สำ�นักงานพฒั นารัฐบาลดิจิทัล (องคก์ ารมหาชน) 49
2.5 Speech Recognition
การรู้จ�ำเสียงและค�ำพูดเป็นความสามารถในการระบุค�ำและวลีในการพูด โดยแปลงเสียงให้เป็น
รปู แบบทคี่ อมพวิ เตอรส์ ามารถอา่ นได้ โดยซอฟตแ์ วรร์ จู้ ำ� เสยี งพดู ขนั้ พน้ื ฐานนมี้ คี ำ� ศพั ทแ์ ละวลที จ่ี ำ� กดั
รวมทั้งไม่สามารถเข้าใจค�ำแสลง (Slang) หรือสุภาษิตที่มีการส่ือความหมายเชิงอุปมาอุปไมยได้
ดงั นนั้ การพฒั นาซอฟตแ์ วรร์ จู้ ำ� เสยี งในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ จะชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพใหเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์
มีความเข้าใจถึงความซับซ้อน ระดับของภาษา และโครงสร้างของภาษามากขึ้น รวมท้ังมีความ
สามารถในการเรียบเรียงประโยคและค�ำพูดท่ีเป็นธรรมชาติเหมือนมนุษย์เพ่ิมข้ึน โดยหลักการ
พน้ื ฐานของระบบรจู้ ำ� เสยี งประกอบดว้ ยการวเิ คราะหค์ ลน่ื เสยี งการถอดรหสั การรจู้ ำ� โมเดลคลนื่ เสยี ง
พจนานุกรม และโมเดลไวยากรณ์ของภาษา
ภาพท่ี 17 ภาพแสดงการท�ำงานของระบบ Speech Recognition
ตัวแปรเฉพาะ
คำพ�ด กคารลวืน่ �เคเสรียางะห
โมเดลเสียง
พจนานกุ รม
ตัวถอดรหสั กโมฏเไดวยลาภการษณา
การรูจำ
ทีม่ า: Ainsworth, 1976
50 AI for Government
2.6 Computer Vision
คอื เทคนคิ การทำ� ใหเ้ ครอ่ื งมองเหน็ ภาพ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ท�ำใหเ้ ครอ่ื งสามารถเขา้ ใจโครงสรา้ ง
และจุดส�ำคัญท่ีเป็นคุณลักษณะของภาพ รวมทั้งสามารถระบุและประมวลผลภาพในลักษณะท่ี
คล้ายคลึงกับความสามารถในการมองเหน็ ของมนษุ ย์ เทคนิคดงั กลา่ วเปน็ ทง้ั การสรา้ งความฉลาด
และสัญชาตญาณทางการมองเหน็ ของมนษุ ย์ให้แกเ่ คร่ือง
หลกั การทำ� งานของ Computer Vision คอื การแปลงจากภาพ (Image) เปน็ แบบจำ� ลอง (Model)
ท่ีคอมพิวเตอร์สามารถรับรู้และเข้าใจได้ ซ่ึงในทางเทคนิคนับเป็นเร่ืองยากท่ีจะท�ำให้คอมพิวเตอร์
สามารถจดจ�ำและจ�ำแนกรูปภาพของวัตถุต่างๆ ได้ อีกท้ังเครื่องยังต้องพิจารณาสิ่งท่ีเห็นและ
วเิ คราะหเ์ พือ่ ด�ำเนนิ การตามความเหมาะสมตอ่ ไป
Computer vision _
ถกู นำมาประยกุ ตแ ละพฒั นาเปน ระบบเพอ่ื ใชอ ำนวยความสะดวกใหเ ราหลายอยา ง เชน การรจู ำใบหนา
(Face recognition) ระบบจดจำ แยกแยะ และตรวจสอบใบหนา ที่ถูกนำมาใชเปนฟงกชันปลดล็อค
โทรศพั ทมอื ถอื เปน ตน
ภาพที่ 18 ภาพแสดงการท�ำงานของ Computer Vision
แหลง ท่มี า กภาารพปรเบะมอ้ื วงลตผนล แบงแยกชดุ ขอมลู ภาพ แบปง หรขะลอมงั มวกลูลาผภราลพ
ของภาพ ชกุดาขรอ แมบลูงแภยากพ
ทำความเขาใจภาพ การแยก
คณุ สมบตั ิ
ลักกษาณระแเยฉกพาะ ตากมาปครรจณุ ะำเภสแทนมกบัติ เฉพาะ
แอปพลิเคชน่ั
ทม่ี า: Ciric, et al., 2016
สำ�นกั งานพฒั นารฐั บาลดิจิทลั (องคก์ ารมหาชน) 51
2.7 หุ่นยนต์ (Robotics)
เปน็ หน่ึงในเทคโนโลยี AI ทต่ี อ้ งนำ� หลกั วชิ าด้านวศิ วกรรมไฟฟา้ วิศวกรรมเคร่อื งกล และวทิ ยาการ
คอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ร่วมกันเพ่ือออกแบบและพัฒนาเครื่องยนต์ให้มีรูปร่างและเคล่ือนไหว
แตกต่างกันไปตามวตั ถุประสงค์การใช้งาน ท่เี ราเรยี กกันโดยทว่ั ไปว่า “หุ่นยนต”์
ลักษณะการใชง้ านหุน่ ยนต์
n หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะ เป็นหุ่นยนต์ท่ีสร้างขึ้นมาเพ่ือท�ำงานในด้านต่างๆ
โดยไม่ค�ำนึงถึงรูปร่างที่ต้องเหมือนมนุษย์ แต่พัฒนาเพ่ือให้เหมาะแก่การท�ำงานเฉพาะด้าน
ได้แก่ หุ่นยนต์ด้านการบินและอวกาศ หุ่นยนต์ด้านการรับมือกับภัยพิบัติ หุ่นยนต์ด้านการ
ศกึ ษา หนุ่ ยนตเ์ พอื่ ความบนั เทงิ (ทพี่ ฒั นาขนึ้ เฉพาะในอตุ สาหกรรมภาพยนตรห์ รอื ความบนั เทงิ
ส่วนบุคคล) หุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม หุ่นยนต์ด้านการแพทย์ หุ่นยนต์ด้านการทหาร
หุน่ ยนตต์ น้ แบบท่พี ัฒนาใชเ้ ฉพาะในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หนุ่ ยนต์ท�ำงานใตน้ ้ำ�
n หุ่นยนต์ท่ีสนองต่อความต้องการและอ�ำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ เป็นหุ่นยนต์ที่มีการ
เคลื่อนไหวหรือมีฟังก์ชันท่ีเลียนแบบมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตต่างๆ เช่น หุ่นยนต์เพ่ือสันทนาการ
หนุ่ ยนตส์ ตั วเ์ ลย้ี ง หนุ่ ยนตด์ ดู ฝนุ่ หนุ่ ยนตต์ วั แทนมนษุ ย์ (Telepresence) หนุ่ ยนตข์ นสง่ เปน็ ตน้
n หุ่นยนตเ์ พอ่ื เพมิ่ สมรรถภาพ ไดแ้ ก่ ห่นุ ยนตส์ รา้ งขนึ้ เพือ่ ทดแทนอวัยวะหรือเพม่ิ ความสามารถ
ใหแ้ กผ่ พู้ กิ าร เชน่ แขนเทยี มกล ขาเทยี มกล เปน็ ตน้ ทงั้ นี้ ปจั จุบนั ยงั มีการพฒั นาชดุ เกราะเพอ่ื
เพม่ิ ประสิทธภิ าพใหแ้ ก่มนษุ ยด์ ว้ ย
n หุ่นยนต์ไร้คนขับทางอากาศ (Drone) นับเป็นหุ่นยนต์ประเภทหน่ึงซ่ึงเราสามารถพบเห็นได้
ท่ัวไป สามารถใช้ท�ำงานแทนมนษุ ยไ์ ด้หลายอยา่ ง เชน่ การถา่ ยภาพมุมสูง การตรวจสอบสง่ิ
ผดิ ปกตทิ างอากาศ การพน่ ยาฆา่ แมลง เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี งั ใชใ้ นการสนั ทนาการสว่ นบคุ คลดว้ ย
n หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (Humanoids) ที่สร้างข้ึนให้มีลักษณะใกล้เคียงมนุษย์ที่สุด สามารถ
แสดงออกทางอารมณไ์ ดท้ างใบหนา้ พดู คยุ โตต้ อบไดเ้ หมอื นมนษุ ย์ และอาจมกี ารพฒั นาความ
สามารถพิเศษบางอย่างให้ เช่น การวาดภาพ เป็นต้น
n รถยนต์ไร้คนขับ เป็นรถยนต์ที่ถูกพัฒนาขึ้นให้สามารถขับเคลื่อนได้เองอัตโนมัติ ปัจจุบันเริ่ม
มีการน�ำมาใช้งานแล้ว แต่ยังมีปัญหาและข้อโต้แย้งด้านจริยธรรมรวมท้ังยังไม่มีกฎหมาย
ควบคุมดูแลอย่างชัดเจน
52 AI for Government
อยา่ งไรกต็ าม เราสามารถจดั กลมุ่ เทคนคิ ของการประยกุ ตใ์ ช้ AI ไดห้ ลากหลายรปู แบบ โดยมพี นื้ ฐาน
เทคนคิ ที่เหมือนหรอื คลา้ ยคลงึ กัน ซึ่งการจดั กล่มุ ประเภทหรอื แบง่ เทคนิค AI ออกในรปู แบบต่างๆ
ตามวัตถุประสงค์ของ สพร. อาจขึ้นอยู่กับบริบทของเนื้อหา รูปแบบการน�ำเสนอ หรือกลุ่มผู้อ่าน
เปน็ หลกั กไ็ ด้ ในทน่ี ข้ี อนำ� เสนอการจดั กลมุ่ เทคนคิ ของ AI ตามมมุ มองของเทคโนโลยี (Technology
Lens: AI Techniques) ทจี่ ะทำ� ใหเ้ ราสามารถมองและทำ� ความเขา้ ใจไดง้ า่ ยขนึ้ หากเราตอ้ งการนำ�
AI ไปประยกุ ต์ใชก้ บั งานตา่ งๆ
ภาพที่ 19 การแบง่ เทคนคิ AI ตามมุมมองของเทคโนโลยี (Technology Lens: AI Techniques)
1Sensory NLP ASupdeioed& MVaicshioinne
Layer
2Behavior RPA Robot
Layer
3Cognitive SPclahnendiunlgin&g (RExeKppnreoerstweSlneytdsagtteieomn) ML
Layer
ปรบั ปรุงจาก Rao, 2018
สำ�นกั งานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน) 53
โดยการแบง่ เทคนคิ AI ตามมุมมองของเทคโนโลยสี ามารถแบง่ เทคนิค AI ออกเป็น 3 กลมุ่ ดงั น้ี
n Sensory Layer เปน็ กลมุ่ ของเทคนคิ AI ทมี่ กี ารรบั ขอ้ มลู จากสง่ิ แวดลอ้ มหรอื ในจดุ ตา่ งๆ ทเ่ี รา
ก�ำหนด ซึ่งเป็นการท�ำให้ AI มีประสาทรับรู้ข้อมูล รวมทั้งสามารถแสดงออกตาม Sensory
Feeling ไดเ้ มอ่ื ถกู กระตนุ้ จากสงิ่ เรา้ ทรี่ บั รเู้ ขา้ มา เชน่ ภาพ เสยี ง คำ� พดู การมองเหน็ ของเครอ่ื ง
อณุ หภมู ิ เปน็ ตน้
n Behavior Layer เปน็ กลมุ่ เทคนคิ ทเี่ นน้ การสรา้ งและพฒั นาพฤตกิ รรมของ AI ใหเ้ หมอื นมนษุ ย์
เช่น การจัดการเอกสารแบบซ้�ำๆ ของ RPA การผลิตเชงิ อตุ สาหกรรมของหนุ่ ยนต์ เปน็ ตน้
n Cognitive Layer เปน็ กลมุ่ เทคนคิ ทเ่ี นน้ การทำ� งานเกยี่ วกบั กระบวนการทางความคดิ และความ
เข้าใจข้อมลู เพอ่ื ทำ� ให้ AI สามารถวเิ คราะห์ ประมวลผล และตดั สนิ ใจด�ำเนินการต่อ หรอื เป็น
