The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การคิด ประถม การงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การคิด ประถม การงาน

การคิด ประถม การงาน

สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี


มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างส่ิงของเครื่องใช้
หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลย

ในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการ
เทคโนโลยีท่ยี ัง่ ยนื


ตวั ชวี้ ัด
ความคดิ
สาระ
ทักษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นรู้


สาระที่ ๒
การสรา้ ง

๑. ระบบ ๑. ทกั ษะ
๑. แผนภาพ
๑. ตงั้ คำถาม สำรวจ
การออกแบบ
ส่งิ ของเคร่อื งใช้

เทคโนโลยี การตัง้ คำถาม
นำเสนอระบบ ค้นหา และระบุ
และเทคโนโลย
ี ตามกระบวนการ
ประกอบด้วย
๒. ทักษะ
เทคโนโลย

ปญั หาหรอื


มาตรฐาน ง ๒.๑
เทคโนโลยตี อ้ ง

ตวั ปอ้ น (Input)
การระบ
ุ ๒. สง่ิ ของ
ความตอ้ งการ

๑. อธบิ าย
อาศัยความเขา้ ใจ

กระบวนการ

๓. ทกั ษะ
เคร่อื งใช้ที่เกิด เชอื่ มโยงระบบ
สว่ นประกอบ สว่ นประกอบของ
(Process) และ
การเช่อื มโยง
จากการแกป้ ัญหา เทคโนโลยีกับ


ของระบบ ระบบเทคโนโลย

ผลลัพธ์ (Output)
๔. ทักษะ
หรือสนอง
การแก้ปัญหาหรอื
เทคโนโลย
ี ความร้แู ละทกั ษะ
๒. การสรา้ ง การสรปุ

ความตอ้ งการตาม สนองความตอ้ งการ

๒. สรา้ งสิง่ ของ การสร้างช้นิ งาน

สง่ิ ของเคร่ืองใช้

ลงความเหน็
ขั้นตอน ๓ มติ ิ เพอื่ ให้ทราบปจั จัย

เครือ่ งใช้ตาม ตลอดจนขัน้ ตอน

อยา่ งเปน็ ข้ันตอน ๕. ทักษะการจดั หรือแผนท

ี ท่มี ีผลตอ่ การแกป้ ญั หา
ความสนใจ ในการสร้าง
ตง้ั แต่กำหนด โครงสร้าง
ความคดิ

หรือสนอง

อย่างปลอดภยั
ปัญหาหรือความ
๖. ทักษะ

ความตอ้ งการ

โดยกำหนด ต้องการ รวบรวม การรวบรวมขอ้ มลู

๒. จัดทำแผนภาพ

ปญั หา หรอื ข้อมลู เลือกวธิ ีการ
๗. ทกั ษะ

นำเสนอระบบ
ความต้องการ ออกแบบโดย
การสรุปอ้างองิ
เทคโนโลยเี ป็น
รวบรวมข้อมลู ถ่ายทอดความคิด ๘. ทักษะ
โครงสรา้ งรวม และ
เลอื กวธิ ีการ เปน็ ภาพร่าง ๓ การเปรียบเทียบ
บอกความสมั พนั ธ์
ออกแบบ
มิติ หรอื แผนที่ ๙. ทกั ษะ กำหนดเปน็ กรอบ
โดยถา่ ยทอด ความคิด กอ่ น กระบวนการคิด การแกป้ ัญหาหรอื
ความคิดเปน็ ลงมอื สรา้ งและ ตดั สินใจ
สนองความต้องการ

ภาพรา่ ง ๓ มิติ ประเมินผล ๑๐. ทักษะ
๓. รวบรวมขอ้ มูล
หรอื แผนที่ ทำให้ผเู้ รียน การประยุกต

ประกอบการสรา้ ง
ความคิด ทำงานอยา่ งเปน็ ใช้ความร
ู้ แนวทางการแก้
ลงมอื สรา้ ง กระบวนการ
๑๑. ทักษะ
ปญั หาหรือ

และประเมินผล
๓. ภาพร่าง ๓ มติ ิ การประเมนิ
สนองความต้องการ

๓. นำความร
ู้
ประกอบดว้ ย
ท่ีหลากหลาย

และทกั ษะ
ดา้ นกวา้ ง ด้าน ๔. เปรียบเทยี บ
การสรา้ งชิ้นงาน
ยาว และดา้ นสงู แนวทางการแก้ปญั หา

ไปประยกุ ต
์ เปน็ การถ่ายทอด หรือสนอง


92 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู พื่อพฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา


กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลย


ตัวช้ีวัด
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคิด
ชิน้ งาน/
แนวการจดั

ในการสรา้ ง รวบยอด
การเรียนร
ู้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรียนร
ู้
สง่ิ ของ

เคร่ืองใช
้ ความคิดหรือ ความตอ้ งการและ

จนิ ตนาการ
ตัดสินใจเลือก
๔. ความรทู้ ่ีใช้ใน แนวทางทีส่ อดคล้อง
การสรา้ งช้นิ งาน
กับปญั หาหรือ

ต้องอาศยั ความรู้ ความต้องการ

ท่เี ก่ียวขอ้ งกับ ๕. สรปุ ลงความเหน็
ช้นิ งานอ่ืนอีก
ว่าจะแกป้ ญั หาหรือ
เช่น กลไกและ สนองความต้องการ
การควบคมุ อยา่ งไร

ไฟฟา้ - ๖. ถ่ายทอดความคดิ

อเิ ลก็ ทรอนิกส์
เป็นภาพรา่ ง ๓ มติ ิ
๕. ทักษะ
หรือแผนทคี่ วามคิด
การสร้างช้ินงาน และลงมอื สรา้ งโดย
อืน่ ๆ ทตี่ ้องใช้ ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
เพิ่มอกี
และทกั ษะการสร้าง
ชิน้ งาน

๗. สร้างชิ้นงานและ

ประเมินสิง่ ของ
เครอ่ื งใช้สามารถ

แกป้ ัญหาหรือสนอง
ความตอ้ งการได


หรอื ไม




แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา
93

กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลย


สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร


มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล


การเรียนรู้ การสอ่ื สาร การแก้ปญั หา การทำงาน และอาชพี อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ประสทิ ธิผล และมคี ุณธรรม


ตวั ชี้วัด
ความคิด
สาระ
ทักษะการคิด
ชิน้ งาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรียนร
ู้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรียนร้


สาระที่ ๓
ใช้คอมพิวเเตอร
์ ๑. หลักการ

๑. ทกั ษะ ๑. ชิน้ งานท่ีใช

๑. ศกึ ษาวเิ คราะห์
เทคโนโลยี
ในการคน้ หา เบือ้ งต้นใน

กระบวนการคดิ คอมพิวเตอร

หลกั การเบ้ืองตน้


สารสนเทศ
ข้อมูล เกบ็ รักษา
การแกป้ ัญหา
แก้ปญั หา
ช่วยสรา้ งจาก ในการแกป้ ัญหา

และการสอ่ื สาร
และนำเสนอ ๒. การใช้ ๒. ทักษะ
จินตนาการหรือ ๒. สำรวจคน้ หาและ
มาตรฐาน ง ๓.๑
ข้อมลู ในรูปแบบ คอมพวิ เตอร์ใน การสำรวจคน้ หา
งานทีท่ ำในชีวติ ศกึ ษาวิธกี ารใช้
๑. บอกหลักการ ที่เหมาะสมโดย การคน้ หาขอ้ มลู
๓. ทักษะ
ประจำวันอย่างมี คอมพิวเตอร์ใน

เบอ้ื งตน้ ของ ใชซ้ อฟต์แวร์ ๓. การเก็บรักษา การประเมนิ
จิตสำนึกและ การค้นหาข้อมลู เกบ็
การแก้ปัญหา
ประยุกต์ และใช้ ข้อมลู ที่เปน็ ๔. ทักษะ
ความรบั ผิดชอบ
รักษาขอ้ มูลและวิธี
๒. ใช้ กระบวนการแก้ ประโยชนใ์ น
กระบวนการคดิ
๒. รายงานการใช้ การนำเสนอข้อมลู ใน

คอมพิวเตอร์ ปญั หาชว่ ยสรา้ ง
รปู แบบต่าง ๆ
ตดั สนิ ใจ
คอมพิวเตอรใ์ น รปู แบบต่าง ๆ


ในการค้นหา ชิน้ งานจาก ๔. วิธกี ารนำเสนอ
๕. ทกั ษะการนำ การค้นหาขอ้ มูล โดยใช้ซอฟต์แวร์
ขอ้ มลู
จินตนาการหรอื ขอ้ มลู ในรปู แบบ ความรไู้ ปใช้
เกบ็ รกั ษาขอ้ มูล ประยุกต์ เพ่อื สร้าง
๓. เกบ็ รักษา งานทท่ี ำในชีวิต ทเ่ี หมาะสม
และวธิ ีการนำ ช้ินงานจาก
ข้อมูลท่ีเป็น ประจำวนั อยา่ งมี โดยใชซ้ อฟต์แวร์ เสนอขอ้ มลู ใน
จินตนาการหรอื

