รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง กรมส่งเสริมสหกรณ์ มกราคม 2564 รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) ของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง กรมส่งเสริมสหกรณ์ มกราคม 2564 รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) ของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) สารจากสหกรณ์จังหวัดระนอง การส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ปฏิบัติงานภายใต้นโยบายของรัฐบาล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง เพื่อแก้ไขปัญหาทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนองให้สามารถพัฒนาบนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจในรูปแบบของการ บริหารและจัดการด้วยวิธีการสหกรณ์อย่างแท้จริง สถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาต่อรายได้และ ค่าใช้จ่ายในการดํารงชีวิต สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินการตามนโยบายอธิบดีกรมส่งเสริม สหกรณ์ ปฏิบัติตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ในมาตรการให้ความช่วยเหลือด้านหนี้สินและการปรับ โครงสร้างหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาของสมาชิกสหกรณ์ที่เกิดปัญหาและบรรเทาผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง รายงานผลการดําเนินงานประจําปี พ.ศ. 2563 (Annual Report) ของสํานักงานสหกรณ์ จังหวัดระนอง เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา ทั้งด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เป็นเปูาหมาย ทั้งหมด โดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภาคเอกชน สหกรณ์ กลุ่มเกษตร รวมถึงบุคลากรของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ที่ได้ให้ความร่วมมือและสนับสนุน การปฏิบัติราชการให้สําเร็จลุล่วงตามเปูาหมายและแผนงาน ขอขอบคุณในความร่วมมือของทุกภาคส่วน หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของข้อมูล พื้นฐานในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนองให้มีความเจริญก้าวหน้าสืบต่อไป (นายยุทธนา แก้วน้อย) ตําแหน่ง สหกรณ์จังหวัดระนอง ธันวาคม 2563
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ก บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ ประจําปี พ.ศ.2563 โดยมีผลการดําเนินงานโดยสรุป ดังนี้ สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินการส่งเสริมและพัฒนาการดําเนินงานของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดระนอง มีสหกรณ์ จํานวน 24 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จํานวน 17 แห่ง โดยได้รับ แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จํานวน 4 แผนงาน การจัดสรร งบประมาณทั้งสิ้น 6.01 ล้านบาท และสามารถปฏิบัติงานตามแผนและเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตาม แผนงานที่ได้รับ ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การส่งเสริมและพัฒนาการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง มีการดําเนินงาน ดังนี้ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 รับผิดชอบ 3 อําเภอ (อําเภอเมือง อําเภอกะเปอร์ อําเภอสุขสําราญ) 1. อําเภอเมือง รับผิดชอบ สหกรณ์ 11 แห่ง สมาชิก 7,480 คน กลุ่มเกษตรกร 6 แห่งสมาชิก 657 คน 2. อําเภอกะเปอร์ รับผิดชอบ สหกรณ์3 แห่ง สมาชิก 662 คน 3. อําเภอสุขสําราญ รับผิดชอบ สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 357 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่งสมาชิก 338 คน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 รับผิดชอบ 2 อําเภอ (อําเภอละอุ่น อําเภอกระบุรี) 1. อําเภอละอุ่น รับผิดชอบ สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 1,061 คน กลุ่มเกษตรกร 2 แห่งสมาชิก 159 คน 2. อําเภอกระบุรี รับผิดชอบ สหกรณ์ 6 แห่ง สมาชิก 13,488 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่งสมาชิก 753 คน ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. การชําระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อยู่ระหว่างชําระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 สหกรณ์ 5 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง รวม 6 แห่ง สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จํานวน 1 สหกรณ์ คือ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรระนอง จํากัด 2. โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร (GAP) เปูาหมาย จํานวน 4 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด กลุ่มเกษตรทําสวนปากจั่น โดยมีเกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วม โครงการ ทั้งสิ้น 64 ราย เกษตรกรสมาชิกได้รับความรู้ตามหลักวิชาการ ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP สามารถผลิตผักและผลไม้ได้มาตรฐานตามความต้องการของตลาด 3. ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในพื้นที่เปูาหมาย จํานวน 35 แปลง ดังนี้ - แปลงใหญ่ยางพาราของสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด มีการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิก แปลงใหญ่ จํานวน 154 ตัน มูลค่า 5.74 ล้านบาท
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ข - แปลงใหญ่กาแฟของสหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด มีการรวบรวมผลผลิตจาก สมาชิกแปลงใหญ่ จํานวน 20 ตัน มูลค่า 1.33 ล้านบาท อีกทั้ง จากการคัดเลือกแปลงใหญ่ดีเด่น ระดับ จังหวัด ประจําปี 2563 แปลงใหญ่กาแฟ ได้รับรางวัลชมเชย - แปลงใหญ่มะม่วงหิมพานต์ของกลุ่มเกษตรกรทําสวนเกาะพยาม มีการแปรรูปเม็ดมะม่วง หิมพานต์ มูลค่า 42,440 บาท อีกทั้ง แปลงใหญ่มะม่วงหิมพานต์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นแปลงใหญ่ดีเด่น ระดับจังหวัด ประจําปี 2563 โดยทําให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันผลิต และสามารถจําหน่ายผลผลิตได้ในราคาที่เป็นธรรม 4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดําเนินธุรกิจ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จากปีก่อน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เปูาหมาย สหกรณ์จํานวน 24 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จํานวน 17 แห่ง โดยสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจ 5. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริเปูาหมาย 2 แห่ง คือ โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง โรงเรียนบ้านในวง อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง โดยสร้างค่านิยมและปลูก จิตสํานึกให้นักเรียนเห็นถึงความสําคัญของกิจกรรมด้านการสหกรณ์ และนําความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนากิจกรรมสหกรณ์ของโรงเรียน ให้กับนักเรียนของโรงเรียน 6. โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทํากินเกษตรกร เปูาหมาย เกษตรกรในพื้นที่ ปุาสงวนแห่งชาติ ปุาคลองลําเลียง-ละอุ่น อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง จํานวน 94 ราย และเกษตรกรในพื้นที่ ปุาชายเลนบ้านท่าคึกฤทธิ์ อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง จํานวน 29 ราย โดยเกษตรกรได้รับการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพภายใต้การอนุรักษ์ดินและน้ําอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 7. โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖3 การขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด ประกอบด้วย กรรมการ เจ้าหน้าที่กลุ่ม และสมาชิกกลุ่มเกษตรกร จํานวน 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง 2) กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 3) กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี กลุ่มละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 9 คน โดย ผู้นํากลุ่มเกษตรกรมีความรู้ความสามารถด้านการดําเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งสามารถดูแล สมาชิกได้กลุ่มเกษตรกรมีการขับเคลื่อนแผนพัฒนาธุรกิจ โดยเน้นการมีส่วนร่วมการทําธุรกิจของสมาชิกเป็น สําคัญ และกลุ่มเกษตรกรมีการจัดทําแผนพัฒนาและเชื่อมโยงธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร 8. โครงการส่งเสริมแนวทางการดําเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปูาหมาย เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการทฤษฎีใหม่ ปี 2560 – 2562 จํานวน 51 ราย คัดเลือกเกษตรกร ปี 2560 – 2562 จํานวน 17 ราย เพื่อส่งเสริมในปี 2563 และทําให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้และ พัฒนาไปสู่ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 ของแนวทางทฤษฎีใหม่ และเกิดความยั่งยืน ประสบผลสําเร็จ สามารถเป็น เกษตรกรต้นแบบตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ และเป็นตัวอย่างเผยแพร่ขยายผลในพื้นที่ เพื่อโดยการประเมิน ศักยภาพของเกษตรกรแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม A หมายถึง เกษตรกรที่สามารถพัฒนาตนเองสู่เกษตร ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 และทําเป็นต้นแบบได้ กลุ่ม B หมายถึง เกษตรกรที่เกือบจะไปสู่ เกษตรทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 และกลุ่ม C หมายถึง เกษตรกรที่อยู่ในขั้นตอนเรียนรู้และพัฒนาเกษตรทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 9. โครงการส่งเสริมสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์ออม ทรัพย์หรือสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน จํานวน 1 สหกรณ์ (คณะกรรมการดําเนินการ ฝุายจัดการ ผู้ตรวจสอบกิจการ สมาชิก) และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง และทําให้สหกรณ์ออมทรัพย์ ตํารวจภูธรจังหวัดระนองผ่านการประเมินสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาลมากกว่าร้อยละ 60
