The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Annual Report 2564 - Ranong

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ranong Cooprative Office, 2024-01-25 23:49:49

Annual Report 2564

Annual Report 2564 - Ranong

รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 1 รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง กรมส่งเสริมสหกรณ์ มกราคม 2565


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 2 สารจากสหกรณ์จังหวัดระนอง การส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้ปฏิบัติงานภายใต้นโยบายของรัฐบาล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง เพื่อแก้ไขปัญหาทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนองให้สามารถพัฒนาบนพื้นฐานของความรู้ และความเข้าใจในรูปแบบของการ บริหารและจัดการด้วยวิธีการสหกรณ์อย่างแท้จริง สถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาต่อรายได้และ ค่าใช้จ่ายในการดํารงชีวิต สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินการตามนโยบายอธิบดีกรมส่งเสริม สหกรณ์ ปฏิบัติตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ในมาตรการให้ความช่วยเหลือด้านหนี้สินและการปรับ โครงสร้างหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาของสมาชิกสหกรณ์ที่เกิดปัญหาและบรรเทาผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง รายงานผลการดําเนินงานประจําปี พ.ศ. 2564 (Annual Report) ของสํานักงานสหกรณ์ จังหวัดระนอง เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา ทั้งด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เป็นเปูาหมาย ทั้งหมด โดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภาคเอกชน สหกรณ์ กลุ่มเกษตร รวมถึงบุคลากรของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ที่ได้ให้ความร่วมมือและสนับสนุน การปฏิบัติราชการให้สําเร็จลุล่วงตามเปูาหมายและแผนงาน ขอขอบคุณในความร่วมมือของทุกภาคส่วน หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของข้อมูล พื้นฐานในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนองให้มีความเจริญก้าวหน้าสืบต่อไป (นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์) ตําแหน่ง สหกรณ์จังหวัดระนอง มกราคม 2565


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 3 ท าเนียบบุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง สหกรณ์จังหวัด


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 4 ฝุายบริหารทั่วไป นายสุเทพ ทองค า หัวหน้าฝุายบริหารทั่วไป นางสาวปัณฑิตา บัวฉิม นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายจิตรวิระ หีตดาษ พนักงานพิมพ์ นายธีระทัศน์ ควรวินิจ พนักงานขับรถยนต์ นายสมพร กลับหลังสวน พนักงานบริการเอกสารทั่วไป นางสาวนิภาพร มีศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นางสาวสุฑามาศ สุวัณจรรยากุล เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี นางกาญจนา ว่าวทอง เจ้าพนักงานธุรการ นางสาวพัฑฒิดา มณีโชติ เจ้าพนักงานธุรการ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 5 กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวดวงรัตน์ เมฆพยับ ผู้อ านวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ นางสาววราภรณ์ นุ่นเหว่า นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายสุนทร โนรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ นางณัชกช นามจันทร์ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ นางสาวปัทมา รัตนวรรณ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวบุษรา ช่วยพัฒน์ นักวิชาการสหกรณ์ นางสาวเจสิญา เกษแก้ว นักวิชาการมาตรฐานสินค้า นางสาวนิพาภรณ์ ท าทอง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นายอาคม มีมาก นิติกร


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 6 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ นางสาวจรรยาวรรณ พูลสวน ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนา การบริหารการจัดการสหกรณ์ นางสาวอติกานต์ วงษณรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ นายภักดี เลิศไกร ผู้อ านวยการกลุ่มตรวจการสหกรณ์ นายมนชัย ใจชื่น นิติกรปฏิบัติการ นางสาวหทัยกาญจน์ เลิศไกร นักวิชาการสหกรณ์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 7 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 (อ าเภอเมือง กะเปอร์ สุขส าราญ) นายจักรวาล คเชนทร ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 นายดุริยะศักดิ์ เดชฤดี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวสุวพร หมกทอง นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวสุวรรณดี เชื่องช้าง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อ าเภอละอุ่น กระบุรี) นางสาวจิรายุ ศรีใส ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 นางสาวภักดิ์จิต ศรีรักษา นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ก บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ ประจําปี พ.ศ. 2564 โดยมีผลการดําเนินงานโดยสรุป ดังนี้ สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินการส่งเสริมและพัฒนาการดําเนินงานของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดระนอง มีสหกรณ์ จํานวน 27 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จํานวน 17 แห่ง โดยได้รับ แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จํานวน 4 แผนงาน การจัดสรร งบประมาณทั้งสิ้น 5.49 ล้านบาท และสามารถปฏิบัติงานตามแผนและเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตาม แผนงานที่ได้รับ ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1) การส่งเสริมและพัฒนาการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการแนะนํา ส่งเสริม สหกรณ์ จํานวน 27 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 17 แห่ง สมาชิกสหกรณ์ 22,369 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 2,013 คน 2) โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น สหกรณ์มีผลการให้คะแนนผ่านเกณฑ์ ตามที่กําหนด และยื่นแบบแสดงความจํานงเข้ารับการคัดเลือกสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด ประจําปี 2564/2565 จํานวน 2 แห่ง คือสหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัดและร้านสหกรณ์โรงพยาบาลระนอง จํากัด 3) โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแข็ง เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย ระหว่างสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดระนอง สร้างสายสัมพันธ์อันดีระหว่างสหกรณ์ออมทรัพย์ด้วยกันและ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม สร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 4) โครงการส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร การรักษา มาตรฐานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในภาพรวม ยังคงรักษามาตรฐานได้ตามเกณฑ์ที่กรม ฯ กําหนด 5) งานกํากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ การติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์สหกรณ์สามารถดําเนินการแก้ไขข้อบกพร่องเป็นไปตามแนวทางที่กําหนดตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์การตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์สามารถดําเนินงานได้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ ตลอดจนกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 6) โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทําการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า (GAP)สมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการส่งเสริมการทําเกษตรปลอดภัยอย่างถูกวิธี มีความรู้ และสามารถผลิตผักและผลไม้ได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(GAP) ซึ่งในอนาคตหลังจากได้รับ ใบรับรองมาตรฐาน GAP แล้ว คาดว่าจะช่วยเพิ่มมูลค่าผลผลิต และเป็นที่ต้องการของตลาด 7) โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (โรงเรียนบ้านในวง) และโครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวงในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (โรงเรียนเพียง หลวง 15 บ้านรังแตน) นักเรียน ครู และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มีความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ สามารถนําไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ การดําเนินและพัฒนากิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนและชีวิตประจําได้ 8) โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินงานและสมาชิกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรได้นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจําวัน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ข 9) โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พึ่งพาตนเอง สามารถพัฒนา สู่เกษตรกรต้นแบบทฤษฎีใหม่และขยายผล เรียนรู้การทําการเกษตรอย่างง่าย ตามที่ตนเองถนัดตามกําลังฐานะของตนเอง ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคและแบ่งปัน สามารถนําไปจําหน่าย เป็นรายได้เสริมได้ 10) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปในพื้นที่จัดโครงการ สามารถเข้าถึงการ ให้บริการและได้รับทราบข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ การรวมกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ การจัดตั้งสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรได้มากขึ้น 11) โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มี หนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย และลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ การเกษตรแก่สมาชิก จํานวน 4 แห่ง สมาชิกรวมจํานวน ๓81 ราย 12) โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทํากินของเกษตรกร เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ และมีทักษะด้านการตลาดนํา การผลิต สามารถวาง แผนการผลิต และหาช่องทางการจําหน่ายสินค้าเกษตรได้ 13) โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ ฯ เกษตรกร จํานวน 2 ราย ได้รับความรู้ ในเรื่องการจัดทําแผนการผลิต การวิเคราะห์ดินและใช้ปุ฻ยเพื่อการเพาะปลูกที่มีประสิทธิภาพ และการควบคุม แมลงศัตรูพืชเพื่อเกษตรปลอดภัย 14) โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชนสหกรณ์ เป็นจุดศูนย์กลางในการรวบรวมผลิตยางพาราของเกษตรกรสมาชิก 15) โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรรองรับ ผลผลิตทางการเกษตร (พระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับ ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019) สมาชิกสหกรณ์ลดใช้สารเคมีในแปลงเกษตร และสหกรณ์ให้บริการสมาชิก โดยอํานวยความสะดวกเครื่องตัดหญ้าสะพายหลัง ให้เกษตรกรสมาชิกนําไปตัด หญ้าในพื้นที่ทําการเกษตรของตนเอง คิดค่าบริการในราคาที่เป็นธรรม ทําให้สามารถลดต้นทุนการผลิต 16) “เกษตรผลิต พาณิชย์ตลาด”จังหวัดได้มีการเชื่อมโยงสินค้าและผลิตภัณฑ์ โดยมีสหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด เป็นแม่ข่ายในการเชื่อมโยง ซึ่งสินค้าจังหวัดระนอง มูลค่า ทั้งสิ้น 150,260 บาท และสินค้าและผลิตภัณฑ์จากจังหวัดบุรีรัมย์ มูลค่าทั้งสิ้น 310,050 บาท 17) ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด ได้มีการ รวบรวมผลผลิตยางพาราจากสมาชิกแปลงใหญ่ ปริมาณ 1,892.15 ตัน มูลค่า 53.18 ล้านบาท และสหกรณ์ การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด ได้มีการรวบรวมผลผลิตกาแฟจากสมาชิกแปลงใหญ่ ปริมาณ 50 ตัน มูลค่า 3.5 ล้านบาท 18) การกระจายผลไม้ผ่านเครือข่ายสหกรณ์เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกเกษตรกรจาก สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 สถาบันเกษตรกรเป็นกลไกในการขับเคลื่อนไปสู่ผู้บริโภคในราคาที่ เป็นธรรม และบรรเทาความเดือดร้อนให้กับเกษตรสมาชิกให้มีแหล่งจําหน่ายผลผลิต 19) กําหนดแนวทางการส่งเสริมสหกรณ์ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกที่มีปัญหาในการประกอบ อาชีพทางการเกษตร (สนับสนุนวงเงินกู้จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์) สหกรณ์สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนอัตรา ดอกเบี้ยต่ํา เพื่อช่วยเหลือสมาชิกจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid19) ช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตให้แก่สมาชิก และสะสมเงินออมในรูปทุนเรือนหุ้น สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถลดต้นทุนการผลิตจากการได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยต่ํา


