The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ ประวัติวิทยาศาสตร์ เกรเกอร์เมนเดล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือ ประวัติวิทยาศาสตร์ เกรเกอร์เมนเดล

หนังสือ ประวัติวิทยาศาสตร์ เกรเกอร์เมนเดล

1

ประวตั ิวิทยาศาสตร์
เกรเกอร์ เมนเดล

อ้างอิงจากหนงั สอื ภาษาองั กฤษ
AP Biology project about Mendelian Genetics (2009)

แปลโดย นายธัชวุฒิ กงประโคน
ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ

รวบรวมและเรยี บเรียงโดย นายธชั วุฒิ กงประโคน ตาแหนง่ ครู โรงเรียนอนบุ าลชัยภูมิ

2

คานา

หนงั สอื การต์ ูนฉบับนีจ้ ัดทาข้ึนโดยอ้างองิ มาจาก AP Biology project
about Mendelian Genetics (2009) เพือ่ สรา้ งความสนใจใหแ้ กนักเรยี นในการ
เรยี นรูเ้ กี่ยวกับความเปน็ มาของความรทู้ างวิทยาศาตรด์ า้ นพันธุศาสตร์ ซึ่งภายใน
เลม่ ประกอบดว้ ยประวัติวิทยาศาสตรข์ องเกรเกอร์ เมนเดล ผู้ทีไ่ ดร้ ับยกยอ่ งวา่ เป็น
บิดาแหง่ พนั ธุศาสตร์ ผูซ้ ่งึ ค้นพบความจริงของธรรมชาตทิ ีอ่ ยนู่ อกเหนอื จากหลกั คา
สอนของพระเจา้ ซง่ึ ในอดตี เชอ่ื กนั วา่ พระเจา้ เปน็ ผสู้ ร้างทกุ สรรพส่ิงบนโลกใบน้ี
และทุกคนตา่ งยดึ ถอื และเชื่อสบื ต่อกนั มาโดยปราศจากขอ้ สงสัยหรอื โต้แยง้ ใดๆ
ทั้งส้ิน ในการศกึ ษาประวัตวิ ทิ ยาศาสตรด์ ังกลา่ ว จะชว่ ยส่งเสริมให้เข้าใจว่าความรู้
ทางวิทยาศาสตร์น้นั มีวิวฒั นาการอย่างไรจนถึงปจั จบุ นั ซง่ึ จะเปน็ แรงบันดาลใจ
ให้กบั ผ้อู า่ นหลายคนได้เกิดความคิดทจี่ ะช่วยสร้างความรใู้ หมๆ่ เพื่อพัฒนาสงั คมและ
โลกทางวิทยาศาสตรใ์ ห้ก้าวหนา้ ต่อไปได้

นายธชั วุฒิ กงประโคน
ผ้จู ัดทา

รวบรวมและเรียบเรียงโดย นายธชั วฒุ ิ กงประโคน ตาแหน่ง ครู โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ

3

เมนเดลเกิดเม่ือวันท่ี 27 กรกฎาคม ค.ศ. เมนเดลชอบในการการเกษตรเปน็ อย่าง
1822 ทีเ่ มืองโมราเวีย ประเทศออสเตรีย มากเนอื่ งจากเขาเตบิ โตมาจากชาวเกษตร

ชอบศึกษาเก่ยี วกับสตั วโ์ ดยเฉพาะ และชอบคน้ ควา้ หาความรู้ทาง
ผึ้ง วทิ ยาศาสตร์

เมื่อครบอายุ 21 ได้บวชเป็นพระอย่ทู ี่ ขณะทีบ่ วชเขาและคณะนักบวชอีกหลาย

วหิ ารออกัสทเิ นียน ได้ฉายาวา่ เกรเกอร์ คนชอบศกึ ษาเกี่ยวกับพืชเปน็ อย่างมาก

โจฮนั น์ เมนเดล รวบรวมและเรียบเรยี งโดย นายธชั วุฒิ กงประโคน ตาแหน่ง ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ

4

และน่นั เองเปน็ จุดเร่มิ ต้นใหเ้ ขาได้พบ ในปี 1857 เมนเดลจงึ เรม่ิ ออกแบบ
การกาเนิดของสิ่งมชี วี ติ ที่มีลักษณะ การทดลองขน้ึ มาเพอ่ื พสิ จู น์บางอยา่ ง
ต่างๆเหมือนพอ่ แมไ่ ด้อย่างไร