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ค 10. โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปูาหมาย สหกรณ์การเกษตรที่เข้าร่วมโครงการจํานวน 3 สหกรณ์ สมาชิกรวม 366 คน ประกอบด้วย 1 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด จํานวน 162 คน สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด จํานวน 184 คน และสหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด จํานวน 20 คน และทําให้สมาชิกสหกรณ์ที่มีหนี้ เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตร แก่สมาชิกสหกรณ์จํานวน 3 สหกรณ์ สมาชิกรวมจํานวน ๓๖๓ ราย โดยทําให้ต้นทุนการผลิตของสมาชิก ลดลง ร้อยละ 3 11. โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด เปูาหมาย คือ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง 17 แห่ง โดยทําให้กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสามารถ เข้าถึงแหล่งเงินทุนปลอดดอกเบี้ยได้ทุกกลุ่มเกษตรกร สามารถลดต้นทุนการดําเนินงานให้กับกลุ่มเกษตรกร และลดต้นทุนการผลิตให้แก่สมาชิกทําให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ํา เมื่อเทียบกับสถาบันการเงินอื่น และได้รับผลประโยชน์ในลักษณะของเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืน เมื่อสิ้นปีทาง บัญชีของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรผู้กู้สามารถชําระหนี้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ได้ทุกสัญญา 12. โครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร มีสหกรณ์สมัครเข้าร่วม โครงการ 3 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด และสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ จํานวน 28 ราย ผลจากการลง พื้นที่ตรวจเยี่ยม แนะนํา ร่วมกับสหกรณ์ และจากการจัดประชุมชี้แจง การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดู งาน ทําให้ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิด ระหว่างเจ้าหน้าที่ ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ และวิทยากรซึ่งเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจในการทําการเกษตร เป็นผู้รู้ที่ลงมือทําและประสบความสําเร็จ รวมถึง เจ้าหน้าจากหน่วยงานภาคีที่เข้าร่วม เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในอาชีพการเกษตรให้กับผู้สมัครเข้าร่วม โครงการ 13. โครงการสนับสนุนการกระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรเพื่อรองรับผลกระทบ จากโรคไวรัส โควิด-19 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับตะกร้าผลไม้ ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด จํานวน 3,000 ใบ 2) กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น จํานวน 3,000 ใบ 3) กลุ่มเกษตรกรทํา สวนผสมบ้านในกรัง จํานวน 1,500 ใบ 4) กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา จํานวน 1,5000 ใบ ทําให้สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร สามารถลดต้นทุนการผลิตในการซื้อตะกร้าผลไม้มังคุด
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ง สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร ก ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอํานาจหน้าที่ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง 2 1.2 โครงสร้างและอัตรากําลังของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง 3 1.3 แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 6 1.4 สรุปข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 10 ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงาน 19 2.1. สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 20 2.2 ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 27 2.3 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1) งาน/โครงการตามภารกิจ 2) โครงการตามนโยบายสําคัญ 49 80 ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน 3.1 งบแสดงฐานะการเงิน 3.2 งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน 3.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 90 91 92 93 ส่วนที่ 4 กิจกรรมเด่นของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง 97 บรรณานุกรม 112
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ๑ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ๒ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง วิสัยทัศน์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง เป็นองค์กรที่มุ่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง และเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิก พันธกิจ 1. ส่งเสริมเผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ 2. คุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็ง และเป็นไปตามกฎหมาย 3. พัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4. พัฒนาการดําเนินธุรกิจให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5. เสริมสร้างโอกาสเข้าหาแหล่งเงินทุนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ านาจหน้าที่ 1. ดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการ ครองชีพและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ทุกประเภท กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มลักษณะอื่น 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการ สหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มลักษณะอื่น 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นเกี่ยวข้องหรือ ที่ได้รับมอบหมาย
นางสาวนิพาภรณ์ ท าทอง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ โครงสร้างและอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง โครงสร้างส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง นายยุทธ สหกรณ์จกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ก นางสาววราภรณ์ นุ่นเหว่า นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวปัทมา รัตนวรรณ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสุธิดา ศรีวิไล นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ ผู้อ านวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ นางสาวบุษรา ช่วยพัฒน์ นักวิชาการสหกรณ์ นางสาวเจสิญา เกษแก้ว นักวิชาการมาตรฐานสหกรณ์ นายสุนทร โนรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 3 นายอาคม มีมาก นิติกร ธนา แก้วน้อย จังหวัดระนอง กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ นางสาวจรรยาวรรณ พูลสวน นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายมนชัย ใจชื่น นิติกรปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางณัชกช นามจันทร์ นายภักดี เลิศไกร ผู้อ านวยการกลุ่มตรวจการสหกรณ์ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนา การบริหารการจัดการสหกรณ์ นางสาวหทัยกาญจน์ เลิศไกร นักวิชาการสหกรณ์
นายสมพร กลับหลังสวน พนักงานบริการเอกสารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป นางสาวจิรายุ ศรีใส นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวนิภาพร มีศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นางสาวสุฑามาศ กุลมะลิวัน เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี นางกาญจนา ว่าวทอง เจ้าพนักงานธุรการ นางสาวพัฑฒิดา มณีโชติ เจ้าพนักงานธุรการ นายจิตรวิระ หีตดาษ พนักงานพิมพ์ นายสุนทร พยัฆยุทธ์ พนักงานขับรถยนต์ นายธีระทัศน์ ควรวินิจ พนักงานขับรถยนต์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1(อ าเภอเมือง อ ากะเปอร์ อ าเภอส นางสาวดวงรัตน์ เมนักวิชาการสหกรณ์ช าน นางสาวสุวพร หมกนักวิชาการสหกรณ์ปฏิ นางสุวรรณดี เชื่อเจ้าพนักงานส่งเสริมสนายสุเทพ ทองค า เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป นายจักรวาล คเชนทเจ้าพนักงานส่งเสริมสหกผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหก