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | ค สารบัญ เรื่อง หน้า สารจากสหกรณ์จังหวัดระนอง ท าเนียบบุคลากรส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง บทสรุปผู้บริหาร ก ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1) วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอํานาจหน้าที่ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง 2 2) แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 2 ของกรมส่งเสริม สหกรณ์ 3 3) โครงสร้างและกรอบอัตรากําลัง ประจําปี 2564 8 4) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรร งบประมาณ) 10 5) สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 11 ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้แผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ 20 1) ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ 21 แผนงานพื้นฐาน 21 แผนงานยุทธศาสตร์ 49 แผนงานบูรณาการ 67 2) ผลการดําเนินงาน/โครงการตามนโยบายสําคัญ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 75 งานส่งเสริมและพัฒนา 75 งานกํากับติดตามและงานแก้ปัญหา 79 ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ ฯ โดดเด่นในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 90 1) งานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในจังหวัด 91 2)การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 49 ปี 94 3) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 95 4) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 98 ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2564) 101 1) งบแสดงฐานะการเงิน 102 2) งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน 103 3) หมายเหตุประกอบงบการเงิน 104 เอกสารอ้างอิง 109


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง วิสัยทัศน์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง เป็นองค์กรที่มุ่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง และเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิก พันธกิจ 1. ส่งเสริมเผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ 2. คุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็ง และเป็นไปตามกฎหมาย 3. พัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4. พัฒนาการดําเนินธุรกิจให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5. เสริมสร้างโอกาสเข้าหาแหล่งเงินทุนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ านาจหน้าที่ 1.ดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ทุกประเภท กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มลักษณะอื่น 3.ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 4.ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มลักษณะอื่น 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย


นโยบาย/แผนงาน/โครงการ/แนวทางการพัฒนา ค่าเปูาหมาย และตัวชี้วัดในระดับความสอดคล้องกับ แผนระดับ 2 ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงาน/โครงการ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทฯ ประเด็น การเกษตร แผ่นย่อย การพัฒนาระบบนิเวศน์การเกษตร แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถใน การแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตาม ศักยภาพ กิจกรรมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตาม ศักยภาพ 1. ร้อใช้จ่ายรายจ่า2. ร้อเกษตรบริหาร3. ร้อเกษตรส่งเสริ4. ร้อเกษตรให้บริก5. ร้อเกษตรกิจการปริมาณ6. ร้อเกษตรดําเนินขึ้นไป แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 2 ของกรมส


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 3 ผลสัมฤทธิ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา เปูาหมาย งบประมาณ (บาท) รวม 1,906,540 บาท ยละการบริหารและกํากับการ ยงบประมาณตามประเภทงบ ายและกิจกรรมหลัก ยละสหกรณ์และกลุ่ม รกรมีประสิทธิภาพในการ รจัดการองค์กร ยละสหกรณ์และกลุ่ม รกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรม ริมสหกรณ์ ยละสหกรณ์และกลุ่ม รกรมีความสามารถในการ การสมาชิก ยละสหกรณ์และกลุ่ม รกรที่มีสถานะการดําเนิน ร มีอัตราการขยายตัวของ ณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ยละสหกรณ์และกลุ่ม รกรมีประสิทธิภาพในการ นธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐาน เพื่อให้ความรู้ด้านการสหกรณ์แก่ นักเรียน/เกษตรกร/ประชาชน ให้ สามารถนํารูปแบบของสหกรณ์ไป ปรับใช้ในชีวิตประจําวันและ สามารถรวมกลุ่มจัดตั้งสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ให้มีมาตรฐานเป็น องค์กรที่มีความเข้มแข็ง เป็นที่ ยอมรับของสมาชิกและสังคมได้ อย่างยั่งยืน 3. ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรในการพัฒนาและเพิ่ม ขีดความสามารถดําเนินธุรกิจ พัฒนาสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ให้ได้ มาตรฐาน เพิ่มมูลค่าและเพิ่มช่อง ทางการจําหน่าย 4. กํากับและส่งเสริมการ บริหารงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรให้มีธรรมาภิบาลโปร่งใส และตรวจสอบได้ สหกรณ์ 27 แห่ง/ กลุ่ม เกษตรกร 17 แห่ง 1,603,800 ส่งเสริมสหกรณ์รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่


ความสอดคล้องกับ แผนระดับ 2 ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงาน/โครงการ 7. จํานเกษตรสมาชิกจากปี8. ร้อเกษตรขั้นตอขั้นตอ9. ร้อเกษตรบัญชี 10. ร้การบริยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทฯ ประเด็น พลังทางสังคม แผ่นย่อย การเสริมสร้างทุนทางสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลด ความเหลื่อมล้ําในสังคม แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการดําเนินงานอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ กิจกรรม ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนใน โรงเรียน ตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี จํานวนส่งเสริเนื่องมส่งเสริสหกรกิจกรรม ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนใน โรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมอุบล รัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 4 ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา เปูาหมาย งบประมาณ (บาท) รวม 1,906,540 บาท นวนสหกรณ์และกลุ่ม รกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของ กต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น ก่อน ยละของสหกรณ์และกลุ่ม รกรที่อยู่ระหว่างชําระบัญชี นที่ 3-4 ยกระดับขึ้นสู่ นที่ 5 ยละของสหกรณ์และกลุ่ม รกรทั้งหมดที่อยู่ระหว่างชําระ ขั้นตอนที่ 6 ร้อยละของประสิทธิภาพของ ริหารงาน นโรงเรียนในพื้นที่โครงการ ริมการดําเนินงานอัน มาจากพระราชดําริได้รับการ ริมและพัฒนาความรู้ด้านการ ณ์ ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และ ชุมชนในพื้นที่โครงการพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตาม พระราชดําริ ฯ สามารถนําความรู้ เรื่องของการสหกรณ์ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ 1 แห่ง 12,600 1 แห่ง 11,600


ความสอดคล้องกับ แผนระดับ 2 ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงาน/โครงการ กิจกรรม คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ กิจกรรม ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และส่งเสริมการเกษตรตามแนวทาง ทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทฯ ประเด็น พลังทางสังคม แผ่นย่อย การเสริมสร้างทุนทางสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลด ความเหลื่อมล้ําในสังคม แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรม ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จํานวนเกษตรได้รับกยุทธศาสตร์ชาติด้านความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทฯ ประเด็น การเกษตร แผ่นย่อย เกษตรปลอดภัย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรทําการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า กิจกรรม พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตร ของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ มาตรฐาน GAP 1. จํานเกษตรการเก2. จํานเกษตรเกษตร


