The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการอบรมหลักสูตรพี่เลี้ยงวิชาการด้วยระบบทางไกล ระดับประถมศึกษาตอนต้น (หนู หนู กับ Zoo ใหม่) ประจำปีการศึกษา 2562 ระหว่างวันที่ 28-30 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 ณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การอบรมหลักสูตรพี่เลี้ยงวิชาการด้วยระบบทางไกล ของคณะครูโรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ระดับประถมศึกษาตอนต้น (หนู หนู กับ Zoo ใหม่)

รายงานผลการอบรมหลักสูตรพี่เลี้ยงวิชาการด้วยระบบทางไกล ระดับประถมศึกษาตอนต้น (หนู หนู กับ Zoo ใหม่) ประจำปีการศึกษา 2562 ระหว่างวันที่ 28-30 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 ณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1

หนา ที่ 1

สรุปการเรยี นรหู ลักสูตรการอบรมพ่เี ลยี้ งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

หนา ที่ 2

รายงานผลการอบรมหลักสตู รพ่เี ลย้ี งวิชาการดวยระบบทางไกล
ของคณะครโู รงเรียนอนุบาลชยั ภูมิ อําเภอเมืองชยั ภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

ระดับประถมศึกษาตอนตน (หนู หนู กับ Zoo ใหม)
ระหวางวันท่ี 28 – 30 มีนาคม 2562

ณ สํานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมชัยภูมิ เขต 1

ของ
นายธัชวุฒิ กงประโคน
ตาํ แหนง ครู อันดบั คศ.2
วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการ
โรงเรยี นอนุบาลชยั ภูมิ
สํานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สรปุ การเรยี นรูหลกั สูตรการอบรมพเี่ ล้ียงวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนาที่ 3

บันทึกขอ ความ
สว นราชการโรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ อาํ เภอเมือง จงั หวัดชยั ภูมิ
ที่ วนั ที่ เดอื น พ.ศ. 2562
เรือ่ ง รายงานผลการอบรมหลักสตู รพเ่ี ลย้ี งวิชาการดวยระบบทางไกล ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน
(หนู หนู กับ Zoo ใหม) ประจาํ ปก ารศึกษา 2562

เรยี น ผอู ํานวยการโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

ดวยขาพเจา นายธัชวุฒิ กงประโคน ตําแหนง ครู อันดับ คศ.2 วิทยฐานะ ครูชํานาญการ
ไดจัดทํารายงานผลการอบรมหลักสูตรพ่ีเลี้ยงวิชาการดวยระบบทางไกล ระดับประถมศึกษาตอนตน
(หนู หนู กับ Zoo ใหม) ประจําปการศึกษา 2562 ระหวางวันท่ี 28-30 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 ณ
สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ซ่ึงจากเขารวมอบรมดวยระบบทางไกลมี
รายละเอียดการแลกเปลย่ี นเรยี นรเู พอ่ื เพมิ่ พนู ประสบการณและองคความรใู นประเด็นดังตอไปนี้

1) เสวนาการจดั กจิ กรรมสะเต็มศึกษา
2) กิจกรรมสงสยั ใครรู เร่อื ง หาฉันใหเ จอ
3) กิจกรรมสงสยั ใครร ู เรอื่ ง จ๊ิกซอวหรรษา
4) กิจกรรมคนดเู รง เสาะหา เร่อื ง วางแผนการเดินทาง
5) กิจกรรมคน ดูเรงเสาะหา เรอ่ื ง พชื และสัตวร อบตัวเรา
6) กจิ กรรมคนดเู รง เสาะหา เรื่อง บริเวณท่ีพืชและสัตวอาศยั อยู
7) กจิ กรรมคน ดูเรงเสาะหา เร่ือง ถุงเครอื่ งเขียน
8) กจิ กรรมคน ดเู รง เสาะหา เร่อื ง นับดูรูจํานวน
9) กจิ กรรมคน ดูเรง เสาะหา เร่ือง ไดโนเสารท่ีหนคู ิดถึง
10) กิจกรรมแกปญหาอยางวศิ วกร กจิ กรรมหนหู นกู บั Zoo ใหม
11) กจิ กรรมMentoring
อน่ึงในการประชุม สัมมนาทางวิชาการในคร้ังน้ี ถือเปนการพัฒนาตนเองในอีกรูปแบบหน่ึง
และเปนการสรางชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) โดยใชเวลาในการพัฒนาตนเองและยกระดับ
ความรูความสามารถใหมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น จํานวน 3 วัน รวมทั้งส้ิน 18 ช่ัวโมง ซ่ึงขาพเจาจะนํามา
พัฒนานักเรียนในโรงเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา องคกร และสรางชุมชนแหงการเรียนรูทาง
วิชาชีพ (PLC) ทีม่ คี ุณภาพตอไป
บัดนไี้ ดด ําเนินการจดั ทําเสร็จส้ินเรียบรอยแลว จงึ เสนอรายงานผลการประชมุ สัมมนาทางวิชาการ
และการมอบรางวลั ฯ ตามท่ีแนบมาดว ยน้ี

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา

ลงชอื่ ..………………………….……………….
( นายธชั วฒุ ิ กงประโคน )

สรุปการเรียนรูหลกั สตู รการอบรมพ่ีเลีย้ งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ท่ี 4
ผูร ายงาน
ความเห็นของหัวหนากลุมงานวิชาการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ...............................................
(นางจีรนันท ปุมพิมาย)
ความเหน็ ของรองผูอํานวยการกลุมงานบรหิ ารวิชาการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
ลงช่ือ...............................................
( นางนวพร รกั ขนั แสง )
ความเหน็ ของผูอาํ นวยการโรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ...............................................
( นายใบบุญ บุญทน )

สรปุ การเรียนรูห ลกั สตู รการอบรมพ่ีเลีย้ งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ

หนาที่ 5

สรุปการเรียนรูหลกั สูตรการอบรมพเ่ี ลี้ยงวิชาการดว ยระบบทางไกล
ของคณะครโู รงเรยี นอนุบาลชัยภูมิ อําเภอเมอื งชัยภูมิ จังหวัดชยั ภูมิ

ระดับประถมศกึ ษาตอนตน (หนู หนู กบั Zoo ใหม)
ระหวางวนั ที่ 28 – 30 มีนาคม 2562

ณ สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมชัยภมู ิ เขต 1

ผเู ขารบั การอบรม
1. นายธัชวุฒิ กงประโคน ตําแหนง ครู สาขาวิทยาศาสตรศ กึ ษา

2. นางสาวสายไหม ใจดี ตาํ แหนง ครู สาขาคณิตศาสตร
3. นางอารยา วสุธนรัตนสกลุ ตําแหนง ครู สาขาคอมพิวเตอร

โรงเรยี นอนุบาลชัยภูมิ
สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 1

สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

สรปุ การเรยี นรูหลักสตู รการอบรมพี่เลยี้ งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนาท่ี 6

ครูพีเ่ ลี้ยงประจําศนู ยก ารอบรม ผูเ ขารับการอบรมครดู ว ยระบบ
ทางไกลสะเตม็ ศึกษา การอบรมครูดว ยระบบทางไกลสะเต็ม
ศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน (หนหู นกู บั Zooใหม)
ระหวางวนั ที่ 28-30 มีนาคม 2562
ณ สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมชยั ภูมิ เขต 1

ขอมูลครพู เี่ ล้ยี งประจาํ ศนู ย
ช่ือ-สกุล นายธชั วุฒิ กงประโคน
ตําแหนง ครู
วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการ
สาขา วิทยาศาสตรศ กึ ษา(ศษ.ม.)
โทรศพั ท 085-004-0991
อีเมล [email protected]
Facebook Krukan Thusshawoot
ID Line thukon
----------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอมูลครูพ่เี ล้ยี งประจาํ ศนู ย
ชื่อ-สกุล นางสาวสายไหม ใจดี
ตาํ แหนง ครู
วทิ ยฐานะ อนั ดบั คศ.1
สาขา คณิตศาสตร(คบ.)
โทรศัพท 089-580-5471
อเี มล [email protected]
Facebook Saimai jaidee
ID Line Saimai
----------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอมูลครูพเ่ี ลยี้ งประจําศนู ย
ชื่อ-สกุล นางอารยา วสธุ นรตั นส กลุ
ตําแหนง ครู
วิทยฐานะ ครชู ํานาญการ(คบ.)
สาขา คอมพิวเตอร
โทรศัพท 081-876-7671
อีเมล [email protected]
Facebook ครูเก อารยา อนบุ าลชัยภูมิ
ID Line Dakdaeaya18
----------------------------------------------------------------------------------------------------------

สรุปการเรียนรหู ลักสตู รการอบรมพี่เลย้ี งวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชัยภมู ิ

หนาท่ี 7
ครพู ี่เลย้ี งประจําศูนยก ารอบรม ผเู ขา รับการอบรมครดู วยระบบทางไกล
สะเตม็ ศึกษา การอบรมครดู วยระบบทางไกลสะเต็มศึกษา ระดับ
ประถมศกึ ษาตอนตน (หนหู นูกบั Zooใหม)
ระหวา งวันที่ 28-30 มนี าคม 2562
ณ สํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมชัยภมู ิ เขต 1

เอกสารประกอบการอบรม

สรุปการเรยี นรูห ลักสูตรการอบรมพี่เลย้ี งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

หนาท่ี 8

กาํ หนดการการอบรมครูดว ยระบบทางไกลสะเต็มศกึ ษาสําหรับครูพีเ่ ลีย้ งประจําศนู ยการอบรม
ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน (หนหู นกู บั Zooใหม)
ระหวางวนั ท่ี 28-30 มนี าคม 2562
ณ สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมชยั ภูมิ เขต 1
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
วันท่ี เวลา กจิ กรรมการอบรม
วนั ท่ี 1 09.00 – 09.20 น. พบผอู าํ นวยการ สสวท.
ของการอบรม 09.20 – 10.00 น. เสวนาการออกแบบกิจกรรมสะเต็มศึกษาสกู ารนําไปใชใ น
หอ งเรยี น
10.00 – 11.00 น. กจิ กรรมสงสยั ใครร ู เร่ือง หาฉันใหเจอ
11.00 – 12.00 น. กิจกรรมสงสยั ใครรู เรอ่ื ง จิ๊กซอวห รรษา
13.10 – 14.00 น. กิจกรรมคนดเู รง เสาะหา เรอ่ื ง วางแผนการเดินทาง
14.00 – 15.00 น. กิจกรรมคน ดเู รงเสาะหา เรอื่ ง พชื และสตั วรอบตัวเรา
15.00 – 16.00 น. ทบทวนบทเรยี น
วนั ที่ 2 09.00 – 10.00 น. กิจกรรมคน ดเู รง เสาะหา เรอื่ ง บรเิ วณท่พี ืชและสัตวอ าศัยอยู
ของการอบรม 10.00 – 11.00 น. กิจกรรมคน ดเู รงเสาะหา เรื่อง ถุงเครื่องเขยี น
11.00 – 12.00 น. กจิ กรรมคนดเู รง เสาะหา เร่ือง นบั ดูรจู ํานวน
กิจกรรมคนดูเรงเสาะหา เรือ่ ง ไดโนเสารท่หี นูคิดถงึ
13.10 – 15.00 น. กิจกรรมแกปญ หาอยางวิศวกร กิจกรรมหนูหนูกบั Zoo ใหม
15.00 – 16.00 น. ทบทวนบทเรียน
วนั ท่ี 3 09.00 – 10.30 น. กจิ กรรมแกปญหาอยา งวิศวกร กจิ กรรมหนูหนูกบั Zoo ใหม
ของการอบรม 10.30 – 12.00 น. กิจกรรมแกปญ หาอยางวิศวกร กจิ กรรมหนหู นกู บั Zoo ใหม
13.10 – 14.00 น. ทําโครงงานสะเต็มศึกษา
14.00 – 15.00 น. ทดสอบ

