความเสยี หายของการเหตกุ ารณด์ ินโคลนถล่ม
1. 22 พฤษภาคม 2547 บา้ นสบโขง อาเภอสบเมย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน ผปู้ ระสบภัย
400 คน 120 ครวั เรอื น บ้านเรือนเสยี หาย 100 หลัง
2. 3 สิงหาคม 2554 บ้านปทู่ า ปดิ ทบั บ้านเรือนเสียหายทง้ั หลงั 1 หลงั และเสียหาย
บางส่วน 9 หลังมีผู้เสียชวี ิต 9 ราย ผไู้ ดร้ บั บาดเจบ็ 12 คน

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 2 - 172

3. 9 ตลุ าคม 2549 ตาบลแมง่ อน อาเภอฝาง จงั หวัดเชียงใหมม่ ผี ู้เสียชวี ติ 8 ราย
บ้านเรอื นเสยี หายรวม 29 หลงั

กจิ กรรมที่ 4.5

......(3)..... 1. ติดต่อขอรับความชว่ ยเหลือและฟนื้ ฟจู ากบคุ คลหรอื หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง
......(3)..... 2. ทาความสะอาดทาลายซากสัตว์ที่ล้มตาย พร้อมท้ังจัดการเก็บฝังเพื่อป้องกัน

โรคระบาด
......(1)..... 3. ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง

ท้องถ่ิน
......(2)..... 4. ตัง้ สติ แลว้ รวบรวมอปุ กรณ์ฉกุ เฉนิ ท่จี าเปน็ ตอ้ งใชเ้ มื่อประสบเหตุ
......(1)..... 5. แจ้งสถานการณเ์ จ้าหนา้ ทท่ี เ่ี กี่ยวขอ้ ง ผู้นาชมุ ขนใหท้ ราบเพือ่ แจ้งเหตุ
......(3)..... 6. ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศทางสถานีวิทยุหอกระจาย

เสียงทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ป้องกันการเกิดเหตซุ า้
......(1)..... 7. จดั เตรียมอาหาร น้าดื่ม ยารักษาโรค และอปุ กรณฉ์ ุกเฉนิ ท่จี าเปน็ ตอ้ งใช้

เม่ือประสบเหตุ
......(2)..... 8. ทาการอพยพออกจากพ้ืนท่ีเสย่ี ง หรืออยู่ในบริเวณท่ปี ลอดภัย
......(1)..... 9. แจง้ สถานการณ์ทเี่ กิดขน้ึ ใหก้ บั เจ้าหนา้ ที่ หรอื ผ้นู าชมุ ขนใหท้ ราบโดยเรว็
......(2)..... 10. แจง้ เตือนภัยใหผ้ ูท้ มี่ ีความเสี่ยงประสบเหตุรายอน่ื ๆ ไดท้ ราบอยา่ งทัว่ ถงึ
......(1)..... 11. ซักซ้อมแผนการอพยพ การช่วยเหลอื และฟ้ืนฟผู ู้ประสบภัยแผ่นดนิ ถลม่
......(1)..... 12. จัดเวรยามเพอ่ื เดินตรวจตาดูสถานการณร์ อบหมู่บา้ นเพื่อสงั เกตสิ่งผิดปกติ
......(1)..... 13. ตรวจสอบอปุ กรณ์แจง้ เตอื นภัยให้อยใู่ นสภาพที่พร้อมใช้งานอยเู่ สมอ
......(1)..... 14. สงั เกตและเฝา้ ระวงั น้าและดิน
......(1)..... 15. สังเกตลักษณะบริเวณโดยรอบทตี่ ั้งของชุมชนและบริเวณท่ีเส่ียงภยั จาก

แผ่นดินถล่ม

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2 - 173

แนวตอบกิจกรรมการเรียนรู้หน่วยที่ 5 ไฟป่า

กิจกรรมท่ี 5.1

ไฟป่า คือ ไฟที่เกิดจากสาเหตุอันใดก็ตาม แล้วเกิดการลุกลามไปได้โดยอิสระปราศจาก
การควบคุมทง้ั น้ไี ม่วา่ จะเกิดขึ้นตามปา่ ธรรมชาติหรอื สวนปา่ กต็ าม

กจิ กรรมที่ 5.2 ให้ชมวดิ ที ัศน์เกีย่ วกบั สาเหตุ และผลกระทบที่เกิดจากไฟปา่ จากเว็บไซต์

https://www.youtube.com เรอ่ื ง การป้องกนั ภยั ไฟป่า 1/1 และเรอื่ ง การป้องกันภัยไฟปา่ 2/2
สรปุ สาระสาคญั
- จากสรุปเนือ้ หาจากการ ชมวิดิทศั น์
- ผลกระทบท่ีเกิดจากไฟป่าได้แก่ ต่อ สังคมพืช ดิน ทรัพยากรน้า สัตว์ป่าและ

สิง่ มีชีวติ เล็ก ๆ ต่อชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของมนุษย์ และสภาวะอากาศ

กจิ กรรมที่ 5.3

ชนิดของไฟป่า
แบ่งเปน็ 3 ชนิด คอื ไฟใตด้ ิน ไฟผิวดนิ และไฟเรอื นยอด

ฤดกู าลเกดิ ไฟปา่ ในแถบเอเชีย
- ตน้ เดอื นตุลาคมเป็นหนา้ แล้งของอินโดนเี ซยี
- ประเทศไทย มักจะเกิดไฟปา่ ในช่วงฤดูร้อน แบ่งตามภูมิภาค ดงั น้ี
ภาคเหนือ มกั จะเกดิ ในชว่ งระหวา่ งเดือนเมษายน-พฤษภาคม ของทกุ ปี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักจะเกิดในช่างระหว่างเดือนพฤศจิกายน - พฤษภาคม

