เปด ปก
ผา่ นวสันตฤดกู ห็ นาวแลว้
ศวิ กานท์ ปทมุ สตู ิ
ภาพ: ัจนเ จา ่คะ
คณุ มอิ าจหยุดชลาที่บา่ ไหล ทั้งหยดุ วายุไหวใบไม้ป่า
มหิ ยดุ แดดแผดยยุ่ ผยุ พนา แมแ้ ตก่ รวดศิลาเปน็ ฝนุ่ ธุลี
คุณมิอาจเขา้ ใจด้วยใจแคบ ในแบบที่คุณครอบระบอบวิถี
มิอาจส�านกึ ลกึ ถงึ ดึกฤดี ท่ีทรุ ยศบดขย-้ี ดวงดอกไม้!
ยิ่งดว้ ยปนื ทีค่ ณุ ถือยง่ิ สาไถย
คณุ มอิ าจปดิ ฟ้าด้วยฝา่ มอื แม้อา� นาจบาตรใหญ่คุณยดึ ครอง
มิป้องปัดตระบดั เบอื นโลกท้ังใบ
คุณมอิ าจรกั ลูกด้วยผกู ลา่ ม และมอิ าจคกุ คามเด็กทง้ั ผอง
รกั มิใช่โซ่ประแจที่จา� จอง กตญั ญตุ ามิใชต่ ้อง-หลับตาตาม!
โดยชวั่ ดมี ิได้ยกขึ้นถกถาม
คณุ มอิ าจอา้ งขนบประเพณี ปลกุ สงครามตัวแทนในแผน่ ดิน
คณุ มิอาจชรู ูปแลว้ รุกลาม ตราบใจมิเขา้ ใจลกู ทง้ั สิน้
คณุ มอิ าจเป็นพ่อแมท่ แ่ี ท้ได้ เสียงของศิษย์จิตถวิลของวญิ ญู
คุณมอิ าจเป็นครหู าก...มิพกั ยิน
คุณมอิ าจเอาพนั ธุ์ลบี เมล็ดแล้ง มาปลูกหว่านวญิ ญาณแกรง่ แหง่ เชา้ ตรู่
หมดเวลากองล�าเลียงนา้� เล้ียงภู ผ่านวสนั ตฤดกู ห็ นาวแล้ว
ผไู ถ วารสาร “ผู้ไถ” จัดพิมพโดยแผนกยุติธรรมและสันติ (ยส.) ในคณะ
กรรมการคาทอลกิ เพ่อื การพฒั นาสังคม เพ่ือเสนอขาวสารดา้ นสิทธิมนุษยชน
ปท ่ี 41 ฉบับท่ี 114 3/2563 ประชาธิปไตย ศาสนา ส่งิ แวดล้อม และสาระทางสังคมทีน่ อกเหนือไปจาก
ขาวสารกระแสหลักตามหน้าหนังสือพิมพ โดยไมได้มุงแสวงหาก�าไรมากไป
ผูกอต้ัง กวาความรับผดิ ชอบตอ สงั คม
บิชอปบุญเลื่อน หมัน้ ทรัพย
“ผไู้ ถ” ยนิ ดรี ับความคดิ เหน็ ของผู้รกั ความเปน็ ธรรม นกั คดิ นกั เขยี น
ทป่ี รกึ ษา นักวิชาการ ศิลปน ในทุกรูปแบบท่ีสอดคล้องตามแนวของวารสาร โดย
บิชอปบรรจง ไชยรา บรรณาธิการขอสงวนสิทธ์ิในการแก้ไขขัดเกลาต้นฉบับตามความเหมาะสม
รศ.ดร.วไล ณ ปอมเพชร แตจ ะรกั ษาไวซ้ ่ึงเจตนารมณของผผู้ ลิตงาน
อจั ฉรา สมแสงสรวง
จกั รชัย โฉมทองดี อนึ่ง ขอ้ เขยี นท้ังหมดท่ตี ีพิมพใน “ผู้ไถ” เปน็ ทัศนะเฉพาะของผเู้ ขยี น
ชื่นสุข อาศัยธรรมกุล รับผิดชอบรวมกันระหวางนักเขียนและบรรณาธิการ แตไมจ�าเป็นวาผู้จัดท�า
ตอ้ งเหน็ ดว้ ย และไมผ กู พนั กบั แผนกยตุ ธิ รรมและสนั ติ(ยส.) ในคณะกรรมการ
นริศ มณขี าว คาทอลิกเพือ่ การพฒั นาสังคม
ศราวฒุ ิ ประทุมราช
ภาพและขอ้ เขยี นใน “ผไู้ ถ” ยินดใี ห้คัดลอก เผยแพร เพยี งแตโ ปรด
บรรณาธิการ แจ้งให้เราทราบด้วย
ธัญลักษณ นวลักษณกวี
วารสาร “ผู้ไถ” ถอื กา� เนดิ ข้นึ ในชวงทีป่ ระเทศไทยกา� ลังประสบวกิ ฤติ
กองบรรณาธกิ าร ทางการเมืองและสังคม จากเหตุการณเดือนตุลาคม ป ๒๕๑๖ และ ๒๕๑๙
เอมมิกา ค�าทมุ โดยมีคนกลุมเล็กๆ จ�านวน ๓ – ๔ ทาน ท่ีตระหนักดีวาเป็นความจ�าเป็นท่ี
สนธยา ต้ัวสงู เนิน พระศาสนจักรคาทอลิกต้องอยูในความเป็นจริงของสังคม เข้าใจปญหาและ
ชุตมิ า ศรีเสน ความทกุ ขย ากทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ประชาชน จากกรณคี วามขดั แยง้ ทางลทั ธอิ ดุ มการณ
ปริณฑร วาปกงั และเพื่อชวยมิให้พระศาสนจักรถูกใช้เป็นเคร่ืองมือทางการเมือง หากสมาชิก
ฝายสมาชิกและการเงิน พระศาสนจักรไมเข้าใจวา อะไรคือความเปน็ จรงิ ความยตุ ธิ รรม และความ
ปริญดา วาปก งั ถกู ต้องทแี่ ท้ของสังคมในขณะนัน้
ภาพปกหนา
การเลือกใช้ค�าวา “ผู้ไถ” ได้รับอิทธิพลทางความคิดจากพระคัมภีร
จนั เจ้าคะ ไบเบิล ในสมยั ทโ่ี มเสสเปน็ ผูน้ า� ชาวยิวอพยพจากประเทศอียปิ ต เป็นการปลด
ภาพปกใน (การด ) ปลอ ยชาวยวิ ใหเ้ ปน็ อสิ ระจากการอยใู ตอ้ า� นาจของตา งชาติ และจากการตกเปน็
พรี ดา ทองมะเรงิ ทาสและเชลย ซง่ึ มนี ยั ถงึ การไถก ู้ การชว ยใหป้ ระชาชนหลดุ พน้ จากพนั ธนาการ
ท่เี ปน็ อุปสรรคของการพฒั นาความเปน็ คน และไดร้ ับอิสรภาพ เสรภี าพ เพื่อ
ภาพปกหลงั บรรลุถึงความเป็นคนท่ีครบครนั ทงั้ ทางด้านจิตใจและสังคม
ปริณฑร วาปกัง
ด้วยเหตุน้ี เหตุการณตุลาคมวิปโยคจึงเป็นบทเรียนท่ีสะท้อนถึง
รูปเลม การตอสู้ของภาคประชาชนเพ่ือให้ตนเองและสังคมหลุดพ้นจากการถูกกดข่ี
บุศรนิ ทร อังศกุลชัย ขม เหง จากกลมุ ผมู้ อี า� นาจในการปกครอง และโครงสรา้ งทางสงั คมทอี่ ยตุ ธิ รรม
วารสาร “ผู้ไถ” ในยุคเร่ิมต้นนั้น จึงท�าหน้าท่ีเสมือน “ส่ือ” น�าเสนอข้อเท็จจริง
โรงพมิ พ ที่เกิดข้ึน วิเคราะหและไตรตรองบนจุดยืนของคุณคาศาสนา เพื่อกระตุ้นให้
ศูนยก ารพิมพแ กน จนั ทร โทร. ๐ ๒๒๗๖ ๖๕๔๕ ผู้อาน ได้ใช้วิจารณญาณในการเข้าใจเหตุการณตางๆ ท่ีเกิดข้ึน และส�านึก
ถึงบทบาทการมีสวนรวมสร้างความเป็นประชาธิปไตย การเคารพสิทธิของ
จัดพมิ พโ ดย ประชาชนให้เกิดข้นึ ในสงั คม
แผนกยตุ ธิ รรมและสันติ (ยส.)
ในคณะกรรมการคาทอลกิ เพอ่ื การพฒั นาสังคม และถงึ แมเ้ สน้ ทางของการทา� หนา้ ทเ่ี ปน็ สอื่ ของวารสาร “ผไู้ ถ” ยาวนาน
๑๑๔ (๒๔๙๒) ซ.ประชาสงเคราะห ๒๔ มากวา ๔๐ ป แตเราก็ยังยืนยันที่จะสืบสานตอภารกิจการไถกู้ด้วยความเชื่อ
ดนิ แดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ ม่ันวา เราแตละคนและทุกคนตางมีหน้าที่ในการสร้างสรรคสังคมให้ด�ารงไว้
โทรศพั ท ๐ ๒๒๗๕ ๗๗๘๓, ๐ ๒๒๗๗ ๔๖๒๕ ซึ่งความยุติธรรมและสันติ เพราะเรามศี กั ด์ิศรี มอี สิ รภาพและเสรภี าพ ทเี่ ทา
เทียมกนั ในฐานะทเ่ี ปน็ มนษุ ย
โทรสาร ๐ ๒๖๙๒ ๔๑๕๐
www.jpthai.org
E-Mail : [email protected]
ราคา 60 บาท
เปด เลม
เม่ือวันที่ ๒ ธันวาคมที่ผ่านมา เป็นวัน
ครบรอบวันมรณภาพของ ‘พ่อปู’่ บชิ อปมีคาแอล
บุญเลื่อน หมั้นทรัพย์๑ ผู้เป็นที่รักของพวกเรา
ชาว ยส. แม้ท่านจะจากเราไปนานถึง ๑๐ ปี แล้ว
ก็ตาม แตท่ ่านยังคงอยู่ในใจ ในความทรงจา� และ
ความระลกึ ถึงของพวกเราอยูเ่ สมอ โดยเฉพาะหว้ ง
ยามนท้ี สี่ ถานการณบ์ า้ นเมอื งอยู่ในสภาวะที่ไมเ่ ปน็
ปกติสขุ พวกเรายง่ิ คดิ ถงึ ท่านมากข้ึนเปน็ ทวีคณู
โอกาสนี้ จงึ ขอน�าบทความหน่งึ ของท่าน
จากคอลัมน์ “อยู่กับปวงประชา”๒ ท่ีดูจะเข้ากับ
สถานการณ์บ้านเมืองได้เป็นอย่างดี! เพ่ือเราได้
รว่ มไตร่ตรองไปพร้อมๆ กนั
ครสิ ตชน กับ ประชาธิปไตย
โดย บิชอปมีคาแอล บุญเล่ือน หมัน้ ทรัพย์
บัดน้ี เราควรหนั มาสนใจอนาคตของประเทศชาตเิ ราดกี วา่ ...
‘ประชาธิปไตย’ ค�าๆ น้ีควรมีความหมายเป็นพิเศษส�าหรับชาวไทย และเราจะต้องเรยี นรู้ให้
ลึกซึง้ ชว่ ยกนั ท�าให้เจริญงอกงามและชว่ ยกนั รกั ษาเอาไว้ให้นานเทา่ นาน
‘ประชาธิปไตย’ มิได้หมายถึงระบบการเมืองระบบหนง่ึ เท่านน้ั แต่ยังหมายถึงแนวชวี ิตท่ี
เหมาะสมกบั การพฒั นามนษุ ย์ เพราะมีรากฐานอยบู่ นเกยี รติและศกั ด์ิศรีของมนษุ ย์
‘ประชาธิปไตย’ แปลวา่ อา� นาจของปวงชน ทป่ี ระชาธิปไตยมอี า� นาจเพราะประชาชนเปน็ มนษุ ย์
เป็นบคุ คล ไม่ใชเ่ ป็นสิง่ ของที่ใครๆ จะท�าอะไรตามใจชอบได้ ประชาชนในฐานะที่แตล่ ะคนเปน็ มนุษย์
ก็มีชวี ิตมีเกียรติและศักดิ์ศรีของมนุษย์ซึ่งต้องได้รับการเคารพและรักษาไว้ มนุษย์แต่ละคนเป็น
บุคคล มีสทิ ธิและหน้าทต่ี อ่ ชีวติ ของตนและของเพ่ือนมนุษยด์ ้วยกัน
๑ บชิ อปมคี าแอล บญุ เลือ่ น หมนั้ ทรพั ย์ ผ้กู อ่ ตง้ั ยส. และวารสาร “ผู้ไถ”่ ข้ึนมาเพ่ือทา� งานส่งเสริมความยตุ ธิ รรมและ
สันติในสังคมไทย เมอ่ื ๔๑ ปที ่แี ลว้ ในห้วงยามที่บ้านเมืองประสบวกิ ฤตทิ างการเมอื งและสงั คม เกดิ เหตกุ ารณ์ตุลา
วปิ โยค พ.ศ.๒๕๑๖ และ ๒๕๑๙
๒ คอลมั น์ “อย่กู ับปวงประชา” เปน็ การรวบรวมผลงานจากบทบรรยาย งานเขยี น และบทสัมภาษณ์ของพระสังฆราช
มีคาแอล บุญเลื่อน หมั้นทรัพย์ ผู้อุทิศชีวิตตลอดช่วงเวลา ๕๐ ปี แห่งสังฆภาพ ให้แก่งานพัฒนาสังคมของพระ
ศาสนจักรไทยและสงั คมไทยอยา่ งไม่รจู้ ักเหน็ดเหน่ือย ที่มา : http://www.jpthai.org
4 ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
เนื่องด้วยมนุษย์มีสิทธแิ ละเสรีภาพ อ�ำนาจของประชาชนจงึ
เหมือนดาบสองคม ที่อาจเปน็ ประโยชนอ์ นันต์ แตก่ ็อาจให้โทษมหันต์ถ้า
ไม่รู้จักใช้ เราต้องใช้อ�ำนาจของปวงชนน้ีให้เป็นแบบมนุษย์ หมายความ
ว่าต้องรู้จักใช้ ใช้โดยความรู้ส�ำนกึ รู้รับผิดชอบ พร้อมมีคุณธรรม และ
ศีลธรรมประจำ� ใจเป็นแรงยึดเหนีย่ วและผลกั ดัน
ศาสนาจึงตอ้ งมบี ทบาทในการอบรมเรือ่ งประชาธปิ ไตย เราครสิ ตชนไทยในฐานะเปน็ ประชาชน
ไทย ตอ้ งสนใจปญั หาบา้ นเมอื งของเรา และตอ้ งช่วยกนั พัฒนาประเทศชาตขิ องเราให้เจรญิ กา้ วหน้า
ไปสู่ความรอด ความครบครันท้ังด้านส่วนตวั และสังคมบ้านเมือง ท้ังดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และจิตใจ
เพ่ือสร้างพระราชัยที่ทุกๆ คนต่างรู้จักรักเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอย่างสูงสุดชนดิ ที่ยอมเสียสละจนถึง
พลีชีพแก่กันได้ ช่วยกันสร้างสังคมที่เป็นสังคมมนุษย์อันแท้จริงท่ีมีความรับผิดชอบ เมตตากรุณา
เหน็ อกเหน็ ใจกนั และไวว้ างใจกันได้
ใครจะว่าคริสตชนท�ำเชน่ นีเ้ กย่ี วกบั การเมือง
ใครจะว่าคริสตชนทเ่ี รียกร้องความยุตธิ รรมในสงั คมเกยี่ วกบั การเมือง
ใครจะว่าครสิ ตชนท่ีต้องรู้จักข่าวดี ยังต้องรู้จักประณามความช่ัวในระบบที่ไม่ถูกต้องนน้ั
เกี่ยวกบั การเมอื ง
ใครจะว่าครสิ ตชนที่ออกมาพูด ออกมาสอนเรื่องประชาธปิ ไตย
เก่ียวกับการเมือง ใครว่าเช่นน้ี ก็ถูกต้องท้ังนน้ั ... เพราะคริสตชนต้อง
เกย่ี วกบั การเมืองอยรู่ ่ำ� ไป
คริสตชนตอ้ งรู้จกั การเมอื ง ต้องสนใจการเมอื ง
ทงั้ น้กี เ็ พราะคริสตชนนอกจากตอ้ งเปน็ สตั บรุ ษุ ทบี่ ำ� เพญ็ ศาสนกจิ
อย่างดีแล้ว ต้องบ�ำเพ็ญตนเป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศด้วยจงึ จะนับว่า
ดีแท้ เป็นมนุษย์แท้ เป็นพลเมืองดีแท้ เราคริสตชนไทยได้วางแผนหรือ
มีมาตรการอะไรบ้างเพ่ือช่วยกันสอนเผยแพร่ความรู้เรอ่ื งประชาธปิ ไตย
เราก�ำลังท�ำอะไรบ้างเพ่ือช่วยกันเตรยี มคนไทยด้วยกันให้รู้จักสิทธิ และ
เสรีภาพขั้นมูลฐานในการออกเสียงเลือกต้ังผู้แทนอย่างดี มีความ
รับผิดชอบ
ตามวัด ตามโรงเรียน ในการประชุมอบรมแม้ในวัดเราสอน
ประชาชน คริสตชนของเราในเรื่องประชาธปิ ไตยแลว้ หรอื ยัง...?
บทความจาก หนังสือ ศาสนาพลงั พฒั นามนุษย์
สารบัญ
ผู้ไถ่ ปีท่ี ๔๑ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ กนั ยายน – ธนั วาคม ๒๕๖๓
สงั คม – การเมือง ๖ ส่ิงแวดลอ้ ม - กลุม่ ชาติพนั ธุ์ ๗๑
๑๒
เมือ่ เยาวชนลุกขน�้ มาต่อตา นอํานาจนย� ม จต� ว�ญญาณ เมล็ดพันธุ
เพราะอนาคตเปน ของพวกเขา ๒๔ และความม่นั คงทางอาหาร
๔๖
ฝ่ายเผยแพร่เพ่อื การมสี ่วนรว่ ม ยส. สนธยา ตั้วสูงเนนิ
อํานาจนย� มในสงั คมไทย ศาสนา ๗๕
กบั คนรุน่ ใหม่ ในยคุ เปลี่ยนผา่ น
ในมมุ มองของ รศ.ดร.ยุกติ มุกดาว�จต� ร คําสอนดา นสังคมของพระศาสนจักร
ในเรอ�่ งความยุติธรรมทางสงั คม
วรพจน์ สงิ หา
คณุ พอ่ มเิ กล กาไรซาบาล, S.J.
เยาวชนกับการชมุ นุมมติ ิใหม่
สนธยา ต้ัวสงู เนนิ ปกณิ กะ – วรรณกรรม
ฟงคนเกา่ เลา่ เร่อ� งเยาวชน บทกวีเปดิ ปก: (หน้าแรก)
คุณพอ่ มเิ กล กาไรซาบาล, S.J. ผา่ นวสนั ตฤดูกห็ นาวแลว
ธญั ลักษณ์ นวลกั ษณกวี ศวิ กานท์ ปทมุ สูติ
การศกึ ษา ๓๓ พ้นื ท่เี ลก็ เลก็ : ๑๘
คนหลายวัย กับ โลกใบเดียวกนั ๒๘
เมอื่ เด็กถาม ผูใหญ่ควรตอบอยา่ งไร
บทสนทนาในหว งยามแห่งความเปล่ยี นแปลง นา�้ ค้าง คา� แดง
กับ รศ.ดร.วไล ณ ปอ มเพชร
ปกั ดอกไม้ในแจกนั ใจ:
ธัญลกั ษณ์ นวลกั ษณกวี เขา ใจกอ่ นแกป ญหา:
ความขดั แยง ทางการเมอื งของพอ่ แม่ลูก
สทิ ธิมนุษยชน
นรศิ มณขี าว
การขับเคลอื่ นเรอ�่ งสิทธ�มนษุ ยชนแนวสันตวิ �ธ� ๕๗ เนอ้ื ในหนงั : ๔๒
Better Days ไม่มีวนั ไมม่ ฉี น� ไม่มเี ธอ
ของ คณะเยสอุ ติ กรณ�ชว่ ยเหลอื แรงงานขามชาติ
ในจังหวัดเชย� งราย ท่ีไดร ับผลกระทบจาก แมวอนิ ด้ี
สถานการณ�โคว�ด-๑๙
นกเขาครวญ อาลยั กง่ิ ท่เี คยเกาะ: ๕๔
องอาจ เดชา ปกหมดุ ไวกลางฟาอากาศ บนกาวเดนิ ทก่ี ลา
“ยกเลกิ ” ไมเ่ ท่ากับ “เพิกถอน” ๖๗ หญ้านา�้ ทงุ่ ขนุ หลวง
สถานะทางกฎหมายของการยกเลิกประกาศ
สถานการณฉ� ุกเฉน� ท่ีมีความรา ยแรง
ศราวุฒิ ประทมุ ราช
6 บทความ
ฝ่ายเผยแพร่เพื่อการมสี ่วนรว่ ม ยส. เรยี บเรียง
เม่ือเยาวชนลกุ ขึ้นมา ตอ่ ตา้ นอำ� นาจนิยม
เพราะ อนาคต เป็นของ พวกเขา
ปรากฏการณก์ ารชู ๓ นว้ิ (ช้ี กลางภาพ: prachatai.comสาสน์’ ถึงรัชกาลที่ ๑๐ เป็นพ้ืนท่ี “จากความไม่พอใจของ
นาง)๑ แทนสัญลักษณ์การต่อ ภาพ: www.thebangkokinsight.comประกาศความคดินักเรียน นักศึกษา เยาวชน ที่
ต้านรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ ศึ ก ษ า อ ยู ่ ใ น ม ห า วิท ย า ลั ย เ ว ล า นี้
จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กลาย ปฏิเสธไม่ได้ว่าการชุมนุม พวกเขาเติบโตมาในช่วงที่มีการ
เป็นภาพจ�ำภาพใหม่ของการชุมนุม เรยี กร้องประชาธปิ ไตยท่ีพัฒนามา รัฐประหาร คสช. ปี ๒๕๕๗ ที่ผ่าน
ของ ‘กลมุ่ ราษฎร’ ทปี่ ระกอบไปดว้ ย ถึงวันนี้ ถูกรเิ ร่มิ โดยกลุ่มเยาวชน มา พวกเขาอยู่กบั ยคุ คสช.มา ๕ ปี
นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชน ที่ คนรุ่นใหม่เจนเนอเรช่ัน Y และ เหมือนเปน็ การอยู่ด้วยความอดทน
ก�ำลังเดินหน้าขับไล่รัฐบาลพลเอก เจน Z ท่ีประกอบไปด้วย กลุ่ม จนมีการเลือกตั้งในปี ๒๕๖๒ และ
ประยุทธ์ จันทร์โอชา พร้อมเรียก เกียมอุดมไม่ก้มหัวให้เผด็จการ คิดว่าการเลือกตั้งจะน�ำไปสู่โอกาส
ร้องให้แก้ไขรัฐธรรมนญู และปฏริ ูป กลุ่มนกั เรยี นเลว กลุ่มเยาวชน ในการใช้สิทธขิ องพวกเขา เพ่ือ
สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ในวนั นี้ ปลดแอก (Free Youth) คณะ เปล่ียนแปลงประเทศไปในทิศทาง
ประชาชนปลดแอก สหภาพนกั เรียน ใหม่ แต่สิทธิและเจตนารมณ์ของ
จากแฟลชม็อบในสถาบัน นสิ ิต นักศึกษาแห่งประเทศไทย พวกเขาถกู บดิ เบือน ถกู โค่นลม้ โดย
การศึกษาหลายแห่งนับแต่ต้นปี (สนท.) กลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์ ฝา่ ยทตี่ อ้ งการสบื ทอดอำ� นาจ ความ
๒๕๖๓ เป็นต้นมา สกู่ ารชมุ นมุ ใหญ่ และการชุมนุม และเยาวชนตะวัน ไม่พอใจน้ีจึงถูกปะทุออกมา บวก
ของกลุ่ม ‘เยาวชนปลดแอก’ เมื่อ ออกเพ่ือประชาธปิ ไตย ฯลฯ ท่ีทุก กับพวกเขาเริ่มเห็นว่าการปล่อย
วันท่ี ๑๘ กรกฎาคม จนถึงการ กลุ่มถูกหลอมรวมจนกลายเป็น ให้ประเทศยังเป็นอยู่แบบนี้ ความ
ชุมนุม ‘ทวงอ�ำนาจคืนราษฎร’ ที่ ‘กลมุ่ ราษฎร ๒๕๖๓’ ไร้ประสิทธิภาพในการแข่งขันเพ่ือ
ท้องสนามหลวง เมื่อวันท่ี ๑๙-๒๐
กันยายน กระทั่งพัฒนามาเป็นการ
ชุมนุมของ ‘คณะราษฎร ๒๕๖๓’
วันที่ ๑๔ ตุลาคม ตามมาด้วยการ
ชุมนุม ๘ พฤศจิกายน ‘ส่งราษฎร
๑ มที ีม่ าจากภาพยนตรเ์ รือ่ ง The Hunger Games สือ่ ความหมายถงึ สนั ติภาพ เสรภี าพ และภราดรภาพ
7ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ราชการท่ีเทอะทะ ท�ำให้พวกเขา
เห็นถึงความจ�ำเป็นต้องเรียกร้อง
ให้ไปไกลกวา่ การบริหารทเ่ี ปน็ อย”ู่
ผศ.ดร.บญุ เลิศ กลา่ ว
ภาพ: news.ch3thailand.comรับมือกับเศรษฐกิจโลก รวมถึง นสิ ิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย สอดคล้องกับท่ี รศ.ดร.
