รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 40 ประกอบด้วย สหกรณ์2 แห่ง สมาชิก 1,061 คน กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง สมาชิก 159 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. แนะนําส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตามแผนงานที่กําหนด และตามประเด็นการวิเคราะห์ โดยไม่ขัดต่อข้อบังคับ ระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมีการจัดเตรียมข้อมูลต่าง ๆ มาทําการ วิเคราะห์ในทุกๆ ด้าน เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ 2. เผยแพร่และให้ความรู้ ความเข้าใจ ระบบสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ ให้แก่ คณะกรรมการดําเนินการและเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจยิ่งขึ้น และเห็นความสําคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 3. ติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 4. ส่งเสริมสนับสนุนสมาชิกให้มีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แนะนํา ส่งเสริม กํากับการดําเนินงานของสหกรณ์ เพื่อรักษาและยกระดับการจัดชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์ 5. ติดตาม แนะนํา ช่วยเหลือการปิดบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้สามารถจัดทํางบการเงิน ประจําปีแล้วเสร็จและจัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชีและสามารถจัด ประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 6. การติดตามเร่งรัดการแก้ไขข้อสังเกตที่เกิดขึ้นของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อช่วยลดความเสี่ยง ที่อาจเกิดข้อบกพร่อง 7. ติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งก่อสร้างที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และคุ้มค่ากับงบประมาณ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์บางแห่งประสบปัญหาขาดทุนสะสมติดต่อกันหลายปี ทําให้สมาชิกขาดความเชื่อมั่นและไม่ ศรัทธาในสหกรณ์และคณะกรรมการดําเนินงานสหกรณ์ สมาชิกจึงไม่มาทําธุรกิจกับสหกรณ์ 2. การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้ไม่สามารถดําเนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง ไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านธุรกิจของสมาชิกได้ตรงตามความต้องการ 3. การจัดทําบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความพร้อมด้านบุคลากรและความรู้ความเข้าใจ จึงไม่สามารถ จัดทํารายละเอียดและงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในกําหนดได้ 5. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่มีการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ และการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 6. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีหนี้สินค้างชําระมาชําระหนี้ตามกําหนด ทําให้สหกรณ์ต้องมีการตั้งค่า เผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์ ทําให้เกิดเป็นค่าใช้จ่ายส่งผลต่อผลการดําเนินงาน 7. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขาดการมีส่วนร่วม สมาชิกไม่เห็นคุณค่าของการร่วมทํากิจกรรม และการทําธุรกิจต่าง ๆ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อ าเภอละอุ่น
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 41 กลุ่มเกษตรกรท าสวนมังคุดบ้านในวง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดให้คณะกรรมและฝุายจัดการมีการเข้าไปพบปะ พูดคุย หรือประชุม กลุ่มย่อยกับสมาชิกอย่างสม่ําเสมอ เพื่อรับทราบถึงปัญหา ความต้องการ สร้างความศรัทธาในระบบสหกรณ์ และกระตุ้นการมีส่วนร่วม 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดําเนินธุรกิจให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอํานาจกระทําการตามที่ข้อบังคับ และระเบียบฯ กําหนดโดยเคร่งครัด โดยไม่ขัดต่อกฎหมายและคํานึงถึงความต้องการของสมาชิก 3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี หรือจัดให้มีผู้รับผิดชอบในการจัดทําบัญชี และมีการ ติดตามให้มีการบันทึกหรือลงรายการให้เป็นปัจจุบัน 4. ส่งเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและการควบคุมภายในที่ดี 5. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ต้องมีการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการเปรียบเทียบ แผน-ผลในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด มีการระดมทุนโดยให้สมาชิกมาถือหุ้นและนําเงินมาฝากเพื่อใช้เป็นทุน หมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจ 6. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรพิจารณาถึงความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกเป็นสําคัญในการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อ มีการติดตามการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวมถึงการจัดชั้นลูกหนี้เพื่อสร้าง แรงจูงใจและวินัยในการชําระหนี้ 7. คณะกรรมการดําเนินการกําหนดระเบียบให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ครอบคลุมการดําเนินธุรกิจ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและสถานการณ์ปัจจุบัน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง จัดตั้งเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559 ดําเนินธุรกิจเพื่อ สนองความต้องการของสมาชิกและช่วยเหลือสมาชิกในการสนับสนุนเงินให้กู้อัตราดอกเบี้ยต่ํา ได้ใช้ปัจจัยการ ผลิต ในราคาที่ต่ํากว่าตลาดในพื้นที่ กลุ่มเกษตรกรมีแผนพัฒนาธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร โดยการ รวบรวมทุเรียน และมังคุดซึ่งเป็นผลผลิตหลักของสมาชิก โดยการเปิดจุดรับซื้อเพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ สมาชิกต่อไป กลุ่มเกษตรกรสามารถรักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานได้ทุกปี กลุ่มเกษตรกรได้กู้ เงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการจัดหาปัจจัยการผลิตมาจําหน่ายให้กับสมาชิก เป็นเงินเชื่อ ในลักษณะของเงินกู้อัตราดอกเบี้ยต่ํา เป็นการช่วยเหลือสมาชิกในการสนับสนุนด้านปัจจัยการผลิต เพื่อการพัฒนาคุณภาพผลผลิต ให้สามารถจําหน่ายได้ในราคาที่สูงขึ้น โดยกลุ่มเกษตรกรได้ใช้เงินกู้ยืมจาก กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเป็นตามวัตถุประสงค์และสามารถส่งช าระเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ตาม ก าหนดสัญญา
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 42 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรมีการประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อรับทราบปัญหา และความต้องการจากสมาชิก เพื่อการพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร การติดต่อด้านธุรกิจกับเครือข่ายสหกรณ์ ภายในจังหวัดเพื่อให้สมาชิกได้ใช้ปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพและราคาถูก และการมอบหมายคณะกรรมการ ใน การปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบต่างๆ อย่างชัดเจน ภาพ : กิจกรรมและการด าเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรท าสวนมังคุดบ้านในวง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 43 กลุ่มเกษตรกรท าสวนบางแก้ว ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีระบบการจัดการธุรกิจสินเชื่อที่ดี สมาชิกมีวินัยทางการเงิน สามารถชําระเงินกู้ได้ตามกําหนดสัญญา กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่ายโดยสํารวจตามความต้องการของสมาชิก ผลกําไรสุทธิจาก การดําเนินงาน จัดสรรเป็นเงินปันผล เงินเฉลี่ยคืน และทุนสะสมต่างๆ สมาชิกมีความ พึงพอใจ และมีความ พร้อมในการให้ความร่วมมือกับทุกกิจกรรมของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจโดยใช้ทุนภายในของกลุ่มเกษตรกรและกู้ยืมเงินจากกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร เป็นเงินทุนในการดําเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย และธุรกิจสินเชื่อ โดยได้ดําเนินการเป็นไปตาม วัตถุประสงค์และสามารถส่งชําระเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ตามกําหนดสัญญา สมาชิกเข้าใจถึงบทบาท การเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ทําให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการทําธุรกิจอย่างสม่ําเสมอและ เห็นความสําคัญของการรวมกลุ่ม ส่งผลให้กลุ่มเกษตรกรสามารถรักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานได้ทุกปี ปัจจัยแห่งความส าเร็จ กลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าหนี้สินหมุนเวียน 2.47 เท่า โดยจัดว่ามีสภาพ คล่องอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ทุนที่ใช้จากการดําเนินงานส่วนใหญ่เป็นทุนภายในซึ่งมาจากการส่งเสริมให้สมาชิกถือหุ้น และฝากเงินเพิ่มเป็นรายเดือน กลุ่มเกษตรกรดําเนินงานมีผลกําไรอย่างต่อเนื่อง สมาชิกจึงมีความเชื่อมั่นและ ศรัทธาในกลุ่มเกษตรกร ภาพ : กิจกรรมและการด าเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรท าสวนบางแก้ว