ขอ้ มูลเพ่อื สนบั สนุนการตัดสนิ ใจในข้นั ตอ่ ไปได้
โดยสรุปแลว ความสามารถและเทคนิคของ AI_
ในรปู แบบตา งๆ ทน่ี ำเสนอไปนน้ั เปน เทคนคิ พน้ื ฐานทเ่ี ราสามารถพบเหน็ ไดเ ปน ประจำ ทง้ั ทเ่ี ราพบเหน็
แลว รับรวู าเปน AI และแบบที่เราอาจมโี อกาสสัมผสั หรอื ใชง านอยูบอ ยๆ แตเ ราอาจไมท ราบวา เปน AI
เนื่องจากบางเทคนิคเปนเพียงเทคนิคหรือฟงกชันที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหแกระบบหรือเทคโนโลยี
ตางๆ
3. แนวทางเบอ้ื งต้นในการวิเคราะห์วา่ สงิ่ ใดเปน็ AI
เทคโนโลยีและนวัตกรรมสร้างการเปลี่ยนแปลงให้แก่สังคมและการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์มาโดย
ตลอด เทคโนโลยปี ัจจบุ นั ยอ่ มมีความสามารถเหนือกวา่ เทคโนโลยีในอดตี เชน่ เดียวกับการพฒั นา
AI ในปัจจุบันท่ีได้ข้ามขีดจ�ำกัดของ AI ในอดีตไปแล้ว ดังน้ัน AI ในปัจจุบันจึงมีความสามารถ
เพิ่มข้ึนและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานเพิ่มขึ้นตลอดเวลา จากการศึกษาและรวบรวม
ความสามารถของ AI ท้ังในสว่ นที่ท�ำงานด้วยระบบอตั โนมตั ิและระบบอัจฉริยะ พบวา่ สามารถเรา
สามารถนำ� AI มาใชง้ านไดห้ ลายประเภทมากขนึ้ โดยมตี ัวอย่างการใช้งานตามความสามารถของ
AI ดงั รปู ที่ 20
54 AI for Government
ภาพที่ 20 ตัวอยา่ งวิธีการน�ำ AI มาใช้งานตามความสามารถของ AI
ตวั อยางตาม ตวั อยาง ผลที่ได
ประเภทการใชงาน ตามการใชงานเฉพาะ
ระบบทำงานซ้ำอัตโนมัติ
ระบบอัตโนมัติ กฏทีก่ ำหนดข้�น การจัดการกระบวนการ ระบบแจงเตอื น
กระบวนการและ ทางธรุ กิจ
ปญญา การตดั สนิ ใจ ระบบเลือกคำตอบท่ีดที ่ีสดุ
ประดษิ ฐ โรบอทสำหรับ การพด� อัตโนมตั ิ
หุนยนต งานออฟฟศ� การเข�ยนอัตโนมัติ
การประมวลผล แชทบอท / ผูชว ยอจั ฉรย� ะ การจัดกลุมอตั โนมตั ิ
เหตุการณพ �้นฐาน
เหตกุ ารณ เหตกุ ารณที่ซบั ซอ น ทำนายขอเสนอแนะ
การจัดการความรู ระบบตอบคำถาม คะแนนการปฏิบัติ
เชิงคาดการณ พบบอ ยทซี่ บั ซอ น การจดั อนั ดับ
ขอ ความเปน คำพด� การคาดการณ
ประมวลผล
ภาษาธรรมชาติ การแปล
เสียงพ�ดเปนขอ ความ
ภาพเปนขอ ความ
ระบบ ัอจฉ �รยะ การเรย� นรู การเรย� นรูแบบ การเรย� นรู ระบบการรูจ ำใบหนา
ของเครอ่� ง ไมม ีผสู อน เชงิ ลกึ จำแนกประเภท
การเรย� นรู
การเรย� นรแู บบ โมเดลพ�น้ ฐาน การพยากรณเ ชิงตัวเลข
เสรม� กำลงั ประเมนิ ความนาจะเปน
การเรย� นรูแบบ การเพ่ม� ประสิทธิภาพ
มีผสู อน
ทีม่ า: จากการสรุปและรวบรวมขอ้ มลู ของ สพร.
หากเราตอ้ งการรหู้ รอื สงสยั วา่ แลว้ สง่ิ ตา่ งๆ ทอี่ ยรู่ อบตวั เรา ทง้ั เทคโนโลยี นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรอื อปุ กรณ์
ดจิ ิทลั ทอ่ี ย่รู อบตวั เราเปน็ AI หรอื ไม่ เราสามารถใชผ้ งั การวเิ คราะห์ AI ดา้ นลา่ งเพ่ือประเมนิ ในเบ้ืองตน้
สำ�นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) 55
ภาพที่ 21 ผังวเิ คราะห์ AI
กลอง
ไมได ไมได ธรรมดา
เหน็ ระบสุ ิ�งทีเ่ หน็
ไดไหม ได ไดไหม ได Computer
Vision &
Image
Processing
มกี ารแปล
ความ ไมค
ฟง� ไมได ตอบสนอง ไมได สารท่ีไดร บั ไมได ธรรมดา
ไดไหม อยา งสมเหตุ
ได สมผลไหม ได Natural ได Speech
Language Recognitions
Processing
เร�่มตน อา น ไมได อานสง�ิ ท่ี ได ได วเ� คราะห ได Read
ไดไหม มนษุ ย อานไวยากรณ รูปแบบของ ไมได Aloud
ขอความได
ได พม� พไดไหม ไมได ของขอ ความ ไมได
AI
เคลือ่ นไหว ไมได เคลอื่ นไหว ได เคลือ่ นไหว ได ไมไดเ คล่อื นไหว ได Autobot
ไดไหม ตอบสนองตอ ตามโปรแกรมที่ หุน ยนต
ไดเองไมต อง สงิ� ที่ไดเ หน็ / กำหนดไว ของเลน
ได มีตวั ชว ย ไดยนิ ลว งหนา
ไมได ไมได ไมได
โหลดรปู แบบ ใชร ูปแบบท่ี
ใชเหตผุ ล ได จากขอมูล ได เร�ยนรมู า ได Machine
ไดไหม จำนวนมหาศาล เปน ตัวตัดสินใจ Learning
ไมได ไมได ไมได
ที่มา: จากการสรุปและรวบรวมขอ้ มูลของ สพร.
หน่วยงานภาครัฐสามารถใช้ผังน้ีวิเคราะห์ได้เช่นกันว่าบริการสาธารณะท่ีให้บริการในรูปแบบดิจิทัลของ
หน่วยงาน หรือระบบบริการกลางของรัฐบางระบบ หรือรูปแบบการให้ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานต่อ
ประชาชน อาจเป็น AI หรือใกลเ้ คียงกบั ความเปน็ AI หรอื ไม่ นอกจากนี้ ผงั วเิ คราะห์ดงั กล่าวยังมีประโยชน์
ในแงข่ องการวเิ คราะหว์ า่ บรกิ ารหรอื โครงการทห่ี นว่ ยงานกำ� ลงั พฒั นามคี วามเปน็ AI หรอื ไม่ ซงึ่ จะมปี ระโยชน์
ต่อการปรับปรุงวัตถุประสงค์และขอบเขตของแผนงานหรือโครงการให้มีความเหมาะสมต่อรูปแบบ
การด�ำเนินงานมากย่ิงขึน้
56 AI for Government
4. ประโยชนข์ อง AI ส�ำหรบั ภาครฐั
หากพจิ ารณาถงึ การนำ� AI มาใชแ้ กป้ ญั หาการบรหิ ารงานและบรกิ ารภาครฐั เปน็ หลกั สามารถสรปุ
ประโยชนไ์ ด้ ดงั นี้
4.1 เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน
แนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่เป็นแนวทางบริหารจัดการภาครัฐในปัจจุบัน ค�ำนึง
ถึงการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพ่ิมประสิทธิภาพให้แก่การท�ำงานภาครัฐ หากภาครัฐสามารถ
น�ำ AI มาใช้ทดแทนการท�ำงานและการใหบ้ รกิ ารของภาครัฐได้กจ็ ะช่วยสรา้ งการเปลย่ี นแปลงให้
แก่ท�ำงานของรัฐไปในทางท่ีดีข้ึน ซ่ึงหากน�ำ AI มาใช้จะสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพของภาครัฐได้
หลายประการ ดงั น้ี
n การใหบ้ รกิ ารสาธารณะทมี่ คี ณุ ภาพเนอื่ งจากAIสามารถตอบสนองไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ประมวลผล
ได้อย่างแม่นย�ำ และสามารถท�ำงานได้ตลอดเวลา ดังนั้น บริการสาธารณะท่ีประมวลผล
การทำ� งานและใหบ้ รกิ ารดว้ ยAIจงึ สามารถใหบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทกุ ที่และทกุ เวลาตลอดจน
AI ยังเพิม่ ความแม่นย�ำในการทำ� งานและลดขอ้ ผดิ พลาดจากการท�ำงานไดอ้ กี ดว้ ย
n ช่วยแก้ไขปัญหาความซ�้ำซ้อนในการท�ำงานและลดการบริหารจัดการแบบรวมศูนย์
(Centralized) ของหน่วยงานของรฐั เช่น การพิจารณาอนมุ ัตติ ามลำ� ดบั ขัน้ การพจิ ารณาท่ี
ซ้�ำซ้อนของหน่วยงานทีม่ อี �ำนาจในการพิจารณาหลายหนว่ ยงาน เป็นตน้ ซ่งึ การน�ำ AI มาใช้
จะชว่ ยเพม่ิ อสิ ระในการทำ� งานและการใหบ้ รกิ ารของจดุ ใหบ้ รกิ าร สว่ นราชการในระดบั ภมู ภิ าค
และหน่วยงานของรัฐในระดับท้องถ่ิน โดยจะช่วยในการวิเคราะห์ พิจารณา และตัดสินใจ
ดำ� เนินการได้ในแบบเดียวกบั หนว่ ยงานภาครฐั สว่ นกลาง ส่งผลให้การท�ำงานโดยรวมใชเ้ วลา
นอ้ ยลง ดงั นั้น การทำ� งานและการใหบ้ รกิ ารจงึ มีประสทิ ธภิ าพเพ่ิมขนึ้
n สร้างมาตรฐานให้แก่การท�ำงานของภาครัฐ ปัจจุบันการท�ำงานและการให้บริการของ
ภาครฐั ยงั ตอ้ งอาศยั การใหว้ จิ ารณญาณของเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจในการดำ� เนนิ การเรอ่ื งนน้ั ๆ ซงึ่
กอ่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งมาตรฐานทไ่ี มเ่ ทา่ เทยี มกนั ในการใหบ้ รกิ าร สาเหตอุ าจเกดิ จากประสบการณ์
และวุฒภิ าวะทีแ่ ตกต่างกันจงึ สง่ ผลให้การตัดสนิ ใจด�ำเนนิ การของเจ้าหนา้ ท่ีแตกตา่ งกันตาม
ไปด้วย ดังนั้น หากนำ� AI จึงสามารถช่วยสรา้ งมาตรฐานในการท�ำงานและการใหบ้ ริการของ
ภาครฐั ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
n สามารถวัดผลการท�ำงานและการให้บริการไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมและแม่นย�ำ เน่ืองจาก
การท�ำงานด้วย AI เป็นการท�ำงานบนพ้ืนฐานของข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล ดังน้ันข้อมูลการ