ภาพ: waymagazine.orgวิกฤติต่างๆ เวลานี้ เช่น ไวรัส(สนนท.) ในช่วงปี ๒๕๓๗ ได้อธบิ ายสริ พิ รรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์
โควิด–๑๙ ท่ี ไม่สามารถท�ำให้ ถึงปรากฏการณ์ท่ีเด็กเยาวชนคน ภาควชิ าการปกครอง คณะรฐั ศาสตร์
หน้ากากอนามัยราคาถูกและทั่วถึง รุ่นใหม่พากันออกมาชุมนุมบน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ให้
แถมนายกรัฐมนตรกี ็ยังความรู้สึก ท้องถนนเพ่ือเรยี กร้องให้ พลเอก ความเห็นไว้ตั้งแต่ช่วงต้นๆ การ
ช้า ท่ีบอกไม่มีปัญหาเร่อื งหน้ากาก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ลาออกจาก ประทว้ งของกลมุ่ เยาวชนคนรนุ่ ใหม่
ขาดตลาด ความไร้ประสิทธิภาพ การเป็นนายกรัฐมนตรี พร้อมข้อ ว่า “การประท้วงของกลุ่มคนรุ่น
ดังกล่าวมันกระทบกับอนาคตของ เรียกร้องอีก ๒ ข้อ คือ การแก้ไข ใหม่ไม่ใช่มาจากเพียงการยุบพรรค
พวกเขา พวกเขาเห็นความย่�ำแย่ รัฐธรรมนูญให้เป็นฉบับประชาชน อนาคตใหม่ แต่ยังเป็นความรู้สึก
ของระบอบทม่ี นั กระทบกบั พวกเขา” และการปฏิรปู สถาบนั กษตั ริย์ ไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจและความ
ยุติธรรมในสังคม ในช่วงท้ายของ
ผศ.ดร.บญุ เลศิ วิเศษปรีชา “ความไม่พอใจที่คุกรุ่นอยู่ การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
อาจารย์ประจ�ำคณะสังคมวิทยา เป็นพ้ืนฐานร่วมของนักศึกษาระดับ กิจกรรมทางการเมืองท่ีถูกระงับไป
และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัย อุดมศึกษาหลายสถาบัน ประเด็น จะค่อยๆ กลับมา รวมถึงจะมีการ
ธรรมศาสตร์ นักวชิ าการผู้มี ส�ำคัญที่สังเกตเห็นและได้สอบถาม ตรวจสอบการใช้งบประมาณเงินกู้
ความสนใจด้านการเคลื่อนไหว พูดคุยกับนกั ศึกษาบ้างก็คือ พวก โดยคนรุ่นใหม่ เพราะพวกเขาคือผู้
ทางสังคม เจ้าของงานวจิ ัยและ เขาเห็นชัดๆ ว่าอนาคตของพวก ตอ้ งแบกรับภาระหน้ีในอนาคต”
หนงั สอื ‘อยกู่ บั บาดแผล : เสยี งจาก เขาก�ำลังถูกกระทบ ถ้ารัฐบาลยัง
สามัญชนท่ีตกเป็นเหย่ือของความ เป็นแบบนี้ เศรษฐกิจยังเป็นแบบนี้
รุนแรงทางการเมือง’๒ อีกทั้งสมัย โอกาสที่จะได้งานท�ำมันเหลือน้อย
เป็นนกั ศึกษายังเข้าร่วมกิจกรรม คนที่ก�ำลังจะจบการศึกษาเห็นว่า
ทางการเมือง - การเคล่ือนไหว สังคมโลกมีการเปล่ียนแปลงอย่าง
ทางสังคมการเมืองอย่างต่อเน่ือง รวดเร็ว การถูกดิสรัป (Disrupt)
ต้ังแต่ช่วงเหตุการณ์พฤษภาคม จากเทคโนโลยดี จิ ิทลั แตป่ ระเทศยงั
๒๕๓๕ และเป็นเลขาธิการสหพันธ์ บริหารโดยคนรุ่นลุงรุ่นปู่และระบบ
๒ งานวจิ ยั และหนังสอื อยกู่ ับบาดแผล: เสียงจากสามัญชนที่ตกเปน็ เหย่ือของความรุนแรงทางการเมือง (๒๕๕๓-๒๕๕๗) งานวจิ ยั ท่ีไป
สัมภาษณ์พูดคยุ กบั ผ้รู ่วมชุมนมุ ทางการเมอื งท่เี ป็นคนธรรมดา ซึ่งไดร้ ับบาดเจ็บพิการจากเหตกุ ารณส์ ลายการชมุ นุมทางการเมือง
และเข้าร่วมชมุ นมุ ทางการเมอื งท้ังฝ่ายเส้ือแดง-กปปส.-คปท. เปน็ ตน้
8 ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
มี ข ้ อ มู ล ท่ี น ่ า ส น ใ จ จ า กภาพ: ่ขาว GMM25เรียกร้องหาเหตุผล ไม่พอใจกับ คนส�ำคัญ คือ คนรุ่นใหม่เป็น นกั
รศ.ดร.กนกรตั น์เลศิ ชสู กลุ อาจารย์ ภาพ: thematter.coค�ำตอบท่ีไม่มีเหตุผล มิติท่ีส่ี เป็นพัฒนาผ่านการจัดกิจกรรมและ
ประจ�ำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ รนุ่ ที่ มีความเปน็ ตวั ของตัวเองสงู การฝึกประสบการณ์ ตั้งแต่ยังอยู่
มหาวิทยาลัย ซึ่งได้ลงพ้ืนท่ีส�ำรวจ สว่ นใหญ่ตอบวา่ แกนน�ำเป็นแคค่ น ในร้ัวของการศึกษาเป็นทุนเดิมอยู่
การชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม เริ่มทจี่ ะกลา้ ปราศรยั เปน็ หลกั ในชว่ ง แลว้ คลา้ ยกบั คนในยคุ ๒๕๑๓ ทเี่ ปน็
คนรุ่นใหม่ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ แรกเท่านั้น และรู้สึกดีท่ีแกนนำ� อยู่ นกั ศึกษารุ่นแรกในมหาวิทยาลัย
๒๕๖๓ โดยใช้วิธกี ารสอบถาม ในพ้ืนที่ท่ีปลอดภัย มิติท่ีห้า เป็น รนุ่ แรกในสงั คมไทย
นกั เรียน นักศึกษา และคนที่จบ รนุ่ ที่ ไดเ้ ปรียบเรื่องเทคโนโลยกี าร
การศึกษาไปแล้ว จำ� นวน ๒๕๐ คน สอื่ สาร ทกุ คนทำ� โปสเตอร์ นัดเวลา “ทกั ษะในการทำ� งานรณรงค์
ใน ๘ จังหวดั ๓ แบบทผ่ี ู้ใหญ่ไมเ่ ขา้ ใจดว้ ยซำ้� ไป และ แคมเปญ ไม่ว่าจะเป็นการเมือง
มติ ทิ หี่ ก ทสี่ ำ� คญั และขบั เคลอ่ื นการ หรอื ไม่การเมือง ฝึกให้คนรุ่นใหม่
รศ.ดร.กนกรัตน์ พบว่า ชุมนุมครั้งน้ีได้แม้จะขาดแกนนำ� ท�ำงานได้จรงิ มีตั้งแต่ช้ันมัธยมจาก
ปัจจัยท่ีท�ำให้เยาวชนกลุ่มนอี้ อกมา งานคอนเสิร์ต งานโรงเรียน การ
เคล่ือนไหวมี ๖ มติ ิด้วยกนั มิติแรก จัดกฬี าสี การหารายไดเ้ ข้าโรงเรียน
คอื คนรนุ่ น้ีมคี วามซบั ซอ้ นในเรอื่ ง เป็นกิจกรรมที่เด็กทุกโรงเรียนต้อง
กระบวนการคิด ตั้งค�ำถามกับทุก ท�ำ และฝึกกันมาหลายปี เมื่อเข้า
อย่างเพราะทุกคนโตมาท่ามกลาง มหาวทิ ยาลัย แต่ละคนจึงแทบจะ
ครอบครัวสังคมที่ถกเถียงกันเรอ่ื ง เป็น Event Organizer ได้”
คนต่างสีเส้ือ เยาวชนกลุ่มน้ีจึงเชอื่
วา่ ไมม่ อี ะไรจรงิ แท้ มที ัศนคตวิ ่าทกุ “จากที่คุยในหลากหลาย
สง่ิ เป็นสีเทาๆ มิติที่สอง เป็นรุ่น จังหวัด เด็กมัธยมฯ กับเด็ก
ท่อี ยูก่ บั ความกลวั ความกังวลต่อ มหาวิทยาลัยมีข้อเรียกร้องและ
อนาคต ไมส่ ามารถจะคาดหวงั อะไร ปัญหาในใจที่แตกต่างกัน เด็ก
ได้ มิติท่ีสาม เป็นรุ่นท่ีแสดงออก มหาวิทยาลยั ผา่ นประสบการณก์ าร
ได้ทุกเรอื่ งและกลายเป็นกลุ่มที่
๓ รัฐศาสตร์เสวนา เสวนาในหัวขอ้ “มอ็ บท่ีไม่ใชม่ อ็ บ” รายงานผลการสำ� รวจเบอื้ งตน้ การชุมนมุ ทางการเมอื งในประเทศไทย วันท่ี ๒๗
ตุลาคม ๒๕๖๓ โดย ผศ.ดร.กนกรตั น์ เลิศชสู กลุ จัดโดย ภาควชิ าการปกครอง จุฬาฯ ร่วมกบั สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์
9ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
เลอื กตง้ั ในปี ๒๕๖๒ ที่ผา่ นมา และ ครอบครวั พวกเขารสู้ กึ วา่ ถกู ละเมดิ วธิ ีคิดของสังคมไทย ไม่ว่าเราจะมี
บางคนก็เคยโหวตร่างรัฐธรรมนูญ ในร่างกายและตัวตน เพราะฉะนัน้ การร่างกติกาใหม่อีกก่ีครั้ง สังคม
(๒๕๖๐) ซ่ึงสิ่งท่ีเขาอึดอัดมากคือ ข้อเรียกร้องของเขาจึงไปไกลกว่า ไทยจะยังกดทับและกดขคี่ นรุ่นใหม่
พรรคการเมืองที่เขาเลือกถูกยุบ เด็กมหาวทิ ยาลัยอย่างน่าตกใจ เหมอื นเดิม”
ดังน้นั การลุกข้ึนมาของเขา มัน เขาเรยี กร้องให้มีการเปลี่ยนแปลง
คือการเรียกร้องให้มีระบบและการ ฐานคิดของสังคม และสถาบันที่ รศ.ดร.กนกรัตน์ กล่าว
จัดการทางการเมืองท่ีเป็นไปตาม เอ้ือแนวคิดแบบอนุรักษ์นิยมใน ว่า กลุ่มเด็กมัธยมมองไปไกลกว่า
เจตจำ� นงของเขา สังคมไทย ส�ำหรับเด็กมัธยมปลาย และเรยี กร้องความเปลี่ยนแปลง
พวกเขาบอกว่า เบ่ือมากม็อบ ที่ ‘รุนแรง (Radical)’ กว่า ความ
เด็กมหาวิทยาลัยมีความ แฮมทาโร่ ๔ พวกเขาอยากได้ม็อบท่ี ต้องการท่ีจะเปลี่ยนแปลงปฏิรูป
ระมัดระวังต่อข้อเรยี กร้อง พวก มีข้อเรียกร้องทีเ่ ปน็ รูปธรรม อยาก อย่างมากกว่าที่ผู้ ใหญ่เคยปฏิรูป
เขาคิดเสมอว่าจะท�ำอย่างไรเพ่ือ ให้ผู้ใหญ่มองเขาเป็นผู้ใหญ่ เป็น เพราะเขามองว่าการปฏิรูปที่ผ่าน
ให้ขบวนการปลอดภัย เขาเรียนรู้ คนที่เท่าเทียมกัน เด็กมัธยมฯ พูด มามันไมเ่ พยี งพอ และไมเ่ ท่าทนั ต่อ
ประวัติศาสตร์ว่า ถ้ามีการพูดถึง คล้ายกันว่า ปัญหาของเขาคือถูก ส่ิงที่เขาอยากให้ประเทศไทยเป็น
สถาบันท่ีสนับสนุนแนวคิดอนุรักษ์ ปฏิบัติแบบคนท่ีมาทีหลัง ไม่มี จินตนาการของโลกท่ีคนรุ่นใหม่
นิยมในสงั คมไทย อาจจะน�ำไปสกู่ าร ประสบการณ์ และมีความรู้น้อย อยากไป มันไปไกลกวา่ น้นั มาก เขา
ยั่วยุหรือความไม่พอใจของสังคม กวา่ ๕ ไม่ได้เปรยี บเทียบไทยกับประเทศ
เขาเลยพยายามท�ำให้ขบวนการดู ท่ีด้อยกว่า แต่เขาเทียบไทยกับ
นา่ รัก น่าเอ็นดู เด็กเหล่าน้อี ่านประวัติ- ประเทศท่ีไปไกลกวา่ นน้ั
ศาสตร์มา พวกเขาอธบิ ายว่าเรา
ใ น ข ณ ะ ท่ี เ ด็ ก มั ธ ย ม ฯ เลือกตั้งกันมากี่คร้ังแล้ว ร่าง “พวกเราสอนพวกเขาอยู่
ประเด็นข้อเรียกร้องของเขาส่วน รฐั ธรรมนูญกนั มากค่ี ร้ัง รฐั ประหาร ตลอดวา่ คนไทยมศี กั ยภาพ คนไทย
ใหญ่จะเก่ียวข้องกับความอึดอัด กันมากี่คร้ัง เขาคิดว่าถ้าไม่เปล่ียน ไปไกลได้ระดับโลก แต่เขามองไม่
ของเขาในโรงเรียน สังคม หรือ เห็นว่าโครงสร้างทางการเมืองและ
สงั คมทีเ่ ปน็ อยา่ งปัจจบุ นั จะพาเขา
ภาพ: www.posttoday.com ไปไกลระดับโลกได้อย่างไร
เด็กเหล่าน้ีพูดเหมือนกันว่า
มาเพ่ืออนาคตของตัวเอง ผู้ใหญ่
ฟังแล้วก็อาจจะรู้สึกว่าเร่ืองอนาคต
ให้ผู้ใหญ่จัดการเถอะ แต่เด็กพวก
นอ้ี ่านหนังสือประวัติศาสตร์ ตาม
ข่าวการเมือง เขารู้ถึงสิง่ ท่ีผู้ใหญ่
กำ� ลงั ทำ� อยู่ ไมม่ แี นวโนม้ ทจี่ ะทำ� เพอื่
อนาคตของพวกเขา”
๔ มอ็ บแฮมทาโร่ มที ม่ี าจาก การน�ำตวั การต์ นู ญป่ี นุ่ รปู หนแู ฮมสเตอรจ์ ากเรือ่ ง “แฮมทาโร่ แกง๊ จิว๋ ผจญภยั ” และเพลงประกอบการต์ นู ท่ี
ดดั แปลงเน้อื หาบางทอ่ นใหเ้ ขา้ กบั บริบททางการเมอื งของไทยในปจั จบุ นั เขา้ ไป มาเปน็ ตวั ชโู รงในการทำ� กจิ กรรมแฟลชมอ็ บทบี่ รเิ วณ
อนุสาวรยี ป์ ระชาธิปไตย เพอื่ เรยี กร้องให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ยุบสภา
๕ จาก เมอื่ หนุ่มสาวยนื ขึ้นโหร่ ้อง คุยกับ ดร.กนกรัตน์ เลศิ ชสู กลุ ถึงขบวนการนักเรียน-นกั ศกึ ษา ท่มี า https://thematter.co/
10 ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
เยาวชน กบั การชู ๓ นว้ิ ผูกโบวข์ าว ตอ่ ตา้ นอำ� นาจนิยมในโรงเรยี น
การชู ๓ นวิ้ ระหว่างเคารพ
ธงชาติ และการผกู โบวข์ าว เพอื่ เรียก
ร้องประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรภี าพ
ในโรงเรยี น ของนักเรยี นมัธยมฯ
หลายโรงเรียนท้ังในกรุงเทพฯ และ
ภาพ: social.tvpoolonline.com
ภาพ: talktogethermrn.netต่างจังหวัด เป็นสัญลักษณ์เพื่อส่ง
สารไปถงึ ผู้ใหญผ่ มู้ อี ำ� นาจเหนอื กวา่
พวกเขา ได้รบั รู้และรับฟงั
แต่แล้วนักเรียนที่ชู ๓ นิ้ว
กลับถูกครูอาจารย์ผู้มีอ�ำนาจเหนอื
กว่าในโรงเรียน กระท�ำความรุนแรง เร่ืองระเบยี บกฎเกณฑข์ องโรงเรยี น ยังต้องเผชิญกับปัญหาการว่างงาน
ขม่ ขู่ และคกุ คามพวกเขา มนี ักเรยี น ท่ีละเมิดสิทธิในร่างกาย เช่น การ การได้งานท�ำไม่ตรงกับท่ีเรยี นมา
จ�ำนวนมากถูกข่มขู่ คุกคาม ถูก แต่งกาย ทรงผม การบังคับให้ใส่ สมาชิกกลุ่มนักเรยี นเลว
จ�ำกัดสิทธแิ ละเสรีภาพในการ เครอื่ งแบบนักเรยี นซ่ึงเป็นค่าใช้ คนหน่งึ บอกว่า ความเก็บกด คือ
แสดงออก จากการจัดกจิ กรรมชู ๓ จ่ายท่ีผู้ปกครองต้องแบกรับ เร่อื ง แรงผลกั ดนั ใหน้ ักเรยี นมธั ยมฯ ทะลุ
นวิ้ ขณะเคารพธงชาติที่โรงเรยี น ใช่ แบบเรียนและการสอนของครูบาง ความกลวั จนเกดิ เปน็ ปรากฏการณ์
เพียงเท่านั้น หลายโรงเรยี นถึงกับ คนที่ไม่มีคณุ ภาพ เรอื่ งการคกุ คาม ชู ๓ น้ิว ระหวา่ งเคารพธงชาติ รวม
มีต�ำรวจมาเฝ้าคอยสังเกตการณ์ ทางเพศที่ครูอาจารย์กระท�ำต่อ ถึงการเขา้ รว่ มแฟลชม็อบ
พฤติกรรมและการจัดกิจกรรมของ นักเรียน การถูกกล่ันแกล้งรังแก นกั เ รีย น ชั้ น ม . ๖ จ า ก
นกั เรียน กัน (Bullying) จากเพื่อนและครู โรงเรียนแหง่ หนึ่งในกรงุ เทพฯ บอก
เยาวชนวันนี้ พวกเขาคิดไป อาจารย์ รวมไปถงึ การลดิ รอนสิทธิ ว่า “หนูเรียนอยู่ในโรงเรยี นรัฐบาล
ไกลกว่าที่ผู้ใหญ่อย่างเราจะเข้าใจ ของนักเรยี นท่ีมีความหลากหลาย และระบบมนั ลา้ หลงั มาก การศกึ ษา
หรือ? พวกเขาตั้งค�ำถามต่อปัญหา ทางเพศ เป็นต้น และแม้กระท่ัง ท่ีได้ก็ไม่เพียงพอและไม่มีคุณภาพ
ความเหล่ือมล�้ำและคุณภาพของ เม่ือจบการศึกษาไปแล้ว พวกเขาก็ มากพอ จนท�ำให้พวกหนูต้องเสีย
ระบบการศึกษาที่ ไม่เท่าเทียมกัน เงินไปเรียนพเิ ศษเพ่ิม จะดีกวา่ ไหม
ถ้าการศึกษาดีเท่าเทียมกันมากพอ
สำ� หรับนกั เรียนทกุ คน”
เธอยังเล่าประสบการณ์
‘การต่อสู้’ กับระบบอ�ำนาจนิยมใน
โรงเรียนว่า “หนูเคยพิมพ์ใบปลิว
ที่เป็นอินโฟกราฟิกเรอ่ื งกฎหมาย
ท่ีนกั เรยี นต้องรู้ไปแปะทั่วโรงเรยี น
แล้วครูฝ่ายปกครองเรยี กเข้าไป
อบรม ขู่วา่ จะฟ้องพ่อแม่หนู แลว้ สง่ั
ให้เอาใบปลิวทงั้ หมดออก”
11ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
เธอยังบอกอีกว่า “หนูและ ภาพ: www.hairworldplus.com
เพื่อนอีก ๕ - ๖ คน เป็นกลุ่มแรกๆ
ทชี่ สู ามนิ้วชว่ งเขา้ แถวเคารพธงชาติ ไม่ตัดมาตามกฎ ท�ำให้เธอเรมิ่ ต้ัง ปญั หาตา่ งๆ อกี มากมายทยี่ งั ไมเ่ คย
ตอนเช้า แล้วก็โดนข่มขู่ด้วยค�ำพูด ค�ำถามถึงการกระท�ำของครูว่าสม ได้รับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่าง
แตห่ นไู ม่กลัว” เหตุสมผลหรือไม่ ต่อมาเมอ่ื เธออยู่ จรงิ จัง แต่วันน้ี เห็นได้ว่าเยาวชน
ช้ัน ม.ปลาย โซเชียลมีเดียเปิดโลก คนรุ่นใหม่เหลา่ นท้ี ่จี ะเตบิ โต ใช้ชวี ติ
นกั เรยี น ม.ปลายอีกคน ของเธอให้กว้างข้ึนด้วยข้อมูลจาก และสร้างอนาคตของพวกเขาต่อ
หนึง่ เล่าถึงการกระท�ำความรุนแรง หลายทาง ทั้งการถกเถียงกันเรื่อง จากคนรุ่นพ่อรุ่นแม่ท่ีมีแต่จะเข้าสู่
จากครูในโรงเรียนท่ีเอาไม้ไผ่หนาๆ สทิ ธิ การตดั ผมเด็กระหวา่ งเขา้ แถว วัยสงั คมผสู้ งู อายเุ ข้าทุกที เมื่อพวก
ตีเพ่ือนเกือบครง่ึ ห้อง ด้วยอคติ การลงโทษด้วยการตี ว่าเป็นการ เขาเห็นแล้วว่าภายใต้การปกครอง
ส่วนตัวของครูคนน้นั เธอบอกว่า ละเมิดสิทธแิ ละผิดกฎหมาย เหล่า และระบบกฎหมายท่ีเอียงกระเท่เร่
แม้ไม้ไผ่น้นั ไม่ได้ฟาดท่ีตัวเธอ แต่ นี้ท�ำให้เธอเร่มิ เข้าไปมีส่วนผลักดัน รวมถึงโครงสร้างอันอยุติธรรมของ
พลังของมันปลุกให้เธอตื่นรู้และต้ัง เรื่องสทิ ธิในระบบการศกึ ษากบั กลมุ่ สังคมเช่นทุกวันน้ี พวกเขามองไม่
ค�ำถามว่าเหตุใดครูที่พร่�ำบอกเร่อื ง เคล่อื นไหวดา้ นการศึกษา๗ เห็นอนาคตที่ดีท่ีมีความหวังหลง
รกั ชาติใหเ้ ธอ จึงกระทำ� ความรนุ แรง เหลือไว้ให้พวกเขาเลย พวกเขาจงึ
อย่างไม่สมเหตุผล เธอบอกว่านัน่ นกั เ รยี น ชั้ น ม . ๖ จ า ก ต้องออกมาประท้วงเพื่อส่งเสียง
เป็นคร้ังแรกท่ีท�ำให้เธอตระหนกั โรงเรียนอีกแห่งหนง่ึ ในกรุงเทพฯ ให้ดังไปถึงผู้ใหญ่ท้ังหลายและผู้มี
เรอ่ื งสิทธิมนุษยชน และมองเห็น บอกว่า “ปัญหาท่ีพวกเราเผชญิ อยู่ อ�ำนาจในบ้านเมือง ให้แก้ไขและ
ภาพการเมืองภาพใหญ่สะท้อนอยู่ มนั สะสมมานานแลว้ และคนรนุ่ ผม เปล่ียนแปลงไปสู่สังคมในแบบที่
ในโรงเรียน๖ ต้องมีชวี ติ อยู่กันไปอีกนาน เพราะ ใฝฝ่ ันและมงุ่ หวงั อยากให้เป็น!
ฉะนน้ั ผมจึงอยากเรียกร้องให้เกิด
ส่วนนกั เรยี น ม.ปลาย ความเปลี่ยนแปลงเพ่ืออนาคตของ ภาพ: social.tvpoolonline.com
เด็กเรียนดีระดับหัวกะทิโรงเรยี น คนรุน่ ผม” ๘
ดังอีกแห่งหนงึ่ บอกว่า โรงเรียน
สอนเร่อื งการเมืองให้เธอ เธอเล่า หลากหลายเรือ่ งเล่าจาก
ประสบการณ์ในโรงเรียนว่า ตอน ประสบการณ์ของนกั เรยี นเหล่า
เรยี นอยู่ช้ัน ม.๓ เพ่ือนของเธอถูก นี้ เป็นประจักษ์พยานให้เราเห็นถึง
ครูใช้กรรไกรตัดผมจนแหว่ง ขณะ ระบบอ�ำนาจนิยมท่ีหยั่งรากลึกใน
เข้าแถวเคารพธงชาติท่ามกลาง สังคมไทยมายาวนาน เช่นเดียวกับ
สายตานักเรียนทุกชั้น เหตุการณ์
นน้ั ถูกบันทึกภาพและเผยแพร่ใน
เพจของโรงเรียน ท�ำให้เกิดกระแส
วิพากษ์วจิ ารณ์ตามมาว่า ท�ำไม
ครูตัดผมเด็กแบบน้ี สร้างความ
อับอายหรอื เปล่า บางคนก็เถียง
ว่าอาจารย์เขาตัดเพราะนกั เรียน
๖ จาก สังคมไทยในมือม็อบรุ่นเลก็ : การต่อสู้ของเด็กมัธยมท่มี ีอนาคตเป็นเดมิ พนั https://www.the101.world/
๗ #เกยี มอดุ ม ไม่ก้มหวั ให้เผด็จการ นกั เรียน-นกั เคลอ่ื นไหวในโรงงานผลิตพลเมือง https://www.the101.world/
๘ จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-54595310
12 บทความ
วรพจน์ สงิ หา สัมภาษณ์
อำ� นาจนิยมในสงั คมไทย กบั คนรุน่ ใหม่ ในยุคเปล่ียนผา่ น
ในมุมมองของ รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวจิ ติ ร
ปรากฏการณ์การออกมาชุมนุม คณะสังคมวิทยาและมานุษยวทิ ยา รว่ มกนั ในการเปลยี่ นผา่ นของสงั คม
ของเยาวชนคนรนุ่ ใหม่ นักเรยี น มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ใน ไทยในปจั จบุ ัน
นสิ ิตนักศกึ ษา ทกี่ �ำลงั ดำ� เนินอยู่ใน ประเด็นอ�ำนาจนยิ มในสังคมไทย
ปัจจุบัน แม้จะมีหลายฝ่ายเห็นด้วย แ ล ะ ค า บ เ ก่ี ย ว กั บ ส ถ า น ก า ร ณ ์
หรอื ไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอของ ทางการเมอื งในปจั จบุ นั ทค่ี นรนุ่ ใหม่
พวกเขา แตท่ กุ ฝา่ ยลว้ นเหน็ ตรงกนั ก�ำลังเคลื่อนไหว โดยอาจารย์ยุกติ
วา่ การเคลอ่ื นไหวครงั้ นี้แตกตา่ งจาก มีมุมมองความคิดเห็นที่น่าสนใจ
หลายคร้ังที่ผ่านมาในประเทศไทย เป็นอย่างมากในหลายประเด็น ทั้ง
ทั้งรุ่นวัยของผู้เข้าร่วม รูปแบบ วธิ ี ในฐานะครูอาจารย์ นกั วชิ าการ และ
การ และขอ้ เสนอของการชุมนุม ผู้ใหญ่คนหนึง่ ท่ีมองปรากฏการณ์
ของคนรุ่นใหม่ด้วยความเข้าใจและ
หน่งึ อาทิตย์ก่อนหน้าการ เปิดกว้างอย่างแท้จริง ซึ่งหลาย
ชุมนุมของคนรุ่นใหม่จะขยายตัว ความคิดสามารถน�ำมาไตร่ตรอง
ออกไป มีโอกาสพูดคุยกับ รศ.ดร. เพ่ือสร้างพ้ืนท่ี ให้เกิดความเข้าใจ
ยุกติ มุกดาวจิ ิตร อาจารย์ประจ�ำ
อ�ำนาจนยิ มในสงั คมไทย ภาพ: จาม.com
ในความรบั รขู้ องคนไทยโดย การบริหารการจัดการ หรือการ คณะบุคคล ครอบครัว หรอื กลุ่ม
ทว่ั ไป เราอาจจะคิดว่าปจั จบุ ันระบบ กำ� หนดทศิ ทางของชวี ติ ผคู้ นไว้ ๒.มี บุคคลท่ีอยู่ใจกลางอ�ำนาจ และ
อ�ำนาจนยิ มได้สูญหายหรือเจือจาง การปดิ กน้ั การเขา้ ถงึ อำ� นาจ จำ� กดั ๓.มีลักษณะของการปิดก้ันการ
ลงไป ซ่ึงอาจารย์ยุกติอธิบายว่า กลุ่มคนผู้มีอ�ำนาจ อยู่แต่เฉพาะ ตรวจสอบ ตรวจสอบไม่ได้ และ
ในความเป็นจรงิ อ�ำนาจนิยมไม่ได้
สูญหายไปไหน แต่ยังคงด�ำรงอยู่
ในสังคมไทยตลอดมา ท้ังในระบบ
การเมือง สถานศึกษา หน่วยงาน
องค์กร และในครอบครัวของเรา
แต่ละคน
อ า จ า ร ย ์ ยุ ก ติ ส รุ ป นิย า ม
ความหมายของ ‘อ�ำนาจนิยม’ ไว้
วา่ ๑.เป็นระบบท่ีรวมศูนย์อ�ำนาจ
รวบอำ� นาจการปกครอง รวบอำ� นาจ
13ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ไม่สามารถต้ังค�ำถามหรอื วพิ ากษ์ ภาพ: thematter.co
วิจารณ์ได้
อำ� นาจนยิ มไว้ “ตัง้ แตเ่ กิดมา อยู่ใน อ�ำนาจนยิ มแบบเก่า คืออุดมคติ
“ขณะท่ี ในสังคมสมัยใหม่ ครอบครัว เด็กจะถูกสอนให้เคารพ เร่ืองครู เป็นเรื่องอันตรายมาก