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 44 ประกอบด้วย สหกรณ์6 แห่ง สมาชิก 13,488 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 753 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. แนะนําส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตามแผนงานที่กําหนด และตามประเด็นการวิเคราะห์ โดยไม่ขัดต่อระเบียบ ข้อบังคับ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมีการจัดเตรียมข้อมูลต่าง ๆ มาทําการ วิเคราะห์ในทุกๆ ด้าน เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ 2. เผยแพร่และให้ความรู้ ความเข้าใจ ระบบสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ ให้แก่ คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ยิ่งขึ้น และเห็นความสําคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 3. ติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 4. ส่งเสริมสนับสนุนสมาชิกให้มีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แนะนํา ส่งเสริม กํากับการดําเนินงานของสหกรณ์ เพื่อรักษาและยกระดับการจัดชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์ 5. ติดตาม แนะนํา ช่วยเหลือการปิดบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้สามารถจัดทํางบการเงิน ประจําปีแล้วเสร็จและจัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชีและสามารถจัด ประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 6. การติดตามเร่งรัดการแก้ไขข้อสังเกตที่เกิดขึ้นของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อช่วยลดความเสี่ยง ที่อาจเกิดข้อบกพร่อง 7. ติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งก่อสร้างที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และคุ้มค่ากับงบประมาณ 8. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให้ครอบคลุมการดําเนินงานและสอดคล้องกับ สภาวการณ์ปัจจุบัน ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ปัญหาด้านเศรษฐกิจทําให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่มีความผันผวน มีการปรับราคาขึ้นลง สหกรณ์ไม่สามารถคาดเดาถึงสถานการณ์ หรือแนวโน้มด้านราคา ทําให้ต้องจําหน่ายราคาผลผลิตในราคาที่ต่ํา กว่าทุนในบางช่วง 2. สหกรณ์ไม่สามารถดําเนินงานได้เป็นไปตามแผน ส่งผลให้สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์การตลาดไม่ได้ใช้ งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ มีความเสี่ยงถึงการเสื่อมสภาพทรุดโทรม 3. การรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร (กาแฟสาร) ของสมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพไม่ได้ตามเกณฑ์ ไม่สามารถหาตลาดรองรับที่แน่นอน สหกรณ์ต้องสต็อกสินค้ารอการจําหน่ายไว้เป็นเวลานานส่งผลต่อคุณภาพ สินค้าและการขาดหายของน้ําหนัก 4. สหกรณ์บางแห่งประสบปัญหาขาดทุนสะสมติดต่อกันหลายปี ทําให้สมาชิกขาดความเชื่อมั่นและ ไม่ศรัทธาในระบบสหกรณ์ สมาชิกจึงไม่มาทําธุรกิจกับสหกรณ์ 5. การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้ไม่สามารถดําเนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง ไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านธุรกิจของสมาชิกได้ตรงตามความต้องการ อ าเภอกระบุรี
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 45 6. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่ง การจัดทําบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความพร้อมด้านบุคลากรและ ความรู้ความเข้าใจ เนื่องจากไม่ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี มีเพียงมอบหมายกรรมการ ซึ่งไม่ได้มีความรู้ด้านบัญชี จึงไม่สามารถจัดทํารายละเอียดและงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในกําหนดได้ 7. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่ง ไม่มีการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 8. ด้วยปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม ภัยธรรมชาติ ที่ส่งผลต่อสมาชิกทําให้มีหนี้สินค้างชําระไม่สามารถ มาชําระหนี้ตามกําหนด ทําให้สหกรณ์ต้องมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์ ทําให้เกิดเป็น ค่าใช้จ่ายส่งผลต่อผลการดําเนินงาน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดให้คณะกรรมและฝุายจัดการมีการเข้าไปพบปะ พูดคุย หรือประชุม กลุ่มย่อยกับสมาชิกอย่างสม่ําเสมอ เพื่อรับทราบถึงปัญหา ความต้องการ สร้างความศรัทธาในระบบสหกรณ์ และกระตุ้นการมีส่วนร่วม 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดําเนินธุรกิจให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอํานาจกระทําการตามที่ ข้อบังคับและระเบียบฯ กําหนดโดยเคร่งครัด โดยไม่ขัดต่อกฎหมายและคํานึงถึงความต้องการของสมาชิก 3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี หรือจัดให้มีผู้รับผิดชอบในการจัดทําบัญชี และมีการ ติดตามให้มีการบันทึกหรือลงรายการให้เป็นปัจจุบัน 4. ส่งเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและการควบคุมภายในที่ดี 5. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องมีการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการเปรียบเทียบ แผน-ผลในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด มีการระดมหุ้นและเงินฝากเพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจ 6. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรพิจารณาถึงความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกเป็นสําคัญในการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อ มีการติดตามการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวมถึงการจัดชั้นลูกหนี้เพื่อสร้าง แรงจูงใจและวินัยในการชําระหนี้ 7. คณะกรรมการดําเนินการกําหนดระเบียบให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ครอบคลุมการดําเนิน ธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและสถานการณ์ปัจจุบัน 8. สร้างแรงกระตุ้นให้กับเจ้าหน้าที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวมถึงคณะกรรมการดําเนินการของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในการติดตามหนี้ 9. สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกโดยการสํารวจความต้องการของสมาชิก และสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรมีการดําเนินธุรกิจตามความต้องการ และควรมีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สมาชิกได้รับทราบข่าวสารของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 10. ส่งเสริมให้สหกรณ์ดําเนินธุรกิจตามหลักการตลาดนําการผลิต ติดต่อผู้รับซื้อผลผลิตโดยมีการ จัดทําข้อตกลงสัญญาระหว่างกันอย่างชัดเจน จัดประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อให้ความรู้และข้อตกลงในเรื่องคุณภาพ ผลผลิต วิธีการรวบรวม การจําหน่ายที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างสมาชิกและสหกรณ์ 11. การเปิดประมูลราคารับซื้อผลผลิตจากเอกชน เป็นวิธีที่จะช่วยลดความเสี่ยงการเกิดผลขาดทุนใน ธุรกิจรวบรวมผลผลิตอีกทางหนึ่ง 12. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการจัดทําแผนการใช้ประโยชน์สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์การตลาด และ ควรดําเนินการไปตามแผน รวมถึงการจัดให้มีผู้ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณ์ เพื่อปูองกันการเสื่อมสภาพทรุดโทรม