ประโยชน์ใน จิตสำนึกและ ประยุกต
์ รูปแบบตา่ ง ๆ งานท่ที ำใน


รปู แบบต่าง ๆ
ความรบั ผดิ ชอบ
๕. การใช้ โดยใช้ซอฟต์แวร์ ชวี ติ ประจำวันอยา่ ง

๔. นำเสนอขอ้ มลู คอมพวิ เตอร

ประยุกต์ เพือ่ มีจติ สำนกึ และ


ในรปู แบบที่ ชว่ ยสร้างช้ินงาน สรา้ งช้ินงานจาก ความรบั ผดิ ชอบ

เหมาะสม จากจนิ ตนาการ จินตนาการหรือ ๓. รวบรวมวิธกี ารท่ี
โดยเลอื กใช้ หรืองานท่ที ำ
งานท่ีทำใน
ได้สำรวจและศกึ ษา

ซอฟต์แวร์ ในชวี ติ ประจำวนั ชวี ติ ประจำวนั
๔. วิเคราะหแ์ ละสรุป
ประยกุ ต
์ อยา่ งมจี ติ สำนึก
ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ าก

๕. ใช้คอมพิวเตอร์ และ
การสำรวจคน้ หา

ช่วยสรา้ ง
ความรับผิดชอบ
๕. ตัดสนิ ใจเลอื กวิธี
ชน้ิ งานจาก การปฏบิ ัติงาน

จนิ ตนาการ ๖. วางแผน

หรืองานท่ที ำ การปฏบิ ัติงาน

ในชวี ติ ประจำวัน


94 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลย


ตัวช้ีวดั
ความคิด
สาระ
ทักษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั

อย่างมจี ติ สำนึก รวบยอด
การเรยี นรู้
ภาระงาน
กจิ กรรมการเรียนร้

และ
๗. ใชค้ วามรู้จาก


ความรบั ผิดชอบ
การสำรวจค้นหาเพ่อื

จัดทำชิน้ งานโดยใช้
คอมพิวเตอรช์ ่วย
สรา้ งตามจนิ ตนาการ
หรืองานทท่ี ำใน

ชีวติ ประจำวันอย่าง

มจี ิตสำนึกและ


ความรับผิดชอบ

๘. จดั ทำรายงาน

การใช้คอมพิวเตอร์
ในการคน้ หาข้อมลู
เกบ็ รกั ษาข้อมลู และ
วธิ กี ารนำเสนอข้อมลู

ในรูปแบบต่าง ๆ

โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์
ประยกุ ต์ เพ่ือ

สรา้ งช้ินงาน


จากจนิ ตนาการ

หรืองานทที่ ำใน

ชีวิตประจำวันอยา่ ง

มจี ิตสำนกึ และ


ความรบั ผิดชอบ






แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา
95

กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลย


สาระท่ี ๔ การอาชพี


มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทักษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลย


เพ่ือพัฒนาอาชีพ มคี ุณธรรม และมีเจตคติทีด่ ตี อ่ อาชีพ


ตัวชว้ี ัด
ความคดิ
สาระ
ทกั ษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นร้
ู ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนร
ู้

สาระท่ี ๔
งานอาชีพต่าง ๆ ๑. การสำรวจ ๑. ทกั ษะ

บันทึกข้อสรปุ

๑. สำรวจตนเอง
การอาชพี
ใชค้ วามร
ู้
ตนเอง

การรวบรวม การสำรวจอาชีพ ด้านความรู้


มาตรฐาน ง ๔.๑
ความสามารถ ความสนใจ
ข้อมลู
ต่าง ๆ ในชมุ ชน ความสามารถ

๑. สำรวจตนเอง ความถนัดและ ความสามารถ ๒. ทักษะ
โดยคำนงึ ถงึ ความถนัด และ
การจำแนกประเภท
ความร ู้
ความสนใจ

เพื่อวางแผน ความสนใจ
และทักษะ
๓. ทักษะ

ความสามารถ
๒. รวบรวมขอ้ มลู
ในการเลอื ก แตกต่างกัน
๒. คุณธรรม
การเรยี งลำดับ
คณุ ธรรม
เกย่ี วกบั อาชพี ตา่ ง ๆ
อาชพี
การทจ่ี ะเลือก ในการประกอบ ๔. ทักษะ
และความสัมพนั ธ

์ ในดา้ นความร้ ู


๒. ระบุความรู้ อาชีพใด ผ้เู ลอื ก อาชีพ
กระบวนการคิด

ของอาชีพกบั
ความสามารถ และ
ความสามารถ ต้องวิเคราะห์
ตดั สินใจ
การดำรงชวี ติ
คณุ ธรรมท่ีตอ้ งการ
และคณุ ธรรม และวางแผน
๕. ทกั ษะ
ของคนในชุมชน/ ในแตล่ ะอาชีพ

ทส่ี ัมพันธ์กบั ให้เหมาะกบั ตนเอง การเชือ่ มโยง
สงั คม
๓. เรยี งลำดบั อาชพี
อาชีพท่ีสนใจ
อีกท้งั ตอ้ งม
ี ๖. ทกั ษะ
ท่สี อดคลอ้ งกับ


ความรู้
การสรปุ อ้างองิ
ความรู้ ความสามารถ

๗. ทกั ษะ
ความถนดั ความสนใจ
ความสามารถและ การนำความร
ู้
ของตนเอง

คณุ ธรรมสำคญั
ไปใช้
๔. สรปุ ความคิดเหน็

ตามลกั ษณะงาน
เก่ยี วกบั อาชีพต่าง ๆ




เพื่อวางแผนใน

การเลือกอาชีพ

๕. เช่อื มโยง

ความสัมพันธ์
ระหวา่ งอาชีพทีส่ นใจ
กับความรู้

ความสามารถ และ
คุณธรรมสำคัญ

ตามลักษณะงาน

๖. ตัดสนิ ใจเลอื ก
อาชีพทีเ่ หมาะสม

กบั ตนเอง


96 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศึกษา


กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลย


ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรยี นร้


ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ เป็นการนำผลการวิเคราะห์การจัดกิจกรรมการเรียนร ู

เพ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ใน ๖ ประเดน็ คือ ตัวชี้วัดท่นี ำมาจดั กจิ กรรมร่วมกนั ความคดิ รวบยอด

สาระการเรยี นรู้ ทกั ษะการคิด ชน้ิ งาน/ภาระงาน และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้นำมาจัดทำ

หน่วยการเรียนร้ใู น ๓ ข้ันตอน ดังน้ี

● การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้

● การกำหนดหลักฐานการเรียนรู

● การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

ในทางปฏิบัติ สามารถจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้ได้โดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์/

เช่ือมโยงของแต่ละตัวชี้วัดที่จะนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ภายในกลุ่มสาระการเรียนร ้

เดียวกันด้วยการวิเคราะห์ตัวชี้วัดภายในสาระเดียวกันหรือระหว่างสาระ นอกจากนี้ยังสามารถ

วิเคราะห์ความสัมพันธ์/เชื่อมโยงของแต่ละตัวช้ีวัดที่จะนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน
ระหวา่ งกลุม่ สาระการเรียนรู้ไดอ้ ีกด้วย

กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลย

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓


สาระท่ี ๑ การดำรงชวี ิตและครอบครวั


มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะ
การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึก

ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสงิ่ แวดล้อม เพือ่ การดำรงชีวติ และครอบครัว


ตัวชี้วัด
ความคิด
สาระ
ทักษะการคิด
ช้ินงาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรียนร
ู้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรียนรู


สาระที่ ๑
การทำงานเพอ่ื ๑. วิธีการและ ๑. ทักษะ
๑. นำเสนอ
๑. รวบรวมข้อมูล
การดำรงชีวิต
ช่วยเหลอื ตนเอง ประโยชน์การ การรวบรวม ขั้นตอน
วัสดุ อุปกรณ์ และ

และครอบครวั
ครอบครวั และ ทำงานเปน็ การใช้ ข้อมลู
การทำงานเพ่ือ เครอื่ งมือท่ี

มาตรฐาน ง ๑.๑
ส่วนรวมต้องร ู้
เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ๒. ทักษะ
ช่วยเหลือตนเอง แตกตา่ งกนั

๑. อธบิ ายวิธีการ วธิ ีการใช้วัสดุ ประโยชน์และ การจำแนก ครอบครวั และ ในการทำงาน

และประโยชน์ อปุ กรณ์ และ ทำงานให้เกดิ ประเภท
ชุมชน ท่ีอนุรกั ษ์ เพอ่ื ชว่ ยเหลือตนเอง
การทำงาน เคร่ืองมือ
ผลอย่างเปน็
๓. ทกั ษะ
สิง่ แวดล้อม
ครอบครวั และสงั คม
เพอื่ ชว่ ยเหลอื เหมาะสมกบั งาน ข้นั ตอนตาม การเช่อื มโยง
เกี่ยวกบั
ท่ีอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม

ตนเอง และทำงานอยา่ ง กระบวนการ ๔. ทกั ษะ
- วิธกี ารทำงาน
๒. จำแนกข้ันตอน
ครอบครวั
เปน็ ขั้นตอนตาม ทำงาน
การใหเ้ หตผุ ล
- ประโยชน
์ กระบวนการทำงาน
และสว่ นรวม
กระบวนการ ๒. การใช้วสั ดุ ๕. ทกั ษะ
- การใชว้ ัสดุ และการใช้วสั ดุ
๒. ใช้วสั ด ุ ทำงานด้วยความ อุปกรณ์ และ การนำความรู้
อปุ กรณ์
อุปกรณ์ และ

อุปกรณ์
สะอาด รอบคอบ
เครือ่ งมือให้ ไปใช้
- ความปลอดภัย
เคร่ืองมอื ให้เหมาะสม
และเครื่องมอื และอนุรักษ
์ เหมาะสมตรงกบั ๖. ทักษะ
๒. แสดงวิธกี าร ตรงกับลกั ษณะงาน
ตรงกบั สิ่งแวดล้อม
ลกั ษณะงาน
กระบวนการคดิ ทำงานเพอ่ื
เพ่อื ชว่ ยเหลอื ตนเอง
ลกั ษณะงาน