ของทกุ ปี
ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม -

พฤษภาคมของทุกปี

กิจกรรมที่ 5.4

สรปุ ข่าวเหตุการณไ์ ฟป่าในประเทศไทย

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 174

กจิ กรรมท่ี 5.5

สรุปข้อมลู และสาเหตุการเกดิ ไฟป่าในแถบทวีปเอเชยี

กิจกรรมท่ี 5.6

กอ่ นเกิดไฟปา่
กา้ จัดวัชพชื ท่ีติดไฟได้ง่าย ทา้ แนวกนั ไฟโดยการถางป่าใหพ้ ้นจากทางเดนิ ในระยะ 5 เมตร
เพื่อป้องกันการติดต่อลุกลามของไฟ เมอื่ พบเหน็ กองไฟที่มีบุคคลเผาท้ิงไวก้ ็รีบดับเสีย หรอื เมื่อเห็น
ไฟไหม้กร็ ีบท้าการดับกอ่ นที่จะท้าใหเ้ กิดการลกุ ไหมม้ ากขึน้
ขณะเกดิ ไฟปา่
ตีไฟท่ีลุกไหม้ตามบริเวณหัวไฟให้เช้ือเพลิงกระจาย แล้วตีขนานกับไฟป่าที่ก้าลังจะเริ่ม
ลุกลาม ฯลฯ
หลังเกิดไฟป่า
ตรวจดูบริเวณที่ยังมีไฟคุกรุ่น เม่ือพบแล้วจัดการดับให้สนิท ค้นหาและช่วยเหลือคน สัตว์
ท่ไี ด้รบั บาดเจ็บ ใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนให้ร้เู ร่อื งวธิ ีการป้องกันไฟปา่

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 175

แนวตอบกิจกรรมการเรยี นรู้หน่วยที่ 6 หมอกควัน

กิจกรรมท่ี 6.1 อธบิ ายสาเหตุของการเกดิ หมอกควัน

สาเหตขุ องการเกดิ หมอกควนั ได้แก่
1) ไฟป่า ท้ังท่ีเกิดตามธรรมชาติและเกิดจากมนุษย์ การเผาไหม้เศษไม้ เศษใบไม้
เศษวชั พชื ปริมาณมาก ทาให้เกิดเปน็ หมอกควันปกคลมุ อยู่ในบริเวณที่เกิดไฟป่าและพน้ื ทีใ่ กล้เคียง
เม่อื มกี ารพัดพาของกระแสลมจะทาใหห้ มอกควันกระจายตัวไปยังพ้นื ทอี่ นื่ ๆ
2) การเผาเศษวัชพืชวัสดุทางการเกษตร และวัชพืชริมทาง เกษตรกรมักจะเผาเศษ
วัสดุทางการเกษตรในหน้าแล้งเพ่ือเตรียมพื้นท่ีสาหรับทาการเกษตรในฤดูฝน จังหวัดท่ีมีการทา
การเกษตรมาก จงึ มีปรมิ าณของฝ่นุ ละอองในอากาศสงู ในชว่ งฤดแู ล้ง
3) การเผาขยะจากชุมชน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง
เขมา่ ควัน กา๊ ซ และไอระเหย ซ่งึ มผี ลกระทบตอ่ สุขภาพ
4) การคมนาคมขนส่ง สารมลพิษมาจากการเผาไหม้ท่ีเกิดขึ้นภายในเคร่ืองยนต์
ได้แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น ออกซิแดนท์ สารอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เขม่า
กา๊ ซไนตรกิ ออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ รวมทง้ั ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
5) ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดส่ิงเจือปนในอากาศ สารมลพิษทาง
อากาศทเี่ กิดจากโรงงานอุตสาหกรรมส่วนมาก ไดแ้ ก่ ฝนุ่ ละออง เขม่า ควนั กา๊ ซซลั เฟอร์ไดออกไซด์
กา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กา๊ ซไนโตรเจนออกไซด์ และกา๊ ซพิษอืน่ ๆ

กจิ กรรมท่ี 6.2 อธบิ ายปัจจัยท่ที าให้ปัญหาหมอกควันมคี วามรุนแรงย่ิงขนึ้

ปัจจัยที่ 1 การเผาที่เกิดข้ึนภายในประเทศ ท้ังในกรณีของไฟป่า และการเผาเพื่อ
การเกษตร การเผาวชั พืชรมิ ทาง และการเผาขยะมูลฝอยในชมุ ชน

ปจั จยั ที่ 2 การเผาที่เกิดรอบ ๆ ประเทศ ซงึ่ ทาใหเ้ กิดปญั หาหมอกควันข้ามแดน
ปัจจัยท่ี 3 สภาพภูมิอากาศ ความกดอากาศสูง ไม่มีลมพัดผ่านของลม อากาศไม่
สามารถลอยตัวสงู ขึ้นได้ ทาให้หมอกควันลอยปกคลมุ ในพนื้ ที่ยาวนานกว่าวนั ท่ีมอี ากาศแจ่มใสหรือ
มีลมพดั ผ่าน
ปัจจัยท่ี 4 สภาพภูมิประเทศที่มีภูเขาล้อมรอบ พื้นที่แอ่งกระทะ หรือพื้นที่ปิดระหว่าง
หบุ เขา ทาให้หมอกควนั ไมส่ ามารถแพร่กระจายไปแหลง่ อื่นได้

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 176

กจิ กรรมท่ี 6.3 บอกผลกระทบดา้ นสุขภาพท่ีเกดิ จากหมอกควัน

1) ระบบตา เกิดอาการระคายเคอื งตา ตาแดง แสบตา ตาอกั แสบ
2) ระบบผวิ หนงั ระคายเคอื งผิวหนัง เกิดผื่นคนั ผิวหนงั
3) ระบบทางเดินหายใจ เกิดอาการระคายเคืองเย่ือบุจมูก แสบจมูก ไอ
มีเสมหะ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด หายใจถี่ และทาให้เกิดโรคหอบหืด หลอดลมอักเสบท้ัง
แบบเฉยี บพลนั และเร้อื รงั ปอดอักเสบ ถุงลมโป่งพอง
4) ระบบหลอดเลือดและหัวใจ เกิดอาการแน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก หายใจถี่
เมอื่ ยลา้ ส่นั ผิดปกติ ทาใหเ้ กิดโรคหวั ใจเต้นผิดจังหวะ หวั ใจล้มเหลว กล้ามเน้อื หัวใจตาย เสน้ เลือด
ในสมองตีบได้

กิจกรรมที่ 6.4 อธบิ ายสถานการ์หมอกควนั ในชมุ ชนของท่าน

ประเด็นที่ 1 ชุมชนของท่าน (หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ หรือจังหวัด) เคยเผชิญปัญหา
จากหมอกควนั หรอื ไม่ อย่างไร