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 46 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จ ากัด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ได้จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ประเภทการเกษตร เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2519 ปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2562 มีสมาชิกทั้งสิ้น 879 คน สหกรณ์มีการดําเนินธุรกิจ 4 ด้าน คือ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหา สินค้ามาจําหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิต และธุรกิจรับฝากเงิน สหกรณ์ในฐานะสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอมีบทบาทส าคัญในการบริการให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ า และจ าหน่ายปัจจัยการผลิตด้วยราคาต่ ากว่าราคาตลาดในพื้นที่ ธุรกิจรวบรวมผลผลิตที่ช่วยแก้ปัญหาสมาชิก ถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง รวมทั้งการส่งเสริมให้สมาชิกเห็นความสําคัญของการออมโดยธุรกิจเงินรับฝากที่ มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าสถาบันการเงินในท้องที่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนด้าน การเงินและยกระดับคุณภาพชีวิตของสมาชิกให้ดีขึ้น ผลกระทบจากสภาวะทางเศรษฐกิจส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ํา สหกรณ์มีการ สนับสนุนให้สมาชิกประกอบอาชีพเลี้ยงสุกร เพื่อให้มีรายได้เพิ่ม โดยมีการสนับสนุนเงินทุนให้สมาชิกกู้ยืมใน อัตราดอกเบี้ยต่ําเพื่อจัดซื้ออาหารสุกร พันธุ์สุกร รวมถึงการหาตลาดให้กับสมาชิก โดยครบวงจร ทําให้สมาชิก มีรายได้เพิ่มขึ้น มีความกินดีอยู่ดี และสามารถส่งคืนชําระเงินกู้ได้ตามกําหนดสัญญา ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด ให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ ตามแผนพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็งเพื่อยกระดับสหกรณ์การเกษตรให้เป็นองค์กร หลักระดับอําเภอ ผลักดันให้สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนหมุนเวียน เพื่อเสริมสภาพคล่อง ในอัตรา ดอกเบี้ยต่ําผ่านกองทุนพัฒนาสหกรณ์
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 47 ภาพ : กิจกรรมและการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จ ากัด
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 48 กลุ่มเกษตรกรท าสวนปากจั่น ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น ดําเนินธุรกิจ 3 ด้านคือ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจจัดหาสินค้ามา จําหน่าย และธุรกิจสินเชื่อ โดยดําเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิต (มังคุด) เป็นธุรกิจหลัก จําหน่ายผลผลิตที่รวบรวม จากสมาชิกโดยใช้วิธีการประมูลราคาเพื่อจําหน่ายให้กับพ่อค้าที่เสนอราคาที่ดีที่สุด มีการจําหน่ายในต่างจังหวัด และจําหน่ายออนไลน์ ส่งผลให้สมาชิกได้รับราคาผลผลิตที่สูงกว่าท้องถิ่น นอกจากการดําเนินธุรกิจรวบรวม ผลผลิตแล้ว กลุ่มเกษตรกรให้ยังมีเงินกู้ดอกเบี้ยต่ําให้สมาชิกกู้ยืมเพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนในการ ประกอบอาชีพและใช้จ่ายในครัวเรือน รวมถึงการจัดหาปัจจัยการผลิตราคาถูกมาจําหน่ายให้กับสมาชิก กลุ่มเกษตรกรมีการนัดประชุมคณะกรรมการเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงและ พัฒนาการดําเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง มีการจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์เพื่อช่วยเหลือสังคม ในชุมชน กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจโดยใช้เงินทุนภายในของกลุ่มเกษตรกรเอง สามารถดําเนินธุรกิจได้ตรงตาม ความต้องการและเพื่อผลประโยชน์ของสมาชิก ทําให้สมาชิกเกิดความพึงพอใจและความศรัทธา จึงเข้ามามีส่วนร่วมกับกลุ่มเกษตรกรอย่างสม่ําเสมอ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตรกร ด้านการสนับสนุนอุปกรณ์ การตลาด การอบรมให้ความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเจรจาจัดหาตลาดรองรับผลผลิตทั้ง ภาคเอกชนและผ่านส่วนราชการ และการตลาดออนไลน์ ซึ่งเป็นการสนับสนุนและการขยายโอกาสทาง การตลาดที่สําคัญ ภาพ : กิจกรรมและการด าเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรท าสวนปากจั่น
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 49 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : ๑) การเตรียมการก่อนการเลิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการวิเคราะห์ข้อมูลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร การจัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ ๒) เมื่อนายทะเบียนสหกรณ์ได้แต่งตั้งผู้ช าระบัญชีแล้ว นั้นผู้ช าระบัญชีจะด าเนินการตามขั้นตอนการ ช าระบัญชี ตั้งแต่การรับมอบทรัพย์สินพร้อมด้วยสมุดบัญชีและเอกสารต่าง ตาม พรบ. สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมไปจนจบกระบวนการช าระบัญชี ๓) การติดตามให้ผู้ช าระบัญชีรายงานความก้าวหน้าในการช าระบัญชี ทุกเดือน เพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรค และหาแนวทางการแก้ไขร่วมกัน 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการช าระบัญชี ณ วันที่ 1 ต.ค. 2562 ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 1. ชุมนมสหกรณ์การเกษตร ระนอง จํากัด ขั้นที่ ๖ ดําเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สินให้แล้วเสร็จ (ศาลล้มละลายกลาง ได้มีคําสั่งยกเลิกการล้มละลาย) ขั้นที่ ๑๐ ถอนชื่อออกจาก ทะเบียน 2. สหกรณ์การเกษตรผู้ผลิต ผลไม้บ้านในวง จํากัด ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดทํางบ การเงินตาม ม. ๘๐ (ดําเนินการจัดทํางบ การเงินใหม่ให้เป็นไปตาม พรบ.สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม ๒๕๖๒) ขั้นที่ ๓ ส่งงบการเงินให้ผู้สอบ บัญชีตาม ม.๘๐ (ผู้สอบบัญชีส่ง งบการเงินคืนให้แก้ไข) ๓. สหกรณ์การเกษตรกะเปอร์ จํากัด ขั้นที่ ๓ ส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตาม ม. ๘๐ (ผู้สอบบัญชีส่งคืนแก้ไขให้เป็นไป ตาม พรบ.สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไข เพิ่มเติม ๒๕๖๒) ขั้นที่ ๖ ดําเนินการจัดการ ทรัพย์สินและหนี้สินให้แล้วเสร็จ ๔. สหกรณ์บริการเดินเรือปากน้ํา - เกาะสอง จํากัด ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดทํางบ การเงินตาม ม. ๘๐ ขั้นที่ ๖ ดําเนินการจัดการ ทรัพย์สินและหนี้สินให้แล้วเสร็จ ๕. สหกรณ์ประมงบ้านบางเบน จํากัด ขั้นที่ ๑ ปิดประกาศ/เผยแพร่ การเลิก และแจ้งชื่อผู้ชําระบัญชี ขั้น ๖ ดําเนินการจัดการ ทรัพย์สินและหนี้สินให้แล้วเสร็จ ๖. กลุ่มเกษตรกรทําสวนยาง กยท. บ้านบางนอน ขั้นที่ ๓ ส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตาม ม.๘๐ (ผู้สอบบัญชีส่งคืนแก้ไขให้เป็นไป ตาม พรบ.สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไข เพิ่มเติม ๒๕๖๒) ขั้นที่ ๒ จัดทํางบการเงินตาม ม. ๘๐ งาน/โครงการตามภารกิจ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 50 3. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ วันที่ถอนชื่อ 1. ชุมนมสหกรณ์การเกษตรระนอง จํากัด ที่ (รน) ๐๙/๒๕๖๓ ๘ กันยายน ๒๕๖๓ 4. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : ประชุมติดตามการปฏิบัติงานการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 51 โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร (GAP) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการผลิตผักและผลไม้ของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตามหลักวิธีการที่ ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ และได้มาตรฐานตามความต้องการของตลาด 2) เพื่อตรวจประเมินและให้การรับรองมาตรฐานการผลิตผักและผลไม้ตามระบบมาตรฐาน GAP ตามข้อกําหนดมาตรฐานการผลิตพืชของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมาย - สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด - สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด - สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด - กลุ่มเกษตรทําสวนปากจั่น พื้นที่ด าเนินงานโครงการ - อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) 1) ประสานงาน แนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เปูาหมายในการขับเคลื่อนกิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 2) แนะนําและผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจัดทําฐานข้อมูลสมาชิก แยกเป็นรายกลุ่มเปูาหมาย 3) ประสานงานกับที่ปรึกษา/กพก. ในการเข้าร่วมตรวจประเมินแปลง และติดตามการตรวจ ประเมินแปลงของสมาชิก แก้ไขปัญหาร่วมกันกับที่ปรึกษา 4) เข้าร่วมสังเกตการณ์ในการตรวจประเมินแปลงของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4) จัดทําฐานข้อมูลโดยการสํารวจสมาชิกที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการในปีถัดไป 5) รายงานผลตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กําหนด 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จํานวน 4 แห่ง โดยมีเกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งสิ้น 64 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรสมาชิกได้รับความรู้ตามหลักวิชาการ ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP สามารถผลิตผักและ ผลไม้ได้มาตรฐานตามความต้องการของตลาด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี-