ชว่ ยให้ประหยดั ตัดสนิ ใจ
ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัวและสังคม

๓. ทำงานอย่าง และปลอดภัย

ครอบครัวและ ๓. เชอ่ื มโยง

เปน็ ขนั้ ตอน ๓. การทำงาน ชมุ ชนท่อี นรุ กั ษ์ ความสัมพันธข์ อง
ตาม อยา่ งเป็นขั้นตอน สิ่งแวดลอ้ ม
การทำงานเพื่อ

กระบวนการ ตามกระบวนการ โดยใชว้ สั ดุ ช่วยเหลอื ตนเอง
ทำงานดว้ ย ทำงานดว้ ย
อปุ กรณ์ และ ครอบครวั และสงั คม
ความสะอาด ความสะอาด เครื่องมือท่ตี รง กับวธิ กี ารทำงานที่
อนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม


98 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ตวั ชว้ี ดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ชิ้นงาน/
แนวการจัด

ความรอบคอบ รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนรู้

และอนุรักษ์
สิง่ แวดลอ้ ม
ความรอบคอบ
กับลกั ษณะงาน ๔. ตัดสินใจเลอื กใช้

และอนุรกั ษ ์
การทำงานอยา่ ง วิธกี ารทำงานและ
ส่งิ แวดล้อมเปน็
ปลอดภัย
วสั ดุ อปุ กรณ์ และ
คณุ ธรรมและ ๓. แบบแผน
เครอ่ื งมือเพอ่ื

ลักษณะนสิ ยั
การทำงานเพอ่ื
ชว่ ยเหลือตนเอง
ในการทำงาน
ช่วยเหลอื ตนเอง
ครอบครวั และสังคม
ครอบครัวและ ที่ตรงกบั ลกั ษณะงาน
ชุมชน ทอี่ นุรักษ์ และอนรุ ักษ ์

ส่งิ แวดลอ้ ม
สงิ่ แวดล้อม


พรอ้ มใหเ้ หตุผล

๕. ฝึกปฏิบัต ิ

การทำงานตาม

กระบวนการทำงาน
การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์
และเครือ่ งมอื

ท่ีตรงกบั ลกั ษณะงาน

ด้วยความสะอาด
ความรอบคอบและ

อนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม

๖. นำเสนอวธิ กี าร
แกป้ ัญหาท่เี กดิ จาก
การใช้วัสดอุ ุปกรณ์
และเครอ่ื งมอื

๗. นำความรไู้ ปใช้

เพื่อจัดทำแบบแผน

การทำงานเพอ่ื

ช่วยเหลอื ตนเอง
ครอบครัวและสงั คม
ท่อี นุรกั ษ์

สง่ิ แวดลอ้ มไปใช

ในชวี ิตประจำวนั




แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูเ้ พ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศึกษา
99

กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

หน่วยการเรียนร้
ู เวลา ๑๐ ช่วั โมง

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓

ชอ่ื หน่วย อยู่อยา่ งพอเพียง
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลย ี

๑. เป้าหมายการเรยี นรู้


๑.๑ ความเขา้ ใจทคี่ งทน

การทำงานใด ๆ ตอ้ งรกั และมีเจตคติท่ีดี มีความรับผดิ ชอบ ใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์อยา่ งถูกวธิ ี
เหมาะสม ประหยดั รู้จักพอเพยี ง และอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อม


๑.๒ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ัด


สาระท่ี ๑ การดำรงชวี ติ และครอบครัว


มาตรฐานการเรียนร ู้

มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวน

การทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา

ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู ้

มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช

พลงั งาน ทรัพยากร และสงิ่ แวดลอ้ ม เพือ่ การดำรงชีวติ และ

ครอบครวั

ตวั ช้ีวัด ง ๑.๑ ป.๓/๑ อธิบายวิธกี ารและประโยชนก์ ารทำงาน เพ่ือช่วยเหลือตนเอง

ครอบครวั และสว่ นรวม

ง ๑.๑ ป.๓/๒ ใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ และเครือ่ งมือตรงกบั ลักษณะงาน

ง ๑.๑ ป.๓/๓ ทำงานอย่างเป็นข้ันตอน ตามกระบวนการทำงานด้วย

ความสะอาด ความรอบคอบ และอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม


๑.๓ ความคิดรวบยอด

การทำงานเพ่ือช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม ต้องรู้วิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ ์

และเครื่องมือเหมาะสมกับงานและทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด

รอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม


100 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พอื่ พัฒนาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา


กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

๑.๔ สาระการเรยี นร
ู้
๑.๔.๑ ประเภทของวสั ดอุ ุปกรณ์ เคร่อื งมอื เคร่อื งใชใ้ นการทำงานเกษตร
๑.๔.๒ การปลกู พืชผกั สวนครวั

๑.๔.๓ ประโยชน์ของการปลูกพชื ผกั สวนครัว

๑.๔.๔ ข้นั ตอนการทำงานอย่างรอบคอบและอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อม


๑.๕ ทักษะการคดิ

๑.๕.๑ ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู

๑.๕.๒ ทักษะการจำแนกประเภท

๑.๕.๓ ทกั ษะการเชอ่ื มโยง

๑.๕.๔ ทักษะการใหเ้ หตุผล

๑.๕.๕ ทักษะการนำความรู้ไปใช้

๑.๕.๖ ทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจ


๑.๖ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

๑.๖.๑ มวี ินยั

๑.๖.๒ ใฝ่เรียนรู้

๑.๖.๓ มุง่ มัน่ ในการทำงาน

๑.๖.๔ มีจิตสาธารณะ


๒. หลกั ฐานการเรียนร
ู้


๒.๑ ช้ินงาน/ภาระงาน

๒.๑.๑ การนำเสนอขนั้ ตอน/กระบวนการทำงาน
๒.๑.๒ การแสดงวิธีการทำงาน

๒.๑.๓ การจดั ทำแบบแผนการทำงาน

๒.๒ การวัดและประเมินผล

๒.๒.๑ การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนร้

๑) การทดสอบความรู้

๒) แบบประเมนิ การเขียนรายงาน

๓) การประเมินการนำเสนองาน

๔) การสังเกตพฤติกรรม

๕) การประเมนิ ผลงาน


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
101

กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลย


๒.๒.๒ การวดั และประเมินผลเม่ือสิน้ สดุ การจัดกิจกรรมการเรียนร
ู้
๑) การแสดงวิธกี าร/สาธติ การทำงาน

๒) การจัดทำแบบแผนการทำงาน

๓) สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

๔) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

๓. การจัดกิจกรรมการเรียนร
ู้
๓.๑ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทำงาน วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องใช้ ข้อดีของการทำงาน

เพือ่ ความปลอดภยั

๓.๒ จำแนกข้ันตอนการทำงานและจัดกลุ่มลักษณะ วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือใน

การทำงานเกษตร

๓.๓ ตัดสนิ ใจเลอื กใชว้ ิธีการทำงานและเลือกใช้วัสดอุ ุปกรณ์ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน

๓.๔ ฝึกปฏิบตั กิ ารใชว้ สั ดุ อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมอื ให้ตรงกับลักษณะงาน

๓.๕ ฝึกปฏบิ ัตกิ ารทำงานตามกระบวนการทำงาน การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมือ

๓.๖ นำเสนอขั้นตอนวิธีการทำงาน ตลอดจนปัญหาที่เกิดจากการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ
เครือ่ งมอื

๓.๗ จัดทำแผนการทำงานเพอ่ื ช่วยเหลอื ตนเอง ครอบครวั และสงั คมท่อี นุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม


102 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา


กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลย


แบบประเมินกระบวนการทำงาน


ชอ่ื -นามสกุล..............................................................ชัน้ .............................................................

หน่วยการเรยี นร้ทู ี.่ ...................................................... กจิ กรรม.....................................................