วางแผนการนําไปใช
1. วิเคราะหตวั ชี้วัดของแตละวิชา
2. วิเคราะหชุดกจิ กรรมสะเต็มศกึ ษา
3. วางแผนการนําไปใชในหองเรียน
4. จัดลาํ ดบั ของแตล ะกิจกรรมให สอดคลอง เชอื่ มโยงกนั

การนําไปใช
1. ครูแตล ะวชิ านาํ กิจกรรมท่เี กีย่ วขอ งไปสอนในคาบเรยี นปกติ
2. จัดกิจกรรมการเรยี นรูใหบ รรลตุ ัวชีว้ ดั ของแตล ะวชิ า และทา ทายดวยปญ หาเชิงสะเต็มศึกษา

สรปุ การเรียนรูหลกั สตู รการอบรมพี่เล้ยี งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชยั ภมู ิ

หนาท่ี 9
สรุปความรทู ไี่ ดจากการอบรม
เสวนาการจัดกจิ กรรมสะเตม็ ศกึ ษา
จดุ เดน ของกิจกรรมสะเต็มศึกษา
1. กิจกรรมไดรับการออกแบบ พัฒนา ทดสอบและปรับปรุงเพ่ือใหสามารถนําไปใชไดจริงใน
หอ งเรียน
2. สามารถพัฒนาความรูและทักษะตาง ๆ ของผูเรียนไดอยางเหมาะสมตามวัย ภายใตการ
ชว ยเหลือของผูส อน
3. กระตุนการคิดและแกปญหาโดยใชความรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และอ่ืน ๆ
รว มกับกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม อันนําไปสูการพัฒนาตอยอดจากการเรยี นรูของผเู รยี นอยาง
เตม็ ศักยภาพ
4. ฝง การประเมินระหวางเรยี น เพ่ือพัฒนาการเรียนรูของผเู รยี นตลอดกระบวนการเรยี นรู
5. มคี วามยืดหยุนในการนําไปใชใ นสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรยี นรูและตัวชี้วัด กลุมสาระ
การเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
6. การเชื่อมโยงสูอาชีพ ใหผูเรียนไดรูจักอาชีพท่ีตองใชความรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี และสรา งแรงบันดาลใจและเปาหมายในการมงุ สูอ าชพี
รปู แบบของชุดกจิ กรรมสะเต็มศึกษา ปการศึกษา 2562
1. สงสัยใครรู
เปนการเร่ิมตนการเรียนรูของผูเรียน ผานกิจกรรมตางๆ เพ่ือจะนําผูเรียนเขาสูบรรยากาศท่ี
เก่ียวของกับชุดกจิ กรรมนั้น เชน เทคโนโลยีที่เคยใช อาชีพในปจจุบัน ผูเรียนจะไดเ ก็บเกี่ยวแนวคิดดาน
S M T จนนําไปสสู ถานการณป ญ หาทอี่ ยูในสว นทา ยสดุ ของชุดกิจกรรม
2. คน ดูเรงเสาะหา
เปน สวนของการเรยี นรูแ นวคดิ พ้ืนฐานดาน S M T ตามท่รี ะบใุ นตัวชีว้ ัดของแตละกลุมสาระ ใน
หลกั สตู รแกนกลาง
3. แกปญ หาอยา งวศิ วกร
เปนการทาทายใหผูเรียนนําความรู S M T มาใชแกปญหาเชิง STEM ดวยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม ทั้งนี้อาจตองลงมือปฏิบัติเพ่ิมเติม เพ่ือไดแนวคิดที่จําเปนตองใชแกปญหาตาม
เง่ือนไข ที่กําหนด แนวคิดเพิ่มเติมนี้สามารถเรียนรูไดตามวัย ของผูเรียน และไมเกินจากหลักสูตรมาก
นกั

สรุปการเรยี นรูห ลกั สตู รการอบรมพ่เี ลีย้ งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนา ที่ 10
การออกแบบเชิงวิศวกรรม

จุดเดนที่ชัดเจนขอหน่ึงของการจัดการเรียน
การเรียนรูแบบสะเต็ม คือการผนวกแนวคิดการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรมเขากับการเรียนรูวิทยาศาสตร
คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ของผูเรียน กลาวคือ
ในขณะที่นักเรียนทํากิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู ความ
เขาใจ และฝกทักษะดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร
และเทคโนโลยี ผูเรียนตองมีโอกาสนําความรูมา
ออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อตอบสนองความ
ต อ ง ก า ร ห รื อ แ ก ป ญ ห า ท่ี เก่ี ย ว ข อ ง กั บ
ชีวิตประจําวัน เพื่อใหไดเทคโนโลยีซ่ึงเปน
ผลผลิตจากกระบ วนการออกแบ บ เชิง
วิศวกรรม (NRC, 2012) กระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรมประกอบดว ยองคป ระกอบ 6 ข้นั ตอน ไดแ ก
1.ระบุปญหา (Problem Identification)

เปนการทําความเขาใจปญหาหรือความทาทาย วิเคราะหเง่ือนไขหรอื ขอจํากัดของสถานการณ
ปญ หา เพื่อกําหนดขอบเขตของปญ หา ซึง่ จะนําไปสกู ารสรางชิน้ งานหรือวิธกี ารในการแกป ญ หา
2.รวบรวมขอมูลและแนวคดิ ทเี่ กี่ยวของกับปญหา (Related Information Search)

เปน การรวบรวมขอมลู และแนวคิดทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีท่ีเกยี่ วของกับ
แนวทางการแกปญ หาและประเมนิ ความเปน ไปได ขอ ดีและขอ จาํ กัด
3.ออกแบบวธิ ีการแกป ญ หา (Solution Design)

เปนการประยุกตใชขอมูลและแนวคิดที่เกี่ยวของเพ่ือการออกแบบชิ้นงานหรือวิธีการในการ
แกป ญ หา โดยคํานึงถงึ ทรัพยากร ขอ จาํ กัดและเงื่อนไขตามสถานการณท่ีกําหนด
4.วางแผนและดําเนินการแกป ญหา (Planning and Development)

เปนการกําหนดลําดับข้ันตอนของการสรางช้ินงานหรือวิธีการ แลวลงมือสรางช้ินงานหรือ
พัฒนาวิธกี ารเพ่ือใชใ นการแกป ญ หา
5.ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไขวิธีการแกป ญหาหรือช้ินงาน (Testing, Evaluation and
Design Improvement)

เปนการทดสอบและประเมินการใชงานของชิ้นงานหรือวิธีการ โดยผลท่ีไดอาจนํามาใชในการ
ปรับปรงุ และพัฒนาใหมปี ระสทิ ธภิ าพในการแกปญหาไดอยางเหมาะสมที่สดุ
6.นําเสนอวธิ ีการแกปญ หา ผลการแกปญหาหรอื ช้นิ งาน (Presentation)

เปนการนําเสนอแนวคิดและข้ันตอนการแกปญหาของการสรางช้ินงานหรือการพัฒนาวิธีการ
ใหผูอ ่นื เขา ใจและไดขอเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาตอ ไป

สรุปการเรยี นรูห ลกั สตู รการอบรมพี่เลย้ี งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนา ที่ 11

เน้อื หาทีเ่ กีย่ วของ
การวางแผนการทาํ งานอยางเปน ขน้ั ตอน
การจาํ แนกประเภทของสง่ิ ตางๆ
บริเวณท่สี ัตวและพชื อาศยั อยู
แผนภูมริ ูปภาพ

สรุปการเรยี นรูหลกั สูตรการอบรมพ่เี ลี้ยงวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

กิจกรรม หนาท่ี 12
รายละเอียดการจดั กจิ กรรม

สว นที่ 1 สงสัยใครร ู
สง่ิ ทไี่ ดจากการเรยี นรใู นกจิ กรรมนค้ี อื
นักเรยี นไดฝ กเปรยี บเทียบความเหมอื นความตา งของสง่ิ ของ
ตางๆ สามารถอานแผนผังเพ่ือจําแนกประเภทส่งิ ของตางๆ
และสามารถบอกประโยชนของการจาํ แนกประเภทสิ่งของ
ตางๆได ซึ่งกิจกรรมน้นี กั เรยี นไดฝก ทักษะท่จี าํ เปนขน้ั
พืน้ ฐานเบอ้ื งตนในการสํารวจตรวจสอบส่ิงของใกลตัวเพื่อ
จาํ แนกใหไดต ามสถานการณท่ีกาํ หนดไว

สิ่งทไ่ี ดจ ากการเรยี นรูในกิจกรรมนี้คอื
นกั เรียนไดฝ ก เปรียบเทียบความเหมอื นความตา งของส่งิ ของ
ตางๆ สามารถแกป ญ หาโดยใชก ารจาํ แนกประเภทและระบุ
เกณฑท่ใี ชใ นการจาํ แนกตามทักษะท่ีไดเ คยฝกเมื่อกจิ กรรม
ทแี่ ลงนอกจากน้สี ามารถแกไ ขปญ หาโดยการแสดงลาํ ดับ
ขั้นตอนอยางงา ยเพื่อท่จี ะนําทกั ษะเหลานี้ไปประยกุ ตใชใ น
กจิ กรรมถัดไปหลังจากนัน้ จึงใหน กั เรยี นบอกประโยชนข อง
การจําแนกประเทภของสง่ิ ตางๆจากกจิ กรรมและพยายาม
เช่ือมโยงกบั ชีวติ ประจําวันของนักเรยี นอีกดวย

สรปุ การเรียนรูหลกั สตู รการอบรมพเ่ี ลี้ยงวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

