The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ อ.อ.ป. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-01-12 04:38:48

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ อ.อ.ป. 2564

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ อ.อ.ป. 2564

สารบัญ 1
2
สารจากผูอาํ นวยการองคการอตุ สาหกรรมปาไม 3
ขอมูลองคกร 4
คานิยมของ อ.อ.ป. 5
8
สารบญัโครงสรางการพัฒนาความย่ังยนื ของ อ.อ.ป. 9
10
การดําเนินธรุ กจิ ของ อ.อ.ป. 14
Value chain ของ อ.อ.ป. 15
ธรุ กิจดานปาไม 16
ธรุ กจิ ดานอตุ สาหกรรมไม
ธรุ กจิ ดานทองเทยี่ วเชิงอนรุ กั ษ 18
ธุรกจิ อนื่ ๆ ทีต่ อเนอ่ื งจากสวนปาเศรษฐกิจ
งานดานการอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม 19
และตอบสนองนโยบายรัฐบาล 20
นโยบายการกํากับดแู ลท่ีดแี ละการแสดงความรับผิดชอบ 22
ตอสงั คมและสง่ิ แวดลอมในกระบวนการของ อ.อ.ป. 23
นโยบายการกาํ กบั ดแู ลกิจการทด่ี ขี อง อ.อ.ป. 24
นโยบาย CSR in Process 25
การจัดการความเส่ียง 26
ความเส่ยี งของ อ.อ.ป. 28
จรยิ ธรรมในการดาํ เนินธรุ กจิ 29
ชองทางรับขอรองเรยี น 30
ผูมสี วนไดสวนเสียของ อ.อ.ป. 31
รางวัลแหงความภมู ิใจ 39
อ.อ.ป. สูความยั่งยนื 58
มิตคิ วามยั่งยืนของ อ.อ.ป. 66
- ดานเศรษฐกจิ
- ดานสงั คม
- ดานสงิ่ แวดลอม
เกย่ี วกบั รายงานการพฒั นาความยั่งยนื ประจาํ ป 2564

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 1

สารจากผอู าํ นวยการองคการอุตสาหกรรมปาไม

องคการอุตสาหกรรมปาไม (อ.อ.ป.) ไดให ติดตามการดําเนินงานในชวงการแพรระบาด
ความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจภายใตแนวคิดการ อยางใกลชิด ผานการรายงานใหคณะผูบริหาร
พัฒนาอยางย่ังยืน โดยมุงม่ันที่เปนหนวยงานท่ี ทราบผานชองทางออนไลนตาง ๆ และมีการ
ดําเนินงานเพื่อสังคม และดําเนินงานตามแผนการ ส่ือสารการดําเนินใหแกผูมีสวนไดสวนเสียอยาง
พัฒนาที่ย่ังยืน เพื่อสงเสริมใหธุรกิจมีการเติบโตอยาง สมํ่าเสมอ รวมทั้งมีการใชแนวทางการปฏิบัติงาน
มั่นคงจากภายในสูภายนอก และสรางคุณคาและ แบบเหลื่อมเวลา โดยกําหนดสัดสวนของ
คุณประโยชนใหแกผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล ผูปฏิบัติงานในการปฏิบัติงานใหเหมาะสม ตาม
ท้ังในมิติดานเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม มาตรการ Work from Home
สอดคลองกับนโยบายรัฐบาลและนโยบายของกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งสะทอนถึง ในนามคณะผูบริหาร อ.อ.ป. ขอขอบ
ความสําเร็จในการพัฒนาอยางย่ังยืนและการกํากับ พระคุณผูบริหารกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
ดแู ลกิจการทด่ี ีของ อ.อ.ป. และส่งิ แวดลอม คณะกรรมการของ อ.อ.ป. และ
ขอขอบคุณผูปฏิบัติงานทุกคนที่เปนกําลังใจและ
ในป 2564 เกิดสถานการณการแพรระบาด เปนกําลังในการขับเคล่ือนการดําเนินงาน โดย
ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ซ่ึงนับไดวาเปนปแหง อ.อ.ป. จะยืนหยัดและยึดม่ันในการดําเนินธุรกิจ
ความทาทายของธุรกิจของ อ.อ.ป. เปนอยางยิ่ง ตามหลกั ธรรมาภิบาล และมีความรับผิดชอบตอ
เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดตอ สังคม รวมท้ังสรางคุณคาใหกับองคกรอยาง
ดังกลาว สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจในทุกภาค ย่งั ยนื สบื ไป
สวน สงผลใหผลการดําเนินธุรกิจของ อ.อ.ป. มีรายได
ลดลง ไมเปนไปตามเปาหมายท่ีกําหนด แตอยางไร
ก็ตาม สถานการณดังกลาวถือเปนโอกาสท่ีดีอันแสดง
ใหเห็นถงึ ความสามารถในการดําเนินธุรกิจของ อ.อ.ป.
และความรวมแรงรวมใจกันของผูปฏิบัติงาน อ.อ.ป.
ในการรวมดําเนินธุรกิจไดอยางยั่งยืน ท้ังการบริหาร
จัดการความตอเน่ืองทางธุรกิจ (BCP) การสรางความ
เชื่อม่ันใหแกลูกคา การอยูเคียงขางกับชุมชนและ
สังคม ตลอดจนการรวมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจใน
การฝาฝนอปุ สรรคในครั้งนีไ้ ปดวยกนั

สําหรับการรับมือกับสถานการณการแพร
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อ.อ.ป. ไดมีการ

รายงานการพัฒนาความยงั่ ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 2

ขอมูลองคกร

วิสยั ทัศน อ.อ.ป. (FIO’s Vision)
“เปนผนู าํ จดั การสวนปาเศรษฐกิจอยางยงั่ ยืน เพื่อยกระดับอตุ สาหกรรมไมจากปาปลูก ในป 2565”

พันธกิจ อ.อ.ป. (FIO’s Missions)

1. พฒั นาทีด่ ินสวนปาใหเปนสวนปาเศรษฐกิจอยางยง่ั ยนื ใชประโยชนพ้ืนทปี่ าเศรษฐกจิ ตามศกั ยภาพสวนปา
2. สงเสรมิ การปลกู ไมเศรษฐกิจ พัฒนาระบบและสรางกลไกการตลาดไมเศรษฐกิจอยางเปนธรรม

3. สงเสรมิ และพฒั นาธุรกจิ อุตสาหกรรมไมและสงเสริมชุมชนทองถิน่ ดานอุตสาหกรรมไม

4. วจิ ัยพัฒนาการปลกู และใชประโยชนจากไมเศรษฐกจิ
5. ปรับโครงสรางทางการเงินท้ังระบบ พัฒนาสินทรัพยเพ่ือสนับสนุนภารกิจขององคกรใหเกิดประโยชนตาม

ศักยภาพ สรางกาํ ไรพอเลีย้ งองคกร ไมเปนภาระตอรัฐ
6. พัฒนาชุมชนทองถ่ินโดยใชสวนปาเปนฐานสงวน อนรุ กั ษ บริบาลชางไทยและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม
7. พฒั นาธรุ กจิ บรกิ ารอยางครบวงจร พฒั นาธุรกจิ ทองเทย่ี ว

รายงานการพัฒนาความย่ังยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 3

คานยิ มของ อ.อ.ป.

รายงานการพัฒนาความยงั่ ยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 4

โครงสรางการพัฒนาความยงั่ ยนื ของ อ.อ.ป.

คณะกรรมการของ อ.อ.ป.
คณะกรรมการกํากับงานดาน CG และ CSR

หนวยงานผลิต สาํ นักบรหิ ารกลาง หนวยงานสนับสนนุ

ฝายกจิ กรรมสัมพันธ ฝายอํานวยการ ฝายทรัพยากรมนุษย
งานการประชุม

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 5

การดาํ เนนิ ธุรกจิ ของ อ.อ.ป.

1. ธุรกิจดานปาไม
การปลูกสรางสวนปาเศรษฐกิจ เปนกิจกรรมท่ีดําเนินการมาตั้งแตป พ.ศ. 2510

จนถึงปจจุบันมีสวนปาไมเศรษฐกิจจํานวน 250 แหง พื้นที่ประมาณ 1,107,378.427 ไร
กระจายอยูตามภูมิภาคตาง ๆ ท่ัวประเทศ มีชนิดไมหลักซึ่งเปนไมเศรษฐกิจ 3 ชนิด ไดแก
ไมสัก ไมยูคาลิปตัส และไมยางพารา นอกน้ันเปนไมกระยาเลยอื่น ๆ อ.อ.ป. ไดบริหาร
จัดการสวนปาเศรษฐกิจตามระบบการจัดการสวนปาอยางยั่งยืนทั้งที่เปนมาตรฐานของ
อ.อ.ป. และมาตรฐานสากล (FSC) โดยการมีสวนรวมของชมุ ชนทองถ่ิน ซึ่งทําใหการบริหาร
จัดการสวนปาไมเศรษฐกิจ มีความย่ังยืนทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม
ปจจุบันสวนปาท่ีผานการรับรองตามมาตรฐาน FSC มีจํานวน 72 แหง พ้ืนที่ประมาณ
525,384.85 ไร

รายงานการพัฒนาความยงั่ ยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 6

อ.อ.ป. จาํ แนกประเภทสวนปา ตามลกั ษณะเงินลงทุนและวัตถุประสงคของการ สงมอบ
พนื้ ทีจ่ ากรฐั บาล ออกเปน 6 โครงการ ประกอบดวย