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 4 1 สุขส าราญ) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อ าเภอละอุ่น อ าเภอกระบุรี) ฆพยับ นาญการ กทอง ฏิบัติการ นางสาวอติกานต์ วงษณรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวปัณฑิตา บัวฉิม นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ งช้าง สหกรณ์ ทร นายชาลี ท้วมสมบุญ กรณ์อาวุโส กรณ์ 1 เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 5 อัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หน่วย : คน ประเภทอัตราก าลัง ชาย หญิง รวม ข้าราชการ 7 10 17 ลูกจ้างประจ า 4 0 4 พนักงานราชการ 9 2 11 รวม 20 12 32 *** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 52% 13% 35% ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ รวม 31 คน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 6 แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรม 1) พัฒนาสหกรณ์สู่เกณฑ์มาตรฐาน 2) การรับสมาชิกเพิ่มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดําเนินธุรกิจ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปี ก่อน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 4) สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ (กรม ส่งเสริมสหกรณ์ จังหวัด และแหล่งอื่น ๆ) ได้ตามวัตถุประสงค์ 5) การเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิก 6) การจัดการและแก้ไขปัญหาหนี้สินให้สมาชิก 7) ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 8) สหกรณ์มีสมาชิกมาใช้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 9) สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่ํากว่ามาตรฐานขึ้นไป 10) การแก้ไขปัญหาการดําเนินกิจการของสหกรณ์ 11) โครงการการขับเคลื่อนการดําเนินการของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ศพก.) ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสหกรณ์ของชุมชน 12) โครงการส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรนําหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ในการ ดําเนินงาน 13) โครงการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามศักยภาพ (ยกระดับชั้น) 14) โครงการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ตามศักยภาพ (ยกระดับชั้น) กลุ่มเกษตรกร 15) โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและ การตลาด/ติดตามเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ําในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 16) โครงการส่งเสริมสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2563 17) กํากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 18) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการปูองกัน แก้ไขปัญหาและ พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในระดับจังหวัด 19) โครงการขับเคลื่อนการชําระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 20) ส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 21) งานบริหารทั่วไป 22) ประชาสัมพันธ์
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 7 2. แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ปี 2563 3. แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (เครื่องปรับอากาศ) 4. แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ) - เครื่องคอมพิวเตอร์ All In One สําหรับประมวลผล - ชุดโปรแกรมจัดการสํานักงาน ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย - ชุดโปรแกรมระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ 5. แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง พัฒนาบุคลากรสหกรณ์ในสถานศึกษาและประชาชนทั่วไป กิจกรรม การจัดงาน”7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจําปี 2562” 6. แผนงานบุคลากรภาครัฐ (ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ าและสร้างการเติบโตจากภายใน) ผลผลิต รายการค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครับกรมส่งเสริมสหกรณ์ - พนักงานราชการ - เงินสมทบกองทุนประกันสังคม - ค่าเช่าบ้าน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 8 7. แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรม 1) คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ 2) ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3) ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราช กัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี 4) ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ใน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 8. แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 9. แผนงานบูรณา การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทํากินของเกษตรกร 10. แผนงานบูรณา การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ ส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร กิจกรรมหลัก การพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร (GAP)
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 9 งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2563 แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61- ๒๕๖3 จ าแนกตามประเภทงบรายจ่าย ล้านบาท หน่วย : ล้านบาท ประเภทงบรายจ่าย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 รวมทั้งสิ้น 8,921,902.10 7,745,916.07 6,009,919.42 งบบุคลากร 2,600,220.00 2,697,420.00 2,776,040.00 งบดําเนินงาน 3,836,967.10 3,649,722.15 2,333,271.66 งบลงทุน 222,000.00 1,162,800.00 103,400.00 เงินอุดหนุน 2,262,715.00 235,973.92 797,207.76 งบรายจ่ายอื่น (ถ้ามี) - - - 0 1 2 3 4 งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 10 สรุปข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จ านวนสหกรณ์และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) รวมสมาชิก ร้อยละ ทั้งหมด (คน) สมาชิกสามัญ (คน) สมาชิกสมทบ (คน) 1. สหกรณ์การเกษตร 14 15,574 - - 11,112 62.89 2. สหกรณ์ประมง - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 5,079 5,079 716 5,373 30.41 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 813 - - 650 3.67 6. สหกรณ์บริการ 3 304 - - 243 1.38 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 317 - - 290 1.65 รวม 28 22,141 5,079 716 17,668 100 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สถานะสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. สหกรณ์การเกษตร 12 - 2 - 14 2. สหกรณ์ประมง - 1 - 1 3. สหกรณ์นิคม - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 - - - 6 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - - 1 6. สหกรณ์บริการ 3 - 1 - 4 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 - - - 2 รวม 24 - 4 - 28 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 11 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. สหกรณ์ การเกษตร 12 1.88 19.40 33.04 348.92 5.44 3.05 411.73 2. สหกรณ์ประมง 1 - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออม ทรัพย์ 6 335.94 1,787.25 - - - - 2,123.19 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - 10.10 - - - 10.10 6. สหกรณ์บริการ 3 0.08 2.43 0.22 - - 3.06 5.79 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนียน 2 0.07 2.24 - - - - 2.31 รวมทั้งสิ้น 25 337.97 1,811.32 43.36 348.92 5.44 6.11 2,553.12 ที่มา : ระบบรายงานปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปี 2563 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) สหกรณ์ที่มีผลก าไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 15 406.17 413.44 4 0.35 4 -7.62 -7.27 2. สหกรณ์ประมง 1 - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 281.69 93.37 6 188.3 2 - - 188.32 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 13.34 12.42 1 0.93 - - 0.93 6. สหกรณ์บริการ 4 3.66 3.17 3 0.49 - - 0.49 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยน 2 0.48 0.33 1 0.15 1 -0.00 0.15 รวมทั้งสิ้น 29 705.35 522.73 15 190.24 5 -7.62 182.62
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 12 สหกรณ์ปิดบัญชีไม่ได้เกินกว่า 1 ปีบัญชี(อยู่ระหว่างดําเนินการ) จํานวน 4 แห่ง 1) สหกรณ์การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์ จํากัด 2) สหกรณ์การเกษตรละอุ่น จํากัด 3) สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางแก้ว จํากัด 4) สหกรณ์กองทุนสวนยาง จ.ป.ร. จํากัด สหกรณ์มีสถานะเลิก จํานวน 5 แห่ง 1) ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรเมืองระนอง จํากัด 2) สหกรณ์การเกษตรกะเปอร์ จํากัด 3) สหกรณ์การเกษตรผู้ผลิตผลไม้บ้านในวง จํากัด 4) สหกรณ์ประมงบ้านบางเบน จํากัด 5) สหกรณ์บริการเดินเรือปากน้ํา – เกาะสอง จํากัด ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณ์ในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6) ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์จ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ ชั้น 1 สหกรณ์ ชั้น 2 สหกรณ์ ชั้น 3 สหกรณ์ ชั้น 4 รวม สหกรณ์ภาคการเกษตร 1. สหกรณ์การเกษตร 2 5 5 3 15 2. สหกรณ์นิคม - - - - - 3. สหกรณ์ประมง - - - 1 1 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 - - - 6 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - 1 1 - 2 6. สหกรณ์บริการ 1 2 - 1 4 7. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - - 1 รวม 10 8 6 5 29 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กองแผนงาน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 13 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2561 – 2563) ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 (แห่ง/ร้อยละ) ชั้น 1 7/24.14 10/34.48 10/34.48 ชั้น 2 19/65.52 15/51.72 8/27.59 ชั้น 3 0/0.00 0/0.00 6/20.69 ชั้น 4 3/10.34 4/13.80 5/17.24 รวม 29/100 29/100 29/100 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กองแผนงาน ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4
ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 14 63