ท่ีเราพูดถึง คืออยากให้คนหลายๆ ผู้ใหญ่ ใชร้ ะบบอาวโุ ส ผู้ใหญ่ผนู้ ้อย ยิง่ ในยุคสมัยที่เราต้องการความ
คนมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการ หรอื ใช้ค�ำว่าพ่อแม่ผู้ปกครอง พี่ ก้าวหน้าทางสติปัญญา สง่ิ ที่มา
ตนเอง หรือก�ำหนดทิศทางชวี ติ น้อง รุ่นพ่ีรุ่นน้อง ตัวแบบลักษณะ ขัดแย้งคือ เราจะเห็นอุดมการณ์
ของตนเอง ซ่ึงระบบอ�ำนาจนยิ มจะ นี้กส็ ง่ ผา่ นมาในระบบโรงเรียน ระบบ ทางการศึกษาท่ียึดโยงกับอ�ำนาจ
เป็นในลักษณะตรงกันข้าม คือไม่ โ ร ง เ รีย น ก็ ใ ช ้ ตั ว แ บ บ ใ น ลั ก ษ ณ ะ นยิ ม ปดิ กัน้ การท้าทาย ปิดกนั้ การ
ให้มีการมีส่วนร่วม ปิดก้ันการเข้า ระบบอาวุโส ครูอาจารย์ ลูกศิษย์ ตั้งค�ำถาม ปิดกั้นการตรวจสอบ
ถงึ อำ� นาจ รวมศูนย์อ�ำนาจ ไม่ชอบ รุ่นพ่ีรุ่นน้อง และนำ� อุดมการณ์ท่ี ถึงที่สุด คือการปิดกั้นการเรียนรู้
การท้าทายอ�ำนาจ หรือการแสดง พูดถึงเร่ืองของความเป็นครู มีการ ปิดก้ันความคิดสรา้ งสรรค”์
ความคิดความเหน็ ส่ิงเหล่านเ้ี ราจะ ไหว้ครู ซึ่งเป็นระบบของครูในยุค
เห็นว่าอยู่ในสังคมไทยอย่างที่ซ้อน จารตี จริงๆ ครูในแบบยุคจารีต อาจารย์ยกุ ตอิ ธิบายไว้อย่าง
ทับกับระบบอ�ำนาจแบบใหม่ ที่เรา ความเปน็ ครู คือส่ิงศกั ดิส์ ิทธ”ิ์ นา่ สนใจวา่ “สงั คมไทยปลกู ฝงั ใหค้ น
อยากให้มีการกระจายอ�ำนาจมาก อยู่กับระบบอ�ำนาจนิยมมายาวนาน
ข้ึน สามารถตรวจสอบได้ สามารถ “เราจะเห็นว่า สง่ิ หนึง่ ท�ำให้สังคมเดินหน้าไปได้ช้า โดย
เปลยี่ นบคุ คลทม่ี ีอำ� นาจได”้ ท่ีสืบทอดกันมา คือการท่ีคนไม่ เป็นระบบท่ีปิดก้ันการเรียนรู้และ
สามารถท้าทาย โต้เถียง หรือ ความคดิ สร้างสรรค์”
อาจารย์ยุกติอธิบายว่าใน เปลี่ยนแปลงความรู้ตา่ งๆ เหล่านน้ั
สังคมไทย อ�ำนาจนิยมสอดแทรก ได้ และถกู น�ำไปยดึ โยงกบั อดุ มการณ์
อยู่ในสถาบันทางสังคมต่างๆ ไม่
วา่ จะเปน็ ครอบครัว สถานท่ีทำ� งาน
สถาบันการศึกษา และสถาบัน
ทางการเมือง โดยท้ังหมดสอด
ป ร ะ ส า น กั น ใ น ก า ร ค้� ำ จุ น ร ะ บ บ
“กล่มุ คนแหง่ ยุคสมัย” ระบอบอำ� นาจนยิ ม เรามกี ารปลูก
ถกเถยี ง ตงั้ คำ� ถาม การมีส่วนรว่ ม ฝังทัศนคติเรื่องต่างๆ เช่น การ
เคารพผู้ใหญ่ หรอื ยอมรับผู้มี
หลายปีท่ีผ่านมาจนถึงวัน สมัย” สงิ่ ที่น่าสนใจคือสังคมต้อง อำ� นาจ ไมว่ า่ จะในระดบั ไหน ตงั้ แต่
น้ี คนรุ่นใหม่จ�ำนวนมากได้ออกมา เกิดวกิ ฤติท่ีส�ำคัญแล้ว ถึงขนาดท่ี ในครอบครัวจนถึงระดบั รัฐ อยา่ ง
ตั้ง ‘ค�ำถาม’ กับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขน้ึ คนรนุ่ ใหมท่ คี่ วรจะอยอู่ ยา่ งสขุ สบาย เบ็ดเสร็จเด็ดขาด ห้ามถาม ห้าม
ในบ้านเมือง ซ่ึงอาจารย์ยุกติบอก แต่พวกเขากลับต้องออกมาเรยี ก สงสัย แต่เม่ือเกิดความสงสัยขึน้
ว่า “เยาวชนเป็นกลุ่มคนของยุค ร้องในประเดน็ ต่างๆ ในสังคม มา ถา้ วิกฤติไมเ่ กดิ ในตวั ของพวก
เขาเอง วกิ ฤติก็ต้องมาจากผู้มี
“แสดงว่าสังคมเกิดวิกฤติ อำ� นาจเองด้วย”
ขนาดท่ีท�ำให้พวกเขาต้องลุก
ข้นึ มาพูด ลุกขน้ึ มาแสดงความ
คิดเห็น ขณะที่ในเงื่อนไขอย่าง
สังคมไทยท่ีเราอยู่ ยังคงเป็น
14 ผ้ไู ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
อาจารย์ยุกติระบุว่า “วิกฤติ “มีคลิปนกั ศึกษาคนหนึ่ง ภาพ: themomentum.co
ตรงนี้ ผมคดิ วา่ สังคมไทยท้งั สงั คม ถามค�ำถามว่า คืออะไรกัน สอน
ต้องมาช่วยกันคิด ช่วยเยียวยา อย่างแต่ท�ำอย่าง ทุกอย่างไม่เป็น ลกุ ขน้ึ มาถามอะไรต่างๆ คอื พนื้ ฐาน
แล้ววา่ ถ้าจะอยกู่ นั แบบนี้ไปเรื่อยๆ อย่างที่ควรเป็น เขาก็มีค�ำถามมา ของสังคมขยับไปแล้ว แต่ระเบียบ
คงลากไปไม่ได้ คือเกิดปัญหาจน เรือ่ ยๆ มีคำ� ถามมากขึ้นๆ ใช่ ท่เี ขา กฎเกณฑ์ต่างๆ ยังเหนีย่ วร้ังความ
กระทงั่ คนทค่ี วรจะอยอู่ ยา่ งสขุ สบาย ไม่ไดร้ ทู้ กุ อยา่ ง แตป่ ระเดน็ คอื เขาจะ เปล่ยี นแปลงตา่ งๆ เอาไว”้
กลับต้องลุกขนึ้ มาต้ังค�ำถามกับ ตงั้ คำ� ถามกบั ทกุ อยา่ ง แลว้ คนทเ่ี ปน็
สังคมว่าน่คี ืออะไร เกิดอะไรขึน้ ใน ผู้ใหญ่เอง หรือคนที่เติบโตมาแล้ว
บา้ นเมือง” คุณกล้าที่จะตอบทุกค�ำถามของเขา
หรอื ไม่ และตอบแค่ไหน การที่เขา
คำ� ถามใหม่ กบั ระบบเกา่ “ ผ ม คิ ด ว ่ า เ ร า ต ้ อ ง ส อ น ทุกฝ่ายจะใจกว้างหรือพร้อมที่จะ
ผู้ใหญ่ เม่ือมีอ�ำนาจ ควรรับฟัง ยอมรบั ความคิดเหน็ ที่แตกต่าง ซ่งึ
อาจารย์ยุกติต้ังข้อสังเกต เคารพความคดิ เหน็ ของคนอน่ื ยอม อาจารยย์ กุ ตบิ อกไวว้ า่ “เมอื่ ใดกต็ าม
ว่า สังคมไทยเวลาจัดการความขัด ให้มีส่วนร่วมในอ�ำนาจบ้าง ยอม ที่คนมีอ�ำนาจอยู่ เม่ือมีการท้าทาย
แยง้ ส่วนใหญ่ มักจะใชค้ วามรุนแรง ให้ถูกตรวจสอบ พร้อมที่จะยอม เกดิ ข้นึ มกั จะบอกวา่ คณุ ยงั ไมพ่ รอ้ ม
และส่งผ่านการใช้ความรุนแรงไป เมื่อถึงเวลา สังคมไทยขาดการ มันเรว็ เกินไป”
เรื่อยๆ ทงั้ ในระดับครอบครัว สถาน ใหก้ ารศกึ ษากบั ผู้ใหญ่ เรื่องของการ
ที่ท�ำงาน และสถาบันทางการเมือง ยอมรับอำ� นาจของคนทีด่ ้อยกว่า” “ค�ำถามของผมคือว่า ใคร
“ผมคิดว่าสังคมโดยรวมท้ังหมด ผู้ กันแน่ที่ไม่พร้อม ประชาชนไม่
มีอ�ำนาจในสังคมพยายามท่ีจะยื้อ อาจารยย์ กุ ตเิ ปน็ ผู้ใหญท่ น่ี า่ พรอ้ ม นกั เรียนนกั ศึกษาไม่พร้อม
หรือเหน่ียวรง้ั ใหร้ ะบอบอำ� นาจนยิ ม เคารพ เปน็ ครอู าจารยท์ เี่ ปดิ ใจกวา้ ง หรอื ผู้ใหญ่ต่างหากที่ไม่พร้อม
คงอยู่ต่างหาก จึงพยายามบอกว่า ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของคนรนุ่ ใหม่ คือไม่พร้อมรับฟัง ไม่พร้อมท่ีจะ
ในครอบครัว โรงเรียน ท่ที ำ� งาน ยงั ซึ่งคงต้องยอมรับว่าในสังคมไทย เปิดกวา้ ง ไมพ่ ร้อมทจ่ี ะยอมรับว่า
ต้องใชร้ ะบอบอ�ำนาจนยิ ม และปลกู ไม่ใช่ผู้ใหญ่ทุกคน หรอื ผู้มีอ�ำนาจ สังคมต้องก้าวไปด้วยกัน ผู้ใหญ่
ฝังใหค้ นยอมรับอ�ำนาจตอ่ ไป” มักจะบอกว่าอาบน้�ำร้อนมาก่อน
มีประสบการณ์มาก่อน มีความ
ภาพ: www.posttoday.com ร้มู ากมาย แตผ่ ู้ใหญ่จะอยอู่ ย่างไร
กับค�ำถามใหม่ๆ ที่เปล่ียนไปทุก
วนั ”
“ค�ำถามกลับกันคือ ผู้ใหญ่
หรอื ผู้มีอ�ำนาจ รู้หรือไม่ว่าการท่ี
กระจายอ�ำนาจไปแล้ว ไม่ได้แปล
ว่าจะท�ำให้ทุกสิ่งทุกอย่างในระบอบ
เดิม หรอื วัฒนธรรมประเพณตี ่างๆ
พังทลายลงไป เขารู้หรอื ไม่ว่ามี
หลายสงั คมทสี่ ามารถอยู่ได้ในแบบ
15ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ท่มี คี วามคดิ เสรี เท่าเทยี ม สามารถ นี้สังคมไทยมีค�ำถามเต็มไปหมด การท้าทายของบรรดานกั เรียน
วิพากษ์วิจารณ์ได้ ขณะเดียวกันก็มี ซงึ่ ตรงนีเ้ ป็นสิ่งท่ดี ี ขณะเดยี วกนั นกั ศึกษา การรวมตัวเป็นส่วนหนึง่
พ้ืนที่ให้กับความคิด ความเชือ่ ท้ัง เราต้องพยายามท�ำให้สังคมมัน ที่ผู้มีอ�ำนาจอาจจะกลัว ผมคิด
ในเชิงศาสนาหรอื วัฒนธรรมท่ีแตก เปดิ ใหเ้ ขารสู้ กึ ไดว้ า่ การตงั้ คำ� ถาม ว่าระบบอ�ำนาจนยิ มต้องปรับตัว
ต่าง สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง ของพวกเขา ท�ำให้สังคมดีข้ึน เปลี่ยนแปลงแน่นอน ผมก็หวังว่า
สันติ ผมคิดว่าทั้งสังคมต้องได้รับ ค�ำถามของเขาไม่ได้ท�ำให้สังคม จะลดน้อยลง หรอื ว่าค่อยๆ หมด
การศกึ ษาในเรอื่ งพวกน้”ี เลวรา้ ยลง” พลังไปในท่ีสุด ถึงที่สุดแล้ว ระบบ
อ�ำนาจนิยมจะค่อยๆ ผ่อนคลาย
“ผมคิดว่าสามารถท�ำได้ ถ้า สถานการณ์ทางการเมือง ตัวเองลงไป ครอบครัว พ่อแม่ มี
เรารู้จักท่ีจะใช้ฐานทางประเพณี ในปัจจบุ ัน อาจารยย์ กุ ติกล่าวว่าท้ัง ลักษณะที่รับฟังมากขนึ้ หรอื ใน
ไปพร้อมกับการสร้างวัฒนธรรม สองฝ่ายต้องอดทนอดกลั้น ต้อง สถาบนั การศกึ ษา กม็ ลี กั ษณะทเี่ ปดิ
การเรยี นรู้แบบใหม่ หรอื พ่อแม่ผู้ ยอมรับความแตกต่างให้ได้ โดย กว้างมากขน้ึ เรื่อยๆ ซง่ึ ผมหวังว่าจะ
ปกครอง คนทเี่ กดิ กอ่ น อาวโุ สกวา่ ก็ เฉพาะอยา่ งยงิ่ ผมู้ อี ำ� นาจ ตอ้ งอดทน ไปจนถึงระดับการเมือง ระดับรัฐท่ี
เคารพคนรนุ่ ใหม่ได้ เคารพความคดิ อดกลน้ั มากกวา่ คนร่นุ ใหม่ สามารถเปดิ กวา้ งมากขนึ้ และรบั ฟงั
เห็นของพวกเขา สังคมสร้างความ ประชาชนมากขนึ้ ”
สัมพันธ์ ในแบบท่ีท�ำให้ทุกคนต้อง “ ข ณ ะ นรี้ ะ บ อ บ อ� ำ น า จ
ยอมรับฟังกัน ไมว่ า่ จะอยู่ในวัยไหน นิยมถูกท้าทายมากขน้ึ เรอื่ ยๆ
และสังคมจะก้าวไปดว้ ยกัน”
ภาพ: www.voicetv.co.th
อาจารย์ยุกติบอกว่า “ทุก
วันนี้ นักเรียนนกั ศึกษาออกมาตั้ง
ค�ำถามเรอื่ งต่างๆ กลับกลายเป็น
ว่ามีผู้ ใหญ่บางกลุ่มรู้สึกว่านี่เป็น
ค�ำถามที่ท�ำให้สังคมวุ่นวาย สร้าง
ความวุ่นวาย แต่อย่างไรก็ตาม ผม
เห็นกระแสสังคมเปิดกว้างมาก
ขึน้ เรามีสื่อที่ยอมให้นกั ศึกษามา
ตั้งค�ำถามเรื่องต่างๆ กระท่ังตอน
การจดั การความขัดแยง้ ชีวิตอีกต่อไป ไม่ว่าจะฝ่ายใดก็ตาม เป็นจ�ำนวนมาก และไม่ใช่แฟช่ัน
วุฒภิ าวะของ “สงั คมไทย” จึงขอนดั สมั ภาษณอ์ าจารยย์ กุ ตเิ ปน็ เพียงช่ัวคร้ังช่ัวคราว ต่างจากการ
คร้ังที่สองในสถานการณ์ท่ีก�ำลัง เคล่ือนไหวของคนรุ่นเก่าๆ ค่อน
หลังกลับจากสัมภาษณ์ ดำ� เนินไปอย่างต่อเนื่อง ข้างมาก ซ่ึงการท่ีคนวัยน้ีออกมา
อาจารย์ยุกติเพียงไม่กี่วัน เกิดการ เคลื่อนไหว แสดงถึงว่า “คนเหล่า
ปะทะกันของเจ้าหน้าท่ีและผู้ชุมนุม อาจารย์ยุกติมองว่าการ นี้ เขารู้สึกถึงอนาคตท่ีไกลออกไป
และหลังจากนนั้ ได้เกิดการปะทะกัน ชุมนุมคร้ังนม้ี ีความใหม่ของการ ไม่ใชเ่ พยี งแค่ ๔-๕ ปีเทา่ น้ัน”
ประปราย ระหว่างผู้ชุมนุมกับผู้ที่ เคลอื่ นไหว คือการที่คนวยั เรียน วยั
เห็นต่างในหลายที่ โดยส�ำหรับคน เร่มิ ต้นท�ำงาน ออกมาเคลื่อนไหว
ทผ่ี า่ นเหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งไดแ้ ตห่ วงั
วา่ คงไม่ไดเ้ หน็ การบาดเจบ็ และเสยี
16 ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
อาจารย์ยุกติเป็นหนึง่ ใน ภาพ: www.innnews.co.th
อาจารย์หลายท่านท่ีต้องไปช่วย
เหลือนกั ศึกษาหลายคนที่ถูก ปัจจุบันคิดว่ามันไม่ดีกับสังคมโดย มีการถกเถียงกันมากขนึ้ คิดว่า
ควบคมุ ตัว โดยอธบิ ายวา่ “นักเรียน รวม ทง้ั สงั คมอยู่ในความเครยี ด แต่ จะมีทางแก้ปัญหามากกว่าอดีต
นกั ศึกษาไม่ได้เป็นศัตรู ถ้าผู้ใหญ่ ส่งิ ท่ีน่าสนใจคือเกิดค�ำถามใหม่ให้ ที่ผ่านมา คือคุมอะไรไม่ได้ ฉีก
คิดวา่ ตัวเองมีวุฒิภาวะมากพอ ควร สังคมไทยได้นำ� มาขบคิด ถกเถียง รัฐธรรมนูญ ยดึ อ�ำนาจ เป็นวงจร
ท่ีจะรับฟังเขา และมองข้ามการใช้ พูดคยุ ตง้ั ค�ำถาม มีหลายฝา่ ยออก ทีเ่ ราไดเ้ ห็นมาโดยตลอด”
ถ้อยคำ� รุนแรง ลอ้ เลยี น เสียดสี ถา้ มาถกเถียงกันมากข้ึน ให้สังคมได้
เราบอกว่าเป็นผู้ใหญ่เพียงพอ เรา ถกเถียงกนั ในประเด็นตา่ งๆ” ต ล อ ด ห ล า ย ป ี ที่ ผ ่ า น ม า
ควรมองข้ามสิ่งเหล่าน้ี และมอง ปฏิเสธไม่ได้ว่า คนไทยจ�ำนวนไม่
ประเด็นทพ่ี วกเขาน�ำเสนอ ประเดน็ อาจารย์ยุกติบอกว่า “วธิ ีท่ี น้อยอยู่ ในภาวะท่ี ไม่อยากแสดง
ปัญหาคือว่า ผู้ใหญ่หลายคนรับไม่ ดีที่สุดคือ ถอยกลับไป และถ้ายัง ความคิดเห็นเรื่องการเมือง ยงิ่ ใน
ได้ คือจะยอมรับได้อย่างไรท่ีจะอยู่ คยุ กับเขาไม่ได้ ยอมใหเ้ ขาพูดอยา่ ง การชุมนุมครั้งน้ี มีเหตุการณ์จรงิ
กับสังคมที่มีความเห็นแตกต่างกัน เดียวก็ได้ ซ่ึงผู้มีอ�ำนาจส่วนใหญ่ ของหลายครอบครัวเกิดขึน้ คือพ่อ
อย่างน้ี หรือจะหาจุดลงตัวอย่างไร ก็ทนรับฟังไม่ได้ ผู้มีอ�ำนาจต้องมี แม่ลูกทะเลาะกันเรือ่ งการเมือง ไม่
แทนท่ีจะยึดกุมอ�ำนาจและปิดปาก วุฒิภาวะในการรับฟัง อดทนรับ อยากให้ลกู เข้าร่วมการชุมนมุ หรอื
เขาตลอดเวลา จะท�ำได้อีกแค่ไหน ฟังในสิง่ ที่ตัวเองไมเ่ หน็ ดว้ ย และ แม้แต่ในกลุ่มไลน์ ในโลกโซเชยี ล
แทนที่จะหาทางว่าท�ำอย่างไรที่จะ ให้สังคมถกเถียงแลกเปล่ียนกัน ต่างๆ กลายเป็นสมรภูมิย่อยๆ ใน
หากติกาท่ีสามารถอยู่ร่วมกันได้ สุดท้ายจะค้นหาจุดร่วมกันได้ ให้ ชวี ิตประจ�ำวันของผู้คนจ�ำนวนไม่
คือจริงๆ ก็เหมือนกับความขัดแย้ง น้อยทค่ี ดิ เหน็ แตกต่างกัน
ทางการเมืองท่ัวโลกท่ีเมื่อคนรับ
ไม่ได้กับกติกาแบบนี้ เราก็ต้องคิด อาจารย์ยุกติแนะนำ� ว่าถ้า
ร่วมกันใหม”่ เป็นคนในครอบครัว พ่อแม่ลูกท่ี
มีความคิดทางการเมืองไม่ตรงกัน
“ผมคดิ วา่ กตกิ ารว่ มกนั อาจ “ลองช่ังน้�ำหนักดูได้ไหมว่าความ
จะมีหลายระดับ คือสถานการณ์ รักความผูกพันทม่ี ตี ่อกนั ระหว่าง
พอ่ แมล่ ูก มองจากทง้ั สองฝ่ัง นำ�
ความรักความผูกพันท่ีมีต่อกัน
มาถ่วงดู ท�ำอย่างไรที่ท�ำให้เรา
สามารถอยู่ร่วมกันได้ ขณะท่ีเห็น
ตา่ งทางการเมอื ง”
17ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ภาพ: www.bangkokbiznews.com “บางทีคนท่ีปะทะกันรุนแรง ชวี ติ อีกแม้เพียงหน่งึ ก็นบั ว่ามาก ผู้ใหญ่ในสังคมทุกระดับ บางข้อ
ภาพ: www.thairath.co.thในครอบครัว กลับกลายเป็นว่าเรา เกินไปส�ำหรบั ประเทศของเรา เสนอท่ีท�ำให้ผู้ใหญ่ไม่สบายใจ ก็
มองขา้ มสิง่ ท่เี รามอี ยแู่ ล้ว ส่งิ ทเี่ ปน็ ควรอธิบายให้เข้าใจมากกว่าการ
สายใยที่จะผกู พันกันไว้ หมายความ เสียงของคนรุ่นใหม่ท่ีก�ำลัง ประณาม เสียดสี และด่าทอกัน
วา่ ย่ิงเราสนิทกันมาก ความเกรงใจ เรยี กร้องและชุมนุมกันในวันน้ี และกัน
กลับน้อยลง ใช้ค�ำพูดไม่ได้ระวัง สะท้อนอะไรถึงผู้ใหญ่ได้บ้าง ซ่ึง
ควรรักษาระยะห่างบ้าง ไม่ใช่สนิท ผู้ ใหญ่อาจจะไม่เห็นด้วยกับพวก ขณะท่ีเขยี นต้นฉบับช้ินน้ี
กันแล้วจะพูดอย่างไรก็ได้ ไม่รักษา เขาทั้งหมด ก็คงเป็นเร่ืองธรรมดา อยู่ สถานการณ์บ้านเมืองแม้จะดู
น้�ำใจกัน เราควรเคารพความคิด ซึ่งในอีกมุมหนง่ึ ที่พวกเขาต้องออก เหมือนผ่อนคลายข้นึ หลังจากทุก
เหน็ ทแี่ ตกตา่ ง ขณะทีย่ งั คงมีความ มาส่ง ‘เสียง’ ในทุกวันน้ี ปฏิเสธไม่ ฝ่ายต่างผอ่ นปรนมาตรการ และลด
รักความผูกพันต่อกัน ให้พ้ืนท่ีส่วน ได้ว่าอาจจะเป็นเพราะบรรดาผู้ใหญ่ เพดานการกดดนั ตอ่ กนั มากข้ึน แต่
ตัวของกันและกัน ไม่ต้องคาดค้ัน จำ� นวนไมน่ อ้ ย ตา่ ง‘เงยี บ’กบั ปญั หา ไม่ได้หมายความวา่ ปญั หาตา่ งๆ จะ
ว่าทุกคนต้องเห็นด้วยตรงกับเรา ต่างๆ ในสังคมไทยมาเนน่ิ นาน และ หมดไปในเรว็ วนั และหลงั จากน้ี เรา
ทกุ อยา่ ง” พวกเขาเห็นถึงความไม่จริงใจใน จะไดเ้ หน็ ถงึ ‘ความจริงใจ’ ในการแก้
การแก้ปัญหาของผู้ใหญ่จ�ำนวนไม่ ปญั หาของแตล่ ะฝ่ายอยา่ งแท้จริง
กลับจากสัมภาษณ์อาจารย์ น้อย พวกเขาเพยี งอยากเหน็ สังคม
ยุกติในครั้งที่สอง ได้แง่คิดว่าการ ท่ีดีกว่าในอนาคต และต้องการ คงจะใชต่ ามทหี่ ลายฝา่ ยเหน็
ชุมนุมเรยี กร้องทางการเมืองทุก ‘ค�ำอธิบายและความจรงิ ใจ’ ของ ตรงกันว่า... ต่อจากนี้ไปบ้านเมือง
ครั้งเป็นเหมือนการวัดระดับ ‘วุฒิ ของเราจะไม่เหมือนเดิม ส�ำหรับ
ภาวะทางสังคม’ อีกรูปแบบหนง่ึ คนรุ่นเก่าคือการปรับตัวปรับใจ
ว่าสังคมไทยจะมีทางแก้ ไขปัญหา ยอมรับความเปล่ียนแปลงท่ีจะต้อง
ความขัดแย้งในรูปแบบใด รวมถึง เกิดขน้ึ อย่างแน่นอน ส่วนคนรุ่น
ความขัดแย้งในระดับครอบครัวท่ี ใหม่เองยังมีอีกหลายอย่างท่ีต้อง
เหน็ ตา่ งทางการเมอื ง ซงึ่ สงั คมไทย เรยี นรู้อีกมากมายในอนาคต ซึ่ง
ในรอบหลายปีที่ผ่านมา เราได้เห็น จะดีท่ีสุดส�ำหรับสังคมไทยคือคน
การสูญเสียนับคร้ังไม่ถ้วน ไม่ว่าจะ แต่ละรุ่นควรได้เรียนรู้ข้อดีข้อด้อย
เป็นฝ่ายใด หากบาดเจ็บหรอื เสีย จากประสบการณ์และความคิดจาก
กนั และกัน
18 พ้ืนท่ีเล็กเลก็
น้�ำคา้ ง คำ� แดง
คนหลายวัยกับโลกใบเดียวกัน
เ คยไหมคะ ท่ีเราเปิดหน้าเฟซบุ๊ก
มาแล้วอยากจะโพสต์อะไรสัก
อย่าง แต่พิมพ์ ไปก็ลบไป พิมพ์
อีกก็ลบอีก เป็นแบบน้อี ยู่หลาย ภาพ: www.amarintv.com
คร้ัง ในยุคสมัยนี้และสถานการณ์
ณ ตอนน้ี ฉนั เหมือนคนย้�ำคิดย้�ำ
ท�ำ พิมพ์แล้วลบข้อความอยู่หลาย
รอบ ไม่ใช่เพราะกลัวค�ำวิจารณ์ท่ี
จะตอบกลับมาจากขอ้ ความท่ีโพสต์
แต่เพราะกลัวความคิดและอารมณ์ เหมาะกับทุกคน อย่าได้พยายาม อย่างเป็นห่วง มีค�ำถามมากมาย
ของตัวเองจะไปกระทบความรู้สึก ยัดเยียดสิ่งนั้นให้ใคร แม้แต่ตัว ท่ีต้องการหาค�ำตอบ เราจะอยู่บน
ของใคร หรือเผลอตดั สินใครโดยไม่ เธอเอง” เป็นประโยคเรียกสติของ ความแตกต่างอย่างเข้าใจในคร้ัง
ได้เจตนา สุดท้ายฉนั เลือกท่ีจะไม่ ตัวฉนั เอง กอ่ นจะเข้าไปคลกุ วงไหน นี้ได้อย่างไร? เราควรวางใจไว้ตรง
โพสต์ใดๆ แล้วกลับมานัง่ นง่ิ ๆ ฟัง สักวง ฉันต้องปรับความคิดตัวเอง ไหน? ฉนั พยายามนกึ ถึงสมัยก่อน
ความคิด มองการแสดงออกต่างๆ ให้ได้เสียก่อน มองไปข้างหน้า นัน่ จะมีส่ือโซเชยี ล เราใช้ชีวิตแบบไหน
ของทกุ ฝา่ ย แมจ้ ะเขา้ ใจบา้ ง ไมเ่ ขา้ ใจ ก็พ่ี น้อง เพือ่ นพอ้ ง ลูกหลาน มอง กันนะ! อย่ากระนั้นเลย คงต้องหา
บ้าง เห็นด้วยบ้าง ไม่เห็นด้วยบ้าง ไปข้างหลงั นั่นก็ พอ่ แม่ ลุง ปา้ น้า โอกาสพูดคุยกับใครสักคนเผ่ือจะ
เก็บข้อความท่ีจะบอกคนบนโลก อา ใช่ค่ะ เราทั้งหมดล้วนคือคนใน มีแนวทางให้ฉันได้หาจุดที่จะเอา
โซเชียลมาบอกตัวเองแทน ครอบครวั เดยี วกัน หัวใจไปวาง ฉันมีโอกาสได้คุยกับพ่ี
“น้�ำค้างเอ๋ย! ยุคสมัยมัน ตั้งแต่เรมิ่ มีการออกมา แก้ว พส่ี าวท่นี ่ารกั คนหนึ่ง พ่ีแกว้ มี
เปลี่ยนไปแล้ว มองมันอย่างที่ แสดงความคิดเห็นทางการเมือง ประสบการณ์ในการท�ำงานกับเด็ก
มันเป็น อย่ามองอย่างท่ีอยากให้ ฉนั เป็นคนหนงึ่ ท่ีไม่แสดงความคิด และเยาวชนมากวา่ ๑๖ ปี
เป็น ทัศนคติของเธอไม่ใช่ส่งิ ท่ี เห็นใดๆ ในเรอ่ื งน้ีเลย แต่เฝ้ามอง
คณุ กรองแกว้ ปัญจมหาพร (พแ่ี ก้ว) ผู้เชีย่ วชาญงานสง่ เสริมความเสมอภาคทางเพศ
เราคิดว่าสงิ่ ที่เยาวชนสมัย นกั ศึกษา สถานการณ์บ้านเมืองก็ เป็นปัญหาของสังคมในยุคนัน้ เรา
เรากับสมัยนม้ี ีเหมือนๆ กัน คือ จะไม่ได้มีประเด็นร้อนเหมือนสมัย จะเห็นได้ชัดเจนที่คนกลุ่มหน่งึ มี
การมีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสรรค์ นี้ สมัยพ่ีแก้วก็จะเห็นว่าคนที่มี โอกาสทางการศึกษาที่ดี ในขณะท่ี
สังคมที่ดีกว่า แต่ค�ำจ�ำกัดความ แนวคิดแตกต่างมากๆ มีไม่เยอะ คนอีกกลุ่มถูกทง้ิ ไว้ข้างหลัง ในทุก
ของค�ำว่า “สร้างสังคมท่ีดีกว่า” ส่วนใหญ่ก็จะเป็นประเด็นเรอ่ื งการ ยุคทุกสมัยเรามีความปรารถนาดี
แต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะไม่เหมือน ศึกษา สง่ิ แวดล้อม ความเหล่ือม กับสังคมเหมอื นๆ กัน เพียงแต่ต่าง
กัน อย่างสมัยพ่ีเป็นนกั กิจกรรม ล�้ำของคนในเมืองกับคนชนบท ซึ่ง กนั ตรงที่ในสมยั นี้ เด็กยุคใหมม่ ีส่ือ
19ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
อยู่ในมือ เด็กและเยาวชนสามารถ เด็กสมัยนก้ี ็เช่นกันพวกเขาก็ ในยุคของพ่ีแก้วเอง หรือ