ประเดน็ ท่ี 2 หมอกควนั ในชมุ ชนของท่านเกิดจากสาเหตุอะไร
ประเดน็ ท่ี 3 ท่านปฏิบตั ิอย่างไรเม่ือเผชิญกับหมอกควนั ในชมุ ชนของทา่ น
- ดแู ลตนเอง หลีกเล่ียงการออกกาลงั กายและการทางานหนักทต่ี ้องออกแรงมากใน
บริเวณหมอกควัน หากจาเป็นต้องอยู่ในบริเวณทีมีหมอกควันควรสวมแว่นตา เพ่ือป้องกัน
การระคายเคืองตา และควรใชห้ น้ากากอนามัยปดิ ปากและจมกู
- หากมีบุคคลท่ีเป็นกลุ่มเสี่ยง เด็กเล็ก คนชรา และผู้ป่วยในครอบครัว ให้การดูแล
อย่างใกล้ชิดและหมั่นสังเกตอาการของผู้ท่ีเป็นกลุ่มเส่ียง หากพบอาการผิดปกติ ควรรีบพบแพทย์
รวมทัง้ ควรเตรยี มยาและอปุ กรณ์ท่จี าเป็นใหพ้ รอ้ ม
- ดูแลบา้ นเรอื น เชน่ ติดระบบกรองอากาศในบ้าน หากทีพ่ กั อาศยั ไม่มรี ะบบระบาย
อากาศหรือระบบปรับอากาศ ต้องปิดประตูหน้าต่างไม่ให้ควันไฟหรือหมอกควันเข้ามาในอาคาร
ปลกู พชื คลมุ หนา้ ดนิ ในพนื้ ทโ่ี ล่งบริเวณบา้ น งดการรองรับนา้ ฝนไวใ้ ชอ้ ปุ โภคชวั่ คราว
- การดูแลชุมชน ไม่ให้มีการเผาวัสดุทุกชนิดและการประกอบกิจกรรมที่ก่อให้เกิด
หมอกควนั เผาขยะมลู ฝอย เผาหญ้า เผาตอซงั ข้าว เป็นตน้

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 177

กจิ กรรมที่ 6.5 ท่านจะเตรยี มความพรอ้ มในการรับสถานการณน์ หมอกควันในชุมชนอย่างไร

- ทุกคนในชุมชนร่วมมือกัน เลิก ลด หลีกเล่ียงการเผาหรือการทากิจกรรมท่ี
กอ่ ใหเ้ กิดฝุ่นควันเพมิ่ ขึ้น

- ใหค้ วามรแู้ กบ่ ุคคลในชมุ ชนเรือ่ งปญั หาหมอกควัน
- ทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการเกบ็ ใบไม้กิ่งไมเ้ พอื่ ทาปยุ๋ หมกั แทนการเผา
- พยายามลดจานวนขยะ เมอ่ื มขี ยะในครัวเรอื นอาจใช้วิธแี ยกขยะอยา่ งถกู วธิ ี
- ดูแลท่ีดินของตัวเองอย่างสม่าเสมอ เช่น มีการแผ้วถางไม่ให้รก และปลูกต้นไม้
เพ่อื ป้องกนั มใิ ห้มีการเผาเกดิ ขน้ึ
- ปลกู ตน้ ไม้ใหญ่และไม้พุ่มรวมทงั้ ไม้ในรม่ เพิ่มมากข้ึน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2 - 178

แนวตอบกิจกรรมการเรยี นรู้หน่วยที่ 7 แผน่ ดนิ ไหว

กิจกรรมที่ 7.1

1. แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซ่ึงเกิดจากการเคลื่อนตัวโดยฉับพลันของ
เปลือกโลก การเกิดแผ่นดินไหวส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นตรงบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลก
การสัน่ สะเทอื นของแผน่ ดินท่ีรสู้ ึกได้ ณ บรเิ วณใดบรเิ วณหนงึ่ บนผวิ โลก

2. แผน่ ดินไหวเปน็ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทม่ี สี าเหตุของการเกดิ 2 ลักษณะ คือ
2.1 กระบวนการเปล่ียนแปลงตามธรรมชาติ เช่น การเคล่ือนที่ของแผ่นเปลือกโลก

ภูเขาไฟระเบดิ การยบุ ตัวหรือพงั ทะลายของโพรงใตด้ ิน และการสน่ั สะเทอื นจากคลืน่ มหาสมุทร
2.2 การกระทาของมนุษย์ ทาให้เกิดแผ่นดินไหวได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น

การทาเหมือง การสร้างอ่างเก็บน้าหรือการสร้างเขื่อนใกล้รอยเล่ือน การทางานของเคร่ืองจักรกล
การจราจร และการเก็บขยะนิวเคลียร์ไว้ใต้ดิน การทดลองระเบิดปรมาณู การระเบิดพ้ืนที่เพ่ือ
สารวจวางแผนก่อนสร้างเข่อื น เปน็ ต้น

กจิ กรรมที่ 7.2

ปัจจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ระดับความเสยี หายจากแผ่นดนิ ไหว ประกอบดว้ ย

1) แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว ที่เกิดในแนวของแผ่นดินไหวโลก โดยเฉพาะบริเวณท่ีมี
การชนกันของแผ่นเปลือกโลก หรือแนวรอยเลื่อนที่มีความยาวมาก ๆ จะมีศักยภาพทาให้เกิด
แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่

2) ควำมลึกของจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ซึ่งมีจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหวไม่ลึกมากหรือ
ผิวดินจะก่อให้เกิดความรุนแรงในระดับที่มากกว่าการเกิดแผ่นดินไหวท่ีมีจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ท่ลี ึกมากกวา่

3) ขนำด (Magnitude) หมายถึง จานวนหรือปริมาณของพลังงานท่ีถูกปล่อยออกมา
จากศูนย์กลางแผ่นดินไหวแต่ละครั้งในรูปแบบของการสั่นสะเทือน คิดค้นโดย ชาลส์ ฟรานซิส
ริกเตอร์ และในประเทศไทยนิยมใช้หน่วยวัดขนาดแผน่ ดนิ ไหว คือ “ริกเตอร”์