ทำ� งานและการใหบ้ รกิ ารทกุ อยา่ งจะถกู เกบ็ ไวท้ ง้ั หมด (Log File) ซง่ึ จะชว่ ยใหก้ ารตดิ ตามและ
การประเมินผลการท�ำงานในแต่ละด้านเป็นไปได้โดยง่ายบนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริง
อีกทั้งยังช่วยเพิ่มความโปร่งใสให้แก่การท�ำงานของรัฐทั้งระบบ ตลอดจนสามารถน�ำข้อมูล
ส�ำ นกั งานพัฒนารฐั บาลดจิ ิทลั (องคก์ ารมหาชน) 57
ดังกล่าวมาวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจในการรับบริการของประชาชนก็สามารถท�ำได้ง่าย
และแม่นยำ� โดยท่ีไมต่ ้องอาศัยการสอบถามหลายข้ันตอนแบบในอดีต
n ชว่ ยแกไ้ ขปญั หาการทำ� งานและการใหบ้ รกิ ารของภาครฐั ไดอ้ ยา่ งตรงจดุ เนือ่ งจาก AI จะ
ค่อยๆ เรียนรู้และสร้างประสบการณ์ในการวิเคราะห์และตัดสินใจจากข้อมูลการท�ำงานจาก
ภาครัฐและการขอรับบริการของประชาชน เม่ือ AI เรียนรู้มากขึ้นก็จะสามารถวิเคราะห์และ
ตัดสินใจได้อย่างแม่นย�ำและตรงความต้องการของท้ังผู้ให้บริการและผู้รับบริการ นอกจากน้ี
ยังสามารถแก้ปัญหาการบริการทรัพยากรของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้นได้ด้วย เช่น
การบริหารบุคลากรภาครัฐที่สามารถออกแบบการพัฒนาบุคคลได้ตรงตามวัตถุประสงค์และ
ความต้องการของบุคลากร การบริหารพัสดุที่มีประสิทธิภาพและเตือนให้ส่ังสินค้าเข้าเม่ือมี
จ�ำนวนคงเหลือน้อย เปน็ ต้น
n ชว่ ยแกไ้ ขปญั หาชว่ ยแกป้ ญั หาการทจุ รติ ในภาครฐั การน�ำ AI มาใช้ส�ำหรับงานภาครัฐมี
ประโยชน์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานตามท่ีได้กล่าวข้างต้น ย่อมส่งผลกระทบต่อ
การท�ำงานภาครัฐในรูปแบบเดิมที่มีระบบการท�ำงานโดยอาศัยคนเป็นหลัก รวมทั้งยังส่งผล
ต่อความน่าเช่ือถือและความเช่ือม่ันต่อการท�ำงานของภาครัฐท้ังระบบซึ่งเป็นผลดีต่อปัญหา
การทจุ รติ ของภาครฐั ในปจั จบุ นั เนอ่ื งจากงานภาครฐั จะมมี าตรฐานทด่ี แี ละสามารถตรวจสอบ
ได้ทัง้ กระบวนการ
4.2 ลดการใชท้ รพั ยากร
ทรพั ยากรในทนี่ ม้ี คี วามหมายใกลเ้ คยี งกบั ความหมายของทรพั ยากรการผลติ ในทางเศรษฐศาสตร์ 2
หากวเิ คราะหเ์ ฉพาะทรพั ยากรของภาครฐั ทสี่ ามารถลดการใชท้ รพั ยากรได้ คอื แรงงาน งบประมาณ
และการประหยดั เวลา ซึ่ง AI สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ การลดใชท้ รัพยากรของภาครฐั ได้ ดงั น้ี
n ลดการใชก้ ำ� ลงั คนของภาครฐั เนอ่ื งจากAIสามารถทำ� งานทมี่ กี ระบวนการชดั เจนไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
เนื่องจากมีการประมวลผลท่ีมีประสิทธิภาพ และสามารถท�ำงานได้ตลอดเวลาแม้ในขณะท่ี
มนษุ ยพ์ กั ผอ่ น ซง่ึ ตรงกบั แนวโนม้ การใหบ้ รกิ ารสาธารณะของรฐั ทม่ี เี ปา้ หมายในการใหบ้ รกิ าร
แก่ประชาชนได้ทุกทที่ กุ เวลา
2 ทรัพยากรการผลิต (Productive resource) ในทางเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ ที่ดิน (Land) แรงงาน (Labour)
ทุน (Capital) และผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneur)
58 AI for Government
n ลดการใชง้ บประมาณ ในการน�ำ AI มาใช้ในครง้ั แรกยอ่ มมกี ารลงทุนและใชง้ บประมาณเปน็
จ�ำนวนมากในการพฒั นาเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั งานของภาครัฐ ซ่ึงการน�ำ AI มาใชจ้ �ำเป็น
ต้องมีการลงทนุ ใน 3 ส่วนหลกั ไดแ้ ก่ การลงทนุ ในฮาร์ดแวร์ การลงทุนในซอฟท์แวร์ และการ
ลงทุนในการจดั เตรยี มองคค์ วามรใู้ ห้ AI เน่ืองจาก AI ตอ้ งการการเรยี นรขู้ ้อมูลของมนุษยเ์ พ่อื
ใชส้ ร้างรูปแบบในการตดั สินใจทแี่ มน่ ยำ�
อยา่ งไรกต็ าม เมอื่ มกี ารนำ� AI มาใชก้ บั งานของภาครฐั ในระยะหนง่ึ เมอ่ื เราเปรยี บเทยี บตน้ ทนุ
ของการท�ำงานแบบเก่ากับการท�ำงานแบบใหม่โดยใช้ AI ก็จะทราบจุดคุ้มทุน (Breakeven
Point) 3 ของงานภาครัฐ ซึ่งการท�ำงานหลังจากน้ีของ AI จะเปรียบเหมือนการท�ำก�ำไรของ
ภาคเอกชน
n ลดการใชเ้ วลาในการทำ� งาน หากต้องปฏิบัติงานท่ีมีข้ันตอนเดิมซ�้ำๆ เราสามารถปฏิเสธได้
ยากว่าการท�ำงานของมนุษย์มีประสิทธิภาพน้อยกว่าการท�ำงานของเคร่ืองจักรอย่าง AI
เนอื่ งจากเครอ่ื งจกั รไมเ่ หนอ่ื ย ไมเ่ มอื่ ยลา้ และไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งใชเ้ วลาพกั ผอ่ น ขอ้ ผดิ พลาดทเี่ กดิ
ขึ้นจากปัจจัยดังกล่าวจึงมีโอกาสเกิดขึ้นน้อย อีกคร้ังเครื่องจักรยังสามารถท�ำงานได้ตลอด
เวลาซงึ่ จะชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพใหแ้ กก่ ารทำ� งานของภาครฐั ตามความคาดหวงั ของประชาชน
ได้เป็นอย่างดี
4.3 เพม่ิ ผลิตภาพ (Productivity)
ผลิตภาพ คือ ประสิทธิภาพของการผลิตที่ก่อผลผลิตมีปริมาณ คุณภาพ หรือมูลค่าท่ีสูงข้ึน โดย
Accenture ไดค้ าดการณ์วา่ ในปี 2035 AI จะสามารถเพม่ิ ผลิตภาพด้านแรงงาน (Boost Labour
Productivity) ได้ 11% สำ� หรับสเปน และ 37% สำ� หรับสวีเดน ซ่ึงตัวเลขที่แตกต่างกันของทง้ั สอง
ประเทศขึ้นอยู่กับความสามารถในการน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในระบบเศรษฐกิจของ
ประเทศนั้นๆ ดังนั้น การเพ่ิมผลิตภาพของภาครัฐจึงหมายถึงการยกระดับการท�ำงานของภาครัฐ
ใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ ทง้ั การลดระยะเวลาในการทำ� งานและการใหบ้ รกิ ารอยา่ งโปรง่ ใสตามความตอ้ งการของ
ประชาชนเชน่ เดยี วกบั การทำ� งานและการใหบ้ รกิ ารของภาคเอกชน เมอ่ื เปรยี บเทยี บการใชท้ รพั ยากร
การใหบ้ รกิ ารในรปู แบบเดมิ และการพฒั นาบรกิ ารโดยใช้ AI แลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ ในระยะเวลาเทา่ เดมิ
การบรกิ ารโดยใช้ AI ใชค้ นลดลงแตส่ ามารถใหบ้ รกิ ารประชาชนผรู้ บั บรกิ ารไดเ้ พม่ิ ขนึ้ โดยในภาพรวม
ของประเทศจะสามารถสง่ เสรมิ ใหเ้ ศรษฐกจิ ของประเทศดขี นึ้ มกี ารลงทนุ เพมิ่ ขนึ้ เนอ่ื งจากนกั ลงทนุ
ได้รับการอ�ำนวยความสะดวกจากภาครัฐ และท้ายท่ีสุดจะช่วยส่งเสริมให้ประเทศพัฒนาอย่าง
เหมาะสมและยง่ั ยืน
3 ในการค�ำนวณจุดคุ้มทุนของการน�ำ AI มาท�ำงานทดแทนแรงงานในภาครัฐอาจใช้เวลาหลายปี และปัจจุบันยัง
ไมม่ แี นวทางการคำ� นวณการนำ� AI มาใชท้ ดแทนแรงงานภาครฐั ทช่ี ดั เจน เนอ่ื งจากบรบิ ทของภาครฐั แตล่ ะประเทศ
มีความแตกต่างกนั
ส�ำ นกั งานพัฒนารัฐบาลดจิ ิทลั (องคก์ ารมหาชน) 59
4.4 เพิ่มคณุ ภาพชีวติ
นอกจากภาครฐั ทไี่ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการทำ� งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ลดทรพั ยากร และเพม่ิ ผลติ
ภาพให้แก่งานของภาครัฐดังท่ีกล่าวไว้แล้ว AI ยังส่งผลถึงต่อความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ
การทำ� งานและการใหบ้ รกิ ารของภาครฐั เนอ่ื งจากประชาชนเปน็ ผรู้ บั บรกิ ารและสวสั ดกิ ารโดยตรง
จากภาครัฐ ในข้อนีจ้ งึ เนน้ ถงึ คุณภาพชีวติ ของบคุ ลากรภาครัฐและประชาชนทด่ี ขี ึ้น ดังนี้
n คณุ ภาพชวี ติ ของบคุ ลากรภาครฐั ดขี นึ้ การท�ำงานและการให้บริการของภาครัฐจ�ำเป็นต้อง
ให้บริการในทุกพ้ืนท่ีอย่างท่ัวถึง ไม่มีข้อยกเว้นแม้ในพ้ืนที่ท่ีมีความเสี่ยงหรืออันตรายจาก
การทำ� งาน เชน่ พนื้ ทที่ มี่ กี ารแพรก่ ระจายของมลพษิ ทสี่ งู ในเขตอตุ สาหกรรม พน้ื ทท่ี ม่ี คี วามเสยี่ ง
ต่อการถูกโจมตี ความเส่ียงในการเป็นโรคออฟฟิศซินโดรมของบุคลากรภาครัฐท่ีท�ำงานใน
ส�ำนกั งาน เป็นต้น ซ่ึงในกรณีดังกล่าว AI สามารถทำ� งานและใหบ้ รกิ ารแทนบคุ ลากรภาครฐั
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
n คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนดขี นึ้ จากการทภ่ี าครฐั นำ� AI มาใชใ้ นการใหบ้ รกิ ารสาธารณะแก่
ประชาชนทำ� ใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารไดท้ กุ ท่ีทกุ เวลาประชาชนไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเดนิ ทาง
ไปในพื้นท่ีที่มีความเส่ียง หรือต้องใช้เวลาในการเดินทางหรือรอเข้าคิวขอรับบริการ โดยอาจ
ต้องลางานหรือต้องท้ิงเดก็ หรอื ผู้สงู อายุไว้ท่ีบา้ น
บทที่ 2
ทิศทาง AI
ของโลก
สำ�นักงานพฒั นารฐั บาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) 61
บทสรปุ : บทท่ี 2
ประเทศ อตุ สธารุ หกจิก/รรม ภาครฐั วจ� ัยและพัฒนา จร�ยธรรม ทกั ษะ
ยุโรป
สหภาพยโุ รป
สหราชอาณาจักร
เยอรมนี
อติ าลี
กลุมสแกนดเิ นเว�ย
เดนมารก
ฟน� แลนด
อเมร�กาเหนอื และอเมรก� าใต
สหรัฐอเมร�กา
แคนาดา
เมก็ ซโิ ก
กลุมตะวนั ออกกลาง
อาหรบั เอมิเรตส
เอเชีย
จนี
ญี่ปนุ
อาเซียน
สงิ คโปร
62 AI for Government สหราชอาณาจกั ร (United Kingdom)
บทสรปุ : บทที่ 2 รัฐบาลสหราชอาณาจักรได้วางเป้าหมายเป็นผู้น�ำ
ระดับโลกด้าน AI โดยการน�ำ AI มาใช้เป็นกลยุทธ์ใน
กลมุ่ สหภาพยโุ รป (European Union) การขบั เคลอ่ื นอตุ สาหกรรมขนาดใหญร่ ว่ มกบั ภาคเอกชน
ที่ครอบคลุมการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาของภาครัฐ
กลมุ่ สแกนดเิ นเวีย (Scandinavia) และเอกชน ตลอดจนได้มกี ารเปดิ ตัวศูนยจ์ ริยธรรมและ
นวัตกรรมดา้ นข้อมลู ข้นึ ในปี 2018
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic
of Germany)
คณะรัฐมนตรีของเยอรมนีได้ประกาศกลยุทธ์ด้าน AI
ระยะส้ัน ภายใต้แนวคิด “AI made in Germany”
ที่ต้องการให้เทคโนโลยี AI ที่ผลิตในเยอรมนีเป็น
เครื่องหมายคุณภาพท่ีได้รับการยอมรับทั่วโลก โดยมี
กลยทุ ธ์ เชน่ การสง่ เสรมิ ดา้ นการวจิ ยั การพฒั นาบรกิ าร
ภาครฐั และการพัฒนาจรยิ ธรรมด้าน AI
ราชอาณาจกั รเดนมารก์ (Kingdom of Denmark)
เดนมาร์กไม่มีการก�ำหนดกลยุทธ์ด้านการพัฒนา AI
เป็นการเฉพาะ แต่ได้มีการตั้งเป้าหมายในการสร้างให้
เดนมาร์กเป็นผู้น�ำการปฏิวัติด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดย
มีเป้าหมายหลักในการสนับสนุนภาคธุรกิจ และพัฒนา
ทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลเพ่ือเพ่มิ ความสามารถทางการแข่งขัน
สาธารณรัฐฟินแลนด์ (Republic of Finland)
รัฐบาลฟินแลนด์ได้เร่ิมต้นการจัดท�ำกลยุทธ์ด้วย
การศกึ ษาแนวทางการประยกุ ตใ์ ช้ AI โดยมรี ายงานสำ� คญั
จำ� นวน 2 ฉบับ ไดแ้ ก่ “Age of Artificial Intelligence”
ท่ีส�ำรวจจุดแข็งและจุดอ่อนของฟินแลนด์ในด้าน AI
และ “Work in the Age of Artificial Intelligence”
ทใ่ี หข้ อ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายในดา้ นผลกระทบตอ่ ตลาด
แรงงานในอนาคต
สำ�นกั งานพัฒนารัฐบาลดจิ ิทลั (องคก์ ารมหาชน) 63
กลุม่ ทวปี อเมรกิ า (North and South America) สหรฐั อเมรกิ า (United States of America)
กลุ่มตะวนั ออกกลาง (Middle East)
รัฐบาลได้แต่งต้ังคณะกรรมการด้านปัญญาประดิษฐ์
เพ่ือขับเคล่ือนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี AI
และสนับสนุนการสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐบาล
ภาคอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา นอกจากนี้
ยงั มงุ่ เนน้ การขจดั อปุ สรรคดา้ นกฎระเบยี บในการสรา้ งสรรค์
นวัตกรรมเพื่อให้ภาคเอกชนสามารถสร้างสรรค์
นวตั กรรม AI ไดม้ ปี ระสิทธภิ าพ
สหพันธรัฐแคนาดา (Canadian Confederation)
แคนาดาเป็นประเทศแรกท่ีประกาศกลยุทธ์ AI ระดับ
ชาติ “Pan-Canadian” ทเ่ี ปน็ แผนกลยทุ ธร์ ะยะ 5 ปี ทเ่ี นน้
การวิจัยและพัฒนาความสามารถพิเศษของ AI โดยมี
CIFAR (Canadian Institute for Advance Research)
ทำ� หนา้ ทต่ี รวจสอบนโยบายและผลกระทบทางจรยิ ธรรม
ของ AI
สหรัฐอาหรับเอมเิ รตส์ (United Arab Emirates)
รฐั บาล UAE เปดิ ตัวกลยุทธ์ AI ในเดอื นตลุ าคม 2017
โดยเป็นประเทศแรกในกลุ่มตะวันออกกลางที่พัฒนา
กลยทุ ธ์ AI และเปน็ ประเทศแรกของโลกทม่ี กี ารสถาปนา
“กระทรวงปญั ญาประดษิ ฐ์” ซ่ึงเปน็ แนวทางการพัฒนา
ของแผน “UAE Centennial 2071” ทม่ี เี ปา้ หมายหลกั ใน
การใช้ AI เพ่มิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของรฐั บาล
64 AI for Government สาธารณรฐั ประชาชนจนี
(People’s Republic of China)
กลุม่ เอเชีย (Asia)
จีนประกาศความมุ่งม่ันในการเป็นผู้น�ำของโลกด้าน AI
กลุม่ อาเซียน (ASEAN Community) ผ่านแผน “Next Generation AI Development” เมื่อ
กรกฎาคม 2017 โดยแผนดังกล่าวครอบคลุมกลยุทธ์
AI ท้ังหมดของประเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อวิจัยและ
พฒั นาอตุ สาหกรรม พฒั นาความสามารถดา้ นการศกึ ษา
และทักษะที่ส�ำคัญ และการก�ำหนดมาตรฐานและ
กฎระเบยี บรวมทงั้ ทางจรยิ ธรรมและความปลอดภัย
ญ่ีปนุ่ (Japan)
ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่สองของโลกในการพัฒนากลยุทธ์
ด้าน AI ซ่ึงเกิดขึ้นจากแนวคิดของนายกรัฐมนตรี
ชินโซ อาเบะ ในการเจรจาสาธารณะ ด้วยการจัดต้ัง
สภายุทธศาสตร์ส�ำหรับเทคโนโลยี AI ที่มีวัตถุประสงค์
ในการพัฒนาการวิจัยและแผนงานส�ำหรับการพัฒนา
อุตสาหกรรม AI โดยมีตัวแทนจากสถาบันการศึกษา
ภาคอุตสาหกรรม และภาครัฐ
สาธารณรฐั สงิ คโปร์ (Republic of Singapore)
AI Singapore เป็นโครงการระดับประเทศท่ีเริ่มต้นใน
เดือนพฤษภาคม 2017 โดยมีระยะเวลาการด�ำเนิน
โครงการ 5 ปี เพื่อปรับปรุงขีดความสามารถของ AI
ในสิงคโปร์ โดยมีเป้าหมายเพ่ือลงทุนในคล่ืนลูกใหม่
ของการวิจัย AI จัดการกับความท้าทายทางสังคมและ
เศรษฐกิจที่ส�ำคัญ และขยายการยอมรบั และการใช้ AI
ในภาคอุตสาหกรรม
สำ�นกั งานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคก์ ารมหาชน) 65
หลกั การและจรยิ ธรรมในการพฒั นา AI
“Asilomar AI Principles” ซึ่งเกดิ ข้ึนจากการหารอื ตกลงร่วมกันระหวา่ งกล่มุ นักวจิ ัย นักเศรษฐศาสตร์ นักกฎหมาย
นักจรยิ ศาสตร์ และนักปรัชญา ประกอบไปดว้ ยหลกั การ 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่
ประเดน็ ดา นการว�จัย ประเด็นดา นจร�ยธรรม ประเดน็ ระยะยาว
(Research Issues) (Ethics and Values) (Long-term Issues)
ยกตวั อย่างเช่น ยกตัวอยา่ งเชน่ ยกตวั อย่างเชน่
n จุดมุง่ หมายของงานวจิ ยั n ระบบ AI ตอ้ งปลอดภัย n AI ท่ีสามารถพัฒนา
ควรเปน็ ไปเพอ่ื สร้าง AI ท่ี ตลอดอายกุ ารใช้งาน ตัวเองได้ ควรอยภู่ ายใต้
ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ n การใช้ข้อมูลสว่ นบุคคล การควบคุมอย่างใกล้ชดิ
n นกั วจิ ยั และผอู้ อกนโยบาย ของ AI ไม่ควรละเมิดสิทธิ n ควรมีการระบแุ ละ
ควรท�ำงานร่วมกัน เสรภี าพของบุคคลน้ัน ออกมาตรการรบั มือ
n นักวจิ ยั และนกั พฒั นา AI n ควรหลีกเล่ียงการแขง่ ขัน ผลกระทบและความเสีย่ ง
ควรมคี วามไว้ใจ และ ด้านการพัฒนาอาวุธ อันเกิดจากการใช้ AI
ความโปรง่ ใสในการ อตั โนมตั ิ
ท�ำงานรว่ มกัน
คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปได้ Human Ethics Account-
ประกาศ “Ethics Guidelines for Agency Guidelines ability
Trustworthy AI” เพื่อเป็นแนวทาง for Trustworthy Societal and
ในการสง่ เสรมิ ให้ยโุ รปมีการพฒั นา and Environmental
AI ท่ีมีความก้าวหน้า มีจริยธรรม Oversight AI Wellbeing
และ ปลอดภัย โดยการสร้าง “AI Technical
ท่ีเชื่อถือได้” (Trustworthy AI) มี Robustness
ประเดน็ ส�ำคัญดังตอ่ ไปนี้ and Safety