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 52 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : การอบรม GAP
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 53 ภาพ : ร่วมสังเกตการณ์ในการตรวจประเมินแปลงของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 54 ภาพ : ร่วมสังเกตการณ์ในการจัดท าเอกสารเพื่อตรวจประเมินแปลง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 55 ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ให้มีตลาดรองรับ โดยการเชื่อมโยงตลาดร่วมกันระหว่าง ผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ 2) เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต การจําหน่าย และการบริหารจัดการ ร่วมกัน เป้าหมาย ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในพื้นที่เปูาหมาย จํานวน 35 แปลง พื้นที่ด าเนินงานโครงการ จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) - ประสานร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ เช่น ร่วมเป็นวิทยากรในการให้ ความรู้ในเรื่องการรวมกลุ่ม การบริหารจัดการกลุ่มโดยวิธีสหกรณ์ - เยี่ยมเยียน แนะนําการบริหารจัดการลุ่มโดยวิธีสหกรณ์ของแปลงใหญ่ยางพารา ตําบลมะมุ และแปลงใหญ่กาแฟ ม.7 ตําบลลําเลียง - ส่งเสริมให้สหกรณ์มีบทบาทกับแปลงใหญ่ โดย สหกรณ์ที่มีการรับซื้อผลผลิตจากสมาชิก แปลงใหญ่ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด สหกรณ์ การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์จํากัด กลุ่มเกษตรกรทําสวนเกาะพยาม - ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นประจําปี 2563 - รายงานผลการดําเนินงานตามขั้นตอนและเงื่อนเวลาของการรายงานผลตามที่กรมกําหนด - รายงานผลการดําเนินงานตามขั้นตอนและเงื่อนเวลาของการรายงานผลตามที่กระทรวงฯ กําหนด 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - แปลงใหญ่ยางพาราของสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด มีการรวบรวมผลผลิตจาก สมาชิกแปลงใหญ่ จํานวน 154 ตัน มูลค่า 5.74 ล้านบาท - แปลงใหญ่กาแฟของสหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด มีการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิก แปลงใหญ่ จํานวน 20 ตัน มูลค่า 1.33 ล้านบาท อีกทั้ง จากการคัดเลือกแปลงใหญ่ดีเด่น ระดับจังหวัด ประจําปี 2563 แปลงใหญ่กาแฟ ได้รับรางวัลชมเชย - แปลงใหญ่มะม่วงหิมพานต์ของกลุ่มเกษตรกรทําสวนเกาะพยาม มีการแปรรูปเม็ดมะม่วงหิมพานต์ มูลค่า 42,440 บาท อีกทั้ง แปลงใหญ่มะม่วงหิมพานต์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นแปลงใหญ่ดีเด่น ระดับ จังหวัด ประจําปี 2563 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันผลิต และสามารถจําหน่ายผลผลิตได้ในราคาที่เป็นธรรม 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี-
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 56 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : ติดตาม แนะน า แปลงใหญ่ยางพารา ต าบลน้ าจืด (สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จ ากัด) ภาพ : ร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ แปลงใหญ่มังคุด ต าบลหาดส้มแป้น อ าเภอเมือง ภาพ : ร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ แปลงใหญ่ทุเรียน ต าบลบ้านนา อ าเภอกะเปอร์
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 57 ภาพ : ร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ แปลงใหญ่ปาล์มน้ ามัน ต าบลนาคา อ าเภอสุขส าราญ ภาพ : ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ ปี 2563 (แปลงใหญ่ปาล์ม้ ามัน ต าบลกะเปอร์) ภาพ : ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ ปี 2563 (แปลงใหญ่มังคุด ต าบลนาคา)
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 58 ภาพ : ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ ปี 2563 (แปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 4 ต าบลล าเลียง) ภาพ : ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ ปี 2563 (แปลงใหญ่มะม่วงหิมพานต์ ต าบลเกาะพยาม) ภาพ : ร่วมร่วมประชุมคณะกรรมการอ านวยการขับเคลื่อนงานนโยบายส าคัญและการแก้ไขปัญหาภาค เกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2563 (รับทราบผลประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด ปี 2563)
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 59 รับทราบผลการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด ปี 2563 รางวัลชนะเลิศ แปลงใหญ่มะม่วงหิมพานต์หมู่ที่ 1 ตําบลเกาะพยาม อําเภอเมือง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ แปลงใหญ่มังคุด หมู่ที่ 7 ตําบลนาคา อําเภอสุขสําราญ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 แปลงใหญ่ปาล์มน้ํามัน หมู่ที่ 5 ตําบลเชี่ยวเหลียง อําเภอกะเปอร์ รางวัลชมเชย แปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 4 ตําบลลําเลียง อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 60 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินธุรกิจ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จากปีก่อน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1) จํานวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ 2) ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวมเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เป้าหมาย - สหกรณ์จํานวน 24 แห่ง - กลุ่มเกษตรกร จํานวน 17 แห่ง พื้นที่ด าเนินงานโครงการ จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน : - ศึกษา กําหนดแนวทาง การแนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราการขยายตัว ของปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 - แนะนํา ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร - รายงานปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระยะเวลากําหนด 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - จํานวนสหกรณ์ที่มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ปี2563 จํานวน 11 แห่ง ได้แก่ 1) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด 2) สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางแก้ว จํากัด 3) สหกรณ์ การเกษตรกระบุรี จํากัด 4) สหกรณ์การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์ จํากัด 5) สหกรณ์การเกษตรเพื่อ การตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 6) สหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด 7) สหกรณ์ชาวสวนกาแฟ กะเปอร์ จํากัด 8) สหกรณ์ออมทรัพย์ ร.25 พัน 2 จํากัด 9) สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัด ระนอง จํากัด 10) สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลระนอง จํากัด 11) สหกรณ์บริการผู้ใช้น้ําเกาะพยาม จํากัด - จํานวนกลุ่มเกษตรกรที่มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ปี 2563 จํานวน 5 แห่ง ได้แก่ 1) กลุ่มเกษตรกรทํานาบ้านน้ําจืดน้อยมะมุ 2) กลุ่มเกษตรกรทํานาปากจั่น 3) กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากน้ํา 4) กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง 5) กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี-