4) ระยะทำง โดยปกติแผ่นดินไหวท่ีมีขนาดเท่ากันแต่ระยะทางต่างกัน ระยะทางใกล้
กวา่ ย่อมมีความ สั่นสะเทอื นของพื้นดนิ มากกวา่ มีศักยภาพของภัยมาก

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 179

5) สภำพทำงธรณีวิทยำ ก่อให้เกิดความเสียหายจากความสั่นสะเทือน บริเวณที่มี
การดูดซับพลังงานการสั่นสะเทือนได้มากหรือมีค่าการลดทอนพลังงานมากจะได้รับความเสียหาย
น้อย เช่น ในพ้ืนท่ีท่ีเป็นหินแข็ง แต่ในบริเวณที่เป็นดินอ่อนจะช่วยขยายการสั่นสะเทือนของพน้ื ดิน
ได้มากกวา่ เดิมจะไดร้ ับความเสียหายจะเพิม่ มากข้นึ ดว้ ย

6) ควำมแข็งแรงของอำคำร อาคารท่ีสร้างได้มาตรฐานมั่นคงแข็งแรง มีการออกแบบ
และก่อสร้างให้ต้านแผ่นดินไหว จะ สามารถทนต่อแรงสั่นสะเทือนได้ดี เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะเพิ่ม
ความปลอดภยั ใหก้ บั ผู้อยู่อาศัยได้ในระดับหนงึ่

2. ใหผ้ เู้ รยี นบอกผลกระทบท่ีเกดิ จากแผ่นดนิ ไหว มาอย่างนอ้ ย 5 ข้อ
- ทาให้เกิดพ้ืนดินแตกแยก เส้นทางการคมนาคมเสียหายและถูกตัดขาดถนนและ

ทางรถไฟบดิ เบี้ยวโค้งงอ เกิดภเู ขาไฟระเบิด อาคารสิง่ กอ่ สรา้ งพังทลาย
- เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินรวมถึงทางเศรษฐกิจ เช่น การส่ือสาร

โทรคมนาคมขาดช่วง ระบบคอมพิวเตอร์ขัดข้องการคมนาคมทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ
หยดุ ชะงัก

- ในกรณีที่แผ่นดินไหวมีความรุนแรงมากอาจทาให้อาคาร สิ่งปลูกสร้างถล่ม และมี
ผเู้ สยี ชวี ิตได้

- หากเกิดแผ่นดินไหวขึ้นใต้ท้องทะเลแรงสั่นสะเทือนอาจจะทาให้เกิดเป็นคลื่นยักษ์
ขนาดใหญ่ ท่เี รียกวา่ “สึนามิ” (Tsunami) ซึง่ ก่อให้เกดิ ความเสยี หายได้

กจิ กรรมท่ี 7.3

…. /… 1. แผ่นดินไหวเกดิ จากการเคลอ่ื นตัวโดยฉับพลันของแผ่นเปลือกโลกสว่ นใหญ่มัก
เกิดขึน้ บรเิ วณขอบของแผน่ เปลอื กโลก

…… 2. การเกิดแผ่นดินไหวมีสาเหตุจากการเปล่ยี นแปลงทางธรรมชาติเท่านน้ั
…. /… 3. รอยเลือ่ น คอื รอยร้าวของหินใตพ้ น้ื โลก
…. /… 4. รอยเลอ่ื นมีพลงั เป็น รอยเลื่อนทีม่ โี อกาสเกิดแผ่นดินไหว
…… 5. แผน่ ดนิ ไหวท้องถิน่ มีศูนย์กลางแผน่ ดินไหวทร่ี ะดบั ความลึก 100 กโิ ลเมตรขึน้ ไป
…. /… 6. วงแหวนแห่งไฟ เป็นบริเวณที่มีอัตราการเกิดแผ่นดนิ ไหวมากท่ีสุดในโลก
…… 7. ขนาดของแผ่นดนิ ไหวมขี นาดตั้งแต่ 1.0 – 10.0 ตามมาตรารกิ เตอร์

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 2 - 180

… /… 8. ระดบั ความรนุ แรงของแผ่นดินไหวใช้หนว่ ยวัดที่เรยี กว่า “เมอคัลล”ี่
... /... 9. ปจั จัยทีก่ ่อให้เกดิ ความเสยี หายจากแผ่นดนิ ไหว ประกอบดว้ ย ขนาด ความลึก

ของจดุ ศนู ย์เกิดแผน่ ดินไหว ความรนุ แรง และระยะทาง
… /… 10. เม่อื เกดิ แผ่นดินไหวแลว้ ตอ้ งระวังไม่เข้าใกลอ้ าคารหรือสิ่งก่อสร้างท่ีได้รับ

ความเสยี หายแต่ยังไม่พงั ลงมา เน่ืองจากจะมแี ผ่นดินไหวตามเกดิ ข้ึนแตจ่ ะมี
ขนาดที่เล็กกวา่

กิจกรรมที่ 7.4 ขนาดตามมาตราริกเตอร์ การรับรู้ และลกั ษณะทีป่ รากฎของการเกิดแผ่นดนิ ไหว

ริกเตอร์ การรับรู้ ลกั ษณะท่ีปรากฏ

1.0 - 2.9 เล็กนอ้ ย ผคู้ นเรมิ่ รู้สึกถึงการมาของคล่ืน มีอาการวิงเวียนเพยี งเล็กน้อย

3.0 – 3.9 เล็กนอ้ ย ผู้คนทีอ่ ยูใ่ นอาคารรสู้ กึ เหมือนมีอะไรมาเขยา่ อาคารใหส้ ่ันสะเทอื น

4.0 – 4.9 ปานกลาง ผทู้ ีอ่ าศัยอยู่ทั้งภายในอาคารและนอกอาคารรู้สึกถึงการ
5.0 – 5.9 รุนแรง สัน่ สะเทอื น วตั ถุห้อยแขวนแกวง่ ไกว
เครอ่ื งเรือนและวตั ถุมีการเคล่ือนท่ี