สวนปาโครงการท่ี 1 ปลูกดวยเงินลงทนุ ของ อ.อ.ป.
สวนปาโครงการท่ี 2 ปลกู ทดแทนตามเงอ่ื นไขสัมปทานของ อ.อ.ป.
สวนปาโครงการที่ 3 ปลกู ทดแทนตามเง่อื นไขสมั ปทานแทนบริษทั จงั หวดั ทําไม
สวนปาโครงการที่ 4 เปนสวนปาทป่ี ลกู โดยบรษิ ัททําไมจงั หวัด โดย อ.อ.ป. ไดรบั มอบ
สวนปามาจากกรมปาไม ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
สวนปาโครงการที่ 5 เปนสวนปาที่ปลกู โดยงบประมาณของรฐั บาล ปลกู โดยกรมปาไม
ตอมาคณะรัฐมนตรไี ดมีมตเิ ม่ือวนั ท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2535 มอบให อ.อ.ป. เปนผดู แู ลและ
ใชประโยชนบางสวน
สวนปาโครงการที่ 6 เปนสวนปาทปี่ ลูกโดยงบประมาณของบริษัทไมอดั ไทย จํากัด
ซง่ึ เปนบรษิ ทั ที่ อ.อ.ป. ถอื หุน 100 เปอรเซ็นต เมอื่ คณะรัฐมนตรีมีมตเิ มื่อวนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ
พ.ศ. 2555 ใหยบุ เลกิ บริษทั ไมอดั ไทย จาํ กัด อ.อ.ป. จึงไดรบั มอบสวนปาของบรษิ ทั ฯ
มาดาํ เนนิ การ

2. ธุรกิจดานอุตสาหกรรมไม

โรงเลื่อยและโรงงานอุตสาหกรรมไม 5 แหง ผลิตไมแปรรูป ไมประสาน วงกบ ประตู
หนาตาง ผลติ ภณั ฑไม เฟอรนเิ จอรไม จากไมซุงสักสวนปาของ อ.อ.ป. ประมาณปละ 10,000 ลบ.ม.
แตจากขอจํากัดดานเงินทุนทําใหไมสามารถนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม ๆ มาพัฒนา
กระบวนการผลิตสินคาและบริการ จึงยังไมเปน Economy of scale และไมเกิด value chain
สนิ คายัง ไมไดมาตรฐานสามารถจําหนายไดในตลาดเฉพาะกลุมเทานั้น นอกจากน้ีการจัดการดาน
การตลาดยัง ขาดประสิทธิภาพไมเปนการตลาดเชิงรุก ชองทางการจําหนายและแหลงกระจาย
สินคาอยูในวงจํากัด สินคาไมเปนท่ีรับรูของผูบริโภคทําใหธุรกิจอุตสาหกรรมไมยังไมประสบ
ผลสาํ เร็จตามเปาหมาย

รายงานการพัฒนาความยัง่ ยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 7

3. ธรุ กิจดานทองเท่ยี วเชงิ อนุรักษ
ในป 2564 อ.อ.ป. มีการปรบั ภูมิทศั นและสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน เพื่อพัฒนาสวนปา

ท่มี ศี กั ยภาพให เปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ 7 แหง และสถาบันคชบาลแหงชาติ ในพระอุปถัมภฯ
1 แหง ปจจุบนั ธรุ กิจทองเท่ียวเชิงอนุรักษเปนเพียงธุรกิจเสริมท่ีสรางรายไดในสัดสวนที่นอยมาก
แตเน่ืองจากธุรกิจ ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ยังมีโอกาสและศักยภาพในการพัฒนาใหเปนธุรกิจท่ี
สามารถสรางรายไดหลักได เนื่องจากอุตสาหกรรมทองเที่ยวเปนธุรกิจที่สรางรายไดเปนอันดับตน ๆ
ของประเทศ โดยเฉพาะในระยะ หลังท่ีการทองเที่ยวเชิงอนุรักษไดรับความสนใจในหมูนักทองเที่ยว
ท้ังคนไทยและชาวตางชาติ

4. ธรุ กจิ อนื่ ๆ ทตี่ อเนอ่ื งจากสวนปาเศรษฐกจิ
เปนธุรกิจที่คาดวาในอนาคตจะสามารถสรางรายได เชน การจําหนายคารบอน เครดิต

การรับจางปลูกและการเก็บเกี่ยวผลผลิตไมเศรษฐกิจ พลังงานชีวมวล การรับจางเปนท่ีปรึกษา
การจัดการสวนปาไมเศรษฐกิจอยางย่ังยืน และการพัฒนาสินทรัพย (ที่ดินกรรมสิทธ์ิ) ท่ีมีอยู

จาํ นวน มากและยงั ไมไดนาํ มาพัฒนาใชประโยชนในเชงิ พาณิชยฯลฯ

5. งานดานการอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมและตอบสนองนโยบายรัฐบาล
เปนการดําเนินงานตามบทบาทดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เพื่อตอบสนองนโยบายรัฐบาลและ เชน การดูแลเล้ียงดูชางสําคัญ การคุมครองและบริบาลชาง
เลยี้ งไทย การสงเสริมใหราษฏรปลูกไมเศรษฐกิจในท่ีดินที่มีสิทธิ การสรางความรูความเขาใจและ
ปลูกฝงทัศนคติ ใหเยาวชนดานการอนุรักษทรัพยากรปาไม การถายทอดความรูและเทคโนโลยี
เพ่ือปรับปรุงมาตรฐาน ในการผลิตผลิตภัณฑไมเพื่อพัฒนาฝมือของราษฎรและชางฝมือเพ่ือสราง
รายไดใหกบั ราษฎร การจัดตั้ง กองทุนพัฒนาทองถิ่นในสวนปาของ อ.อ.ป. เพ่ือสงเสริมการประกอบ
อาชีพและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของ ประชาชนในทองถ่ิน

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 8

Value chain ของ อ.อ.ป.

ตนน้ํา กลางนํ้า ปลายนํา้

การสรางวตั ถดุ บิ การพัฒนาประสทิ ธภิ าพ แปรรปู การตลาด โครงการตามนโยบายรฐั บาล
การดําเนนิ งาน
1. สวนปา 1. สวนปา 1. เพิม่ ชองทางการจาํ หนาย 1. โครงการสงเสริมการปลกู ไม
อ.อ.ป. มีพนื้ ทีส่ วนปา 1. การจดั ทาํ ระบบควบคมุ การ 1.1. แผนการทาํ ไม 1.1 ตัวแทนจําหนาย เศรษฐกิจ
รวม 1.107 ลานไร เคลอื่ นยายของสนิ คาไม (Chain 1.2. การจาํ หนายไมลวงหนา 1.2 ตวั แทนฝากขาย 2. ดูแลรกั ษาชางสาํ คญั
จํานวน 250 สวนปา of Custody : CoC) 1.3. แผนงานเพ่มิ ประสิทธภิ าพสวนปา 1.3 การผอน 3. ศนู ยพัฒนาและถายทอด
2. โรงเลื่อย 2. มาตรฐานการจัดการสวนปา เชน จดั ซ้ือยานพาหนะทดแทน 1.4 พันธมิตรทางธุรกิจ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมไม
อ.อ.ป. มีโรงเลื่อย เศรษฐกิจอยางย่งั ยนื 2. อตุ สาหกรรมไม 4. อนรุ ักษพนั ธกุ รรมไมดงั้ เดิม
จาํ นวน 5 แหง (Sustainable Forest 2.1. แผนดําเนนิ งานดานอุตสาหกรรมไม ทาํ MOU หายากในพน้ื ท่ีสวนปา
Management : SFM) 2.2. แผนเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลิตไม 2. การพัฒนารูปแบบ
3. การพัฒนาบคุ ลากร ไดแก การขยายกาํ ลงั ผลิต , เครอื่ งจักร ผลิตภัณฑใหม
4. งบประมาณลงทนุ ป 2564 ท่ีทนั สมัย(ลงทนุ เพิม่ เตมิ )
จากเงนิ รายได อ.อ.ป. 3. การทองเทยี่ ว
ประกอบดวย งบลงทุนขออนมุ ัติ 3.1. สวนปา 8 แหง
รายป และงบลงทนุ ทจี่ ดั ทําเปน 3.2. สถาบันคชบาลฯ
แผนระยะยาว 4. ธรุ กจิ อื่น ๆ
4.1. การซ้อื ขายไมแปรรปู
4.2. การเชาท่ีดนิ

รายงานการพัฒนาความยง่ั ยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 9

ธรุ กจิ ดานปาไม

สวนปา อ.อ.ป. 250 แหง พน้ื ที่ 1,107,378.427 ลานไร

พื้นทใี่ หผลผลิต 64 %

พ้นื ทร่ี อการพฒั นา 8 %

พืน้ ที่บุกรุกครอบครอง 11%

พืน้ ทอ่ี นรุ กั ษฯ 17%

อ.อ.ป. มพี ืน้ ที่สวนปารวม 1,107,378.427 ลานไร จาํ แนกพ้ืนทท่ี ่ใี หผลผลิตได ดังน้ี
250 สวนปา แบงพ้นื ท่ีการใชประโยชน ดงั น้ี 1. ไมสักสวนปา 491,421.353 ไร
2. ไมโตเรว็ 110,205.614 ไร
1. พืน้ ทีใ่ หผลผลิต 718,233.431 ไร 3. ไมยางพาราผสมไมมีคา 78,179.327 ไร
2. พน้ื ท่รี อการพัฒนา 85,217.959 ไร 4. ไมชนิดอ่นื ๆ 38,427.137 ไร
3. พน้ื ทบี่ ุกรุกครอบครอง 112,582.388 ไร
4. พ้ืนท่ีอน่ื ๆ 191,344.649 ไร