กิจกรรม หนา ท่ี 13
รายละเอียดการจัดกจิ กรรม
สว นท่ี 2 คน ดูเรงเสาะหา
สิง่ ท่ีไดจ ากการเรียนรูในกจิ กรรมนีค้ ือ
ในกจิ กรรมนีน้ ักเรียนไดฝก แกปญ หาโดยแสดงลําดบั ข้นั ตอน
ทช่ี ดั เจนและครบถว นตามเง่ือนไขท่ีกําหนดใหโดยนําแผนผัง
แสดงจดุ เริ่มตนและใหนกั เรยี นรว มกนั คิดและวางแผนแสดง
ลําดับข้ันตอนตามเงื่อนไขใหส ้ันและรวดเร็วท่สี ดุ และครบ
ตามเงอื่ นไงทีว่ างไว จากนนั้ ฝกใหน กั เรียนไดแลกเปล่ยี น
เรียนรูถึงวิธีการวางแผนของตนเองและเพ่ือนๆกลมุ อื่นๆ
และชว ยกนั สาํ รวจตรวจสอบความเปนไปไดรวมกัน
จากกิจกรรมดังกลา วฝก ใหนักเรยี นรูจังวางแผนและนํา
เง่ือนไขท่ีกําหนดมาแสดงวธิ ีการท่เี หมาะสมเพ่ือตอบปญ หา
สถานการณน ้นั ๆได

หลงั จากทไ่ี ดศกึ ษากจิ กรรมแลว ตอ งแสดงลําดบั ข้นั ตอนลง
ในบัตรคําส่งั ใหถูกตอง

สรุปการเรียนรูหลกั สูตรการอบรมพีเ่ ลย้ี งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชัยภมู ิ

กิจกรรม หนาที่ 14
รายละเอียดการจดั กิจกรรม
ส่ิงท่ไี ดจากการเรียนรูในกิจกรรมนคี้ อื
ในกจิ กรรมน้ีนักเรียนไดฝกทักษะเชน เดมิ เชน เดยี วกันกับ
กิจกรรมแรกกอนหนา น้ีแตเ พิ่มเติมถงึ เงื่อนไขท่ซี บั ซอนข้ึน
สรา งความทา ทายและฝกการคิดและวางแผนมากขึ้น ดวย
การกาํ หนดระยะทางที่สนั้ ท่สี ุด

หลงั จากทไ่ี ดศึกษากจิ กรรมสรางสถานการณต ามคําสั่งท่ี
กาํ หนดใหแลว นักเรยี นจะตอ งแสดงลําดับข้ันตอนลงใน
บตั รคาํ ส่งั ใหถูกตอง
สง่ิ ทไ่ี ดจากการเรยี นรูในกจิ กรรมน้คี ือ
ในกิจกรรมน้นี ักเรียนไดฝ ก ทักษะเชน เดิมเชนเดียวกนั กับ
กิจกรรมแรกกอนหนาน้ีแตเ พ่ิมเติมถงึ เงอื่ นไขทซี่ บั ซอนขึน้
สรา งความทาทายและฝกการคิดและวางแผนมากขึน้

สรุปการเรียนรหู ลกั สตู รการอบรมพเี่ ลย้ี งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ

กิจกรรม หนา ที่ 15
รายละเอยี ดการจัดกจิ กรรม

หลังจากทีไ่ ดศึกษากจิ กรรมสรางสถานการณต ามคําส่งั ที่
กาํ หนดใหแ ลว นักเรยี นจะตองแสดงลําดบั ขัน้ ตอนลงใน

บัตรคาํ ส่งั ใหถูกตอง
สงิ่ ทีไ่ ดจากการเรยี นรูในกจิ กรรมนคี้ ือ
ในกิจกรรมนีน้ ักเรยี นไดฝกทักษะการสังเกตเพ่ือสาํ รวจและ
บอกชื่อพืชและสัตวท่ีอาศัยอยูใ นบรเิ วณทีก่ าํ หนด และบอก
สภาพแวดลอ มท่ีเหมาะสมตอ การดํารงชีวติ ของพชื และสตั ว
ในแตละบริเวณท่ีสาํ รวจ ซึ่งนักเรยี นตองออกไปเรยี นรนู อก
หอ งเรยี นครจู ึงจาํ เปน ตอ งชี้แจง กฎ กติกาในการทํา
กจิ กรรมและการทาํ กิจกรรมนอกหองเรียนใหช ัดเจนเพื่อให
นักเรยี นมุงประเด็นเฉพาะการสาํ รวจในส่ิงทไี่ ดรบั มอบหมาย
ใหน น้ั ทนั ตามเวลาที่กาํ หนดไว
นกั เรียนไดฝ ก สํารวจและวาดภาพประกอบการสงั เกตซึ่งจะ
ชวยฝก ใหน ักเรยี นเปน ผูเกบ็ รายละเอียดและรวบรวมขอมลู
ทีด่ ีในระดับข้นั พื้นฐานและนาํ ส่งิ ที่ไดจ ากการสาํ รวจน้ไี ป
แลกเปลย่ี นเรียนรรู ว มกนั ในช้ันเรียนและประมวลผลดวย
การบอกหรอื อธบิ ายสภาพแวดลอมทีเ่ หมาะสมตาม
ความคิดเหน็ ของตนเองกับเพื่อนๆในชน้ั เรียนได

สรปุ การเรยี นรูหลกั สูตรการอบรมพี่เล้ยี งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชยั ภมู ิ

กจิ กรรม หนาท่ี 16

รายละเอียดการจัดกิจกรรม
ส่งิ ทไี่ ดจ ากการเรยี นรูในกจิ กรรมน้ีคือ
หลังจากท่ีไดกจิ กรรมกอนหนาน้ีแลว นน้ั ในกิจกรรมนี้
นักเรียนไดฝกทกั ษะการสังเกตสิ่งแวดลอ มและระบุช่ือพืช
และสตั วท อ่ี าศัยอยูในส่ิงแวดลอมนั้นๆ บอกสภาพแวดลอม
ทเ่ี หมาะสมตอ การดํารงชวี ิตของพืชและสัตวใ นแตล ะบรเิ วณ
นั้น บอกผลของการเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอมในแหง ท่ีอยู
ตอ การดํารงชีวิตของพชื และสัตวท ีอ่ าศัยอยูในบรเิ วณนัน้ ๆ
และยงั สรางความตนื่ เตนดว ยการใช AR มาเปน สวนหน่ึง
ของการเรยี นรนู ้ี ซ่งึ แสดงใหเ หน็ วา สามารถนําเทคโนโลยีมา
ชวยสงเสริมการเรยี นรูแ ละสรางแรงบนั ดาลใจในการเรยี นรู
ของผเู รยี นไดเ ปน อยางดี
นักเรยี นไดฝ ก สาํ รวจ สังเกตสัตวท ีอ่ ยใู นสภาพแวดลอมท่ี
กาํ หนดใหแลวนาํ มาประมวลผลสรปุ เปน ขอ มูลตามแนวทาง
ท่ไี ดว างไวใ นระดบั เบื้องตน

ภาพ AR จระเขและนกแกว ท่ีชว ยสงเสรมิ การเรียนรขู อง
ผูเรยี น ซึ่งจะชว ยใหน กั เรยี นเกดิ ความเขา ใจมากยงิ่ ขึน้ วา
สัตวแตล ะชนดิ มคี วามแตกตางกันและอาศัยอยใู น
สภาพแวดลอมท่ีแตกตางกันเพอ่ื ใหส ามารถดํารงชีวติ ได
อยา งเหมาะสม

ภาพวาดและระบายสีกอนสองดูภาพ AR

สรุปการเรยี นรหู ลักสูตรการอบรมพ่ีเลยี้ งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชยั ภมู ิ

กจิ กรรม หนา ที่ 17
รายละเอียดการจัดกจิ กรรม
ภาพ AR ปลานีโม และลงิ ทช่ี วยสง เสรมิ การเรียนรขู อง
ผเู รียน ซ่งึ จะชวยใหน ักเรยี นเกดิ ความเขาใจมากย่งิ ขน้ึ วา
สัตวแ ตละชนดิ มคี วามแตกตา งกันและอาศัยอยใู น
สภาพแวดลอ มท่ีแตกตางกนั เพ่อื ใหสามารถดํารงชวี ิตได
อยา งเหมาะสม

ภาพวาดและระบายสกี อนสอ งดภู าพ AR
ภาพ AR หมีแพนดา ท่ีชว ยสงเสรมิ การเรียนรูของผเู รยี น ซง่ึ
จะชว ยใหน กั เรียนเกิดความเขาใจมากยิง่ ขึน้ วา สตั วแตล ะ
ชนดิ มีความแตกตางกันและอาศยั อยใู นสภาพแวดลอมท่ี
แตกตางกนั เพื่อใหสามารถดํารงชีวติ ไดอยา งเหมาะสม

ภาพวาดและระบายสกี อนสอ งดภู าพ AR
ส่ิงทไ่ี ดจ ากการเรยี นรูใ นกิจกรรมนี้คอื
ในกิจกรรมน้นี ักเรยี นไดฝ ก ทักษะการจําแนกสงิ่ ของออกเปน
ประเภทตา งๆ ตามเกณฑทก่ี าํ หนดข้นึ และบอกจาํ นวนของ
สิ่งของแตละประเภท ซึ่งเรมิ่ จากกจิ กรรมงายๆดวยการนาํ
ของใกลตัวมาจดั จําแนก ดว ยการต้งั คําถามถงึ ส่งิ ที่
เหมือนกนั และแตกตา งกันพรอมทงั้ นับจาํ นวน เปรียบเทียบ
และนําขอมูลท่ีไดน้นั มาบนั ทึกผลลงในตารางเพือ่ แสดงให
เห็นภาพของขอมลู ที่ไดจดั กระทาํ มากยงิ่ ข้นึ

สรปุ การเรียนรูห ลักสูตรการอบรมพ่ีเลยี้ งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชัยภมู ิ

กจิ กรรม หนาที่ 18
รายละเอยี ดการจัดกิจกรรม
ตารางบันทกึ ผลขอมูลของการนับจํานวนยางลบ โดย
นักเรียนไดรว มกนั สงั เกตและจาํ แนกขอมูลรวมกันภายใน
กลมุ ถึงสิง่ ที่เหมือนกันและแตกตา งกนั พรอมท้ังนับจาํ นวน
เปรยี บเทียบและนาํ ขอมูลทีไ่ ดนัน้ มาบนั ทกึ ผลลงในตาราง
เพอื่ แสดงใหเหน็ ภาพของขอมูลทีไ่ ดจัดกระทํามากย่ิงขึ้น