6.0 – 6.9 รุนแรงมาก อาคารเร่ิมเสียหาย พังทลาย

7.0 ข้นึ ไป รนุ แรงมาก เกิดการส่ันสะเทือนอย่างมากมาย ส่งผลทาใหอ้ าคารและ
มาก สง่ิ กอ่ สร้างต่าง ๆ เสยี หายอย่างรนุ แรง แผ่นดนิ แยก วัตถุบนพ้นื ถูก
เหว่ียงกระเดน็

กิจกรรมท่ี 7.5

ศึกษาสถานการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในทวีปเอเซีย จากส่ือต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์
วารสาร อินเตอร์เน็ต เป็นต้น แล้วอธิบายสถานการณ์การเกิดแผ่นดินไหวและผลกระทบ มา 1
สถานการณ์

-สรุปสำระสำคญั ของข่ำวเหตุกำรณก์ ำรเกิดแผ่นดนิ ไหวท่เี กิดขนึ้ ในทวีปเอเซยี -

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 181

กจิ กรรมท่ี 7.6

1. บอกการเตรียมความพร้อมรับมือกับภยั แผ่นดนิ ไหว มาอย่างน้อย 5 ข้อ
- สร้างอาคารบ้านเรือนให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กาหนด สาหรับพ้ืนที่เสี่ยงภัย

แผน่ ดินไหว
- ตรวจสอบสภาพของอาคารท่ีอยู่อาศัย และเครื่องใช้ภายในบ้านทาการยึดเครื่อง

เรอื นทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย เชน่ ตแู้ ละช้ันหนังสอื กับฝาบ้านหรือเสา
- ให้สมาชิกในครอบครัวมีความรู้ในเรื่องการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและวิธีการ

เพอ่ื ความปลอดภยั เช่น การปิดวาล์วกา๊ ซหงุ ตม้ ท่อน้าประปา สะพานไฟ การใชเ้ คร่ืองมอื ดับเพลิง
- จัดเตรียมส่ิงต่อไปนี้ไว้ใกลต้ ัว เช่น วิทยุ ไฟฉาย ถ่านไฟฉาย อปุ กรณด์ บั เพลิง น้าด่ืม

อาหารแหง้ ยารกั ษาโรคและอุปกรณก์ ารปฐมพยาบาล
- ไม่ควรวางส่ิงของที่มีน้าหนักมากไว้ในที่สูง และควรผูกยึดเคร่ืองใช้ เครื่องเรือน

ครุภณั ฑ์สานักงานกับพนื้ หรือฝาผนงั ใหแ้ นน่ หนา

2. บอกขอ้ ควรปฏบิ ัติขณะเกิดแผน่ ดินไหว มาอย่างน้อย 5 ขอ้
- มุดใต้โต๊ะ เก้าอ้ี พิงผนังด้านใน แล้วอยู่น่ิงๆ ถ้าไม่มีโต๊ะ ใช้แขนปิดหน้า ปิดศีรษะ

หมอบตรงมุมห้อง อยู่ให้ห่าง กระจก หน้าต่าง และเลี่ยงบริเวณที่สิ่งของหล่นใส่ หรือล้มทับ เช่น
โคมไฟ ตู้

- ถ้ายังนอนอยู่ ให้อยู่บนเตียง ใช้หมอนปิดบังศีรษะ หลีกเล่ียงบริเวณที่สิ่งของหล่นใส่
อย่บู รเิ วณท่ีปลอดภยั

- ใช้ช่องประตูเป็นที่หลบภัยถ้าอยู่ใกล้ให้อยู่ในอาคารจนกว่าการส่ันสะเทือนหยุดจึง
ออกไปภายนอกบรเิ วณท่ปี ลอดภัยอนั ตรายส่วนใหญ่เกดิ จากสงิ่ ของหล่นใส่

- อย่าใช้ลิฟต์ขณะมีการส่ันไหวถ้าอยู่ในลิฟต์กดทุกปุ่มและออกจากลิฟต์ทันทีบริเวณใกล้
ลิฟต์จะเปน็ สว่ นท่ีแขง็ แรงของอาคารเหมาะแกก่ ารหลบและหมอบ

- อย่าใช้เทียน ไม้ขีดไฟ หรือสิ่งที่ทาให้เกิดเปลวหรือประกายไฟ เพราะอาจมีแก๊สรั่ว
อยู่บริเวณน้นั

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2 - 182

3. บอกวธิ ปี ฏิบัติหลังจากเกิดแผ่นดนิ ไหว มาอยา่ งน้อย 5 ขอ้
- ปดิ สวติ ซ์ไฟฟา้ วาลว์ กา๊ ซหงุ ต้ม ประปา และห้ามจดุ ไมข้ ีดไฟจนกว่าจะไดต้ รวจสอบ

การรวั่ ของกา๊ ซหรือนา้ มนั เชอื้ เพลิงแลว้
- ส้ารวจผู้ได้รับบาดเจ็บ จัดการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น หากมีผู้ได้รับบาดเจ็บ

หา้ มเคลื่อนยา้ ยผบู้ าดเจ็บสาหสั ยกเว้นกรณตี ้องหลกี เลี่ยงสถานทท่ี ไ่ี ม่ปลอดภยั
- ตรวจการช้ารุดของท่อน้าทุกประเภท ท้ังท่อประปา ท่อน้าโสโครก และ

สายไฟฟา้ ท่อแก๊ส ถา้ แกส๊ ร่ัวให้ปิดวาล์วถังแก๊ส ยกสะพานไฟ อย่าจดุ ไม้ขดี ไฟหรือก่อไฟจนกว่าจะ
แนใ่ จว่าไม่มแี กส๊ ร่ัว

- ส้ารวจความเสียหายของบ้าน/อาคารเพ่ือความปลอดภยั กอ่ นจะเขา้ ไปภายในบา้ น/
อาคาร

- อพยพออกจากอาคารทีไ่ ด้รับความเสียหาย และเตรียมพร้อมรับการเกิดแผ่นดินไหว
ระลอกตอ่ ไป ตดิ ตามข่าว สถานการณ์ การเตือนภยั และคา้ แนะน้าตา่ ง ๆ เพื่อความปลอดภัย

- หลีกเล่ียงการขับข่ียวดยานในถนนและเข้าใกล้อาคารท่ีได้รับความเสียหาย ยกเว้น
กรณีฉกุ เฉนิ เพื่อไม่ให้กดี ขวางการปฏบิ ตั ิงานของเจ้าหน้าที่