รายงานการพัฒนาความย่ังยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 10

ธรุ กจิ ดานอตุ สาหกรรมไม

อ.อ.ป. มีโรงเลอื่ ย จาํ นวน 5 แหง

1. โรงเลื่อยอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
2. โรงเลอื่ ยแมเมาะ จงั หวัดลําปาง
3. โรงเลอื่ ยรองกวาง จังหวดั แพร
4. โรงเลื่อยวังนอย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
5. โรงเลื่อยอาวลกึ จงั หวัดกระบี่

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 11

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 12

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 13

รายงานการพัฒนาความยั่งยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 14

ธรุ กิจดานการทองเท่ียวเชงิ อนุรักษ

ออป.เหนอื บน
สวนปาแมแจม จังหวัดเชยี งใหม
สวนปาดอยบอหลวง จงั หวัดเชียงใหม
สวนปาบานวดั จันทร จงั หวดั เชยี งใหม

ออป.เหนือลาง
สวนปาเขากระยาง จังหวัดพิษณุโลก
สวนปาแมละเมา - แมสอด จงั หวัดตาก

ออป.ใต
สวนปากะเปอร จังหวัดระนอง
สวนปาคลองทอม จังหวัดกระบ่ี

สถาบนั คชบาลแหงชาติ ในพระอปุ ถมั ภฯ จังหวัดลําปาง

รายงานการพัฒนาความยง่ั ยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 15

ธรุ กจิ อืน่ ๆ ทต่ี อเน่ืองจากสวนปาเศรษฐกิจ

1. โครงการจาํ หนายไมขดุ ลอมแบบขายตรง เปนแนวคดิ ทจ่ี ะ
ขดุ ลอมตนไมที่ปลูกจากสวนปา จําหนายใหผปู ระกอบการไมลอม
หรือประชาชนทัว่ ไปทส่ี นใจสนิ คาประเภทไมลอม

2. โครงการจําหนายน้ํามัน - ชันยางนาของสวนปาในสงั กดั
ออป.ใต ดําเนนิ การเจาะเพ่อื เอานํ้ามนั หรือชนั ยางนาจากแปลง
ปลูกสรางไมยางนาของสวนปาในสงั กดั

3. โครงการจําหนายไมกนั เกราแบบขุดลอมของสวนปา
ทาชนะ

4. โครงการเพม่ิ มลู คาผลผลิตน้ํายางพาราจากพ้นื ที่สวนปา
โดยการรับรองผลติ ภัณฑที่ไดจากสวนปาทม่ี ีการจัดการสวนปา
เศรษฐกจิ อยางยงั่ ยนื ตามมาตรฐานสากล (FSC) เปาหมายตาม

5. โครงการจาํ หนายไมไผทสี่ วนปานบปริง (สวนปารมณยี )
แปลงป 2524 และ 2525

รายงานการพัฒนาความย่ังยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 16

งานดานการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและตอบสนองนโยบายรัฐบาล

สถาบนั คชบาลแหงชาติ ในพระอุปถมั ภฯ อําเภอหางฉตั ร จงั หวดั ลําปาง

ดแู ลชางสําคญั จากสํานกั พระราชวัง จาํ นวน 13 ชาง/เชือก

ดูแลและบริบาลชาง อ.อ.ป. และเอกชน จาํ นวน 550 เชือก

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 17

รายงานการพัฒนาความยง่ั ยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 18

นโยบายการกํากบั ดูแลที่ดี การแสดงความรับผดิ ชอบตอสังคม
และสง่ิ แวดลอมในกระบวนการของ อ.อ.ป.

การกาํ กับดแู ลกิจการที่ดี

อ.อ.ป. ใหความสําคัญกับการกํากับดูแลกิจการท่ีดี เพ่ือรักษาผลประโยชนของผูมีสวนได
สวนเสยี ทกุ กลมุ โดยไดกําหนดนโยบายธรรมาภิบาลที่สอดคลองกับแนวทางการกํากับดูแลกิจการ
ที่ดีของ อ.อ.ป. และไดสงเสริมใหคณะกรรมการของ อ.อ.ป. ผูบริหารระดับสูง ผูบริหาร และ
ผปู ฏบิ ัตงิ านของ อ.อ.ป. ปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกลาวบนพื้นฐานของความโปรงใส สุจริต เปนธรรม
และสามารถตรวจสอบได

กิจกรรมในแผนการกาํ กับดูแลทด่ี ีของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564

กลยุทธที่ 1 ยกระดบั และสงเสรมิ ความรคู วามเขาใจคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
1) การเสริมสรางคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ และคานิยมองคกร
2) การปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต ประพฤตมิ ชิ อบและสงเสรมิ คมุ ครองจรยิ ธรรม
3) การยกยอง ชมเชย พนักงานทเ่ี ปนคนเกงคนดี และทําคุณประโยชนใหแกองคกร

กลยุทธท่ี 2 ยกระดบั การดาํ เนนิ การตามนโยบายของรัฐ
4) การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครัฐ
(Integrity & Transparency Assessment : ITA)

กลยุทธที่ 3 สงเสรมิ และพัฒนาผูมีสวนไดสวนเสีย
5) กิจกรรมเสรมิ สรางใหผูปฏบิ ัติงานมสี วนรวมและตระหนักในดานความขดั แยงทาง
ผลประโยชน
6) กจิ กรรมการประเมินความพึงพอใจของลูกคา

รายงานการพัฒนาความย่ังยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 19

นโยบายการกาํ กับดแู ลกจิ การท่ีดีของ อ.อ.ป.

ลาํ ดบั นโยบาย แนวทางปฏบิ ัติ

1 หลกั นติ ธิ รรม ปฏิบตั งิ านโดยยดึ ปรับปรุงระเบียบ ขอบังคับ ขอกฎหมาย ใหทันสมัยและเปน

หลกั กฎหมาย ระเบียบ ขอบงั คับ ธรรม ตลอดจนเปนท่ียอมรับของสังคม โดยมีการยินยอม

พรอมใจและถอื ปฏิบตั ริ วมกนั อยางเสมอภาคและเปนธรรม

2 หลกั คุณธรรม ปฏิบัตงิ านโดยยดึ ถือ รณรงคเพื่อสรางคานิยมท่ีดีงามใหผูปฏิบัติงานในองคกรถือ

เช่อื มนั่ ในความถกู ตองดงี าม ปฏิบัติ เชน ความซื่อสัตยสุจริต ความเสียสละ ความอดทน

ขยนั หมนั่ เพียร ความมรี ะเบียบวนิ ยั เปนตน

3 หลักความโปรงใส ปฏบิ ัติงานดวย ปรับปรุงระบบงานและกลไกการทํางานขององคกรใหมีความ
ความโปรงใส เปดเผย ตรวจสอบได โปรงใสมีการเปดเผยขอมูลขาวสารหรือเปดใหประชาชน
สามารถเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวกตลอดจนมีระบบหรือ
กระบวนการตรวจสอบและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่งจะเปนการสรางความไววางใจซึ่งกันและกันและชวยใหการ
ทํางาน ในองคกรปลอดจากการทุจริตคอรปั ชนั่

4 หลักความมสี วนรวม ปฏิบัตงิ าน เปดโอกาสใหประชาชน/ผูปฏิบัติงานในองคกรมีชองทาง

โดยเปดโอกาสใหทุกคนเขามามี ในการเขามามีสวนรวม เชน การแจงความเห็น การทําประชา

สวนรวม พจิ ารณ

5 หลักความรับผิดชอบ ปฏบิ ตั ิงาน สรางจติ สํานึกเพ่อื ใหผปู ฏบิ ัติงานตงั้ ใจปฏบิ ัตภิ ารกิจตามหนาท่ี

ดวยความรบั ผิดชอบ อยางดยี งิ่ รวมถงึ มีความรับผิดชอบตอความบกพรองในหนาท่ี

การงานที่ตนรับผิดชอบอยูและพรอมที่จะปรับปรุงแกไขได

ทนั ทวงที

6 หลกั ความคุมคา ปฏิบัตงิ านโดย สรางจิตสาํ นกึ เพอ่ื ใหผปู ฏิบตั ิงานตระหนักเสมอวา มีทรัพยากร

ยึดหลักความประหยัดและความ คอนขางจํากดั ควรจะตองดําเนินการอยางประหยัดและใหเกิด

คมุ คา ความคุมคาตอองคกร

รายงานการพัฒนาความยงั่ ยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 20

นโยบาย CSR in Process การแสดงความรับผิดชอบตอสังคมและ
สิง่ แวดลอมในกระบวนการ
1. หลกั การ
1) ความรบั ผดิ ชอบ อ.อ.ป. เปนรัฐวิสาหกิจอยูในกลุมทรัพยากร
2) ความโปรงใส ธรรมชาติ ดําเนินธุรกิจ และใหบริการเชิงสังคม
3) การปฏบิ ัติอยางมจี ริยธรรม ในการประกอบธุรกิจไดดําเนินการแสวงหารายได
4) การเคารพตอผลประโยชนของผมู สี วนไดเสีย และชวยเหลือสังคมตามสถานการณอยางตอเน่ือง
5) การเคารพตอหลักนิตธิ รรม อ.อ.ป. จึงตระหนักไดใหความสําคัญตอสังคมและ
6) การเคารพตอการปฏิบตั ติ ามแนวทางสากล ส่ิงแวดลอมในกระบวนการ (CSR in Process) ตาม
7) การเคารพตอสทิ ธมิ นษุ ยชน หลักมาตรฐานสากล ISO 26000 โดยในป 2564
2. แนวทางปฏิบตั ิ ไดดําเนินกิจกรรมเพ่ือตอบสนองสังคมผูมีสวนได
1) ธรรมาภบิ าล สวนเสียภายในและภายนอกองคกรอยางตอเน่ือง
2) สทิ ธิมนษุ ยชน เสมอมา
3) การปฏบิ ตั ิดานแรงงาน
4) สงิ่ แวดลอม
5) การปฏิบตั ิที่เปนธรรม
6) ประเด็นดานผบู รโิ ภค
7) การมีสวนรวมของชุมชนและการพัฒนาชมุ ชน