แสดงไอเดยี ต่างๆ ผ่านทางชอ่ งทาง ปรารถนาดกี บั ประเทศ เขากอ็ ยาก เพื่อนๆ ท่ีเติบโตมากับขบวนการ
ออนไลน์ได้ เพราะฉะน้ันเวลาท่ีเรา เหน็ ความเปลย่ี นแปลงในประเดน็ กิจกรรมนักศึกษามาด้วยกัน เรา
ขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ จากเมื่อ ตา่ งๆ เพยี งแตป่ ระเดน็ ทเ่ี ขาสนใจ คุ้นชนิ กับการที่มีคนมาส่ังมาบอก
ก่อนท่ีต้องนดั ประชุมลงพื้นท่ี กว่า มนั คอื โลกใหมท่ ผี่ ู้ใหญอ่ ยา่ งเราๆ ให้เราท�ำสิ่งนนั้ สงิ่ น้ี ส่วนเด็กยุค
จะนดั รวมตวั กนั ไดก้ ็ใชเ้ วลานานมาก อาจจะไม่คุ้นเคย วันน้ีเราเห็นเด็ก นเ้ี ขาเติบโตมาในเจนเนอเรช่ัน
กระบวนการต่างๆ ทีเ่ กดิ ข้นึ จงึ ไม่ได้ และเยาวชนลุกขน้ึ มาทวงถาม (Generation) ที่ไม่คุ้นชนิ กับสิง่
เร็วและแรง และสร้างแรงกระเพื่อม อ�ำนาจนยิ มในโรงเรยี น ลุกขน้ึ มา เหล่านี้ แต่ผู้ใหญ่กลับใช้อ�ำนาจ
ในสงั คมได้เหมือนอย่างสมัยน้ี ทวงถามความเสมอภาคระหว่าง เหนือเขา จงึ ไม่แปลกท่ีจะมีการ
เพศ ทวงถามถึงความเป็นธรรมใน ปะทะหรอื เห็นไม่ตรงกันระหว่าง
ก ร ะ บ ว น ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น สังคมปิตาธิปไตย (สังคมชายเป็น คนสองรุ่น คนรุ่นใหม่เค้าเติบโต
ของนักศึกษาสมัยน้ี โดยส่วนตัว ใหญ่) ลุกขึน้ มาทวงถามประเด็นที่ มาพร้อมกับความเชื่อว่าตัวเอง
พ่ีแก้วรู้สึกชอบ ชอบที่เค้ามีความ จับต้องหรอื พูดถึงไม่ได้อย่างเรอ่ื ง มีอ�ำนาจในการจัดการชวี ิตตัว
ปรารถนาดีกับประเทศน้ี อยาก ของสถาบันพระมหากษัตริย์ เอง กับ คนอีกรุ่นท่ีคิดว่าฉันรู้ดี
จะเห็นส่งิ ท่ีมันดีกว่าส�ำหรับเขา กว่า ฉนั อาบนำ้� ร้อนมาก่อน การ
ปรากฏการณ์น้ีคือการมีส่วนร่วม ปะทะกนั ของคนสองรุ่น มนั ก็เปน็
ของเด็กในการออกแบบอนาคต เร่ืองธรรมดานะ เพราะย้อนกลับ
ในอกี ๑๐หรือ๒๐ปขี า้ งหนา้ ทพี่ วก ไปสมัยเราเป็นแกนน�ำเยาวชน
เขาหรอื เธอต้องการจะอยู่ ตอนพ่ี เราก็เคยปะทะกับผู้ใหญ่รุ่นก่อน
เป็นนักกิจกรรมช่วงที่เป็นนกั ศึกษา การปะทะกันของชุดความคิด มัน
พ่ีก็คิดเหมือนกันว่าสังคมแบบไหน แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนผ่าน
ทีเ่ ราอยากเหน็ ในอกี ๑๐ หรือ ๒๐ ปี ของยคุ สมยั
ถัดไป เราบอกว่าเราอยากเห็นการ
ลดความเหลื่อมล้�ำทางการศึกษา ดงั นนั้ สงิ่ ทพ่ี บี่ อกกบั คนอายุ
เ ร า ก็ ขั บ เ ค ลื่ อ น ใ น ป ร ะ เ ด็ น นัน้ ประมาณพี่คือ เยาวชนควรมีส่วน
ร่วมในการออกแบบอนาคตของ
ภาพ: www.amarintv.com ประเทศในแบบท่ีพวกเขาอยาก
อยู่ในอีก ๑๐ หรือ ๒๐ ปีข้างหน้า
20 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
สิ่งท่ีเราท�ำได้ ในฐานะผู้ ใหญ่คือ ภาพ: facebook takekidswithus
การเปิดพื้นท่ีพูดคุยกันอย่างสม
เหตุสมผล เราไม่จ�ำเป็นต้อง ความสุภาพเรยี บร้อยของคนยุค ภาพ: themomentum.co
สนบั สนุนทั้งหมด หรือเห็นด้วย เบบบ้ี มู เมอร์ (Baby Boomer) หรือ
กบั ทกุ ประเด็น แตว่ า่ เราจะใช้ชวี ติ เจนเอ็กซ์ (Gen-X) ไม่เหมือนและ ถูกสอนมาตั้งแต่ไหนแต่ไรว่าเด็ก
อย่างไรโดยท่ีเราไม่ ใช้อภิสิทธิ์ ไม่สามารถน�ำมาใช้กับคนยุคมิล ต้องเคารพผู้ใหญ่ เป็นเด็กไม่ควร
ความเป็นผู้ใหญ่ของเรา กดทับ เลนเนียลส์ (Millennials) และเจน เถียงผู้ใหญ่ มันจงึ หาจุดท่ีลงตัว
ชุดความคิดของเยาวชน ซี (Gen-Z) ได้ กันลำ� บาก
ตอนนีเ้ รารู้สึกตะขิดตะขวง พ่ีคยุ กบั ผู้ใหญบ่ างคน เขาก็ สิ่ง สุ ด ท ้ า ย ที่ พ่ี คิ ด ว ่ า มั น
ใจ เม่ือได้ยินผู้ใหญ่พูดว่า “ฉนั จะ จะบอกว่า “ม็อบนี้ไม่สุภาพ” ค�ำว่า จ�ำเป็น เม่ือไม่สามารถหาจุดลงตัว
ต้องท�ำอะไรสักอย่างกับเด็กกลุ่ม สุภาพน่ี คนในแต่ละยุคก็ให้ความ ได้ ไม่สามารถที่จะเข้าใจศัพท์ของ
นเี้ พราะฉันทนไม่ได้แล้ว” อันน้คี ือ หมายท่ีไม่เหมือนกัน พฤติกรรม เด็กได้ เราในฐานะผู้ใหญ่ต้องไม่
การใชอ้ ำ� นาจในรปู แบบหนงึ่ กบั เดก็ บางอยา่ งทอี่ าจดไู มส่ ภุ าพในสายตา สนับสนุนให้ ใช้ความรุนแรงกับ
และเยาวชน เราอยากเรยี กร้องให้ เรา จริงๆ มันก็ดูเป็นสีสันด้วยซ้�ำ เด็ก ไม่วา่ จะมีจดุ ยนื แบบไหน เรา
ผู้ใหญ่ในวันน้ีไม่ใช้ชุดความคิดเดิม เป็นการแสดงออกของคนรุ่นใหม่ ต้องคิดให้ ได้ว่าความรุนแรงกับ
ตดั สนิ การเคลอ่ื นไหวทางสงั คมของ ในวันนี้ ดังนั้นพี่จงึ คิดว่าชุดความ เด็กมันไม่ใช่เร่อื งปกติ ไม่ควร
เดก็ และเยาวชน อนั น้มี นั จะชว่ ยเด็ก คิดแบบเดิมๆ ผู้ใหญ่อย่างเราไม่ สนับสนุนให้เกิดการใช้ความรุน
ได้เยอะแล้ว เราอยากบอกว่า เม่ือ สามารถใช้ครอบเด็กได้อีกแล้ว เรา แรงใดๆ ทัง้ สิ้นกับเดก็ ไมว่ ่าจะใน
พวกเราเติบโตมากับชุดความคิด ต้องยกกรอบความคิดของเราออก กรณีไหนกต็ าม
คนละชุดกัน เราจงึ ไมส่ ามารถใช้ชดุ เพราะถ้าเราใช้ชุดความคิดนี้ ยังไง
ความคดิ เดมิ เมอื่ ๑๐-๒๐ ปที แี่ ลว้ ไป เด็กก็หยาบคาย เป็นคนดื้อ คนรั้น
อธบิ ายปรากฏการณค์ วามคดิ ในวนั ไมฟ่ งั เสยี งคนอน่ื ซง่ึ พเี่ หน็ ใจ ผู้ใหญ่
น้ขี องเด็กได้อีกแลว้ อย่างเราก็ปรับตัวยากนะเพราะเรา
ถ้าถามว่า แล้วเราจะท�ำ
อย่างไรให้ใช้ชวี ิตร่วมกันได้ พ่ีต้อง
บอกว่า...ยากมากนะ (หัวเราะ) แต่
มันท�ำได้ อันดับแรก การเคารพ
ความเห็นต่างส�ำคัญมาก อันดับท่ี
สอง เราไม่สามารถใช้นยิ ามศัพท์
เดิมกับเด็กยุคใหม่ได้อีกแล้ว เช่น
ถามถงึ เรื่องงานของพ่ีแก้ว เมื่อความเป็นธรรมทางเพศมัน มีอัตลักษณ์ท่ีทับซ้อนแบบใดก็ได้
ถูกพูดถึง” งานของพ่ีคือ การบอก แต่เขาต้องเชื่อมั่นว่าเขามีศักยภาพ
พ่ีแก้ว เป็นผู้เชยี่ วชาญงาน เด็กว่า เขาเกิดมาเท่าเทียมกัน ไม่ ที่จะเติบโตขึน้ มาเป็นประชากรท่ีมี
ส่งเสรมิ ความเสมอภาคระหว่าง ว่าเขาจะเป็นเพศอะไร มีอัตลักษณ์ คุณภาพของสังคมน้ี นี่คือส่ิงที่เรา
เพศ เราจะมีชุดความคิดและชุด แบบไหน เชือ้ ชาติแบบไหน เขาจะ เช่อื สง่ิ ที่เราบอกเด็กและเยาวชน
ความเช่ืออยู่ชุดหนงึ่ ว่า “ความเป็น
ธรรมในสังคมจะเกิดขน้ึ ได้ ก็ต่อ
21ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ตลอดระยะเวลา ๑๖ ปีทีเ่ ราท�ำงาน เทคโนโลยี มนั ทำ� ใหช้ อ่ งวา่ งระหวา่ ง เอง เพ่ือสร้างการเปล่ียนแปลงใน
มา ความคดิ ความเชือ่ ทต่ี า่ งกนั ของเดก็ ประเด็นทพี่ วกเขาตอ้ งการ
ในตวั เมอื งกบั ตา่ งจงั หวดั ถกู ทอนให้
พ่ีท�ำงานกับเด็กกลุ่มเปราะ แคบลง ส่วนหนึ่งเด็กก็อาจจะแบก เราเชอื่ ว่าเด็กและเยาวชน
บางหลากหลายกลุ่ม (กลุ่มคนที่ รับการถาโถมเหล่าน้ีไม่ทัน แต่ใน มีพลังของตัวเอง พวกเขาสามารถ
ไม่สามารถเข้าถึงทรัพยากรและ ขณะเดยี วกนั พกี่ ็เห็นว่ามีเคร่อื งมือ ลุกขนึ้ มาสร้างความเปล่ียนแปลง
สวัสดิการของสังคมได้) ส่งิ ที่เรา หลากหลายชนดิ ท่ีเด็กสามารถใช้ ในสังคมได้ ถ้าผู้ใหญ่อย่างเราๆ
เห็นในสมัยเพิง่ เร่มิ ท�ำงานคือ เด็ก ในการสร้างการเปล่ียนแปลงทาง ให้โอกาสพวกเขาได้ออกเสียงเพ่ือ
ในเมอื งและเด็กตา่ งจงั หวัดอาจจะมี สังคมได้ เราเห็นเด็กแต่ละยุคหยิบ ออกแบบสังคมที่ดีกว่าในนิยาม
ชุดความคิดท่ีแตกต่างกัน แต่เมื่อ มันข้นึ มาปรับใช้ตามบรบิ ทของตัว ของพวกเขา ด้วยความรู้ ทกั ษะและ
เวลาคอ่ ยๆ เปลยี่ นไป ใน ๑๖ ปนี ี้ สอื่ ความสามารถท่ีเด็กและเยาวชนรุ่น
น้ีมี พวกเขาจะสร้างสรรคส์ ังคมทีด่ ี
กว่าเดิมได้แนน่ อน
ถ้าถามว่าท�ำไมครั้งน้ฉี ัน
ถึงเลือกท่ีจะคุยกับพี่แก้ว ก็น่าจะ
เพราะมุมมองท่ีตรงไปตรงมา กับ
ประสบการณก์ ารทำ� งานกบั เดก็ และ
เยาวชน การท่ีเห็นการเปล่ียนผ่าน
ของยุคสมัยอย่างเข้าใจ และด้วย
ประเด็นทางสังคมที่ละเอียดอ่อน
เราต่างมคี ำ� ถามมากมาย อยา่ งเชน่
ถ้าลูก หรอื นอ้ ง ของเราขอไปร่วม
ม็อบ เราจะท�ำอยา่ งไร?
ในช่วง ๑-๒ เดอื นมาน้ี ฉันเห็นหลายคนออกมาแสดง ภาพ: www.thaihealth.or.th
ความคิดเห็น แต่เพื่อให้เป็นประโยชน์กับคุณผู้อ่านมากที่สุด
หนง่ึ ในบทความท่ีน่าสนใจมากจากเพจ ‘เล้ียงลูกนอกบ้าน’
เขยี นโดย ผศ.พญ.จิราภรณ์ อรุณากูร (คุณหมอโอ๋)๑ เป็น
บทความท่ีคุณผู้อ่านรวมท้ังตัวฉันด้วยน่าจะนำ� ไปใช้ได้เป็น
อยา่ งดีเลยคะ่
เมื่อลูกขอไปม็อบ.มันคงเป็นเร่อื งน่าหนกั ใจของพ่อแม่
โดยเฉพาะกบั คนที่ความคดิ และความเช่ือชา่ งแตกต่าง
หมอมีคำ� แนะน�ำพ่อแมท่ อี่ ยากแลกเปลี่ยนดงั นี้ นะคะ
๑. กลับมาท�ำงานกับตวั เองก่อน ตอบตวั เองให้ได้ ว่าอะไรส�ำคัญกับชวี ติ
๒. ถ้าคำ� ตอบคอื ‘ลูก’ หายใจเข้าออกให้ลกึ ๆ และสงบตัวเองให้พร้อม ‘ฟงั ’
๓. อนั ดบั แรก “ขอบคุณลกู ” ทเี่ ข้ามาขออนญุ าตแม่ ขอบคุณทีเ่ หน็ ความส�ำคัญของความเห็นพ่อแม่ และ
ขอบคณุ ท่ีไม่โกหกปกปดิ กัน (ทงั้ ๆ ทล่ี ูกกอ็ าจจะท�ำมันได้)
๔. อยา่ รีบหา้ ม “ไม่ให้ไป” “ไปไม่ได”้ สิ่งเหลา่ น้หี ลายครงั้ ‘หา้ มลกู จรงิ ๆ ไม่ได’้ แตก่ ลบั กลายเปน็ สง่ิ ทที่ ำ� ให้
เราเป็นคนสดุ ทา้ ย ที่ได้รับรคู้ วามเป็นไปในชีวติ ลูก
๑ ที่มา: เพจเล้ยี งลูกนอกบ้าน วันท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๓
22 ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓ ภาพ: facebook takekidswithus
๕. ‘ไม่รบี ตัดสิน’ เช่น ไปม็อบคือล้มเจ้า ไปม็อบเท่ากับถูกล้างสมอง ไปม็อบเท่ากับอกตัญญูแผ่นดิน ภาพ: facebook takekidswithus
การตัดสนิ ทำ� ใหป้ ิดกั้นทุกชอ่ งทางแห่ง ‘ความเขา้ ใจ’
๖. ฟัง ‘ความรสู้ ึกและความตอ้ งการ’ ของลูก ลกู รสู้ กึ อยา่ งไร ต้องการอะไร ลกู ให้คณุ คา่ กบั อะไร การ
ไปม็อบมีความหมายอยา่ งไร มันตอบสนองความต้องการอะไร ฟงั แบบ ไมต่ ัดสิน ไม่แทรกถาม ไม่สงั่ สอน ไม่
รีบสรุปความ และไม่แยง่ ซีน (เช่น “โอ๊ย สมัยแมก่ ็เคย..” ??)
๗. ถา้ ฟงั จบแลว้ มอี ะไรสงสยั ให้ ‘ตง้ั คำ� ถาม’ แทนการ
สอน “ลูกคิดว่าวัตถุประสงค์ของม็อบคืออะไร” “แล้วลูกคิด
อยา่ งไร ที.่ ..” ชวนลูกมองไปให้ไกลถงึ ผลที่จะตามมาจากการ
ตัดสินใจ
๘. บอกความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริงของเรา
“แมเ่ ปน็ หว่ งหนูมาก” “แม่อยากให้ลกู ปลอดภยั ” “แม่รัก
ลกู ” บอกโดยใช้ ‘I message’
๙. หลีกเลี่ยงการพูดสงิ่ ท่ีจริงๆ ไม่ได้รู้สึก หรอื ต้องการ “ถ้าไปก็ไม่ต้องกลับบ้าน” “ตัดพ่อตัดลูกกันไป
เลย” ค�ำพดู เหลา่ น้ี ไม่ได้ช่วยให้เราสร้าง “ความปลอดภยั ในชีวติ ลูก” ไดจ้ ริงๆ
๑๐. ชวนลกู คดิ ว่าความต้องการของพอ่ แม่ เชน่ อยากใหล้ ูกปลอดภยั ไม่อยากให้ลกู ก้าวรา้ วกับคนที่พอ่
แมเ่ คารพ สงิ่ เหล่าน้ี ลูกจะช่วยใหม้ นั ถูกตอบสนองได้อยา่ งไร
๑๑. สร้างข้อตกลง หาทางออกรว่ มกัน ทีจ่ ะท�ำใหท้ ง้ั ๒ ฝ่าย ได้สิง่ ท่ีตวั เองต้องการ “ไม่ไปได้ไหม?” “จะ
ไปบอ่ ยแค่ไหน?” “แมจ่ ะตดิ ต่อยงั ไงไดบ้ ้าง?” “ทำ� ยงั ไงใหร้ ้วู า่ ปลอดภัย?” “จะเอาตัวรอดยงั ไงในภาวะ
คับขัน? ถ้าถกู จับจะท�ำอยา่ งไร?” ฯลฯ
๑๒. ไมม่ ีใครควรไดอ้ ะไรไปทุกอย่าง และไม่มีใครควรต้องเสยี ความต้องการไปทง้ั หมด
๑๓. ‘ความสัมพนั ธ์ทดี่ ี’ คือ ส่งิ ทีจ่ ะท�ำให้ลูกรบั ฟังและทำ� ใหเ้ กิดการต่อรอง
๑๔. พน้ื ทปี่ ลอดภัย คือพ้ืนทท่ี ีเ่ ราสามารถเหน็ ตา่ งได้
แสดงความรสู้ กึ และความตอ้ งการได้ โดยไมท่ ำ� รา้ ยหรอื ละเมดิ
สิทธิกัน บา้ นควรเปน็ ‘พนื้ ทป่ี ลอดภยั ’
๑๕. พดู เฉพาะเมอื่ เห็นว่าลกู พร้อมจะฟงั
๑๖. อย่าตั้งเป้าท่ีจะท�ำให้ลูกเชือ่ หรอื ศรัทธาในส่ิง
เดยี วกนั “ความรกั ความศรทั ธาเปน็ เรอ่ื งทบ่ี งั คบั กนั ไม่ได”้ เรา
แตล่ ะคนมปี ระสบการณแ์ ละใหค้ ณุ คา่ ในเร่ืองทแ่ี ตกตา่ ง พดู ให้
ลกู ฟัง ด้วยความคาดหวงั ทีเ่ หมาะสม
๑๗. ถา้ หา้ มไมฟ่ งั และเรากห็ ว่ งเร่ืองความปลอดภยั ทางออกหนึ่งทเ่ี ปน็ ไปได้ คอื ‘ไปกบั ลกู ’ ไป เพอ่ื แน่ใจ
ว่ามีอะไร เราจะเปน็ สว่ นหน่ึงที่ชว่ ยให้ลูกปลอดภัย (เอาท่อี ดุ หไู ปได้ ถา้ ไมอ่ ยากไดย้ ินอะไรที่ไม่ชอบ)
๑๘. บอกลกู ไดถ้ ึงส่ิงทก่ี �ำลงั เปน็ ปญั หา การใชค้ ำ� หยาบคาย การบลู ล่ี การอาฆาตมาดรา้ ย การเหยยี บยำ่�
สง่ิ ทค่ี นอ่ืนศรัทธา อาจไม่นำ� มาซ่งึ ความเขา้ ใจของคนท่เี ห็นตา่ ง
๑๙. เนน้ ยำ้� ลกู วา่ ประชาธิปไตย คือการอยูร่ ว่ มได้ แม้คดิ ไมเ่ หมอื นกัน
๒๐. สอนลกู วา่ ไมม่ ีใครทม่ี แี ตค่ วามไมด่ ี และไมม่ ีใครทเี่ ลวรา้ ยไปทงั้ หมด คนทกุ คนควรไดร้ บั ความเคารพ
ในความเป็นมนษุ ย์ “จงออ่ นโยนต่อบุคคล แต่หนกั แน่นในหลกั การ”
23ผูไ้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
สดุ ทา้ ยอยากบอกว่า ในความเป็นจริง เราล่ามโซล่ ูกไม่ได้ สิง่ เดียวที่จะดงึ รั้งลูกไว้ได้ คอื ‘สายสัมพนั ธ’์ อยา่
ทำ� อะไรที่ ‘ทำ� ลายความสัมพนั ธ’์ และอยา่ ใหค้ วามเช่อื ใดๆ มาทำ� ให้คณุ ต้องท�ำลาย สง่ิ ท่ีเรยี กว่า ‘ครอบครวั ’ เพราะ
ถ้าถงึ วันนั้น มนั อาจไม่มอี ะไรมาทดแทนสิ่งท่ีสญู เสียไป... ได้จรงิ ๆ
นอกจากนี้ คุณหมอโอย๋ งั ได้เขยี นไว้อกี หลายบทความทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ละเหมาะกับชว่ งเวลานี้ หากใครสนใจ
สามารถเข้าไปอา่ นเพ่มิ ได้ท่ี facebook fan page: เลี้ยงลูกนอกบ้าน
ฉันในฐานะเด็กกิจกรรมคน ภาพ: spngtree.com
หนึ่งที่เคยขับเคลื่อนทางการเมือง
มาบ้าง คร้ังหนง่ึ ท่ีฉันได้รับโอกาส ว่า ‘ความอยู่รอด’ ขอบคุณที่ท�ำให้ ตา่ งในทกุ เร่อื ง เรายนื คนละจดุ มอง
ให้แสดงความคิดเห็น มีผู้ใหญ่คน ฉันแข็งแกร่งและกล้าที่จะยอมรับ กันคนละมุม แต่สุดท้ายให้รู้ไว้ว่า
หน่ึง (ผู้ใหญ่คนท่ี ๑) กระซิบบอก ความตา่ ง มองโลกบนความเปน็ จรงิ นัน่ คือลูก คือหลาน คือครอบครัว
ฉันว่า “วันหนึง่ เม่ือเธอโตขน้ึ แล้ว อยา่ งเขา้ ใจ ขอบคณุ ผู้ใหญค่ นท่ี ๒ ที่ เปิดใจ เขา้ ใจ รบั ฟงั แลกเปลี่ยนใน
มีตัวแปรคือความอยู่รอด เธอจะ โอบกอดในช่วงเวลาท่ีแสนทรมาน ฐานะคนที่รักกัน เป็นผู้ใหญ่ที่สง่า
เปลี่ยนความคิดไปเอง” ตัวฉันเม่ือ นั้น ให้ฉันยังรู้สึกปลอดภัย ท�ำให้ งามให้เด็กหันมาตรงนแ้ี ล้วรู้สึก
๑๗ ปที แี่ ลว้ กบั อายุ ๑๖ ปี ฟงั ผู้ใหญ่ เด็กคนนนั้ พอจะมีแรงเดินต่อไปได้ ปลอดภยั นะคะ
ท่านนที้ ั้งนำ้� ตา รู้สึกโกรธที่เขาไม่ ขอบคุณท่ีมอบความอ่อนโยนน้นั
เข้าข้างฉัน รู้สึกเคว้งคว้างและตัว ใหก้ บั ฉนั และมันยงั คงอยูถ่ ึงวันนี้ บทความของฉันมักจะชวน
ชา แต่ในช่วงเวลาเดยี วกัน มผี ู้ใหญ่ คุณว่ิงเล่นในทุ่งลาเวนเดอร์เสมอๆ
อีกคน (ผู้ใหญ่คนท่ี ๒) ท่ีได้ยินค�ำ ฉนั คิดว่าในสังคมของเรา ฉนั ไม่ได้ชวนคุณเพ้อฝัน เพราะทุ่ง
พูดนน้ั เดินเข้ามาแล้วโอบกอดฉนั ควรมีผู้ใหญ่ท้ังสองแบบ เพราะนี่ ลาเวนเดอร์ของฉนั มนั อยู่ในใจ และ
อยา่ งเข้าใจ คอื การปรบั สมดลุ แตส่ ิง่ ทต่ี อ้ งปรบั รอการปลูกดอกลาเวนเดอร์ด้วย
คอื วธิ กี ารทจ่ี ะทำ� ใหเ้ กดิ ความสมดลุ สองมอื ของคณุ ผอู้ า่ น จะมปี ระโยชน์
เมอ่ื มองยอ้ นกลบั ไป ฉนั นกึ น้ัน วันนัน้ ฉันโชคดที ี่มคี นเตือนและ อะไรที่เราต้องใช้อารมณ์ไปกับเรอื่ ง
ขอบคุณผู้ใหญ่ท้ัง ๒ คน ขอบคุณ คนปลอบ ฉันเองกอ็ ยากใหน้ อ้ งๆ ใน ราวข่าวสาร มาค่ะ มาปรับที่วางใจ
ผู้ใหญค่ นที่ ๑ ทเี่ ตือนสติให้ฉันอยู่ วันน้ีได้รับความโชคดีเหมือนท่ีฉัน และเรียนร้ทู จี่ ะอยู่รว่ มกนั
กับความเป็นจริง เตือนว่าโลกใบนี้ เคยได้ เราไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย
ไมม่ อี ะไรทแ่ี น่นอน แมก้ ระทั่งความ ทง้ั หมด และเราก็ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเหน็
คิดและใจตัวเอง โลกนอ้ี าจไม่ได้
สวยงาม ไม่ไดม้ เี พยี งแคค่ นทชี่ น่ื ชม
ยินดีหรือเห็นด้วยกับความคิดของ
เดก็ หญงิ คนนนั้ พดู แบบตรงไปตรง
มาสิ่งที่ผู้ใหญ่คนที่ ๑ พดู ก็ไม่ไดผ้ ดิ
ไปเสยี ทงั้ หมด ถงึ ฉนั จะไม่ไดเ้ ปลยี่ น
ความคิดไปท้ังหมด แต่ก็มีหลาย
อยา่ งทถี่ กู ปรบั ไปตามตวั แปรทเ่ี รียก
24 บทความ
สนธยา ตั้วสูงเนิน
ภาพ: www.amarintv.com
เยาวชนกบั การชุมนมุ มิติใหม่
เสรภี าพในการชุมนมุ
การชมุ นมุ เปน็ สทิ ธิและเสรีภาพสากล เปน็ สิง่ ทปี่ ระชาชนสามารถกระทำ� ไดเ้ พอื่ สง่ เสยี งใหผ้ มู้ อี ำ� นาจทราบวา่
ประชาชนกำ� ลงั เดอื ดร้อนอะไร ตอ้ งการให้รฐั บาลแก้ไขหรือท�ำอะไร การชุมนุมเกดิ ข้นึ ในสังคมไทยมานานทงั้ รปู แบบ
การชมุ นมุ อยกู่ บั ที่และการชมุ นุมแบบเดนิ ขบวน และพฒั นาไปส่กู ารแสดงออกหลากหลายรูปแบบมากข้นึ
เสรภี าพในการชุมนุมถูกรับรองตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธมิ นุษยชนของสหประชาชาติ กติการะหว่าง
ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และในประเทศไทยก็ได้ให้การรับรองเสรภี าพในการชุมนุมไว้ใน
รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๔๔ วา่
ว.๑ “บคุ คลยอ่ มมเี สรภี าพในการชมุ นุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ"
ว.๒ "การจ�ำกดั เสรภี าพตามวรรคหน่ึงจะกระทำ� มิได้ เวน้ แต่โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบญั ญัตแิ ห่งกฎหมายที่
ตราข้นึ เพ่อื รักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรยี บร้อย หรือศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน
หรือเพ่ือคมุ้ ครองสทิ ธิหรือเสรีภาพของบคุ คลอน่ื ”
แ ม ้ จ ะ มี ก ฎ ห ม า ย ท่ี ใ ห ้ ซ่ึงหากมีการจัดการชุมนุมโดยไม่ จราจร, พ.ร.บ.ทางหลวง, พ.ร.บ.
เสรีภาพไว้ แต่ก็มีกฎหมายที่จ�ำกัด แจ้งล่วงหน้าหรือไม่ได้รับอนุญาต รักษาความสะอาด, พ.ร.บ.ควบคุม
เสรภี าพอยู่ด้วยเช่นกัน ท่ีท�ำให้ ให้จัดถือเป็นการชุมนุมโดยผิด โรค, กฎหมายอาญา เปน็ ตน้ และ
ยังไม่สามารถมีการชุมนุมได้โดย กฎหมาย ต�ำรวจสามารถร้องขอ เจ้าหน้าท่ีต�ำรวจมีหน้าท่ี ในการ
สะดวก เน่ืองจากมีกฎหมายที่ว่า ใหศ้ าลมคี �ำส่ังยกเลิกการชมุ นมุ ได้ รกั ษาความปลอดภัย อ�ำนวยความ
ดว้ ยการชุมนุม คอื พระราชบญั ญตั ิ สะดวกใหแ้ กผ่ ชู้ มุ นมุ ประชาชนทอ่ี ยู่
การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ภายหลังได้รับอนุญาตให้ ในบรเิ วณพ้ืนที่ชุมนุม และอ�ำนวย
ที่ถูกนำ� มาใช้บังคับกับการจัดการ จัดการชุมนุม ผู้จัดชุมนุมมีหน้าท่ี ความสะดวกในเร่อื งของการจราจร
ชุมนุม โดยมีการก�ำหนดเงื่อนไข ตอ้ งจดั การดแู ลการชมุ นมุ ใหเ้ ปน็ ไป ในบริเวณพน้ื ที่ชุมนมุ นั้นด้วย
ว่า ผู้จัดการชุมนุมต้องแจ้งจัดการ ด้วยความสงบ เรียบรอ้ ย ปราศจาก
ชมุ นมุ และการเลกิ ชมุ นมุ ตอ่ หวั หนา้ อาวธุ ไม่สรา้ งความเดือดร้อน เสีย แต่ในความเป็นจรงิ พ.ร.บ.