เขาไดผ้ สมพันธถ์ุ ัว่ ลันเตาเพอื่ คน้ หา ตน้ ถ่ัวลนั เตาได้สรา้ งความแปลกใจ
ความแตกต่างของลกั ษณะต้นถวั่ ขึ้น เพราะเขาพบสีของดอกสีใหม่เกิดขน้ึ มา

และผลผลติ ทีไ่ ด้ นา่ รับประทานมาก จากนนั้ เขาไดผ้ สมถั่วลนั เตา แบบข้าม
เกสร ระหว่างสีม่วงกบั สีขาว

รวบรวมและเรียบเรยี งโดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

5

และไดใ้ หเ้ หตุผลและอธบิ ายการ ทาให้เขาไดค้ น้ พบกฎ 4 ข้อ
ผสมระหว่างแตล่ ะรุ่น เกี่ยวกบั หลกั ของพันธุศาสตร์

1. ยนี ตา่ งชนิดกนั ทเ่ี ขา้ คู่กันได้ 2. พืชแตล่ ะชนิดได้รับถ่ายทอด
และควบคุมลักษณะพนั ธกุ รรม
เดยี วกัน เรยี กวา่ อัลลลี ลักษณะมา 2 อลั ลลี โดย แต่ละอันมา
จากพอ่ แม่ จากทุกยนี หรือทกุ ลักษณะ

3. อลั ลีลแตล่ ะอนั จะมีลักษณะ 4. เม่อื เกิดกระบวนผสมพนั ธแ์ุ ละการถา่ ยทอด
เฉพาะ อาจจะเปน็ ลกั ษณะเดน่ หรอื ลกั ษณะไปยงั รนุ่ ลูก จะเกดิ การแยกตวั ออก
ลกั ษณะด้อย ลูกจะไดร้ บั ยนี สว่ นหน่งึ จากแม่ และอกี ส่วน
หนงึ่ จากพอ่ เรียกว่า กฎแห่งการแยก

รวบรวมและเรยี บเรียงโดย นายธัชวฒุ ิ กงประโคน ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นอนุบาลชยั ภูมิ

6

เมนเดลไดค้ ้นพบกฎต่างๆและนามา และนน่ั เองกลายเปน็ พื้นฐานของ
ประยกุ ต์ ผสมถั่วลนั เตาแบบต่างๆ หลกั พนั ธุศาสตรส์ มยั ใหม่

เขาจงึ ได้ตีพมิ พ์หนังสอื ขึ้นมาเพ่อื แต่โชคไมด่ ที ี่หนังสอื ของเขาได้ถกู
เผยแพรช่ อ่ื ว่า การทดลองผสมพันธพ์ุ ืช ทาลายไปเกอื บหมดหลงั จากท่ีเขา
ตายเนือ่ งจากขัดแยง้ กับหลกั คาสอน
(experiment on plant hybridization)

เกรเกอร์ เมนเดล
จึงได้รับยกย่องวา่ เปน็

“บิดาแห่งพันธุศาสตร์”

และในปี 1990 ก็มคี นคน้ พบและ
ยอมรับความรูข้ องเมนเดล
หลังจากทเี่ ขาตายไปถงึ 34 ปี
จนยกย่องว่าเป็นบิดาแรวหบรง่ วพมแนั ละธเรุ ียบเรียงโดย นายธชั วุฒิ กงประโคน ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นอนบุ าลชัยภูมิ

7

เกร็ดความรู้ เพม่ิ เติม

เมนเดลมีนสิ ัยอยากรู้อยากเหน็ และมีความรักในธรรมชาติ ความสนใจทาง

วทิ ยาศาสตร์ของเมนเดลครอบคลมุ ไปถึงการศึกษาเก่ียวกับพชื อุตนุ ิยมวิทยา และ

ทฤษฏีวิวฒั นาการ

ถั่วลันเตา (Pisum sativum) เป็นพชื ทเ่ี มนเดลไดเ้ ลือกมาศึกษา ดว้ ย

เหตผุ ลหลายประการคอื

 เป็นพชื ทห่ี างา่ ยสะดวกในการเพาะปลูก

 เปน็ พืชทม่ี วี งชีวิตสน้ั

 มกี ารถ่ายละอองเรณภู ายในดอกเดียวกนั (self pollination)