รายงานการพัฒนาความยั่งยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 21

กจิ กรรมในแผนการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอสงั คมและสง่ิ แวดลอม
ในกระบวนการของ อ.อ.ป. (CSR in Process) ประจําป 2564

กลยทุ ธที่ 1 สงเสริมความรูผูบรหิ าร พนกั งาน และประชาชน

1) กจิ กรรมพัฒนาทองถิน่ รอบสวนปา
2) กิจกรรมพฒั นาศูนยเรียนรไู มยางนาราชาแหงไพร
3) กจิ กรรมพัฒนาศนู ยเรยี นรูไมพะยงู

กลยทุ ธที่ 2 สงเสริมและพฒั นาการมสี วนรวมของผมู สี วนไดสวนเสยี
4) กจิ กรรมปลูกตนไมในวันสําคญั ตาง ๆ
5) กิจกรรมพัฒนาศูนยถายทอดเทคโนโลยีปรบั ปรุงมาตรฐานผลติ ภณั ฑไมสัก โดยการมีสวน

รวมของผูมสี วนไดสวนเสีย
6) กจิ กรรมเสรมิ สรางความเขมแขง็ ของชมุ ชนสาํ คัญรอบสวนปาของ อ.อ.ป.

รายงานการพฒั นาความย่ังยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 22

การจัดการความเสีย่ ง

อ.อ.ป. ตระหนักดีกวาการจัดการความเสี่ยงเปนหน่ึงในปจจัย
สําคญั ของการดําเนินธรุ กิจอยางยัง่ ยนื อ.อ.ป. จงึ ไดกาํ หนดแนวทางการ
จัดการความเสี่ยงซึ่งมีความสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติที่ดีตาม
หลักเกณฑของกระทรวงการคลัง วาดวย มาตรฐานแลหลักเกณฑ
ปฏบิ ัตกิ ารบริหารความเสี่ยงสําหรับหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 โดยมี
คณะกรรมการความเสี่ยงและทํางานบริหารความเส่ียงในระดับตาง ๆ
เปนผูกํากับดูแล นอกจากนี้ อ.อ.ป. ยังมีระบบการตรวจสอบภายใน
โดยสาํ นักตรวจสอบภายในท่มี ีความเปนอิสระในการปฏิบัติงานจากสาย
บริหาร และรายงานผลการดําเนินงานตอคณะกรรมการตรวจสอบของ
อ.อ.ป. ดําเนินงานตามแนวปฏิบัติสําหรับการปฏิบัติงานวิชาชีพการ
ตรวจสอบภายในท่ีสอดคลองตามมาตรฐานสากล

รายงานการพัฒนาความยั่งยนื ของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 23

ความเสยี่ งของ อ.อ.ป. ป 2564

ความเสี่ยงดานกลยุทธ ความเสี่ยงดานการปฏิบตั กิ าร
(Straegic Risk) (Operational Risk)

ค ว า ม เ ส่ี ย ง ท่ี เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ ก า ร กํ า ห น ด ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน
ของแตละกระบวนการ หรือกิจกรรมภายใน
แผนกลยุทธ แผนการดําเนินงาน และการนําแผน อ.อ.ป. รวมทั้งความเส่ียงที่เก่ียวของกับการ
ดังกลาวไปปฏิบัติอยางไมเหมาะสม นอกจากนี้ บริหารจัดการขอมูลดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
และขอมูลความรูตาง ๆ เพ่ือใหการปฏิบัติงาน
ความเสี่ยงดานกลยุทธยังรวมถึงการเปล่ียนแปลง บรรลุเปาหมายที่กําหนดซ่ึงความเสี่ยงดาน
ปฏิบัติการจะสงผลกระทบตอประสิทธิภาพของ
จากปจจัยภายนอกและปจจัยภายใน อันสง กระบวนการทํางานของ อ.อ.ป. และสงผลตอ
การบรรลวุ ัตถุประสงคหลักของ อ.อ.ป.
ผลกระทบตอการกําหนดกลยุทธ หรือการ

ดําเนินงาน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคหลัก

เปาหมาย และแนวทางการดาํ เนนิ งานของ อ.อ.ป.

ความเสย่ี งดานการเงิน ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตาม
(Financial Risk) กฎระเบียบ (Compliance Risk)

ความเส่ียงที่เก่ียวของกับการบริหารจัดการ ความเสี่ยงท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติตาม
ทางการเงิน อันสงผลกระทบตอการดํารงอยู หรือ กฎระเบยี บ ขอบังคับของหนวยงานกาํ กบั ดูแล
ประสิทธิภาพของกระบวนการทํางานของ อ.อ.ป.
รวมถึงสงผลใหเกิดความเสียหายตอ อ.อ.ป.

รายงานการพัฒนาความยั่งยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 24

จริยธรรมในการดําเนนิ ธุรกจิ ผลการประเมนิ ITA

อ.อ.ป. เชื่อวาการที่องคกรจะดําเนิน ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม
ธุรกิจไดอยางย่ังยืนน้ัน จะตองยึดมั่นตอ โปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงาน
จรยิ ธรรมในการดําเนินธุรกิจ ภาครัฐ (Integrity & Transparency
Assessment : ITA) ของสํานักงาน
อ.อ.ป. จึงมีกิจกรรมสงเสริมจริยธรรม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริ ต
ในการดําเนินธุรกิจท่ัวทั้งองคกร โดยยึด แหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) ในป 2564
หลักปฏิบัติตามคูมือการกํากับดูแลกิจการ อ.อ.ป. มีผลการประเมินในระดับคะแนน
ท่ดี ี ครอบคลมุ นโยบายธรรมาภิบาลนโยบาย 90.08 ผลคะแนนอยูในระดบั A
ตอตานคอรรัปชัน รวมถึงจรรยาบรรณที่พึง
ปฏบิ ตั โิ ดยสงเสริมวัฒนธรรมองคกรท่ีไมนิ่ง อ.อ.ป. มีผลคะแนน 90.08
เฉยตอการทุจริตทุกประเภท ซึ่งจริยธรรม ผลการประเมิน ผานเกณฑ อยูใน
ในการดาํ เนนิ ธรุ กจิ ของ อ.อ.ป. มีการกํากับ ระดบั A
ดูแลโดยคณะกรรมการกํากับงานดาน CG
และดาน CSR ของ อ.อ.ป. ลดลงจากป 2562 จํานวน
0.87 คะแนน (ป 2562 ได 90.95
คะแนน)

รายงานการพัฒนาความยัง่ ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 25

ชองทางรับขอรองเรียน

อ.อ.ป. กําหนดชองทางการรองเรียนดานการกาํ กับดแู ลกจิ การทด่ี ี ความเสยี่ ง และจริยธรรมใน
การดําเนนิ ธรุ กจิ ผานชองทางทีป่ ลอดภยั และเปนความลับ ดงั นี้

รองเรียนดวยตนเอง ชองทางจดหมายถงึ อ.อ.ป.
ผานศูนยปราบปรามการทุจรติ ของ อ.อ.ป. เลขที่ 76 ถนนราชดาํ เนินนอก
แขวงวัดโสมนสั เขตปอมปราบศตั รูพาย
เลขท่ี 76 ถนนราชดําเนินนอก
แขวงวัดโสมนสั เขตปอมปราบศตั รพู าย กรงุ เทพฯ 10100

กรุงเทพฯ 10100 ตูปณ.222 ปณฝ.หลานหลวง กรงุ เทพฯ

10๑๐

ชองทางโทรศัพท ชองทางเวบ็ ไซต
หมายเลข 0 2282 3243 - 7 www.fio.co.th
โทรสาร หมายเลข 0 2282 4197

ชองทางจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส ชองทางออนไลน
[email protected] เชน Facebook อ.อ.ป.

ขอรองเรยี นทไ่ี ดรบั ทั้งหมดจะถกู ดําเนนิ การตาม “ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติการรับเรื่องรองเรยี นและการแจง
เบาะแสของ อ.อ.ป.” ที่มคี วามเปนอสิ ระและสอดคลองตามแนวทางการปฏบิ ัตทิ ดี่ ี โดยใหความคมุ ครอง

แกผูรองเรียนจากการปฏิบตั ทิ ไ่ี มเปนธรรม

รายงานการพัฒนาความยง่ั ยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 26

ผูมสี วนไดสวนเสยี ของ อ.อ.ป.