คำชีแ้ จง : ใหผ้ ูป้ ระเมนิ ขดี ✓ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดับคะแนน (ดูเกณฑ์การใหค้ ะแนน)



ป ระเดน็ ท
่ีประเมิน ๔ ๓ตน เอง๒ ๑ ผ้ปู ระเมิน
๔ ครู


เพอ่ื น ๓ ๒

๔ ๓ ๒ ๑

๑. ตรงจดุ ประสงค์ทีก่ ำหนด


๒. มีความถกู ต้องสมบรู ณ


๓. มคี วามคิดสร้างสรรค์


๔. มีความเป็นระเบยี บ


๕. เสร็จตามเวลาที่กำหนด


รวม

รวมทุกรายการ


เฉล่ีย


ผู้ประเมิน..................................................(ตนเอง)

ผปู้ ระเมิน..................................................(เพือ่ น)

ผูป้ ระเมิน..................................................(คร)ู


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาทักษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา
103

กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลย


เกณฑก์ ารประเมนิ


๑. กระบวนการทำงาน


ประเ ดน็ ท ปี่ ระเมิน
๔ คะแนน คะแนน

๑ นำ้ หนกั รวม

๓ ๒

๑. ตรงกับจุด ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง
ผลงานสอดคลอ้ ง
ผลงานไมส่ อดคล้อง
๑ ๔

ประสงค์ท่ีกำหนด
กบั จดุ ประสงค
์ กับจดุ ประสงคเ์ ป็น กับจุดประสงค ์
กบั จดุ ประสงค



ทุกประเด็น
ส่วนใหญ่
บางประเด็น










๒. ความถกู ต้อง
เนือ้ หาสาระของ
เนือ้ หาสาระของ
เนื้อหาสาระของ
เนอื้ หาสาระของ
๑ ๔

สมบูรณ์
ผลงานถูกตอ้ ง
ผลงานถกู ตอ้ ง
ผลงานถูกต้อง
ผลงานไมถ่ กู ต้อง



ครบถว้ น
เป็นสว่ นใหญ่
เปน็ บางประเด็น
เป็นสว่ นใหญ









๓. ความคิด
ผลงานแสดงออกถงึ
ผลงานมีแนวคดิ
ผลงานมีความ
ผลงานไม่แสดง
๑ ๔

สรา้ งสรรค์
ความคดิ สรา้ งสรรค์
แปลกใหม่ แต่ยงั น่าสนใจ แต่ยงั ไม่มี แนวคดิ ใหม่



แปลกใหม่ และ
ไม่เปน็ ระบบ
แนวคดิ แปลกใหม




เปน็ ระบบ












๔. ความเป็น ผลงานมคี วาม
ผลงานสว่ นใหญ่
ผลงานมคี วาม
ผลงานสว่ นใหญ
่ ๑ ๔

ระเบียบ
เป็นระเบียบ มีความเปน็ ระเบยี บ
เปน็ ระเบียบ
ไม่เป็นระเบยี บ



แสดงออกถึง
แตย่ งั มีขอ้ บกพร่อง
แตม่ ีขอ้ บกพร่อง และมีข้อบกพรอ่ ง



ความประณตี
เล็กน้อย
บางสว่ น










๕. เสร็จตามเวลา
ส่งผลงานตามเวลา
สง่ ผลงานช้ากวา่
สง่ ผลงานชา้ กวา่
ส่งผลงานช้ากว่า
๑ ๔

ท่ีกำหนด
ที่กำหนด
เวลาทกี่ ำหนด
เวลาทก่ี ำหนด
เวลาทกี่ ำหนด


๑-๒ วัน
๓-๕ วัน
๕ วันขน้ึ ไป





รวม

๒๐



เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ


ชว่ งคะแนน ๑๗-๒๐ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก


ชว่ งคะแนน ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ด


ช่วงคะแนน ๑๑-๑๒ ระดบั คุณภาพ พอใช


ช่วงคะแนน ๐-๑๐ ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ


104 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา


กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

๒. การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์


คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด

✓ลงในชอ่ งทต่ี รงกับระดับคะแนน


อ คันณุ พึงลปักรษะณสงะค ์ รายการ ประเมิน
๓ ระด๒บั คะแ๑น น



๑. มวี นิ ัย ๑.๑ เขา้ เรียนตรงเวลา


๑.๒ แตง่ กายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ


๒. ใฝ่เรียนรู้ ๒.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ


๒.๒ มกี ารจดบันทึกความรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ


๒.๓ สรปุ ความรู้ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล


๓. มุง่ มน่ั ในการทำงาน ๓.๑ มีความต้งั ใจและความพยายามในการทำงานที่ไดร้ บั

มอบหมาย

๓.๒ มีความอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออปุ สรรค เพือ่ ให

งานสำเรจ็

๔.๑ ใชท้ รพั ย์สนิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยัด

๔. อยู่อยา่ งพอเพียง

๔.๒ ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรยี นอยา่ งประหยดั และรคู้ ุณคา่


๔.๓ ใช้จา่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเก็บออมเงนิ


รวม


เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ระดับคุณภาพ ดีมาก

ช่วงคะแนน ๑๐-๑๒ ระดบั คุณภาพ ด

ช่วงคะแนน ๗-๙ ระดบั คุณภาพ พอใช

ช่วงคะแนน ๔-๖ ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง

ชว่ งคะแนน ๐-๓

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศึกษา
105

กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลย


๒. การประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (ต่อ)


มวี ินัย


พฤตกิ รรมบง่ ช ี้ ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ย่ียม (๓)


๑. ปฏบิ ตั ติ าม
ไม่ปฏิบัติตามเกณฑ ์
ปฏิบตั ติ ามเกณฑ
์ ปฏบิ ัตติ ามเกณฑ
์ ปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ ์

ข้อตกลง กฎเกณฑ์
ขอ้ ตกลง ระเบียบ
ข้อตกลง ระเบยี บ
ข้อตกลง ระเบียบ
ขอ้ ตกลง ระเบยี บ

ระเบียบขอ้ บงั คบั ของ ข้อบังคบั ของ ขอ้ บังคับของ ขอ้ บงั คับของ
ข้อบังคับของ

ครอบครัว โรงเรยี น ครอบครวั
ครอบครวั โรงเรยี น ครอบครวั โรงเรียน
ครอบครวั โรงเรยี น

และสังคม ไม่ละเมดิ
โรงเรียน
ตรงต่อเวลาใน
ตรงตอ่ เวลาใน
ตรงต่อเวลาใน

สทิ ธขิ องผู้อนื่
การปฏิบัติกิจกรรม การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม การปฏบิ ัติกจิ กรรม
๒. ตรงต่อเวลา
ตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั
ต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั
ต่าง ๆ ในชวี ิตประจำวนั

ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม แต่ตอ้ งมีการเตือน แต่ตอ้ งมีการเตอื น และรบั ผดิ ชอบ

ต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวัน
เปน็ สว่ นใหญ
่ เปน็ บางครง้ั
ในการทำงานได้

และรับผิดชอบ
ดว้ ยตนเอง

ในการทำงาน


ใฝ่เรยี นรู้
ไมผ่ ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ย่ียม (๓)


พฤตกิ รรมบ่งช้ี

๑. ตั้งใจเรยี น
ไม่ตั้งใจเรียน
ต้งั ใจเรยี น เอาใจใส ่
ต้งั ใจเรียน เอาใจใส
่ ตั้งใจเรยี น เอาใจใส ่

๒. เอาใจใสแ่ ละ
และมคี วามเพยี ร
และมีความเพยี ร
และมคี วามเพียร

มคี วามเพยี รพยายาม
พยายามในการเรยี นร ู
้ พยายามในการเรียนร ู้
พยายามในการเรยี นร ้

ในการเรียนร
ู้ และเขา้ รว่ มกจิ กรรม
และเขา้ รว่ มกจิ กรรม
และเขา้ รว่ มกจิ กรรม

๓. เขา้ ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ตา่ ง ๆ
การเรียนรตู้ า่ ง ๆ
การเรียนรู้ต่าง ๆ

การเรยี นรู้ต่าง ๆ
บางคร้ัง
บอ่ ยครัง้
เปน็ ประจำ


106 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาทักษะการคิด ระดับประถมศึกษา


กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลย


ใฝ่เรียนรู้ (ตอ่ )
ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยีย่ ม (๓)


พฤติกรรมบ่งช ี้ ไม่ผ่าน (๐) ศึกษาคน้ ควา้ หา
ศึกษาคน้ ควา้ หา
ศกึ ษาค้นคว้าหา

๑. ศึกษาคน้ คว้า
ไม่ศกึ ษาค้นคว้า
ความรู้จากหนงั สอื ความร้จู ากหนงั สอื ความรู้จากหนังสอื
หาความร้จู ากหนังสือ
หาความรู้
เอกสาร ส่ิงพมิ พ์
เอกสาร สงิ่ พิมพ์ สื่อ เอกสาร สง่ิ พิมพ์ สือ่
เอกสาร ส่ิงพิมพ์ สือ่
สือ่ เทคโนโลยตี ่าง ๆ เทคโนโลยตี ่าง ๆ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ
เทคโนโลยีต่าง ๆ แหลง่ เรยี นรทู้ ้ัง แหล่งเรียนรู้ทั้ง แหลง่ เรยี นร้ทู ั้ง
แหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก
และภายนอกโรงเรยี น โรงเรยี น และม
ี โรงเรียน และม
ี โรงเรยี น เลอื กใช ้

และเลอื กใชส้ อ่ื ได้ การบนั ทกึ ความร้
ู การบนั ทกึ ความรู้ ส่อื ไดอ้ ย่างเหมาะสม

อยา่ งเหมาะสม
สรุปเปน็ องคค์ วามร ู้
มกี ารบันทกึ ความรู้

๒. บนั ทกึ ความร ู้
นำเสนอและ
นำเสนอและ

วเิ คราะห์ขอ้ มูลจาก
แลกเปล่ยี นความรู้ แลกเปลี่ยน

สงิ่ ที่เรยี นรู้ สรปุ เปน็ กับผอู้ ืน่ ได
้ องค์ความรู้ด้วยวธิ กี าร
องคค์ วามร
ู้ ทห่ี ลากหลาย

๓. แลกเปล่ียน

เรยี นรดู้ ว้ ยวิธกี าร

ตา่ ง ๆ และนำไปใช้
ในชีวิตประจำวนั


อยู่อย่างพอเพยี ง
ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยีย่ ม (๓)


พฤติกรรมบ่งช้ ี ไมผ่ า่ น (๐) ใช้ทรพั ยส์ ินของ ใช้ทรพั ยส์ นิ ของ ใช้ทรพั ย์สินของ
๑. ใช้ทรัพยากร
ใชเ้ งนิ และของใช้ ตนเองและทรพั ยากร ตนเองและทรัพยากร
ตนเองและทรพั ยากร