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 15 ข้อมูลสถิติของกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จ านวนกลุ่มเกษตรกรและจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน) สมาชิก สามัญ (คน) สมาชิก สมทบ (คน) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 213 - - 156 9.97 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 12 1,318 - - 1,084 69.26 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 283 - - 186 11.89 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทํา ประมง 2 199 - - 139 8.88 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - รวม 18 2,013 - 1,565 100 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนกลุ่ม เกษตรกรทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุด ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 - - - 2 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 1 - 12 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 - - - 2 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 2 - - - 2 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - รวม 17 1 18 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 16 ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่น ๆ รวม ทั้งสิ้น 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 0.14 1.66 0.79 - - - 2.59 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 0.12 7.42 3.63 8.01 0.06 - 19.24 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 0.02 0.76 0.60 - - - 1.38 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทํา ประมง 2 - - 2.09 - - 0.70 2.79 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 17 0.28 9.84 7.11 8.01 0.06 0.70 26 ที่มา : ระบบรายงานปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปี 2563 ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภท กลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) กลุ่มเกษตรกร ที่มีผลก าไร กลุ่มเกษตรกร ที่ขาดทุน (4) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 3.41 3.10 2 0.31 - - 0.31 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 12 25.84 25.02 10 0.83 1 -0.01 0.83 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 0.11 0.09 2 0.02 - - 0.02 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 4.71 4.66 1 0.05 - - 0.05 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 18 34.07 32.86 15 1.22 1 -0.01 1.21 กลุ่มเกษตรกรปิดบัญชีไม่ได้เกินกว่า 1 ปีบัญชี(อยู่ระหว่างดําเนินการ) จํานวน 1 แห่ง 1) กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์น้ําทรายแดง กลุ่มเกษตรกรมีสถานะเลิก จํานวน 1 แห่ง 1) กลุ่มเกษตรกรกองทุนสวนยาง กยท. บ้านบางนอน ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หมายเหตุ ผลรวมของกลุ่มเกษตรกรในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 17 ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรจ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ประเภทสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 1 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 2 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 3 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 4 รวม 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา - 2 - - 2 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน - 10 1 1 12 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 1 2 - 3 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง - 1 - - 1 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) - - - - - รวม - 14 3 1 18 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและ กลุ่มเกษตรกร กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ชั้น 4 ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1
ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 18 ศ. 2563
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 19 ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงาน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 20 สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 1) พัฒนาสหกรณ์สู่เกณฑ์ มาตรฐาน 1.1) รักษาเปูาหมายสหกรณ์ที่ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานในระดับดีเลิศ และระดับดีมาก 1.2) ผลักดันสหกรณ์ให้ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานในระดับดี สู่ระดับดี มากหรือระดับดีเลิศ 1.3) ผลักดันสหกรณ์ที่ไม่ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานให้ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอย่างน้อยหนึ่งระดับ 15 สหกรณ์ 2 สหกรณ์ 2 สหกรณ์ 15 สหกรณ์ 2 สหกรณ์ 2 สหกรณ์ 100 100 100 8,100 8,100 100 2) พัฒนากลุ่มเกษตรกรสู่เกณฑ์ มาตรฐาน 2.1) รักษาเปูาหมายกลุ่ม เกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2.2) ผลักดันให้กลุ่มเกษตรกร ที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน 11 กลุ่มเกษตรกร 6 กลุ่มเกษตรกร 11 กลุ่มเกษตรกร 6 กลุ่มเกษตรกร 100 100 3) การรับสมาชิกเพิ่มของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 322 ราย 322 ราย 100 8,100 8,100 100 4) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดําเนิน ธุรกิจ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณ ธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 100 4,100 4,100 100 5) สหกรณ์ใช้ประโยชน์จาก อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่ได้รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ (กรมส่งเสริม สหกรณ์ จังหวัด และแหล่งอื่น ๆ) ได้ ตามวัตถุประสงค์ 8 สหกรณ์ 8 สหกรณ์ 100 1,800 1,800 100
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 21 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 6) การเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนเงิน ออมต่อหนี้สินของสมาชิก 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 100 4,100 4,100 100 7) การจัดการและแก้ไขปัญหา หนี้สินให้สมาชิก 4 สหกรณ์ 4 สหกรณ์ 100 5,800 5,800 100 8) ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบ แปลงใหญ่ 35 แปลง 35 แปลง 100 5,000 5,000 100 9) สหกรณ์มีสมาชิกมาใช้บริการไม่ น้อยกว่าร้อยละ 60 24 สหกรณ์ 24 สหกรณ์ 100 5,000 5,000 100 10) สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการ ดําเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่ํากว่า มาตรฐานขึ้นไป 24 สหกรณ์ 24 สหกรณ์ 100 5,000 5,000 100 11) การแก้ไขปัญหาการดําเนิน กิจการของสหกรณ์ 7 สหกรณ์ 7 สหกรณ์ 100 3,080 3,080 100 12) โครงการการขับเคลื่อนการ ดําเนินการของศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสหกรณ์ ของชุมชน 5 ศูนย์ 5 ศูนย์ 100 - - - 13) โครงการส่งเสริมให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรนําหลักธรรมาภิบาลมา ปรับใช้ในการดําเนินงาน 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 100 8,100 8,100 100 14) โครงการพัฒนาความเข้มแข็ง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามศักยภาพ (ยกระดับชั้น) 24 สหกรณ์ 24 สหกรณ์ 100 4,200 4,200 100 15) โครงการพัฒนาความเข้มแข็ง สหกรณ์ตามศักยาภพ (ยกระดับชั้น) กลุ่มเกษตรกร 17 กลุ่มเกษตรกร 17 กลุ่มเกษตรกร 100 5,000 5,000 100 16) โครงการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการผลิตและการตลาด/ ติดตามเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ําในไร่ นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 1 กลุ่มเกษตรกร / 3 แห่ง 1 กลุ่มเกษตรกร / 3 แห่ง 100 2,300 2,300 100 17) โครงการส่งเสริมสหกรณ์สี ขาวด้วยธรรมาภิบาล ประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2563 1 สหกรณ์ 1 สหกรณ์ 100 6,760 6,760 100
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 22 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 18) กํากับ ดูแล ตรวจสอบและ คุ้มครองระบบสหกรณ์ 24 สหกรณ์ 24 สหกรณ์ 100 35,800 35,800 100 1 9 ) โ ค ร ง ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ปฏิบัติการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมใน การปูองกัน แก้ไขปัญหาและพัฒนา สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในระดับ จังหวัด 3 ครั้ง 3 ครั้ง 100 11,700 11,700 100 20) โครงการขับเคลื่อนการชําระ บัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร 5 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร 100 10,000 10,000 100 21) ส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 24 สหกรณ์ 17 กลุ่มเกษตรกร 100 143,500 143,500 100 22) งานบริหารทั่วไป 1,438,200 1,438,200 100 23) ประชาสัมพันธ์ 80,000 80,000 100 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ โครงการพั ฒนาศั กยภาพการ ดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ปี 2563 3 กลุ่มเกษตรกร 3 กลุ่มเกษตรกร 100 12,260 12,260 100 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - เครื่องปรับอากาศ 2 เครื่อง 2 เครื่อง 100 80,400 80,400 100 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ) - เครื่องคอมพิวเตอร์ All In One สําหรับประมวลผล 1 ชุด 1 ชุด 100 23,000 23,000 100 - ชุดโปรแกรมจัดการสํานักงาน ที่ มีลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย 1 ชุด 1 ชุด 100 12,000 12,000 100 - ชุดโปรแกรมระบบปฏิบัติการ สําหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ชุด 1 ชุด 100 3,800 3,800 100