Privacy and Diversity,
Data Non-
Governance discrimination
and Fairness
Transparency
66 AI for Government
บทท่ี 2 : ทศิ ทาง AI ของโลก
โลกปัจจุบันเป็นโลกของการน�ำเทคโนโลยีมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ
สภาพแวดลอ้ มต่างๆ เพอ่ื พฒั นาชวี ิตความเปน็ อยู่ของคนมคี ุณภาพดขี ึ้น เราจงึ ไดเ้ หน็ ตา่ งประเทศ
คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีข้ึนมาโดยตลอด ท้ังเพื่อวัตถุประสงค์ในการสร้างความ
กินดีอยู่ดีให้แก่ประชาชน และเพื่อแย่งชิงความได้เปรียบในเวทีโลกให้แก่ประเทศ โดยไม่เฉพาะ
แต่ประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่เท่านั้น แม้แต่ประเทศท่ีมีขนาดเล็ก
หรอื ประเทศทกี่ ำ� ลงั พฒั นากต็ า่ งพยายามหาแนวทางในการสรา้ งความไดเ้ ปรยี บใหแ้ กป่ ระเทศของ
ตนด้วยเทคโนโลยเี ชน่ กัน
เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความสามารถหลากหลายอยา่ ง AI จงึ ถกู น�ำมาใชเ้ ป็นกลยทุ ธท์ ี่รฐั น�ำมาใช้แก้
ปัญหาให้แก่ประชาชนในด้านต่างๆ และน�ำมาใช้เพื่อสร้างความได้เปรียบให้แก่ประเทศอีกหลาย
ด้าน ซ่ึงข้ึนอยู่กับแนวคิดสร้างสรรค์ในการน�ำ AI มาใช้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง ดังนั้น AI จึงนับ
เป็นเทคโนโลยีที่ส�ำคัญในฐานะเป็นเคร่ืองมือทางเลือกเพื่อใช้เพ่ิมขีดความสามารถของประเทศ
สนับสนุนการด�ำเนินนโยบายของรัฐบาล และยกระดับการท�ำงานของรัฐให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ตลอดจนเพอ่ื สนองต่อความต้องการของประชาชนไดต้ รงตามความตอ้ งการ
สำ�นกั งานพัฒนารัฐบาลดจิ ิทลั (องคก์ ารมหาชน) 67
ภาพท่ี 22 ภาพรวมการจดั ทำ� แผนกลยทุ ธด์ ้าน AI ของต่างประเทศ
Artificial Intelligence Strategies
March: May: October: December: January: March: April: April: May: May: June: Fall 2018:
Pan AI AI Finland’s Budget AI at First UK AI White House Sweden’s Towards an EU’s
Canadian Singapore Strategy AI for AI the Service Workshop Sector Summit AI AI Strategy AI
AI Strategy Announced 2031 Strategy Taiwan of Citizens for Strategy Deal on AI Strategy in Mexico Strategy
2017 2018
March: July: December: January: January: March: April: May: May: June: Fall 2018:
AI Next Three-Year Blockchain Strategy France’s Communication Australian AI National Germany’s
R&D Strategy
Technology Generation Action and AI for Digital AI on Budget Strategy for AI AI
Strategy AI Plan Plan Task Force Growth Strategy AI Strategy
ท่มี า: Dutton, 2018
68 AI for Government
จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้าน AI พบว่าหลายประเทศให้ความส�ำคัญกับเทคโนโลยี AI
และได้วางนโยบายการน�ำ AI มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาประเทศในรูปแบบกลยุทธ์เฉพาะ
ด้าน AI จากรปู จะเห็นได้ว่าประเทศท่ีให้ความสำ� คัญกบั การนำ� AI มาใช้เป็นกลยุทธ์สว่ นใหญ่เป็น
ประเทศผู้น�ำของโลกด้านเศรษฐกิจและประเทศท่ีพัฒนาแล้ว โดยมีแคนาดาเป็นประเทศแรกที่มี
การวางกลยุทธด์ า้ น AI ในเดือนมีนาคม 2017 ไลเ่ รียงกนั มากับจนี และสิงคโปร์เปน็ ประเทศแรกใน
อาเซียนทใี่ ห้ความสนใจและมกี ารวางกลยทุ ธด์ ้าน AI ในล�ำดบั ต้นๆ (ล�ำดบั ท่ี 3) ทัง้ น้ี ในการจัดท�ำ
กลยทุ ธด์ า้ น AI ของแตล่ ะประเทศสว่ นใหญจ่ ะมกี ารกำ� หนดกลยทุ ธแ์ ตล่ ะดา้ นเพอ่ื สนบั สนนุ การนำ�
เทคโนโลยี AI มาใช้ ซง่ึ จากการทบทวนกลยทุ ธด์ า้ น AI ของแต่ละประเทศพบวา่ มีปัจจัยสนับสนุน
รว่ มในการจดั ทำ� แผนกลยทุ ธด์ า้ น AI ของแต่ละประเทศ ดงั น้ี
n งานวจิ ัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภายในประเทศ
n ขีดความสามารถในการพฒั นาทักษะพิเศษดา้ น AI
n การส่งเสรมิ ความก้าวหนา้ ใหแ้ กส่ ายงาน AI
n การพฒั นาอุตสาหกรรม AI ของภาครัฐและภาคเอกชน
n การกำ� หนดจริยธรรมและมาตรฐานทีเ่ ก่ียวข้องกับ AI
n โครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นดิจทิ ลั และข้อมลู ทเี่ ป็นดจิ ทิ ัล และ
n ความพรอ้ มของภาครัฐในการน�ำ AI มาใช้
แนวคดิ การทบทวนกลยทุ ธด์ า้ น AI ของตา่ งประเทศจะคดั เลอื กจากกลมุ่ ประเทศผนู้ ำ� ขนาดใหญท่ ม่ี ี
ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ และมคี วามกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยใี นระดบั สงู เชน่ กลมุ่ สหภาพยโุ รป
กลมุ่ สแกนดเิ นเวีย สหรัฐอเมรกิ า แคนาดา ญ่ปี ่นุ เป็นตน้ อกี กล่มุ หนึ่งเปน็ ประเทศท่ีไมใ่ ชป่ ระเทศ
ผู้นำ� ขนาดใหญ่ของโลกแต่ก็มีการจดั ทำ� แผนกลยทุ ธด์ า้ น AI และมีการนำ� ไปใชป้ ระโยชนแ์ ล้ว เชน่
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เม็กซิโก เป็นต้น ท้ังนี้ ในการน�ำเสนอกลยุทธ์ด้าน AI ของแต่ละประเทศ
จะนำ� เสนอตามพน้ื ทใี่ นแตล่ ะทวปี หรอื ตามลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรเ์ พอ่ื ใหเ้ หน็ ถงึ ภาพรวมของแตล่ ะ
ทวีปทัว่ โลก ดังนี้
กล่มุ สหภาพยโุ รป (European Union)
สหภาพยุโรปหรือ EU และประเทศสมาชิกสว่ นใหญ่ใหค้ วามสำ� คญั กบั การนำ� เทคโนโลยี AI มาใช้
เป็นยุทธศาสตรร์ ะดับชาติ โดย EU ได้มีการรวบรวมความกา้ วหน้าในการด�ำเนินการด้าน AI ทไี่ ด้
มีการจัดท�ำกลยุทธ์ของสหภาพยุโรปท่ีมีกิจกรรมการด�ำเนินงานในแต่ละระดับอย่างชัดเจน ตั้งแต่
การรวบรวมกิจกรรมความก้าวหน้าในระดับนานาชาติ การหาพันธมิตร การรวบรวมสมาชิก และ
การจัดตั้งสภาด้าน AI ทม่ี ีการประชุมรว่ มกนั อย่างต่อเนอ่ื ง
ส�ำ นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทลั (องคก์ ารมหาชน) 69
ภาพท่ี 23 แนวทางการจัดทำ� ยุทธศาสตร์ด้าน AI ของยุโรป
Artificial Intelligence (AI) for Europe - Roadmap
Draft working document - European Commission - 7 December 2018
Informal Competitiveness Competitiveness European Competitiveness European
Competitiveness Council Council Council Council Council
- Brussels - - Brussels - - Brussels - - Brussels -
Council Council 27-28 Sep. 29-30 Nov. 13-14 Dec. - Brussels - 21-22 Mar.
- Vienna - 18 Feb.
16 July
Member States’ Group on Competitiveness Competitiveness
Digitising European Industry and AI high-level high-level
working group working group
7 Sep. 8 Nov.
Kick-off of Meeting at Coordinated Guidance on product Commission
work on event of Digital plan liability Directive.
coordinated Innovation Hubs 7 Dec. Report on broader
implications for
plan - Warsaw - liability and safety
- Brussels - 27 Nov. frameworks.
may
18 June Sherpas Sherpas Sherpas
13 Sep. 23 Oct. 6 Nov.
June July August September October November December January February March April May June
AI Alliance Kick-off of Joint meeting with Joint meeting with International Recommendations
Expert group on AI work on ethics Member States Member States, event on future
guidelines & in AI Forum 2018 following publication challenges
recommendations of draft ethics Presentation - Brussels -
- Brussels - - Helsinki - guidelines at the end of final ethics May
8-9 Oct. of 2018 and wide guidelines
27 June consultation - Brussels -
- Brussels - Mar.
22 jan.