ตารางบนั ทกึ ผลขอมูลปากกาและดินสอ ซงึ่ เปน ส่ิงทใี่ ชเขยี น
ทมี่ รี ูปรา งลกั ษระทแ่ี ตกตางกัน นักเรยี นไดรวมกันสังเกต
และจําแนกขอมูลรว มกนั ภายในกลุม ถงึ สิ่งที่เหมือนกนั และ
แตกตางกันพรอมทงั้ นับจาํ นวน เปรียบเทยี บและนําขอ มูลที่
ไดน น้ั มาบนั ทกึ ผลลงในตารางเพื่อแสดงใหเ ห็นภาพของ
ขอ มูลที่ไดจัดกระทาํ มากยิ่งขึ้น
ส่ิงท่ไี ดจ ากการเรยี นรูในกิจกรรมนี้คอื
หลงั จากท่ีไดเรยี นรทู กั ษะเบ้ืองตนเก่ยี วกับการจัดกระทาํ
ขอ มลู ในกจิ กรรมท่ผี า นมานั้น ในกจิ กรรมนี้นักเรียนไดฝก
ทกั ษะเพ่ิมเตมิ จากการจาํ แนกสงิ่ ของออกเปน ประเภทตา งๆ
ดวยการนาํ เสนอขอมลู ท่ีกําหนดใหใ นรปู ตาราง จากการ
จาํ แนกสงิ่ ของออกเปน ประเภทตา งๆและจากการนบั ซ่ึงใน
กิจกรรมนี้พยายมเนน ย้ําซา้ํ ทวนดวยการนาํ เสนอ
สถานการณที่หลากหลาย

สรปุ การเรยี นรูห ลกั สตู รการอบรมพีเ่ ลีย้ งวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

กจิ กรรม หนา ท่ี 19
รายละเอียดการจดั กิจกรรม
นกั เรียนไดฝก การนับจาํ นวนลูกปลาสตี างๆ แสดงวธิ กี ารนับ
และเปรยี บเทียบ

การฝกการนับจํานวน จะเรมิ่ จากส่ิงที่ใกลต วั และคอยๆเพ่ิม
ความซับซอนใหม ากยิง่ ขึ้น

นักเรยี นไดฝกการนบั จํานวนแมลงชนดิ ตา งๆ แสดงวิธีการ
นบั และเปรียบเทียบ

สิ่งทไ่ี ดจากการเรียนรใู นกจิ กรรมน้ีคือ
ในกจิ กรรมนนี้ ักเรียนไดฝ กทักษะในดานการอานขอมลู ท่ี
นําเสนอดว ยแผนภูมริ ปู ภาพ สามารถนาํ เสนอขอ มลู ดว ย
แผนภูมิรูปภาพ โดยใชขอมูลและรูปภาพที่กําหนดให ใช
ขอ มูลจากแผนภูมริ ูปภาพในการหาคาํ ตอบของโจทยปญ หา
เมอ่ื กําหนดรปู 1 รปู แทน 1 หนว ย
ซึง่ สง่ิ ทเี่ นนยํ้าในการจัดทาํ แผนภูมิรปู ภาพกับนักเรยี นนั้นคือ
ตองตัง้ ชื่อแผนภมู ิใหถ ูกตอง กําหนดชือ่ สง่ิ ที่ตองการ
นําเสนอ และจํานวนขอมูลลงในตารางใหถูกตอง
และกาํ หนดขอ กําหนดเพ่อื แทนจํานวนของสิ่งท่ตี องกา
นาํ เสนอในแผนภมู ิรูปภาพ

สรปุ การเรียนรหู ลกั สตู รการอบรมพเี่ ลยี้ งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ

กิจกรรม หนา ท่ี 20
รายละเอียดการจดั กิจกรรม
ในกจิ รรมนจ้ี ะเริ่มตน จากตั้งคําถามจากรูปภาพที่วางรปู สัตว
ใหไ มต รงกันเพ่ือใหนักเรียนสังเกต เพื่อจะนาํ ขอมลู น้นั ไป
สรปุ ใหไ ด การจดั วางตาํ แหนงขอมลู ใหตรงกนั เพื่อใหง า ยตอ
การนบั และจัดกระทําขอมูล
ซึ่งนอกจากนใ้ี นการจดั ทําขอ มลู ในรูปแบบของแผนภูมิ
รูปภาพไมจ าํ เปนตอ งใสร ปู แทนจาํ นวนสิ่งของหรือสตั วกไ็ ด
ขอใหเราสามารถระบุชอ่ื สิ่งของหรือสตั วน ้ันใหตรงตาํ แหนง
แลว ใชสัญลกั ษณอ่ืนระบุจาํ นวนไดเชนเดยี วกนั

ฝก ใหนักเรียนนบั จํานวนไดโนเสารแลว นําขอมูลที่นบั ไดล ง
ในแผนภมู ริ ปู ภาพ โดยตอ งกําหนดช่ือแผนภูมิรูปภาพและ
กาํ หนดหนวยใหถ กู ตอ ง

ฝกใหน กั เรยี นศึกษาแผนภูมิรูปภาพและทําการตอบคําถาม
ที่กาํ หนดใหใหถกู ตอง
ซึ่งสงิ่ ทตี่ อ งการใหน ักเรียนสังเกตแผนภูมิรปู ภาพนี้คอื การ
กําหนดชื่อสัตวอ าจจะวาดรูปหรือเขยี นเปน ขอความก็ได
และจาํ นวนสตั วท ่พี บในตารางจะใชว ธิ กี ารวาดภาพสัตวช นดิ
น้นั ๆเพ่ือแสดงจํานวนสตั ว และจะตองวาดใหตําแหนง
ตรงกนั เพ่ือใหงายในการนับและเปรียบเทยี บขอมูล

สรปุ การเรยี นรูหลักสตู รการอบรมพี่เลย้ี งวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชยั ภมู ิ

กจิ กรรม หนาท่ี 21

รายละเอียดการจดั กจิ กรรม
ฝกใหนกั เรยี นศึกษาแผนภูมิรูปภาพและทําการตอบคําถาม
ทีก่ าํ หนดใหใ หถูกตองเชนเดียวกนั กับแบบฝกหดั ชุดท่ี
แลว แตเ พ่ิมความซบั ซอนใหมากยิ่งขึ้น
ซ่งึ สิ่งทตี่ อ งการใหนักเรียนสงั เกตแผนภมู ริ ูปภาพนี้คอื การ
กาํ หนดชือ่ ส่ิงของทตี่ องการจําแนกพรอมวาดรูปประกอบ
และจํานวนของสงิ่ ของที่พบในตารางจะใชวธิ ีการวาดภาพ
โดยใชส ญั ลกั ษณชนิดเดียวกัน แตท าํ คนละสีเพ่ือใหสังเกตได
งา ยขึน้ และยังคงตองจดั ใหสญั ลกั ษณท ี่กาํ หนใหนัน้ วางให
ตาํ แหนงตรงกันเพ่ือใหงา ยในการนบั และเปรียบเทยี บขอมูล
อกี ทั้งแผนภูมิดงั กลา วยงั สามารถทาํ ไดท ัง้ ในแบบแนวตง้ั
และแนวนอน
คําถามทา ยแผนภมู กิ จ็ ะมีความซับซอ นและแสดงถงึ
ความสมั พันธของขอ มูลมากยิ่งขน้ึ ฝกใหน กั เรียนคิดและ
เปรียบเทียบขอมูลเชงิ สถติ ิ คิดวิเคราะห สงั เคราะหข อมลู
ออกมาอยางมเี หตุมีผล โดยยึดขอมลู ในแผนภมู เิ ปน หลัก

สวนที่ 3 แกป ญหาอยางวิศวกร
สิ่งท่ไี ดจ ากการเรียนรใู นกิจกรรมน้คี ือ
นักเรียนไดฝกทกั ษะการสังเกต สํารวจ สามารถบอกชือ่ พชื
และสตั วท ่อี ยูในบริเวณตางๆ ได และยงั สามารถบอก
สภาพแวดลอ มทีเ่ หมาะสมตอ การดาํ รงชีวติ ของพชื และสัตว
ในแตละบรเิ วณที่อาศยั อยูไดวามคี วามสัมพนั ธก นั อยา งไร
นอกจากนีน้ กั เรยี นสามารถจัดพืชและสัตวใหอยูในบรเิ วณที่
มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการดาํ รงชีวติ ซง่ึ ในการ
ดาํ เนนิ กจิ กรรมสรางสวนสตั วน ้ันนกั เรยี นไดฝ ก แกป ญหา
โดยการแสดงลําดับขน้ั ตอนที่ชัดเจนและครบถว นตาม
เงอื่ นไข แกปญหาในสถานการณท ีก่ าํ หนดใหโ ดยใชแ ผนภูมิ
รปู ภาพ ดําเนนิ การวิเคราะหสถานการณปญ หา ออกแบบ

สรปุ การเรียนรหู ลกั สูตรการอบรมพ่ีเลี้ยงวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ

กิจกรรม หนาที่ 22
รายละเอียดการจดั กจิ กรรม
และนําเสนอแนวทางการแกปญหา ทดสอบ ปรับปรุง แกไ ข
และประเมนิ ความสาํ เร็จของผลงานของตนเองได

นกั เรยี นฝกทักษะการฟง จากเรอื่ งทคี่ รูอา นใหฟงจากนัน้
ดาํ เนนิ การตามคาํ สง่ั ท่ีปรากฏในใบกจิ กรรมเพื่อจะนําไปสู
การสรา งสวนสตั วต อ ไป
แสดงทศิ ทางการเดนิ ภายในสวนสัตวและมีจุดชมสัตวช นดิ
ตา งๆ ซ่ึงนักเรยี นจะตองฝกวางใหถกู ตองตามแนวทางของ
แบบฝกหดั นี้

สรปุ การเรยี นรูหลักสูตรการอบรมพ่ีเล้ยี งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ

กจิ กรรม หนาที่ 23
รายละเอียดการจัดกิจกรรม
แสดงทิศทางการเดินภายในสวนสัตวแ ละมีจดุ ชมสตั วช นดิ
ตา งๆซ่ึงนักเรียนจะตองฝกวางใหถกู ตองตามแนวทางของ
แบบฝก หัดน้ี

หลักจากท่นี ักเรียนไดวางแผน ออกแบบและสรา งสวนสตั ว
ของกลุมตนเองแลว น้นั ในการตรวจสอบการสรางสวนสตั ว
เพ่ือใหไ ดรูปแบบเดียวกันจงึ จําเปน ตองสรางแบบวัดตาม
รายละเอยี ดจากขอมลู ที่กาํ หนด

สรุปการเรียนรูหลกั สูตรการอบรมพ่เี ลี้ยงวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

กิจกรรม หนา ท่ี 24
รายละเอยี ดการจัดกจิ กรรม
นกั เรยี นดาํ เนนิ การวางแผนและสรางสวนสัตวโ ดยตอ งวาง
แผนผังการเดนิ ทางตั้งแตทางเขา และทางออกใหถูกตอง
และจะตองมจี ุดชมววิ สัตว และสตั วท่ีพบในสวนสตั วต อ งมี
มากกวา 10 ชนิดขนึ้ ไป จากน้ัน นกั เรียนจดั สภาพแวดลอม
ใหเ หมาะสมกับสัตวเหลานน้ั ใหส ามารถอยูในสวนสัตวไ ด
อยางเหมาะสมปลอดภัยอีกทั้ง สัตวแตล ะชนดิ นน้ั หาก
สามารถอยูบรเิ วณเดียวกันหรือสภาพแวดลอมเดยี วกนั ได
จะตองจัดวางตําแหนง อยางไร นกั เรยี นจะตองฝกวิเคราะห
และสรางสวนสัตวออกมาแลว นาํ สวนสตั วท่ไี ดสรางข้นึ มา
น้ันออกมานาํ เสนอแลกเปลย่ี นเรยี นรภู ายในช้นั เรียนตอไป