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 5 ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา เปูาหมาย งบประมาณ (บาท) รวม 1,906,540 บาท การให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์ การให้คําปรึกษา สอนส่งเสริม อาชีพ สร้างวินัยการออม ส่งเสริม การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 4 ครั้ง 21,000 ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรให้นําแนวทางปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและ ระดับสมาชิก 5 แห่ง 7,600 นสมาชิกสหกรณ์และกลุ่ม รกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตร การลดภาระดอกเบี้ย ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรได้รับการแก้ไข ปัญหาหนี้สินตามนโยบายรัฐบาล 384 ราย 5,020 นวนสหกรณ์และกลุ่ม รกรส่งเสริมให้สมาชิกทํา กษตรปลอดภัย นวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่ม รกรได้รับการส่งเสริมการทํา รปลอดภัย 1. ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP 2. ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรผลิตสินค้ามี คุณภาพได้มาตรฐานความ ปลอดภัยตรงตามความต้องการ ของตลาด 4 แห่ง/ 53 ราย 96,000


ความสอดคล้องกับ แผนระดับ 2 ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงาน/โครงการ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทฯ ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก แผ่นย่อย การสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกที่ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลักที่ 1 เพิ่มศักยภาพการดําเนิน ธุรกิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิต การเกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จํานวนได้รับกธุรกิจ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทฯ ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก แผ่นย่อย การสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกที่ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจของ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลักที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการ ดําเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้เป็น องค์กรหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับอําเภอ จํานวนได้รับกธุรกิจ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทฯ ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก แผ่นย่อย การยกระดับศักยภาพการเป็น ผู้ประกอบการธุรกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายใน สําหรับสินค้าเกษตร กิจกรรมหลักที่ 3 พัฒนากลไกการตลาดเพื่อ เพิ่มช่องทางการจําหน่ายสินค้าของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรรองรับนโยบายกระทรวงระบบ ตลาดนําการผลิต จํานวนได้รับกบริหารเชื่อมโ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 6 ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา เปูาหมาย งบประมาณ (บาท) รวม 1,906,540 บาท นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การพัฒนาศักยภาพการดําเนิน 1. การพัฒนาศักยภาพการดําเนิน กิจการและธุรกิจให้เป็นศูนย์กลาง เศรษฐกิจชุมชนในระดับอําเภอ 2. ส่งเสริมให้มีรายได้จากการ ดําเนินธุรกิจรวบรวม แปรรูป จําหน่ายผลผลิตสินค้าเกษตรและ ให้บริการทางด้านสินค้าเกษตรได้ เพิ่มขึ้น 6 แห่ง 10,240 นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การพัฒนาศักยภาพการดําเนิน 1. การพัฒนาศักยภาพการดําเนิน กิจการและธุรกิจให้เป็นศูนย์กลาง เศรษฐกิจชุมชนในระดับอําเภอ 2. มีรายได้จากการดําเนินธุรกิจ รวบรวม แปรรูป จําหน่ายผลผลิต สินค้าเกษตร และให้บริการ ทางด้านสินค้าเกษตรได้เพิ่มขั้น 6 แห่ง 91,600 นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การส่งเสริมและพัฒนาการ รจัดการด้านการตลาด การ โยงเครือข่าย/คลัสเตอร์ 1. ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการ มีช่องทางการจําหน่ายสินค้า เกษตร 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 6 แห่ง 7,280


ความสอดคล้องกับ แผนระดับ 2 ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงาน/โครงการ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทฯ ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก แผ่นย่อย การยกระดับศักยภาพการเป็น ผู้ประกอบการธุรกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการ ประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร กิจกรรมนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่อ อาชีพการเกษตร จํานวนพัฒนาการเกยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทฯ ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก แผ่นย่อย การยกระดับศักยภาพการเป็น ผู้ประกอบการธุรกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลด ความเหลื่อมล้ําในสังคม แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก โครงการส่งเสริมและอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหา ที่ดินทํากินของเกษตรกร กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้ โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล 1. จํานได้รับกตลาดน2. จัดกลุ่มเกคทช.


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 7 ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา เปูาหมาย งบประมาณ (บาท) รวม 1,906,540 บาท นผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการ าด้านการประกอบอาชีพ กษตร ส่งเสริมให้ลูกหลานสมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการมี อาชีพการเกษตรที่มั่นคงและมี รายได้จากการประกอบอาชีพ การเกษตรที่สามารถดํารงชีพได้ อย่างยั่งยืนภายใน 3 ปี 2 ราย 2,400 นวนเกษตรกรในพื้นที่ คทช. การส่งเสริมและพัฒนาความรู้ นําการผลิต ทําฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์/ กษตรกรและเกษตรกรในพื้นที่ ที่รับผิดชอบ ส่งเสริมการพัฒนาอาชีพและ การตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจ ชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงในพื้นที่เปูาหมายการจัด ที่ดินทํากินให้ชุมชน 30 ราย/ 2 พื้นที่ 37,400


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 8 โครงสร้างและกรอบอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง 1) โครงสร้างของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สหกรณ์จังหวัดระนอง ฝุายบริหารทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการ บริหารจัดการสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 - อ าเภอเมือง - อ าเภอกะเปอร์ - อ าเภอสุขส าราญ - อ าเภอละอุ่น - อ าเภอกระบุรี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 9 2) กรอบอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หน่วย : คน ประเภทอัตรากําลัง ชาย หญิง รวม ข้าราชการ 6 10 16 ลูกจ้างประจํา 3 0 3 พนักงานราชการ 9 2 11 พนักงานจ้างเหมาบริการ 4 1 5 รวม 22 13 35 *** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 46% 9% 31% 14% ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา พนักงานราชการ พนักงานจ้างเหมาบริการ รวม 35 คน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 10 ประเภทงบรายจ่าย ปี 2564 ร้อยละ หมายเหตุ รวมทั้งสิ้น 5,492,035.23 100 แผนงานบุคลากรภาครัฐ 3,263,031.00 59 แผนงานพื้นฐาน 1,903,279.23 35 แผนงานยุทธศาสตร์ 158,525.00 3 แผนงานบูรณาการ 167,200.00 3 59% 35% 3% 3% แผนงานบุคลากรภาครัฐ แผนงานพื้นฐาน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานบูรณาการ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ) แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ าแนกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 11 สรุปข้อมูลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ณ วันที่ 30 กันยายน 2564) ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ านวนสหกรณ์และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) รวมสมาชิก ร้อยละ ทั้งหมด (คน) สมาชิกสามัญ (คน) สมาชิกสมทบ (คน) 1. สหกรณ์การเกษตร 14 15,083 14,751 332 11,112 62.89 2. สหกรณ์ประมง 1 - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 5,840 5,146 694 5,373 30.41 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 820 - - 650 3.67 6. สหกรณ์บริการ 3 291 - - 243 1.38 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 335 - - 290 1.65 รวม 27 22,369 19,897 1,026 17,668 100 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สถานะสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. สหกรณ์การเกษตร 11 - 3 - 14 2. สหกรณ์ประมง - 1 - 1 3. สหกรณ์นิคม - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 - - - 6 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - - 1 6. สหกรณ์บริการ 3 - - - 3 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 - - - 2 รวม 23 - 4 - 27 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 12 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. สหกรณ์ การเกษตร 11 2.95 30.31 50.70 511.50 6.60 2.57 604.63 2. สหกรณ์ประมง - - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออม ทรัพย์ 6 310.95 1,933.36 - - - - 2,244.31 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - 6.31 - - - 6.31 6. สหกรณ์บริการ 3 0.91 6.95 0.18 - - 1.65 9.69 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนียน 2 0.05 2.22 - - - - 2.27 รวมทั้งสิ้น 23 314.86 1,972.84 57.19 511.50 6.60 4.22 2,867.21 ที่มา : ระบบรายงานปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปี 2564 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) สหกรณ์ที่มีผลก าไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (5) ก าไร (ล้านบาท) (6) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 10 470.22 470.55 6 1.54 4 -1.87 -0.33 2. สหกรณ์ประมง - - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 272.95 83.00 6 189.95 - - 189.95 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 7.52 7.62 - - 1 -0.10 -0.10 6. สหกรณ์บริการ 3 3.60 2.93 1 0.69 2 -0.02 0.67 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยน 1 0.21 0.19 1 0.02 - - 0.02 รวมทั้งสิ้น 21 754.50 564.29 14 192.20 7 -1.99 190.21 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณ์ในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 13 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์จ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ ชั้น 1 สหกรณ์ ชั้น 2 สหกรณ์ ชั้น 3 สหกรณ์ ชั้น 4 รวม สหกรณ์ภาคการเกษตร 2 7 2 3 14 1. สหกรณ์การเกษตร - - - - - 2. สหกรณ์นิคม - - - 1 1 3. สหกรณ์ประมง - - - - - สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 6 - - - 6 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ - 1 1 - 2 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 1 - - 3 6. สหกรณ์บริการ 1 - - - 1 7. สหกรณ์ร้านค้า 11 9 3 4 27 รวม 2 7 2 3 14 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2561 – 2564) ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 (แห่ง/ร้อยละ) ชั้น 1 10/34.48 10/34.48 11/40.74 ชั้น 2 15/51.72 8/27.59 9/33.33 ชั้น 3 0/0.00 6/20.69 3/11.11 ชั้น 4 4/13.80 5/17.24 4/14.82 รวม 29/100 29/100 27/100 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4


ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 14 564


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 15 ข้อมูลสถิติของกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ านวนกลุ่มเกษตรกรและจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน) สมาชิก สามัญ (คน) สมาชิก สมทบ (คน) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 213 - - 156 9.97 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 1,318 - - 1,084 69.26 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 283 - - 186 11.89 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทํา ประมง 2 199 - - 139 8.88 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - รวม 17 2,013 - - 1,565 100 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนกลุ่ม เกษตรกรทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุด ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 - - - 2 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 - - - 11 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 - - - 2 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 - 1 - 2 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - รวม 16 - 1 - 17 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 16 ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 0.176 1.742 0.943 - - - 2.861 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 0.083 7.947 4.475 9.779 0.004 - 22.288 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยง สัตว์ 2 0.018 1.525 0.855 - - - 2.398 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทํา ประมง 1 0.062 - 1.550 - - 0.701 2.313 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 16 0.339 11.214 7.823 9.779 0.004 - 29.86 ที่มา : ระบบรายงานปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปี 2564 ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภท กลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) กลุ่มเกษตรกร ที่มีผลก าไร กลุ่มเกษตรกร ที่ขาดทุน (4) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 0.46 0.32 2 0.14 - - 0.14 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 11.70 11.08 10 0.63 1 -0.01 0.62 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 0.29 0.29 1 0.005 1 -0.004 0.001 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 3.58 4.45 - - 1 -0.87 -0.87 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 16 16.03 16.14 13 0.775 3 -0.884 -0.109 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หมายเหตุ ผลรวมของกลุ่มเกษตรกรในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 17 ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรจ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 25634 ประเภทสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 1 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 2 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 3 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 4 รวม 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา - 2 - - 2 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน - 10 1 - 11 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 2 - 1 3 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 - - - 1 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) - - - - - รวม 1 14 1 1 17 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 ชั้น 4 ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1


ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 18 ศ. 2564


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๙ ข้อมูลสถิติของกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ านวนกลุ่มอาชีพและสถานะ ประเภทกลุ่มอาชีพ จ านวน (กลุ่ม) จ านวนกลุ่มอาชีพด าเนินงาน/ธุรกิจ (กลุ่ม) 1. อาหารแปรรูป 6 6 2. ผ้าและเครื่องแต่งกาย - - 3. ของใช้/ของตกแต่ง 2 2 4. เลี้ยงสัตว์ - - 5. บริการ 1 1 6. เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 2 2 7. สมุนไพรไม่ใช่ยา - - 8. เพาะปลูก 1 1 9. ปัจจัยการผลิต 1 1 รวม 13 13 กลุ่มอาชีพและจ านวนสมาชิกกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ กลุ่มอาชีพ สินค้าหลัก สังกัดสหกรณ์ จ านวนสมาชิก (คน) 1. กลุ่มพัฒนาอาชีพบ้านมารีย์ กาแฟโบราณ สหกรณ์กองทุนสวนยาง จ.ป.ร. 3 จํากัด 15 2. กลุ่มส่งเสริมอาชีพไม้กวาด ดอกอ้อบ้านหินใหญ่ หมู่ที่ 9 ไม้กวาดดอกอ้อ สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 46 3. กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านบางกุ้ง น้ําพริกต่าง ๆ สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 17 4. กลุ่มสตรีบ้านบางขุนเพ่ง ไข่เค็ม, น้ําพริกไข่เค็ม สหกรณ์การเกษตรละอุ่น จํากัด 18 5. กลุ่มฟื้นฟูนาข้าวตําบลกําพวน ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ พันธุ์ลูกหวาย สหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด 12 6. กลุ่มทําปุ฻ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ บ้านบางพรวด หมู่ที่ 8 ปุ฻ยอินทรีย์ สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 53 7. กลุ่มออมทรัพย์ปลูกพืช เครื่องแกงเพื่อการผลิต เครื่องแกง สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 58 8. กลุ่มกะปิกุ้งเคยเสริมไอโอดีน บ้านอ่าวเคย กะปิ, กะปิผง, กุ้งเคย อบแห้ง สหกรณ์การเกษตรกะเปอร์ จํากัด 12 9. กลุ่มแปรรูปอาหารทะเลระนอง แปรรูปอาหารทะเล สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 15 10. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตําบล บางแก้ว (ห้วยนายร้อย) ไม้กวาดดอกอ้อ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 17 11. กลุ่มผู้ผลิตเครื่องแกงบ้านระวิ เครื่องแกง สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 15 12. กลุ่มแปรรูปผลไม้ปากจั่น แปรรูปผลไม้ กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 15 13. กลุ่มกาแฟคั่วบดไร่ใน กาแฟคั่วบด กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา 35 รวม 13 กลุ่ม 328 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๐ ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการ ภายใต้แผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2564


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๑ ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ อ าเภอเมือง ประกอบด้วย สหกรณ์ 11 แห่ง สมาชิก 7,341 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 584 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) แนะนําส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดีเด่น ประจําปี 2564/2565 โดยบูรณาการทํางานร่วมกันกับกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์ออม ทรัพย์ครูระนอง จํากัด เข้ารับการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติประจําปี 2564/2565 2) แนะนําส่งเสริมให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้องสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่มี ข้อบกพร่อง 3) ติดตามการใช้และเร่งรัดหนี้เงินกู้ โดยมีสหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จํานวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์รถยนต์โดยสารระนอง จํากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัดระนอง จํากัดซึ่งสามารถ ชําระหนี้ได้ตามกําหนด 4) แนะนําส่งเสริมเพื่อให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรโดยรักษาเปูาหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) คณะกรรมการดําเนินการขาดความรู้ความเข้าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข้อบังคับ การบริหารธุรกิจ สหกรณ์ ตลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ ทําให้ขาดการมีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 3) ผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์และไม่ปฏิบัติ หน้าที่ตามข้อบังคับของสหกรณ์ 4) การดําเนินงานยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 5) สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี หรือมีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีแต่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอใน การปฏิบัติงาน ทําให้ไม่สามารถจัดทําบัญชีให้เป็นปัจจุบัน ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๒ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) ส่งเสริมให้กรรมการดําเนินการ เข้าใจบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้การศึกษาอบรม เกี่ยวกับสหกรณ์ และความรู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจของสหกรณ์อย่างสม่ําเสมอ 2) มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี หรือกําหนดสัญญาจ้างโดยให้ค่าตอบแทนกับผู้มีความรู้ในเรื่องบัญชี กําหนดระเบียบ บทบาทหน้าที่ ตรวจสอบความถูกต้อง กําชับ ให้ผู้รับลงบัญชีจัดทําบัญชีให้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามแบบ ให้เป็นปัจจุบันทุกวันทําการ บัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดให้บันทึกรายการในวันที่เกิดเหตุ สําหรับรายการที่ ไม่เกี่ยวกับกระแสเงินสด ให้บันทึกในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแต่วันที่มีเหตุต้องบันทึก 3) การปูองกันและการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิกสหกรณ์ โดยมีการสํารวจข้อมูลการจัดการ กลุ่มลูกหนี้ การวิเคราะห์ลูกหนี้รายบุคคล การบริหารจัดการลูกหนี้ตามสถานะลูกหนี้ การวางแผนอาชีพของ สมาชิก การขยายหนี้และปรับโครงสร้างหนี้ของสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลระนอง จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลระนอง จํากัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 2 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2534 ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ ปีบัญชี 30 กันยายนของทุกปี ปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 มี สมาชิกจํานวน 732 คน ทุนดําเนินทั้งสิ้น 506,871,518.91 บาท ทุนของสหกรณ์ 375,379,885.95 บาท กําไรสุทธิ 22,357,990.23บาท ดําเนินธุรกิจสินเชื่อและรับฝากเงิน มีผลการดําเนินเป็นไปตาม แผนปฏิบัติงานที่กําหนดไว้ ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ระดับชั้น 1 มาตรฐานสหกรณ์ระดับดีเลิศ สหกรณ์มีการดําเนินธุรกิจตรงตามวัตถุประสงค์โดยสนับสนุนให้เกิดการออมทรัพย์ และอํานวย ประโยชน์ให้แก่สมาชิกได้เป็นอย่างดี สามารถให้บริการและช่วยเหลือด้านเงินทุนแก่สมาชิกเพื่อนําไปเป็นทุน หมุนเวียนในการดํารงชีพ ตลอดถึงส่งเสริมให้เกิดการออมซึ่งทําให้สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1) แนะนําส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ รวมทั้งการบริหารงานสหกรณ์แก่คณะกรรมการดําเนินการและฝุายจัดการ 2) แนะนําส่งเสริมให้สหกรณ์ปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ ประกาศ คําสั่ง คําแนะนําของ นายทะเบียนสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กําหนดระเบียบต่างๆ ขึ้นถือใช้เพื่อ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบ และมติที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ 3) ส่งเสริมให้สมาชิกประหยัดรายจ่าย โดยสนับสนุนให้สมาชิกนําเงินส่วนเกินของรายได้มาฝากไว้กับ สหกรณ์ 4) สหกรณ์มีทุนดําเนินงาน ทุนสํารอง ทุนสะสมตามข้อบังคับ เพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจ และการ จัดสวัสดิการต่างๆ ให้กับสมาชิก