อ.อ.ป. ไดกําหนดกลุมผูมีสวนไดเสียตามกระบวนการตาง ๆ แบงเปน
14 กลุม ประกอบดวย

1) ลูกคา หมายถึง บุคคลธรรมดา หางราน นิติบุคคล หนวยงานของรัฐ
และอื่น ๆ ท่ีเปนผูซื้อสินคา หรือบริการโดยตรงใหกับ อ.อ.ป. หรือซื้อสินคา
และบริการกับพนั ธมิตรทางธุรกจิ /พันธมิตรคูคา

2) ผสู งมอบ/คูคา หมายถึง องคกรหรือบุคคลท่ตี กลงทางานรวมกับ อ.อ.ป.
เพ่ือสงมอบผลิตภัณฑหรือบริการเฉพาะอยาง โดยปกติความรวมมือที่เปน
ทางการจะกําหนดชวงระยะเวลารวมท้ัง บทบาทของแตละฝาย และ
ผลประโยชนทีไ่ ดรับอยางชัดเจน

3) ผูรวมลงทุน หมายถึง หนวยงานที่เปนแหลงเงินทุน เชน ธนาคาร
กรุงไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคารออมสิน
ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย
ธนาคารกสกิ รไทย กระทรวงการคลัง และแหลงเงนิ ทนุ อ่นื ๆ

4) เจาหนี้ หมายถึง บคุ คลซึง่ มีมูลคาหนี้เหนือบุคคลอีกคนหนึ่งซ่ึงเรียกวา
ลูกหนี้ และมีสิทธิท่จี ะเรยี กใหลูกหนี้ชาระหนไ้ี ด เจาหน้ี อ.อ.ป. มดี ังนี้

- เจาหนี้พนักงาน เชน ผูบริหาร พนักงาน ลูกจางท่ัวไป ทุกระดับชั้น
ของ อ.อ.ป. ภาระหนี้สินผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน โบนัสพนักงาน
ผลประโยชนระยะยาวหลังออกจากงาน

- เจาหน้ีการคา เชน เงนิ รบั ลวงหนาคาขายสนิ คา คาใชจายคางจาย
- เจาหนก้ี จิ การทเ่ี กีย่ วของกัน เงนิ คางนาํ สงคลงั

รายงานการพัฒนาความย่ังยนื ของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 27

6) ผูกํากับดูแล หมายถึง คณะกรรมการของ อ.อ.ป. และผูอํานวยการ
อ.อ.ป.

7) ผูปฏิบัติงาน หมายถึง พนักงาน พนักงานสัญญาจาง พนักงาน
ปฏิบัตกิ ารและพนักงานปฏบิ ัตกิ ารสญั ญาจาง

8) พันธมิตรทางธุรกิจ/พันธมิตรคูคา หมายถึง หนวยงานที่มีความ
รวมมือรวมกัน ดังนี้

พันธมิตร หมายถึง องคกรหรือกลุมบุคคลที่สําคัญ ที่ตกลงทํางานรวมกับ
องคกร เพื่อบรรลุ เปาประสงค รวมกัน หรือเพื่อปรับปรุงผลการดําเนินการ
โดยท่ัวไปมกั เปนความรวมมือทเี่ ปนทางการ เพือ่ จุดมงุ หมาย หรือ จุดประสงค
เฉพาะเจาะจง เชน เพื่อบรรลุวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ โดยปกติ การเปน
พันธมิตรมักมีการกําหนดชวงเวลา และมีความเขาใจอยางชัดเจนในบทบาท
และผลประโยชนท่ีทํารวมกัน คูความรวมมือ หมายถึง องคกรหรือกลุมบุคคล
ที่สําคัญ ที่มีความรวมมือในการดาเนินการกับองคกร ท่ีจะสนับสนุน ในการ
จัดงานหรือกิจกรรมบางสวน หรือผูท่ีรวมดาเนินการเปนคร้ังคราว ที่มี
เปาหมาย ระยะสั้นที่สอดคลองกัน หรือเหมือนกัน โดยท่ัวไปความรวมมือ
ลักษณะนี้อาจมีหรือไมมีขอตกลงหรือรูปแบบที่ เปนทางการก็ได หนวยงานท่ี
เปนพันธมิตร/คคู วามรวมมือ

9) ผูรับจาง หมายถึง บุคคลหรือนิติบุคคลท่ีลงนามเปนคูสัญญากับ
ผูวาจางรวมถงึ ตัวแทน ท่ไี ดรับการแตงต้ัง หรือผูรับจางชวงหรือลูกจางที่อยูใน
ความรบั ผิดชอบของผูรับจางตามสัญญา เก่ียวกับการจัดซ้อื จัดจาง

10) หนวยงานราชการ หมายถึง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอม กระทรวงการคลัง สานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงาน
คณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกิจ

รายงานการพัฒนาความยั่งยนื ของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 28

ไดการรับรองมาตรฐาน การจัดกจิ กรรมปางชางเพ่ือการทองเท่ยี ว
(ITS 410:2008) ระดบั ดเี ยยี่ ม

ป 2563 ไดรับมอบเกยี รติบัตรสถานประกอบการปลอดยาเสพตดิ ฯ
รางวลั มาตรฐานความปลอดภยั ดานสุขอนามยั หรือ

Amazing Thailand Safety & Health Administration : SHA
สวนปาบานวนั จันทร
สวนปาดอยบอหลวง
สวนปาแมแจม
สถาบันคชบาลแหงชาติ ในพระอุปถัมภฯ
สวนปาแมละเมา
สวนปาเขากระยาง

รายงานการพัฒนาความยั่งยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 29

อ.อ.ป. สคู วามยั่งยนื

อ.อ.ป. ไดใหความสําคัญกับการดําเนินงานที่นําไปสูการพัฒนาอยางย่ังยืน

ขององคกร (Sustainability Development) โดยนํามาใชเปนแนวทางในการดําเนินงาน
ขององคกรใหครอบคลุมทุกมิติทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ภายใตการกํากับ
ดูแลท่ีดีและการนําองคกร ยึดม่ันในการดําเนินงานดวยความโปรงใส มีจริยธรรม สามารถ
ตรวจสอบได เคารพตอผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสีย ควบคูไปกับการรับผิดชอบตอ
สังคมและการปฏิบัติตามขอกฎหมายตาง ๆ การอยูรวมกับชุมชนอยางมีความสุข รวมถึง
การดแู ลและอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม อ.อ.ป. จึงไดกําหนดหลักการและ
แนวทางในการปฏิบัติเปนนโยบายการพฒั นาความยัง่ ยนื การดําเนนิ งานของ อ.อ.ป. ดงั น้ี

1. มุงมั่นพัฒนากระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) ตามภารกิจหลัก
ของ อ.อ.ป. โดยยึดหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีความโปรงใส ปฏิบัติตอแรงงานดวย
ความเทาเทียมกันและคํานึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน โดยคํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาค
สวน

2. ปลูกฝงและสรางจิตสํานึก พนักงานทุกระดับในการปฏิบัติงานดวยความ
ซ่ือสัตยสุจริต มีคุณธรรมและจริยธรรม

3. สงเสริมการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคมและส่ิงแวดลอม
ในกระบวนการหลกั ขององคกร (CSR in process)

4. สงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนขององคกรและตอบสนองตอเปาหมายการ
พัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainability Development Goals : SDGs) ตามมาตรฐานสากลของ
องคการสหประชาชาติ รวมถึงการรายงานดานการพัฒนาอยางย่ังยืนของ อ.อ.ป. โดย
ครอบคลมุ การดาํ เนนิ งานทุกมิติทั้งดานเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอม

5. สนับสนุนและผลักดันใหผูปฏิบัติงานทุกระดับ และผูมีสวนไดสวนเสียทุก
ภาคสวน มีสวนรวมในกิจกรรม/โครงการดานความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) โดยมี
จติ สาํ นึกและพฤติกรรมในการพัฒนาอยางย่งั ยนื (Sustainability Development)

6. สงเสริมใหเกิดการพัฒนาและสรางนวัตกรรมทางธุรกิจและสังคม เพื่อสราง
คณุ คารวมระหวาง อ.อ.ป. กบั สังคม (Creating Shared Value)

รายงานการพัฒนาความยง่ั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 30

มติ ิความยง่ั ยนื ของ อ.อ.ป.

อ.อ.ป. ไดดําเนินงานตามนโยบายการบริหารจัดการดานความยั่งยืน
และไดจดั โครงการและกิจกรรมตาง ๆ ทสี่ อดคลองตามแผนการดําเนินงานเพ่ือ
การพัฒนาที่ยั่งยืนใหครอบคลุมทุกมิติทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม
ภายใตการกํากับดูแลที่ดีและการนําองคกร โดยไดยกระดับผลการดําเนินงาน
และผลการปฏิบัติงานดานความย่ังยืนท่ีเปนหัวใจหลักในการดําเนินธุรกิจมา
อยางตอเนอ่ื ง นอกจากนี้ อ.อ.ป. ยงั ไดมงุ มนั่ ในการสงมอบคุณคาตามเปาหมาย
การพัฒนาที่ย่ังยืนของสากล พรอมเผยแพรในรายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน
ฉบบั น้ี