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 183

แนวตอบกิจกรรมการเรียนรู้หน่วยท่ี 8 สึนามิ..ภยั ร้ายท่ีน่ากลัว

กจิ กรรมที่ 8

1. สึนามิ (tsunami) หมายถึง คล่ืนซึ่งเคล่ือนตัวในมหาสมุทรด้วยความเร็วสูงมากและมี
พลังรุนแรง สามารถเคลื่อนที่ไปได้เป็นระยะทางไกล ๆ เม่ือเคลื่อนท่ีเข้าสู่บริเวณชายฝั่งจะทาให้
เกิดเป็นคลื่นขนาดใหญ่มากก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้คน
ท่ีอาศัยอยู่ตามบริเวณชายฝั่ง คลืน่ ชนิดน้ีจึงแตกต่างจากคลืน่ ธรรมดาทีเ่ กดิ จากแรงลมพัดผ่านเหนือ
พน้ื ผิวน้าในท้องทะเล

2. การเกิดคลื่นสึนามิส่วนใหญ่จะมีสาเหตุมาจากการเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงใต้พ้ืน
ท้องมหาสมุทร แต่ถ้ามีสาเหตุอ่ืนที่ทาให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ในท้องทะเลโดยมิใช่จากการกระทา
ของลมพายุแลว้ กถ็ ือเป็นคลื่นสึนามไิ ด้เช่นกนั

3. สัญญาณบอกเหตกุ อ่ นเกดิ สนึ ามิ มดี ังน้ี
- เกิดแผ่นดินไหว รู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินและสิ่งท่ีอยู่รอบตัว หรือได้รับ

แจ้งข่าวแผ่นดนิ ไหวจากสื่อตา่ ง ๆ สันนิษฐานไวก้ ่อนเลยวา่ อาจจะเกดิ สนึ ามิตามมา
- สันคลื่นเป็นกาแพงขนาดใหญ่ มองเห็นสันคลื่นเป็นกาแพงขนาดใหญ่ ระลอกคล่ืน

ก่อตัวเปน็ กาแพงขนาดใหญ่
- ระดับนา้ ทะเลลดลงอย่างผดิ ปกติ

4. ประเทศท่ีได้รับความเสียหายจากการเกิดสึนามิ ในปี พ.ศ. 2547 ประกอบด้วย
อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา มัลดีฟส์ โซมาเลีย แทนซาเนีย และ
เคนยา

5. ประเทศไทยได้รับความเสียหายจากสึนามิ ใน 6 จังหวัดภาคใต้ท่ีมีพื้นที่อยู่ติดกับ
ชายฝ่งั ทะเลอนั ดามนั คือ ภเู กต็ พงั งา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล โดยเฉพาะทีจ่ งั หวดั พงั งา กระบี่
และภูเก็ต

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 184

6. ผลกระทบที่เกดิ จากสึนามิ ได้แก่

1) อันตรายตอ่ บคุ คล
2) อันตรายตอ่ ทรัพยส์ ิน
3) ความเสยี หายท่เี กดิ ข้นึ ในด้านต่างๆ เช่น ความเสียหายด้านชีวิตและทรัพย์สิน ความ
เสียหายด้านเศรษฐกจิ

7. วธิ กี ารระวงั ภัยจากสนึ ามิ มดี ังนี้

1) เม่ือได้รับฟังประกาศจากทางราชการเก่ียวกับการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณทะเล
อันดามัน ใหเ้ ตรยี มรับสถานการณท์ ่อี าจจะเกดิ คลืน่ สึนามติ ามมาได้ โดยด่วน

2) สงั เกตปรากฏการณ์ของชายฝ่ัง หากทะเลมกี ารลดของระดบั นา้ ลงมาก หลงั การเกิด
แผ่นดินไหวให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ ให้อพยพ คนในครอบครัว สัตว์เล้ียง ให้
อย่หู า่ งจากชายฝงั่ มากๆและอยใู่ นทีด่ อนหรอื นา้ ท่วมไม่ถึง

3) ตดิ ตามการเสนอขา่ วของทางราชการอยา่ งใกล้ชิดและต่อเนอื่ ง
4) หากท่พี ักอาศยั อยู่ใกลช้ ายหาด ควรจัดทาเขอื่ น กาแพง ปลกู ต้นไม้ วางวสั ดุ ลดแรง
ปะทะของนา้ ทะเล และก่อสร้างทพ่ี กั อาศัยใหม้ ัน่ คงแข็งแรง ในบริเวณย่านทม่ี คี วามเส่ียงภัยในเร่ือง
คลืน่ สึนามิ
5) หลกี เล่ียงการก่อสรา้ งใกลช้ ายฝ่ังในยา่ นทมี่ ีความเสี่ยงสูง

8. จงบอกวธิ กี ารปฏิบัตติ นขณะเกดิ เหตกุ ารณ์ สึนามิ

1) ในกรณีท่ีได้รับการเตือนภัยว่าจะเกิดคล่ืนสึนามิ ให้ต้ังสติให้ดี และปฏิบัติตาม
ขั้นตอนท่ีได้รับการอบรมมา ควรเตรียมอาหารแห้ง น้าด่ืม ยา เวชภัณฑ์ เอกสารสาคัญและเงินสด
จานวนหน่ึงติดตัวไปด้วย ให้อพยพขึ้นไปยังที่เนินสูงน้าท่วมไม่ถึงหรือใช้เส้นทางที่ทางราชการ
กาหนดไวใ้ ห้

2) เมื่อเห็นน้าทะเลลดลงอย่างผิดปกติ อย่าลงไปในชายหาด เพราะหากเกิดคลื่น
เคล่ือนตัวเข้ามาจะไม่สามารถวิ่งหลบหนีคลื่นได้ทัน ควรรีบออกให้ห่างจากบริเวณฝ่ังชายทะเลให้
มากท่สี ุด

3) ผู้ทเี่ ดนิ เรอื อยู่ในทะเล เมื่อไดย้ นิ การเตอื นภัยหา้ มนาเรอื เขา้ มาบรเิ วณชายฝ่ังเป็นอัน
ขาด ถ้าอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเลห่างจากชายฝั่ง เพราะคลื่นสึนามิที่อยู่
ไกลชายฝง่ั มาก ๆ จะมีขนาดเล็ก