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๓ อ าเภอกะเปอร์ ประกอบด้วย สหกรณ์3 แห่ง สมาชิก 606 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่งเสริม แนะนํา พัฒนา กํากับและช่วยเหลือสหกรณ์ให้ดําเนินธุรกิจเป็นไปตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ข้อบังคับ ระเบียบและกฎหมายอื่น ๆ ให้กับสหกรณ์ภาคการเกษตร สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจํานวน 3 แห่ง การดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ (ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจรวบรวมผลผลิต) ทําให้สหกรณ์ประสบผลสําเร็จในการ ดําเนินงานดังนี้ 1) การแนะนําส่งเสริมสหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์มีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเข้า แนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในปี 2564จากสหกรณ์ทั้งหมด จํานวน 3 สหกรณ์ มีผลการ ประเมินมาตรฐานสหกรณ์ระดับมาตรฐานดี (C) จํานวน 2 สหกรณ์ และไม่ผ่านมาตรฐาน (F) จํานวน 1 สหกรณ์ 2) ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ มีสหกรณ์ที่อยู่ในระดับชั้น 2 จํานวน 2 สหกรณ์ ระดับชั้น 3 จํานวน 1 สหกรณ์ 3) เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตร เพื่อให้ความรู้เรื่องอุดมการณ์ หลักการ วิธีการ สหกรณ์ สิทธิหน้าที่ของสมาชิก สวัสดิการต่างๆ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกสหกรณ์ การให้ความ ร่วมมือสนับสนุนการดําเนินงานร่วมทําธุรกิจกับสหกรณ์ การดํารงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และชี้แจง โครงการการสนับสนุนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 4.) แนะนําส่งเสริมให้สหกรณ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ติดตามการแก้ไข ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีและข้อบกพร่องของสหกรณ์แนะนําให้สหกรณ์แก้ไขระเบียบ ข้อบังคับเพื่อให้ สอดคล้องกับการดําเนินงาน หรือเพื่อการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน 5) ติดตามการใช้และเร่งรัดหนี้เงินกู้ โดยมีสหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จํานวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์ชาวสวนกาแฟกะเปอร์จํากัด และเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จํานวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์เครดิตยู เนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง โดยกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะมีการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานของ สหกรณ์พร้อมทั้ง ส่งเสริมสนับสนุนให้สหกรณ์มีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรตนเองให้เข้มแข็งและยั่งยืนโดย สามารถวางแผน ดําเนินการ และแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ และรักษาระดับมาตรฐานให้คําปรึกษาแนะนําให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงาน องค์กร บริหารธุรกิจแก่บุคลากรของสหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์ดําเนินงานภายใต้กรอบของกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อบังคับ ระเบียบ คําสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ นโยบายมติที่ประชุมใหญ่ และมติที่ประชุมของคณะกรรมการ รวมทั้งการดําเนินการผลักดันให้สหกรณ์ดําเนินการตามแผนพัฒนาสหกรณ์ โดยการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สหกรณ์การเผยแพร่และให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป ส่งเสริม สนับสนุนให้สหกรณ์มีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและยั่งยืนโดยสามารถวางแผน ดําเนินการและ แก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๔ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) คณะกรรมการดําเนินการ ขาดความรู้ความเข้าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข้อบังคับ การบริหารธุรกิจ สหกรณ์ ตลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ ทําให้ขาดการมีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 3) ผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์และไม่ปฏิบัติ หน้าที่ตามข้อบังคับของสหกรณ์ 4) การดําเนินงานยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 5) การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์ และปัญหาเงินฝากไหลเข้าสู่ระบบสหกรณ์ 6) สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี หรือมีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีแต่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอใน การปฏิบัติงาน ทําให้ไม่สามารถจัดทําบัญชีให้เป็นปัจจุบัน 7) สหกรณ์การเกษตรไม่ได้ดําเนินงานเป็นไปตามหลักการควบคุมภายในที่ดีไม่มีการแบ่งแยกหน้าที่ใน การปฏิบัติงาน เนื่องจากยังขาดเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานสหกรณ์การเกษตร ไม่ได้ดําเนินการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ และบางแห่งรายได้ไม่เพียงพอกับการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ 8) สมาชิกสหกรณ์การเกษตร ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ขาดการรับช่วงต่อของบุคคลรุ่นใหม่ ทําให้การ ดําเนินธุรกิจของกลุ่มไม่คล่องตัวเท่าที่ควร 9) สหกรณ์การเกษตรมีผลการดําเนินงานขาดทุนเนื่องจากหนี้ค้างนานมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลงทุนในทรัพย์สินมากมีการคิดค่าเสื่อมราคา มีค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานสูงสหกรณ์ยังไม่สามารถให้บริการกับ สมาชิกได้อย่างครอบคลุมความต้องการ ทั้งนี้สหกรณ์การเกษตรยังต้องอาศัยทุนจากภายนอกในการดําเนิน ธุรกิจ 10) สมาชิกสหกรณ์การเกษตร มีส่วนร่วมในการทําธุรกิจน้อย เนื่องจากสหกรณ์ไม่ได้จัดทําฐานข้อมูล สมาชิกมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนงานการดําเนินธุรกิจต่าง ๆและไม่มีการสํารวจความต้องการของสมาชิก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) ส่งเสริมแนะนําสมาชิกสหกรณ์ให้มีความจงรักภักดีกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น ๒) จัดอบรมสมาชิก/กรรมการ/ฝุายจัดการสหกรณ์ให้เข้าใจหลักการอุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์แบบ ปลูกฝังอย่างจริงจังให้มีความรักในสหกรณ์ส่งเสริมให้กรรมการดําเนินการ เข้าใจบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้การศึกษาอบรมเกี่ยวกับสหกรณ์ และความรู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจของสหกรณ์อย่างสม่ําเสมอ ๓) แนะนําให้สหกรณ์การเกษตร ขยายการดําเนินธุรกิจโดยเพิ่มปริมาณธุรกิจการ ซื้อ/ขาย เพื่อให้มี รายได้เพียงพอต่อการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ ๔) แนะนําสหกรณ์ ในการระดมทุนจากสมาชิกในรูปทุนเรือนหุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิก เพื่อมีทุน ในการดําเนินงานอย่างเพียงพอ ๕) แนะนําสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทําฐานข้อมูลสมาชิก และการจัดชั้นสมาชิกเพื่อให้สมาชิกมีส่วน ร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ ๖) แนะนําคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ส่งเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์และการควบคุมภายในที่ ดีการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการเปรียบเทียบแผน-ผลในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด ๗) แนะนําสหกรณ์ ดําเนินการติดตามผลการปฏิบัติงานของสหกรณ์อย่างต่อเนื่องทุกครั้งที่มีการ ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๕ 8) แนะนําการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี หรือกําหนดสัญญาจ้างโดยให้ค่าตอบแทนกับผู้มีความรู้ในเรื่อง บัญชีกําหนดระเบียบ บทบาทหน้าที่ ตรวจสอบความถูกต้อง กําชับ ให้ผู้รับลงบัญชีจัดทําบัญชีให้ครบถ้วน ถูกต้องตามแบบ ให้เป็นปัจจุบันทุกวันทําการ บัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดให้บันทึกรายการในวันที่เกิดเหตุ สําหรับ รายการที่ไม่เกี่ยวกับกระแสเงินสด ให้บันทึกในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแต่วันที่มีเหตุต้องบันทึก 