นโยบายความย่ังยืนของ อ.อ.ป.
มิตดิ านเศรษฐกิจ สงั คม และสง่ิ แวดลอม

รายงานการพัฒนาความยงั่ ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 31

ดานเศรษฐกจิ

การจัดการสวนปาอยางย่ังยืนตามมาตรฐานสากล เปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการ
บริหารจัดการสวนปาใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ผูบริหารสวนปามีมุมมองท่ีกวางขวางข้ึน ครอบคลุมดาน
ตางๆท่ีเก่ียวของกับสวนปา ทั้งดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และดานส่ิงแวดลอม อ.อ.ป. เล็งเห็นความสําคัญใน
เร่ืองดังกลาว จึงมีมาตรการในการยกระดับสวนปา อ.อ.ป. ใหเปนมาตรฐานสากลไดมุงเนนพัฒนาธุรกิจปาไม
ของประเทศไทยใหสามารถเปนที่ยอมรับและไดรับการรับรองตามมาตรฐานสากล (FSC) และตามแผนการ
รองรับเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพ่ือตระหนักและเตรียมความพรอมในการจัดการปาไมควบคูไปกับ
การดแู ลสงั คม ไดแก ชุมชนผูปลูกปารายยอย ผูคารายยอย และผูประกอบการภาคเอกชน ใหสามารถแขงขัน
ในธรุ กจิ ปาไมสําหรับพื้นทีส่ วนปาท่ียังไมไดรับการรับรองมาตรฐานสากล (FSC) โดยในการดําเนินการดังกลาว
ตั้งแตป 2557 ถึงปจจุบัน มีสวนปาที่ผานการรับรองมาตรฐานสากล (FSC) แลวมีจํานวน 72 สวนปา และ
อ.อ.ป. มีความจําเปนอยางย่ิงที่จะตองยกระดับใหเขาสูมาตรฐานการรับรองจัดการปาไมอยางย่ังยืน (Forest
Management Certification : FM) ทําใหไมและผลิตภัณฑจากไม จากประเทศไทย สามารถสงขายในตลาด
ตางประเทศได ซึง่ ระบบดงั กลาวจะสรางรายไดใหประเทศจํานวนมหาศาลและเปนการสงเสริมใหมีการปลูกไม
ในพน้ื ท่ที ี่ถกู ตองตามกฎหมาย ลดการบุกรุกพ้ืนทปี่ าไม มกี ารใชมาตรการในการอนุรักษดินและนํ้าอยางถูกตอง
และเหมาะสม การปฏิบัติตามหลักสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน กอใหเกดิ ความยง่ั ยนื ทง้ั ทางดานเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดลอม โดยจะเรงดําเนินการใหไดการรับรองตามหลักเกณฑมาตรฐานสากล FSC ครบทุกสวนปาตอไป

รายงานการพัฒนาความยั่งยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 32

การควบคุมการเคลื่อนยายของสินคาไม (COC) กบั การพฒั นาทยี่ ่งั ยืนของ อ.อ.ป.

จากปญหาการลดลงของทรัพยากรปาไม โดยวัตถปุ ระสงคหลักเพ่ือพัฒนาธุรกิจปาไมของ
ตามธรรมชาติ มีสาเหตุหลักจากการขาดความ ประเทศไทย ท้ังภาครัฐและเอกขน ใหสามารถ
ตระหนักในการใชทรัพยากรปาไมอยางถูกวิธี มีการ เปนที่ยอมรับในระดับสากลใหได และจาก
ลักลอกตัดไมจากปาธรรมชาติอยางตอเนื่อง และมี ขอมูลของ อ.อ.ป. ชี้ชัดปญหาการลดลงของ
แนวโนมความรนุ แรงขน้ึ เรือ่ ย ๆ สงผลตอสภาพสังคม ทรัพยากร ปาไมตามธรรมชาติมีสาเหตุจากการ
ส่ิงแวดลอม และเศรษฐกิจโดยรวม การปลูกสราง ขาดความตระหนักใชทรัพยากรปาไมอยางถูก
สวนปาเปนแนวทางหนึ่งในการชวยรักษาทรัพยากร วิธี มีการลักลอบตัดไมทําลายปาอยางตอเนื่อง
ปาไมในธรรมขาติ แตยังคงพบวาไมและผลิตภัณฑไม และแนวโนมทวีความรุนแรงขึ้นเร่ือย ๆ กระทบ
ที่จําหนายในตลาดปจจุบันยังมีไมจากปาธรรมชาติ สิ่งแวดลอมของไทยอยางหนัก โดยปจจุบัน
ปะปนอยู ซง่ึ การจําแนกไมและผลิตภัณฑไมดังกลาว โรงงานอุตสาหกรรมไมของ อ.อ.ป. ไดรับการ
ยังมีความยากลําบากอยูมาก เนื่องจากมาตรฐาน รับรองการจัดทําระบบควบคุมการเคล่ือนยาย
ในการควบคุมสินคาและผลิตภัณฑไมในประเทศ ของสินคาไมแลว จํานวน 3 แหง ซ่ึงการปลูก
ไทยยังมีการใหความสําคัญนอย เมื่อเปรียบเทียบ สรางสวนปาจึงเปนแนวทางหนง่ึ ที่ อ.อ.ป. เสนอ
กับประเทศที่พัฒนาแลว จะพบวาสินคาและ เพื่อชวยรักษาทรัพยากรปาไมในธรรมชาติ
ผลิตภัณฑไมตองมีการรับรองวาเปนสินคาที่มีการ ควบคกู บั การจัดทําระบบควบคุมการเคล่ือนยาย
จัดการอยางมีจิตสํานึกตอสิ่งแวดลอมและสังคม ของสนิ คาไม (Chain of Custody: CoC) อยาง
ซึ่งสนิ คาดังกลาวจะมีราคาสูงมาก เม่ือเปรียบเทียบ มีประสิทธิภาพ ติดตามตรวจสอบแหลงท่ีมา
กับสินคาที่ไมไดรับการรับรอง อ.อ.ป. จึงไดเริ่ม ของสนิ คาไมได ลดปญหาตดั ไมปามาสวมตอ
เล็งเห็นความสําคัญของการจัดทําระบบควบคุม
การเคลื่อนยายของสินคาไม (Chain of Custody
: CoC) ซึ่งเปนสิ่งรับประกันไดวาเปนผลิตภัณฑ
ที่สงเสริมการบริการจัดการและธรรมาภิบาลที่ดี
อีกทั้งเปนการเตรียมความพรอมและความตระหนัก
ในการจัดการปาไมควบคูไปกับการดูแลสังคมให
สามารถแขงขันในธุรกิจปาไมรองรับการเปด
ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community)

รายงานการพัฒนาความยั่งยนื ของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 33

การสงมอบคณุ คาของสินคาและผลิตภณั ฑตอลูกคา

อ.อ.ป. ไดดําเนินหนาที่และภารกิจปลูกสรางสวนปาไมเศรษฐกิจใหกับประเทศ
มากวา 74 ป โดยมีความมุงหวงั และตัง้ ใจสรางคณุ คาใหกบั ไมสัก สนับสนุนการมีสวนรวม
ในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติรวมกัน ผานการสงเสริมอาชีพเพ่ือสรางรายไดใหชุมชน
สูการมีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีขน้ึ

โดย อ.อ.ป. มีความใสใจตอการออกแบบและทุกข้ันตอนลวนถูกถายทอดจาก
แนวคดิ ทจ่ี ะยกระดบั ไมสักของประเทศไทย “จากแหลงปาปลูกที่ดีที่สุด สูผลงานช้ินเลิศ”
ท่เี ปนมิตรกับสงิ่ แวดลอม เพอ่ื สงมอบสนิ คาและผลติ ภณั ฑทม่ี คี ณุ ภาพใหกบั ลกู คา

การจางแรงงาน

อ.อ.ป. ไดมีการสรางงานสรางรายไดใหกับประชาชนที่อาศัยอยูโดยรอบสวนปา
ของ อ.อ.ป. ตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ในกจิ กรรมการปลูกสรางสวนปาของ อ.อ.ป.

ป 2564 ในแตละพืน้ มีการจางแรงงานท่ี รวม 5,500 คน/อัตรา

รายงานการพัฒนาความยัง่ ยนื ของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 34

โครงการสงเสริมเกษตรกรปลกู ไมเศรษฐกิจ
เพือ่ เศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดลอมอยางยัง่ ยืน

เปนโครงการท่ีสอดรับตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคเหนือบน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) 14 จังหวดั 17 จงั หวัด
ยุทธศาสตรท่ี 4 การเติบโตทเี่ ปนมิตรกับส่ิงแวดลอมเพ่ือ
การพัฒนาที่ย่ังยืน มุงสูการสรางความมั่นคงของฐาน ภาคกลาง
ทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพส่ิงแวดลอม 5 จังหวัด
เพื่อสนับสนุนการเติบโตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและ
คณุ ภาพชีวิตของประชาชน สงเสริมใหประชาชนเขามา ภาคใต
ม ีส ว น ร ว ม ใ น ก า ร ป ล ูก ป า เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ เ พื ่อ ใ ห บ ร ร ลุ 6 จงั หวดั
เปาหมายรอยละ 15 ของพืน้ ที่ประเทศ โดยสงเสริมการ
ปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจทั้งไมโตชา และไมโตเร็ว พ้ืนท/ี่ กลุมเปาหมาย
จัดต้งั ตลาดกลางคาไม พัฒนาระบบโลจิสติกสในการคา พื้นที่กรรมสิทธิ์ - สทิ ธคิ รอบครองท่ัวไป
และขนสงไม สนับสนุนกลไกทางการเงินเพ่ือการ ของเกษตรกรท่ีรวมโครงการ
ปลูกปา สงเสริมการวิจัยและพัฒนา การปลูกพืชแทรก ผลการดาํ เนินงาน ป 2564
ในสวนปา การทําวนเกษตร เพ่ือสรางรายไดใหเกษตรกร เกษตรกรเขารวมโครงการ 1,759 คน
ระหวางท่ีไมยังไมเติบโต และสงเสริมการวิจัยและ พนื้ ทรี่ วม 16,000 ไร
นวัตกรรมในการสรางมูลคาเพิ่มจากไม รวมทั้งพัฒนา
สนับสนนุ แนวทางการสรางรายไดจากการอนรุ กั ษ - ไมโตเร็ว 6,800 ไร
- ไมโตชา 9,200 ไร
วัตถุประสงค อตั ราการรอดตายเฉล่ยี 96.33%