สถานีต�ำรวจในท้องที่เป็นหนงั สือ หาย หรอื สง่ ผลกระทบตอ่ ประชาชน ชุมนุมสาธารณะ ยังเป็นอุปสรรค
กอ่ นการชมุ นมุ อยา่ งนอ้ ย ๒๔ ชวั่ โมง และหลีกเลี่ยงการกระท�ำความ ต่อผู้ชุมนุมอีกหลายประการ คือ
ผิดตามกฎหมายอ่ืน เช่น พ.ร.บ. ให้อ�ำนาจเจ้าหน้าที่ต�ำรวจในการ
25ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ภาพ: www.amarintv.com ไว้ก่อน หรือการก�ำหนดเวลาแจ้ง
การชุมนุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๒๔
ส่ังแก้ ไขการชุมนุมหรือก�ำหนด ชุมนุมไม่เห็นด้วย ก็จะต้องมีการ ชัว่ โมง และตอ้ งแจง้ วันเวลา สถาน
เงอ่ื นไขบางอย่าง ซึ่งหากผู้จัดการ อุทธรณ์ค�ำส่ังนี้ และยุติการชุมนุม ทจ่ี ดั ทชี่ ดั เจน ซงึ่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั รปู
แบบการจดั ชมุ นมุ ในปจั จบุ นั ทเี่ รยี ก
ว่า Flash Mobs ที่เกิดข้นึ รวดเร็ว
ลื่นไหล มีการเคลื่อนที่ และจบลง
อย่างรวดเร็ว แม้กระท่ังผู้สนใจไป
ร่วมชุมนุมยังต้องมีการติดตาม
อย่างใกล้ชิด เพราะมีการประกาศ
นดั ชุมนุมล่วงหน้าแบบชั่วโมงต่อ
ช่ัวโมงเลยกว็ ่าได้
การชุมนมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ
ภาพ: thematter.co ภาพ: prachatai.com ภาพ: www.amarintv.com
หากพดู ถงึ กระแสการชมุ นมุ แต่สง่ิ ท่ีกล้ายืนยันได้จรงิ แน่นอนว่าการชุมนุมต้อง
ของนกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชน จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ข อ ง ผู ้ เ ขีย น เต็มไปด้วยผู้คนมากหน้าหลายตา
ที่เกิดขึน้ ในตอนน้ี หลายๆ คน คง ท่ีเข้าไปร่วมสังเกตการณ์ ในการ ต่างความคิด ต่างที่มา แต่ก็สัมผัส
ยังมีความเชื่อที่ว่า บรรยากาศใน ชุมนุมอยู่หลายครั้ง (ต้ังแต่ช่วง ได้ถึงความมีนำ�้ ใจ ความเอ้ืออาทร
การชุมนุมจะต้องเต็มไปด้วยความ เดอื นกนั ยายน – เดอื นพฤศจิกายน การชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั อยเู่ สมอ
น่ากลัว ความรุนแรง ความหยาบ ๒๕๖๓) การชุมนุมไม่ได้มีความน่า ท�ำให้เกิดเป็นมิตรภาพระหว่างคน
คาย ซง่ึ ในสว่ นของความหยาบคาย กลัวหรือความรุนแรงท่ีเกิดข้นึ จาก ต่างกลมุ่ ต่างวัย ค�ำพูดทกั ทาย ถาม
น้ี เป็นสง่ิ ที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ ผู้ชุมนุมแต่อย่างใด ตรงกันข้าม สารทกุ ขส์ กุ ดบิ แบง่ ปนั อาหารและนำ�้
เพราะในการชุมนุมมีการใช้ค�ำพูด กลับเห็นรูปแบบการชุมนุมที่ถูก บอกกลา่ วเสน้ ทาง คำ� พดู ใหก้ ำ� ลงั ใจ
หยาบคายเกดิ ขึน้ จริงๆ แตห่ ากมอง สร้างสรรค์ขน้ึ มาใหม่อยู่เสมอ แต่ ซงึ่ กันและกนั เป็นส่งิ ที่ไดย้ ินตลอด
กนั ใหด้ ๆี แลว้ คำ� หยาบคายกเ็ ปน็ สิ่ง ในขณะเดยี วกนั ก็ไม่ไดล้ ะทง้ิ ประเดน็ เส้นทางการเดินขบวนท่ีดังแทรก
ท่ีพบเจอได้ในชวี ติ ประจ�ำวันอยู่แล้ว ต่างๆ ทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นเรอื่ ง ขัดเสียงของผู้ปราศรัยขึน้ มาเป็น
แต่ภาพของความหยาบคายมันดู ความไม่ชอบธรรมของรัฐธรรมนูญ ระยะ แต่ไม่ไดเ้ ป็นเสยี งท่ีน่ารำ� คาญ
รุนแรงขน้ึ เมื่อเข้ามาเป็นส่วนหน่ึง อำ� นาจเบด็ เสรจ็ ของ ๒๕๐ สว. ความ แตอ่ ยา่ งใด ตรงกนั ขา้ ม มนั กลบั เปน็
ในการสื่อสารของผู้คนจ�ำนวนมาก เหลือ่ มลำ�้ ในสังคม ระบบการศกึ ษา เสียงท่ีเราอยากได้ยิน เพราะนีค่ ือ
ทถ่ี ูกกดทับมาเป็นเวลานาน ความเท่าเทียมทางเพศ ปัญหา มติ รภาพทเี่ กดิ ข้นึ ระหวา่ งการชมุ นมุ
เศรษฐกิจ ฯลฯ
26 ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
ปรากฏการณใ์ หม่ท่ีเกดิ ขนึ้ จากการชุมนุม
ในการชุมนุมที่เกิดขึ้น เรา ภาพ: www.brighttv.co.th
จะเหน็ รปู แบบการชมุ นมุ ท่ีไรแ้ กนน�ำ ภาพ: thecitizen.plus
ซ่ึงมีความแตกต่างจากการชุมนุม
ในแบบเดิมว่า การชุมนุมจะต้องมี ต้องใช้ทรัพยากรบุคคลในการข้ึน น้อง ท่ีมีความไว้เนือ้ เชื่อใจ แม้ทุก
ผู้นำ� ท่ีท�ำหน้าที่ปราศรัยประเด็น มาเป็นแกนน�ำ คนจะตา่ งทม่ี า ตา่ งความคิด แตท่ ุก
ตา่ งๆ พดู เพอ่ื โนม้ นา้ วจติ ใจผมู้ ารว่ ม คนมเี ปา้ หมายเดยี วกนั คอื การออก
ชมุ นมุ โดยผนู้ �ำน้ันตอ้ งเปน็ บคุ คลท่ี อารยธรรมของคนรุ่นใหม่ มาส่งเสียงของตัวเอง เพื่อสะท้อน
เป็นที่ยอมรับของผู้ชุมนุมส่วนใหญ่ เน้นการชุมนุมด้วยสันติ ไร้อาวุธ ปัญหาต่างๆ ให้ผู้มีอ�ำนาจได้รับรู้
แต่ส�ำหรับการชุมนุมที่ ไร้แกนนำ� หลีกเลี่ยงความรุนแรง พูดคุย เป็นจุดที่เชือ่ มให้ผู้เข้าร่วมชุมนุม
เปน็ การชมุ นมุ ที่ไมว่ า่ ใครกส็ ามารถ ด้วยหลักเหตุผล ยกประเด็นท่ีเป็น ทุกคนให้ความเคารพซึ่งกันและกัน
เปน็ แกนนำ� ได้ เพราะทกุ คนคอื ผทู้ ่ีได้ ปัญหามาอธิบายให้เห็นถึงท่ีมาท่ี รับฟังกัน ปฏิบัติต่อกันเหมือนเป็น
รบั ความไมเ่ ปน็ ธรรมจากโครงสรา้ ง ไปของปัญหาต่างๆ รวมท้ังเสนอ พีน่ อ้ ง เปน็ คนในครอบครัว และให้
ของสงั คม แนวทางในการแก้ปัญหา นอกจาก ความร่วมมือในการปฏิบัติตามข้อ
นี้ ยงั เหน็ ถงึ ความมจี ติ อาสา มนี ำ�้ ใจ ตกลงของผชู้ มุ นมุ ทำ� ให้การชุมนมุ
ป ร ะ เ ด็ น ท่ี ถู ก ห ยิ บ ย ก ขึ้น มีอาสาสมัครเพื่อช่วยงานในด้าน สามารถด�ำเนนิ ไปได้ด้วยดี รวมถึง
มาปราศรัยมีที่มาจากความเดือด ต่างๆ ช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้ ในการชุมนุมนีย้ ังมีส่วนในการช่วย
ร้อนของประชาชน ทุกคนสามารถ แก่ผู้ชุมนุม ท้ังหน่วยปฐมพยาบาล กระตุ้นเศรษฐกิจให้กับผู้ค้าขายราย
สะท้อนปัญหาได้ เน่ืองจากเป็น จดั หาอาหารและน้ำ� เก็บขยะ ม้าเรว็ เลก็ ไดม้ รี ายไดเ้ พ่มิ มากขน้ึ จนพอ่ คา้
ผู้ที่ประสบกับปัญหาเองโดยตรง สง่ ของโดยการไถสเกต็ บอรด์ สง่ ของ แมค่ า้ หลายคนเปรียบเสมอื นกบั คน
ท้ังนักเรยี นที่ถูกละเมิดสิทธจิ าก เพื่อความรวดเร็ว ทีมสันทนาการ ท่บี ้าน ทีค่ อยเตรยี มขา้ วปลาอาหาร
ระบบการศึกษา จากครูในโรงเรยี น นับเป็นจุดที่ดึงศักยภาพและความ ไว้ให้ จากการมาขายของในทช่ี มุ นมุ
ประชาชนที่ ได้รับผลกระทบจาก คิดสร้างสรรค์ออกมาจากกลุ่ม อกี ด้วย
โครงสร้างทางสังคม โดยมีรูปแบบ เยาวชนแบบไม่มีที่สิ้นสุด เพราะ
การปราศรัยที่หลากหลาย ท้ัง แต่ละคนสามารถดึงความถนัดของ นอกจากนกั เรยี น นกั ศกึ ษา
วชิ าการ ท้ังแทรกอารมณ์ขัน แต่ ตนเองออกมาใชอ้ ย่างเตม็ ท่ี และประชาชนที่มาร่วมชุมนุม อีก
เตม็ ไปด้วยเนือ้ หาและเปดิ โอกาสให้ กลุม่ หนึ่งท่ีไมพ่ ดู ถงึ ไม่ได้ คือ กลมุ่
ทุกคนสามารถข้นึ มาเป็นผู้ปราศรัย เสนห่ อ์ กี อยา่ งหนงึ่ คอื ความ นักศึกษาอาชวี ะ หรอื ท่ีหลายคน
ได้ จนมาสกู่ ารชมุ นมุ ที่ไมม่ ผี นู้ �ำ นบั สมั พนั ธแ์ บบคนในครอบครวั แบบพี่
เป็นการเติบโตของการชุมนุม ท่ีไม่
ภาพ: www.thairath.co.th
ภาพ: www.thairath.co.th
www.bangkokbiznews.com
27ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
เรียกกันแบบคุ้นปากว่า ‘เด็กช่าง’ กัน มีเป้าหมายเดียวกัน มีความ ตอ่ ไปได้ ทกุ คนกลายเปน็ ผปู้ ราศรยั ภาพ: thematter.co
ที่หากพูดถึง หลายคนคงจะนกึ ถึง เชือ่ เดียวกัน นน่ั เพราะเขาพูดในมุมของผู้ท่ีได้รับ
ภาพกลมุ่ เดก็ ผชู้ ายตา่ งสถาบนั ทกี่ อ่ ผลกระทบจรงิ เขาพูดในฐานะของ
เหตุทะเลาะววิ าทกันอยู่เสมอ เป็น คาดหวงั วา่ หลงั จากกจิ กรรม คนทก่ี ำ� ลงั เผชญิ กบั ความอยตุ ธิ รรม
เด็กเกเรที่ ไม่สามารถศึกษาตาม การชุมนุมผ่านพ้นไป สิง่ น้จี ะเป็น ทีส่ งั คมหยิบยืน่ ให้ เด็กและเยาวชน
ระบบได้ เป็นบุคคลท่ีเคยถูกมอง จุดท่ีท�ำให้พวกเขาเปล่ียนและหัน เหล่าน้ี เพียงแค่วงิ วอนขอให้ผู้ท่ีมี
ข้ามจากสังคมหรอื แม้กระท่ังจาก กลับมามีความรัก ความเมตตาต่อ อ�ำนาจ รับฟังเสียงกล่าวร้องของ
ระบบการศึกษา นกั ศึกษาอาชีวะ กัน อยู่ร่วมกันแบบเพื่อน แบบพี่ พวกเขา เพอ่ื หาทางออกจากปญั หา
ควรได้รับการสนับสนุนและต้อง น้อง และร่วมกันผลักดันความเป็น ที่พวกทา่ นสร้างไว้
ได้รับการยอมรับเช่นเดียวกับเด็ก นกั ศกึ ษาอาชีวะใหส้ งั คมไดม้ องเหน็
ท่ีศึกษาตามระบบ เพราะพวกเขา พวกเขาในภาพจำ� ใหม่ เพอื่ ลบเลอื น ก่อนจะมีค�ำถามต่อผู้ชุมนุม
คือคนท่ีมีความรู้ความสามารถ ภาพจ�ำจากอดีต เราจะเห็นภาพ ผู้มีอ�ำนาจลองหันกลับไปถามตัว
แบบเฉพาะด้าน หากได้รับการส่ง นกั ศึกษาอาชวี ะกลายเป็นเพื่อนกัน เองกอ่ นไดห้ รอื ไม่ วา่ ทำ� อะไรใหพ้ วก
เสริม สนบั สนนุ ทด่ี ี พวกเขาจะกลาย เปน็ พนี่ อ้ งกนั และไมม่ ขี า่ วนักศกึ ษา เขาขุ่นเคืองได้ขนาดนี้ จนต้องออก
เป็นฟันเฟืองท่ีส�ำคัญของสังคมใน อาชวี ะต่างสถาบันก่อเหตุทะเลาะ มาเรียกร้องเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดี
อนาคต วิวาทกันอีก กว่าเดิม การที่นักเรียน นักศึกษา
เยาวชนออกมาชุมนุมเรียกร้อง
การชุมนุมที่เกิดขนึ้ สร้าง ประเด็นสุดท้าย คือ การ ส่วนหน่ึงเป็นเพราะผลผลิตจากคน
จุดเปลี่ยนให้กับนักศึกษาอาชวี ะ สร้างวัฒนธรรมใหม่ของกลุ่ม รุ่นก่อน ที่ไม่ได้วางรากฐานเพ่ือให้
ได้อย่างน่าแปลกใจและน่าดี ใจไป เยาวชน ผู้มีส่วนในการขับเคล่ือน พวกเขาได้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่ได้
พรอ้ มๆ กนั เพราะเราเหน็ ภาพความ สังคม ขับเคล่ือนประวัติศาสตร์ ปกป้องให้พวกเขารู้สึกปลอดภัย ผู้
ร่วมมือร่วมใจระหว่างนักศึกษา วธิ ีการส่ือสารรูปแบบใหม่ ใช้ช่อง เข้าร่วมชุมนุมส่วนใหญ่อยู่ในวัย
อาชวี ะต่างสถาบันในการเข้าร่วม ทางออนไลน์ ใช้แฮชแท็ก มีการ นกั เรียน นกั ศึกษา ก�ำลังเป็นผู้ท่ี
เป็นจิตอาสาให้กบั การชุมนุม มีการ ก� ำ ห น ด ร หั ส ห รือ ใ ช ้ สั ญ ลั ก ษ ณ ์ เติบโตมากับมรดกท่ีคนรุ่นก่อนท้ิง
ประกาศจุดยืนร่วมกันส�ำหรับการ ท่าทางต่างๆ เพื่อการสื่อสารและ ไว้ให้ หากผู้มีอ�ำนาจไม่ใจมืดบอด
ทำ� งาน โดยเฉพาะเรือ่ งความขดั แยง้ การส่งข่าวให้แกก่ ัน การสร้างสรรค์ ปิดหูปิดตาจนเกินไป เสียงที่ดัง
ระหว่างสถาบัน ท่ีถูกยกขึ้นมาเป็น และการแสดงออก ท่ีเปิดโอกาส กึกก้องตามทอ้ งถนน ณ เวลานี้ คง
หน่ึงข้อที่ส�ำคัญในแถลงการณ์ว่า ให้ทุกคนได้ ใช้พ้ืนที่ ในการชุมนุม ดังเข้าไปถึงหวั ใจของทา่ นบ้าง!
“จะไมม่ กี ารทะเลาะววิ าทกนั ระหวา่ ง แสดงออกถึงความสามารถ ความ
สถาบนั เด็ดขาด” ถนดั ความคดิ ของตนเองอยา่ งเต็ม *บทความนีเ้ ขยี นขึ้น
ท่ีซ่ึงมีส่วนส�ำคัญอย่างมากในการ ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๖๓
ความร่วมมือร่วมใจระหว่าง ช่วยเปล่ียนแปลงภาพลักษณ์ของ
กันน้นี ับเป็นสิ่งท่ีช่วยเพิ่มคุณค่าให้ การชุมนุมให้ดูน่าสนใจมากกว่า
แก่นักศกึ ษาอาชวี ะอย่างแท้จรงิ จน การมาเดนิ ขบวนหรอื ปกั หลกั อยู่ใน
อาจกล่าวได้ว่าพ้ืนที่การชุมนุมช่วย สถานที่ใดท่ีหนึ่งเป็นเวลานาน
สรา้ งคณุ คา่ และการยอมรบั และถกู
มองดว้ ยมมุ มองใหมๆ่ แกน่ กั ศกึ ษา ทุกรูปแบบของการชุมนุม
อาชีวะมากกว่าระบบการศึกษาที่ มนั คอื การสง่ สารถงึ ผมู้ อี ำ� นาจ อยทู่ ี่
พวกเขาเคยอยู่ จากการชุมนุมนี้ ว่าผู้มีอ�ำนาจจะยอมรับสารนน้ั หรือ
ท�ำให้พวกเขาได้มีโอกาสมาอยู่ร่วม ไม่ วนั ทรี่ ปู แบบการชมุ นมุ เปลยี่ นไป
แต่การชุมนุมยังสามารถขับเคล่ือน
28 ปกั ดอกไม้ในแจกนั ใจ
นรศิ มณีขาว
เข้าใจกอ่ น แก้ปัญหา:
ความขัดแย้งทางการเมอื งของพอ่ แม่ลูก
ภาพ: news.trueid.net
ความห่วงใย การเมอื งไม่ใชเ่ ร่ืองทงั้ หมดของชีวิตทตี่ อ้ งแลกมาดว้ ย
สัมพนั ธภาพภายในครอบครัว
สถานการณค์ วามขดั แยง้ ทางการเมอื งขณะน้ี สง่
ผลกระทบตอ่ ครอบครวั ทำ� ใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ใจทงั้ พอ่ แม่ มุมมองคณุ แม่
ลูก เกิดความขัดแยง้ กนั โต้เถียงกนั การเงยี บไมส่ ือ่ สาร
การเข้าร่วมชุมนุมโดยไม่บอกพ่อแม่ จนถึงการหนีออก เพอ่ื ไตรต่ รองและหาทางออกใหก้ บั ครอบครวั
จากบ้าน และพ่อแม่ไล่ลูกออกจากบ้าน ... ท�ำให้เกิด ท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมืองในขณะนี้ เรา
ความกังวล ความหว่ งใยว่า เราจะทำ� อยา่ งไรเพอ่ื ช่วยให้ ลองมาฟังเสียงแม่คนหน่ึงว่า คุณแม่มีมุมมอง
เกดิ ความเขา้ ใจในครอบครัว... อย่างไร
ทำ� ความเขา้ ใจ เคารพความแตกต่าง คุณทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะ หนึง่ ใน
ตวั แทนคณุ แม่ เล่าให้ฟังว่า
เครอื ขา่ ยครอบครัว ใหค้ วามคดิ เหน็ ทน่ี า่ สนใจ
ว่า เดิมทีตนเองเป็นห่วงในความปลอดภัยของลูก
มาก เพราะในครอบครัวคุยเรือ่ งการเมืองกันเป็นปกติ
“ท่ามกลางความเห็นต่างทางการเมือง นี่ไม่ใช่
ครั้งแรกท่ีความสัมพันธ์ในครอบครัว ถูกท้าทายว่าจะ ภาพ: www.posttoday.com
จบั มือผ่านไปไดอ้ ย่างราบรน่ื หรอื ไม”่
เครอื ขา่ ยครอบครวั เหน็ ตรงกนั วา่ การทพ่ี อ่ แม่
และลกู คิดแตกต่างกัน ถอื เปน็ แบบฝึกหัดทดี่ ี เพราะ
อนาคต กอ็ าจมีความคดิ แตกตา่ งกันอีก ตอ้ งระมดั ระวัง
การตดั สนิ ตตี รา หรือแปะปา้ ย วา่ อกี ฝง่ั อยขู่ วั้ ตรงขา้ ม ซงึ่
อาจทำ� ใหก้ ลไกการเจรจาแบบสนั ติ ไมส่ ามารถเกดิ ขนึ้ ได้
ดังนน้ั สงิ่ ที่ต้องท�ำคือ ท�ำความเข้าใจ และ
เคารพความคิดเห็นท่ีแตกต่างกัน เพราะท้ายที่สุด
29ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
อยแู่ ลว้ ซงึ่ ในกรณนี ้ลี กู กเ็ ขา้ มาขออนญุ าตไปรว่ มชมุ นมุ เพ่อื ปรบั ทุกข์ การหาคนกลาง หรือหาผเู้ ช่ียวชาญซง่ึ ใน
กับเพอื่ นตามปกติ เมอ่ื เปดิ ใจรบั ฟงั จงึ อนุญาตให้ไป แต่ สอื่ สงั คมออนไลนเ์ วลานม้ี คี อ่ นขา้ งมากกอ็ าจเปน็ วิธีการ
ก็ให้พอ่ ตามไปเฝา้ ดหู า่ งๆ หน่ึงทชี่ ว่ ยคล่ีคลายสถานการณ์ได้
พู ดด้วยเหตผุ ล แต่ไมเ่ ข้าใจกัน? นอกจากนพ้ี ่อแม่เองก็ควรเปิดใจรับฟังด้วยเช่น
กนั หยุดการใช้ความรุนแรง หา้ มปราม หรือตัดเงิน
แต่ ไม่ ใช่ทุกครอบครัวที่สามารถจัดการ ไปโรงเรยี น เพราะเยาวชนอาจไมเ่ ขา้ ใจและเพ่ิมความ
อารมณ์ความรู้สึกในความขัดแย้งทางการเมืองได้ ขัดแย้งกับพ่อแม่มากยงิ่ ขน้ึ ท�ำให้ความสัมพันธ์ยง่ิ
พอ่ แม่อกี มากท่หี ้ามลกู เข้ารว่ มชุมนมุ ทางการเมือง ห่างเหนิ กนั ไปเรื่อยๆ
ลูกอีกมากท่ีมาร่วมชุมนุมโดยไม่บอกพ่อแม่ พอ่ แมส่ ามารถสรา้ งบรรยากาศในครอบครวั ท่ี
หรือบอกพ่อแม่ว่าไปท�ำรายงาน ไปห้างกับเพ่ือนๆ ทำ� ใหเ้ ยาวชนรสู้ กึ วา่ กลบั บา้ นแลว้ ปลอดภยั มีใครสกั
เพราะลกู รบั รวู้ า่ พอ่ แม่ไมเ่ ขา้ ใจพวกเขาอยา่ งแนน่ อน คนที่ไว้ใจ เพราะเยาวชนยงั ไมเ่ ขา้ ใจวา่ ทำ� ไมไปชมุ นมุ
อาจเกดิ จากประสบการณท์ พ่ี วกเขาเคยขอเขา้ รว่ มชมุ นมุ แลว้ ไม่ปลอดภัย
แล้ว พ่อแม่ไม่อนุญาต หรอื เกิดจากการได้ยินพ่อแม่
พูดถงึ การชมุ นุมทางการเมอื งของเยาวชน นกั ศึกษาใน ขอ้ เสนอส�ำหรับลกู
ทางลบ
คุณทิพย์พิมล มีข้อเสนอส�ำหรับผู้เป็นลูกว่า
นอกน้นั ยังมีหลายครอบครัวที่มีการพูดคุย ใหล้ ูกคยุ กบั พ่อแม่ด้วยคำ� ถามปลายเปิด เชน่ เร่ิมบท
กันด้วยเหตุผล แต่ไม่สามารถตกลงและเข้าใจกันได้ สนทนาวา่ ถา้ หนจู ะไปรว่ มการชมุ นมุ พอ่ แมจ่ ะวา่ อยา่ งไร
เกิดการโต้เถียงกันเพราะชุดข้อมูลต่างกัน จบลงด้วย เพ่อื ใหพ้ ่อแม่รบั รูว้ า่ ลูกแครพ์ ่อแม่ และการตดั สินใจ
ความไม่พอใจ ไม่เข้าใจกัน หรอื ถึงข้ันโต้แย้ง ใช้ค�ำพูด ของลกู มพี ่อแมอ่ ยู่ด้วยเสมอ
ที่รนุ แรงตอ่ กนั
พอ่ แม่ในครอบครวั หน่งึ เล่าใหฟ้ ังวา่ เมื่อลกู พดู
ความสมั พันธใ์ นครอบครวั สำ� คญั ท่สี ดุ คยุ กบั พอ่ แมด่ ว้ ยคำ� ถามปลายเปดิ และทำ� ความเขา้ ใจกนั
จนพ่อแม่อนุญาตให้ลกู เข้ารว่ มชุมนุมทางการเมอื ง...
คุณทิพย์พิมล กลา่ วเพิม่ เติมวา่ แม้วา่ ความขัด
แยง้ เป็นเรื่องปกติในครอบครัว แต่การใช้วิธีถกเถยี งกนั ลูกกลับมาเล่าให้พ่อแม่ฟังว่า ลูกเจออะไร
ด้วยขอ้ มลู ท�ำให้เกดิ อารมณท์ างลบท้งั สองฝ่าย รู้สึกอย่างไร ลูกไม่ต้องโกหกพ่อแม่ ท�ำให้พ่อแม่รู้สึก
สบายใจว่า คิดถูกที่ปล่อยให้ลูกมีโอกาสไปเข้า
การท�ำความเข้าใจว่า ต่างคนอาจมีข้อมูลคนละ ร่วมชุมนุม มันได้ประสบการณ์ที่ดีทั้งกับลูกและกับ
ชุดอาจท�ำให้สถานการณ์ดีขึน้ โดยการค�ำนงึ ถึงส่งิ พ่อแม่
ส�ำคัญท่ีสุดในครอบครัว นัน่ คือ ความรักความ
สัมพันธ์ในครอบครัว เพราะการเมืองจะเป็นอย่างไร ภาพ: news.thaipbs.or.th
ก็ตาม ความรักความสัมพันธ์ในครอบครัวยังคงอยู่
ต่อไป
ค�ำแนะน�ำส�ำหรบั พ่อแม่
คุณทิพย์พมิ ล ใหค้ ำ� แนะนำ� พ่อแม่ว่า ในกรณที ี่
พ่อแม่ทนไม่ไหว การหยุดการโต้เถียง หาเพื่อนพูดคุย
30 ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ส่ือสารด้วยความเขา้ ใจ ภาพ: pridi.or.th
เปรยี บเสมอื นสัญญาณไฟจราจร
เรากลบั เปน็ ไฟเขียวไดง้ า่ ยขึ้น ซง่ึ สง่ ผลตอ่ ความรกั ความ
คุณไพรินทร์ โชติสกุลรัตน์ กระบวนกรการ สัมพนั ธ์ในครอบครวั เปน็ ไปในทางที่ดขี ้ึน
สือ่ สารอย่างสันติ ให้ขอ้ คิดกับพ่อแม่ลกู ว่า
ระดับไฟแดง เป็นระดับอันตราย มีโอกาสเกิด
ในการสอื่ สารอยา่ งสนั ติ สอื่ สารดว้ ยหวั ใจนัน้ ผทู้ ี่ ภาวะซึมเศรา้ รู้สกึ หมดแรง สิ้นหวงั ต้องหาความชว่ ย
มีวุฒิภาวะมากกวา่ ซึ่งในกรณีนอ้ี าจจะไม่ใช่พ่อแมเ่ สมอ เหลือจากผู้เชยี่ วชาญ เพื่อช่วยให้ไฟแดงกลับมาท่ีไฟ
ไป สามารถดึงสติ โดยเปรยี บเสมือนกับสัญญาณไฟ เขียว
ในใจของเรา ๓ ระดบั
เขา้ ใจกอ่ นแกป้ ัญหา: เคารพความคดิ ตา่ ง
ระดับไฟเขียว คือ เม่ือเราอยู่ในอารมณ์ที่สงบ
พร้อมรับฟังและสื่อสารด้วยความเข้าใจ การรับฟังในที่ นอกจากค�ำแนะน�ำส�ำหรับพ่อแม่ลูก การดูแล
น้ีไม่ได้หมายความว่า “เห็นด้วย” เราสามารถรับฟังและ ตนเอง การสอ่ื สารดว้ ยหัวใจ สอื่ สารอยา่ งสนั ติ ส่อื สาร
เข้าใจอีกฝา่ ยหนึ่งได้ แม้วา่ เราอาจไมเ่ ห็นด้วย สงิ่ ส�ำคัญ ดว้ ยความรกั ความเขา้ ใจแลว้ การทำ� ความเขา้ ใจกบั ราก
คอื เขา้ ใจอกี ฝา่ ยหน่งึ กอ่ นวา่ เขาคดิ หรอื รสู้ กึ อยา่ งไร แลว้ ของความขดั แยง้ อนั เน่ืองมาจากชุดความคดิ ๒ แบบ
จึงหาทางแก้ปัญหาที่ตรงกับความต้องการของทั้งสอง ก็เป็นทางเลือกหนึง่ ท่ีช่วยให้เราเกิดความเข้าใจกัน
ฝา่ ย บนพืน้ ฐานของความรักความเข้าใจในครอบครวั มากย่งิ ขึน้ และนำ� สู่การแก้ไขปัญหาร่วมกันได้ดีกว่า
การไม่เขา้ ใจชดุ ความคิด ๒ แบบนี้
ระดบั ไฟเหลอื ง คอื เมอ่ื เราเร่ิมรสู้ กึ ทางลบ เชน่
โกรธ หงุดหงดิ กลัว กังวล ขอให้เราหยุดพักก่อน ให้ ความแตกตา่ งของชุดความคิด ๒ แบบ
อารมณ์กลบั เปน็ ไฟเขยี วหรือกลับคืนสู่ความสงบ ผ่อน
คลายก่อน ค่อยหาทางออกของปัญหาร่วมกัน เพื่อ เมื่อกล่าวถึงการท�ำความเข้าใจ และเคารพ
ป้องกันการใช้ค�ำพูดหรือการกระท�ำท่ีตอบโต้กันด้วย ความคิดที่แตกต่างกัน สง่ิ ส�ำคัญส่ิงแรกคือการฟัง
ความรุนแรง และเข้าใจแต่ละฝ่ายก่อน เมื่อเข้าใจแล้วการหาทาง
เช่ือมโยงกนั จะเปน็ ไปไดง้ า่ ยกวา่ การแก้ไขปญั หาโดย
อาจใชว้ ิธีใชม้ อื มาจบั ทห่ี วั ใจ สมั ผสั ทห่ี วั ใจรตู้ วั วา่ ไมฟ่ ัง หรอื ไม่เร่ิมจากความเขา้ ใจกัน
โกรธ กงั วล กลวั แลว้ กลบั มาทพ่ี นื้ ฐานความรกั จะชว่ ยให้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล
ภาพ: theactive.net สรุปการสัมภาษณ์เพื่อเข้าใจความแตกต่างของคนสอง
กลุ่ม และบรรยายในหัวข้อ “สงครามเย็นกับโบว์ขาว:
เราจะอยูร่ ่วมกันอย่างไร?” ดังน้ี
ความขัดแย้งคร้ังนเ้ี ป็นความขัดแย้งของคน
สองกลุ่มที่ไม่ใช่เร่ืองของช่องว่างระหว่างวัย ไม่ใช่เร่ือง
สถานภาพทางการเมอื งและสังคม
แต่เป็นความขัดแย้งของคนท่ีมีชุดความคิด 31ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓ ภาพ: www.voicetv.co.th
สองแบบ ซงึ่ เราอาจเรียกได้วา่ เป็นกลุม่ คนทีม่ ีความ
คิดแบบ ‘ยุคสงครามเย็น’ และกลุ่มคนที่มีความคิด ท้ังในเหตุการณ์เดือนตุลาฯ พฤษภาทมิฬ
แบบ ‘โบว์ขาว’ สมัชชาคนจน และเสื้อเหลืองเสื้อแดง ในการโจมตีฝั่ง
ตรงข้ามและสร้างความชอบธรรมให้กับตัวเองได้อย่าง
กล่มุ คนท่มี คี วามคิดแบบยุคสงครามเย็น มปี ระสทิ ธิภาพมาโดยตลอด
ดร.กนกรตั น์ สรปุ ความเชอ่ื ของกลมุ่ คนทมี่ คี วาม ๕. ไม่เชื่อว่าจะเกดิ ความเปล่ียนแปลง
คิดแบบยคุ สงครามเย็นในทัง้ ฝา่ ยซ้ายหรอื ฝ่ายขวา ว่ามี พวกเขาผ่านการต่อสู้มาหลายระลอกโดยผลัด
อยู่ ๕ ประการ คอื กันแพ้ผลัดกันชนะมาโดยตลอด พวกเขาไม่มุ่งหวังถึง
การเปลย่ี นแปลง พวกเขายอมอยู่ในระบบแบบน้ี ไม่เช่อื
๑. ความเชือ่ เรอ่ื งบทบาทของประเทศมหา- วา่ จะเกดิ ความเปลีย่ นแปลงอีกแลว้ ในรนุ่ ของพวกเขา
อ�ำนาจ
กลมุ่ คนท่ีมีความคิดแบบโบว์ขาว
ความเชอ่ื เรื่องบทบาทของประเทศมหาอำ� นาจที่
จะเข้ามาแทรกแซงว่ามีอิทธิพลเหนือการเมืองไทยและ ๑. ไมเ่ ช่อื เร่ืองความเป็นชาตแิ บบเดมิ
กำ� หนดการเปล่ียนแปลงในสังคมไทย ไม่เชื่อเรือ่ งความเป็นชาติแบบเดิม ไม่ได้สนใจ
และไม่มีความเช่ือเร่อื งการปลุกปั่น แทรกแซงจาก
ทง้ั จากการเขา้ มาของจกั รวรรดนิ ิยมอเมรกิ า และ องค์กรระดับโลกหรอื พรรคการเมือง ว่าจะเข้ามา
ถกู ทำ� ใหก้ ลวั จากภยั คอมมวิ นิสตท์ ม่ี าจากจนี พวกเขาโต แทรกแซงการเคลอื่ นไหวของนกั เรียน นกั ศกึ ษาได้
มากบั ส่ิงน้มี ากว่า ๒๐-๓๐ ปี ในการมีชวี ิตและการต่อสู้ ๒. เชอื่ ในพลังการเมืองของปจั เจกบุคคล
ทางการเมอื งของพวกเขา มีการพัฒนาความเป็นปัจเจกและความเป็นตัว
ตนของพวกเขา เช่ือในพลังการเมืองของปัจเจกบุคคล
๒. ใช้ชาตินิยมในการต่อสู้ เชอ่ื ว่าตัวเองเป็นเคร่อื งยนต์ท่ีขับเคล่ือนในการ
ใชช้ าตนิ ยิ มในการตอ่ สู้ ไมว่ า่ จะเปน็ ชาตนิ ิยมแบบ เปลยี่ นแปลงได้โดยไมต่ ้องพง่ึ โครงสรา้ งขนาดใหญ่
ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ หรอื ชาตนิ ยิ มแบบตอ่ ต้านอเมรกิ า ๓. เช่อื เรอ่ื งความสมั พันธ์แบบเทา่ เทียมกัน
และโจมตที หารในยคุ ๑๔ ตลุ าฯ และ ๖ ตลุ าฯ เปน็ เคร่ือง เชอ่ื เร่ืองความสัมพนั ธ์แบบเท่าเทยี มกัน ทั้งกับ
มือท่ีมีประสิทธิภาพในการท�ำลายล้างฝ่ายตรงข้ามและ องคก์ รทางการเมอื ง ขบวนการเคลอื่ นไหวทางการเมอื ง
สร้างความชอบธรรมกบั ตัวเองดว้ ย และพรรคการเมอื ง
๓. เชอ่ื เร่ืองการจัดต้ังองค์กรแบบผู้น�ำที่มี ๔. เช่อื เรือ่ งการเปลยี่ นแปลง
บารมี เชื่อเรอ่ื งการเปลี่ยนแปลงจริงๆ ว่าจะต้องเกิด
เชื่อเรอ่ื งการจัดตั้งองค์กรแบบผู้น�ำทีม่ บี ารมี จงึ ขนึ้ และเขาจะเป็นผู้เปลี่ยนแปลง พวกเราจะไม่ยอมอยู่
ตง้ั คำ� ถามวา่ ทำ� ไมขบวนการนักศกึ ษาตอนนถี้ งึ ไมม่ ผี นู้ �ำ ในประเทศที่ไมม่ ีการเปล่ยี นแปลงอกี แล้ว
ทีม่ ีบารมี ไม่มีผู้นำ� เกง่ ๆ หรือปราศรยั เก่ง และท�ำไมถึง
ไม่มีการจัดรูปองค์กรท่ีเป็นเอกภาพที่เข้มแข็งและยิง่
ใหญ่ และเหน็ วา่ เปน็ จดุ ออ่ น ทำ� ใหเ้ หน็ วา่ คนยคุ กอ่ นเช่ือ
จริงๆ เรือ่ งการจดั ตัง้ องค์กรที่มผี ู้น�ำเข้มแขง็
๔. พวกเขาใช้เคร่อื งมือท้งั ๔ อย่าง
เครือ่ งมือท้ัง ๔ อย่างคือ (๑) การประณาม
(๒) ลดทอนความชอบธรรมของอีกฝ่าย (๓) สรา้ งความ
ชอบธรรมให้กับตนเอง (๔) หาทางขจัดและเอาฝ่าย
ตรงขา้ มออกจากสงั คม
32 ผูไ ถ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
ทงั้ สองฝ่ ายจะอยู่กันอยา่ งไร? ภาพ: www.sanook.com
ดร.กนกรัตน์ ตั้งค�าถามและโจทย์ของสังคม ถ้าคนท้ังสองกลุ่มยอมรับจริงๆ ว่านคี่ ือทางแพร่งที่
ไทยวา่ ความขดั แยง้ ระลอกนี้ ไม่ใชช่ อ่ งวา่ งระหวา่ งวยั แม้วา่ จะเป็นเรื่องยากแต่เราก็หลกี เล่ียงไม่ได้
แต่เป็นทางแพร่งของสังคมไทยในการจัดการความ
ขดั แยง้ ที่เราหลกี เลย่ี งไม่ไดแ้ ล้ว มันยาก ไม่ใช่เรอื่ งง่าย แต่เราหลีกหนมี ันไม่
ได้แลว้
พวกเขาทั้งสองฝ่ายจะไม่เปล่ียน และไม่
สามารถท�าให้พวกเขาเปลี่ยนได้ ไม่ว่าจะด้วยวธิ ีการ แลว้ เราท�าอะไรไดบ้ ้าง?