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 185

9. จงบอกวิธีการปฏบิ ัตติ นหลังเกดิ เหตกุ ารณ์ สนึ ามิ
1) สารวจดูตนเองและคนท่ีใกล้ชิดว่ามีใครได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายหรือไม่ถ้ามี

ควรรบี ปฐมพยาบาลและนาสง่ โรงพยาบาลโดยด่วน
2) หลังจากคลื่นสึนามิพัดเข้าสู่ชายฝั่ง เมื่อเหตุการณ์จะสงบลง สิ่งที่ควรระวัง คือ

การเกิดแผ่นดินไหวเบา ๆ หรือท่ีเรียกว่า อาฟเตอร์ช็อก (aftershock) ตามมา และหากเกิดอาฟ
เตอรช์ ็อกข้ึนไม่ควรออกจากตัวอาคารบ้านเรือน ไม่ควรยนื ใกล้หนา้ ตา่ ง ประตู เพราะกระจกอาจจะ
แตก ทาใหไ้ ดร้ บั อนั ตรายได้

3) สารวจความเสียหายของอาคารบ้านเรอื น สิง่ ก่อสร้างตา่ ง ๆ
4) คอยฟังประกาศจากทางราชการ หากให้มีการอพยพออกนอกพ้ืนท่ี ควรหยิบ
เอกสารสาคัญและทรพั ยส์ นิ มีคา่ แล้วออกจากบริเวณดังกล่าวไปอยูใ่ นเขตปลอดภยั ต่อไป
10. กรณีทีเ่ กดิ สนึ ามิจะขอประสานความช่วยเหลอื และแจ้งขา่ วจากหนว่ ยงาน ดังนี้
1) ศนู ยเ์ ตือนภยั พิบัติแหง่ ชาติ สายดว่ น โทร: 192
2) กรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย สายดว่ นตลอด 24 ชั่วโมง โทร: 1784
3) กรมอุตนุ ยิ มวิทยา สายด่วน โทร: 1182
4) สถาบันการแพทยฉ์ ุกเฉินแหง่ ชาติ กระทรวงสาธารณสุข ฉุกเฉิน โทร : 1669

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 2 - 186

แนวตอบกิจกรรมการเรียนรู้หนว่ ยที่ 9
บคุ ลากรและหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องฯ

กจิ กรรมท่ี 9.1

1. ถ้าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดในหมูบ้านของท่านเองบุคคลที่สามารถให้ความช่วยเหลือใน
เบือ้ งตน้ ได้แก่ - กานนั ผใู้ หญบ่ า้ น

- นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล
- นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบล
2. ถา้ เหตุการณ์เกดิ หมบู่ า้ นอืน่ ในจงั หวดั ของท่าน บคุ คลทส่ี ามารถใหค้ วามชว่ ยเหลือได้
ได้แก่ - นายอาเภอ
- ผวู้ ่าราชการจังหวัด
- นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด
- ผอู้ านวยการศูนยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด

กจิ กรรมท่ี 9.2

1) ศนู ย์เตอื นภยั พบิ ัติแห่งชาติ สายด่วน โทร: 192
2) กรมการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย สายด่วนตลอด 24 ชว่ั โมง โทร: 1784
3) กรมอตุ ุนยิ มวิทยา สายด่วน โทร: 1182
4) สถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉินแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ โทร : 1669
5) กรมอุทยานแหง่ ชาติสตั ว์ปา่ และพันธพ์ุ ชื กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่งิ แวดล้อม

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ้ภู ัยธรรมชาติ 2 - 187

บรรณานกุ รม

กิจการ พรหมมา. (2551). การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากน้าป่า แผ่นดินถล่มและน้า
ท่วมซ้าซากในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานักงาน
คณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ.

กรมทรัพยากรธรณี. (2546). คู่มือการป้องกันธรณีพิบัติภัยจากดินถล่มและบัญชีรายชื่อหมู่บ้าน
เสีย่ งภยั ดนิ ถลม่ ภาคเหนอื . กรุงเทพฯ : กรมทรพั ยากรธรณ.ี

----------. (2547). 112 ปี กรมทรัพยากรธรณี “กา้ วทไี่ ม่หยดุ ยัง้ มุ่งม่นั เพ่ือประชาชน”.
กรงุ เทพฯ.

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (ม.ป.ป.). ป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัยเชียงใหม่ประกาศวาระภัยหนาว หมอกควัน ไฟป่าและภัยแล้งของจังหวัด
(ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.disaster.go.th/dpm/index.php [ 20 มีนาคม
2553]

กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น. (ม.ป.ป.). มาตรการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
(ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก: http://www.dla.go.th/work/e_book/eb1/std210550/6/5.pdf
[15 กันยายน 2559].

กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป). ภยั สุขภาพจากภาวะหมอกควัน (ออนไลน์).
สืบคน้ จาก http://hia.anamai.moph.go.th/main.php?filename=hia_poster_1
[12 กนั ยายน 2559].

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่าและพันธุ์พืช. (2546). สถติ กิ ารเกดิ ไฟปา่ ,แผนทแ่ี สดงจดุ ท่ตี รวจพบ
ความร้อน(Hotspot Maps. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
http://www.dnp.go.th/forestfire/2546/firestatistic%20Th.hmt
[20 สงิ หาคม 2559].

--------- . ( 2547). ประกาศกาหนดเขตควบคุมไฟปา่ . (ออนไลน์). สบื ค้นจาก :
http://www.dnp.go.th//forestfire/2547/fire%20protect%20Th.hmt
[20 กนั ยายน 2559].

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 188

กรมอุตนุ ยิ มวิทยา. (ม.ป.ป.). หนังสืออตุ นุ ิยมวทิ ยา(วาตภัย). (ออนไลน์). สืบคน้ จาก :
http:// www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=72 [12 กันยายน 2559].

กองประเมินผลกระทบต่อสขุ ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป). คาแนะนาในการ
ปฎบิ ัติตัวและดแู ลสขุ ภาพ ในสถานการณ์ปัญหาหมอกควนั (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก :
http://hia.anamai.moph.go.th/download/Serveillance/Danger/fog3.pdf
[12 กนั ยายน 2559].