ของตนเอง เช่น เงนิ
ส่วนตัวอยา่ งไม่ ของสว่ นรวมอยา่ ง ของสว่ นรวมอยา่ ง ของสว่ นรวมอยา่ ง
สงิ่ ของเคร่อื งใช้ ฯลฯ
ประหยดั
ประหยดั และค้มุ คา่
ประหยัด คมุ้ ค่า
ประหยัด คมุ้ คา่

อย่างประหยดั ค้มุ ค่า

และเกบ็ รกั ษาดูแล เกบ็ รักษาดูแลอยา่ งด ี
รอบคอบ เกบ็ รกั ษา
อยา่ งดีรวมท้ังการใช้ มีเหตผุ ลและ
ดูแลอยา่ งดี มเี หตุผล

เวลาอยา่ งเหมาะสม
ไม่เอาเปรยี บผ้อู นื่
ไม่เอาเปรยี บผู้อืน่
๒. ใชท้ รพั ยากร

ของส่วนรวมอย่าง และไมท่ ำให้ผอู้ ่นื
ประหยดั คุ้มค่าและ
เดือดร้อน

เก็บรกั ษาดูแลอย่างดี


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พื่อพัฒนาทักษะการคิด ระดับประถมศึกษา
107

กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

อยู่อยา่ งพอเพยี ง (ตอ่ )


พฤติกรรมบ่งช ี้ ไม่ผา่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม (๓)


๑. ปฏิบัตติ น
ไม่วางแผนการเรยี น
ใช้ความรู้ ขอ้ มูล
ใชค้ วามรู้ ขอ้ มลู
ใช้ความรู้ ข้อมูล

และตัดสินใจดว้ ย และการใช้ชีวติ
ข่าวสารให้เป็น ขา่ วสารใหเ้ ปน็ ขา่ วสารใหเ้ ปน็
ความรอบคอบ
ประจำวัน
ประโยชน ์
ประโยชน
์ ประโยชน์ตอ่

มีเหตุผล
ต่อการเรียนและ
ต่อการเรียนและ
การเรียนและการใช้
๒. ไมเ่ อาเปรียบผอู้ ืน่ การใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
การใชช้ วี ิตประจำวัน
ชวี ิตประจำวัน รบั ร
ู้
และไม่ทำให้ผู้อ่นื รับรู้การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงของ
เดอื นรอ้ น พร้อมให้ ของครอบครวั ชมุ ชน
ครอบครัว ชมุ ชน

อภัยเมอื่ ผอู้ น่ื กระทำ และสภาพแวดลอ้ ม
และสภาพแวดลอ้ ม
ผดิ พลาด
และอยรู่ ว่ มกับผู้อืน่

๓. วางแผนการเรียน อย่างมีความสุข

การทำงานและการใช้
ชวี ติ ประจำวนั บน

พนื้ ฐานของความร ู

ขอ้ มูลข่าวสาร

๔. รเู้ ท่าทนั

การเปลี่ยนแปลง

ของสงั คมและ

สภาพแวดลอ้ ม
ยอมรบั และปรับตวั
เพือ่ อยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื

ไดอ้ ย่างมีความสุข


108 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

ความมุ่งมั่นในการทำงาน


พฤติกรรมบง่ ช้ ี ไมผ่ า่ น (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยย่ี ม (๓)


๑. เอาใจใสต่ อ่
ไมต่ ้ังใจปฏบิ ตั หิ น้าท ี
่ ตั้งใจและรับผดิ ชอบ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบ ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบ

การปฏบิ ตั ิหน้าท่
ี การงาน
ในการปฏิบัตหิ น้าท ี
่ ในการปฏบิ ัติหนา้ ท ี่
ในการปฏิบตั หิ น้าทท่ี ่

ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
ไมข่ ยนั ไมอ่ ดทน
ท่ีได้รับมอบหมาย
ท่ไี ดร้ บั มอบหมายให
้ ได้รบั มอบหมายให้
๒. ตง้ั ใจและรับผิด ในการทำงาน
ให้สำเรจ็
สำเร็จ มีการปรับปรุง
สำเรจ็ มกี ารปรบั ปรุง

ชอบในการทำงาน
ทำงานด้วยความขยนั
การทำงานใหด้ ีขึน้
และพัฒนาการทำงาน
ให้สำเรจ็
และพยายามใหง้ าน ทำงานด้วยความขยนั
ให้ดีขึน้

๓. ปรับปรุงและ สำเรจ็ ตามเปา้ หมาย
อดทน และพยายาม
ทำงานดว้ ยความขยนั

พฒั นาการทำงานด้วย ใหง้ านสำเร็จตาม
อดทน และพยายาม

ตนเอง
เป้าหมายและช่นื ชม
ใหง้ านสำเรจ็ ตาม

๔. ทุม่ เททำงานอดทน ผลงานด้วย
เป้าหมาย ไม่ย่อท้อต่อ

ไมย่ ่อท้อต่อปัญหา
ความภาคภูมใิ จ
ปัญหาในการทำงาน


แในลกะาอรปุ ทสำงรารนค
และชืน่ ชมผลงาน
๕. พยายาม
ดว้ ยความภาคภมู ิใจ


แก้ไขปัญหาและ
อุปสรรคในการทำงาน

ใหส้ ำเรจ็

๖. ช่นื ชมผลงานด้วย
ความภาคภมู ิใจ


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พอ่ื พฒั นาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
109

กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

คำอภธิ านศพั ท

สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร


กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

เป็นกระบวนการท่ีเกี่ยวข้องกับการรวบรวม การตรวจสอบความถูกต้อง การจัดเก็บ

การจัดการ การกระทำกับข้อมูลข่าวสาร โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สำนักงานต่าง ๆ

ในการปฏิบัติงานเพื่อให้ได้สารสนเทศหรือความรู้ท่ีนำมาใช้ในการตัดสินใจหรือเป็นประโยชน์ต่อ

การดำเนนิ ชวี ิต


ขอ้ มลู

ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับส่ิงต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ ส่ิงของ สถานที่ ฯลฯ

โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการส่ือสาร การแปลความหมาย การประมวลผลและการใช้งาน
ข้อมลู อาจเปน็ ตวั เลข ตวั อกั ขระ หรอื สญั ลักษณใ์ ด


เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร

การเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ ๒ เครื่องข้ึนไป เพื่อให้สามารถถ่ายโอนข้อมูล
อเิ ล็กทรอนิกสร์ ะหว่างกัน


ซอฟต์แวร

ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์อย่างมีลำดับขั้นตอน เพ่ือให้

เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน


ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์

เป็นซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพ่ืออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ โดยสามารถนำไปใช้กับ

งานด้านต่าง ๆ ที่ทำอยู่เป็นประจำได้อย่างรวดเร็ว เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตาราง

การทำงานซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมลู ซอฟตแ์ วร์นำเสนอ และซอฟต์แวรข์ องระบบงานธนาคาร


ซอฟต์แวร์ระบบ

เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการควบคุมการทำงานร่วมกันของระบบการทำงานของ

เคร่ืองคอมพวิ เตอรใ์ ห้ทำงานร่วมกับอปุ กรณ์ต่าง ๆ ในระบบคอมพวิ เตอร์ เช่น การจัดการด้านอปุ กรณ

รับเข้าข้อมลู และแสดงผล การแสดงผลลพั ธ์บนจอภาพ การนำผลลพั ธท์ ่ไี ด้ไปแสดงทางเคร่อื งพิมพ์
การบนั ทกึ ขอ้ มูลเก็บไวใ้ นหน่วยความจำรอง


110 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา


กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร


เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หมายถึง การนำวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้าน
คอมพิวเตอร์และการสื่อสารมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมีประโยชน์และ

ใชง้ านได้กว้างขวางมากขนึ้ เทคโนโลยสี ารสนเทศรวมถึงการใชเ้ ทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ในการรวบรวม

จัดเก็บ ใช้งาน ส่งต่อ หรือส่ือสารระหว่างกัน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเกี่ยวข้อง

โดยตรงกับ ๒ ส่งิ คอื

๑) เคร่ืองมือเครื่องใช้ในการจัดการสารสนเทศ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง

และอปุ กรณ์ส่อื สารและโทรคมนาคม

๒) ข้ันตอนวิธีการดำเนินการซ่ึงเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร และกรรมวิธ

การดำเนินงานเพื่อใหข้ ้อมลู นัน้ เกิดประโยชนม์ ากท่สี ุด


โปรแกรมอรรถประโยชน


เป็นโปรแกรมท่ีช่วยเสริมการทำงานของคอมพิวเตอร์ หรือช่วยโปรแกรมใช้งานอื่น ๆ ให้มี
ความสามารถใชง้ านได้สะดวกและรวดเร็วมากยง่ิ ข้ึน นอกจากนบ้ี างโปรแกรมยงั ออกแบบมาเพื่อช่วย
จัดการกับทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น จัดการหน่วยความจำ
จดั การเนื้อท่ีในการเก็บข้อมลู ช่วยทำสำเนาและค้นคนื ขอ้ มูล ชว่ ยซ่อมการชำรุดของหน่วยเก็บข้อมลู

ช่วยค้นหาป้องกนั และกำจัดไวรสั


โพรโตคอล


ข้อกำหนด ระเบียบ พิธีการ ข้ันตอนปฏิบัติท่ีใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย

เคร่ืองคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โพรโตคอลชนิดเดียวกัน จึงจะสามารถติดต่อและ