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 61 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : แนะน า ส่งเสริมการด าเนินธุรกิจ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 62 ภาพ : แนะน า ส่งเสริมการด าเนินธุรกิจ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 63 ภาพ : แนะน า ส่งเสริมการด าเนินธุรกิจ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 64 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1.1 วัตถุประสงค์ - เพื่อให้นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนได้นําความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนากิจกรรมสหกรณ์ของโรงเรียนได้เป็นอย่างดี - เพื่อสร้างค่านิยมและปลูกจิตสํานึกให้นักเรียนเห็นความสําคัญของกิจกรรมด้านการสหกรณ์และการ ออมเงิน 1.2 เป้าหมาย - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ของโรงเรียนบ้านในวง จํานวน 120 คน และนักเรียนโรงเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ของโรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) จํานวน 150 คน - นักเรียนที่เป็นกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครูและผู้สังเกตการณ์โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) และโรงเรียนบ้านในวง รวมทั้งสิ้น 35 คน 1.3 พื้นที่ด าเนินงานโครงการ - โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง - โรงเรียนบ้านในวง อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้จัดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พ.ศ. 2563 เพื่อสร้าง ค่านิยมและปลูกจิตสํานึกให้นักเรียนเห็นถึงความสําคัญของกิจกรรมด้านการสหกรณ์ และนําความรู้ที่ได้มา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนากิจกรรมสหกรณ์ของโรงเรียน ให้กับนักเรียนของโรงเรียน จํานวน 2 แห่ง ดังนี้ 2.1 โรงเรียนบ้านในวง 2.1.1) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ: ส่งเสริมสหกรณ์นักเรียน ตามพระราชดําริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2.1.2) กิจกรรม/โครงการที่ดําเนินการ - แนะนําส่งเสริม สนับสนุนการดําเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โดยจัดการเรียนรู้ วิชาการสหกรณ์ในภาคทฤษฎีแก่นักเรียน (ป.3 - ป.6) - กิจกรรมเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน - กิจกรรมปรับวิธีการสอนให้ครูผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหารโรงเรียน ให้เป็นปัจจุบันโดยใช้ “วิชาสหกรณ์เป็นแกนกลาง” เชื่อมโยงกับกิจกรรมร้านค้าสหกรณ์ กิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ กิจกรรม สหกรณ์บริการ - กิจกรรมการฝึกปฏิบัติการประชุมและบันทึกรายงานการประชุมแก่คณะกรรมการ กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน - กิจกรรมการจัดประชุมใหญ่สามัญประจําปี พ.ศ. 2563 - กิจกรรมทัศนศึกษาให้แก่นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครู และผู้สังเกตการณ์ - กิจกรรมประกวดการออม “สุดยอดเด็กดี มีเงินออม” - ประเมินผลการเรียนเด็กนักเรียน ป.6 ตามแนวทางการประเมินในคู่มือการส่งเสริม กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 65 2.2 โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) 2.2.1) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ : ส่งเสริมสหกรณ์นักเรียน ตามพระราชดําริ ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี 2.2.2) กิจกรรม/โครงการที่ดําเนินการ - แนะนําส่งเสริม สนับสนุนการดําเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โดยจัดการเรียนรู้ วิชาการสหกรณ์ในภาคทฤษฎีแก่นักเรียน (ป.3 - ป.6 และ ม.1 - ม.3) - กิจกรรมเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน - กิจกรรมปรับวิธีการสอนให้ครูผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหารโรงเรียน ให้เป็นปัจจุบันโดยใช้ “วิชาสหกรณ์เป็นแกนกลาง” เชื่อมโยงกับกิจกรรมร้านค้าสหกรณ์ กิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ กิจกรรม สหกรณ์บริการ - กิจกรรมการฝึกปฏิบัติการชุดการประชุมและบันทึกรายงานการประชุม แก่คณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน - กิจกรรมการจัดประชุมใหญ่สามัญประจําปี พ.ศ. 2563 - กิจกรรมทัศนศึกษาให้แก่นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครูและ ผู้สังเกตการณ์ - ประเมินผลการเรียนเด็กนักเรียน ป.6 และ ม.3 ตามแนวทางการประเมินในคู่มือการ ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ของโรงเรียน บ้านในวง ณ ร้านสหกรณ์โรงพยาบาลระนอง จํากัด จํานวน 17 คน และโรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) เข้าร่วมทัศนศึกษาดูงาน ณ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด จํานวน 18 คน - นักเรียนที่เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจําปีของโรงเรียนบ้านในวง จํานวน 120 คน และและ นักเรียนโรงเรียนบ้านเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) จํานวน 150 คน รวมทั้งสิ้น 270 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน สามารถนําความรู้มาปรับใช้ในกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนได้ - นักเรียนมีจิตสํานึก และมีนิสัยรักการออม ซึ่งเป็นรากฐานที่สําคัญของหลักการสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี–
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 66 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : กิจกรรมของโรงเรียนบ้านในวง ภาพ : กิจกรรมของโรงเรียนบ้านเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน)
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 67 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1.1 วัตถุประสงค์ - เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนในพื้นที่ภายใต้พื้นที่เปูาหมายการจัดที่ดินทํากินให้ชุมชนใน รูปแบบสหกรณ์หรือรูปแบบกลุ่มตามความเหมาะสม - ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้ การใช้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ําอย่างยั่งยืน - พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน 1.2 เป้าหมาย - คณะทํางานด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินทํากินให้ชุมชนตามนโยบาย รัฐบาล - เกษตรกรในพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติ ปุาคลองลําเลียง-ละอุ่น อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง จํานวน 94 ราย - เกษตรกรในพื้นที่ปุาชายเลนบ้านท่าคึกฤทธิ์ อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง จํานวน 29 ราย 2. ผลการด าเนินงาน เพื่อให้การดําเนินงานตามนโยบายการบริหารจัดการที่ดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้กิจกรรม การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองจึงได้ดําเนินการจัดทําโครงการฯ โดยมีกิจกรรมฯ ดังนี้ - กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทํางานด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ จังหวัดระนอง จํานวน 3 ครั้ง - แนะนํา ส่งเสริม บูรณาการร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานและติดตามการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ภายใต้โครงการ คทช.ในพื้นที่โครงการตามนโยบายของรัฐ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ประชุมคณะทํางานด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ จังหวัดระนอง จํานวน 3 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้การอนุรักษ์ดินและน้ําอย่างยั่งยืนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี-
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 68 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : ประชุมคณะท างานด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ จังหวัดระนอง ภาพ : ประชุม/ติดตามการรวมกลุ่มวิสาหกิจในพื้นที่ คทช.
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 69 ภาพ : ติดตามและตรวจเยี่ยมเกษตรกรสมาชิก คทช. ภาพ : หารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ าในพื้นที่ คทช.