ข่มขู่คุกคาม บังคับ หรอื แม้แต่ไล่คนท่ีคิดต่างออกไป
นอกประเทศ เปน็ ค�าถามทีเ่ ราแต่ละคนอาจถามตนเองว่า เรา
อยากเห็นสังคมไทยของเราเป็นอย่างไร เราอยาก
ทั้งสองฝ่ายต้องมาคดิ วา่ จะอยู่กนั อย่างไร เห็นครอบครัวของเราเป็นอย่างไรในสถานการณ์
คนท้ังสองกลุ่มนี้มีบทบาทในการสร้างความ เช่นนี้... ทั้งในวันนแี้ ละวันข้างหน้าส�าหรับคนรุ่นลูก
เปลีย่ นแปลงในสังคมเทา่ ๆ กัน รนุ่ หลาน...
ในขณะที่คนรุ่นใหม่เป็นเจ้าของอนาคต มี
จินตนาการว่าระบบจะเปลย่ี นอย่างไร อะไรคือความปรารถนาในส่วนที่ลึกท่ีสุดของ
ส่วนคนรุ่นสงครามเย็นที่คุมอ�านาจอยู่ในสภา เรา... ใชห่ รอื ไม่ที่วา่ เราปรารถนาความสงบสขุ การอยู่
วุฒิสภา ในคณะรฐั มนตรี และกองทพั ร่วมกันอย่างสันติ แม้มีความคิดเห็นท่ีแตกต่างกัน อยู่
แต่อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงก็ต้องเกิด กันดว้ ยความเข้าใจ มคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี ความมนั่ คง การ
ขน้ึ จากพวกเขาอยา่ งหลีกเล่ยี งไม่ได้ ชว่ ยเหลือเกื้อกลู กัน ความเป็นธรรม ฯลฯ
แต่จะท�าอย่างไรให้มันเกิดสง่ิ ท่ีจะสร้างความ
สมั พนั ธท์ างอา� นาจแบบใหม่ ทม่ี ีการแบง่ สรรอา� นาจ อะไรคอื สิง่ ท่ีเราจะลงมอื ท�าได้ในวันนี้ รว่ มกบั
กัน มีระบบใหม่ที่ให้มีการสับเปลี่ยนกันเข้าไปมี ครอบครัว เพื่อนๆ พี่น้องของเรา เพ่ือให้สังคมเราเป็น
อา� นาจ แบบทเี่ ราอยากเหน็ ...
เราต้องก้าวผ่านก�าแพงท่ีบอกว่า “เรามี
ทรัพยากรที่จ�ากัดและการเข้าไปมีส่วนร่วมของทุก ทง้ั หมดนี้คงเปน็ คา� ถามทชี่ ว่ ยใหเ้ ราหาคา� ตอบ
คน การท�าให้ทุกคนพอใจมันเป็นไปไม่ได้” แต่มัน เพ่อื ตัวเราเอง เพ่ือคนทเี่ รารัก เพอ่ื ครอบครัว ชมุ ชน
ต้องเป็นไปได้ และสังคมของเรา...
นคี่ ือโจทย์ท่ีโลกทั้งโลกก�าลังต้ังค�าถามอยู่
มีนวัตกรรมมากมายหลากหลายท่ีจะท�าให้เกิดขึน้ ได้
ทา่ นทีส่ นใจเรียนร้สู ื่อสารอยา่ งสันติ (Nonviolent Communication) คดิ ค้นโดย มาแชล โรเซนเบิรก์ เปน็ การส่อื สารเพ่อื
สรา้ งมติ รภาพกบั ตนเอง สรา้ งความสมั พนั ธก์ บั คนรอบขา้ ง และใส่ใจตอ่ สังคม
ท่านสามารถเรียนรู้ได้จากคลิปมากมายใน youtube หรอื สนใจเรยี นรู้ สื่อสารอย่างสันติ กับชุมชนแห่งความเข้าใจใน
Empathy Festival#2 “เข้าใจได้แมเ้ ห็นต่าง” ออนไลน์ ผ่าน Zoom กว่า ๒๐ หวั ข้อ ๔๐ กวา่ ชว่ั โมง กับ ๑๐ กระบวนกรมาก
ประสบการณ์ และ ๒ แขกรับเชิญพิเศษ Jeannine Suurmond, Certified Trainer จากเนเธอร์แลนด์ และ Sabine Geiger,
Certified Trainer จากเยอรมนั (มแี ปลภาษาไทย) วนั ท่ี ๑๘-๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เรียนสด online ผา่ น Zoom ๐๙.๐๐ – ๒๑.๐๐ น.
เลอื กเรียนตามหวั ข้อความสนใจ ถา้ ท่านไมว่ า่ งเรยี นสด สามารถกลับมาดวู ิดีโอยอ้ นหลังได้
ดรู ายละเอียด www.empathyfestival.com สมัครได้ที่ https://forms.gle/5DdJ8J2DDdFj7AmQA ตดิ ตอ่ สอบถามได้ที่
รจุ ิรัตน์ ๐๘ ๑๙๓๕ ๘๑๑๔ หรือ เพญ็ ศรี ๐๘ ๑๔๐๗ ๙๙๑๕ Line ID: phen2 หรอื อีเมล [email protected]
บทความ 33
ธญั ลักษณ์ นวลกั ษณกวี สมั ภาษณ์ / เรยี บเรยี ง
เม่ือเดก็ ถาม ผูใ้ หญ่ควรตอบอย่างไร
บทสนทนา ในห้วงยามแห่งความเปล่ียนแปลง
กบั รศ.ดร.วไล ณ ป้ อมเพชร
ผูเ้ ช่ียวชาญด้านสทิ ธิมนษุ ยชนและสนั ตภิ าพ องค์การยูเนสโก (UNESCO)
จากปรากฏการณ์ท่ีเด็กนักเรียน
มัธยมฯ ออกมาท�ำแฟลชม็อบ อาทิ การใชค้ วามรนุ แรง การทำ� โทษ
ท�ำร้ายร่างกาย การล่วงละเมิด
หน้าโรงเรียน เป่านกหวีดขับไล่ และกฎระเบียบเร่อื งทรงผม ชุด
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ นกั เรยี น ตัวอย่างเช่น กรณที ่ีครูใช้
ทหี่ นา้ กระทรวง ชู ๓ นิว้ หนา้ เสาธง กรรไกรตดั ผมนกั เรยี นจนแหวง่ ขณะ
ตอนเคารพธงชาติ ผูกโบว์ขาวต้าน เข้าแถวเคารพธงชาติ ท่ามกลาง
เผดจ็ การและเรียกรอ้ งประชาธิปไตย สายตาของนักเรยี นทกุ ชน้ั กรณีครตู ี
พร้อมวลีร่วมสมัย “ให้มันจบท่ีรุ่น นกั เรยี นสุดแรงเหวี่ยง สาเหตเุ พียง
เรา” ท่ีกระจายไปในหลายโรงเรียน แค่นักเรียนหญิงตัดผมรองทรงต่�ำ
กระท่ังเข้าร่วมชุมนุมใหญ่บนท้อง ผิดกฎทตี่ ั้งไว้ หรือกรณีที่ครูดึงสาย
ถนนตง้ั แตต่ น้ ปกี ระทงั่ จะเขา้ สปู่ ลาย เสอ้ื ชั้นในนักเรียนหญิง ฯลฯ
ปี ๒๕๖๓ ในวนั นี้ วนั ทเ่ี ดก็ เยาวชนลกุ
พ ว ก เ ข า ต้ั ง ค� ำ ถ า ม ถึ ง ข้ึนมาต้ังค�ำถามมากมายต่อสังคม หรอื เด็กท่ีตั้งค�ำถามต่อขนบเดิมๆ
ปัญหากฎระเบียบและกฎเกณฑ์ใน อ�ำนาจนิยมแบบไทยๆ สังคมที่มี ท่ีสังคมเคยเชือ่ มั่นและยึดถือว่าถูก
โรงเรียนที่ละเมิดสิทธขิ ้ันพื้นฐาน นิยามวา่ เด็กดี คอื เด็กทีเ่ ชอ่ื ฟังและ ต้องดีงาม กลับถูกมองว่าเป็นเด็ก
ของนกั เรียน และสะท้อนถึงระบบ อยู่ในโอวาทของผู้ใหญเ่ ท่านนั้ ครนั้ กา้ วรา้ ว เหล่าน้ีเป็นต้น
อ�ำนาจนิยมที่ถูกผลิตซ้�ำโดยผู้มี เมอ่ื เดก็ ตง้ั คำ� ถามทผี่ ู้ใหญต่ อบไม่ได้ “ผู้ไถ”่ ขอนำ� ผอู้ า่ นรว่ มเรียน
อ�ำนาจเหนือกว่า จากครูอาจารย์ หรือใชเ้ หตผุ ลโต้แยง้ กับเด็กไม่ได้ ก็ รปู้ ระสบการณแ์ ละมมุ มองความคดิ
ที่กระท�ำต่อนักเรียนเกินกว่าเหตุ ใชอ้ ำ� นาจของผู้ใหญต่ ดั บทหรอื ขม่ ขู่ จากผอู้ าวุโสผทู้ ่ีมดี วงใจเปิดกว้าง ผู้
ที่มองว่าสังคมที่มีความหวัง คือ
สังคมท่ีผู้ใหญ่ต้องเปิดใจกว้าง รับ
ฟัง พูดคุย ชว่ ยเหลือเกื้อกลู และมี
เมตตาต่อเดก็
ภาพ: voicetv.co.th แม้จะล่วงเข้าสู่วัย ๘๓ ปี
แล้ว รศ.ดร.วไล ณ ป้อมเพชร ผู้
เ ชี่ย ว ช า ญ ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ สิ ท ธิ-
มนุษยชนและสันติภาพ องค์การ
34 ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
ยูเนสโก อดีตอาจารย์และหัวหน้า ภาพ: www.bbc.com
ภาควชิ าประวัติศาสตร์ คณะอักษร
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง บุ ต ร ห ล า น ภาพ: www.thaimoveinstitute.com
ทา่ นยงั คงทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ทป่ี รกึ ษาให้ ต่างพากันมารอรับลูกๆ หลานๆ ท่ี
กบั องคก์ รทท่ี ำ� งานดา้ นสทิ ธมิ นษุ ย- มหาวิทยาลยั ศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสห-
ชนหลายแหง่ อาทิ สำ� นกั งานคณะ ประชาชาติ (ยูเนสโก) ประเทศ
กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อาจารย์วไลถามลูกศิษย์ ฝร่ังเศส กระท่ังเป็นผู้เชย่ี วชาญ
และแผนกยุติธรรมและสันติ คณะ ว่า “ลูกอยากกลับบ้านไหม ลูกคิด ด้านการศึกษาเพื่อสิทธิมนุษยชน
กรรมการคาทอลิกเพ่ือการพัฒนา ถึงพ่อแม่ไหม” เม่ือลูกศิษย์ตอบ และสันตภิ าพ กระท่ังทกุ วนั น้ี
สงั คม ว่า “อยากกลับครับ/ค่ะ” เพราะ
ไม่มีกะจิตกะใจจะนัง่ ท�ำข้อสอบแล้ว (คำ� ถามต่อจากนี้ น�ำมาจาก
ที่ส�ำคัญ ด้วยวัยวุฒิและ อาจารย์จึงยกเลิกการสอบและ คำ� พดู และคำ� ถามของเยาวชนทอี่ อก
คุณวุฒิอันเป็นท่ียอมรับจากสังคม ปล่อยให้ลูกศิษย์กลับบ้านเพื่อ มาร่วมชมุ นมุ ทางการเมอื ง)
ไม่ได้ท�ำให้ท่านปิดกั้นการรับรู้หรือ ความปลอดภยั แม้จะเป็นทวี่ ิพากษ์
ยดึ ตดิ กบั ความคดิ จากประสบการณ์ วจิ ารณ์ของอาจารย์คนอื่นต่อการ “ ท� ำ ไ ม ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ถึ ง ต ้ อ ง
และความรู้ของท่านแต่อย่างใดเลย กระท�ำพลการเช่นนั้น และด้วย พยายามจ�ำกัดรูปแบบของคน
ในทางตรงกันข้าม อาจารย์วไลยัง ความรสู้ กึ ที่ไมอ่ าจทนเหน็ ความโหด ด้วย ท�ำไมต้องจ�ำกัดทรงผมให้
คงมีทัศนคติมุมมองที่เปิดกว้าง ร้ายและความอยุติธรรมท่ีรัฐบาล เหมือนกัน จ�ำกัดการแต่งกาย
และรับฟังความคิดเห็นท่ีแตกต่าง เผด็จการยุคน้ันกระท�ำการละเมิด เอาชดุ นกั เรียนไปผกู กบั ความเปน็
หลากหลาย โดยเฉพาะกับเด็กและ ต่อชวี ติ ของประชาชนพลเมืองได้ นักเรียน ทั้งที่มันไม่ได้เกี่ยวอะไร
เยาวชนซึ่งอาจารย์ ให้ความส�ำคัญ อาจารย์วไลจึงลาออกจากการเป็น กับหน้าที”่
เป็นอย่างยิ่ง อาจารย์มหาวิทยาลัย พร้อมบอก
ตัวเองว่า “อยู่ไม่ได้แล้วประเทศที่ อาจารยว์ ไล: นักเรียนของ
ส่วนหน่งึ จากบทสนทนา ฆ่าเด็ก” แล้วย้ายไปท�ำงานยังต่าง เราถูกละเมิดสิทธขิ องความเป็น
อาจารย์วไลได้เล่าประสบการณ์ที่ ประเทศ เด็กหรอื เปล่า จรงิ ๆ แล้วอยากจะ
ไมอ่ าจลมื เลอื น ทา่ นผา่ นเหตกุ ารณ์ บอกว่ามันไม่ใช่แค่เด๋ียวน้ี สิทธิ
ยุค ๑๔ ตุลา ๑๖ ท่ีมีการเข่นฆ่า นี่เองจงึ เป็นที่มาของการ
นักเรียนนสิ ิตนักศึกษา อาจารย์ ท�ำงานด้านสิทธมิ นุษยชนและ
เล่าว่า มีเยาวชนถูกยิงเสียชีวิต สันติภาพท่ีองค์การศึกษาวทิ ยา-
หน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน
ขณะนนั้ ท่านเป็นหัวหน้าภาคฯ ซึ่ง
ก�ำลังคุมการสอบให้ลูกศิษย์อยู่
อาจารย์ วไลสะเทือนใจและเข้าใจ
ถงึ หวั อกหวั ใจของพอ่ แม่ผู้ปกครอง
ที่ส่งบุตรหลานมาเรียน เม่ือเกิด
สถานการณท์ ี่ไม่ปกตขิ ณะนัน้ ยอ่ ม
ห่วงใยและวิตกกังวลต่อสวัสดิภาพ
35ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
มนุษยชนของเด็กถูกละเมิดมานาน ภาพ: themomentum.co
แลว้ จนถงึ ปจั จบุ นั ก็ไมห่ ยดุ นะ อยา่ ง
ตวั เองตอนเดก็ ๆ เรียนคณติ ศาสตร์ ดแู บบพอ่ แมด่ ุ มหี ลากหลาย เพราะ จบจากระดับประถมศึกษา ๒๐ คน
ไม่รู้เรอ่ื ง เพราะว่าไม่เข้าใจ จงึ ถูก ฉะนนั้ เราทเ่ี ปน็ ผู้ใหญ่ เปน็ ครตู อ้ งใจ มาเข้าเรยี นช้ันมัธยมฯ ปีที่ ๑ คุณ
ว่า เธอน่ีมันโง่จรงิ ๆ ครูสอนเท่า กว้าง ต้องมองให้ทั่วและมีเมตตา พ่อคุณแม่ยังไม่มีเวลาพาไปตัดผม
ไหร่ เธอก็ไมเ่ ข้าใจ เธอโง่ เราก็เลย ตอ่ เขา ในการเปน็ ครู และทกุ สงิ่ ทุก แ ล้ ว ครู ไ ม ่ ไ ด้ เ อา ช ่ า ง ตั ดผม ม า นะ
มีความรู้สึกว่าเราเป็นคนโง่ ช่ัวโมง อย่างจะไปอยู่ในจิตใจของเขา ครูจับกล้อนเลย ตัวเองยืนดูอยู่ที่
น้เี ราก็ไมเ่ รียนหนงั สอื เราจะหนีไป หน้าต่างห้อง ไม่กลา้ พดู แต่ในทส่ี ุด
ข้างนอก วิชานเี้ ราทำ� ไม่ได้ สอบตก อาจารยว์ ไล ยังเลา่ ประสบ- กบ็ อก “ครูเมตตาเขาได้ไหม ไปเอา
นี่เป็นตัวอย่างหน่ึง สง่ิ น้มี ันกระทบ การณ์เม่ือคร้ังเรมิ่ สอนภาษา ช่างมาสิ” เด็กนง่ั ร้องไหก้ ันเตม็ เลย
เดก็ มาก แต่วา่ ครูไม่เขา้ ใจ ฝรั่งเศสให้นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษา เดก็ เล็กๆ นะ เด็กผ้ชู ายด้วย แล้วไอ้
ปที ่ี ๖ ที่โรงเรยี นแห่งหนึง่ สิง่ น้ีมันก็ส่ังสม เวลาเด็กพวกนี้โต
หลังจากนั้น มารู้ว่าตัว อยู่มหาวทิ ยาลัย อย่าคิดนะว่าเขา
เองเรยี นเก่งเม่ือมาเรียนที่จุฬาฯ คร้ังแรกที่ได้ไปสอนภาษา จะลืม มันเก็บกดเอาไว้ น่คี ือสิง่ ที่
อาจารย์เขาสอนอีกอย่างหน่งึ เขา ฝรั่งเศสให้เด็ก ครูผู้หญิงคนหนึ่ง โดนท่วั ๆ ไป ยังไม่ใชเ่ รือ่ งความคดิ
ไมด่ ุ เขาให้ความร้เู รา เรากแ็ สวงหา ก�ำลังบังคับให้เด็กคนหน่งึ วิดพ้ืน
อยากจะไดค้ วามรู้ คนทถ่ี กู วา่ โง่ ก็ได้ เราไปยนื ดู เขากย็ ง่ิ อวดความเปน็ ครู “เขาไม่ได้ตัดผมแล้ว แต่เขาตัด
รับค�ำชมว่าเด็กคนน้ีฉลาด เรียน วา่ มอี ำ� นาจเหนอื เดก็ เรากลวั เดก็ จะ เข้าไปในจติ วญิ ญาณของเรา”
ได้ดี คือเด็กคนเดียวกันนแ่ี หละ เปน็ ลมตรงน้ัน ซง่ึ เปน็ ไปได้ จึงบอก
เพียงแต่สงิ่ แวดล้อมหรอื คุณครู วา่ “พอแลว้ ละ่ คร”ู เขากย็ ่งิ แสดงวา่ อาจารยว์ ไล: การตดั ผมมนั
กระท�ำ เพราะฉะนน้ั จะจ�ำเร่อื งของ ฉันมอี ำ� นาจเหนือเธอ ไอส้ ง่ิ นม้ี นั อยู่ ท�ำร้ายหัวใจเด็ก ค�ำว่าจติ วิญญาณ
การท่ีครูละเมิดสิทธิเด็ก เชื่อว่า กับครูหลายคนนะ ในท่ีสุดเด็กคน เราอาจจะเข้าใจไม่ตรงกัน แต่ที่เขา
เป็นการละเมิดสิทธิ แต่ว่าครูเขา นน้ั ลุกขึ้นมาได้ น่าสงสารที่สุด ครู พูดอย่างน้ี เราเห็นด้วย เราเข้าใจ
จะเชอื่ อยา่ งไรก็ตาม ดุเด็ก พูดไม่ดี คนนั้นก็ยุติการท�ำโทษเพราะเกรง เลยนะ ว่ามันท�ำร้ายในดวงใจของ
ต้องการให้เด็กดีเลยดุ กลายเป็น วา่ จะถูกตำ� หนิ เขา ในหัวใจของเขา ในความคิด
ท�ำร้ายเขามากกว่าจะท�ำให้เขาเป็น ของเขา คุณมีสิทธิอะไรที่จะต้องมา
คนดี เพียงแต่ถ้าครูพูดดีๆ บอกว่า หรือกรณีจบั เดก็ ตดั ผม เกดิ
“ลูกต้ังใจเรยี นจัง แต่ลูกพลาดไป ขน้ึ ช่วงเวลาเปิดเทอม มีเด็กเพิง่
นิดนะ มาเดี๋ยวครูจะอธบิ ายให้ฟัง”
เพียงแค่ชมด้วยความจริงใจ มันก็
จะดขี นึ้
พวกผู้ใหญค่ รอู าจารยต์ อ้ งมี
เมตตา ตอ้ งเปดิ ใจรบั ความรสู้ กึ ของ
เขา เพราะวา่ เดก็ เขาไม่ไดถ้ ูกเลยี้ งดู
มาเหมือนกัน บางคนก็ถูกเล้ียงดู
อยา่ งดี ทะนถุ นอม บางคนกถ็ กู เลย้ี ง
36 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
twitter.com ในโรงเรยี น ก็มีตัวอย่างเช่น ครูไม่
ภาพ: moe360.blog เข้าใจเร่ืองสิทธอิ ย่างชัดเจน เวลา
ไปสอนเด็กอาจไม่ช่วยให้เกิดความ
ตดั แล้ววธิ ีตดั ของครู ก็อยา่ งท่เี ล่า “โรงเรยี นมีกฎเล็กๆ มากมาย เขา้ ใจท่ีถกู ต้องและอาจเกดิ ปญั หา
มา ตัดแบบลงโทษ ไม่ได้ช่วยเล็ม ไว้ควบคุมเด็ก ไม่ได้ท�ำตามกฎ
ให้สวยงาม แตท่ �ำแบบประจานให้รู้ กระทรวงท่ีประกาศไว้ การสอน ตัวอย่างโรงเรียนแห่งหน่งึ
ว่าเธอผิด การมีผมยาว การอยาก ให้เด็กมีหลักการ แต่ผู้ใหญ่เอง วนั หนึง่ ครูทส่ี อนช้นั ป.๖ เขามาหา
สวยน่ี ผิดด้วยหรอื ส�ำหรับตัวเอง ท่ีไม่มหี ลักการเลย” บอกวา่ “อาจารย์ หนมู ปี ญั หามาก
ตอนเด็กแม้ไม่ได้เป็นเด็กสวยงาม เลย อาจารยช์ ว่ ยได้ไหม” “ได้ ใหช้ ว่ ย
มผี มสนั้ ๆ ปกติ แตเ่ ขา้ ใจเรื่องนี้มาก อาจารย์วไล: ถูกต้องเลย อะไร” “การอบรมเรือ่ งสทิ ธมิ นุษย-
เลย เวลาเขาถกู กระทำ� มนั เปน็ สทิ ธิ คือครูเป็นคนสั่ง แต่ครูไม่เคยให้ ชน หนูกพ็ ยายามอบรมใหเ้ ดก็ ป.๖
ของเขา เหน็ ดว้ ยเลย ครทู ำ� รา้ ยจิตใจ ลูกศิษย์เขาคิดว่า “ลูกต้องการให้ เดก็ ของหนกู ร็ เู้ ร่ืองนะ” แลว้ ยงั ไงลกู
ของเขา ไม่ไดแ้ ค่ตัดผม ครูเป็นอย่างไร” ไม่มีนะ เคยสอน “เดก็ คนหนึง่ มปี ัญหา จนปา่ นน้ีเขา
นักเรียนช้ัน ม.๖ ใหเ้ ขาเขยี น “ไหน มคี วามคดิ แลว้ หนแู ก้ไม่ได้ อาจารย์
“ครูอาจารย์เขาถือวา่ เขามีสทิ ธิ ลูกบอกสิ ว่าต้องการให้ครูเป็น เข้าไปหาเขาสักวนั ได้ไหม”
ท่ีจะท�ำอะไรกับร่างกายนกั เรียน อย่างไร” เขาก็เขียนมาให้ บอกว่า
ก็ได”้ ครูต้องเป็นพ่อแม่ท่ีสอง ครูต้องมี เด็กเขามีความอ่อนไหว
เมตตา เรากบ็ อกวา่ ใช่ เรารบั ได้ และ (Sensitive) มาก ยังไม่ทันแนะน�ำ
อาจารยว์ ไล: ไม่มีสิทธิเลย เราก็เห็นด้วยเลย และเราก็จะเป็น ตัวว่าเราคอื ใคร แคบ่ อกเขาวา่ “ครู
ครูมีสทิ ธอิ ยา่ งเดียว คอื ครมู ีสทิ ธทิ ่ี อย่างนนั้ ขอบใจเขา มอี ีกอย่างหน่งึ คือ วไล นะ ครูจะมาตอบปัญหา
จะสอนใหเ้ ดก็ เปน็ คนดี รกั เดก็ สอน คือตอนนเี้ ร่อื งสิทธมิ นุษยชนเข้าไป พวกหนู” เด็กคนนี้ยืนขน้ึ เลย เขา
วิชาความรู้ และสอนทางด้านจติ ใจ ถามทันทีเลยว่า “ครูคะ พ่อหนูเขา
ทางด้านศีลธรรม นค่ี ือสิทธทิ ี่ครู จับหัวหนูกระแทกไปที่มุมโต๊ะ แล้ว
ควรจะมี แต่ไม่มสี ทิ ธิที่จะวา่ จะดา่ จะ หัวหนูแตก พ่อหนูละเมิดสิทธเิ ด็ก
นินทา เราไมร่ วู้ า่ การอบรมครสู มยั น้ี หรือเปล่าคะ” เข้าใจว่า เขาถาม
มีไหม อยา่ งสมยั กอ่ นมี กอ่ นจะเปน็ ปัญหานีก้ ับคุณครูมา แล้วครูตอบ
ครู เราต้องเรยี นนะ จะมีหลักสูตร ไม่ได้ พอบอกเด็กไปว่า “ละเมิดสิ
เฉพาะส�ำหรบั ครู
ภาพ: pngtree.com
37ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
อกี อย่างเลย ซึง่ ครมู กั จะคิดอยา่ งน้ี
พอบอก “ครดู ีใจดว้ ยนะลกู ขอบคณุ
พระเจ้าท่ีหนูสอบได้ ต่อไปก็ต้อง
เรยี นดีข้นึ ” มันก็เป็นอีกอย่างของ
ความสัมพันธ์ ฉะนน้ั ครูไม่ควรคิด
ร้าย คิดแรง คิดก่อนล่วงหน้าเขา
ลูก ละเมิดสิทธเิ ด็กแน่นอน” เชอื่ ม.๖ ท่ีสอน ว่าใครได้คะแนนดี ใคร “โรงเรยี นเป็นเหมือนโรงงาน
ไหม เด็กที่หน้ามุ่ยอยู่ หน้าเขาดู ได้คะแนนไม่ดี คือเด็กเขารู้ว่าครู ผลิตพลเมือง โตขน้ึ มาโดยถูก
เปน็ สขุ เลย “ขอบคณุ นะคะ หนเู ขา้ ใจ เปน็ คาทอลกิ เขาก็ไมว่ า่ อะไร เขาก็ ปลูกฝังให้เชอื่ ฟังระบบอ�ำนาจ
ดแี ลว้ ” แลว้ ในที่สุดเขา้ ไปคยุ กบั เขา รกั มีครูเขาบอก อาจารย์วไลน่เี ดก็ นยิ ม ความอาวุโสในโรงเรียน
เขารเู้ รอ่ื งสทิ ธเิ ดก็ คอื พอ่ กบั แมเ่ ขา รักทุกรุ่น ตอนบอกคะแนนก็มีเด็ก เกิดข้ึนเพ่ือเวลาเราออกมาใน
ทะเลาะกัน แม่เขาเปน็ คนฟิลปิ ปินส์ เขาท�ำท่า (ท�ำเคร่ืองหมายกางเขน) สงั คมใหญ่ เราจะได้ไมต่ งั้ คำ� ถาม
แม่เขาจะกลับประเทศเพราะว่าพ่อ ก็นึกในใจ เด็กคนนย้ี ่ัวเราหรอื เปล่า โรงเรยี นเป็นสังคมจ�ำลองของ
เขาใจร้าย เขามีปยู่ า่ นงั่ อยู่ แลว้ เด็ก เราก็คิดว่า เด็กคนน้ีท�ำอะไร ลอง สังคมข้างนอก เหมือนกันเป๊ะ
ก็ร้องไห้ บอก “พ่อ หนูจะไปกับ ถามดีๆ สิ ลองดู แต่ถ้าเราดุเขานี่ เลย คนท่ีเป็นผู้อาวุโสในสังคม
แม่นะ” ร้องไห้เสียใจ พ่อเขาจับหัว จบเลยนะ จงึ ถามว่า “ลูกท�ำอะไร กบั ครทู เ่ี ปน็ ผอู้ าวโุ สในโรงเรยี นก็
โขกโต๊ะ ครูประจ�ำชั้นไม่กล้าบอกว่า ยกิ ๆ นะ่ ” เดก็ บอก “ครคู รบั ผมเป็น คลา้ ยๆกนั เขาจะกำ� หนดบทบาท
ละเมิดสิทธิ ครสิ ตัง ผมขอบคุณพระผู้เป็นเจ้าที่ ให้เราท�ำ แล้วถือสิทธิว่าถ้าเรา
ช่วยให้ผมไม่ตก” เห็นไหมว่าถ้าครู ท�ำนอกเหนอื จากท่ีเขาส่ัง เขามี