ปญ หาและอุปสรรค
1) อปุ กรณสาํ หรับการฝก อบรมของศูนยที่รบั ผิดชอบยังมาไมถึง ตอ งไปขอรรวมทาํ กิจกรรมกบั
ศูนยอ ่นื
2) ระบบการถายทอดสญั ญาณเครือขา ยตดั ขัดในบางคร้ัง แตดขี น้ึ กวา ครง้ั แรกเม่ือปท ่ผี านมา

ขอเสนอแนะ
1) ครพู เ่ี ล้ยี งประจาํ ศูนย ในแตล ะระดับชัน้ ควรมีโอกาสรวมกนั สรางความเขาใจในเรือ่ งของ
ระดับชน้ั อนื่ ๆดว ยเพอ่ื นาํ ไปชวยเหลือกนั ในชวงท่ีรับมอบหมายใหเ ปน ครูพ่ีเลีย้ งฝกอบรมครู
ประจาํ ศนู ย
2) ควรมีการอัพโหลด VDO การอบรมหลังจากอบรมเสร็จในแตละวนั เพอื่ ใชใ นการทบทวน
3) ควรเพิม่ เติมชุดฝก อบรมสําหรบั ครูพเี่ ล้ียงอีก 1 ชุด นอกเหนือจากชดุ ฝก อบรมสาํ หรับครู
4) การสรุปความรใู นแตละวันนอกจากจะใหค ุณครูแตละภาคไดมีสว นรวมในการสรุปแลวทาง
วทิ ยากรสวนกลางควรมกี ารสรุปเนนยํา้ ดวยอีกคร้ังหนึ่งเพื่อใหขอมลู ที่ไดไมกวา งหรอื จบั
ประเด็นไมไ ดจ นเกินไป

สรุปการเรียนรหู ลกั สูตรการอบรมพ่ีเลี้ยงวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

หนา ที่ 25
ขอ มูลประกอบการศกึ ษาเพิ่มเตมิ
การคิดเชิงคํานวณ (computational thinking)
การคดิ เชิงคํานวณ (computational thinking) คือกระบวนการแกปญหาในหลากหลาย
ลักษณะ เชน การจดั ลําดับเชิงตรรกศาสตร การวเิ คราะหขอมูล และการสรางสรรคว ธิ ีแกป ญหาไปทีละ
ข้นั ทีละตอน(หรือท่เี รียกวา อัลกอรทิ ่ึม) รวมท้ังการยอยปญ หาท่ชี วยใหร บั มือกับปญหาที่ซับซอนหรือมี
ลกั ษณะเปนคาํ ถามปลายเปดได วธิ ีคิดเชิงคาํ นวณมีความจําเปน ในการพฒั นาแอพพลเิ คชัน่ ตา งๆ
สําหรบั คอมพวิ เตอร แตในขณะเดยี วกัน วธิ ีคิดน้ยี ังชวยแกปญหาในวิชาตา งๆ ไดดวย ดงั นัน้ เอง เมื่อมี
การบรู ณาการวธิ คี ิดเชิงคํานวณผานหลักสูตรในหลากหลายแขนงวชิ า นักเรียนจะเหน็ ความสัมพันธ
ระหวา งแตล ะวชิ า รวมทั้งสามารถนาํ วธิ ีคิดทเี่ ปน ประโยชนน ้ี ไปใชแ กป ญ หาในชีวิตจริงไดในระยะยาว
สรุปคาํ จํากัดความของการคดิ เชงิ คํานวณ
• ไมไ ดจาํ กดั อยเู พยี งการคดิ ใหเ หมือนคอมพิวเตอร
• ไมไ ดจ าํ กัดอยเู พยี งการคิดในศาสตรของนกั วทิ ยาศาสตรคอมพวิ เตอร
• แตเ ปนกระบวนการคดิ แกป ญหาของมนษุ ย เพ่ือส่งั ใหคอมพิวเตอรท ํางานและชวย
แกปญ หาตามท่เี ราตองการไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
• วิธคี ดิ เชิงคํานวณ ชวยทําใหป ญ หาทซี่ บั ซอนเขาใจไดง ายข้นึ เปน ทักษะท่เี ปน ประโยชน
อยา งยิง่ ตอทุกๆ สาขาวิชา และทกุ เร่ืองในชวี ิตประจาํ วนั
นิยามของ Computational Thinking หรือแนวคิดเชิงคํานวณ มนั มีหลายนยิ ามนะ แตทั้งน้ี
ท้ังน้นั แนวคดิ น้ีจะประกอบดวยแนวคิดยอ ย 4 อยา งดงั ตอนี้
1) Decomposition
2) Pattern recognition
3) Algorithm
4) Abstract thinking

แผนภาพแสดง แนวคดิ เชิงคาํ นวณ (Computational Thinking)

สรปุ การเรียนรหู ลกั สูตรการอบรมพี่เล้ียงวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนาที่ 26

1) Decomposition “การแยกสวนประกอบ และการยอยปญหา”
Decomposition เปน การพิจารณาเพ่ือแบง ปญหา หรืองานออกเปน สว นยอ ย ทาํ ใหส ามารถ

จดั การกบั ปญหาหรืองานไดง ายข้นึ พูดงายๆ เอาปญหามาแยกยอยออกเปนสว นๆ
ตัวอยางการนาํ แนวคดิ นไ้ี ปใชต อนเขยี นโปรแกรม
เชน การเขียนโปรแกรมแยกเปน สวนๆ แยกเปนแพ็กเกจ แยกเปนโมดูล หรอื ทําระบบเปน

services ยอยๆ หรือมองเปน layer เปน ตน
ตัวอยางการนําไปใชน อกจากเขยี นโปรแกรม
- เราจะเรียนรวู า จักรยานทาํ งานอยางไร? ก็ใหพจิ ารณาแยกชิ้นสว นจกั รยานวา มีอะไรบา ง แลว

กไ็ ปศึกษาทลี ะชิน้
- เราจะเดินทางไปเทย่ี วหาดใหญ จะวางแผนเดินทางอยางไร? ซง่ึ เราอาจแยกยอยวธิ เี ดนิ ทาง

เปน 4 รปู แบบ เชน ขับรถไปเอง หรอื นงั่ รถทวั ร หรือนัง่ เครอื่ งบิน หรอื น่ังรถไฟ จากน้นั ก็มาวิเคราะหถ งึ
ขอดีขอเสยี แตละวิธีการ

- จักรยานคันหนึง่ ถา เราจะศึกษามนั ก็จะมองไดว า ประกอบไปดวย ลอ แฮนด โครงจักรยาน
ระบบขับเคลือ่ น หรอื อนื่ ๆ ถามองในรายละเอียดของลอจักรยานจะเหน็ วาประกอบดวย ยางลอ วงลอ
และซ่ีลวด เปน ตน

- รฐั บาลจะปฏริ ูปประเทศไทย กจ็ ะนาํ ปญ หาประเทศมาแยกยอยออกเปน ปฏิรูป 11 ดา น
จากนน้ั จึงไปปฏิรูปปญ หายอยทีละดา น
2) Pattern recognition “การหารปู แบบ”

Pattern recognition เปนทกั ษะการหาความสมั พนั ธทีเ่ กี่ยวของ แนวโนม และลักษณะทว่ั ไป
ของสิง่ ตาง ๆ

ตัวอยา งการนําแนวคดิ นี้ไปใชต อนเขยี นโปรแกรม
เม่ือมีการทาํ งานของโปรแกรมท่ีหลากหลายแบบ แตทวามรี ปู แบบทแี่ นน อนซ้ําๆ กัน เรา

สามารถยุบโคดมาอยใู นฟงกช ั่นเดียวกนั ไดหรือไม หรือเขียนเปน โปรแกรมวนลปู ใหอยูใ นลปู เดียวกัน
เปน ตน

ตวั อยางการนาํ ไปใชนอกจากเขียนโปรแกรม
– จัดหมวดหมสู ัตวท ่ีคลา ยคลึงกัน ใหอ ยู

ในสปชสี เดยี วกนั เพือ่ ใหง ายตอการศกึ ษา
– หาพฤตกิ รรมการบรโิ ภคของคน วานิยม

ซ้ืออะไร ชวงเวลาไหน มรี ูปแบบพฤติกรรมซํา้ ๆ
อะไรบาง

– ลองดูตวั อยางจากรูปขา งลา ง แลว ให
ลองระบุสง่ิ ของทเ่ี หมือนหรือแตกตางกัน

จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาการคํานวณบทที่ 1 ชั้น ม.4

สรุปการเรียนรหู ลักสูตรการอบรมพเี่ ลีย้ งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนาที่ 27
3) Algorithm “ข้นั ตอนวธิ ี”

Algorithm คอื ลําดบั ขนั้ ตอนในการแกป ญหาหรือการทาํ งานทชี่ ัดเจน การคดิ คน อธิบาย
ขัน้ ตอนวิธีในการแกปญหาตา ง ๆ

ตัวอยางการนาํ แนวคิดน้ไี ปใชต อนเขยี นโปรแกรม
สาํ หรบั คนเขยี นโปรแกรม คงรูจักกนั ดีไมต องอธิบายมาก เชน