International G7 AI G20 Digital
multistakeholders Economy/
conference Trade
- Montreal - ministers’
meeting
6 Dec. - Tsukuba -
8-9 June
2019. France chair of G7, Japan chair of G20
G7/G20/OECD/UN/Council of Europe/ITU continuous preparation
ที่มา: European Commission, 2019
70 AI for Government
คณะกรรมาธกิ ารสหภาพยุโรป (European Commission)
ปี 2018 คณะกรรมาธกิ ารสหภาพยโุ รปตอ้ งการนำ� AI มาใชเ้ พม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการสอื่ สารจงึ ไดเ้ รมิ่
โครงการนำ� ร่อง “Explainable AI: XAI” รวมทง้ั ได้เรม่ิ พฒั นาแผนยทุ ธศาสตรด์ ้านปญั ญาประดิษฐ์
ร่วมกับพันธมิตรปัญญาประดิษฐ์แห่งสหภาพยุโรป โดยได้ร่างแนวทางจริยธรรมส�ำหรับปัญญา
ประดษิ ฐ์ และในปี 2019 ไดม้ กี ารจัดทำ� กลยุทธด์ า้ น AI โดยมแี ผนงานการพฒั นากลยุทธ์ ดงั นี้
ภาพท่ี 24 การพัฒนากลยุทธ์ดา้ น AI ของยโุ รป
A Timeline for Europ’s AI Strategy
• Commission adopts the Communication • Commission publishes a report on the • Commission strengthens its AI research
on Artificial Intelligence implications for and potential gaps in the centers, supports digital skills, and
liability and safety frameworks for AI creates a center for data sharing
• Starts a pilot project on explainable AI
Spring 2018 End of 2018 Mid - 2019 End of 2020 Beyond 2020
• Commission creates and operates the • Commission increases its investment in AI from
european AI Alliance €500 million in 2017 to €1.5 billion in 2020
• Develops a plan on AI with member states • Develops an “AI-on-demand platform” to
• Drafts AI ethics guidelines for member states encourage uptake of AI by private sector
ทีม่ า: Dutton, 2018
ในเดือนเมษายน 2018 คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปได้วางแนวทางการด�ำเนินกลยุทธ์ด้าน AI
โดยได้วางเป้าหมายส�ำคญั 3 ดา้ น คอื
1. เพม่ิ ขดี ความสามารถดา้ นเทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรมของสหภาพยโุ รปดว้ ยความรว่ มมอื จาก
ท้ังจากภาครัฐและเอกชน
2. เตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงจาก AI ทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมใหแ้ ก ่
สหภาพยโุ รป และ
3. จดั ท�ำกรอบจริยธรรมและกฎหมายทเ่ี หมาะสมส�ำหรบั AI
สำ�นกั งานพฒั นารัฐบาลดิจิทัล (องคก์ ารมหาชน) 71
สหภาพยุโรปวางแผนเพิ่มการลงทนุ ด้าน AI จาก 500 ลา้ นยูโร ในปี 2017 เปน็ 1.5 พันล้านยโู ร
ในปี 2020 เพ่ือนำ� AI มาใชแ้ ก้ไขปญั หาในด้านสำ� คญั และสรา้ งผลกระทบด้าน AI ในเชงิ บวกตอ่
สหภาพยโุ รป
สหราชอาณาจักร (United Kingdom)
รฐั บาลสหราชอาณาจกั รไดว้ างเปา้ หมายเปน็ ผนู้ ำ� ระดบั โลกดา้ น AI โดยการนำ� AI มาใชเ้ ปน็ กลยทุ ธ์
ในการขับเคล่ือนอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ร่วมกับภาคเอกชน ที่ครอบคลุมการส่งเสริมการวิจัยและ
พัฒนาของภาครัฐและเอกชน ปัจจุบันสหราชอาณาจักรได้รับเงินลงทุนเพื่อการพัฒนา AI จาก
ภาคเอกชนมากกว่า 300 ล้านปอนด์จากองคก์ รด้านเทคโนโลยีทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ เชน่
การพฒั นา Alan Turing Institute การสรา้ งความรว่ มมือดา้ น AI ภายใต้ชื่อ “Turing Fellowships”
เป็นต้น ตลอดจนได้มีการเปิดตัวศูนย์จริยธรรมและนวัตกรรมด้านข้อมูลข้ึน ในปี 2018 ซ่ึงเป็น
โครงการส�ำคัญของรัฐบาลที่ต้องการผลักดันให้ประเทศเป็นผู้น�ำด้านการก�ำกับดูแลจริยธรรมด้าน
AI ของโลก
สหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี (Federal Republic of Germany)
คณะรัฐมนตรีของเยอรมนีได้ประกาศกลยุทธ์ด้าน AI ระยะสั้น ภายใต้แนวคิด “AI made in
Germany” ทต่ี อ้ งการใหเ้ ทคโนโลยี AI ทผี่ ลติ ในเยอรมนเี ปน็ เครอ่ื งหมายคณุ ภาพทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั
ทว่ั โลก โดยมกี ลยทุ ธด์ งั น้ี
n ส่งเสริมงานวิจัยด้าน AI ของประเทศและสหภาพยุโรปให้มีการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ใน
ภาคเอกชนเพอื่ ส่งเสรมิ การสรา้ งนวัตกรรมดา้ น AI
n จดั ต้งั ศนู ยว์ จิ ยั ดา้ น AI เพ่ือพัฒนาความรว่ มมอื ระหวา่ งเยอรมนแี ละฝร่ังเศส
n ส่งเสริมการระดมทนุ ในภมู ภิ าคเพ่ือสนบั สนนุ ผูป้ ระกอบการ SMEs และ Start-up
n สง่ เสรมิ ใหผ้ มู้ คี วามสามารถด้าน AI (Talent) จากท่วั โลก
n น�ำ AI มาใชใ้ นการพฒั นาบริการภาครฐั และสนบั สนนุ การเข้าถึงขอ้ มูลสาธารณะ
n สง่ เสริมการพฒั นา AI ทีม่ ีจรยิ ธรรมและมีความโปร่งใส
รัฐบาลเยอรมันได้ร่วมกับนักวิชาการและผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมเพ่ือน�ำเทคโนโลยี AI
มาใช้ส่งเสริมภาคการส่งออก นอกจากนี้ยังได้จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อท�ำการศึกษาถึงผลกระทบ
ของ AI ต่อสงั คม โดยให้รายงานผลการศึกษาในปี 2020
72 AI for Government
สาธารณรฐั อิตาลี (Italian Republic)
รฐั บาลอติ าลไี ดจ้ ดั ทำ� รายงาน (Whitepaper) เพอ่ื ศกึ ษาวธิ กี ารนำ� AI มาใชใ้ นการพฒั นาการบรหิ าร
งานและการบรกิ ารสาธารณะ เพอื่ บรู ณาการการท�ำงานของภาครฐั รวมทง้ั มกี ารศกึ ษาดา้ นจรยิ ธรรม
และความพรอ้ มของบคุ ลากรทม่ี หี นา้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล รวมทงั้ มกี ารสรา้ งศนู ยว์ จิ ยั AI
และศนู ย์สรา้ งความสามารถแหง่ ชาติเพอื่ พฒั นาทักษะดา้ น AI ส�ำหรบั บุคลากรภาครัฐ
ในขณะเดียวกันกลุ่มมหาวิทยาลัยและศูนย์วิจัยในอิตาลีก็ได้รวมตัวกันเพ่ือจัดตั้งห้องปฏิบัติการ
CINI-AIIS ซงึ่ เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแหง่ ชาตดิ า้ น AI โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เสรมิ สรา้ งการวจิ ยั พน้ื ฐาน
และการวจิ ยั ประยกุ ตใ์ นดา้ น AI เพอื่ สนบั สนนุ อตุ สาหกรรมของประเทศดว้ ยการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
และนวัตกรรมท่ีได้จากงานวจิ ัยสู่ภาครัฐและผ้ปู ระกอบการ
กลุม่ สแกนดิเนเวีย (Scandinavia)
เปน็ กลมุ่ ประเทศทต่ี ง้ั อยทู่ างตอนเหนอื ของทวปี ยโุ รปซงึ่ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ประเทศทมี่ รี ะดบั การพฒั นา
อยใู่ นระดบั สงู รวมท้งั ด้านการนำ� เทคโนโลยดี ิจทิ ลั และ AI มาใช้ในการสรา้ งความกินดีอยู่ดีให้แก่
ประชาชน ซึง่ ประเทศท่มี กี ลยทุ ธ์ด้าน AI และมคี วามน่าสนใจ ไดแ้ ก่
ราชอาณาจักรเดนมาร์ก (Kingdom of Denmark)
เดนมารก์ ไมม่ กี ารกำ� หนดกลยทุ ธด์ า้ นการพฒั นา AI เปน็ การเฉพาะ แตไ่ ดม้ กี ารตง้ั เปา้ หมายในการ
สรา้ งใหเ้ ดนมารก์ เปน็ ผนู้ ำ� การปฏวิ ตั ดิ ว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื สรา้ งการเจรญิ เตบิ โตและความมง่ั คงั่
ใหแ้ กป่ ระเทศโดยเนน้ การนำ� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชร้ ว่ มกนั ในการพฒั นาประเทศทง้ั ขอ้ มลู ขนาดใหญ่
(Big Data) เทคโนโลยี IoT และ AI มาใช้ประโยชนร์ ่วมกนั โดยมเี ป้าหมายหลัก คอื
1. สนบั สนุนภาคธุรกจิ ดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ิทัล
2. ส่งเสรมิ และสรา้ งแรงจูงใจให้ธุรกจิ นำ� ดจิ ิทัลมาใชใ้ นการพัฒนาธุรกิจ และ
3. พฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ิทลั ทจี่ �ำเปน็ ตอ่ การแขง่ ขัน
ทง้ั น้ี ได้มีการจดั สรรงบประมาณอย่างเพยี งพออยา่ งต่อเนื่องถึงปี 2025
นอกจากน้ี รัฐบาลเดนมาร์กได้ขับเคล่ือนกลยุทธ์ดังกล่าวด้วยการจัดท�ำโครงการ 38 โครงการ
เช่น Digital Hub Denmark (คลสั เตอรภ์ าครัฐและเอกชนสำ� หรบั เทคโนโลยดี ิจทิ ัล) SME: Digital
(โครงการทมี่ กี ารประสานงานเพอ่ื สนบั สนนุ การแปลงดจิ ทิ ลั ของ SMEs เดนมารก์ ) Pact Technology
(โครงการท่ัวประเทศเพื่อส่งเสริมทักษะดิจิทัล) รวมทั้งได้ประกาศเจตนารมย์ในการเปิดเผยข้อมูล
ของรฐั เพิม่ เติมโดยกำ� หนดใชม้ ีการทดลองใน Sandbox ก่อน
ส�ำ นักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องคก์ ารมหาชน) 73
สาธารณรฐั ฟนิ แลนด์ (Republic of Finland)
รัฐบาลฟินแลนด์ไดเ้ ร่มิ ตน้ การจัดท�ำกลยุทธด์ ว้ ยการศกึ ษาแนวทางการประยกุ ต์ใช้ AI เพอื่ สง่ เสรมิ
ให้ฟินแลนดก์ ลายเปน็ ประเทศชัน้ นำ� ด้าน AI โดยมีรายงานสำ� คญั จำ� นวน 2 ฉบบั