พอถามครู ท�ำไมครูไม่กล้า ท�ำอีกอย่าง เช่น “นี่ท�ำอะไรแย่จัง สิทธิท�ำอะไรกับเราก็ได”้
บอกเด็ก เขาบอก “เดยี๋ วพอ่ เดก็ เขา้ เลย มาล้อครู” ทุกอย่างมันจะเป็น
มาหาครูใหญ่ แล้วหนูจะถูกต่อว่า” อาจารย์วไล: น่คี ื อ ค ว า ม
ปัญหาอยู่ที่โรงเรยี น เด็กเขาบอก
“หนูเข้าใจแล้วคะ่ ” คอื สทิ ธเิ ด็ก จงึ จริง สิง่ ที่เขาพูด ถ้าเราเป็นครูแล้ว
ได้บอกเด็ก “คุณครเู ขาอธิบาย หนู
ก็เอามาอ่านนะลูก” มีหนังสือของ มองเด็กเหมือนลูกเหมือนหลาน
ครูให้เขาอ่าน แล้วก็จบ คุณครูเขา
ก็แฮปปี้ คือเด็กเขาต้องการรู้และ เราจะปฏิบัติต่อเขาอย่างหนึ่ง แต่
ต้องการคนท่ีเข้าใจและให้ก�ำลังใจ
แก่เขา ภาพ: pngtree.com
อกี ประสบการณค์ อื วนั หนึ่ง
เป็นวันที่บอกคะแนนสอบให้เด็ก
38 ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
ถ้าเรามองว่า เราจะต้องสอนไอ้ เปดิ ติวกัน เราเร่ิมมีความรกั ทีจ่ ะตวิ นารายณ์ดีเลิศใช่ไหม ไม่ได้ให้เด็ก
พวกนี้ ฉลาดบ้าง โงบ่ า้ ง คือ ถา้ เรา ให้เพือ่ นท่ีเรียนไม่รู้เรอ่ื ง ค้นเลย พอสมเด็จพระเพทราชาน่ี
มองเขาในด้านไม่ดี เด็กเขาจะรู้สึก แย่มาก เป็นคนไม่ดี คือมันอยู่ใน
เพราะเราเองยังเคยรู้สึก ตอนที่อยู่ “เราเป็นคนอินวชิ าสังคมมาก หนังสือ อยู่ในปากครู มันก็เข้ามา
โรงเรียนไมม่ ีความสขุ เพราะคณุ ครู แต่เรารู้สึกว่าสังคมศึกษาเป็น อยู่ในความจำ� ของเดก็ เพราะฉะนัน้
คุณครูสอนอย่างไม่สนใจ ไม่เต็มท่ี เคร่อื งมือของรัฐที่พยายามจะ พระเจ้าแผ่นดนิ องค์ไหนๆ ถา้ พูดว่า
ไม่น่าสนใจ หรอื เป็นเพราะเราอายุ หล่อหลอมให้เราเป็น ให้เราเชอ่ื ดเี ลศิ กต็ อ้ งดเี ลศิ จรงิ ๆ สมเดจ็ พระ
น้อยจงึ ไมเ่ ขา้ ใจ แตแ่ ปลกใจ พอเรา ตามส่ิงท่ีเขาต้องการ วิชาสงั คม นารายณท์ า่ นอาจจะดเี ลศิ แตท่ กุ คน
เข้ามหาวิทยาลัย เราเจอครทู ด่ี ี เรา ท่ีควรจะเปิดให้มีการวิพากษ์ กม็ ขี อ้ บกพร่อง จริงๆ แลว้ พระเพท
มีความสุขมาก เรียนท่ีคณะอักษร แสดงความเห็น ใช้ค�ำถามแบบ ราชาที่ไม่ดี เด็กก็ไม่ได้ศึกษาให้ลึก
ศาสตร์ ๔ ปี เราเจอครทู มี่ เี มตตาทงั้ ปลายเปดิ แต่ในระบบการศกึ ษา ซ้ึง หรอื อย่างเรือ่ งเขาพระวหิ าร
น้ันเลย เขารกั เรา เรารู้วา่ เขารักเรา ไทย กลับเป็นวชิ าทีช่ นี้ �ำ ทอ่ งจ�ำ ท�ำไมเขมรเอาไป มีการทะเลาะเบาะ
แล้วเขาก็คอยชมเวลาเราท�ำอะไร ท�ำตาม ไม่ ได้เปิดโอกาสให้ แวง้ กนั การเรยี นรวู้ ิชาประวตั ศิ าสตร์
ดีๆ เมื่อเรารู้สึกอย่างน้ี เราก็รู้สึก นกั เรียนหรอื ผู้รับสารได้ลองตั้ง โบราณคดีก็ไม่ไดช้ ัดเจน แทบจะทุก
ว่าเราต้องรับผิดชอบเพื่อน เราเริม่ ค�ำถามต่อหลายๆ เรื่อง” วิชา แลว้ เดก็ ซกั ไม่ได้ ซึ่งความจริง
เด็กควรจะซัก แลว้ ครกู ต็ ้องชว่ ยกนั
อาจารยว์ ไล: แน่นอน แต่ อธบิ าย คิดว่าเป็นเพราะครูส่วน
ถ้าในมหาวิทยาลัย เด็กปีหนึ่งถึง ใหญ่ไม่มีความรู้ในเรอื่ งนนั้ มาก
ปีส่ี ยกตัวอย่างหลานสาว ครูสอน พอ เพราะฉะนนั้ พอไม่รู้จะตอบ
อะไร แต่เขาก็ยังต้ังค�ำถามกับยาย อย่างไร ก็ดุเอาไว้ก่อน เพ่ือไม่ให้
นะ “ยายอยา่ งนี้ถกู หรือเปลา่ ” เขายงั เขากล้าถาม คิดว่าเป็นอย่างน้นั
มคี ำ� ถาม เพราะมยี ายทรี่ เู้ รอื่ งสงั คม สว่ นใหญ่ ผู้ใหญท่ ่ีใชค้ วามโกรธแรง
ถา้ ถูก โอเค จะจ�ำ ถา้ ไมถ่ กู เขาบอก กับเด็กก่อน ก็เพราะว่าตัวเองตอบ
“ไม่ถูกนะยาย” เพราะอะไรไมถ่ ูก คือ ไม่ได้ ก็ปิดไว้ก่อน ปกปิด ประการ
เขายังมีผู้ใหญ่ท่ีคอยช่วย ทีน้ีเด็กที่ ทสี่ อง ถามมากท�ำไม กส็ อนไปแลว้
เขาไมม่ ผี ู้ใหญค่ อยชว่ ย ถา้ ครพู ดู เขา รเู้ ทา่ ทสี่ อนกพ็ อ ถามมากเดย๋ี วสอน
กเ็ ชอื่ แลว้ กจ็ ะเปน็ อยา่ งทเ่ี ดก็ เขาพดู ไม่ทนั ถกู ครใู หญ่ว่าอีก
ยกตัวอย่างเช่น รัชกาลสมเด็จพระ
นารายณ์ ทุกคนเห็นว่าสมเด็จพระ
ภาพ: hilight.kapook.com
ภาพ: www.ejan.co
39ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ภาพ: www.ejan.co ภาพ: thematter.co
“อะไรคือการตีกรอบว่า เป็น เราต้องยอมรับว่าเด็กสมัย อาจารย์วไล: แน่นอน เรา
นกั เรียนที่ดี หรือนักเรยี นท่ี น้เี ข้าถึงข้อมูลต่างๆ ท้ังข่าวทาง มีสิทธทิ ่ีจะตั้งค�ำถาม แต่ในฐานะที่
เลว เด็กท่ีต้ังค�ำถามกลายเป็น หนงั สือพิมพ์ วทิ ยุ โทรทัศน์ แล้ว เราเป็นเด็ก เราก็ควรจะสุภาพ ท�ำ
นักเรียนเลว ส่วนเด็กท่ีไม่ถาม ยังมีส่ือออนไลน์ต่างๆ อีกมากมาย ด้วยความสุภาพ ไม่ได้หมายความ
ยอมรับตามอ�ำนาจในโรงเรียน เดก็ เขาจะรู้ เรากต็ ้องเขา้ ใจเดก็ ดว้ ย วา่ โครมคราม พูดด้วยความสุภาพ
คอื นกั เรยี นดี เดก็ ที่ต้ังคำ� ถาม เพราะว่าส่ือท�ำให้เขารู้ความจริง เป็นมิตรกัน ก็น่าจะตั้งค�ำถามได้
ถูกตกี รอบวา่ เปน็ เด็กกา้ วรา้ ว” ความช่ัวร้ายมากกว่าเด็กสมัยก่อน แล้วโรงเรียนมหี น้าท่ที ีจ่ ะตอบด้วย
เพราะฉะน้นั เขาก็ต้องแรงกว่าสมัย
อาจารยว์ ไล: ถ้ามองในแง่ ก่อน เทียบกนั ไม่ได้ “ผมเป็นเด็กต่างจังหวัด เข้ามา
ความเป็นครูอาจารย์ เด็กที่ไม่ตั้ง ร่วมชุมนุม เพราะเห็นว่าเรือ่ ง
ค�ำถามถึงจะเป็นนักเรยี นดี ไม่จริง “โรงเรยี นไม่ชอบให้เราต้ัง การศึกษา ท�ำไมไม่ท�ำให้การ
เด็กจะดีหรือจะเลวก็ตาม ต้องต้ังใจ ค�ำถามหรือวิจารณ์ เขาจะรู้สึก ศึกษามีความเท่าเทียมกัน ผม
เรยี น แล้วเมื่อมีค�ำถามเด็กต้อง วา่ ทำ� ไมเราสงสยั ทง้ั ๆ ทเ่ี ขาหวงั จะได้ไม่ต้องเข้ามาร่วมชุมนุมใน
ถาม แต่ต้องถามอย่างสุภาพ มี ดี แต่เราทกุ คนมีสิทธสิ งสัยและ กรงุ เทพฯ คอื แคส่ ทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐาน
ความสมั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ กนั และกนั ตอ้ ง ตั้งค�ำถามกับองค์กรท่ีเราอาศัย ทจ่ี ะใหเ้ ราเท่ากนั ยังทำ� ไม่ได้”
มีความเคารพต่อครูด้วย นกั เรียน อยู่ เราต้ังค�ำถามเพราะอยากให้
ส่วนใหญ่เขาจะเคารพครูหรือไม่ มนั ดีข้นึ ” อาจารยว์ ไล: อนั น้ีเหน็ ดว้ ย
เคารพครู ขึน้ อยู่กับครู เด็กเขาไม่ กบั เขาเลย เพราะว่าระบบการศึกษา
ได้ก้าวร้าวเลย มันอยู่ท่ีผู้ใหญ่ อยู่ ท่ัวประเทศมันไม่ยุติธรรม มันไม่
ทค่ี นทแี่ สดงทา่ ทีตอ่ เขา ไม่ใช่ความ
ผิดของเด็ก แต่ผู้ใหญ่เขาลืมตัว คดิ ภาพ: www.khaosod.co.th
วา่ ฉันใหญ่ ฉันเป็นอาจารย์ ครไู ม่ดี
มีมาตั้งแต่ดึกด�ำบรรพ์แล้ว เรต้อง
ยอมรบั ว่ามีครทู ี่ว่าเด็ก ครูที่ดา่ เดก็
โดยไม่มีเหตุผล แล้วก็อ้างว่าเด็ก
เปน็ คนไมด่ ี แลว้ เดก็ เขาจะเคารพครู
ได้อยา่ งไร เขากต็ อ้ งโกรธ
40 ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ภาพ: www.bbc.com/thai ภาพ: themomentum.co
เหมอื นกนั เด็กตา่ งจงั หวัดท่เี ขาอยู่ เพราะเขาไมต่ อ้ งการอยา่ งน้ี เดก็ ชา่ ง ไปดอู นสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยสิทธิเด็ก เดก็
เขาลำ� บากกวา่ มาก โอกาสทจ่ี ะไดร้ บั คดิ นะ จะต้องได้รับความคุ้มครองปกป้อง
การศกึ ษาก็น้อย ครูก็ไม่ดี โอกาสท่ี โดยเฉพาะเดก็ อายตุ ำ่� กวา่ ๑๘ ปี เดก็
จะได้มีหนงั สือหนังหาก็ไม่สมบูรณ์ “เราอยากให้ทุกคนตื่นได้แล้ว ต้องได้รับการพัฒนาและสามารถ
มันไมเ่ ทา่ เทยี มกนั เขาโกรธทีม่ นั ไม่ ตื่นตอนนเ้ี ลย ทุกคนก็รู้ว่าอะไร มีส่วนร่วม เด็กมีสิทธิที่จะพูด ที่จะ
เทา่ เทยี มกัน ถกู ตอ้ งแลว้ เห็นดว้ ย ถกู ไมถ่ กู เขาทำ� ส่งิ ไมถ่ กู ตอ้ งกบั แสดงออก และคณุ ไม่มีสิทธจิ ดั การ
เลย ระบบการศึกษาไม่เท่ากนั เรา แต่เรากลับมองว่าเร่ืองนน้ั หรอื ท�ำลายล้าง หรอื ท�ำไม่ดีกับ
เปน็ เรอ่ื งปกติ มนั ควรจะเปน็ การ เขา เป็นหน้าที่ของสังคมไทยท่ีจะ
“เหตุท่ีเราออกมาเคล่ือนไหว เคารพกันระหว่างสิทธิ ระหว่าง ต้องทนุถนอมและดูแลเด็ก เด็กมี
เราอยากให้ประเทศของเรา มนุษย์กับมนุษย์ท่ีเคารพกัน สิทธทิ ่ีจะได้รับการดูแล เป็นสิทธิ
มันดีขึ้น เพื่อให้คนที่เรารักและ ไม่ใช่เด็กเคารพผู้ใหญ่ในสถานะ ของเด็กเลยนะ คุณจะต้องไปอ่าน
คนรอบๆ ตัวเรา รวมถึงคนที่มี ทแี่ บบเราเปน็ มดเขาเปน็ เทวดา” อนุสัญญาว่าด้วยสิทธเิ ด็ก เป็น
จุดยืนทางการเมืองอกี ฝ่ังหนึง่ มี อนุสัญญาเดียวท่ีประเทศท้ังโลก
คุณภาพชีวติ ที่ดีขนึ้ ไม่ใช่ว่าเรา อาจารยว์ ไล: ใช่เลย นีค่ ือ ลงนามมากท่ีสุด (๑๙๕ ประเทศ)
ชงั ชาติ แตเ่ รารกั ชาติด้วยซ้ำ� ” สิทธมิ นุษยชนของเรา คือมนุษย์ ไทยกล็ งนามนะ ยกเวน้ ๒ ประเทศ
ต้องเคารพกันและกัน ไม่ใช่ว่าเด็ก คอื โซมาเลยี ทบ่ี อกวา่ ทำ� ไม่ไดจ้ รงิ ๆ
อาจารย์วไล: ใช่ เราเชื่อ ตอ้ งเคารพผู้ใหญอ่ ยา่ งเดยี ว ผู้ใหญ่ ตามอนุสัญญา และสหรัฐอเมริกา
ว่าเขาคิดถูก แต่คนท่ีว่าเขาชังชาติ ตอ้ งเคารพเดก็ อนั นชี้ ดั เลย ถา้ เรา ท่ีบอกว่าให้เกินอยู่แล้ว เด็กเขา
พูดถูก ผู้ใหญ่ต้องตระหนกั เรอื่ งนี้
ภาพ: www.bbc.com/thai ประเทศไทยต้องยึดถือตาม ไม่เช่น
นน้ั ก็ท�ำผิด เด็กพูดถูก ห้ามละเมิด
สทิ ธิเด็ก
“ครูครับ ช่วยสอนให้ผมเป็น
มนุษย์ที่สมบรู ณ์ได้ไหมครบั ”
อาจารย์วไล ยังเล่าถึง
ค�ำถามของลูกศิษย์คนหนึง่ ที่บอก
41ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ว่า “ครูครับ ช่วยสอนให้ผมเป็น ไหนลูกช่วยบอกสิ ครูท่ีดีเป็นยังไง อาจารย์มีค�ำสอนท่ีเป็นหลักยึด
มนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ไหมครับ” ว่า วจิ ารณ์ครูนะ ช่วยวจิ ารณ์ครูด้วย” ทางใจในช่วงสถานการณ์ท่ีน่า
ไปสอนภาษาฝร่ังเศสให้เด็ก ม.๖ เขาก็จะบอกว่า ครูที่ดีเป็นอย่างนัน้ เป็นห่วงเชน่ น้ี
ปกติจะทักทายกันก่อนเร่ิมเรยี น อยา่ งนี้ โอเค ถูกต้อง
หนังสอื วนั น้จี ะใหค้ รูอบรมลูกเร่อื ง ในฐานะท่ีเป็นครสิ ต์เชอ่ื ใน
อะไร จะตอ้ งพดู กนั ก่อน ตัวหนังสอื (คำ� ถามเสริม) พระผู้เป็นเจ้าก็จะสวด ขอให้ช่วย
เอาไวก้ อ่ น “วนั น้ีลกู มีความทุกข์ มี อยู่ท่ีเรามีหลักยึดทางศาสนา ท�ำให้ประเทศไทยของเรา โลกของ
ความสขุ อยากเลา่ ใหค้ รฟู งั ไหม และ ดว้ ยไหมทีก่ ลอ่ มเกลาเรา เราผ่านพ้นอปุ สรรคปญั หา
อยากใหค้ รสู อนลกู เรอ่ื งอะไร” นอก
เหนือไปจากการเรยี นแกรมมา ใช่อาจจะเป็นได้ คือเราถูก สงั คมทตี่ อ้ งการอนาคตทม่ี คี วาม
สอนมาว่าเราต้องรักและเมตตาคน หวัง ผู้ใหญ่ควรเป็นอย่างไร
วนั หนึง่ กม็ เี ดก็ ผชู้ ายคนหน่ึง รักและเมตตานเ่ี ป็นทั้งศาสนาพุทธ
พูดวา่ “ครคู รับ ครชู ว่ ยสอนให้พวก และศาสนาครสิ ตน์ ะ เมตตา กรุณา ผู้ใหญท่ กุ คนควรจะมเี มตตา
ผมเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ได้ ไหม มุทิตา อุเบกขา เด็ก ไม่ว่าศาสนา ต่อคนอ่ืน มีเมตตาต่อเด็ก เราควร
ครับ” เราก็โอ้โห “เอาขนาดนัน้ ใดกต็ อ้ งรักกนั เราต้องรักกนั นะลูก จะเปิดใจ ไม่ใช่ว่าแก่แล้วก็ยงิ่ ปิดใจ
เลยเหรอลูก ลูกอยากเป็นมนุษย์ท่ี เพราะคนแกจ่ ะปดิ ใจ ผู้ใหญต่ อ้ งเปดิ
สมบูรณ์เหรอ ก็แสดงว่าลูกยังเป็น ใจ ยอมรับฟังความคิดเหน็ ของเด็ก
มนุษย์ท่ีไม่สมบูรณ์ใช่ไหม” “เอา รนุ่ ใหม่ และถ้าช่วยเขาไดก้ ็ต้องช่วย
เรามาดกู นั สวิ า่ มนษุ ยท์ สี่ มบรู ณเ์ ปน็ มันเป็นหน้าท่ีนะ ถ้าช่วยเขาไม่ได้
ยงั ไง” เขากค็ อ่ ยๆ บอก จะต้องเปน็ เรากต็ ้องหาวิธี คือตอ้ งเปิดใจใหเ้ ขา
คนดี เป็นคนรักกัน เขาก็พูดออก มาคุยกบั เรา อยากมาพบเรา อยาก
มา เราก็บอก นแ่ี หละ เปน็ ตวั อยา่ ง เข้าหาผู้ใหญ่ แล้วผู้ใหญ่ก็ต้องช่วย
แล้วเราจะปฏิบัติตัวเป็นมนุษย์ที่ เขาอย่างมีเมตตา การมีเมตตาต่อ
สมบูรณ์ เราต้องเคารพคนอื่นด้วย เดก็ เป็นเรอื่ งที่ส�ำคัญทีส่ ุด
ก็เป็นการสอนเรือ่ งจิตใจของพวก
เขา หลงั จากนัน้ เราจึงสอนหนังสือ
แล้วบางทีก็ “วันนคี้ รูจะอบรมนะ
ภาพ: pngtree.com
42 เนือ้ ในหนงั
แมวอินด้ี
Better Days
ไม่มีวนั ไมม่ ีฉัน ไม่มเี ธอ
“This used to be ourภาพจาก Facebook: betterdaysmovieท่ีสุดของจีน การได้เข้าเรียนต่อใน ตีแผ่ให้เห็นสมรภูมิรบของนักเรยี น
playground..This was our ภาพจาก Facebook: betterdaysmovieมหาวทิ ยาลัยท่ีมีช่อื เสียงท่ีสุดจะมัธยมปลาย ท่ีทุ่มเทพลังงาน
playground.. This is our ท�ำให้หลายคนมีชวี ติ ที่ดีกว่าวันนี้ ทั้งหมดให้กับการเรยี น ในขณะที่
playground.” อยา่ งแนน่ อน มนั เปน็ ความฝันอนั บางคนยังต้องทนทุกข์ทรมานและ
สงู สุดของเฉนิ เหนยี น ต้องเอาชีวิตให้รอดพ้นจากการถูก
ขณะท่ีเฉนิ เหนียนก�ำลัง เพือ่ นนักเรยี นขม่ เหง แต่ ณ ทแี่ หง่
สอนภาษาอังกฤษ เธอมองเห็น Better Days ภาพยนตร์ น้ี ทุกคนมีความฝันเดียวกัน คือ
ท่าทีเศร้าสร้อยไม่มีความสุขของ จากประเทศจีนแผน่ ดนิ ใหญ่ ผลงาน ต้องสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ ได้
เด็กนักเรียนหญิงคนหน่ึงในช้ัน กำ� กบั การแสดงโดย ดเี รก้ จา้ ง หนัง แม้ว่าส�ำหรับบางคน มันเป็นเพียง
เรียน ภาพนนั้ ท�ำให้เธอย้อนร�ำลึก แค่ส่ิงเชิดหน้าชูตาของพ่อแม่ แต่
ไปถึงเรือ่ งราวในอดีตท่ีสูญสนิ้ ไป ส�ำหรับใครอีกหลายคน การเรียน
แลว้ ของเธอ จบมหาวทิ ยาลัยท่ีมีช่ือเสียงอันดับ
ต้นๆ ของประเทศ คือช่องทางที่จะ
“เราต้องสอบเข้ามหา- สะบัดตัวเองให้หลุดพ้นจากความ
วทิ ยาลัยในฝันให้ได้ ไม่ถอดใจ ยากจนข้นแค้น คุณภาพชีวิตที่ดี
ไม่ท้อถอย เราต้องสอบเข้า ขึ้นอย่างแน่นอนโบกมือรออยู่ข้าง
มหาวทิ ยาลัยในฝนั ให้ไดๆ้ ๆ” หนา้ แล้ว
น้�ำเสียงหนกั แน่นท่ีปลุกใจ เน้อื หาของหนงั ท�ำให้นึก
นกั เรียนทุกคนให้ฮึกเหิม เตรยี ม ภาพย้อนกลับไปในช่วงที่แมวอิน
ความพร้อมทั้งร่างกายจิตใจและ ดี้เรียน ม.ปลาย เพ่ือนๆ ส่วนใหญ่
ความรู้ที่เล่าเรียนมา เพ่ือเข้าสอบ ล้วนเคร่งเครียดกับการอ่านต�ำรา
แข่งขัน ‘เกาเข่า’ การสอบแข่งขัน เตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย
ท่ีข้นึ ช่ือเรอ่ื งความยากมากถึงมาก หรือ ‘เอนทรานซ์’ เรียกสั้นๆ ว่า
‘เอนฯ’ รุ่นพ่ีๆ ก่อนหน้านี้ก็เครียด
กับเรอื่ งเอนฯ กันมาก แต่เราไม่
เครียดเพราะไม่คิดจะเอนฯ ไม่ใช่
เพราะอินด้ี หรอื จะปลดแอกอะไร
หรอก แต่เพราะรู้ตัวเองว่าเอนฯ
ไปก็ไม่ติด เสียเวลาไปสอบเปล่าๆ
แล้วที่บ้านเองก็ไม่ได้บังคับว่าจะ 43ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
ต้องโน่นนี่นนั่ ในขณะที่บางคนต้ัง
ความหวังไว้มากว่าจะต้องเอนฯ ให้ ภาพจาก Facebook: betterdaysmovie
ติดมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ ของ
ประเทศ เพราะมันเป็นความฝัน กั น ข ่ ม เ ห ง รั ง แ ก จ น ท น ไ ม ่ ไ ห ว อี ก ยอ้ นหลงั ไป ๒๐-๓๐ ปขี นึ้ ไป สถาบนั
และความภาคภูมิใจของตัวเองและ ต่อไป การเข้าไปแสดงความอาลัย การศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มี ใน
ครอบครัว และแน่นอนเมื่อเรียน โดยการถอดเส้ือวอร์มคลุมร่างของ สมัยนั้นสามารถรองรับนกั เรยี น
จบ มันจะท�ำให้มีโอกาสที่จะถูกรับ เพื่อนไว้นั้น ท�ำให้เธอตกเป็นเหยื่อ ได้จ�ำนวนจ�ำกัด การเลือกอันดับ
เลือกให้ท�ำงานในองค์กรท่ีมีชอ่ื ของการถูกรังแกคนต่อไป แต่เมื่อ สถานทเี่ ขา้ เรียนกจ็ ะกระจกุ ตวั อยู่ใน
เสียงก่อนผู้จบมาจากมหาวิทยาลัย ถูกเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจสอบสวน เฉิน มหาวิทยาลยั ทม่ี ชี อ่ื เสยี งอนั ดบั ตน้ ๆ
อนั ดบั รองๆ เหนยี นเลือกที่จะปิดปากเงียบไม่ให้ ไหนจะต้องสอบแข่งกับนักเรียน
เบาะแสใดๆ ต่อเจ้าหนา้ ทีต่ �ำรวจ ท่ีจบรุ่นเดียวกัน ยังต้องสอบแข่ง
เฉนิ เหนยี น (รับบทโดย กับเด็กซว่ิ ที่กลับมาสอบใหม่อีก
โจวตงหยู) นักเรยี นหญิงช้ันมัธยม การสอบเข้ามหาวทิ ยาลัย รอบเพื่อให้ ได้เข้าเรียนในสถาบัน
ปลาย รูปร่างบอบบาง เธอมุ่งม่ัน ของรฐั ทีม่ ชี อ่ื เสยี ง เป็นค่านิยมของ ท่ีฝันไว้ เหล่าเด็กเรียนท้ังหลาย
ท่องต�ำราเรยี นเพื่อสอบ ‘เกาเข่า’ สังคมไทยที่มีมาเนิ่นนานแล้ว และ ก็จะต้องเตรียมตัวกันต้ังแต่เน่นิ ๆ
ให้ ได้ตามความฝันของแม่และตัว สร้างความกดดันให้เด็กนกั เรียน ต่างจากในปัจจุบันที่มีสถาบันการ
เอง และเธอจะไมย่ อมใหส้ ิ่งใดมาขดั ม.ปลาย เป็นอย่างมาก บางคน ศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ
ขวางการสอบของเธอได้ เธออาศัย ผิดหวังมากจนต้องฆ่าตัวตายเมื่อ เพิม่ มากขึน้ อกี ท้งั เยาวชนรุ่นใหม่
อยู่กับแม่ที่ต้องแอบมาบ้านและ สอบเอนทรานซ์ไม่ได้ ดังนั้นเด็ก มุ่งเน้นการศึกษาวชิ าการเฉพาะ
ตอ้ งรบี แอบกลบั ไปทำ� งานเพราะหนี ม.ปลายจึงต้องเตรยี มตัวให้พร้อม ทางท่ีสามารถสร้างอาชีพได้ ท�ำให้
เจา้ หนี้ ทำ� ใหเ้ ฉินเหนียนตอ้ งใช้ชีวิต เพ่ือสอบเอนทรานซ์ ค่านิยมนี้ สถาบนั การศึกษาต่างๆ ตอ้ งพฒั นา
เพยี งล�ำพงั เร่อื งราวในชีวติ เธอมัน เหมือนกันกับประเทศจนี ที่หนัง หลักสูตรการศึกษาให้หลากหลาย
เริ่มสาหัสขนึ้ เม่ือ เสี่ยวตี้ (รับบท สะท้อนออกมา แต่ในสังคมจนี ดนู า่ เพอ่ื รองรบั การศกึ ษาทเ่ี ปลย่ี นแปลง
โดย ซาง อี้ฟาน) เพ่ือนสนิทเพียง จะมีความกดดันสูงกว่ามากมายนัก ไป การมกี องทนุ กยู้ มื เพอื่ การศกึ ษา
คนเดียวของเฉินเหนยี น เลือกที่จะ ก็ท�ำให้เยาวชนมีโอกาสและช่อง
จบชวี ติ ลงโดยการกระโดดอาคาร ทางท่ีจะเข้าถึงการศึกษาได้มากย่งิ
เรยี น เพราะถูกเพื่อนนักเรยี นด้วย ขึ้น (แต่ความเคร่งเครยี ดกลับมา
อยู่ท่ีหลังเรยี นจบแล้ว ไม่มีงานท�ำ
ภาพจาก Facebook: betterdaysmovie แทน เฮอ้ ..)