ส่งขอ้ มูลระหว่างกันได้


สารสนเทศ


ข้อมลู ทเี่ ป็นเรื่องเกย่ี วข้องกับความจริงของคน สตั ว์ สง่ิ ของ ท้งั ที่เปน็ รูปธรรมและนามธรรม

ท่ีไดร้ ับการจดั เก็บรวบรวม ประมวลผล เรยี กค้น และส่อื สารระหว่างกัน นำมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ได


ระบบสารสนเทศ


เป็นระบบสนับสนุนการบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการท้ังในระดับบุคคล ระดับ
กลุ่มหรือระดับองคก์ ร เพอ่ื ช่วยให้การทำงานมปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึ้น โดยใช้องค์ประกอบของระบบ
สารสนเทศในการดำเนนิ การ


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูเ้ พอื่ พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
111

กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี



ภาคผนวก


ทักษะการคิดทน่ี ำมาใช้ในการพัฒนาผเู้ รยี น

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑



ทกั ษะการคดิ ท่นี ำมาใช้ในการพัฒนาผูเ้ รยี น

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


ทักษะการคิดท่ีนำมาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดใ้ ชก้ รอบดา้ นกระบวนการในการคิด ประกอบดว้ ย

๑. ทักษะการคิดข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นทักษะท่ีสำคัญและจำเป็นต่อการคิดทั่ว ๆ ไปใน

ชีวิตประจำวัน และเป็นทักษะที่เป็นพื้นฐานของการคิดขั้นสูงที่ซับซ้อนข้ึน ทักษะการคิดข้ันพ้ืนฐาน
จัดเป็น ๒ กลุม่ ได้แก่ ทกั ษะการคิดทีใ่ ช้ในการสื่อสาร และทกั ษะการคิดทเ่ี ปน็ แกน

๒. ทักษะการคิดข้ันสูง จัดเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ ทักษะการคิดท่ีซับซ้อน ทักษะพัฒนา

ลกั ษณะการคิด และทักษะกระบวนการคิด

สำหรับแนวทางการพัฒนาทักษะการคิด มุ่งเน้นการนำกระบวนการที่ใช้ในการคิดบูรณาการ

เข้ากับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และเพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนได้มคี วามชัดเจน
ต่อการนำทักษะการคิดสู่การปฏิบัติ ได้นำเสนอความหมายของทักษะการคิดท่ีนำมาใช้ในการพัฒนา

ผเู้ รยี นไว้ดังน
ี้

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาทักษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา
115

กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ทกั ษะการคดิ ข้ันพืน้ ฐาน


ทักษะการคิดที่ใช้ในการส่อื สาร


ทักษะการคิด
ความหมาย


๑. การฟัง
การรับรคู้ วามหมายจากเสียงทีไ่ ด้ยิน การไดย้ นิ เปน็ ความสามารถทจ่ี ะได้รับรูส้ งิ่ ที่ได้ยิน
ตีความ และจับใจความสงิ่ ท่ีรบั ร้นู ั้นเข้าใจและจดจำไว้


๒. การพดู
การใช้ถ้อยคำ นำ้ เสียง รวมทัง้ กริ ยิ าอาการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ และความร้สู กึ

ของผ้พู ดู ใหผ้ ฟู้ งั ไดร้ ับรแู้ ละเกิดการตอบสนอง


๓. การอ่าน
การรับรู้ขอ้ ความในการเขียนของตนเองหรือของผอู้ ื่น รวมถงึ การรบั รู้ความหมาย

จากเคร่ืองหมายและสัญลักษณต์ ่าง ๆ เชน่ สญั ลกั ษณ์จราจร


๔. การเขียน
การถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ และความตอ้ งการของบุคคล

ออกมาเป็นลายลักษณ์อกั ษร เพ่อื สื่อความหมายให้ผู้อ่นื เข้าใจ



ทกั ษะการคิดท่ีเป็นแกน


ทกั ษะการคดิ
ความหมาย


๑. การสงั เกต
การรับรูแ้ ละรวบรวมข้อมูลเก่ียวกบั ส่ิงใดส่งิ หนงึ่ โดยใช้ประสาทสัมผัสทง้ั หา้

เพอ่ื ใหไ้ ด้รายละเอียดเกีย่ วกบั สิง่ นั้น ๆ ซ่ึงเป็นขอ้ มลู เชิงประจักษ์ทไ่ี มม่ กี ารใช้ประสบการณ์
และความคดิ เห็นของผูส้ งั เกตในการเสนอขอ้ มูล ข้อมลู จากการสงั เกต

มที ้งั ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพและขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ


๒. การสำรวจ
การพจิ ารณาตรวจสอบสิง่ ทส่ี ังเกตอย่างมจี ุดมุ่งหมายเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ เทจ็ จรงิ

และความคิดเห็นเกยี่ วกบั สิง่ น้นั


๓. การสำรวจค้นหา
การค้นหาส่งิ ใดส่งิ หน่ึงทย่ี ังไม่รูห้ รอื รูน้ ้อยมากอยา่ งมีจุดหมายดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ

เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลมากท่ีสดุ


๔. การต้งั คำถาม
การพดู หรือการเขียนส่ิงทส่ี งสยั หรอื ส่งิ ท่ีต้องการรู้


๕. การระบ
ุ การบ่งชสี้ งิ่ ต่าง ๆ หรือบอกส่วนต่าง ๆ ที่เปน็ องคป์ ระกอบหรือลักษณะของส่งิ ทศ่ี ึกษา


๖. การรวบรวมขอ้ มูล
การใช้วิธีการตา่ ง ๆ เก็บขอ้ มลู ทต่ี ้องการรู้


๗. การเปรียบเทยี บ
การจำแนกระบุสิง่ ของหรือเหตุการณ์่ตา่ ง ๆ ในสง่ิ ทีเ่ หมอื นกันและส่ิงทีต่ า่ งกนั


๘. การคัดแยก
การแยกสง่ิ ทมี่ ีลักษณะตา่ งกันตงั้ แต่ ๑ อยา่ งขน้ึ ไปออกจากกนั


๙. การจดั กลุ่ม
การนำสง่ิ ตา่ ง ๆ ทมี่ คี ณุ สมบตั เิ หมอื นกนั ตามเกณฑม์ าจดั เปน็ กลมุ่ โดยแตล่ ะกลมุ่

มีเกณฑต์ า่ งกัน


๑๐. การจำแนกประเภท
การนำส่งิ ต่าง ๆ มาแยกเป็นกล่มุ ตามเกณฑท์ ไ่ี ด้รบั การยอมรับทางวิชาการ

หรือยอมรบั โดยทวั่ ไป


116 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พอื่ พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศึกษา


กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ทกั ษะการคิด
ความหมาย

๑๑. การเรยี งลำดบั

๑๒. การแปลความ
การนำสิ่งตา่ ง ๆ มาจดั เรยี งไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยใช้เกณฑก์ ารจัดเกณฑใ์ ดเกณฑ์หนงึ่


๑๓. การตีความ
การเรยี บเรยี งและถ่ายทอดขอ้ มูลในรปู แบบ/วธิ ีการใหมท่ ีแ่ ตกต่างไปจากเดมิ

แต่ยงั คงสาระเดิม

๑๔. การเชือ่ มโยง

๑๕. การสรุปยอ่
การบอกความหมายหรือความสัมพนั ธ์ของข้อมลู หรอื สาระทแ่ี ฝงอยู่ไม่ปรากฏ

๑๖. การสรปุ อ้างอิง
ให้เห็นอยา่ งชัดเจน โดยการเชอื่ มโยงกบั บริบทความร/ู้ ประสบการณเ์ ดมิ

๑๗. การใหเ้ หตุผล
หรือขอ้ มลู อนื่ ๆ


๑๘. การนำความรไู้ ปใช
้ การบอกความสัมพันธร์ ะหวา่ งข้อมลู อย่างมีความหมาย


การจับเฉพาะใจความสำคัญของเรื่องทีต่ อ้ งการสรุปและนำมาเรยี บเรียงให้กระชับ


การนำความรูห้ รือประสบการณเ์ ดิมมาใชใ้ นการสรปุ ลงความเห็นเกี่ยวกับข้อมลู


การอธิบายเหตุการณ์หรือการกระทำต่าง ๆ โดยเชอ่ื มโยงให้เหน็ ถงึ สาเหตุ

และผลทีเ่ กิดข้นึ ในเหตุการณห์ รอื การกระทำนนั้ ๆ


การนำความรู้ท่เี กิดจากความเข้าใจไปใช้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชำนาญ





ทกั ษะการคิดขนั้ สงู



ทกั ษะการคดิ ท่ซี ับซ้อน


ทักษะการคิด
ความหมาย


๑. การทำใหก้ ระจา่ ง
การให้รายละเอยี ดหรือคำอธบิ ายเพิม่ เติมเกยี่ วกบั สิ่งทส่ี งสัยหรอื คลุมเครือ

เพอ่ื ให้เกดิ ความชัดเจน


๒. การสรปุ ลงความเหน็
การใหค้ วามคดิ เห็นเกี่ยวกับข้อมูล/เร่อื งทีศ่ กึ ษา โดยการเชอ่ื มโยงและอ้างองิ จากความร ู

หรือประสบการณ์เดมิ หรือจากข้อมูลอ่นื ๆ รวมท้ังเหตุผล


๓. การให้คำกำจดั ความ
การระบุลกั ษณะเฉพาะทีส่ ำคญั ของสงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ ทต่ี ้องการนิยาม