 สามารถควบคมุ การผสมพนั ธไ์ ด้ง่าย

ลกั ษณะที่นามาศกึ ษา : สีดอก ตาแหน่งดอก สีเมล็ด รูปร่างเมล็ด รูปรา่ ง

ฝกั สีฝัก และความสงู

รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย นายธัชวฒุ ิ กงประโคน ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นอนบุ าลชัยภูมิ

8

ตารางแสดง ผลการทดลองผสมพนั ธถ์ุ ่วั ลนั เตาของเมนเดล

ลกั ษณะ ลกั ษณะเด่น X ลักษณะดอ้ ย รนุ่ F2 อตั ราสว่ น
(ลักษณะเดน่ X ลักษณะดอ้ ย)

สดี อก ม่วง X ขาว 705 : 224 3.15 : 1

ตาแหน่งดอก ปลายกงิ่ X ปลายยอด 615 : 207 3.14 : 1

สีเมล็ด เหลือง X เขยี ว 6022 : 2001 3.01 :1

รปู รา่ งเมล็ด กลม X ขรุขระ 5474 : 1850 2.96 : 1

รปู รา่ งฝัก อวบ X แฟบ 882 : 229 2.95 : 1

สีฝกั เขยี ว X เหลือง 428 : 152 2.82 : 1

ความสูง สงู X เต้ยี 787 : 277 2.84 : 1

สรุป

1. ลกั ษณะท่ปี รากฏในร่นุ ต่อไปได้ทกุ รนุ่ เรียกว่า ลกั ษณะเดน่ (dominant)

2. ลกั ษณะทแ่ี อบแฝงอย่แู ละอาจจะปรากฏออกมาไดใ้ นบางร่นุ เรียกว่า ลกั ษณะดอ้ ย

(recessive)

3. ลกั ษณะทีป่ รากฏในรุ่น F1 เปน็ ลกั ษณะเด่น ส่วนลักษณะด้อยแฝงอยไู่ ม่สามารถ

แสดงออกมาได้

4. ลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 มีทงั้ ลักษณะเด่นและลกั ษณะด้อย โดยอัตราส่วนของ

ลกั ษณะเด่นตอ่ ลกั ษณะด้อยเท่ากับ 3:1

5. ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยถูกควบคุมด้วยหนว่ ยพันธุกรรมซ่ึงสามารถถ่ายทอดไป

ยงั รุ่นตอ่ ไปได้

6. หน่วยพนั ธุกรรมทค่ี วบคมุ ลักษณะต่าง ๆ เรยี กว่า ยีน (gene) ซ่งึ อย่กู ันเปน็ คู่ ๆ ยนี

สามารถแสดงลักษณะออกมาไดใ้ นทกุ รุน่ เรยี กว่า ยีนเดน่ (dominant gene) ส่วน

ยีนที่แฝงอยู่ ไม่สามารถแสดงลกั ษณะออกมาได้เมอ่ื อย่กู ับยนี เด่น เรยี กว่า ยีนดอ้ ย

(recessive gene) ซึง่ จะแสดงลกั ษณะออกมาไดเ้ มอื่ เข้าคกู่ บั ยนี ด้อยดว้ ยกนั เท่านัน้

7. หากกาหนดสัญลักษณ์แทนลกั ษณะตา่ ง ๆ ของสงิ่ มีชีวติ เชน่

T แทนลกั ษณะถัว่ ลันเตาท่มี ีลาต้นสูง เปน็ ยนี เด่น

t แทนลกั ษณะถว่ั ลนั เตาที่มลี าต้นเตย้ี เปน็ ยีนดอ้ ย

รวบรวมและเรียบเรียงโดย นายธชั วุฒิ กงประโคน ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

9

ดังนนั้ คูข่ องยีนซง่ึ เขยี นสัญลกั ษณแ์ ทนดว้ ยตวั อักษร เรยี กวา่ จโี นไทป์ (genotype) จึงมไี ด้ 3
แบบ คอื TT, Tt, และ tt ส่วนลักษณะทแี่ สดงออกมาจากการควบคมุ ของยีนทง้ั คู่ เรียกวา่ ฟโี นไทป์
(phenotype)

8. ลกั ษณะของส่งิ มีชวี ติ ทีถ่ ูกควบคุมโดยยนี 2 ยนี ท่เี หมอื นกันจะมสี ภาพเป็น โฮโม
ไซกสั (homozygous) หรือพนั ธแุ์ ท้ (pure line) เช่น TT และ tt สว่ นลกั ษณะของสิง่ มีชวี ิต
ท่ีถกู ควบคุมโดยยนี 2 ยีน ทต่ี า่ งกันจะมีสภาพเป็น เฮเทอโรไซกสั (heterozygous) หรอื
เปน็ พนั ทางหรอื ลกู ผสม (hybrid)