และท่ีเหมือนกับในหนังอีก
อย่าง คือ ปัญหาการกล่ันแกล้ง
รงั แก หรอื บลู ล่ี (Bully) ในโรงเรยี น
ท่ีมีมาเนนิ่ นานแล้วและดูเหมือน
44 ผูไ้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๓
จะเพ่ิมระดับความรุนแรงยงิ่ ข้นึ ถึงภาพจาก Facebook: betterdaysmovie เหนียนทำ� ใหเ้ ขารสู้ กึ วา่ มนั เปน็ สิ่งท่ี เหตกุ ารณน์ ้ันมนั เกดิ ขึ้นกบั เธอแลว้
ข้ันเอาชวี ติ ท�ำลายอนาคตกันเลยที ภาพจาก Facebook: betterdaysmovieดีที่สุดในชวี ติ แม้ไลฟ์สไตล์จะต่าง เพ่ือนร่วมช้ันส่วนใหญ่ผสมโรงเยาะ
เดียว แถมมีการถ่ายคลิปบูลล่ีกัน กันสุดข้ัวแต่เขาก็หลงรักเธอจรงิ ๆ เย้ยขบขันเวลาเธอถูกแกล้ง บาง
ทางโซเชยี ลเนต็ เวิรก์ อกี เดก็ บางคน อย่างไรก็ตามหนงั ไม่ได้เน้นเรือ่ ง คนมองเฉยๆ ไม่อยากยุ่งด้วยกลัว
โดนรังแกจนฮึดสู้ลุกขึ้นมาตอบโต้ ราวความรักของหนุ่มสาว แต่เน้น งานเข้าตัวเอง ครูบาอาจารย์ไม่รู้
กลบั หากผู้ใหญ่ ครู อาจารย์ หรือ หนกั ไปท่ีปัญหาการกล่ันแกล้งใน เร่ืองที่เกิดขึน้ ส่วนคนที่รู้ก็จะเก็บ
ผู้ปกครองละเลยไม่เอาใจใส่ด้วย โรงเรยี นมากกวา่ เงยี บไว้เพียงเพราะกลัวจะกระทบ
ย่งิ ท�ำให้เด็กท่ีถูกข่มเหงขาดที่พ่ึง กับการเรียนการสอบ แม้กระทั่ง
พิง กลายเป็นโรคซึมเศร้ากระทั่ง เจ้าหน้าที่เจ้ิง (รับบทโดย เจา้ หนา้ ทตี่ ำ� รวจบางคนยงั เช่ือวา่ คดี
เลือกจบชีวิตตัวเองในท่ีสุด ปัญหา ยิน แฟง) นายต�ำรวจผู้รับผิดชอบ เด็กนกั เรยี นบูลล่ีกันน้ันเป็นเรื่องท่ี
นี้เป็นเรอ่ื งที่หลายประเทศรวมท้ัง คดีท่ี ใช้หัวใจสืบสวนสอบสวนคดี แกป้ ญั หาไดย้ าก ทกุ วนั เฉินเหนยี น
ประเทศไทยให้ความส�ำคัญและเร่ง มากกว่าสมอง เขารู้ว่าการจะให้ ต้องอยู่อย่างหวาดระแวง ไม่มีใคร
หามาตรการป้องกนั อยา่ งจริงจงั เด็กๆ บอกเบาะแสนนั้ ยาก แต่เขา ย่ืนมือเข้ามาช่วยเหลือและปกป้อง
ยังคงพยายามสอบถามถึงสาเหตุ เธอ แต่ในความโชครา้ ยทตี่ อ้ งไปเจอ
กลับมาท่ีเฉินเหนยี น วัน การตายของเสี่ยวต้ีจากนกั เรยี น กับเส่ียวเป่ย มันมีความโชคดีซ่อน
หนึ่งในขณะที่เดินกลับบ้าน เธอ ทุกคน ในขณะที่เฉนิ เหนียนต้อง อยู่เพราะเสี่ยวเป่ยกลายเป็นอัศวิน
เห็น “เสี่ยวเป่ย” (รับบทโดย อ้ี อดทนต่อการถูกรังแกอย่างมาก ท่ีมาปกป้องเธอแทน
หยางเซยี นส)ี่ ถกู รมุ ทำ� รา้ ย เธอจึง เธอไม่ต้องการมีเรื่องกับใครทั้ง
โทรศพั ทแ์ จง้ ตำ� รวจ แต่โชครา้ ยพวก นัน้ และไม่ต้องการให้มีส่ิงใดท�ำให้ เฉนิ เหนยี นตัดสินใจเล่า
นักเลงเห็นเธอจึงหันมาจะท�ำร้าย เธอเสียสมาธจิ ากการเรยี น แต่ ทุกอย่างแก่เจ้าหน้าที่เจิง้ ผลที่
เธอแทน เพราะคิดว่าเธอเป็นแฟน ก า ร อ ด ท น ไ ม ่ ไ ด ้ ท� ำ ใ ห ้ ก ลุ ่ ม เ ด็ ก ได้ก็คือ ครูประจ�ำชั้นต้องลาออก
กับเสี่ยวเป่ย เม่ือพวกน้นั บังคับให้ เกเรหยุดรังแกเธอ เมื่อเธอตอบโต้ เพราะรู้สึกผิดที่ดูแลเด็กไม่ดี แต่
เธอจูบเสี่ยวเป่ยได้แล้ว พวกมันจงึ เหมอื นยิ่งยใุ หพ้ วกนั้นรงั แกหนักขอ้ ครูยืนยันว่าเฉินเหนยี นท�ำถูกต้อง
ผละจากไป หลังจากน้นั เส่ียวเป่ย ข้นึ เฉินเหนยี นนกึ ถึงช่วงท่ีผ่านมา แล้ว ไม่ว่าจะเกิดอะไรข้นึ ขอให้มุ่ง
ผู้มีวงจรชีวิตอยู่กลางดงนักเลงมา เธอเพิกเฉยต่อเรื่องราวของเพ่ือน
ตลอด การที่บงั เอญิ มาเจอกับเฉิน ท่ีถูกรังแกจนต้องฆ่าตัวตาย วันน้ี
45ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
มั่นต่อการสอบเข้ามหาวทิ ยาลัยต่อ ขอร้องให้เฉนิ เนียนยกโทษให้ เธอ น้อย ๑๐ ปี เพราะเขาไม่ใช่เยาวชน
ไป เว่ย-ไหล (รับบทโดย โจว เย่) ลบคลิปท้ังหมดแล้ว และยอมท�ำ แต่ถ้าหากเธอรับสารภาพเธอจะติด
นักเรยี นหญิงเพื่อนร่วมห้องเรียน ตามท่ีเฉนิ เหนียนต้องการทุกอย่าง คุกไม่ก่ีปี เพราะเธอยังเป็นเยาวชน
เป็นเด็กท่ีมีครอบครัวฐานะดี แต่ หากไม่แจ้งต�ำรวจ เฉนิ เหนยี น สุดทา้ ยเฉินเหนียนรบั สารภาพ เธอ
การท�ำตัวเป็นหัวโจกเกเรท�ำให้ ขอให้เว่ยไหลอย่ามายุ่งกับเธอ ถูกต้ังข้อหาฆ่าคนตายโดยประมาท
ต้องเรียนซ้�ำชั้น ท�ำให้เธอถูกพ่อ อีก แต่เว่ยไหลยังเซ้าซี้เสนอเงนิ และถูกศาลตัดสินลงโทษจ�ำคุก ๔ ปี
แม่ดุด่า พ่อนัน้ โกรธและไม่พูดกับ ให้เฉนิ เหนียนจะได้เอาไปใช้หนี้ เมอ่ื พน้ โทษออกมา เธอยงั คงมงุ่ มน่ั
เธอมานานแล้ว เว่ยไหลโกรธแค้น แทนแม่ จะได้ไม่ต้องหลบซ่อน ที่จะทำ� ให้ชีวิตเธอดขี น้ึ
เฉินเหนียนมากขึน้ จึงพาพวกมา ไร้ศักด์ิศรีแบบนี้ เฉนิ เหนียน
ดักรุมท�ำร้ายร่างกายเฉินเหนียน โกรธจงึ ผลักเว่ยไหลตกบันไดเสีย “This is our playground..
ระหว่างทางกลับบ้าน โชคร้ายท่ี ชีวิต ด้วยความรักและไม่อยากให้ This was our playground..This
เสี่ยวเป่ยเองก็ถูกต�ำรวจจับด้วย เฉนิ เหนียนสูญเสียความฝันและ used to be our playground.”
พรรคพวกของเว่ยไหลถ่ายคลิป อนาคต เสี่ยวเปย่ จงึ จัดการอ�ำพราง
วดี ีโอและส่งต่อออกไปทางโซเชยี ล ศพเว่ยไหล แต่ก็มีเหตุท่ีท�ำให้คน ขณะท่ีเฉนิ เหนยี น นง่ิ มอง
เน็ตเวิรก์ เฉิน-เหนยี นถูกจับกล้อน มาพบศพจนได้ ต�ำรวจสืบสวน ท่าทีเป็นทุกข์ของลูกศิษย์ เธอ
ผม ถกู ฉกี ท้ึงเสอ้ื ผา้ ทำ� ร้ายร่างกาย จนตามจับเส่ียวเป่ยได้ แม้จะยอม เลือกที่จะไม่เพิกเฉยต่อความเจ็บ
ต�ำราเรยี นของเธอถูกฉีกท�ำลาย สารภาพว่าเป็นคนฆ่าเว่ยไหล แต่ ปวดนัน้ การย่ืนมือเข้าไปปกป้อง
เสียงที่ดังเอะอะโวยวายท�ำให้ชาว เจ้าหน้าที่เจงิ้ ก็ไม่ปักใจเช่อื เขาเช่อื นกั เรียนของเธอ เพราะเธอรู้ดีว่า
บ้านละแวกน้ันตะโกนด่าและจะแจ้ง ว่าเฉินเหนียนจะต้องรู้เห็นเรื่อง ไม่ใช่เด็กทุกคนจะมีความสุขยามท่ี
ต�ำรวจ เว่ยไหลหยุดชะงักหันมอง น้ี และเชือ่ ว่าเฉินเหนยี นต่างหาก เล่นอยู่ในสนามเด็กเล่น ภาพท่ีเธอ
ไปรอบๆ เธอเห็นส่ิงท่ีท�ำให้ต้อง ที่เป็นคนฆ่าเว่ยไหล เจ้าหน้าที่เจง้ิ เดินไปส่งลูกศิษย์ที่บ้านโดยมีเสี่ยว
เธอยอมหยุดการกระท�ำและยอม พยายามทางหาทางช่วยเหลือทั้ง เป่ยเดินตามหลัง คอยเป็นอัศวนิ
แพ้ต่อเฉินเหนียนทุกอย่าง ส่งิ นนั้ เสี่ยวเป่ยและเฉินเหนียน แต่ท�ำ คุ้มครองท้ังสองคน ท�ำให้โลกของ
คือ กลอ้ งวงจรปิด อย่างไรเฉนิ เหนียนก็ไม่ยอมรับ เด็กน้อยน่าอยู่ข้ึนอีกมากมาย และ
สารภาพ จนเขาตอ้ งบอกความจรงิ คงมแี รงใจทจี่ ะออกลา่ ความฝนั และ
เรอื่ งราวพลิกผันหน้ามือ ว่า เส่ียวเป่ยจะต้องติดคุกอย่าง สร้างสรรค์อนาคตใหม่ที่ดีกว่าวัน
เป็นหลังมือ เมื่อเว่ยไหลเดินตาม น้ี เหมือนท่เี ฉนิ เหนยี นได้ท�ำสำ� เร็จ
มาแล้ว.
ภาพจาก Facebook: betterdaysmovie
46 บทความ
ธัญลักษณ์ นวลกั ษณกวี สมั ภาษณ์
ฟั งคนเก่าเล่าเร่ืองเยาวชน
คุณพ่อมเิ กล กาไรซาบาล, S.J.
“สันตภิ าพไม่ใช่การยอมทกุ อยา่ ง สันติภาพต้องอยบู่ นพ้ืนฐานของความยุติธรรม”
“เด็กและผู้ใหญ่ ควรสรา้ งหนทางเดินดว้ ยกันอย่างเป็นมิตร”
นับตั้งแต่การเกิดขนึ้ ของแฟลช ๑๔ ตุลา ๑๖ และ ๖ ตุลา ๑๙ ท่ี คุณพ่อ มิเกล กาไรซาบาล, S.J.
ม็อบนักเรียนมัธยมฯ และนสิ ิต อดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยไดเ้ บง่ บาน คณะเยสุอิต๑ บาดหลวงชาวสเปน
นกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยต่างๆ ทั่ว ในหัวใจของเยาวชนคนหนุ่มสาว วัย ๗๘ ปี คุณพ่อต่างชาติท่ีอยู่
ประเทศ ตามมาด้วยการออกมา ในยุคน้นั แต่ก็ต้องจบลงด้วยหยด ในประเทศไทยมานานเกินครงึ่
ชุมนุมประท้วงบนท้องถนนของ เลือดและหยาดนำ้� ตาของคนไทย ศตวรรษ ผู้รักประเทศไทยไม่ยิ่ง
นักเรียน นักศึกษา และประชาชน จำ� นวนมาก พรอ้ มทงิ้ ประวตั ศิ าสตร์ หยอ่ นไปกวา่ คนไทยทเ่ี กดิ และโตบน
เพ่ือต่อต้านรัฐบาลของพลเอก แห่งความบอบช�้ำและบทเรยี น แผ่นดนิ ไทย
ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี มากมายไว้ให้สังคมไทยได้เรยี นรู้
พร้อมข้อเรียกร้องที่ทะลุเพดาน และทบทวนอย่างมริ จู้ บ ใ น วั น ที่ คุ ณ พ ่ อ เ ฝ ้ า ม อ ง
จนกระทั่งสร้างความวิตกกังวลไป สถานการณ์ท่ีก�ำลังเกิดขึ้นด้วย
ทั้งสังคมไทยในห้วงยามน้ี ว่าจะ หลังเหตุการณ์สลายการ ความกังวลและห่วงใย เราขอให้
น�ำไปสู่สถานการณ์ท่ีรุนแรงบาน ชุมนุมและยึดคืนพื้นท่ีด้วยรถฉดี คุณพ่อช่วยให้มุมมองความคิดเห็น
ปลาย ท�ำให้หวนคิดถึงอดีตท่ีมี น�้ำแรงดนั สูงที่แยกปทุมวนั เม่ือวนั ในฐานะทท่ี า่ นเคยทำ� งานกบั เยาวชน
ความคล้ายคลึงกันของเหตุการณ์ ที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๓ ...วันถัดมา เคยเป็นจติ ตาธิการของศูนย์กลาง
ขบวนการนิสิตนกั ศึกษาในยุค ๑๗ ตุลาคม “ผู้ไถ”่ มนี ดั กับคุณพ่อ นิสิตนักศึกษาคาทอลิกในขณะนัน้
มิเกล ท่บี า้ นเซเวยี ร์ อนสุ าวรีย์ชยั ฯ เคยเดนิ รว่ มทางกบั เยาวชนคนเดอื น
๑ คณุ พอ่ มเิ กล กาไรซาบาล, S.J. นักบวชคณะเยสุอิตชาวสเปน วยั ๗๘ ปี ผู้ใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยมานานกวา่ ๕๐ ปแี ลว้ ปัจจบุ นั
คุณพ่อเป็นอาจารย์พิเศษวิทยาลัยแสงธรรม เป็นที่ปรึกษาชีวติ ด้านจติ ใจ ให้การอบรมแก่เณรคาทอลิกที่วทิ ยาลัยแสงธรรม และ
คุณพอ่ ยังเป็นวิทยากรการฝกึ ดา้ นชีวติ จิตใหแ้ ก่คริสตชนที่ให้ความส�ำคญั กับชวี ิตด้านจติ ใจ
47ผไู ถ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
ภาพ: www.voicetv.co.thตุลา เคยผ่านเหตุการณ์ชุมนุมว่าตัวเองเจบ็ (Suffer) เพราะเร่ืองน้ี ประเทศไทยอย่างแท้จริง ในทุกตัว
ภาพ: www.docomomothailand.orgทางการเมืองคร้ังส�าคัญในอดีตท้ังเพราะว่าพ่อรักประเทศไทย อยู่ในอักษรนบั จากบรรทดั ถดั จากน้ี!
๑๔ ตุลา ๑๖ และ ๖ ตลุ า ๑๙ มุม ประเทศไทยมา ๕๐ กวา่ ป”ี
มองของผู้อาวุโสคนหนง่ึ ท่ีกล่าว “ผู้ ไถ่” เร่ิมด้วยการให้
ด้วยความรู้สึกจากหัวใจว่า “ขณะน้ี ด้วยศรัทธาและเช่อื มั่น คุณพ่อมิเกลเล่าถึงที่มาของคณะ
พอ่ รสู้ กึ เหมอื นอยู่ในคนื มดื พอ่ รสู้ กึ ว ่ า ผู ้ อ ่ า น ย ่ อ ม เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม รั ก เยสุอิตที่เน้นการท�างานอบรมบ่ม
และปรารถนาดีต่อคนไทยและ เพาะเยาวชนมายาวนานนบั แต่เร่มิ
เข้ามาในประเทศไทยกระทั่งถึง
ปัจจุบัน และบา้ นเซเวียร์ อนสุ าวรีย์
ชยั สมรภมู ิ สถานทที่ เ่ี ปน็ หมดุ หมาย
ทางประวัติศาสตร์แห่งหนึง่ ของ
เหตุการณ์ ๑๔ ตุลา และ ๖ ตุลา
และเป็นสถานท่ีบ่มเพาะเมล็ดพันธุ์
ความคิดของเยาวชนคนหนุ่มสาว
และงานพัฒนา งานเพ่ือสังคม ให้
งอกงามและเติบโตมาหลายยุค
หลายสมัย สืบมาถึงเยาวชนรุ่น
ทุกวนั น้ี
คณะเยสุอิต บา้ นเซเวยี ร์ และภารกจิ งานอภิบาลนสิ ติ นกั ศึกษาคาทอลกิ
ในปี พ.ศ.๒๔๙๗ (ค.ศ.
๑๙๕๔) คณะเยสุอิตได้รับเชิญ
จากบิชอปหลุยส์ โชแรง แห่ง
สงั ฆมณฑลกรงุ เทพฯ ใหส้ ง่ สมาชิก
คณะเยสุอิตมาท�างานอภิบาลใน
ประเทศไทย และงานหลกั ของคณะ
เยสอุ ิตกค็ ือ งานเทศน์การเข้าเงียบ
ให้กับบาดหลวง นักบวช และงาน
อภิบาลนิสิตนักศึกษาคาทอลิกใน
ประเทศไทย ซ่ึงการจัดประชุมเมื่อ
วนั ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๙ (ค.ศ. ต่างๆ จา� นวน ๖๐ คน มาพบปะพดู Students’ Catholic Center –
๑๙๕๖) ถอื เปน็ ภารกจิ แรกของคณะ คยุ ทา� ความรู้จักคุ้นเคยกนั และเปน็ USCC) โดยมีคณุ พอ่ อแู จน เดอนยี ์
เยสุอิต โดยเชญิ เยาวชนคาทอลิก จดุ เริม่ ตน้ ของกลมุ่ ‘ศนู ยก์ ลางนสิ ติ ชาวฝรง่ั เศส เปน็ จิตตาธิการคนแรก
ที่ก�าลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย นักศึกษาคาทอลิก’๒ (University
๒ ปจั จบุ ัน คือ ศูนย์ประสานงานนสิ ิตนักศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
48 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๔ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
กลา่ วไดว้ า่ งานอภบิ าลนสิ ติ ส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงบทบาท ภาพ: thematter.co
นักศึกษาคาทอลิก เป็นงานท่ีคณะ ของนักศกึ ษาต่อสังคม
เยสุอิตให้ความใส่ใจมาโดยตลอด ช่วงนน้ั เร่ิมที่อนุสาวรีย์
เพราะถือว่ากลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่ม แตแ่ ลว้ ๑๔ ตลุ า เป็นหมดุ ประชาธิปไตย เขามารวมกันเพื่อ
ท่ีส�ำคัญยง่ิ จึงติดตามและอบรม หมายของประวัติศาสตร์ ตอนน้ัน เรยี กร้องอิสรภาพ เรยี กร้องให้
นักศึกษาคาทอลิก ให้ค�ำปรึกษา เปน็ รฐั บาลจอมพลถนอม กิตติขจร ปลอ่ ยตวั นักศกึ ษา ๑๓ คน ที่ถกู จับ
ด้านความเชือ่ และประเด็นทางศีล และจอมพลประภาส จารุเสถียร แล้วเร่มิ พูดคุยกันมากขึน้ สุดท้าย
ธรรม เพื่อสนบั สนุนให้เยาวชน ข ณ ะ นน้ั เ รม่ิ ก ่ อ ตั้ ง ก ลุ ่ ม ศู น ย ์ ก็บอกว่าต้องไล่รัฐบาล เรียกร้อง
คาทอลกิ ได้เติบโตในความเชอ่ื ผ่าน นักศึกษาแห่งประเทศไทยขน้ึ มา ให้มันดีข้นึ แต่รัฐบาลก็ไม่ยอม
กิจกรรมต่างๆ อาทิ การฝึกปฏิบัติ ศูนย์นกั ศึกษาก็เริ่มทดลองว่าจะท�ำ สุดท้ายผู้น�ำก็ต้องลาออกแล้วไป
จิต (Spiritual Exercises)๓ การ อะไรได้บ้าง ต่างประเทศ ต่อมาในหลวงรัชกาล
สัมมนาในหัวข้อที่เก่ียวกับชวี ติ และ ท่ี ๙ เข้ามามบี ทบาทในการแต่งต้งั
ภาระหน้าที่ของเขาในสังคม การ ตอนน้นั มีกรณี ดร.ศักดิ์ นายสัญญา ธรรมศักด์ิ เป็นนายก
อบรมภาวะผนู้ ำ� ทศั นศกึ ษาในสถาน ผาสุกนริ ันต์ เป็นอาจารย์สอนท่ี รัฐมนตรที ี่ทุกคนยอมรับ ก็เป็น
ท่ีต่างๆ และกิจกรรมท่ีได้รับความ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และท่ี ประชาธิปไตยเป็นเวลา ๓ ปี
สนใจจากนสิ ิตนักศึกษาทุกยุคสมัย มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง สอน
ก็คือ ค่ายอาสาพัฒนา หรอื ค่าย ๒ แห่ง ซึ่งเป็นการผิด คือเป็น นัก ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก เ ร่มิ
สร้างร่วมกับชาวบ้านในชนบท ท่ี กรณที ่ีนักศึกษาทดลองว่าจะท�ำ มีความร้อนรนมากยงิ่ ขึน้ เขาจงึ
ยังคงอยู่คู่กับบ้านเซเวยี ร์มาจนถึง อย่างไรได้บ้าง เขาเดินขบวนจาก เรยี กประชุมนักศึกษาคาทอลิกจาก
ทุกวันน้ี ม.รามค�ำแหง ไป ม.ธรรมศาสตร์ ประมาณ ๑๓ สถาบัน มาประชุมกัน
ประท้วงว่าต�ำแหน่งอาจารย์จะท�ำ ท่ีบ้านเซเวยี ร์ อนุสาวรีย์ชัยฯ ช่วง
คุณพ่อมิเกลเล่าว่า พ่อบวช เตม็ เวลาทง้ั สองแหง่ ไม่ได้ เป็นการ น้ันเยาวชนเรม่ิ สนใจเรอ่ื งสงั คมมาก
ในปี พ.ศ.๒๕๑๕ (ค.ศ.๑๙๗๒) และไป คอร์รัปชัน ต้องเลือกท่ีใดที่หน่ึง ยง่ิ ขนึ้ เป็นช่วง ๓ ปีทค่ี า่ ยพัฒนาได้
เรยี นต่อแลว้ กลบั มาปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ก็ปรากฏว่าส�ำเร็จ หลังจากนัน้ รับความสนใจมากข้ึน ค่ายพัฒนา
(ค.ศ.๑๙๗๓) ตอนนน้ั ท่ีพ่อมาเป็น นกั ศึกษาเริม่ เดินขบวนต่อต้านป้าย มีมาตั้งแต่ปี ๒๕๑๐ (ค.ศ.๑๙๖๗)
จิตตาธิการ นักศึกษาคาทอลิกยัง โฆษณาภาษาองั กฤษใหม้ ตี วั หนังสอื
ไมต่ น่ื ตวั เรอ่ื งสงั คม ไม่ไดส้ นใจเรือ่ ง ที่เล็กกว่าภาษาไทย ถึงแม้จะเป็น
การเมือง ยอมรับสภาพ ผู้ใหญ่ว่า เรื่องเล็กน้อย แต่ส�ำหรับเขาแสดง
อย่างไรก็อย่างน้นั ก่อน ๑๔ ตุลา ถึงความรักชาติ หลังจากนนั้ ก็เป็น
นกั ศึกษาคาทอลิกเน้นศึกษาพระ ประเด็นที่เฮลิคอปเตอร์ตกเพราะ
คัมภีร์ เรามีกลุ่มในมหาวทิ ยาลัย ไปล่าสัตว์ในทุ่งใหญ่นเรศวร แต่
พ่อก็ไปท่ีนนั่ เพื่อถวายมิสซา มี รัฐบาลบอกวา่ คอมมวิ นสิ ต์ยงิ มคี น
การศึกษาพระคัมภีร์บ้าง มีงานเข้า ตาย ปรากฏว่าพอคนไปสำ� รวจ เจอ
เงยี บ ยังเป็นเรอื่ งส่วนตัว ไม่เก่ียว ขวดเหลา้ นักศกึ ษาก็ไปกระจายขา่ ว
กับสังคม คล้ายๆ กับว่านักศึกษา ท�ำให้รัฐบาลขายหน้า
๓ การฝึกปฏบิ ัตจิ ิต (Spiritual Exercises) หมายถงึ การตระเตรยี มและก�ำหนดจิตให้หลดุ พน้ จากพนั ธนาการทั้งปวง เพื่อชว่ ยให้จิตน้นั
แสวงหาและพบพระประสงคข์ องพระเจ้า และมคี วามสขุ ในการด�ำเนินชีวิตตามพระประสงคน์ ั้น