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 23 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง พัฒนาบุคลากรสหกรณ์ในสถานศึกษาและประชาชนทั่วไป การจัดงาน ”7 มิถุนายน วัน สหกรณ์นักเรียน ประจําปี 2562” 140 คน - - 55,400 กรมฯ โอนงบประมาณคืน แผนงานบุคลากรภาครัฐ (ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ าและสร้างการเติบโตจากภายใน) ผลผลิต รายการค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครับกรมส่งเสริมสหกรณ์ - พนักงานราชการ 11 อัตรา 11 อัตรา 100 2,780,700 2,780,700 100 - เงินสมทบกองทุนประกันสังคม 11 อัตรา 11 อัตรา 100 106,400 106,400 100 - ค่าเช่าบ้าน 5 ราย 5 ราย 100 221,500 221,500 100 แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - ค ลิ นิ ก เ ก ษ ต ร เ ค ลื่ อ น ที่ ใ น พระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 25,100 25,100 100 - ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียน ตามพระราชดําริสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 1 แห่ง 1 แห่ง 100 28,700 28,700 100 - ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อม หญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พรรณวดี 1 แห่ง 1 แห่ง 100 24,800 24,800 100 - ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง - ส่งเสริมการเกษตรตามแนวทาง ทฤ ษ ฎี ให ม่ ใน สห ก ร ณ์ แล ะ ก ลุ่ ม เกษตรกร 2 สหกรณ์ 3 กลุ่มเกษตรกร 51 ราย 2 สหกรณ์ 3กลุ่มเกษตรกร 51 ราย 100 100 32,600 32,600 100 กรมฯ โอน งบประมาณ คืน 125,200 บาท
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 24 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สิน สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3 สหกรณ์ 3 สหกรณ์ 100 520,452.42 496,207.76 95.34 ส่งเงินคืน เงิน งบประมาณ เหลือจ่าย 5,256.68 บาท แผนงานบูรณา การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทํากินของ เกษตรกร 1 พื้นที่ 1 พื้นที่ 100 12,600 12,600 100 แผนงานบูรณา การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ ส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร กิจกรรมหลัก การพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะใน การประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาค เกษตร (GAP) 3 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร 3 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร 100 18,000 18,000 100
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 25 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ งบประมาณจังหวัด โครงการยกระดับพืชเศรษฐกิจจังหวัดระนอง กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนากาแฟโรบัสต้า 1. สนับสนุนการลดต้นทุนการผลิต มังคุดคุณภาพ - เครื่องคัดมังคุด 3 เครื่อง 3 เครื่อง 100 900,000 800,000 88.88 ใช้ระบบ e-bidding ผู้เสนอเสนอ มาในราคา 800,000 บาท - เครื่องรัดกล่อง 3 เครื่อง - - 90,000 - - อยู่ระหว่าง การ ดําเนินการ เนื่องจาก ได้รับการ อุทรณ์จึงทํา ให้เกิดการ ล่าช้า 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิต และการลดต้นทุนการผลิตมังคุด คุณภาพ 26,000 26,000 100 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 26 สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ (เงินนอกงบประมาณ) ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส. 1. โครงการปกติ (ตามผลการจัด ชั้น) 20.30 9.00 44.33 คืนวงเงิน 11.30 ล้านบาท 1.1 วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม 2 แห่ง 2 แห่ง 100 2.00 - สหกรณ์รถยนต์โดยสารระนอง จํากัด 1.00 - สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงาน ราชการจังหวัดระนอง จํากัด 1.00 1.2 วัตถุประสงค์เพื่อจัดหาสินค้า มาจ าหน่าย 2 แห่ง 2 แห่ง 100 7.00 - สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอด กระ จํากัด 4.00 - สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 3.00 2. โครงการปกติ (ดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี) 31.10 27.10 87.14 คืนวงเงิน 4.00 ล้านบาท 2.1 โครงการเพิ่มศักยภาพการ ด าเนินธุรกิจรวบรวมกาแฟใน สถาบันเกษตรกร 3 แห่ง 3 แห่ง 100 24.00 - สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระ บุรี จํากัด 5.00 - สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 2.00 - สหกรณ์การเกษตรเพื่อ การตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 17.00 2.2 โครงการสนับสนุนเงินทุน เพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ 1 แห่ง 1 แห่ง 100 1.80 - สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 1.80 2.3 โครงการส่งเสริมอาชีพ สมาชิกสหกรณ์ที่ได้รับผลกระทบจาก ภัยแล้ง 2562/63 1 แห่ง 1 แห่ง 100 1.30 - สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระ บุรี จํากัด 1.30 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริการการจัดการสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 27 ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประกอบด้วย สหกรณ์11 แห่ง สมาชิก 7,480 คน กลุ่มเกษตรกร 6 แห่ง สมาชิก 657 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. การแนะนําส่งเสริมสหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์มีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเข้า แนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในปี 2563 จากสหกรณ์ทั้งหมดจํานวน 16 สหกรณ์ มีผลการ ประเมินมาตรฐานสหกรณ์ระดับมาตรฐานดีเลิศ จํานวน 9 สหกรณ์ ระดับมาตรฐานดีมาก จํานวน 2 สหกรณ์ ระดับมาตรฐานดี จํานวน 1 สหกรณ์ และไม่ผ่านมาตรฐานจํานวน 4 สหกรณ์ มีสหกรณ์ที่อยู่ระหว่างการชําระ บัญชี จํานวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์บริการเดินเรือปากน้ํา – เกาะสอง จํากัด และมีกลุ่มเกษตรกรอยู่ระหว่าง การชําระบัญชี จํานวน 1 กลุ่มเกษตรกร คือ กลุ่มเกษตรกรทําสวนยาง กยท. บ้านบางนอน 2. ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ มีสหกรณ์ที่อยู่ในระดับชั้น 1 จํานวน 8 สหกรณ์ ระดับชั้น 2 จํานวน 5 สหกรณ์ ระดับชั้น 3 จํานวน 3 สหกรณ์ โดยมีสหกรณ์ที่สามารถยกระดับจากชั้น 2 เป็นสหกรณ์ชั้น 1 ได้จํานวน 1 สหกรณ์คือ สหกรณ์บริการผู้ใช้น้ําเกาะพยาม จํากัด 3. แนะนําส่งเสริมการใช้หลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของสหกรณ์ ตามโครงการสหกรณ์ สีขาวด้วยธรรมาภิบาล โดยบูรณาการทํางานร่วมกันกับกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์มีการบริหารจัดการโดยการนําหลักธรรมาภิบาลไปสู่การปฏิบัติ โดยมีสหกรณ์ออมทรัพย์ ตํารวจภูธรจังหวัดระนอง จํากัด เข้าร่วมโครงการสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล 4. เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตร เพื่อให้ความรู้เรื่องอุดมการณ์ หลักการ วิธีการ สหกรณ์ สิทธิหน้าที่ของสมาชิก สวัสดิการต่างๆ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกสหกรณ์ การให้ความ ร่วมมือสนับสนุนการดําเนินงานร่วมทําธุรกิจกับสหกรณ์ การดํารงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และชี้แจง โครงการการสนับสนุนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 5. แนะนําส่งเสริมให้สหกรณ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ติดตามการแก้ไข ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีและข้อบกพร่องของสหกรณ์ 6. แนะนําส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดีเด่น ประจําปี 2563 โดยบูรณาการทํางานร่วมกันกับกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ โดยมีสหกรณ์ออมทรัพย์ ครูระนอง จํากัด เข้ารับการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติประจําปี 2563 7. ติดตามการใช้และเร่งรัดหนี้เงินกู้ โดยมีสหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จํานวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์รถยนต์โดยสารระนอง จํากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัดระนอง จํากัด 8. ดําเนินการชําระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อําเภอเมืองระนองมีสหกรณ์ที่อยู่ระหว่างการ ชําระบัญชีจํานวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์บริการเดินเรือปากน้ํา – เกาะสอง จํากัด ซึ่งนายทะเบียนสหกรณ์สั่ง เลิกเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2562 ผู้ชําระบัญชีได้เร่งรัดดําเนินการตามกระบวนการชําระบัญชี ทําให้ใน ระหว่างปี สามารถดําเนินการชําระบัญชีอยู่ในขั้น 6 และมีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระหว่างการชําระบัญชีจํานวน 1 กลุ่มเกษตรกร คือ กลุ่มเกษตรกรทําสวนยาง กยท.