เมนเดลเร่มิ ตน้ ทาการทดลองเปน็ ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2399(ค.ศ. 1856)โดยเขาไดท้ าการ
รวบรวมต้นถ่วั มาหลายๆพันธ์นุ ามาผสมพันธ์ุกัน ทงั้ ถ่วั พันธเุ์ ดียวกันและถ่วั ตา่ งพนั ธ์กุ นั เป็น
จานวนแตกตา่ งกันถงึ 22 ชนดิ เพ่ือศึกษาลักษณะท้ังหมด โดยเป็นเวลารวม 8 ปีเตม็ ในการ
ทดลองร่วมนับ 1,000 ครั้ง จนไดข้ ้อมูลมากเพยี งพอ ในปี พ.ศ.2408 (ค.ศ.1865)

เมนเดลไดร้ ายงานผลการทดลองเรื่อง experiment in plant hybridization ใน ค.ศ.
1865 ต่อสมาคมวทิ ยาศาสตร์และธรรมชาติแหง่ กรงุ เบิร์น ( Natural Science Society of
Brunn) ในประเทศออสเตรีย ซ่งึ ไดร้ บั การตีพมิ พแ์ ละเผยแพร่ทวั่ ยโุ รป และอเมรกิ า แตม่ ี
นักวิทยาศาสตร์ใหค้ วามสนใจในผลงานของเขาไม่มากนกั

เมนเดลได้รับสถาปนาสมณศกั ด์ิเปน็ เจา้ อาวาสประจาอย่ทู ี่โบสถ์เนอ่ื งจากมีภาระในงาน
บริหารมากจนทาใหเ้ มนเดลไมม่ เี วลาทจี่ ะทาการทดลองในเร่ืองการผสมพันธุ์พืชอีกเลย จนกระทัง่
เมนเดลขณะมอี ายุได้ 61 ปไี ดเ้ สยี ชีวติ ลงดว้ ยโรคหวั ใจวายในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2427(ค.ศ.
1884) ศพของเมนเดลไดถ้ ูกนาไปฝงั ท่สี ุสานใกล้โบสถใ์ นพิธศี พมีลกู ศษิ ยแ์ ละชาวบ้านทไ่ี ด้
เดนิ ทางมาตา่ งก็ร่วมไว้อาลยั กบั เมนเดลในฐานะนกั บวชคนหน่ึงทไ่ี ดอ้ ทุ ศิ ตนให้กบั ผ้ยู ากไร้ แต่
หาไดม้ ีใครจะลว่ งรูเ้ ลยไม่ว่า พวกเขาไดก้ าลงั ล่าลาอาลัยนกั วิทยาศาสตรผ์ ูย้ ง่ิ ใหญ่ทีส่ ุดคนหนึง่ ของ
โลกไป

จนกระทัง่ 34 ปถี ัดมา ในปี ค.ศ.1900 ฮโุ ก เดอ ฟรสี ์ (Hugo de Vries) คาร์ล คอร์
เรนส์ (Carl Correns) และ เอรกิ ฟอน เชอรแ์ มก (Erik Von Tschermak) ไดพ้ ิสจู น์ผลงาน
ของ เมนเดล จนทาใหก้ ลายเป็นท่ียอมรบั ของนักชีววิทยาทั่วไป จนกระทงั่ ได้นาหลกั ของเมน
เดลมาใชเ้ รือ่ ยมาจนถึงปจั จบุ ัน

รวบรวมและเรียบเรียงโดย นายธัชวฒุ ิ กงประโคน ตาแหนง่ ครู โรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ

10

ถามทา้ ยเร่ือง

1. เกรเกอรอ์ าศยั อยู่ในประเทศใด และ ทาอาชพี อะไร...........................................
.........................................................................................................................................
2. สง่ิ ท่เี กรเกอร์ เมนเดลนามาทาการศกึ ษาลักษณะทางพนั ธกุ รรม คือ
.........................................................................................................................................