1. เพื่อสงเสริมให เกษตรกรมีอาชีพ ท่ีมั่นคงจาก

การปลูกปาเศรษฐกิจโดยเฉพาะในพ้ืนที่ซึ่งทําเกษตร

ชนดิ อืน่ ๆ ไมไดผลหรอื ไดผลผลิตตา่ํ

2. เพ่ิมพื้นท่ีปาของประเทศ โดยการปรับเปลี่ยน

พนื้ ทป่ี าเสือ่ มโทรม ท่ีดินทํากินท่ีขาดความอุดมสมบูรณ

ที่ปาชุมชนที่ถูกทิ้งราง ที่หัวไรปลายนา ฯลฯ ใหกลาย

เปนปาเศรษฐกจิ ทสี่ ามารถใหผลผลิตไดอยางยัง่ ยนื

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 35

กรณปี ลูกไมโตเร็ว (กระถนิ เทพา ยูคาลปิ ตัส และอื่น ๆ) เกษตรกรที่เขารวม
ปท่ี 1 สนบั สนนุ คาใชจายเปนเงนิ 2,500.-บาท / ไร โครงการจะไดรับเงิน
ปที่ 2 สนบั สนุนคาใชจายเปนเงิน 500.-บาท / ไร ส นั บ ส นุ น จ า ก ท า ง
ปที่ 3 สนบั สนนุ คาใชจายเปนเงนิ 500.-บาท / ไร รฐั บาลตอเนื่อง 3 ป

กรณีปลูกไมโตชา (สกั ประดู และอื่น ๆ)
ปที่ 1 สนบั สนุนคาใชจายเปนเงิน 3,900.-บาท / ไร
ปที่ 2 สนับสนุนคาใชจายเปนเงิน 1,020.-บาท / ไร
ปที่ 3 สนับสนนุ คาใชจายเปนเงนิ 1,020.-บาท / ไร

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 36

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 37

รายงานการพัฒนาความยง่ั ยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 38

การพฒั นาผลิตภัณฑรูปแบบใหมของ อ.อ.ป.

ปจจุบันการผลติ ภัณฑไมและเฟอรนิเจอรของ อ.อ.ป. ยังมีรูปแบบของผลิตภัณฑ
ที่ยังไมตอบสนองตอความตองการของผูบริโภค สินคามีไมหลากหลาย ยังขาดการ
ประชาสัมพนั ธเชงิ รกุ มีตนทุนในการผลติ ที่สงู ทาํ ใหไมสามารถแขงขันในตลาดได จึงตอง
มีการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑรูปแบบใหมของ อ.อ.ป. โดยในป 2564 อ.อ.ป.
ไดออกแบบผลิตภัณฑรูปแบบใหมเพิ่มข้ึน จํานวน 4 แบบ โดยใชวัตถุดิบผลิตจากไมสัก
สวนปาของ อ.อ.ป. และไดวางจําหนาย ณ รานแสดงสินคาของ อ.อ.ป. ทั้งสวนกลาง
สวนอตุ สาหกรรมไมบางโพ และรานแสดงสนิ คาของ อ.อ.ป. ท่ตี ั้งอยูสวนภูมภิ าค

รายงานการพฒั นาความยั่งยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 39

ดานสงั คม
โครงการจัดตั้งโรงไฟฟาชุมชน

การดําเนินงานพัฒนาโรงไฟฟาชมุ ชนตามนโยบายโรงไฟฟาชมุ ชนเพอ่ื เศรษฐกิจฐานราก
โดยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) เปนนโยบายของรัฐบาลในปจจุบัน และ
เปนนโยบายของคณะกรรมการของ อ.อ.ป. ให อ.อ.ป. มีการบริหารจัดการพื้นท่ีสวนปาใหมี
ประสิทธิภาพ เพ่ือใหสามารถสรางรายไดอยางย่ังยืนใหองคกรในอนาคต และให อ.อ.ป. หา
ชนิดไมท่ีเหมาะสมและมีศักยภาพสูงสุด ที่จะนํามาใชในการผลิตเช้ือเพลิงเพ่ือนําเขาโรงไฟฟา
ชุมชนตามนโยบายของรัฐบาล

ป 2564 อ.อ.ป. มีแผนการ
ดาํ เนนิ งาน จัดต้ังโรงไฟฟา
ชุมชนใน 17 จังหวัด
รวมพ้นื ท่ี 1117,189 ไร

รายงานการพัฒนาความย่ังยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 40

ดานสงั คม : สรางสรรคคุณคาและเสรมิ สรางความเขมแขง็ ใหกับชมุ ชน

การดาํ เนนิ ธรุ กิจอยางยั่งยืนน้ัน จําเปนตองคํานึงถึงการสรางคุณคา
และการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมโดยรอบ เพ่ือให
ชุมชนโดยรอบ อ.อ.ป. สามารถที่จะเติบโตไปพรอมกับ อ.อ.ป. ดังนั้น
อ.อ.ป. จึงไดดําเนินธุรกิจตามแนวคิดการสรางสรรคคุณคาและเสริมสราง
ความเขมแข็งใหกับชุมชน เพ่ือมุงเนนดําเนินการในดานชุมชนสัมพันธ
โดย อ.อ.ป. จะเขาไปสรางการมีสวนรวมกับชุมชนโดยรอบของ อ.อ.ป.
เพ่ือสรางความเชื่อมั่นและเกิดการยอมรับจากชุมชนและสังคมรอบขาง
แมวา ในป 2564 หลายกิจกรรมที่ อ.อ.ป. ดําเนินการจะไดรับผลกระทบ
จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือโรคติดตอไวรัสโคโรนา 2019
(Covid - 19) แต อ.อ.ป. ไดปรับแผนการดําเนินงานดานสังคมใหสอดคลอง
กบั ความตองการและความจาํ เปนของชุมชนใหมากท่ีสุดเพ่ือใหสอดคลอง
กับสถานการณดงั กลาวท่เี กดิ ข้นึ

เปาหมาย
1. ระดบั ความสาํ เรจ็ ในการดําเนนิ งานดานกจิ กรรมเพ่อื สังคมตาม

แผนการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอสงั คมและสิ่งแวดลอมในกระบวนการ
ประจําป คิดเปนรอยละ 100 ตอเนื่องทุกป
2. ผเู ขารวมกจิ กรรมดานการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอสังคมและ
สิ่งแวดลอมในกระบวนการ มีระดับความพงึ พอใจไมนอยกวารอยละ 80
ตอเน่อื งทุกป
แนวทางการจดั การ
1. ดาํ เนนิ การตามแผนการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอสังคมของ อ.อ.ป.
ดานการพฒั นาที่ยัง่ ยนื
2. พฒั นากิจกรรมเพอ่ื สงั คมและการเสรมิ สรางความเขมแข็งของชมุ ชน
โดยรอบ อ.อ.ป. เพ่ือรักษาความสมั พนั ธที่ดรี ะหวาง อ.อ.ป. และชมุ ชน
โดยรอบอยางตอเนื่อง
3. สงเสรมิ และมีการแลกเปลีย่ นความรูในดานการพฒั นาสงั คมและ
เสริมสรางความเขมแขง็ ของชมุ ชนโดยรอบสวนปา อ.อ.ป. อยางตอเนอื่ ง

รายงานการพฒั นาความยั่งยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 41

ดานสังคม

กจิ กรรมพฒั นาทองถ่นิ รอบสวนปา
อ.อ.ป. ไดตระหนักถึงความสาํ คญั ของผมู ีสวนไดสวนเสียของ อ.อ.ป. จึงไดสงเสริมให
มีกิจกรรมพัฒนาทองถิ่นโดยสอบสวนปาของ อ.อ.ป. ซึ่งเปนสวนหนึ่งของแผนการแสดง
ความรับผดิ ชอบตอสังคมในกระบวนการของ อ.อ.ป. CSR in Process ซึ่งมีวัตถุประสงคเพ่ือ
เปนการใหการสงเสริมอาชีพ สงเสริมความเปนอยูที่ดีใหกับชุมชน/ทองถิ่นที่อยูบริเวณ
โดยรอบของสวนปาของ อ.อ.ป. นอกจากน้ี ยังเปนการสงเสริมสัมพันธภาพอันดีระหวาง
ชุมชมที่อยบู ริเวณโดยรอบของ อ.อ.ป. ใหเขามามสี วนรวมในการพัฒนา อ.อ.ป. และเขาใจใน
การดําเนินธรุ กจิ ของ อ.อ.ป. อกี ดวย

กจิ กรรมปลูกตนไมในวันสาํ คัญ
อ.อ.ป. ไดตระหนกั ถึงความสําคัญของผูมีสวนไดสวนเสียของ อ.อ.ป. จึงไดสงเสริมใหมี
กิจกรรมการปลูกตนไมในวันสําคัญ ซึ่งเปนสวนหน่ึงของแผนการแสดงความรับผิดชอบตอ
สังคมในกระบวนการของ อ.อ.ป. CSR in Process ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสงเสริมใหมี
การปลูกตนไม ซึ่งเปนการเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียวใหกับประเทศไทยเพ่ิมข้ึน ตามนโยบายของรัฐบาล
และนโยบายของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ ยังเปนการชวย
สงเสริมความเปนอยูท่ีดีใหกับชุมชน/ทองถิ่นที่อยูบริเวณโดยรอบของสวนปาของ อ.อ.ป. และ
เปนการสงเสริมสัมพันธภาพอันดีระหวางชุมชมท่ีอยูบริเวณโดยรอบของ อ.อ.ป. ใหเขามามี
สวนรวมในการพัฒนา อ.อ.ป. และเขาใจในการดาํ เนนิ ธรุ กจิ ของ อ.อ.ป. อีกดวย

รายงานการพฒั นาความยง่ั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 42

การเสรมิ สรางความเขมแข็งแกชุมชนทสี่ าํ คัญของ อ.อ.ป.