๔. การวเิ คราะห
์ การจำแนกแยกแยะส่งิ ใดสงิ่ หนึ่ง/เร่ืองใดเร่อื งหนงึ่ เพอ่ื คน้ หาองคป์ ระกอบ

และความสมั พันธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบเหล่าน้นั เพอ่ื ช่วยให้เกดิ ความเขา้ ใจในเรอื่ งนนั้


๕. การสงั เคราะห
์ การนำความรู้ที่ผ่านการวิเคราะหม์ าผสมผสานสรา้ งส่ิงใหมท่ ี่มลี ักษณะต่างจากเดมิ


๖. การประยุกตใ์ ชค้ วามร
ู้ การนำความรทู้ ี่มีไปใช้ในสถานการณ์ใหมท่ ่มี ลี ักษณะแตกต่างไปจากเดมิ


๗. การจัดระเบียบ
การนำขอ้ มูลหรือสิ่งตา่ ง ๆ มาจดั ใหเ้ ป็นระเบยี บในลกั ษณะใดลกั ษณะหนึ่ง

เพ่อื ใหส้ ะดวกแกก่ ารดำเนินการ


๘. การสร้างความรู้
การสร้างความรขู้ องตนเองจากการทำความเข้าใจเชือ่ มโยงขอ้ มูลใหม่กับข้อมลู เดมิ


๙. การจัดโครงสร้าง
การนำความร้มู าจัดใหเ้ ห็นเปน็ โครงสร้างทแ่ี สดงความสมั พนั ธข์ องข้อมลู /ขอ้ ความร ู้

ซ่งึ เป็นองคป์ ระกอบของโครงสร้างน้นั ๆ



แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา
117

กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลย


ทักษะการคดิ
ความหมาย

๑๐. การปรับโครงสร้าง
การนำขอ้ มลู มาปรบั /เปลี่ยน/ขยายโครงสร้างความรเู้ ดิม

๑๑. การหาแบบแผน
การหาชดุ ความสัมพนั ธ์ของลกั ษณะหรอื องค์ประกอบในสงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ

๑๒. การพยากรณ์
การคาดคะเนสง่ิ ทจี่ ะเกิดขน้ึ ล่วงหนา้ โดยอาศยั การสงั เกต ปรากฏการณ์ท่เี กิดขนึ้ ซ้ำ ๆ

หรือใช้ความร้ทู ่ีเปน็ หลกั การ กฎ หรือทฤษฎีในเรอ่ื งนัน้ มาช่วยในการทำนาย

๑๓. การหาความเชื่อ
การใชห้ ลักเหตุผลค้นหาความเช่ือท่กี ำหนดการกระทำของบคุ คลน้ัน

พืน้ ฐาน

๑๔. การตง้ั สมมติฐาน
การคาดคะเนคำตอบทีย่ งั ไมไ่ ด้พิสูจน์ บนฐานข้อมูลจากการสงั เกตปรากฏการณค์ วามร ู้

และประสบการณ์เดิม

๑๕. การพสิ จู นค์ วามจรงิ
การหาขอ้ มลู ทเ่ี ช่อื ถอื ได้มาสนับสนุนขอ้ สรปุ หรือคำตอบวา่ เปน็ จรงิ

๑๖. การทดสอบ การหาข้อมูลท่เี ป็นความรู้เชิงประจักษเ์ พ่อื ใช้สนับสนุนหรอื คดั คา้ นคำตอบล่วงหนา้

สมมติฐาน
ท่คี าดคะเนไว้ หรอื เพื่อยอมรบั หรอื ปฏเิ สธคำตอบท่ีคาดคะเนไว้

๑๗. การตงั้ เกณฑ์
การบอกประเดน็ /หัวข้อทใี่ ชเ้ ปน็ แนวทางในการประเมิน

๑๘. การประเมนิ
การตัดสนิ คณุ คา่ หรอื คุณภาพของสิ่งใดสง่ิ หนง่ึ โดยการนำผลจากการวดั ไปเทียบกบั

ระดับคณุ ภาพท่กี ำหนด






ทักษะพฒั นาลกั ษณะการคดิ


ลักษณะการคิด
ความหมาย


๑. คิดคลอ่ ง
การให้ไดข้ อ้ มลู จำนวนมากอย่างรวดเรว็


๒. คดิ หลากหลาย
การให้ไดข้ อ้ มูลหลายประเภท


๓. คิดละเอยี ด
การใหไ้ ดข้ ้อมูลที่เป็นรายละเอียดของสงิ่ ท่ตี ้องการคิด


๔. คิดชัดเจน
การคิดท่ีผู้คดิ ร้วู ่าตนร้แู ละไม่รู้อะไร เขา้ ใจและไม่เขา้ ใจอะไร และสงสยั อะไรในเรอื่ งที่คดิ


๕. คดิ อย่างมเี หตผุ ล
การใชห้ ลกั เหตผุ ลในการคดิ พจิ ารณาเร่อื งใดเรื่องหนง่ึ


๖. คดิ ถูกทาง
การคิดท่ีทำใหไ้ ดค้ วามคิดทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อส่วนรวมและเป็นประโยชน์ระยะยาว


๗. คิดกวา้ ง
การคดิ พจิ ารณาถงึ องค์ประกอบ/แงม่ มุ ต่าง ๆ ของเรือ่ งที่คดิ อย่างครอบคลมุ


๘. คิดไกล
การคดิ ทท่ี ำใหส้ ามารถอธิบายเหตกุ ารณใ์ นอนาคตได้


๙. คดิ ลกึ ซ้งึ
การคิดทท่ี ำใหเ้ ข้าใจความซับซ้อนของโครงสรา้ งและระบบความสมั พันธเ์ ชิงสาเหตุ


ในโครงสร้างของเรอ่ื งทคี่ ดิ





118 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนร้เู พอื่ พัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา


กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

ทกั ษะกระบวนการคิด


ทกั ษะกระบวนการคิด
ความหมาย


๑. กระบวนการคิด
การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณเป็นกระบวนการคดิ เพ่อื ใหไ้ ดค้ วามคิดทร่ี อบคอบ

อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
สาเหตุท่จี ะเชือ่ หรือจะทำโดยผา่ นการพิจารณาปจั จยั รอบดา้ นอยา่ งกวา้ งไกล ลกึ ซึ้ง และผ่าน
การพจิ ารณากลั่นกรอง ไตร่ตรอง ท้งั ทางดา้ นคณุ -โทษ และคุณคา่ ที่แท้จรงิ ของส่งิ นัน้ มาแลว้


๒. กระบวนการคดิ
การตัดสินใจเปน็ กระบวนการทีใ่ ชใ้ นการพิจารณาเลอื กตัวเลอื กทีม่ ีตง้ั แต ่

ตัดสนิ ใจ
๒ ตัวเลอื กขนึ้ ไป ทางเลือกนั้นอาจจะเป็นวตั ถุสงิ่ ของ หรือแนวปฏบิ ัติตา่ ง ๆ

ที่ใชใ้ นการแก้ปัญหา หรือดำเนินการเพ่ือใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ที่ต้งั ไว้


๓. กระบวนการคดิ
กระบวนการแก้ปญั หาทวั่ ไป

แก้ปญั หา
การแกป้ ญั หาเป็นขั้นตอน การเผชิญฝา่ ฟนั อปุ สรรค และแก้ไขสถานการณ

เพ่ือใหป้ ัญหานัน้ หมดไป

กระบวนการแกป้ ัญหา (เฉพาะโจทยป์ ัญหาตัวเลข)

การแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ หมายถึง ขั้นตอนในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา


๔. กระบวนการวจิ ัย
ขนั้ ตอนท่ีใช้หาคำตอบของปญั หาเปน็ ผลใหพ้ บองค์ความรใู้ หม ่

ข้ันตอนที่ใชแ้ กป้ ัญหานัน้ มีความเป็นลำดบั ขัน้ ตอนอยา่ งเป็นระบบ


๕. กระบวนการคดิ ความคิดทีแ่ ปลกใหมท่ ่จี ะนำไปสู่สง่ิ ตา่ ง ๆ ผลผลติ ใหม่ ๆ ทางเทคโนโลย

สร้างสรรค
์ และความสามารถในการประดิษฐค์ ดิ คน้ ส่งิ แปลกใหม


๖. กระบวนการคิด
การคิดคน้ หาปัญหาอย่างแทจ้ รงิ ชดั เจน เปิดรบั ข้อมูล ความคดิ พสิ จู น์ แยกแยะ

แก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค
์ ให้ได้ความคดิ เห็นท่ดี ที ่ีสุด และแปลงความคดิ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติอย่างสร้างสรรค์





่มี าของข้อมูล


เอกสาร

ทิศนา แขมมณี และคณะ ๒๕๔๙. การนำเสนอรูปแบบเสริมสร้างทักษะการคิดขั้นสูง


ของนิสิตนักศึกษาครูระดับปริญญาตรีสำหรับหลักสูตรครุศึกษา : รายงานการวิจัย.