3. เหตุผลที่เกรเกอร์ เมนเดล เลือกศึกษาถั่วลันเตา (Pisum sativum) มี

อะไรบ้าง .......................................................................................................................
4. เกรเกอร์ เมนเดลได้ทาการทดลองผสมพันธถุ์ ว่ั ลนั เตากี่ ลกั ษณะ และมี
ลกั ษณะอะไรบ้าง...........................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
5. เพราะเหตุใดเกรเกอร์ เมนเดล ถงึ ตอ้ งทาการศึกษา ซ้าๆ หลายๆ ลกั ษณะ
.........................................................................................................................................
6. ลกั ษณะสาคัญหรอื พฤตกิ รรมของนกั วิทยาศาสตร์ท่ดี ี ในตัวของ เกรเกอร์
เมนเดล มอี ะไรบา้ ง......................................................................................................
.........................................................................................................................................
7. ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยที่เกรเกอร์ เมนเดลคน้ พบ มอี ัตราส่วนเทา่ ใด
.........................................................................................................................................
8. ยีนท่ีสามารถแสดงลกั ษณะออกมาไดใ้ นทกุ รุ่น เรยี กว่า....................................
9. สว่ นยนี ท่แี ฝงอยู่ ไมส่ ามารถแสดงลกั ษณะออกมาไดเ้ ม่อื อยกู่ บั ยีนเด่น เรียกวา่
.........................................................................................................................................
10. หนว่ ยพนั ธุกรรมที่ควบคมุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ เรียกวา่ .................................................
11. ลักษณะทป่ี รากฏในร่นุ ตอ่ ไปไดท้ ุกรนุ่ เรยี กว่า....................................................

รวบรวมและเรยี บเรียงโดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภมู ิ

11

12. ลกั ษณะท่ีแอบแฝงอยู่และอาจจะปรากฏออกมาได้ในบางรนุ่ เรยี กว่า
.........................................................................................................................................
13. ต้องใช้เวลากปี่ ที ่ีทาใหผ้ ลงานของเกรเกอร์ เมนเดลไดร้ บั การยอมรับ
.........................................................................................................................................
14. นักวิทยาศาสตรท์ ่านใดบ้างทีไ่ ดพ้ สิ ูจนผ์ ลงานของเกรเกอร์ เมนเดล จนเกิด
การยอมรบั ของนกั ชวี วทิ ยา..........................................................................................
.........................................................................................................................................
15. เกรเกอร์ เมนเดล ได้รับยกย่องใหเ้ ปน็ บดิ าดา้ นใด........................................
16. หลังจากการทดลองและพบความจรงิ ของธรรมชาตเิ กี่ยวกับการถา่ ยทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม เขาได้นาผลงานทใ่ี ด...........................................................
.........................................................................................................................................
17. เกรเกอร์ เมนเดลตพี ิมพ์ผลงานของเขาลงในหนังสอื ชื่อว่า.................................
.........................................................................................................................................
18. เพราะเหตใุ ดเกรเกอร์ เมนเดลถงึ ตอ้ งเอาผลงานของตนเองไปเผยแพร่ให้คน
ทั่วไปรบั ทราบ...............................................................................................................
.........................................................................................................................................
20. เพราะเหตุใดผลงานของเกรเกอร์ เมนเดลถงึ ไมไ่ ดร้ ับการยอมรบั ในขณะท่เี ขา
ยงั มีชีวติ อยู่.....................................................................................................................
.........................................................................................................................................
21. ความรู้เกีย่ วกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมท่ี เกรเกอร์ เมนเดลค้นพบ
นามาใชป้ ระโยชนใ์ นปจั จบุ ันอยา่ งไรบา้ ง..................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

รวบรวมและเรยี บเรียงโดย นายธชั วุฒิ กงประโคน ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภูมิ

12

เอกสารอา้ งองิ

กมล วชิ ติ สรสาตร.์ 2518.ประมวลชวี ิตและงานนักวทิ ยาศาสตร์ เลม่ 1.พิมพค์ รง้ั ท่ี 2.
กรุงเทพฯ : ป้อมเพ็ชร์, 2518

ทวี มุขธระโกษา.2542.นักวทิ ยาศาสตรเ์ อกของโลก . สานกั พมิ พ์รวมสาสน์(1997)
จากัด กรุงเทพฯ

นิพนธ์ ศศิธร และคณะ 2524.ประวตั นิ ักวทิ ยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ทีส่ าคัญของ
โลก . สานกั พมิ พ์อกั ษรเจรญิ ทัศน์ จากัด กรุงเทพฯ

รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย นายธชั วุฒิ กงประโคน ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นอนบุ าลชยั ภูมิ


Click to View FlipBook Version