n รายงานฉบบั แรก “Age of Artificial Intelligence” ทไี่ ดส้ ำ� รวจจดุ แขง็ และจดุ ออ่ นของฟนิ แลนด์
ในด้าน AI และให้ข้อเสนอแนะเพ่ือเปลี่ยนฟินแลนด์ให้กลายเป็นผู้น�ำในการประยุกต์ใช้ AI
ด้วยการสร้างศูนย์วิจัย AI (ที่เป็นความร่วมมือกันระหว่าง Aalto และมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ)
เพอ่ื เพิม่ งานวิจัยดา้ น AI ในภาคอตุ สาหกรรม) รวมทั้งการจดั ทำ� โครงการนำ� รอ่ งดา้ น AI
n รายงานฉบบั ทส่ี อง “Work in the Age of Artificial Intelligence” ใหข้ อ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
ใน 4 ดา้ นสำ� คญั 28 ประเดน็ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ อนาคตของงาน การเตบิ โตและการจา้ งงาน ตลาดแรงงาน
และการเรียนรู้ ทกั ษะ และจริยธรรม
กลุ่มทวปี อเมริกา (North and South America)
อเมรกิ าเปน็ ทวปี ขนาดใหญแ่ ละเปน็ ผนู้ ำ� หลายดา้ นทงั้ ทางดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นการศกึ ษาโดยเฉพาะ
สหรฐั อเมริกาและแคนาดาทมี่ มี หาวิทยาลยั ที่ถกู จัดอนั ดบั สงู ในสาขาเทคโนโลยโี ดยเฉพาะดา้ น AI
และภาคเอกชนทสี่ ามารถคดิ คน้ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ลว้ นแตเ่ ปน็ ปจั จยั
สนบั สนุนใหก้ ารพฒั นา AI ของประเทศในกล่มุ นมี้ ีความนา่ สนใจ จึงได้ทบทวนกลยทุ ธ์ดา้ น AI ของ
ประเทศทีน่ ่าสนใจไว้ดังน้ี
สหรัฐอเมริกา (United States of America)
รฐั บาลสหรฐั อเมรกิ าไดม้ กี ารศกึ ษาเพอื่ วางรากฐานในการวางยทุ ธศาสตรด์ า้ น AI ไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจ
ผา่ นรายงาน 3 ฉบับ ดังนี้
n รายงานการเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื การนำ� AI มาใช้ โดยเปน็ การจดั ทำ� ขอ้ เสนอแนะทเี่ กย่ี วขอ้ ง
กับกฎหมายและระเบยี บเพ่ือรองรบั AI ในทกุ ๆ ดา้ น
n รายงานทศี่ ึกษาแผนยุทธศาสตร์ในการวจิ ัยและพฒั นา AI
n รายงานข้อเสนอแนะแนวทางท่ีจ�ำเป็นต่อการน�ำ AI มาใช้ประโยชน์ในการลดต้นทุนใน
ภาคอตุ สาหกรรม
ต่อมารัฐบาลไดป้ ระกาศกลยุทธใ์ นการน�ำ AI มาใช้โดยมเี ป้าหมาย ดงั นี้
1. รักษาความเปน็ ผนู้ ำ� ของอเมริกนั ในดา้ น AI
2. สนบั สนุนแรงงานอเมริกนั
3. สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาของภาครัฐ และ
4. ขจดั อปุ สรรคในการสรา้ งนวัตกรรม
74 AI for Government
ทง้ั นี้ เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ รฐั บาลไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการดา้ นปญั ญาประดษิ ฐเ์ พอ่ื ใหค้ ำ� แนะนำ�
แก่ท�ำเนียบขาวเกี่ยวกับการล�ำดับความส�ำคัญของการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี AI และเพ่ือ
สนบั สนนุ การสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งรฐั บาล ภาคอตุ สาหกรรม และสถาบนั การศกึ ษา นอกจากนี้
ยังมุ่งเน้นการขจัดอุปสรรคด้านกฎระเบียบในการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อให้ภาคเอกชนสามารถ
สรา้ งสรรค์นวัตกรรม AI ไดม้ ีประสิทธิภาพ
สหพนั ธรัฐแคนาดา (Canadian Confederation)
แคนาดาเปน็ ประเทศแรกทปี่ ระกาศกลยทุ ธ์ AI ระดบั ชาติ “Pan-Canadian” ทเี่ ปน็ แผนกลยทุ ธร์ ะยะ
5 ปี ทเี่ นน้ การวจิ ัยและพฒั นาความสามารถพิเศษของ AI โดยมี CIFAR (Canadian Institute for
Advance Research) ทำ� หนา้ ทต่ี รวจสอบนโยบายและผลกระทบทางจรยิ ธรรมของ AI โดยกลยทุ ธ์
ดงั กลา่ วมี 4 เปา้ หมายหลกั ได้แก่
1. เพมิ่ จ�ำนวนนกั วจิ ัยและผู้ส�ำเรจ็ การศึกษาด้าน AI
2. สรา้ งความเปน็ เลศิ ทางวิทยาศาสตร์ใน 3 เมอื ง คือ Edmonton, Montreal และ Toronto
3. พฒั นาความเปน็ ผนู้ ำ� ทางความคดิ ดา้ นเศรษฐกจิ จรยิ ธรรม นโยบาย และผลทางกฎหมายของ AI
4. สนับสนนุ ชมุ ชนวจิ ัยระดับชาตดิ า้ น AI โดยมีสถาบันเพ่อื การวจิ ัยขนั้ สูงของแคนาดาเปน็ ผู้น�ำ
สาธารณรฐั เมก็ ซโิ ก (Republic of Mexico)
ประเทศเม็กซโิ กศึกษาและจัดท�ำรายงาน (Whitepaper) “Towards an AI Strategy in Mexico:
Harnessing the AI Revolution” เพอื่ ใชใ้ นการวางรากฐานสำ� หรบั กลยทุ ธ์ AI ของเมก็ ซโิ ก ทเ่ี กดิ จาก
การศกึ ษาของสถานทตู องั กฤษในประเทศเมก็ ซโิ ก Oxford Insights Institute สถาบนั C-Minds และ
รัฐบาลเม็กซิโก โดยมีรายละเอียดการส�ำรวจสถานะปัจจุบันของ AI ในเม็กซิโกโดยมีรายละเอียด
นโยบายที่เก่ียวขอ้ ง และศกึ ษาถงึ กรณกี ารใช้งาน AI ในระดบั ชาตแิ ละระดบั ภมู ภิ าค โดยรายงาน
ดังกล่าวมีข้อเสนอแนะที่ส�ำคัญ 5 ด้าน ได้แก่ การบริการสาธารณะของรัฐ ข้อมูลและโครงสร้าง
พน้ื ฐานดจิ ทิ ลั การวจิ ยั และพฒั นา ความสามารถทกั ษะและการศกึ ษา และสดุ ทา้ ยคอื ดา้ นจรยิ ธรรม
สำ�นักงานพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) 75
กล่มุ ตะวนั ออกกลาง (Middle East)
สหรฐั อาหรบั เอมิเรตส์ (United Arab Emirates)
รฐั บาล UAE เปิดตวั กลยุทธ์ AI ในเดอื นตุลาคม 2017 โดยเป็นประเทศแรกในกลุ่มตะวันออกกลาง
ที่พัฒนากลยุทธ์ AI และเป็นประเทศแรกของโลกที่มีการสถาปนา “กระทรวงปัญญาประดิษฐ์”
ซ่ึงเป็นแนวทางการพัฒนาของแผน “UAE Centennial 2071” ท่ีมีเป้าหมายหลักในการใช้ AI
เพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรัฐบาล โดยรัฐบาลให้ความส�ำคัญและจัดสรรงบประมาณ
เพื่อลงทุนในการพัฒนาเทคโนโลยี AI 9 ด้าน ได้แก่ การขนส่ง สุขภาพ การบริหารจัดการพื้นท่ี
พลังงานทดแทน น�้ำ เทคโนโลยี การศึกษา ส่ิงแวดล้อม และการจราจร โดยรัฐบาลตั้งเป้าหมาย
เพื่อลดค่าใช้จ่ายในระยะยาว กระจายความเส่ียงทางเศรษฐกิจ และก�ำหนดให้ UAE เป็นผู้น�ำ
ระดับโลกในการประยุกตใ์ ช้ AI
กลมุ่ เอเชีย (Asia)
สาธารณรฐั ประชาชนจีน (People’s Republic of China)
จนี ประกาศความมงุ่ มนั่ ในการเปน็ ผนู้ ำ� ของโลกดา้ น AI ผา่ นแผน “Next Generation AI Development”
เม่ือกรกฎาคม 2017 โดยแผนดังกล่าวครอบคลุมกลยุทธ์ AI ท้ังหมดของประเทศโดยมีเป้าหมาย
เพ่ือวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรม พัฒนาความสามารถด้านการศึกษาและทักษะท่ีส�ำคัญ และ
การกำ� หนดมาตรฐานและกฎระเบยี บรวมทง้ั ทางจรยิ ธรรมและความปลอดภยั โดยมรี ะยะการพฒั นา
3 ข้นั ตอน ได้แก่
n การท�ำให้อตุ สาหกรรม AI ของจนี ให้ทัดเทยี มประเทศชน้ั นำ� ของโลกในปี 2020
n การเปน็ ผ้นู �ำของโลกด้าน AI (ในบางสาขา) ภายในปี 2025 และ
n การเป็นศูนย์กลางนวตั กรรม AI ภายในปี 2030
นอกจากน้ี รฐั บาลจีนยังมกี ารวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณในการพฒั นาอุตสาหกรรม AI มลู ค่า
1 ลา้ นลา้ นหยวน ซงึ่ แผนดงั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความตงั้ ใจของรฐั บาลในการสรา้ งและสง่ เสรมิ ผมู้ ี
ความสามารถพเิ ศษดา้ น AI ทีด่ ีทส่ี ุดของโลก เพอ่ื เสรมิ ความแขง็ แกร่งใหแ้ ก่การด�ำเนนิ กลยุทธ์ของ
จนี รวมทงั้ ความตงั้ ใจของรฐั บาลจนี ทต่ี อ้ งการมสี ว่ นรว่ มและเปน็ ผนู้ �ำในการกำ� กบั ดแู ล AI ในเวทโี ลก
76 AI for Government
ญ่ีปนุ่ (Japan)
ญ่ีปุ่นเป็นประเทศท่ีสองของโลกในการพัฒนากลยุทธ์ด้าน AI ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวคิดของนายก
รฐั มนตรชี นิ โซ อาเบะ ในการเจรจาสาธารณะในเดอื นเมษายน 2016 ดว้ ยการจดั ตงั้ สภายทุ ธศาสตร์
ส�ำหรับเทคโนโลยี AI ที่มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาการวิจัยและแผนงานส�ำหรับการพัฒนา
อตุ สาหกรรม AI โดยมตี วั แทนจากสถาบันการศกึ ษา ภาคอุตสาหกรรม และภาครัฐ
ภาพที่ 25 การพฒั นา AI ของประเทศญป่ี นุ่
Phase 1 Approx. 2020 Approx. 2025-2030
Phase 2 Phase 3
Utilization and application of datadriven Public use of AI and data developed Ecosystem is built by connecting
AI developed in various domains across various domains multiplying domains
Utilization of AI and data will increase Public use of AI and data is developed An ecosystem is established as various
together with new seeds of growth in and new industries, such as service multiplying domains are connected and
related service industries. industries, will expand. merged.
*The duration of each phase is not indicated because the current situation and future development differs depending on the field.