บ้านบางนอน ระหว่างปีผู้ชําระบัญชีได้เร่งรัดจัดทํางบ การเงิน ส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ และผู้สอบบัญชีส่งกลับให้ผู้ชําระบัญชีแก้ไขงบการเงิน อยู่ระหว่างการ ดําเนินการแก้ไขงบการเงิน อ าเภอเมือง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 28 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. คณะกรรมการดําเนินการ ขาดความรู้ความเข้าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข้อบังคับ การบริหารธุรกิจ สหกรณ์ ตลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ 2. สมาชิกสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ ทําให้ขาดการมีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 3. ผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์และไม่ปฏิบัติ หน้าที่ตามข้อบังคับของสหกรณ์ 4. การดําเนินงานยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 5. การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์ และปัญหาเงินฝากไหลเข้าสู่ระบบสหกรณ์ 6. สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี หรือมีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีแต่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอใน การปฏิบัติงาน ทําให้ไม่สามารถจัดทําบัญชีให้เป็นปัจจุบัน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมให้กรรมการดําเนินการ เข้าใจบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้การศึกษาอบรม เกี่ยวกับสหกรณ์ และความรู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจของสหกรณ์อย่างสม่ําเสมอ 2. ส่งเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์และการควบคุมภายในที่ดีการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการ เปรียบเทียบแผน-ผลในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด 3. มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี หรือกําหนดสัญญาจ้างโดยให้ค่าตอบแทนกับผู้มีความรู้ในเรื่องบัญชี กําหนดระเบียบ บทบาทหน้าที่ ตรวจสอบความถูกต้อง กําชับ ให้ผู้รับลงบัญชีจัดทําบัญชีให้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามแบบ ให้เป็นปัจจุบันทุกวันทําการ บัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดให้บันทึกรายการในวันที่เกิดเหตุ สําหรับรายการที่ ไม่เกี่ยวกับกระแสเงินสด ให้บันทึกในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแต่วันที่มีเหตุต้องบันทึก 4. เก็บข้อมูลสถิติการร่วมทําธุรกิจของสมาชิกสหกรณ์ที่ฝาก และถอนเงิน รวมถึงข้อมูลการจ่ายสินเชื่อ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์การเงินที่จะช่วยให้สหกรณ์สามารถวิเคราะห์วัฎจักร รวมถึงการบริหาร จัดการ การกู้เงินหรือการถอนเงินในช่วงระยะเวลาใดมากน้อยเพียงใด ทําให้สหกรณ์สามารถรู้ได้ว่าช่วงเวลาใด จะต้องรักษาสภาพคล่องเท่าใด 5. การปูองกันและการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิกสหกรณ์ โดยมีการสํารวจข้อมูลการจัดการ กลุ่มลูกหนี้ การวิเคราะห์ลูกหนี้รายบุคคล การบริหารจัดการลูกหนี้ตามสถานะลูกหนี้ การวางแผนอาชีพของ สมาชิก การขยายหนี้และปรับโครงสร้างหนี้ของสมาชิก
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 29 สหกรณ์บริการผู้ใช้น้ าเกาะพยาม จ ากัด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์บริการผู้ใช้น้ําเกาะพยาม จํากัด จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม เมื่อวันที่ 11 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 สหกรณ์ประเภทบริการ ปีบัญชี 31 ธันวาคมของทุกปี ปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 มีสมาชิกจํานวน 214 คน ทุนดําเนินทั้งสิ้น 2,843,845.59 บาท ทุนของสหกรณ์ 2,644,551.59 บาท กําไรสุทธิ 453,882.96 บาท ดําเนินธุรกิจบริการ(บริการน้ําประปา) ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย(มาตรน้ํา) สหกรณ์บริการผู้ใช้น้ําเกาะพยาม จํากัด เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนโดยมี ส่วนร่วมในทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นในหมู่บ้าน กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับสถานที่ราชการ เช่น วัด โรงเรียน ในปีงบประมาณ 2563 มีผลการดําเนินเป็นไปตามแผนปฏิบัติงานที่กําหนดไว้ มีกําไรสุทธิ ประจําปีเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ผลการจัดชั้นสหกรณ์ยกระดับจากปีก่อน จากสหกรณ์ชั้น 2 เป็นชั้น 1 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1. สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการในการแนะนํา ส่งเสริม และผลักดันให้สหกรณ์สามารถ ดําเนินงานได้อย่างประสบผลสําเร็จในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และชุมชน โดยบูรณาการการทํางานร่วมกันของ บุคลากรในหน่วยงานทั้งทุกกลุ่มงานและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 2. ในส่วนของการผลักดันการดําเนินงานของสหกรณ์ ได้ดําเนินการแนะนําส่งเสริมผ่านที่ประชุม คณะกรรมการดําเนินการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์กับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 3. สหกรณ์มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานของฝุายจัดการ มีการนําเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน ทําให้สหกรณ์สามารถให้บริการสมาชิกมีความสะดวกและรวดเร็ว 4. สหกรณ์มีสํานักงานในการดําเนินงานจึงมีความสะดวกในการให้บริการแก่สมาชิก 5. แนะนําส่งเสริมสหกรณ์ในการติดตามหนี้ค้าง(ค่าบริการน้ําประปา) อย่างต่อเนื่อง วางแผนการ ติดตามหนี้ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดําเนินการและฝุายจัดการ นําเสนอเป็นวาระติดตามในที่ประชุม คณะกรรมการดําเนินการเป็นประจําเดือนทุกครั้ง 6. แนะนําส่งเสริมให้สหกรณ์ดําเนินงานเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อกําหนดต่างๆ คําสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ มติที่ประชุมใหญ่และที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ ร่วมทั้งส่งเสริมให้ คณะกรรมการดําเนินการกํากับดูแลการปฏิบัติงานของฝุายจัดการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติที่ประชุมใหญ่และที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ 7. แนะนําให้สหกรณ์บันทึกบัญชี เอกสารทางบัญชีให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน การสอบทาน หนี้สิน การสอบทานหุ้นของสมาชิกอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมทั้งแนะนําให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ได้มีการตรวจนับเงินสดอย่างสม่ําเสมอ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 30
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 31 สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัดระนอง จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัดระนอง จํากัด จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เมื่อวันที่ 19 เดือนมกราคม พ.ศ. 2555 สหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ ปีบัญชี 30 กันยายน ของทุกปี ปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2563 มีจํานวนสมาชิก 68 คน มีทุนดําเนินงาน ทั้งสิ้น 5,478,963.92 บาท ทุนของสหกรณ์ 4,539,989.56 บาท กําไรสุทธิ 322,155.23 บาท ดําเนิน ธุรกิจสินเชื่อ โดยมีผลการดําเนินงานสูงกว่าแผนที่ได้กําหนดไว้ ธุรกิจเงินกู้เอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกได้ดี ธุรกิจ เงินรับฝาก สหกรณ์มีการรับฝากเงินประเภทออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ 2563 ผลการจัดชั้นสหกรณ์ ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัดระนอง จํากัด อยู่ในระดับชั้น 1 และผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์อยู่ในระดับ ดีเลิศ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1. สหกรณ์สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกโดยมีการเพิ่มทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 522,820 บาท ในระหว่างปีสมาชิกมีการทําธุรกิจสินเชื่อเพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น สหกรณ์มีผลกําไรสุทธิ ประจําปีที่เพิ่มขึ้น ทําให้มีการจัดสรรกําไรสุทธิเป็นเงินปันผลตามหุ้นที่เพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ 5 เป็นร้อยละ 5.5 และเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 8 2. แนะนําส่งเสริมให้สหกรณ์มีการวางแผนด้านการให้เงินกู้แก่สมาชิก โดยพิจารณาการให้เงินกู้ แก่สมาชิกอย่างระมัดระวัง เพื่อเป็นการปูองกันลูกหนี้เงินให้กู้ไม่สามารถชําระหนี้ได้ตามกําหนด 3. สหกรณ์มีทุนดําเนินงาน ทุนสํารอง ทุนสะสมตามข้อบังคับ เพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจ และการ จัดสวัสดิการต่างๆ ให้กับสมาชิก 4. สหกรณ์ดําเนินงานอยู่ในกรอบของข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ไม่ฝุาฝืนคําสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 5. มีการจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก ทําให้สมาชิกมีสวัสดิการที่เหมาะสมและวิถีชีวิตดีขึ้น 6. สหกรณ์ได้ดําเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ผู้ตรวจสอบกิจการ และสมาชิกสหกรณ์เข้าร่วมการอบรมสัมมนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะให้มีประสิทธิภาพใน การทํางาน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 32