อ.อ.ป. เปนรัฐวิสาหกิจอยูในกลุมทรัพยากรธรรมชาติ ดําเนินธุรกิจ และ
ใหบริการเชิงสังคม ในการประกอบธุรกิจไดดําเนินการแสวงหารายไดและชวยเหลือ
สังคมตามสถานการณอยางตอเนื่อง และ อ.อ.ป. ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการ
ดําเนินดานการแสดงความรับผิดชอบตอสังคมดวยการนําหลัก CSR in Process
ใหเปนไปตามหลักมาตรฐานสากล ISO 26000 ซ่ึงในการดําเนินการ CSR in Process
ของ อ.อ.ป. ไดกําหนดใหมีกิจกรรมเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนสําคัญ อยูใน
แผนการดําเนินงานดาน CSR in Process โดยมีการวิเคราะหและระบุหลักเกณฑการ
คัดเลือกชุมชนที่สําคัญ รวมถึงกําหนดความสามารถพิเศษของ อ.อ.ป. ไดอยางเปน
ระบบ โดยในป 2564 ไดมีการคัดเลือกชุมชนที่สําคัญของ อ.อ.ป. คือ กลุมเกษตรกร
ปลูกพืชอาหารชาง ซึ่งเปนกลุมเกษตรกรท่ีอาศัยอยูรอบบริเวณพ้ืนที่สวนปาของ อ.อ.ป.
โดย อ.อ.ป. จะมีการสนับสนุนและใหความรเู กย่ี วกับการปลูกพืชตาง ๆ ท่ีสามารถนํามา
เปนอาหารชางได โดยมีกลมุ เกษตรกรท่ีไดรบั การสงเสริม ดงั น้ี

- กลุมเกษตรกรตําบลเวียงตาล ตําบลเมืองยาว ตําบลวอแกว อําเภอหางฉัตร
จังหวัดลาํ ปาง

- กลมุ เกษตรกร บานปางหละ อําเภองาว จังหวดั ลําปาง
- กลมุ เกษตรกร อาํ เภอแมทา อําเภอล้ี จงั หวัดลาํ พูน
- กลุมเกษตรกร ตาํ บลบานเออ้ื ม ตําบลบานเปา อาํ เภอเมอื ง จังหวดั ลาํ ปาง

รายงานการพัฒนาความยงั่ ยนื ของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 43

โครงการสัตวแพทยสัญจร

เปนกิจกรรมที่ศูนยอนุรักษชางไทยไดมีการจัดทีมสัตวแพทยและควาญชางท่ีมี
ประสบการณ ออกไปใหบริการฉีดวัคซีนและรักษาชางเอกชนที่เจ็บปวยในพ้ืนท่ีภาคเหนือ
ในจังหวัดลําปางรวมถึงในเขตทองที่ใกลเคียง และพ้ืนท่ีภาคใตในจังหวัดกระบี่รวมถึงในเขต
ทองท่ีใกลเคียง ซึ่งพื้นท่ีสวนใหญจะเปนถ่ินทุรกันดารอยูในปาเขาหางไกลจากเสนทาง
คมนาคมหลัก ในการรกั ษาแตละคร้ังศนู ยอนุรักษไทยจะไมคิดคาใชจายในการรักษาแตอยางใด

ป 2564 สัตวแพทยของโรงพยาบาลชาง จังหวัดดลําปาง และโรงพยาบาลชาง
จงั หวัดกระบี่ ออกบรกิ ารตรวจสุขภาพและรกั ษาชางปวย รวม 6,889 เคส

ตรวจประวัติ จาํ นวน 2,531 เคส
ตรวจสุขภาพ จํานวน 1,900 เคส
ถายพยาธิ จาํ นวน 2,244 เคส
ทาํ การรักษา จํานวน 191 เคส
ลม (ตาย) จํานวน 14 เคส
ควบคมุ ชางตกมันและอาละวาด จาํ นวน 9 เคส

รายงานการพัฒนาความย่ังยนื ของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 44

การบรจิ าคทนุ การศกึ ษา

อ.อ.ป. ไดดําเนินการจัดงานครบรอบวันสถาปนา อ.อ.ป. ประจําป
2564 ภายใตชื่อ “อ.อ.ป ครบรอบ 74 ป” โดยมีหนวยงานในสังกัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานภาครัฐและเอกชน พันธมิตรคูคา
ผูเกษียณอายุ และพนักงาน อ.อ.ป ท่ีแสดงเจตนารมณใหการสนับสนุน
ทุนการศึกษาฯ เปนเงิน 124,499.- บาท (หนึ่งแสนสองหม่ืนสี่พันสี่รอยเกาสิบ
เกาบาทถวน)

โดย อ.อ.ป. ไดจัดสรรเงินบริจาค จํานวน 124,499.- บาท(หน่ึงแสน
สองหมนื่ สี่พันสี่รอยเกาสิบเกาบาทถวน)ใหกับสวนปา อ.อ.ป.ทั่วประเทศ เพ่ือเปน
ทุนการศึกษาใหแกนักเรียนในโรงเรียนรอบสวนปา และบุตรธิดาของผูปฏิบัติงาน
ของ อ.อ.ป. ดงั น้ี

1) ออป.ภาคทุกภาค และ ส.คช. หนวยงานละ 15,000.- บาท
2) ทนุ การศึกษาแกบุตร - ธิดา ผปู ฏิบัตงิ าน อ.อ.ป.
เปนจาํ นวนเงนิ 34,499.- บาท

รายงานการพัฒนาความยัง่ ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 45

การบรจิ าคกลองกระดาษเพ่อื นําไปจัดทาํ เตียงกระดาษ
ชวยเหลอื ผูปวยจากสถานการณ Covid - 19

รายงานการพัฒนาความย่งั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 46

รายงานการพัฒนาความยง่ั ยืนของ อ.อ.ป. ประจาํ ป 2564 47

สิทธิมนุษยชนและแรงงานท่ีถูกกฎหมาย

ประเด็นดานสิทธิมนุษยชนเปนประเด็นสําคัญที่ท่ัวโลกใหความสําคัญและเปนพื้นฐานของการ
ดําเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรม อ.อ.ป. จึงไดตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนในพื้นที่ปฏิบัติงานของ อ.อ.ป. จึงไดกําหนดนโยบายและประเมินความเสี่ยงและกําหนด
มาตรการปองกันการละเมดิ มนษุ ยชนที่ครอบคลมุ ผมู สี วนไดสวนเสียของ อ.อ.ป.
เปาหมาย
1. รอยละ 100 ของพน้ื ทดี่ าํ เนินงานของ อ.อ.ป. ไดรับการตรวจสอบสิทธมิ นุษยชน
2. ไมมกี รณีการละเมิดสทิ ธิมนุษยชนทไี่ ดรบั การยนื ยนั ตอเนือ่ งทกุ ป
แนวทางการจัดการ
1. ดําเนนิ การตามนโยบายสทิ ธมิ นุษยชนของ อ.อ.ป. ท่ีสอดคลองกบั หลักปฏิบตั ิในระดับสากล
2. ดาํ เนินการตามกระบวนการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอยางรอบดานอยางตอเนื่องเพ่ือประเมินความ
เสย่ี งดานสทิ ธิมนษุ ยชนกําหนดมาตรการจัดการและติดตามผลพรอมรายงานผลดําเนนิ งานตอสาธารณะ

รายงานการพฒั นาความยัง่ ยืนของ อ.อ.ป. ประจําป 2564 48

การพัฒนาบคุ ลากร

อ.อ.ป. ใหความสําคัญกับคานิยมขององคกร และความสามารถในการปฏิบัติงานของ
ผูปฏบิ ัติงาน จึงไดจัดโครงการพฒั นาผปู ฏิบตั ิงาน อ.อ.ป. ท้ังในการฝกอบรม การสัมมนา และการมีสวน
รวมในกิจกรรมรณรงคปลูกฝงคานิยมขององคกร เพื่อสงเสริมใหผูปฏิบัติงาน อ.อ.ป. เปนคนดี คนเกง
และมีความสามารถ นอกจากนี้ อ.อ.ป. ไดกําหนด ใหมีการจัดการความรู เพื่อเผยแพร รักษา และ
ตอยอดองคความรตู าง ๆ ภายใน อ.อ.ป. อีกดวย

แนวทางการดาํ เนนิ งาน
1. ดําเนนิ การตามแผนการดาํ เนินงานดานทรพั ยกรมนุษย ประจาํ ป
2. จดั โครงการจดั ทําระบบการจดั การความรู (KM) โครงการฝกอบรมสงเสริมคานิยมองคกรเปน

ประจําอยางตอเน่ือง
3. ฝกอบรมบุคลากรใหมคี วามรู ความสามารถในดานการปฏิบัติการและการบริหารจดั การ


Click to View FlipBook Version