9) เก็บข้อมูลสถิติการร่วมทําธุรกิจของสมาชิกสหกรณ์ที่ฝาก และถอนเงิน รวมถึงข้อมูลการจ่ายสินเชื่อ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์การเงินที่จะช่วยให้สหกรณ์สามารถวิเคราะห์วัฎจักร รวมถึงการบริหาร จัดการ การกู้เงินหรือการถอนเงินในช่วงระยะเวลาใดมากน้อยเพียงใด ทําให้สหกรณ์สามารถรู้ได้ว่าช่วงเวลาใด จะต้องรักษาสภาพคล่องเท่าใด 10) การปูองกันและการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิกสหกรณ์ โดยมีการสํารวจข้อมูลการ จัดการกลุ่มลูกหนี้ การวิเคราะห์ลูกหนี้รายบุคคล การบริหารจัดการลูกหนี้ตามสถานะลูกหนี้ การวางแผนอาชีพ ของสมาชิก การขยายหนี้และปรับโครงสร้างหนี้ของสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริม สหกรณ์ โครงการสนับสนุนเงินเพื่อสร้างระบบน้ําในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร โดยให้สหกรณ์เป็นแหล่ง รับเงินทุน เพื่อนําไปสนับสนุนเงินกู้แก่สมาชิกในการพัฒนาแหล่งน้ําในพื้นที่ทําการเกษตรของตนเอง ให้สามารถบริหารจัดการน้ํา ได้เพียงพอตลอดฤดูกาลผลิตและตลอดทั้งปี เพื่อสร้างโอกาสในการเพิ่มรายได้จาก อาชีพเกษตรกรรม มีความมั่นคงทั้งจากอาชีพหลักและอาชีพเสริมจากการที่มีแหล่งน้ําในพื้นที่ทํากินของตนเอง เพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายสมาชิกได้รับเงินทุนปลอดดอกเบี้ย โดยผ่านสหกรณ์ในการบริหารจัดการให้แก่สมาชิก จึงทําให้ทางสหกรณ์สามารถช่วยเหลือสมาชิกในเรื่องเงินทุนได้อย่างเป็นรูปธรรมโครงการส่งเสริมและสนับสนุน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทําการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า (GAP) เพื่อสนับสนุนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท า การเกษตรปลอดภัยที่เป็นการเพิ่มมูลค่าด้วยการผลิตสินค้าที่ตรงกับความต้องการของตลาดโครงการ ฝึกอบรม หลักสูตร การเงินการบัญชี และการบริหารสําหรับคณะกรรมการสหกรณ์ เพื่อให้คณะกรรมการมี ความรู้ความเข้าใจในด้านการเงิน การบัญชี และการบริหารจัดการสหกรณ์ สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ บริหารและกํากับดูแลสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1) แนะนําส่งเสริมให้คณะกรรมการดําเนินการใช้ความระมัดระวังในการพิจารณาให้เงินกู้แก่สมาชิก 2) ประชุมสมาชิกสหกรณ์ให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของ สมาชิกสหกรณ์ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้บริการจากสหกรณ์ ในการขอกู้เงิน การฝากเงิน การชําระ หนี้คืน การถือหุ้นของสมาชิก 3) สหกรณ์ได้มีการจัดประชุมสมาชิกอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สหกรณ์ สร้างการมีส่วน ร่วมในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาการดําเนินธุรกิจที่ตอบสนองความต้องการของสมาชิก พร้อมทั้งหา แนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๖ 4) ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการบริหารงานสหกรณ์ การดําเนินธุรกิจ และการติดตามผลการดําเนินงาน ของสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง โดยให้สหกรณ์จัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสาธารณะประโยชน์ ร่วมกันทํา กิจกรรมต่างๆ ในวันสําคัญ สําหรับสมาชิกที่ไม่สามารถชําระหนี้ได้ สหกรณ์แก้ไขปัญหาด้วยการเจรจา วิเคราะห์ปัญหา และแก้ไขปัญหาตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น 5) สหกรณ์ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์ได้เพิ่มพูน ความรู้ด้านต่างๆ โดยมอบหมายให้กรรมการและสมาชิกเข้ารับการอบรมทุกครั้งที่หน่วยงานมีการจัดอบรม ให้ความรู้ เพื่อนําหลักความรู้มาใช้ในการบริหารจัดการสหกรณ์ 6) คณะกรรมการดําเนินการของสหกรณ์บริหารงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ และบริการ สมาชิกด้วยความเป็นธรรมอย่างเท่าเทียมกัน สามารถบริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึง ภาพ : การเข้าแนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์ ในพื้นที่อําเภอกะเปอร์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๗ อ าเภอสุขส าราญ ประกอบด้วย สหกรณ์2 แห่ง สมาชิก 354 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 343 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) ประเด็นข้อบกพร่องเงินสดขาดบัญชีดําเนินการแก้ไขแล้วเสร็จ สามารถนําเงินดังกล่าวมาใช้เป็นทุน หมุนเวียนในการดําเนินงานต่อไป 2) สหกรณ์ได้รับชําระหนี้จากลูกหนี้ค้างนานเนื่องจากความมือกันระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ กับคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ร่วมกันกําหนดแนวทางในการติดตามหนี้ ลงพื้นที่ติดตามหนี้รายบุคคล กําหนดเงื่อนไขเพื่อช่วยเหลือให้สมาชิกสามารถชําระหนี้ได้ 3) ผลการดําเนินงานของสหกรณ์มีผลกําไรจากเดิมผลการดําเนินงานขาดทุนติดต่อกันมาเป็นเวลา หลายปีบัญชี สหกรณ์สามารถจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นเงินปันผลตามหุ้นให้แก่สมาชิกผลการประเมินชั้น คุณภาพการควบคุมภายในยกระดับจากระดับพอใช้เป็นระดับดี ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์จากเดิมระดับ มาตาฐานดียกระดับขึ้นเป็นระดับมาตรฐานดีมาก 4) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง คณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ความสามารถ สมาชิกให้ ความสําคัญกับกลุ่มเกษตรกรและร่วมทําธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง กลุ่มเกษตรกรกู้ยืมเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรตามโครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด (เงินกู้ยืม ระยะสั้น) กลุ่มเกษตรกรได้ช าระหนี้ปิดบัญชีตามก าหนดสัญญาไม่มีหนี้คงค้าง รวมทั้งกู้ยืมเงินตลาดกลาง เกษตรกรกรต าบลนาคาเพื่อซื้อปุ๋ย และกู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นา (เงินกู้ยืม ระยะยาว) กลุ่มเกษตรกรได้ช าระหนี้เป็นไปตามเงื่อนไขสัญญากู้ยืมเจ้าหนี้ไม่ต้องติดตามทวงถามหนี้ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) คณะกรรมการดําเนินการที่ได้รับมอบหมายให้จัดทําบัญชี ยังขาดความรู้ความสามารถ ในการ จัดทําบัญชี จึงทําให้ไม่สามารถจัดทําบัญชีได้อย่างถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ต้องได้รับความช่วยเหลือในการ จัดทําบัญชีจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 2) ผู้ตรวจสอบกิจการขาดความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการ และไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อบังคับของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3) การดําเนินงานขาดการควบคุมภายในที่ดี และไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานที่ได้กําหนดไว้ 4) ขาดสมาชิกรุ่นใหม่เนื่องด้วยผู้ที่เป็นสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจะมีอายุค่อนข้างเยอะ เมื่อเลือก กรรมการดําเนินการเข้ามาบริหารงาน ก็จะมีแต่กรรมการดําเนินการที่อายุค่อนข้างเยอะ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการดําเนินการ โดยการส่งเสริมการเข้าอบรมใน เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานอย่างสม่ําเสมอ เช่น ความรู้ในด้านการจัดทําบัญชี 2) ส่งเสริมให้คณะกรรมการดําเนินการเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการดําเนินการ ความรู้ เกี่ยวกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และความรู้เกี่ยวกับการบริการธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อย่างสม่ําเสมอ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๘ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์การเกษตรสุขส าราญ จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 99 ถนนเพชรเกษม หมู่ 5 ตําบลนาคา อําเภอสุข สําราญ จังหวัดระนอง จดทะเบียนเมื่อวันที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2537 ประเภทสหกรณ์การเกษตรกร ปี บัญชี 31 มีนาคม ของทุกปี สําหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2564 สหกรณ์มีจํานวนสมาชิก 156 คน ทุนดําเนินงานทั้งสิ้น 244,214.80 บาท กําไรสุทธิ 187,915.12 บาท สหกรณ์ประกอบธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจําหน่าย (ปุ฻ยเคมี,สินค้าอุปโภคบริโภค) และธุรกิจเงินรับฝากจากสมาชิก สหกรณ์ได้ดําเนินงานอย่างเข้มแข็งด้วยความร่วมมือของคณะกรรมการดําเนินการและเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์ได้เข้าส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ 1) สหกรณ์มีลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี สหกรณ์ดําเนินการให้ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชีชําระหนี้ให้กับ สหกรณ์แล้วเสร็จ สหกรณ์ได้นําเงินดังกล่าวมาใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานต่อไป 2) สหกรณ์มีการเพิ่มปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่ายโดยปีบัญชีที่ผ่านมาจัดหาเฉพาะปุ฻ยเคมีมา จําหน่ายแก่สมาชิก ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2564 สหกรณ์มีการจัดหาสินค้า มาจําหน่ายเพิ่มเติม คือสินค้าอุปโภคบริโภคมาจําหน่ายให้แก่สมาชิก และในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์ก็ได้มี การกําหนดแผนปฏิบัติงานจัดหาต้นพันธ์ทุเรียนมาจําหน่ายแก่สมาชิกเพิ่มเติมจากเดิมเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ สหกรณ์ 3) สหกรณ์เข้าร่วมโครงการตามนโยบายของรัฐบาล โครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่อ อาชีพเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ได้รับการสนับสนุนเงินกู้แก่สหกรณ์เพื่อให้สมาชิกกู้ประกอบ อาชีพเกษตรกรรรม 4) สหกรณ์กําหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระจากสมาชิกสหกรณ์ กําหนดขั้นตอนการ จัดการ เยี่ยมเยียนพบปะลูกหนี้เพื่อรับรู้สภาพปัญหา ให้คําแนะนําแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง กําหนด มาตรการในการช่วยเหลือเพื่อให้สมาชิกสามารถชําระหนี้ค้างได้ สามารถลดจํานวนหนี้ค้างลงได้ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1) แนะนําส่งเสริมให้ความรู้แก่กรรมการดําเนินการที่ได้รับมอบหมายให้จัดทําบัญชีของสหกรณ์ให้ สามารถจัดทําบันทึกข้อมูลรายการทางการเงินที่เกิดขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชี บันทึก รายการทางการเงินลงสมุดบันทึกรายการขั้นต้น การผ่านรายการบัญชีไปยังสมุดบันทึกรายการขั้นปลาย จัดทํา บัญชีแยกประเภทและงบทดลอง และจัดทํางบการเงินให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันหลังจากสิ้นปีทางบัญชีของ สหกรณ์ซึ่งกรรมการดําเนินการที่ได้รับมอบหมายให้จัดทําบัญชีสามารถจัดทําบัญชีได้เองโดยไม่ต้องขอความ ช่วยเหลือจากเจ้าที่สหกรณ์จังหวัด 2) คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ร่วมกับเจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัด ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนพบปะลูกหนี้ ค้างนานเพื่อรับรู้สภาพปัญหา ให้ค าแนะน าแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง โดยกําหนดเงื่อนไขพิเศษในการ ชําระหนี้ สร้างแรงจูงใจให้สมาชิกมาชําระหนี้ โดยลูกหนี้มาชําระหนี้ตามเงื่อนไขพิเศษดังกล่าว ส่งผลให้จํานวน หนี้ค้างที่ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลดลง สหกรณ์มีทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานเพิ่มมากขึ้น 3) จัดสรรผลกําไรจากการดําเนินงานเป็นเงินปันผลตามหุ้นให้แก่สมาชิก รวมทั้งเป็นทุนสวัสดิการ สมาชิกสหกรณ์ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้สมาชิกถือหุ้นเพิ่มและดําเนินธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ สร้างความเชื่อมั่นใน ระบบสหกรณ์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๙ 4) สนับสนุนให้สหกรณ์ให้ความช่วยเหลือแก่ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์ด้านการประกอบอาชีพ การเกษตรเพื่อสร้างรายได้อย่างมั่นคง โดยการส่งเสริมและแนะนําให้เกษตรกรเข้ามาร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินกู้แก่สหกรณ์เพื่อให้สมาชิกกู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรรม ภาพ : ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนพบปะลูกหนี้ค้างนานเพื่อรับรู้สภาพปัญหา ให้ค าแนะน าแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๐ อ าเภอกระบุรี ประกอบด้วย สหกรณ์6 แห่ง สมาชิก 13,895 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 795 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในความรับผิดชอบของอําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง เป็นสหกรณ์ภาคการเกษตรร้อยละ 100 สหกรณ์ส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจรับ ฝากเงิน ส่วนกลุ่มเกษตรกรแบ่งเป็นกลุ่มเกษตรกรทําสวน ร้อยละ 7 กลุ่มเกษตรกรทํานา ร้อยละ 20 และกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 10 กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจําหน่าย และธุรกิจรวบรวมผลผลิต ผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญของสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่อําเภอกระบุรี ประกอบด้วย กาแฟ มังคุด ปาล์มน้ํามัน และยางพารา เป็นต้น กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 มีภารกิจและหน้าที่ในการแนะนํา ส่งเสริม และกํากับดูแลสหกรณ์ในความรับผิดชอบ โดยได้เข้าแนะนําส่งเสริมและแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ตามแผนงานที่กําหนด โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพ ของสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ และผลักดันการดําเนิน งานของ สหกรณ์ให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืน โดยมีการจัดเตรียมข้อมูลของสหกรณ์ วิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ นําเสนอที่ ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ เมื่อพบปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้ในทันที จะนําประเด็นปัญหาเหล่านั้น ปรึกษาหารือกับจังหวัด เพื่อขอคําแนะนําที่ถูกต้องและชัดเจน เพื่อนําข้อเสนอแนะไปแจ้งให้สหกรณ์ทราบและถือ ปฏิบัติ เป็นการช่วยลดปัญหาข้อบกพร่องหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้อง ซึ่งผลการเข้าแนะนํา ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับความรู้ความเข้าใจในหลักการสหกรณ์ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ทําให้เห็นความสําคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามข้อบังคับระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถนําผลการแนะนําไปเป็นแนวทางในการบริหารจัดการสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 5) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชี และจัดทํางบการเงินประจําปีแล้วเสร็จ และสามารถ จัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี และสามารถ จัดประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 6) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนดไว้ในที่ประชุมใหญ่ โดยมีการแนะนําและ ส่งเสริมเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 7) สหกรณ์มีการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งก่อสร้างที่ได้รับการสนับสนุน จากภาครัฐ ให้เป็นตามวัตถุประสงค์และคุ้มค่ากับงบประมาณ 8) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให้ครอบคลุมกับการดําเนินงานและสอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๑ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์บางแห่งประสบปัญหาขาดทุนสะสมติดต่อกันหลายปี ทําให้สมาชิกขาดความเชื่อมั่นและ ไม่ศรัทธาในสหกรณ์ สมาชิกจึงไม่มาทําธุรกิจสหกรณ์ 2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจทําให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่มีความผันผวน มีการปรับราคาขึ้นลง สหกรณ์ไม่สามารถคาดเดาถึงสถานการณ์หรือแนวโน้มด้านราคาได้ 3) การรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร (กาแฟสาร) ของสมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพไม่ได้ ตามเกณฑ์ ไม่สามารถหาตลาดรองรับที่แน่นอน สหกรณ์ต้องสต๊อกสินค้ารอการจําหน่ายไว้เป็นเวลานาน ทําให้ส่งผลต่อ คุณภาพสินค้าและการขาดหายของน้ําหนักสินค้า 4) การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้ไม่สามารถดําเนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง ไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านธุรกิจของสมาชิกได้ตรงตามความต้องการ 5) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งการจัดทําบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความพร้อมด้านบุคลากรและ ความรู้ความเข้าใจ เนื่องจากไม่ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี มีเพียงมอบหมายกรรมการ ซึ่งไม่ได้มีความรู้ด้าน บัญชี จึงไม่สามารถจัดทํารายละเอียดและงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในกําหนดได้ 6) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งมุ่งเน้นช่วยเหลือสมาชิกในด้านการให้สินเชื่อ โดยมิได้คํานึงถึง ความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิก อัตราสภาพคล่องทางการเงิน ไม่มีการวิเคราะห์ผลการดําเนินธุรกิจ ของสหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์ขาดสภาพคล่องทางการเงิน รวมทั้งการกําหนดระเบียบไม่สอดคล้องกับธุรกิจ และไม่มีระบบการควบคุมภายในที่ดี 7) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่ง ไม่มีการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่กําหนดไว้ 8) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขาดการมีส่วนร่วม คือ สมาชิกไม่เห็นคุณค่าของการร่วมทํากิจกรรม และการทําธุรกิจต่าง ๆ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และจํานวนสมาชิกที่เข้าประชุมใหญ่สามัญประจําปีลด น้อยลง 9) สหกรณ์ไม่สามารถดําเนินงานได้ตามแผน ส่งผลให้สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์การตลาด ไม่ได้ใช้งานได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ มีความเสี่ยงการเสื่อมสภาพและทรุดโทรม 10) ด้วยปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด ส่งผลให้สมาชิกที่มีหนี้ค้างชําระ ไม่สามารถมาชําระหนี้ได้ตามกําหนด ทําให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตาม หลักเกณฑ์ ทําให้เกิดเป็นค่าใช้จ่ายซึ่งส่งผลต่อการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) แนะนําให้สหกรณ์ที่มีปัญหาขาดทุนสะสม ดําเนินการเชิงรุกในทุกธุรกิจของสหกรณ์ โดยมีการ จัดทําแผนงานประจําปีและติดตามผลรายเดือนเพื่อให้งานเป็นไปตามแผน เพื่อเป็นการประเมินผลการดําเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกโดยการสํารวจความต้องการของสมาชิก และสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการดําเนินธุรกิจตามความต้องการ และควรมีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สมาชิกได้รับทราบข่าวสาร 3) แนะนําให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการระดมทุนภายในก่อนที่จะไปหาแหล่งเงินทุนภายนอก โดยส่งเสริมการออมและการระดมหุ้นของสมาชิก 4) แนะนําให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของสหกรณ์จากงบทดลอง และงบ การเงิน เพื่อเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงาน และงบประมาณในการดําเนินธุรกิจ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๒ 5) แนะนําสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการเปรียบเทียบ แผน-ผลในการ ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด 6) แนะนําคณะกรรมการในการติดตามผลการชําระหนี้ของสมาชิกให้เป็นไปตามที่กําหนด และ ต่อเนื่อง กําหนดมาตรการควบคุมและปูองกันการผิดนัดชําระหนี้ของสมาชิกเพื่อสร้างวินัยในการชําระหนี้ 7) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรพิจารณาถึงความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกเป็นสําคัญในการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อ มีการติดตามการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวมถึงการจัดชั้นลูกหนี้เพื่อสร้าง แรงจูงใจและวินัยในการชําระหนี้ 8) ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจตามหลักการตลาดนําการผลิต ติดต่อผู้รับซื้อผลผลิต โดยมีการจัดทําข้อตกลงสัญญาระหว่างกันอย่างชัดเจน จัดประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อให้ความรู้และข้อตกลงใน เรื่องคุณภาพผลผลิต วิธีการรวบรวม การจําหน่ายที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างสมาชิกและ สหกรณ์ 9) การเปิดประมูลราคารับซื้อผลผลิตจากเอกชน เป็นวิธีที่จะช่วยลดความเสี่ยงการเกิด ผลขาดทุนใน ธุรกิจรวบรวมผลผลิตอีกทางหนึ่ง 10) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการจัดทําแผนการใช้ประโยชน์สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์การตลาด และควรดําเนินการไปตามแผน รวมถึงการจัดให้มีผู้ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณ์ เพื่อปูองกันการเสื่อมสภาพ การทรุดโทรม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์ได้จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ประเภทการเกษตรเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2519 สหกรณ์มีการ ดําเนินธุรกิจ 4 ด้าน คือ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิตและธุรกิจรับฝากเงิน สหกรณ์ให้ความสําคัญกับสมาชิก ช่วยเหลือสมาชิกด้วยธุรกิจที่ครบวงจร คือ มีการดําเนินธุรกิจสินเชื่อ โดยให้สมาชิกกู้ยืมเงินไปใช้ในการประกอบอาชีพ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ดําเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามา จําหน่ายให้กับสมาชิก ด้วยราคาต่ํากว่าท้องตลาด ธุรกิจรวบรวมผลผลิตแก้ปัญหาสมาชิกถูกกดราคาจากพ่อค้า คนกลาง ส่งเสริมให้สมาชิกเห็นความสําคัญของการออม โดยธุรกิจเงินรับฝากที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าสถาบัน การเงินในท้องที่ นอกจากนี้สหกรณ์ยังมีการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเหลือสังคมอยู่เสมอ เช่น การทําบุญทอดผ้าปุาสามัคคี การสนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก ฯลฯ ผลกระทบจากสภาวะทางเศรษฐกิจส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ํา สหกรณ์มีการ สนับสนุนให้สมาชิกประกอบอาชีพเลี้ยงสุกร เพื่อให้มีรายได้เพิ่ม มีเงินทุนให้สมาชิกกู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยต่ํา รวมถึงจัดหาอาหารสุกร พันธุ์สุกร และตลาดให้กับสมาชิก โดยครบวงจร ทําให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น มีความ กินดีอยู่ดี และสามารถส่งคืนชําระเงินกู้ได้ตามกําหนดสัญญา สหกรณ์มีบุคลากรที่มีศักยภาพและเพียงพอในการดําเนินกิจการ มีการประชุมคณะกรรมการ ดําเนินการเพื่อติดตามผลการดําเนินกิจการเป็นประจําทุกเดือน สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนในการ ดําเนินงานจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจ และสหกรณ์สามารถส่งชําระ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ได้ตามกําหนดสัญญา


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๓ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง แนะนําและส่งเสริมให้สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัดดําเนินการ ดังนี้ 1) ให้คําแนะนํา ส่งเสริมเพื่อพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ การเพิ่มปริมาณธุรกิจ การสร้างการมี ส่วนร่วมของ สมาชิก 2) แนะนําส่งเสริมและวางแผนการติดตามหนี้ค้างชําระโดยมอบหมายให้คณะกรรมการในพื้นที่ติดตาม และประสานงานผ่านกลุ่มสมาชิก และติดตามรายงานผลในที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการประจําเดือน 3) ให้คําแนะนํา ส่งเสริม กํากับ ติดตามการดําเนินงานให้กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและคําแนะนําที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นการปูองกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่องในการดําเนินงาน 4) ให้คําแนะนําส่งเสริมเกี่ยวกับอัตราส่วนทางการเงินในการดําเนินธุรกิจและการบริหาร เพื่อยกระดับ ประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ 5) แนะนํา ส่งเสริม ทําความเข้าใจ และชี้แจงคณะกรรมการดําเนินการของกลุ่มเกษตรกร เรื่องการ ควบคุมภายใน และเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ภาพกิจกรรมและการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด


Click to View FlipBook Version