กฤษดา เกิดดี. (2553). รทู้ นั ภัยพิบตั ิ : คมู่ ือความปลอดภัยสาหรับดแู ลตนเองและครอบครวั .
กรุงเทพฯ : วงกลม.

ขา่ วไทยพีบเี อส 30 ตุลาคม2555. เปิดเทคนิคการต้ังชื่อพายุ และการแบ่งประเภทของพายุ.
(ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก : http://news.thaipbs.or.th/content/122156
[14 กนั ยายน 2559].

คลังปญั ญาไทย. โคลนถล่ม. (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก http://www.panyathai.go.th
[20 มนี าคม 2553]

โครงการพฒั นาการจดั การภยั พิบตั ิ ภาคประชาชน. (2550). ดินถลม่ (ภัยพิบตั )ิ . (ออนไลน)์ .
สบื คน้ จาก http://www.siamvoluter.com [21 มนี าคม 2559 ].

โครงการวิจัยไทย มูลนธิ ิส่งเสรมิ สนั ตวิ ิถี. (2551). สรปุ ประเด็นสาคัญ: ผลกระทบของพายุ
ไซโคลนนารก์ สิ ทีม่ ตี ่อประชาชนในพม่า (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
www.volunteerspirit.org/files/u1/peaceway.doc [10 ตุลาคม 2559].

จรัญธร บุญญานุภาพ. (2551). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กบั การจัดการภัยพบิ ตั จิ ากแผน่ ดนิ
ถลม่ ในประเทศไทย. วารสารเกษตรนเรศวร.

จงรักษ์ วัชรนิ ทรร์ ัตน์ และ สานักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาต.ิ (2550) การศึกษาศกั ยภาพลุ่ม
น้าเพื่อจดั ทาแผนปอ้ งกนั และฟื้นฟใู นการบรรเทาความเสียหายพ้ืนท่ปี ระสบภยั
นา้ ท่วมฉับพลนั และดนิ ถล่ม : กรณศี ึกษาพ้ืนที่ลมุ่ นา้ ห้วยนา้ รดิ อาเภอท่าปลา จงั หวดั
อุตรดิตถ.์ กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ.

จิระ ปรงั เขยี ว. กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั และ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. (2551).
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ในการวิเคราะหแ์ ละวางแผนจดั การพ้ืนท่ี
เส่ยี งภยั ดนิ ถลม่ ในอาเภอฝาง จงั หวัดเชียงใหม่. กรงุ เทพฯ.

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 2 - 189

ชติ ชยั อนนั ตเศรษฐ์. (ม.ป.ป.). ปญั หาดนิ ถล่มในจังหวดั เชยี งใหม่และภาคเหนอื ตอนบน.
(ออนไลน์). สืบคน้ จาก http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm.
[2 มนี าคม 2559].

ธวชั ชยั ติงสัญชลี และ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย. (2546). โครงการวจิ ัย การพฒั นา
แผนหลักการจดั การภยั ธรรมชาติที่เก่ยี วข้องกบั นา้ : นา้ ท่วม น้าแล้ง และแผ่นดนิ ถล่ม
: รายงานฉบับสมบูรณ์. กรงุ เทพฯ : สานกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

บัญชา ธนบญุ สมบัติ. (2548). รบั มอื "ธรณีพิบัต"ิ .กรงุ เทพฯ :รว่ มด้วยช่วยกนั .
มีนา ม.โอวรารนิ ท์. (2557). คู่มอื เอาตวั รอดจาก 16 ภยั พบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์พิมพด์ ี.
----------. รบั มอื “ธรณพี ิบัตภิ ยั ”.กรงุ เทพฯ : ร่วมด้วยชว่ ยกนั , 2548.
บญุ ชยั งามวิทย์โรจน.์ (2551). ปัจจัยเสยี่ งและวถิ ชี วี ิตของชุมชนในพ้ืนที่ เส่ยี งภยั ดินถลม่ และน้า

ท่วม-ดนิ ถลม่ ศึกษาเฉพาะกรณีชมุ ชนในพืน้ ท่ีลมุ่ นา้ ปิงตอนบน : รายงานการศึกษา
วจิ ัย. กรงุ เทพฯ : สานกั วิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา.
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2553) การประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบ
สารสนเทศภูมศิ าสตร์ : เพือ่ การวิเคราะห์และวางแผนจดั การพ้ืนที่เส่ยี งภยั ดนิ ถล่ม
กรณศี กึ ษาอาเภอ ลบั แล อาเภอท่าปลา และอาเภอเมือง จงั หวดั อุตรดติ ถ์. กรงุ เทพฯ :
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
มีนา ม.โอวรารินท์. (2557). คู่มือเอาตัวรอดจาก 16 ภัยพบิ ัต.ิ กรุงเทพฯ : โรงพิมพพ์ มิ พด์ .ี
----------. (ม.ป.ป.). พายุหมนุ เขตร้อน. (ออนไลน์). สบื ค้นจาก : http://www.lesa.biz/earth/
atmosphere/phenomenon/tropical-storm [13 กนั ยายน 2559].
ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารอาเซียน กรมประชาสมั พนั ธ.์ (2559). การแกไ้ ขปัญหาหมอกควันภายใตค้ วาม
ตกลงอาเซียนวา่ ดว้ ยมลพษิ จากหมอกควันขา้ มแดน (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก
http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=5864&filename=index
[12 กนั ยายน 2559]
ศนู ย์ขอ้ มูลภัยพบิ ัติภาคประชาชน. (ม.ป.ป.). สถติ ิพายหุ มนุ เขตร้อนและมกี าลังรุนแรงทีเ่ ขา้ สู่
ประเทศไทย (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.disasterthailand.org/สถติ พิ ายุ
หมุนเขตรอ้ นและมีกาลังรุนแรงทเี่ ข้าสปู่ ระเทศไทย. [13กันยายน 2559].
ศูนยป์ อ้ งกันภยั พิบัตภิ าคประชาชน. (ม.ป.ป.). ข้อมลู เหตกุ ารณ์ดินโคลนถลม่ ท่ีผ่านมา. (ออนไลน์)
สบื คน้ จาก : http://www.disasterthailand.org. [4 เมษายน 2559].

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 2 - 190


Click to View FlipBook Version