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . (เอกสารเยบ็ เล่ม)

เว็บไซต

http://www.wikipedia.org/wiki

http://www.wangnoi-nfe/index.file/Page1181.html

http://www.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical-Reading_meaning.htm

http://www.e-learning.mfu.ac.th/mflu/1001/chapter31.htm




แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพื่อพฒั นาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา
119

กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี



คณะทำงาน


ที่ปรึกษา
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

๑. นายชนิ ภทั ร ภูมริ ตั น ผอู้ ำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

๒. นางเบญจลักษณ์ นำ้ ฟ้า
๓. นางสาววณี า อคั รธรรม รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

รองผู้อำนวยการสำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

ผู้ทรงคุณวุฒิ

สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

๑. รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี
รองผูอ้ ำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

๒. ดร.เพญ็ นี หล่อวัฒนพงษา
นกั วิชาการศกึ ษา

นักวชิ าการศกึ ษา

ผู้กำหนดกรอบแนวคดิ
นกั วิชาการศกึ ษา

นักวชิ าการศึกษา

๑. นางเบญจลกั ษณ์ น้ำฟ้า นักวิชาการศกึ ษา

๒. นางสาวกญั นกิ า พราหมณ์พทิ กั ษ์ นกั วชิ าการศกึ ษา

นักวิชาการศกึ ษา

ผู้รับผิดชอบโครงการ
นกั วชิ าการศกึ ษา


กลุ่มพฒั นากระบวนการเรียนร ู้
๑. นางสาวกญั นิกา พราหมณพ์ ิทกั ษ์
๒. นางสาวศรนิ ทร เศรษฐการณุ ย์
๓. นางผาณิต ทวศี กั ดิ์
๔. นางสาววรณัน ขุนศรี
๕. นางบุษริน ประเสริฐรัตน์
๖. นางสาวเปรมวดี ศรีธนพล
๗. นางสาวภัทรา สุวรรณบตั ร
๘. นางสาวจรูญศรี แจบไธสง
๙. นางสาวภทั รา ด่านววิ ัฒน์

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพือ่ พฒั นาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
121

กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลย


คณะทำงาน คร้งั ที่ ๑



การวิเคราะห์ตวั ชี้วดั สู่การพฒั นาทกั ษะการคิด


๑. นายทองสขุ รวยสูงเนนิ ขา้ ราชการบำนาญ

๒. นางกญั ญา วัฒนถาวร สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาสมุทรสงคราม

๓. นายนกุ ูล คชฤทธ์ิ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาสตูล

๔. นายดำรสั สีหะวรี ชาต ิ สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาภเู กต็

๕. นายอุปการ จรี ะพันธ ุ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย

๖. นางสาวจินดาพร หมวกหมืน่ ไวย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๗. นางเกยูร ปริยพฤทธ ์ สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

๘. นางวรรณี จนั ทรศิริ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

๙. นางสาวพรนภิ า ศิลปป์ ระคอง สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

๑๐. นายประชา อ่อนรกั ษา สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

๑๑. นางสาวศรนิ ทร เศรษฐการณุ ย ์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา


คณะทำงาน ครงั้ ที่ ๒


การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ


๑. นายมงคล ผสุ ดี ครโู รงเรียนจกั รคำคณาทร จงั หวัดลำพูน

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาลำพนู เขต ๑

๒. นายดำรง หริ ญั ยะพรรณ์ ครโู รงเรยี นทวธี าภิเศก

สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒

๓. นางสาวประเทือง อังกรู วัฒนา ครูโรงเรียนวดั มงคลรตั น

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑


122 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศึกษา


กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลย


๔. นางวรรณา โชคประเสริฐถาวร ครูโรงเรยี นบ้านเกาะรากเสยี ด

สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษากำแพงเพชร เขต ๑

๕. นางจุลี สรอ้ ยญานะ ครูโรงเรยี นอนุบาลลำพนู

สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาลำพนู เขต ๑

๖. นายพงศกร สทุ ธธิ รรม ครูโรงเรียนสุรวทิ ยาคาร

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๑

๗. นายธงชยั นาคพงษ์ ครูโรงเรียนบา้ นทรงธรรม

สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษากำแพงเพชร เขต ๑

๘. นายโกวิทย์ ยงั ปกั ษ ี ครโู รงเรียนบา้ นคนั ธทรัพย์

สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาชมุ พร เขต ๑

๙. นายอปุ การ จรี ะพันธ ุ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๑๐. นางสาวจินดาพร หมวกหมนื่ ไวย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๑๑. นางเกยูร ปริยพฤทธ์ สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

๑๒. นางวรรณี จนั ทรศิริ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

๑๓. นางสาวศรนิ ทร เศรษฐการุณย ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา


คณะทำงาน คร้งั ที่ ๓


บรรณาธิการการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พ่อื พฒั นาทักษะการคิด


๑. นางกัญญา วฒั นถาวร ศึกษานิเทศก์

สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาสมุทรสงคราม

๒. นายมงคล ผุสดี ครโู รงเรยี นจักรคำคณาทร จงั หวดั ลำพูน

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาลำพนู เขต ๑


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนร้เู พ่อื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา
123

กล่มุ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลย


๓. นายดำรง หริ ญั ยะพรรณ ์ ครโู รงเรียนทวธี าภเิ ศก

สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒

๔. นางสาวประเทอื ง อังกรู วฒั นา ครโู รงเรยี นวัดมงคลรตั น

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑

๕. นางวรรณา โชคประเสรฐิ ถาวร ครโู รงเรียนบา้ นเกาะรากเสยี ด

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษากำแพงเพชร เขต ๑

๖. นางจุลี สรอ้ ยญานะ ครูโรงเรียนอนบุ าลลำพูน

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาลำพนู เขต ๑

๗. นายพงศกร สทุ ธธิ รรม ครูโรงเรยี นสุรวทิ ยาคาร

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๑

๘. นายธงชยั นาคพงษ์ ครูโรงเรียนบ้านทรงธรรม

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษากำแพงเพชร เขต ๑

๙. นายโกวทิ ย์ ยงั ปักษี ครูโรงเรยี นบา้ นคันธทรัพย์

สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาชมุ พร เขต ๑

๑๐. นางสาวอรพิน วฒั นศิริ ครโู รงเรียนบา้ นเกาะรากเสียด

สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษากำแพงเพชร เขต ๑

๑๑. นายอปุ การ จรี ะพันธุ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๑๒. นางสาวจินดาพร หมวกหมนื่ ไวย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย

๑๓. นางเกยูร ปริยพฤทธ์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

๑๔. นางวรรณี จนั ทรศิริ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

๑๕. นางสาวศรนิ ทร เศรษฐการุณย์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา


124 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศึกษา


กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลย


คณะทำงาน คร้ังท่ี ๔



บรรณาธิการเอกสารแนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทักษะการคดิ


๑. นางกัญญา วฒั นถาวร ศึกษานเิ ทศก์

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาสมุทรสงคราม

๒. นายเฉลมิ ฟักออ่ น ศกึ ษานิเทศก

สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาลำพูน เขต ๑

๓. นางสาวพิสมร วยั วุฒิ ศึกษานิเทศก์

สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาอุตรดิตถ์ เขต ๑

๔. นายอุปการ จรี ะพนั ธุ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย

๕. นางสาวจินดาพร หมวกหม่ืนไวย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย

๖. นางเกยรู ปรยิ พฤทธ์ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

๗. นางสาวศรินทร เศรษฐการุณย ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา


คณะทำงาน ครง้ั ที่ ๕



บรรณาธิการหลังทดลองใชเ้ อกสารแนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทักษะการคดิ


๑. นางบญุ สิน กุลวงศ์ ครูโรงเรียนบา้ นท่าช่วง

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา

อุดรธานี เขต ๓

๒. นางนวนนยั คำหลา้ ครโู รงเรียนบ้านเชียง (ประชาเชียงเชดิ )

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา

อดุ รธานี เขต ๓


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พื่อพฒั นาทกั ษะการคิด ระดับประถมศึกษา
125

กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลย


๓. นายธงชยั นาคพงษ ์ ครโู รงเรียนบ้านทรงธรรม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา

กำแพงเพชร เขต ๑

๔. นางสาวประเทอื ง อังกรู วัฒนา ครโู รงเรียนวัดมงคลรตั น์

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษา

ปทุมธานี เขต ๒

๕. นางจุลี สรอ้ ยญานะ ครโู รงเรียนอนบุ าลลำพูน

สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลำพนู เขต ๑

๖. นายพงศกร สทุ ธธิ รรม ครโู รงเรยี นสุรวิทยาคาร จงั หวัดสุรนิ ทร

สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓

๗. นายมงคล ผสุ ดี ครโู รงเรยี นจกั รคำคณาทร จังหวดั ลำพนู

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๕

๘. นายอปุ การ จีระพันธ ุ นกั วิชาการศกึ ษา

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย

๙. นางสาวจนิ ดาพร หมวกหมน่ื ไวย นักวิชาการศึกษา

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย

๑๐. นางผาณติ ทวีศักด์ิ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

๑๑. นางสาวจรญู ศรี แจบไธสง สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา


ผเู้ รยี บเรยี ง และจัดทำฉบบั สมบรู ณ


นางผาณติ ทวีศักด ิ์ นกั วิชาการศึกษา กลุ่มพัฒนากระบวนการเรียนร
ู้
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา


126 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

ผบู้ รรณาธกิ ารข้ันสดุ ทา้ ย
ผูอ้ ำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

๑. นางสาววณี า อัครธรรม
๒. นางสาวกญั นิกา พราหมณ์พทิ กั ษ์ ศกึ ษานเิ ทศก

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต ๑

ผูอ้ อกแบบปกและรปู เล่ม
ครูโรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี จงั หวดั พษิ ณุโลก

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๙

๑. นายดสุ ติ จันทรศ์ รี

๒. นายวเิ ชียร เซี่ยงว่อง


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา
127

กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลย



Click to View FlipBook Version