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 33 ประกอบด้วย สหกรณ์3 แห่ง สมาชิก 662 คน กลุ่มเกษตรกร - แห่ง สมาชิก - คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. การแนะนําส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 ได้เข้าแนะนําส่งเสริมตามแผนงาน/โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองที่กําหนด โดยจัดเตรียมข้อมูลสหกรณ์ วิเคราะห์ ประเด็นต่างๆ นําเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ หรือที่ประชุมกลุ่ม หรือตรวจเยี่ยมแนะนํา ส่งเสริมตามแผนงาน และได้ติดตามงานที่ได้แนะนําส่งเสริมไปแล้ว ซึ่งเมื่อเจอปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆ ก็จะมา นําเสนอในที่ประชุมกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ หรือขอคําแนะนําจากกลุ่มงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อแจ้งให้สหกรณ์ ทราบ เป็นการช่วยลดปัญหาข้อบกพร่องหรือความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและหาแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาต่อไป 2. การแนะนําส่งเสริมสหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์มีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเข้า แนะนําส่งเสริมสหกรณ์ในปี 2563 สามารถผลักดันให้สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด จากผลมาตรฐานปีก่อนอยู่ในระดับดีมากเป็นระดับดีเลิศ 3. ผลการจัดชั้นสหกรณ์ สหกรณ์ทั้ง 3 สหกรณ์ เป็นสหกรณ์ชั้น 2 4. ติดตามการใช้และเร่งรัดหนี้เงินกู้ โดยมีสหกรณ์ชาวสวนกาแฟกะเปอร์ จํากัด กู้เงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ 5. ดําเนินการชําระบัญชีสหกรณ์ อําเภอกะเปอร์มีสหกรณ์ที่อยู่ระหว่างการชําระบัญชีจํานวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์ประมงบ้านบางเบน จํากัด ซึ่งนายทะเบียนสหกรณ์สั่งเลิกเมื่อวันที่ 4 ตุลาตม 2562 ผู้ชําระบัญชีได้เร่งรัดดําเนินการตามกระบวนการชําระบัญชี ทําให้ในระหว่างปีสามารถดําเนินการชําระบัญชี อยู่ในขั้น 6 และสหกรณ์การเกษตรกะเปอร์ จํากัด นายทะเบียนสหกรณ์สั่งเลิกเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2561 ระหว่างปีผู้ชําระบัญชีได้ดําเนินการขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของสหกรณ์ แล้วได้ดําเนินการชําระหนี้ให้กับ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ขายทอดตลาดอุปกรณ์สํานักงานของสหกรณ์ อยู่ระหว่าง ติดตามทวงถามหนี้จากลูกหนี้ การชําระบัญชีอยู่ในขั้น 6 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ผู้ตรวจสอบกิจการ ยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ ขาดความรู้เรื่อง ระบบสหกรณ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งยังขาดความรู้ความเข้าใจในการ บริหารงานสหกรณ์ ไม่ได้มีการดําเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดําเนินการเป็นประจําทุกเดือน แม้ว่าทาง ส่วนราชการจะให้ความช่วยเหลือและถ่ายทอดความรู้ในการดําเนินงาน ความรู้ในด้านกฎหมายและความรู้ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานสหกรณ์ให้คณะกรรมการดําเนินการ แต่ก็ไม่สามารถดําเนินงานโดยไม่เข้า ไปติดตามให้คําแนะนําได้ ทําให้ต้องมีการติดตาม กํากับ แนะนํา ส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง 2. การดําเนินงานของสหกรณ์ยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ กําหนด การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงาน งบประมาณที่ได้กําหนดไว้ อ าเภอกะเปอร์
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 34 3. สหกรณ์มีทุนการดําเนินงานที่ไม่เพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจด้านต่างๆ เพื่อให้บริการสมาชิก ส่วนใหญ่อาศัยเงินทุนจากภายนอก ซึ่งยังขาดการระดมทุนภายในหรือระดมเงินฝากจากสมาชิก ทําให้ต้นทุน ในการดําเนินงานค่อนข้างสูง สหกรณ์บางแห่งไม่สามารถใช้เงินทุนจากภายนอกได้ ส่งผลให้สหกรณ์ขาดสภาพ คล่องทางการเงินและขาดเงินทุนหมุนเวียนภายในสหกรณ์ ทําให้ไม่สามารถดําเนินธุรกิจให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ได้ 4. สหกรณ์ดําเนินธุรกิจไม่ครบวงจรเพื่อตอบสนองความต้องการใช้บริการของสมาชิกสหกรณ์ เนื่องจากไม่มีอาคารสํานักงานเป็นของตนเอง อาศัยบ้านของประธาน ประกอบกับวัสดุอุปกรณ์เครื่องจักรทาง การเกษตรที่จะบริการสมาชิกยังขาดแคลน ทําให้ไม่สามารถบริการสมาชิกได้ครบทุกด้าน 5. สหกรณ์บางแห่งไม่ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีทํางานเป็นประจําหรือจัดจ้างผู้ทําบัญชี มีปัญหา เกี่ยวกับการจัดทําเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี ทะเบียนคุมต่างๆ การจัดทําบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน มีความไม่ สมบูรณ์เรียบร้อย งบการเงินและรายละเอียดประกอบงบการเงินไม่ถูกต้อง 6. สมาชิกสหกรณ์มีภาระหนี้สินเพิ่มขึ้นและมีเจ้าหนี้หลายราย มีการชําระหนี้ตามสัญญาลดลง ก่อให้เกิดปัญหาการขาดวินัยทางการเงินในการชําระหนี้ตามกําหนดในสัญญา ส่งผลให้เกิดเงินต้นค้างชําระ ดอกเบี้ยค้างชําระ จนนําไปสู่การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้นของสหกรณ์ และส่งผลให้สหกรณ์บางสหกรณ์ ไม่สามารถชําระหนี้เจ้าหนี้ได้ตามกําหนดสัญญา 7. สมาชิกสหกรณ์ขาดการมีส่วนร่วม สาเหตุจากสมาชิกมาทําธุรกิจกับสหกรณ์และจํานวนสมาชิกที่ เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจําปีค่อนข้างน้อย ซึ่งสมาชิกไม่เห็นคุณค่าของการร่วมทํากิจกรรมกับสหกรณ์ 8. สมาชิกขาดความภักดีต่อสหกรณ์ ซึ่งมักนําผลผลิตไปจําหน่ายให้แก่พ่อค้าคนกลางในกรณีที่พ่อค้า คนกลางรับซื้อผลผลิตในราคาที่สูงกว่าที่สหกรณ์ตั้งไว้เพียงเล็กน้อย ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สร้างองค์ความรู้แก่คณะกรรมการดําเนินการเกี่ยวกับกฎหมายสหกรณ์ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง คําสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และสร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์เกี่ยวกับหลักการ บริหารงานสหกรณ์ โดยจัดให้มีคู่มือการปฏิบัติงานหรือคําชี้แจง สําหรับสหกรณ์ให้ชัดเจน เข้าใจง่ายไม่ต้อง ตีความในเรื่องที่เกี่ยวกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง และคําแนะนําต่างๆ 2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านการเงิน การควบคุมภายใน การบริการ รวมถึงการประเมินผลการดําเนินงาน 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ผู้ตรวจสอบกิจการ และสมาชิก สหกรณ์ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบด้านการดําเนินงาน และการจัดการด้านธุรกิจต่างๆ ของ สหกรณ์ 4. แนะนําให้สหกรณ์วิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์จากงบทดลองและงบการเงินสหกรณ์ เพื่อเป็น แนวทางในการกําหนดแผนงาน และงบประมาณในการดําเนินธุรกิจ 5. แนะนําให้สหกรณ์แก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจการณ์สหกรณ์ และคําแนะนํา นายทะเบียนสหกรณ์ และรายงานให้สํานักงานสหกรณ์จังหวัดทราบ 6. แนะนําให้สหกรณ์ส่งรายงานการประชุมคณะกรรมการ สําเนารายงานผู้ตรวจสอบกิจการ งบ ทดลองทุกเดือน เพื่อการตรวจสอบมติต่างๆ และวิเคราะห์งบทดลองใช้เป็นข้อมูลในการให้คําแนะนําสหกรณ์ ต่อไป
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 35 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จ ากัด 7. แนะนําให้สมาชิกถือหุ้นเพิ่ม เพื่อเป็นการเพิ่มเงินทุนให้กับสหกรณ์และเป็นการปลูกฝังจิตสํานึก ให้รู้จักการออมเงินและมีการจ่ายคืนในรูปของเงินปันผลให้กับสมาชิก 8. ในการทําธุรกิจกับสหกรณ์ คณะกรรมการต้องมีการวางแผนในการทําธุรกิจ ต้องมีการสํารวจความ ต้องการของสมาชิกเพื่อให้ตรงกับความต้องการและให้สมาชิกเห็นถึงคุณค่าของการร่วมทําธุรกิจกับสหกรณ์คือ เมื่อมาซื้อสินค้ากับสหกรณ์ก็จะมีการจ่ายคืนในรูปของการเฉลี่ยคืน 9. การจัดทําบัญชีของสหกรณ์ แนะนําให้จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีเพื่อทําหน้าที่ประจําสํานักงานและ ให้บริการสมาชิก สําหรับสหกรณ์ที่ไม่มีการจ้างเจ้าหน้าที่ในการจัดทําบัญชีและทุนดําเนินงานไม่มากพอแนะนํา ให้สหกรณ์มอบหมายให้คณะกรรมการคนใดคนหนึ่งจัดทําบัญชี ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนําให้ คณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายสามารถจัดทําบัญชีเบื้องต้นได้ เช่น การออกใบสําคัญรับเงิน สัญญาเงินกู้ และ ใบสําคัญรับจ่าย เป็นต้น 10. แนะนําให้คณะกรรมการดําเนินการต้องวางแผนในการติดตามเร่งรัดหนี้สินให้เป็นไปตามที่ กําหนดสัญญาเพื่อลดค่าใช้จ่ายของหนี้สงสัยจะสูญ และติดตามผลการชําระหนี้ของสมาชิกให้เป็นไปตามที่ กําหนดและต่อเนื่อง ควรกําหนดมาตรการควบคุมและปูองกันการผิดนัดชําระหนี้ของสมาชิกเพื่อสร้างวินัยใน การชําระหนี้และมีการจัดชั้นสมาชิก เพื่อให้สมาชิกเห็นถึงข้อเปรียบเทียบว่าสมาชิกที่ชําระหนี้ดี ตรงเวลา จะมี การคิดอัตราดอกเบี้ยที่ถูกกว่าสมาชิกที่ไม่ชําระหนี้ตรงตามกําหนด 11. สหกรณ์ต้องให้การศึกษาอบรมสมาชิก ให้สมาชิกมีจิตสํานึกถึงความเป็นเจ้าของร่วมกัน การ ช่วยเหลือซึ่งกันแหละกัน เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยสมาชิกต้องรู้จักหน้าที่ของตนเอง และเข้าใจถึงหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ โดยการจัดประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อให้บริการสมาชิกอย่างทั่วถึง 12. เข้าแนะนําส่งเสริม เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดําเนินการเป็นประจําทุกเดือนเพื่อแนะนํา ส่งเสริมช่วยเหลือ ให้คําปรึกษาในการดําเนินกิจการสหกรณ์อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องอย่างสม่ําเสมอ ให้ความรู้ในเรื่องการจัดการสหกรณ์ การประชุมกลุ่มสมาชิก การปฏิบัติตามกฎหมาย และให้สหกรณ์กําหนด ระเบียบให้ครอบคลุมการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ ทบทวนระเบียบต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับการดําเนินธุรกิจ และข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด ประเภทสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ปีบัญชี 31 ธันวาคมของทุกปี ณ วันสิ้นปีทางบัญชีวันที่ 31 ธันวาคม 2562 มีจํานวนสมาชิก 173 คน ทุนดําเนินงาน ทั้งสิ้น 4,507,977.46 บาท ทุนของสหกรณ์ 3,032,446.60 บาท กําไรสุทธิ 149,988.63 บาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน โดยปีก่อนมีผลกําไรสุทธิ 83,656.56 บาท ดําเนินธุรกิจสินเชื่อ ระหว่างปี 31 ธันวาคม 2562 สหกรณ์มีการจ่ายเงินกู้ เป็นเงิน 4,085,500.00 บาท ลูกหนี้สามารถชําระหนี้ได้ตามกําหนดร้อยละ 94.94 ธุรกิจเงินรับฝากประเภทออมทรัพย์ ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ปี 2563 อยู่ในระดับดีเลิศ ซึ่ง ปีก่อนอยู่ในระดับดีมาก และผลการจัดชั้นสหกรณ์ปี 2563 อยู่ในระดับชั้น 2