-จะคาํ นวณหาพ้ืนทเ่ี สนรอบวง ตองมสี เตปคํานวณอยา งไรบาง
-จะคน หาขอมูลแบบ binary search ตอ งมขี ั้นตอน 1,2,3 อยางไรบาง
-จะหาเสนทางที่ใกลสดุ ในกราฟ ดว ยวิธี Dijkstra จะมีข้นั ตอน 1,2,3 อยางไรบาง
ตวั อยางการนําไปใชน อกจากเขยี นโปรแกรม
-จะวางแผนจบี สาว มีขน้ั ตอนอยางไร?
-จะไปเที่ยวเขาใหญ ตองวางแผนวาในแตล ะวันทาํ อะไรบาง เทย่ี วไหน กินขา วที่ไหน มีลาํ ดับ
ตามชว งเวลา?
-จะเตน เพลงคุกกเ้ี สย่ี งทาย ตองมเี สตป 1, 2, 3 อยา งไร?
4) Abstract thinking “การคดิ เชิงนามธรรม”
Abstract thinking เปนกระบวนการคดั แยกคณุ ลักษณะที่สําคญั ออกจากรายละเอียดปลีกยอย
ในปญ หา หรอื งานทกี่ ําลังพจิ ารณา เพ่ือใหไ ดขอมลู ทจี่ ําเปน และเพยี งพอในการแกป ญหา
ตวั อยางการนาํ แนวคิดนไ้ี ปใชต อนเขยี นโปรแกรม
- จากโจทยป ญหาเขยี นโปรแกรมทด่ี ยู งุ ยาก สามารถทาํ ใหงา ยข้ึนดว ยการสกัดเอาลัษณะสาํ คญั
ออกมาวาดเปน Object ใช Class diagram ลากเสนแสดงความสมั พันธกัน จากนัน้ ก็เริม่ เขยี น
โปรแกรมเปนแบบเชิงวตั ถุ เปนตน
- ถาเราจะสง ขอมลู ขาม network แลว เขียนโปรแกรมหาระยะทางสั้นท่สี ดุ ตองทําอยา งไร?
วิธีคิดก็จะสกัดรายละเอียดสําคัญออกมา เชน server ก็วาดเปนโหนด แลวมีเสนเชื่อมระหวางโหนด
พรอมระบุระยะทางบนเสน พอคิดแบบเชิงนามธรรมไดแลว ก็จะไดงายมากที่จะเอาทฤษฏีกราฟมา
คํานวณหาระยะทางสน้ั ทีส่ ุด เปนตน
ตวั อยางการนําไปใชน อกจากเขยี นโปรแกรม
– เราจะดูแผนทปี่ ระเทศไทย เพ่อื เที่ยวภาคเหนอื ถาดเู ตม็ รูปแบบ จะยงุ ยาก งงตาลาย มีหลาย
เสนทางเยอะไปหมด แตเราสามารถแกป ญ หา โดยตัดรายละเอยี ดสว นเกนิ ท้ิง เอาสถานทแี่ ละเสนทางท่ี
สาํ คญั ทจี่ ะใชเ ดินทาง มาวาดใสกระดาษก็พอ
ลองนกึ ถึงตัวอยา ง เวลาเราดูภาพเสนทางรถไฟฟา BTS จาก Google map? ขางลาง เพื่อใช
เดนิ ทาง ก็อาจตาลายเพราะมีรายละเอียดที่ไมจําเปนเกินมา รกสายตาย เชน เสน ทางถนน อาคาร
สถานท่ี วดั วาอาราม ฯลฯ

สรุปการเรยี นรูหลกั สตู รการอบรมพีเ่ ล้ียงวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ที่ 28
ภาพจาก Google Map
ดว ยวิธคี ิดแบบ Abstract thinking เราตดั รายละเอียดท่ีไมจ ําเปนทงิ้ เลือกเอาสิ่งที่สนใจคือ
เสนทางเดนิ รถ BTS เทานน้ั แลว นํามาวาดรูปใหมไ ดดงั รปู ขางลาง

ภาพจาก http://www.bts.co.th/customer/th/images/Master_RouteMap.jpg
หรอื ตัวอยา งวงจรไฟฟาในรปู ขางลาง ถา คดิ แบบ?Abstract thinking เราก็จะตดั รายละเอยี ดท่ี
ไมจําเปนท้ิง แลว วาดใหมเ ปน สัญลกั ษณวงจรไฟฟา กจ็ ะทําใหการคํานวณทางไฟฟา งายขึ้น

จากหนงั สือเรยี นวิทยาการคาํ นวณบทท่ี 1 ช้นั ม.4

สรปุ การเรยี นรูห ลกั สูตรการอบรมพีเ่ ลย้ี งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนาท่ี 29
วทิ ยาการคํานวณ

ถึงตรงน้จี ะเห็นวาแนวคดิ เชงิ คาํ นวณ ไมใ ชแ คแกปญ หาเวลาเจอโจทยดานโปรแกรมม่ิงอยาง
เดียว ยังสามารถนําไปใชแ กปญหาอยา งอ่ืนในชีวิตประจาํ ไดอกี ดว ย

เพราะเหตผุ ลนเี้ อง ในระดบั ชั้นประถม มธั ยม เขาจะไดปพู น้ื ฐานแนวคิดนใ้ี นวชิ า “วิทยาการ
คาํ นวณ” ซ่งี ในหนงั เรียนไมไ ดย กตวั อยางแคการเขียนโปรแกรมเทานนั้ แตจะสอนใหนําไปใชแ กป ญหา
อน่ื นอกจากการเขียนโปรแกรมอีกดว ย

ขณะเดียวกนั “แนวคิดเชิงคํานวณ” ผูใหญร ไู วก ไ็ มเ สียหายอะไร นอกจากจะคยุ กบั เด็กรเู รือ่ ง
แลว ยงั เอาไปใชในชวี ติ ประจําวันไดด ว ยครับ

ขออธบิ ายเพม่ิ เกี่ยวกับวิทยาการคาํ นวณ เปนวชิ าที่ปรบั หลักสตู รมาจากวชิ าเทคโนโลยี
สารสนเทศเน้อื หาจะครอบคลุมวิชาเหลา นี้ในระดับพ้ืนฐาน ไดแก

1. วทิ ยาการคอมพิวเตอร (Computer Science: CS)
2. เทคโนโลยสารสนเทศและการส่อื สาร (Information Communication Technology: ICT)
3. การรดู ิจทิ ัล (Digital Literacy: DL)
ซ่ึงหวั ใจของวิชานี้คือ พ้นื ฐานการคิดเชิงคํานวณ (computational thinking) ที่มี 4 องคประกอบ
สําคญั ดังท่ีกลาวมาแลว ขา งตน
1. Decomposition (การแยกสวนประกอบ และการยอ ยปญ หา)
2. Pattern recognition (การหารูปแบบ)
3. Algorithm (ขน้ั ตอนวธิ )ี
4. Abstract thinking (การคิดเชงิ นามธรรม)
เพราะฉะนน้ั แลว การคดิ เชงิ คํานวณ (computational thinking) สามารถท่ีจะพัฒนาใหเด็กๆ เกิด
กระบวนการคดิ เชงิ วิเคราะห คดิ อยา งเปนระบบดว ยเหตผุ ลอยางเปน ขัน้ เปน ตอนเพื่อแกปญ หาตางๆ
สามารถนําไปปรบั ใชเพ่ือแกไขปญ หาในสาขาวชิ าตา งๆ ได

สรปุ การเรยี นรูหลักสูตรการอบรมพ่เี ล้ยี งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนาที่ 30

อลั กอริทึม (Algorithm)
อลั กอริทึม (Algorithm) คือ กระบวนการแกปญ หาทีส่ ามารถอธิบายออกมาเปน ข้นั ตอนทชี่ ดั เจน
เมอ่ื นําเขา อะไร แลว จะตองไดผลลพั ธเ ชนไร กระบวนการน้ีประกอบดว ย วิธีการเปนขัน้ ๆ และมสี ว นท่ี
ตอ งทําแบบวนซาํ้ อีก จนกระทัง่ เสรจ็ ส้ินการทํางาน
Algorithm ไมใ ชคําตอบแตเปน ชุดคาํ ส่ังท่ที าํ ใหไดคําตอบ วธิ กี ารในการอธบิ าย Algorithm ไดแ ก

1. Natural Language อธิบายแบบใชภาษาทเ่ี ราส่ือสารกนั ทวั่ ไป
2. Pseudo code อธบิ ายดว ยรหัสจําลองหรือรหัสเทียม
3. Flowchart อธิบายดว ยแผนผงั
การนําข้นั ตอนวธิ ีไปใชแกปญ หา ไมจํากัดเฉพาะการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร แตสามารถใช
กับปญ หาอื่น ๆ ไดเ ชน เดียวกัน เพื่อใหเกิดการใชท รพั ยากรอยา งมีประโยชนสงู สดุ ซง่ึ จาํ เปน ตอง
วางแผนอยา งเปนระบบ เปน ขั้นตอน จงึ จาํ เปน ตองอาศยั Algorithm ดวย เพ่ือใหทราบถงึ ข้ันตอนตา งๆ
และสามารถตัดทอนขั้นตอนที่เกินความจาํ เปน อีกทั้งยงั สามารถปรับปรงุ และเพิม่ เติมขน้ั ตอนใหม เขา
ไปได ชวยลดความสบั สนขณะทํางานดว ย
อลั กอริทึม เปน วธิ กี ารแสดงลําดบั ขัน้ ตอนในการทํางานหรือแกไ ขปญ หาอยางใดอยางหนึ่ง เชน
การกําหนดข้ันตอนเพื่อแกป ญหาการจดั เรยี งเอกสารในแฟม ขอมลู หรือการกําหนดอัลกอริทึมในการ
คนหาขอมูลในแฟมขอ มูลทั้งหมด เปน ตน
อลั กอริทมึ ทีด่ ีควรมีคุณสมบัติ ดงั น้ี

1. มีลาํ ดบั ขน้ั ตอนทํางาน กอ น-หลัง ชัดเจน
2. เขาใจงา ยและไมกาํ กวม
3. สามารถประมวลผลการทาํ งานดว ยคอมพิวเตอรได
4. การทํางานของอัลกอริทึมจะตอ งส้นิ สุด หลังจากดาํ เนนิ งานตามระยะเวลาที่กําหนด

ตัวอยา งอลั กอรทิ ึม : การตมไขไก อลั กอริทึมที่ 2
อลั กอริทมึ ท่ี 1

สรุปการเรียนรหู ลกั สูตรการอบรมพเี่ ล้ียงวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชัยภมู ิ

หนา ที่ 31
แหลงท่ีมาของขอมลู เพ่ิมเตมิ
การคิดเชิงคํานวณ (computational thinking) คน เมือ่ วันที่ 29 มนี าคม 2562 จากเวบ็ ไซต
https://goo.gl/dXbpK9
แนวคดิ เชิงคํานวณอยางเปนระบบ Computational Thinking คนเมื่อวนั ที่ 29 มีนาคม 2562 จาก
เวบ็ ไซต https://goo.gl/eMDuQD
อลั กอริทึม (Algorithm) คน เม่ือวนั ท่ี 29 มนี าคม 2562 จากเวบ็ ไซต https://goo.gl/pxZUgj
สะเตม็ ศึกษาคืออะไร คนเม่ือวันที่ 29 มีนาคม 2562 จากเว็บไซต https://goo.gl/dXbpK9
https://goo.gl/Q4cF2E

สรุปการเรียนรูหลกั สูตรการอบรมพีเ่ ลยี้ งวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ที่ 32

ภาพกิจกรรมการอบรม

สรุปการเรยี นรูห ลักสตู รการอบรมพี่เลีย้ งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

หนา ท่ี 33

สรปุ การเรยี นรหู ลักสตู รการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ท่ี 34

สรปุ การเรยี นรหู ลักสตู รการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ท่ี 35

สรปุ การเรยี นรหู ลักสตู รการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ท่ี 36

สรปุ การเรยี นรหู ลักสตู รการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ท่ี 37

สรปุ การเรยี นรหู ลักสตู รการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนา ท่ี 38