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 70 โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖3 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1.1 วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้นํากลุ่ม ให้มีความรู้ ความสามารถด้านการดําเนินธุรกิจและการพัฒนาองค์กร กลุ่มเกษตรกร - เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรพัฒนาศักยภาพการดําเนินงาน โดยเน้นการมีส่วนร่วม 1.2 เป้าหมาย การขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด ประกอบด้วย กรรมการ เจ้าหน้าที่กลุ่ม และสมาชิกกลุ่มเกษตรกร จํานวน 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้าน ในกรัง 2) กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 3) กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี กลุ่มละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 9 คน 1.3 พื้นที่ด าเนินงานโครงการ อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินการ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อให้สร้างความเข้มแข็งแก่กลุ่มเกษตรกร และเครือข่ายธุรกิจโดยเน้นการมี ส่วนร่วม โดยมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริม แนะนํา กลุ่มเกษตรกรดําเนินการตามแผนกลยุทธ์ แผนพัฒนาธุรกิจ แผนการดําเนินงาน/กิจกรรม การสร้างการมีส่วนร่วม ฯลฯ และติดตามผล 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจ ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 2 ของปีก่อน 2. กรรมการ เจ้าหน้าที่กลุ่ม และสมาชิกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ จํานวน 3 กลุ่ม ๆ ละ 3 คน จํานวนทั้งสิ้น 9 คน 3. กลุ่มเกษตรกรมีธุรกิจเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ธุรกิจ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผู้นํากลุ่มเกษตรกรมีความรู้ความสามารถด้านการดําเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง สามารถดูแลสมาชิกได้ 2. กลุ่มเกษตรกรมีการขับเคลื่อนแผนพัฒนาธุรกิจ โดยเน้นการมีส่วนร่วมการทําธุรกิจของสมาชิกเป็น สําคัญ 3. กลุ่มเกษตรกรมีการจัดทําแผนพัฒนาและเชื่อมโยงธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี -
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 71 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : ผู้น ากลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 72 โครงการส่งเสริมแนวทางการด าเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ อํานวยการ กํากับ ดูแล และติดตามความก้าวหน้าผลการดําเนินงานของเกษตรกรกลุ่มเปูาหมายเดิม จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 เพื่อให้สามารถดําเนินการได้อย่างต่อเนื่อง สามารถพึ่งพาตนเองได้ และพัฒนาไปสู่ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 ของแนวทางทฤษฎีใหม่ และเกิดความยั่งยืนได้ต่อไป โดยมีการวางระบบ ติดตามงาน การประเมินผล พร้อมทั้งรายงานผลความก้าวหน้า ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะเสนอต่อ ผู้บริหาร สําหรับการปรับปรุงการดําเนินงานโครงการฯ และให้เกิดการขยายผลได้ต่อไป 1.2 เป้าหมาย - เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการทฤษฎีใหม่ ปี 2560 – 2562 จํานวน 51 ราย - คัดเลือกเกษตรกร ปี 2560 – 2562 จํานวน 17 ราย เพื่อส่งเสริมในปี 2563 1.3 พื้นที่ด าเนินงานโครงการ อําเภอเมืองระนอง อําเภอละอุ่น อําเภอกะเปอร์ อําเภอกระบุรี และอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้จัดโครงการส่งเสริมแนวทางการดําเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อให้เกษตรกรมีการดําเนินกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพของพื้นที่ และเกษตรกรมีศักยภาพ ดําเนินกิจกรรมทางการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ โดยคัดเลือกเกษตรกรที่มีความพร้อม มีคุณสมบัติตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนด จํานวน 17 ราย โดยส่งเสริมและติดตามเกษตรอย่างสม่ําเสมอ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ร้อยละ 70 ของเกษตรกร มีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนําไปปรับใช้และปฏิบัติในแปลงเกษตรได้ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้และพัฒนาไปสู่ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 ของแนวทางทฤษฎีใหม่ และเกิดความยั่งยืน ประสบผลสําเร็จ สามารถเป็นเกษตรกรต้นแบบตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ และเป็น ตัวอย่างเผยแพร่ขยายผลในพื้นที่ เพื่อโดยการประเมินศักยภาพของเกษตรกรแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม A หมายถึง เกษตรกรที่สามารถพัฒนาตนเองสู่เกษตรทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 และทําเป็น ต้นแบบได้ กลุ่ม B หมายถึง เกษตรกรที่เกือบจะไปสู่เกษตรทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 และกลุ่ม C หมายถึง เกษตรกรที่อยู่ในขั้นตอนเรียนรู้และพัฒนาเกษตรทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี-
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 73 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : ลงพื้นที่ติดตามการด าเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 74 โครงการส่งเสริมสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. วัตถุประสงค์: (๑) เพื่อให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์/ผู้จัดการและผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์การประเมินสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล (๒) เพื่อให้สหกรณ์สามารถนําหลักเกณฑ์การประเมินสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ไปปรับใช้ในการบริหารจัดการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย : สหกรณ์ออมทรัพย์หรือสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน จํานวน 1 สหกรณ์ (คณะกรรมการดําเนินการ ฝุายจัดการ ผู้ตรวจสอบกิจการ สมาชิก) และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สํานักงานสหกรณ์ จังหวัดระนอง พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง/ ที่ทําการสหกรณ์เปูาหมาย 2. ผลการด าเนินงาน : สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจภูธรจังหวัดระนอง จํากัด ตอบรับสมัครเข้าร่วมการประเมินสหกรณ์ สีขาวด้วยธรรมาภิบาล 9 หลัก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองได้มอบหมาย เจ้าหน้าที่เข้าแนะนําส่งเสริมให้สหกรณ์ดําเนินการตามเกณฑ์การประเมิน และได้รับความร่วมมือจากศูนย์ ถ่ายทอดเทคนโนโลยีการสหกรณ์ที่ 20 สุราษฎร์ธานี ให้ความรู้เรื่องการจัดทําแผนกลยุทธ์ โดยมีคณะกรรมการ ดําเนินการ ฝุายจัดการ ผู้ตรวจสอบกิจการ และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมการจัดทํา แผนกลยุทธ์ของสหกรณ์เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการดําเนินกิจการ ผลการตรวจประเมินสหกรณ์สีขาว ด้วยธรรมาภิบาล รวมทั้ง 9 หลัก สหกรณ์มีผลการประเมินคิดเป็นร้อยละ 67.30 3. ผลการด าเนินงาน : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจภูธรจังหวัดระนองตอบรับเข้าร่วมประเมินสหกรณ์ สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจภูธรจังหวัดระนองผ่านการประเมินสหกรณ์สีขาว ด้วยธรรมาภิบาลมากกว่าร้อยละ 60 4. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน : ด้านบุคลากร พบว่าคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์มีการเปลี่ยนแปลง ทําให้ขาดความต่อเนื่องในการ ปฏิบัติงาน สมาชิกขาดความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และธรรมาภิบาลในสหกรณ์ และสหกรณ์มีพนักงานจํานวน 3 อัตรา ให้บริการสมาชิกจํานวน 752 คน ทําให้ไม่สามารถดําเนินงานตามเกณฑ์การประเมินสหกรณ์สีขาวด้วย ธรรมาภิบาล 9 หลักได้อย่างครบถ้วน แนวทางแก้ไข : แต่งตั้งคณะทํางานจากคณะกรรมการดําเนินการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทําหน้าที่รับผิดชอบ ในแต่ละหมวดเพื่อร่วมกันทําให้สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจภูธรจังหวัดระนอง จํากัด เป็นสหกรณ์สีขาวด้วยธรร มาภิบาลอย่างแท้จริง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 75 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : การด าเนินการประชุมแต่งตั้งคณะท างานจากคณะกรรมการด าเนินการ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 76 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. วัตถุประสงค์: (๑) เพื่อลดดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์ (๒) เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนําเงินส่วนที่ได้รับการช่วยเหลือ ไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน เป้าหมาย : สหกรณ์การเกษตรที่เข้าร่วมโครงการจํานวน 3 สหกรณ์ สมาชิกรวม 366 คน ประกอบด้วย ๑. สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด จํานวน 162 คน ๒. สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด จํานวน 184 คน 3. สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด จํานวน 20 คน พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จังหวัดระนอง ที่ทําการสหกรณ์เปูาหมาย 2. ผลการด าเนินงาน : จังหวัดระนองได้รับจัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้ให้สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ จํานวน ๕๑๕,๑๙๕.