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 36 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1. แนะนําส่งเสริมให้คณะกรรมการดําเนินการใช้ความระมัดระวังในการพิจารณาให้เงินกู้แก่สมาชิก 2. ประชุมสมาชิกสหกรณ์ให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของ สมาชิกสหกรณ์ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้บริการจากสหกรณ์ ในการขอกู้เงิน การฝากเงิน การชําระ หนี้คืน การถือหุ้นของสมาชิก 3. สหกรณ์ได้มีการจัดประชุมสมาชิกอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สหกรณ์ สร้างการมีส่วน ร่วมในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาการดําเนินธุรกิจที่ตอบสนองความต้องการของสมาชิก พร้อมทั้งหา แนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม 4. ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการบริหารงานสหกรณ์ การดําเนินธุรกิจ และการติดตามผลการดําเนินงาน ของสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง โดยให้สหกรณ์จัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสาธารณะประโยชน์ ร่วมกันทํา กิจกรรมต่างๆ ในวันสําคัญ สําหรับสมาชิกที่ไม่สามารถชําระหนี้ได้ สหกรณ์แก้ไขปัญหาด้วยการเจรจา วิเคราะห์ปัญหา และแก้ไขปัญหาตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น 5. สหกรณ์ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์ได้เพิ่มพูน ความรู้ด้านต่างๆ โดยมอบหมายให้กรรมการและสมาชิกเข้ารับการอบรมทุกครั้งที่หน่วยงานมีการจัดอบรม ให้ความรู้ เพื่อนําหลักความรู้มาใช้ในการบริหารจัดการสหกรณ์ 6. คณะกรรมการดําเนินการของสหกรณ์บริหารงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ และบริการ สมาชิกด้วยความเป็นธรรมอย่างเท่าเทียมกัน สามารถบริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึงแบ่งผลกําไรคืนสมาชิกเป็นที่ พอใจของสมาชิกทุกคน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 37 ประกอบด้วย สหกรณ์2 แห่ง สมาชิก 357 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 338 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. แนะนําส่งเสริมเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์เนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่ขาดความ ศรัทธาและความเชื่อมั่นในสหกรณ์ โดยมีสาเหตุหลัก คือ สหกรณ์มีข้อบกพร่อง นอกจากนั้นยังส่งเสริมแนะนํา ให้สหกรณ์ผ่านมาตรฐานตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กําหนด มีการติดตามแก้ไขข้อบกพร่องอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการดําเนินงานให้สหกรณ์มีผลการดําเนินงานมีกําไร สามารถสร้างผลตอบแทนให้สมาชิก 2. กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มที่มีความเข้มแข็ง คณะกรรมการกลุ่มมีความรู้ความสามารถ สมาชิกก็ให้ ความสําคัญกับกลุ่ม และร่วมทําธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง การแนะนําส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรมุ่งเน้น เรื่องการแนะนําให้จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีเพื่อให้การจัดทําบัญชีเป็นปัจจุบัน การแนะนําในเรื่องการปฏิบัติตาม ระเบียบและข้อบังคับ การติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์ในพื้นที่อําเภอสุขสําราญทั้ง 2 สหกรณ์ ยังมีปัญหาเรื่องการดําเนินธุรกิจขาดทุน เนื่องจาก ไม่สามารถเรียกเก็บหนี้ได้ และนอกจากนี้ยังมีข้อบกพร่องเงินสดขาดบัญชีทั้ง 2 สหกรณ์ ส่งผลให้สมาชิกขาด ความเชื่อมั่นและความศรัทธาต่อสหกรณ์ 2. คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ขาดความรู้เรื่องความเข้าใจในการบริหารงานสหกรณ์ ไม่ได้มี การจัดประชุมคณะกรรมการดําเนินการเป็นประจําทุกเดือน 3. การดําเนินงานของสหกรณ์ยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 4. สหกรณ์มีหนี้ค้างชําระ โดยสมาชิกสหกรณ์กู้เงินแล้วไม่มาชําระหนี้ภายในกําหนดทําให้สหกรณ์ มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5. สมาชิกสหกรณ์ขาดการมีส่วนร่วมกับสหกรณ์ ไม่ร่วมทําธุรกิจกับสหกรณ์ และจํานวนสมาชิกที่เข้า ร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจําปีลดน้อยลง 6. คณะกรรมการดําเนินการที่ได้รับมอบหมายให้จัดทําบัญชี ยังขาดความรู้ความสามารถในการจัดทํา บัญชีของสหกรณ์ จึงทําให้ไม่สามารถจัดทําบัญชีได้อย่างถูกต้องและเป็นปัจจุบัน 7. ผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ขาดความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการ และไม่ปฏิบัติหน้าที่ตาม ข้อบังคับของสหกรณ์ 8. ขาดสมาชิกรุ่นใหม่เนื่องด้วยผู้ที่เป็นสมาชิกสหกรณ์จะมีอายุค่อนข้างเยอะ เมื่อเลือกคณะกรรมการ ดําเนินการสหกรณ์เข้ามาบริหารงานในสหกรณ์ ก็จะมีแต่คณะกรรมการดําเนินการที่อายุค่อนข้างเยอะ อ าเภอสุขส าราญ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 38 กลุ่มเกษตรกรท าสวนนาคา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. เร่งพัฒนาการดําเนินธุรกิจให้มีผลกําไร มีการติดตามหนี้ค้างชําระอย่างต่อเนื่อง 2. สร้างการมีส่วนร่วมในการทําธุรกิจของสมาชิก โดยจัดหาสินค้ามาจําหน่ายตามความต้องการของ สมาชิก โดยจําหน่ายสินค้าราคาในราคายุติธรรม 3. ติดตามแก้ไขข้อบกพร่องให้เสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด ให้คณะกรรมการรายงานการติดตามข้อบกพร่อง ให้คณะกรรมการทราบในการประชุมประจําเดือนทุกครั้ง และรายงานต่อสหกรณ์จังหวัดด้วย 4. เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ โดยการส่งเสริมการเข้า อบรมในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานอย่างสม่ําเสมอ เช่น ความรู้ในด้านการจัดทําบัญชี 5. ส่งเสริมให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง ความรู้เกี่ยวกับ สหกรณ์ และความรู้เกี่ยวกับการบริการธุรกิจสหกรณ์อย่างสม่ําเสมอ 6. ส่งเสริมการออมเพื่อการระดมทุนจากภายในของสหกรณ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา ตั้งอยู่ที่หมู่ 7 ตําบลนาคา อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง จดทะเบียน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2547 เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2549 ประเภทกลุ่มเกษตรกร ทําสวน ปีบัญชี 31 มีนาคม ของทุกปี สําหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2563 กลุ่มเกษตรกรมีจํานวน สมาชิก 338 คน ทุนดําเนินงานทั้งสิ้น 6,448,968.70 บาท ทุนของกลุ่มเกษตรกร 4,166,361.98 บาท กําไรสุทธิ 231,597.20 บาท กลุ่มเกษตรกรประกอบธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย (ปุ๋ยเคมี) และธุรกิจรวบรวมผลผลิต (มังคุด) กลุ่มเกษตรกรได้ดําเนินงานอย่างเข้มแข็งด้วยความร่วมมือของคณะกรรมการดําเนินการ และ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ได้เข้าส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง กลุ่มเกษตรกรได้เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ตาม โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด และกลุ่มเกษตรกรกู้เงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร เพื่อสร้างระบบน้ําในไร่นา ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1. ได้เข้าแนะนํา ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา ดําเนินงานให้เป็นไปตามระเบียบ โดยเฉพาะ ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้กับสมาชิก มีการทบทวนระเบียบเพื่อให้การกู้เงินมีความ สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิกกลุ่ม 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา มีความโดดเด่นในด้านการบริหารงานของคณะกรรมการดําเนินการ และความร่วมมือของสมาชิก ทําให้กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งดําเนินธุรกิจมีผลกําไรทุกปี สามารถจัดสรร เป็นเงินปันผลให้กับสมาชิกได้ถึง 8% ตามหุ้นที่ชําระแล้ว ร้อยละ 54.18 ของกําไรสุทธิประจําปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2563 ส่งผลให้สมาชิกมามีส่วนร่วมในการทําธุรกิจกับกลุ่ม 3. กลุ่มเกษตรกรได้รับเงินอุดหนุนจากสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง โครงการเกษตรผสมผสานให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรนําไปให้สมาชิกใช้ในการดําเนินกิจกรรมเกษตร ผสมผสานในกลุ่มเกษตรกร ให้กับสมาชิกของกลุ่มเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมตามโครงการเกษตรกรแบบ ผสมผสานในสหกรณ์ เป็นเงิน 174,000.00 บาท
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 39 4. มีการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกรและมีการ บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล การดําเนินธุรกิจส่วนใหญ่ของกลุ่มเกษตรกรจะใช้ทุนดําเนินงานของ กลุ่มเกษตรกรเอง 5. กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา ได้รับมอบบรรจุภัณฑ์สําหรับบรรจุผลไม้ (ตระกร้า) เพื่อใช้ในการ รวบรวมและกระจายผลไม้สู่ผู้บริโภค โครงการสนับสนุนการกระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรเพื่อรองรับ ผลกระทบจากโรคไวรัสโควิด - 19 จํานวน 1,500 ใบ