สรปุ การเรยี นรหู ลักสตู รการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนาที่ 39

ผลการทดสอบ
ตารางแสดงผลการทดสอบหลงั การอบรมดว ยระบบออนไลน
ท่ี ชอื่ สกุล สาขา คะแนนทไ่ี ด (คะแนนเตม็ 50 คะแนน)
1 นายธัชวุฒิ กงประโคน วทิ ยาศาสตร 48 คะแนน
2 นางสาวสายไหม ใจดี คณติ ศาสตร 48 คะแนน
3 นางอารยา วสุธนรตั นส กลุ เทคโนโลยี 48 คะแนน

ตวั อยางการรายงานผลการทดสอบในระบบ

สรปุ การเรียนรหู ลักสูตรการอบรมพเี่ ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนาที่ 40
แบบทดสอบสาํ หรบั ครพู ่เี ลี้ยงประจาํ ศูนยการอบรม ระดับประถมศึกษาตอนตน

โปรดสงคาํ ตอบกอ น เวลา 24.00น.มิฉะนน้ั จะไมสามารถสงคําตอบได ทําแบบทดสอบไดตาม
จาํ นวนสทิ ธ์คิ งเหลอื ของแตละคน มีเวลาในการทําขอสอบแตละครงั้ ไมเ กิน 120 นาที (หากเลยเวลา
ระบบจะ logout อัตโนมตั ิ ตอง login และเริ่มทาํ ใหมทั้งหมด)
สวนบนของฟอรม
1. ขอ ใดไมใ ชว ตั ถุประสงคในการทํากิจกรรมโปรแกรมของน้าํ หวาน

ไดลองวางแผนการทํางาน โดยใชบ ตั รคําสง่ั ที่กําหนดให
เพ่ือทดสอบวา นักเรยี นคนใดมีทกั ษะการวางแผนการแกป ญหาดีที่สดุ
ใหเ ห็นความสาํ คัญของการใชคําสงั่ ซอนทับกนั ในการแกปญหา
ใหเ หน็ ความสําคญั ของการวางแผนการทํางานอยา งเปน ข้นั ตอน
2. จากสถานการณต อไปนี้
“ลกู หมีแพนดา ตวั หนงึ่ หนอี อกไปเดนิ เลน ดว ยความเปน หวงแมห มแี พนดา จึงออกไปตามหา แต
กอนกลบั บา นลกู หมแี พนดา หิว แมหมีแพนดาจึงตองพาลูกหมแี พนดาไปหาอาหาร” จะชว ยแมห มี
แพนดา วางแผนการเดนิ ทางอยา งไร
พาลกู หมีแพนดา > ไปหาแมหมแี พนดา > ไปกนิ อาหาร > กลับบาน
พาแมห มีแพนดา > ไปกินอาหาร > ไปหาลกู หมีแพนดา > กลบั บาน
พาแมห มแี พนดา > กลบั บาน > ไปกินอาหาร > ไปหาลูกหมีแพนดา
พาแมห มแี พนดา > ไปหาลูกหมีแพนดา > ไปกนิ อาหาร > กลบั บาน
3. หลังจากทํากิจกรรม อิ่มท่ัวกบั ตัวฟู ที่มีเปาหมายใหแมหมีแพนดา ไปชว ยลกู หมีแพนดาแลว
นกั เรียนท้ัง 2 กลุมนําเสนอเสนทางที่ไดว างแผนไว โดยกลมุ ที่ 1 สามารถวางแผนการเดินทางไปยัง
เปา หมายโดยเลือกใชเ สน ทางท่ีสน้ั กวากลุมท่ี 2 ในขณะท่ีกลุมท่ี 2 ก็สามารถวางแผนการเดนิ ทางไป
ยังเปา หมายไดเชน กนั แตใชเสนทางที่แตกตางจากกลุมที่ 1 คุณครูควรสรุปหรอื ใหค าํ แนะนํากับ
นักเรียนทง้ั 2 กลมุ อยางไร
เสน ทางในการเดนิ ทางไปยงั เปา หมายทถี่ ูกตองควรมีเสนทางเดียว
ครคู วรใหนักเรยี นกลุมท่ี 2 ปรับเปล่ยี นเสนทางใหส นั้ กวา กลมุ ที่ 1
เสน ทางในการเดินทางไปยงั เปาหมายอาจมีไดห ลายเสน ทาง
ครคู วรใหนักเรียนกลุมที่ 2 ปรับเปลยี่ นเสน ทางใหเ หมือนกลมุ ท่ี 1

สรปุ การเรยี นรูหลกั สูตรการอบรมพเี่ ลี้ยงวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนุบาลชยั ภมู ิ

หนาที่ 41

4. พจิ ารณาวธิ กี ารตมไข ดงั น้ี วิธที ่ี 3 วิธีที่ 4
วธิ ที ่ี 1 วิธีท่ี 2 ตมนํ้าใหเดือด ใสไข
ตม น้ําใหเดือด ตมน้าํ ใหเดือด รอ 10 นาที ตมน้าํ ใหเดือด
ใสไ ข ใสไ ข ดบั ไฟ / ปดเตา รอ 10 นาที
รอ 10 นาที รอ 5 นาที ปอกไข ดบั ไฟ/ปดเตา
ดับไฟ / ปด เตา ดบั ไฟ / ปด เตา ปอกไข
ปอกไข

วธิ ีการใดไมไดไขตมออกมา
วิธที ี่ 2
วธิ ีที่ 4
วิธีท่ี 3
วธิ ที ี่ 1

5. รอบการแสดงในสวนสตั วแหงหนงึ่ เปนดังน้ี เวลา
การแสดง
เสอื 08.00-09.00 น.
ยีราฟ 09.00-09.30 น.
งู 09.30-10.00 น.
ฮิปโปโปเตมัส 10.00-10.30 น.
ชางนอ ย 10.30-11.30 น.
พักกลางวนั
นกนานาชนิด 13.00-13.40 น.
จระเข 13.40-15.00 น.
ฝงู ลิง 15.00-15.30 น.
มา ลาย 15.30-17.00 น.

จะเลอื กเขาชมสวนสัตวในชวงเวลาใดจงึ จะรับชมการแสดงไดม ากที่สดุ โดยมีเง่ือนไขวาตองเขาชม
การแสดงตัง้ แตตนจนจบ

15.00 น. - 17.00 น.
09.00 น. - 11.00 น.
08.00 น. - 10.00 น.
13.00 น. - 15.00 น.

สรปุ การเรียนรูหลักสตู รการอบรมพ่เี ลยี้ งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

หนาท่ี 42

6. ขอใดเปน ลกั ษณะของอลั กอริทึม (algorithm) ท่ีดี
ชวยไปเอาขนมถว่ั ตดั ทีน่ าไกฝากไวทีป่ อมยามหนาหมูบานเราใหห นอย
ฝากซอื้ กาแฟเย็นหวานนอยที่รานคา หนาหมบู า นหนอย
ฝากซือ้ ผลไม 1 กโิ ลกรมั และถามไี ขซอื้ มาใหด ว ย 1 โหล
เดินตรงไปถึงรา นคา รานอาหารอรอ ยจะอยูทางซา ย

7. จากกิจกรรมถุงเคร่ืองเขยี น ขอ ใดกลา วถึงส่งิ สาํ คญั ในการสอนใหนกั เรยี นไดเ รยี นรเู กย่ี วกบั การ
จาํ แนกไดถ ูกตอง

ใหน ักเรียนสังเกตและบอกความเหมือนและความแตกตา งของสง่ิ ของตา ง ๆ
ใหน ักเรยี นแบงส่งิ ของตาง ๆ ออกเปน กลมุ โดยใชเ กณฑเ ดียวกันทุกกลุม
ใหน กั เรียนแบงสิ่งของตาง ๆ ออกเปนกลมุ กลุมละเทา ๆ กัน
ใหนักเรียนจัดแบง สิง่ ของตา ง ๆ ออกเปนกลมุ ใหไดจาํ นวนกลุมมากท่ีสุด
8. จากกิจกรรมถุงเครื่องเขยี น การใหน กั เรียนจาํ แนกยางลบตา งจากการใหจ ําแนกส่งิ ทใ่ี ชเ ขยี น
อยางไร
นกั เรยี นไดห ยบิ จับและแบงกลุมยางลบ แตน กั เรยี นไดแบงกลุมส่งิ ที่ใชเ ขยี นโดยไมต องหยบิ จบั
สงิ่ ท่ใี ชเขียน มีจาํ นวนของส่ิงของมากกวาและมีลักษณะท่หี ลากหลายมากกวายางลบ
นกั เรียนตอ งบอกเกณฑท่ีใชใ นการจาํ แนกยางลบ แตไ มต องบอกเกณฑท ี่ใชใ นการจาํ แนกสิ่งที่ใชเ ขยี น
ลักษณะของยางลบมีความหลากหลายมากกวาส่ิงทใี่ ชเ ขียน
9. พิจารณาบทสนทนาตอไปน้ี
ครู : ทาํ ไมเดก็ ๆ แตละคนตอบไมตรงกนั เลยคะ เราจะมวี ธิ กี ารนบั จาํ นวนของรปู ไดโนเสารชนิด

ตา ง ๆเหลานอ้ี ยา งไรดี เดก็ ๆ ถงึ จะนบั ไดครบ และตอบไดตรงกนั
นกั เรียน : คณุ ครูนบั ไปดว ยแลว กท็ าํ สญั ลักษณเอาไวสคิ ะ วา ตวั นนี้ ับไปแลว
ครู : ไดเ ลยคะ งั้นเรามานับไปพรอม ๆ กนั นะ

นักเรียนนบั ไปพรอมกบั คุณครู
ครู : ตอนนี้เรานับจาํ นวนของไดโนเสารค รบทกุ ตวั แลวครูกเ็ ขยี นตวั เลขแสดงจาํ นวนไวบน

กระดานแบบนี้ คนท่เี ดนิ ผา นไปผานมา เขาจะทราบไหมคะ วา ตัวเลขเหลา นแ้ี ทนอะไร
นกั เรียน : มนั งงคะ วา เปน อะไร
ครู : ถาอยางน้ันเราจะทาํ อยางไรดี ใหคนทเ่ี ดินผา นไปผานมาเขาไมงง และเขาใจเหมือนกับเรา

ดว ย
นักเรียน : เขียนชอ่ื ไดโนเสารไวขา ง ๆ ตัวเลขสิคะ
จากบทสนทนาขา งตน ขอใดคือเปา หมายปลายทางที่ครตู องการใหนกั เรียนเกิดการเรยี นรู

หาแนวทางแกปญหา จนนําไปสกู ารนําเสนอขอมลู ในรปู ตาราง
นับและบอกจํานวนของไดโนเสารชนิดตา ง ๆ ไดอยางถกู ตอง
จดจาํ และเขยี นช่ือของไดโนเสารชนิดตา ง ๆ ไดอยางถูกตอ ง
ชีใ้ หเ หน็ วา การนบั จาํ นวนของไดโนเสารสามารถทําไดหลากหลายวธิ ี

สรปุ การเรยี นรหู ลักสูตรการอบรมพเี่ ลีย้ งวชิ าการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนา ท่ี 43

10. จากสื่อการจัดการเรียนรูเกี่ยวกบั การนับตอไปนี้

ควรเรียงลําดับส่ืออยางไร เพ่ือชว ยใหนกั เรยี นเรยี นรเู ก่ยี วกับการนบั ไดด ีท่สี ดุ
C, B, A
B, C, A
A, B, C
C, A, B

11. องคป ระกอบทีจ่ าํ เปนของแผนภูมิรปู ภาพมอี ะไรบา ง
a. ช่อื แผนภมู ิ
b. ตวั แผนภูมิ
c. ขอ กาํ หนด
d. รูปภาพท่ใี ชตอ งเหมือนกนั ทั้งแผนภูมิ
e. รปู ภาพที่ใชต องแตกตา งกนั ทั้งแผนภมู ิ
ขอ a, b, d
ขอ a, b, c
ขอ a, b, c, e
ขอ a, b, c, d

สรุปการเรยี นรูหลกั สตู รการอบรมพ่เี ลี้ยงวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ

หนา ที่ 44
12.