๗๔ บาท สํานักงาน สหกรณ์จังหวัดระนองดําเนินการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยให้สหกรณ์ 3 สหกรณ์ รวมจํานวนเงิน ๔๙๖,๒๐๗.๗๖ บาท เพื่อให้สหกรณ์เบิกจ่ายให้กับสมาชิก จํานวน ๓๖๓ ราย และได้ส่งเงินอุดหนุนชดเชย ดอกเบี้ยคืนกรมส่งเสริมสหกรณ์ จํานวน ๑๘,๙๘๗.๙๘ บาท เนื่องจากตรวจพบสมาชิกที่ขาดคุณสมบัติ จํานวน ๓ ราย และได้ดําเนินการตรวจสอบเอกสารและติดตามผลการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยให้แก่สมาชิกสหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการ 3. ผลการด าเนินงาน : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : สมาชิกสหกรณ์ที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระ ดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์ จํานวน 3 สหกรณ์ สมาชิกรวมจํานวน ๓๖๓ ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ต้นทุนการผลิตของสมาชิกลดลง ร้อยละ 3 4. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : มอบเงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้ให้สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 77 โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิต และการตลาด 1. วัตถุประสงค์: (๑) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุนปลอดดอกเบี้ย ลดต้นทุน ทางการเงินให้สามารถดําเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง (๒) เพื่อให้สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ําเมื่อเทียบกับสถาบันการเงินอื่น เพื่อใช้ในการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร เป้าหมาย : กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง/ ที่ทําการกลุ่มเกษตรกร 2. ผลการด าเนินงาน : กลุ่มเกษตรกรเกิดจากการรวมตัวกันของเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประเภทเดียวกัน มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ภาครัฐเห็นความสําคัญและให้การสนับสนุน กรมส่งเสริมสหกรณ์จัดทําโครงการสร้างความ เข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด เพื่อขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร วงเงินจํานวน 1,000 ล้านบาท โดยไม่มีดอกเบี้ย กําหนดชําระคืนภายใน 5 ปี (พ.ศ. 2559 - 2564) และจังหวัดระนองได้รับการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการดังกล่าว จํานวน 3,367,000 บาท จังหวัดระนองดําเนินโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุน ในการผลิตและการตลาด โดยทําสัญญาเงินกู้ปีต่อปี ที่ผ่านมา (พ.ศ. 2559 – 2561) กลุ่มเกษตรกรสามารถ ชําระเงินได้ภายในระยะเวลาที่กําหนดทุกปี สําหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒/๒๖๕๓ ได้ดําเนินการเบิกจ่ายให้ กลุ่มเกษตรกรผู้ผ่านคุณสมบัติและประสงค์ขอกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จํานวน 7 กลุ่ม รวมจํานวนเงิน 3,367,000 บาท ทุกสัญญาครบกําหนดวันที่ 15 มีนาคม 2564 (สิ้นสุดโครงการฯ วันที่ 31 มีนาคม ๒๕๖๔) รายละเอียดดังนี้ ที่ กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ ในการกู้เงิน วันที่อนุมัติ สัญญากู้ วันที่ เบิกเงินกู้ จ านวน เงินกู้ที่เบิก ลงวันที่ สิ้นสุดวันที่ 1 กลุ่มเกษตรกร ทําสวนบางแก้ว จัดหาปุ๋ยอินทรีย์ มาจําหน่าย 2 ก.ย. 62 19 ก.ย. 62 15 มี.ค. 64 19 ก.ย. 62 500,000 2 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ กระบุรี จัดหาอาหารโคขุน มาจําหน่าย 2 ก.ย. 62 19 ก.ย. 62 15 มี.ค. 64 19 ก.ย. 62 550,000 3 กลุ่มเกษตรกรทํานา น้ําจืดน้อยมะมุ จัดหาปุ๋ยเคมี มาจําหน่าย 2 ก.ย. 62 19 ก.ย. 62 15 มี.ค. 64 19 ก.ย. 62 300,000 4 กลุ่มเกษตรกรทําสวนมะมุ จัดหาปุ๋ยเคมี 2 ก.ย. 62 19 ก.ย. 62 15 มี.ค. 64 19 ก.ย. 62 500,000 5 กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา จัดหาปุ๋ยเคมี 2 ก.ย. 62 25 ก.ย. 62 15 มี.ค. 64 25 ก.ย. 62 954,000 6 กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้าน ในกรัง จัดหาปุ๋ยเคมี มาจําหน่าย 27 พ.ย. 62 2 ธ.ค. 62 15 มี.ค. 64 2 ธ.ค. 62 400,000 7 กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้าน ในวง จัดหาปุ๋ยเคมี มาจําหน่าย 27 พ.ย. 62 17 ธ.ค. 62 15 มี.ค. 64 17 ธ.ค. 62 163,000 รวม 3,367,000
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 78 3. ผลการด าเนินงาน : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : (๑)จังหวัดระนองสามารถเบิกจ่ายเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จํานวน 3,367,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 (๒)กลุ่มเกษตรกรจํานวน 7 กลุ่มเกษตรกร ได้รับกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร มีปริมาณธุรกิจ ธุรกิจสินเชื่อและธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่ายเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : (๑)กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนปลอดดอกเบี้ยได้ ทุกกลุ่มเกษตรกร สามารถลดต้นทุนการดําเนินงานให้กับกลุ่มเกษตรกรและลด ต้นทุนการผลิตให้แก่สมาชิกทําให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น (๒)สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ําเมื่อเทียบกับสถาบันการเงินอื่น และได้รับผลประโยชน์ในลักษณะของเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืน เมื่อสิ้นปีทางบัญชี ของกลุ่มเกษตรกร (๓)กลุ่มเกษตรกรผู้กู้สามารถชําระหนี้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ได้ทุกสัญญา 4. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน : ๔.๑ กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดระนองไม่มีฝุายจัดการที่จะดําเนินการจัดทําคําขอกู้ มีเพียง คณะกรรมการดําเนินการที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานด้านต่าง ๆ ของกลุ่มเกษตรกร หรือมี แต่ไม่มีความถนัดในการจัดทําเอกสาร ทําให้การดําเนินการล่าช้าหรือเกิดข้อผิดพลาด ๔.๒ การติดตามเร่งรัดการชําระหนี้ กลุ่มเกษตรกรบางแห่งไม่ทราบ(ลืม) กําหนดหนี้ถึงกําหนดชําระ จังหวัดต้องแจ้งหนี้ถึงกําหนดชําระเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรไปดําเนินการติดตามเร่งรัดหนี้จากสมาชิก เพื่อนําส่งชําระกองทุนให้ทันตามกําหนด ๔.๓ กลุ่มเกษตรกรเป็นนิติบุคคลขนาดเล็ก ไม่มีเครดิตให้กับแหล่งเงินทุนในระบบ จึงต้องอาศัยแหล่งเงินทุน จากภาครัฐ และเนื่องจากโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและ การตลาด จะสิ้นสุดในปี 2564 จะทําให้กลุ่มเกษตรกรขาดแหล่งเงินทุนหลักในการดําเนินกิจการและให้บริการ แก่สมาชิก แนวทางแก้ไข : (๑) เจ้าหน้าที่กลุ่มงานประสานเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เพื่อร่วมกันแนะนําให้กลุ่มเกษตรกรจัดทํา เอกสารหลักฐานประกอบการขอกู้เงินให้ถูกต้องอย่างใกล้ชิด ปูองกันข้อผิดพลาดและความล่าช้า ในการดําเนินการเบิกจ่ายเงินกู้ให้ทันตามความต้องการของกลุ่มเกษตรกรและสมาชิก (๒) การติดตามเร่งรัดการชําระหนี้ออกหนังสือแจ้งเตือนหนี้ถึงกําหนดชําระล่วงหน้า 2 ครั้ง ปูองกันไม่ให้กลุ่ม เกษตรกรผิดวินัยทางการเงินจนเกิดผลเสียแก่กลุ่มเกษตรกร (3) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร พัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการดําเนินกิจการ ตอบสนองความต้องการของสมาชิก ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ สร้างความเชื่อมั่น ความศรัทธา แก่สมาชิก ให้มีความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ภาครัฐควรมีการ สนับสนุนเงินทุนเพื่อเป็นเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินกิจการอย่างต่อเนื่อง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 79 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : การประชุมคณะกรรมการกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 80 โครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. นําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพเกษตร 2. สหกรณ์เป็นศูนย์กลางส่งเสริมอาชีพเกษตรที่มั่นคงของคนรุ่นใหม่ เป้าหมาย - ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์ และบุคคลทั่วไป - สหกรณ์ในพื้นที่ พื้นที่ด าเนินการโครงการ จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน : 1. ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อต่าง ๆ ได้แก่ - ประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัด พร้อมโพสต์ QR Code - ติด QR Code ที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัด - แจ้งข่าวให้สหกรณ์ทราบ และรับสมัครสหกรณ์ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ - แจ้งสหกรณ์ในพื้นที่ให้ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิก เกษตรกร และบุคคลทั่วไปทราบ พร้อมส่ง QR Code ให้ติดไว้ที่สหกรณ์ผู้สมัครที่เป็นลูกหลานเกษตรกร บุคคลทั่วไป กรอกใบสมัครผ่าน QR Code - แจ้งข่าวในกลุ่ม Line พร้อมส่ง QR Code 2. สุ่มลงพื้นที่ เพื่อดูสภาพพื้นที่จริง ของผู้เข้าร่วมโครงการ 3. จัดทําโครงการ และมีคําสั่งสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนระดับ จังหวัด 4. จัดประชุมเพื่อชี้แจงโครงการฯ สร้างแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพการเกษตร แนวทางการ ส่งเสริมเสริมอาชีพ นวัตกรรมและเทคโนโลยี แหล่งเงินทุน ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการในเบื้องต้น พร้อมประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการสนับสนุนโครงการให้บรรลุผลตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ กลุ่มเปูาหมายประกอบด้วย ลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไป สหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ เจ้าหน้าที่สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จํานวน 60 ราย ซึ่งจัดในวันที่ 14 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด 5. จัดเวทีประชุม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้นวัตกรรมการผลิตและเทคโนโลยี กิจกรรมสัมพันธ์ และการสร้างเครือข่าย และศึกษาดูงาน เกษตรผสมผสาน/เกษตรกรอินทรีย์ และเทคโนโลยีการผลิต ระหว่าง วันที่ 22 – 23 กันยาน 2563 ณ พันธุโพธิ์ฟาร์ม อําเภอกะเปอร์ และสวนวรินทร อําเภอเมือง จังหวัดระนอง 6. ติดตาม ส่งเสริมการประกอบอาชีพแก่ลูกหลานสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการอย่างต่อเนื่อง โครงการตามนโยบายส าคัญ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 81 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีสหกรณ์สมัครเข้าร่วมโครงการ 3 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด และสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด ผู้สมัคร เข้าร่วมโครงการ จํานวน 28 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผลจากการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม แนะนํา ร่วมกับสหกรณ์ และจากการจัดประชุมชี้แจง การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ทําให้ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิด ระหว่าง เจ้าหน้าที่ ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ และวิทยากรซึ่งเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจในการทําการเกษตร เป็นผู้รู้ที่ลงมือ ทําและประสบความสําเร็จ รวมถึงเจ้าหน้าจากหน่วยงานภาคีที่เข้าร่วม เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในอาชีพ การเกษตรให้กับผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. ความต้องการของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการแต่ละคนต่างกัน แนวทางแก้ไข จัดกลุ่มผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ และประสานหน่วยงานร่วมบูรณาการตามความ ต้องการของผู้สมัคร 2. ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการขาดความรู้ในการทําการเกษตร แนวทางแก้ไข ประสานหน่วยที่เกี่ยวข้องในการให้ความรู้ เช่น สํานักงานเกษตรจังหวัดระนอง สํานักงานปศุสัตว์จังหวัดระนอง สํานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดระนอง ฯลฯ 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม แนะน า ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 82 ภาพ : ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม แนะน า ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 83 ภาพ : ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม แนะน า ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 84 ภาพ : ประชุมชี้แจงโครงการ วันที่ 14 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จ ากัด
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 85 ภาพ : ศึกษาดูงาน วันที่ 22 กันยายน 2563 ณ พันธุโพธิ์ฟาร์ม อ าเภอกะเปอร์
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 86 ภาพ : ศึกษาดูงาน วันที่ 23 กันยายน 2563 ณ สวนวรินทร อ าเภอเมือง
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 87 โครงการสนับสนุนการกระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรเพื่อรองรับผลกระทบ จากโรคไวรัสโควิด-19 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1) เพื่อบรรเทาผลกระทบของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ไม่สามารถจําหน่ายผลไม้ ส่งออกต่างประเทศจากสถานการณ์โรคไวรัสโควิด-19 2) เพื่อสร้างเสถียรภาพด้านปริมาณและราคาผลผลิตของสมาชิกสหกรณ์และสถาบัน เกษตรกร รวมทั้งเกษตรกรผู้บริโภคผลไม้ทั่วไป ให้เป็นไปตามกลไกตลาดที่เป็นธรรม เป้าหมาย - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มีสมาชิกได้รับผลกระทบจากการจากสถานการณ์โรค ไวรัสโควิด-19 และสมัครเข้าร่วมโครงการ พื้นที่ด าเนินการโครงการ จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน : รับสมัครสหกรณ์และกลุ่มเกษตรเข้าร่วมโครงการในเดือน เมษายน 2563 ผลปรากฎว่ามีสหกรณ์และ กลุ่มเกษตร สมัครเข้าร่วมโครงการ จํานวน 4 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง และกลุ่มเกษตรกรทําสวน นาคา การด าเนินงาน 1) ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จํานวน 960,000 บาท 2) ได้รับการสนับสนุนตะกร้าผลไม้ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2563 จํานวน 9,000 ใบ มูลค่า 252,000 บาท ซึ่งได้มอบตะกร้าผลไม้ให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในวันที่ 19 มิถุนายน 2563 โดย ผู้แทนรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น.ส.มนัญญา ไทยเศรษฐ์ ได้มอบหมายให้นายคงกฤษ ฉัตรมาลีรัตน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง เป็นผู้แทนในการมอบบรรจุภัณฑ์ (ตะกร้า) ดังนี้ - สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด จํานวน 3,000 ใบ - กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น จํานวน 3,000 ใบ - กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง จํานวน 1,500 ใบ - กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา จํานวน 1,500 ใบ 3) การเบิกจ่ายงบประมาณ ได้เบิกจ่ายค่าบรรจุภัณฑ์ตะกร้า โดยโอนให้ผู้ขายในวันที่ 24 สิงหาคม 2563 ทั้ง 4 แห่ง ส่วนงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตามโครงการเพื่อรวบรวมผลไม้ เนื่องจากสถานการณ์ ผลไม้ในจังหวัดระนอง ผลไม้มังคุดมีปริมาณที่น้อยกว่าคาดการณ์ และจังหวัดไม่ได้ประกาศวิกฤตราคาผลไม้ มังคุดตกต่ํา จึงไม่จําเป็นต้องใช้งบประมาณในส่วนนี้ และได้ส่งเงินคืนกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับตะกร้าผลไม้ ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด จํานวน 3,000 ใบ 2) กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น จํานวน 3,000 ใบ 3) กลุ่ม เกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง จํานวน 1,500 ใบ 4) กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา จํานวน 1,5000 ใบ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถลดต้นทุนการผลิตในการซื้อตะกร้าผลไม้มังคุด
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 88 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน ผลไม้มังคุดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลผลิตมีน้อย และไม่เกิดวิกฤตราคาตกต่ํา จึงไม่ได้ใช้งบประมาณในการรวบรวมผลผลิตผลไม้มังคุด แนวทางแก้ไข นําส่งเงินคืนกรมส่งเสริมสหกรณ์ในทันที่เมื่อสิ้นฤดูการผลิต 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ภาพ : พิธีมอบบรรจุภัณฑ์ (ตะกร้า)
รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 89 ภาพ : พิธีมอบบรรจุภัณฑ์ (ตะกร้า)