ในการจัดการเรียนรเู รอ่ื งแผนภูมริ ูปภาพ ครูเลือกใชส ือ่ แบบท่ี 1 กอน แลวจงึ ใชส่อื แบบท่ี 2 เพอื่
จุดประสงคใด

ใหน ักเรียนเหน็ วา การจัดเรยี งรูปภาพท่ตี ิดกันนนั้ ไมสวยงาม จึงควรจัดเรยี งรปู ภาพใหห า งกัน
ใหนักเรียนเรียนรชู ่อื ไดโนเสารช นดิ ตาง ๆ และนบั จาํ นวนของไดโนเสารไดอยา งถูกตอง
ใหน ักเรียนเหน็ ประโยชนของการจดั เรียงรูปภาพใหตรงกนั เพ่อื ชวยใหเ ปรียบเทยี บไดง าย
ใหนกั เรยี นเขียนช่อื แผนภูมิและขอกําหนดของแผนภูมิรูปภาพไดอยางถูกตองครบถวน
13. หากเราจาํ แนกสัตวไ ดเ ปน 2 กลุม ดังภาพ

จากการจัดกลุมดังกลา ว เราใชเ กณฑใดในการจาํ แนก
ชนดิ ของสัตว
ขนาดของสตั ว
อาหาร
แหลงท่อี ยู

สรุปการเรียนรหู ลกั สตู รการอบรมพเี่ ล้ียงวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ

หนาที่ 45
14. จากการสังเกตและเปรียบเทยี บส่ิงแวดลอมบรเิ วณตาง ๆ ดงั ภาพ ขอสรปุ ใดถกู ตอง

ปลาเปนสตั วท พ่ี บไดในทุกสิง่ แวดลอ ม
ทกุ สงิ่ แวดลอมจะมีลกั ษณะเหมอื นกัน
ชนดิ ของสัตวท ี่อยใู นแตละส่ิงแวดลอ มจะแตกตางกนั
พืชที่พบในแตละสง่ิ แวดลอ มจะมลี ักษณะเหมือนกนั
15. ขอใดตอไปนี้กลาวไมถ ูกตองเกี่ยวกบั สัตวแ ละแหลง ท่ีอยู
อูฐพบไดในทะเลทราย เพราะสามารถลดการสญู เสยี นาํ้ ไดดี
หมขี ว้ั โลกพบไดในบริเวณท่ีมีอากาศหนาว เพราะมีขนปกคลุมรางกายหลายช้ัน
ชะนีอาศยั อยใู นปาได เพราะมีตน ไมซงึ่ เปนแหลงอาหาร
กบนาอาศยั อยูในทะเลได เพราะเปนสตั วน ้ํา
16. คลองแหงหน่ึงเปน ที่อยูอาศยั ของสตั วแ ละพชื น้ําหลาย ๆ ชนดิ ถา วนั หนง่ึ คลองแหงน้เี ต็มไป
ดวยขยะ จนทําใหนํา้ เนาเสีย จะเกดิ ผลกระทบอยา งไรบาง
นํ้าในคลองแหงนี้จะลดระดับลงอยา งรวดเรว็
อากาศบริเวณนน้ั จะรอนและแหง แลง
สัตวแ ละพชื นํ้าที่อาศัยอยูใ นคลองจะยายไปอยูแหลงนาํ้ อ่นื
สัตวแ ละพชื นา้ํ ท่ีอาศยั อยูในคลองอาจจะตาย

สรปุ การเรียนรูหลักสูตรการอบรมพ่เี ล้ยี งวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

หนาท่ี 46
17. กบชนดิ หน่ึงอาศัยอยบู ริเวณหนองนํา้ ถา เรานํากบชนดิ น้ีมาอยใู นทะเลทรายซ่ึงเปนบรเิ วณทม่ี ี
ความแหงแลงมาก กบจะอาศัยอยไู ดหรือไม เพราะเหตุใด

ได เพราะมีพื้นที่กวา งเปน ที่อยอู าศัย
ไมได เพราะไมม ีพืชนํ้าเปนแหลงหลบภยั
ได เพราะกบสามารถหาแมลงเปนอาหารได
ไมไ ด เพราะทะเลทรายแหงแลง ทาํ ใหก บสูญเสียน้ําในรางกาย
18. ถาเราไปสาํ รวจบริเวณปาชายเลนและปาดิบชืน้ แลวนาํ ขอมูลทีไ่ ดมาเปรียบเทยี บกัน ขอใดเปน
ขอมูลท่ีไดจ ากการเปรียบเทียบ
ปาชายเลนและปา ดิบชื้นมีสภาพแวดลอมเหมือนกนั
ลกั ษณะแหลง นํ้าท่ีพบในปาชายเลนและปา ดบิ ช้นื จะเหมือนกนั
เราจะพบปาชายเลนและปาดิบชืน้ ไดในพน้ื ที่เดียวกนั
พชื และสัตวท ี่พบในปา ชายเลนและปาดบิ ชน้ื จะแตกตางกนั
19. ถาเราไปสํารวจบรเิ วณสวนผัก เราจะพบสัตวต าง ๆ เชน หนอนผีเสอ้ื ซ่ึงกินใบผักเปน อาหาร
และ หลบภัยใตใ บผัก รวมทง้ั ยังพบมดท่ีอยูใตดนิ และเดนิ หาอาหารตามพนื้ ดิน
พจิ ารณาขอความตอไปนี้

a. สวนผกั เปนแหลง ทอี่ ยขู องหนอนผีเสอื้ และมด
b. สวนผักเปนแหลง อาหารของหนอนผีเสือ้ และมด
c. หนอนผีเส้อื และมดอาศัยอยใู ตด นิ
ขอ ใดตอ ไปนีถ้ ูกตอง
a, b และ c ถกู
b และ c ถูก
a และ b ถูก
a และ c ถูก
20. ขอใดคอื ลักษณะสาํ คญั ของกจิ กรรมสะเต็มศกึ ษา
สรา งช้ินงานทีม่ ีประสิทธภิ าพเพื่อแกป ญ หาในสถานการณต าง ๆ
สง เสริมใหผ เู รียนเกิดทักษะแหงศตวรรษท่ี 21
บูรณาการองคความรคู รบทง้ั 4 วชิ าคือ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร และ
คณติ ศาสตร
ดาํ เนนิ การแกปญหาอยางเปนลําดบั ขน้ั ตอนทแ่ี นนอนและชัดเจน

สรุปการเรียนรูห ลักสตู รการอบรมพ่ีเล้ยี งวชิ าการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ

หนาที่ 47
21. การศึกษาสภาพแวดลอมทเี่ หมาะสมตอ การดาํ รงชีวิตของสัตวที่อาศยั อยูในแตล ะบรเิ วณ เปน
ข้นั ตอนใดของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

การรวบรวมขอมูลและแนวคิดเพือ่ สรรหาวิธีการที่เปนไปได
การระบปุ ญหา
การทดสอบ ประเมิน และปรับปรุงแกไขตน แบบ
การเลือกและออกแบบวธิ กี ารแกป ญหา
22. ขอใดคอื ลักษณะสาํ คญั ของกจิ กรรมสวนสงสัยใครร ู
การทา ทายใหผเู รยี นไดใ ชความรูเพื่อแกป ญหาตามสถานการณที่กําหนด
การกระตนุ ใหผเู รียนระดมความคิดและทดสอบสมมตฐิ านจากสถานการณปญหาที่กาํ หนด
การระดมความคิดท่ีเก่ียวขอ งกบั สถานการณปญหาของกิจกรรม
การนําผเู รยี นเขาสบู รรยากาศที่เกย่ี วของกบั สถานการณป ญ หาของกจิ กรรม
23. สถานการณใ นลกั ษณะใดที่จําเปน ตอ งใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
การทดสอบวัสดุประเภทตาง ๆ ทีจ่ มนํ้าและลอยนา้ํ
การรวบรวมขอมูลเกย่ี วกบั ชนิดของไดโนเสารป ระเภทกนิ พืช
การดาํ เนนิ การสาํ รวจแหลง ท่ีอยูของสิ่งมีชวี ิต
การเลอื กและออกแบบภาชนะที่สามารถใหอาหารสัตวเ ล้ียงไดอ ัตโนมตั ิ
24. ขอใดอยูใ นขนั้ การทดสอบ ประเมนิ และปรบั ปรุงแกไขตน แบบของสถานการณหนหู นูกบั ZOO
ใหม
การตรวจสอบจดุ ชมสตั วและการวางลูกศรคําส่ัง
การแสดงจาํ นวนสัตวในแผนภูมริ ูปภาพ
การใชขอมลู จากแผนภมู ิรปู ภาพในการหาคาํ ตอบ
การอภปิ รายขอมลู เก่ียวกับสัตวชนดิ ตา ง ๆ และแหลง ที่อยู
25. จดุ เนน ที่สาํ คัญของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมคอื ขอใด
การนําเสนอวิธกี ารรา งและออกแบบช้นิ งานเพอ่ื แกปญหา
การนาํ เสนอปจ จัยท่ีเก่ยี วของตอการเลือกและออกแบบวธิ ีการเพ่ือแกป ญหา
การนําเสนอผลสาํ เร็จของการสรางชน้ิ งานเพอื่ แกปญ หา
การนําเสนอวธิ กี ารหรือข้ันตอนการทํางานเพ่ือแกป ญหา

สรปุ การเรยี นรหู ลกั สูตรการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดวยระบบทางไกล
โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

หนา ท่ี 48

สรปุ การเรยี นรหู ลักสตู รการอบรมพเ่ี ลยี้ งวิชาการดว ยระบบทางไกล
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ


Click to View FlipBook Version