AI technology Personal
• Image recognition Voices/Conversation Vitals Action and search history
• Natural language processing Life/work space
• Voice recognition/synthesis
• Prediction
Sales/Production Traffic
Nature/urban space
Weather MapsU/Lrbanand sfoprancaetional
Artificial intelligence as a service (AlaaS) New value creation - Supply (Virtuous cycle)
Phase 3 Complex application services
Phase 2
Phase 1 Services Multipupose services Services Services Multipupose services
Services Services Services
Factory Hospital Call center Agriculture Truck, Drone
ทีม่ า: Strategic Concil for AI Technology, 2017
สำ�นกั งานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน) 77
แผนยุทธศาสตร์ด้าน AI ของประเทศญี่ปุ่นประกาศอย่างเป็นทางการในเดือนมีนาคม 2017
โดยกลยุทธ์ดังกล่าวมีความโดดเด่นในด้านการก�ำหนดทิศทางการปฏิวัติอุตสาหกรรมด้วย AI
(Industrialization Roadmap) โดยกำ� หนดกลยทุ ธ์ในการพฒั นา AI ออกเปน็ สามข้นั ตอน คือ
1. การประยุกต์ใช้ข้อมูล ดว้ ยการผลักดันให้ AI พัฒนาสามารถนำ� ข้อมูลมาวเิ คราะห์และ
ใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายด้าน
2. การสรา้ งประโยชนส์ าธารณะจาก AI และข้อมลู ที่พัฒนาในหลายโดเมน และ
3. การสรา้ งระบบนเิ วศเพอื่ เชอื่ มตอ่ ขอ้ มลู หลายโดเมน โดยกลยทุ ธน์ เี้ ปน็ สว่ นสำ� คญั ของโครงการ
Society 5.0 ของญี่ปุ่น
กล่มุ อาเซยี น (ASEAN Community)
สาธารณรฐั สิงคโปร์ (Republic of Singapore)
AI Singapore เปน็ โครงการระดับประเทศทเ่ี ริม่ ตน้ ในเดอื นพฤษภาคม 2017 โดยมรี ะยะเวลาการ
ดำ� เนนิ โครงการ 5 ปี ดว้ ยงบประมาณ 150 ลา้ นดอลลารส์ งิ คโปร์ เพอื่ ปรบั ปรงุ ขดี ความสามารถของ
AI ในสงิ คโปร์ โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ลงทนุ ในคลน่ื ลกู ใหมข่ องการวจิ ยั AI จดั การกบั ความทา้ ทายทาง
สังคมและเศรษฐกจิ ท่ีส�ำคัญ และขยายการยอมรบั และการใช้ AI ในภาคอุตสาหกรรม
ภาพท่ี 26 ภาพรวมของกลยุทธ์ AI ของสิงคโปร์
Develop new skills Industry & Accelerate innovation
and create Commerce adoption and create
new jobs new industries
giSTsnnoeorinnocwocgwiorvaete-aphnaetogitcaoreionnenndefooomrf ic AI Talent & AI Frameworks
Practitioners & Testbeds
talleifnetloaTnnrgdailnseuafprunptuionrrget Reserch & gwAlniotchbhalool rcinaAflIluaeenxndpceertise
Development
ที่มา: Dutton, 2018
78 AI for Government
ซึง่ ประกอบดว้ ยกลยทุ ธ์ 4 ดา้ นท่ีสำ� คัญ ได้แก่
n การใหท้ ุนสนับสนนุ การวจิ ัยที่สนับสนุนเปา้ หมายของ AI Singapore
n การสร้างนวัตกรรมที่รองรับความท้าทายส�ำคัญที่สิงคโปร์และทั่วโลกก�ำลังเผชิญ โครงการ
ปัจจบุ ันมุ่งเน้นไปท่ีภาคสขุ ภาพ การพัฒนาเมอื ง และการเงิน
n การสนบั สนุนการพัฒนา AI ในภาคอตุ สาหกรรม ผ่านกองทนุ 100 Experiments
n การส่งเสริมกลมุ่ คนทม่ี คี วามสามารถด้าน AI ในสงิ คโปร์
นอกจากนี้ รฐั บาลสงิ คโปรไ์ ดป้ ระกาศรเิ รม่ิ โครงการใหมใ่ นเดอื นมถิ นุ ายน 2018 คอื การก�ำกบั ดแู ล
กจิ การและจรยิ ธรรมของ AI ซง่ึ จะชว่ ยใหร้ ฐั บาลพฒั นามาตรฐานและกรอบการกำ� กบั ดแู ลจรยิ ธรรม
ของ AI อย่างมมี าตรฐานย่ิงขนึ้
บทสรุป
จากการทบทวนกลยทุ ธด์ า้ น AI ของตา่ งประเทศพบวา่ กลมุ่ ประเทศสมาชกิ สหภาพยโุ รป (European
Union) หรือ EU มีทิศทางการพัฒนา AI ท่ีเชื่อมโยงกันเกือบทั้งหมด เน่ืองจากคณะกรรมาธิการ
สหภาพยโุ รปไดม้ ีการจดั ทำ� กลยทุ ธ์ด้าน AI ของ EU ไว้ (EU’s AI strategy) ทีม่ กี ลไกการสนับสนนุ
ประเทศสมาชิกในการพัฒนาโครงการด้าน AI ของประเทศสมาชกิ จุดเด่นทีน่ า่ สนใจในการด�ำเนิน
นโยบายและกลยทุ ธข์ องประเทศสมาชกิ ไดแ้ ก่ สหราชอาณาจกั รทว่ี างเปา้ หมายการเปน็ ผนู้ ำ� ระดบั
โลกด้าน AI เยอรมนที ี่มีนโยบาย “AI made in Germany” ท่ตี อ้ งการใหเ้ ทคโนโลยี AI ของเยอรมนั
เปน็ เครอ่ื งหมายคณุ ภาพทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ทว่ั โลก และประเทศอติ าลที มี่ หาวทิ ยาลยั และศนู ยว์ จิ ยั
ได้รวมตัวกนั จัดตงั้ หอ้ งปฏิบตั ิการ CINI-AIIS ซง่ึ เป็นห้องปฏบิ ตั กิ ารด้าน AI โดยเฉพาะ
กล่มุ สแกนดเิ นเวยี มีการวางกลยุทธด์ ้าน AI หลายประเทศ โดยเน้นการน�ำ AI มาใชเ้ พื่อสรา้ งความ
เจริญเติบโตและอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ประเทศ เดนมาร์กได้ริเริ่มโครงการดิจิทัลที่ส�ำคัญผ่าน
Sandbox กอ่ นเพื่อศกึ ษาผลกระทบ ในสว่ นของฟินแลนด์มกี ารพัฒนาร่วมกันระหวา่ งรฐั บาลและ
มหาวิทยาลัยเพอ่ื สร้างโครงการนำ� รอ่ งในบริการสาธารณะต่างๆ
สำ�นกั งานพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก์ ารมหาชน) 79
ในโซนอเมริกาส่วนใหญ่ยังให้ความส�ำคัญกับการศึกษาวิจัยและการเตรียมความพร้อมใน
การพฒั นา AI โดยแคนาดาเปน็ ประเทศทอ่ี อกกลยุทธ์ AI ระดับประเทศเป็นประเทศแรกเปน็ ระยะ
เวลา 5 ปี ส่วนสหรฐั อเมริกาเองไดใ้ ห้ความส�ำคัญกบั การศกึ ษาประเดน็ การเตรยี มความพร้อมและ
การวางแผนการพัฒนา AI ของประเทศ โดยการรวบรวมความคิดเหน็ จากภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาควิชาการ ในขณะท่เี ม็กซโิ กก็ใหค้ วามส�ำคัญกับการวางรากฐานด้าน AI
UAE เปน็ ประเทศแรกทอี่ อกกลยทุ ธด์ า้ น AI ในภมู ภิ าคตะวนั ออกกลาง โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ลดคา่ ใช้
จา่ ยและเพมิ่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานของรฐั กระจายความเสย่ี งทางเศรษฐกจิ และมีเปา้ หมาย
ระยะยาวคือเป็นผนู้ �ำของโลกในการประยกุ ต์เทคโนโลยี AI ซง่ึ นบั เปน็ ประเทศท่นี ่าสนใจ เนอ่ื งจาก
เปน็ ประเทศทีม่ เี ป้าหมายการน�ำ AI มาใช้คลา้ ยคลงึ กบั สภาพปัญหาของประเทศไทย
กลุม่ ประเทศในทวปี เอเชียมคี วามตื่นตัวและให้ความสนใจกับกลยุทธด์ ้าน AI เป็นอยา่ งมาก โดย
เฉพาะจีนที่ประกาศว่าจะเป็นผู้น�ำของโลกด้าน AI เช่นเดียวกันกับสหราชอาณาจักรด้วยการวาง
เป้าหมายการพัฒนาอุตสาหกรรม AI การเร่ิมเป็นผู้น�ำในบางสาขาของ AI ภายใน 8 ปี และ
การเปน็ ศนู ยก์ ลางนวตั กรรม AI สว่ นญป่ี นุ่ มกี ารวางแผนแมบ่ ทในการพฒั นาและการจดั การ AI ทงั้
ระบบ สดุ ทา้ ยสิงคโปร์ซ่ึงเปน็ ประเทศในกลุม่ สมาชิกอาเซยี นได้วางกลยทุ ธ์ AI ทส่ี ำ� คญั 4 ด้าน คือ
การสนับสนุนการวิจัย การให้บริการนวัตกรรม พัฒนาการแก้ปัญหาของภาคอุตสาหกรรม และ
สง่ เสรมิ ผมู้ คี วามสามารถดา้ น AI
80 AI for Government
ตารางท่ี 1 สรปุ ประเด็นการพัฒนาของกลยทุ ธ์ AI ของประเทศตา่ งๆ
ประเทศ อตุ สธาุรหกจิก/รรม ภาครฐั วจ� ยั และพัฒนา จรย� ธรรม ทักษะ
ยโุ รป
สหภาพยโุ รป
สหราชอาณาจักร
เยอรมนี
อิตาลี
กลมุ สแกนดเิ นเว�ย
เดนมารก
ฟ�นแลนด
อเมร�กาเหนือและอเมร�กาใต
สหรัฐอเมร�กา
แคนาดา
เมก็ ซโิ ก
กลุมตะวันออกกลาง
อาหรับเอมิเรตส
เอเชยี
จนี
ญปี่ นุ
อาเซยี น
สิงคโปร
ขอ้ สงั เกตเพมิ่ เติม: หลักการและจริยธรรมในการพัฒนา AI
จากการทบทวนกลยุทธ์ด้าน AI ของต่างประเทศแสดงให้เห็นถึงทิศทางและความส�ำคัญของ
เทคโนโลยี AI ท่ีแต่ละประเทศตา่ งใหค้ วามส�ำคัญกบั การพฒั นาและแนวทางการสง่ เสริม AI โดยมี
ความแตกตา่ งกนั ในบรบิ ทของนโยบายของแตล่ ะประเทศ ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ การกระตนุ้ ใหภ้ าคธรุ กจิ
และภาคอุตสาหกรรมน�ำ AI ไปใช้เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและความสามารถทางการแข่งขันในเวที
โลก บางส่วนยงั มีการคำ� นงึ ถงึ ประเดน็ การถงึ การน�ำ AI มาใชใ้ นการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการทำ� งาน
ของภาครัฐ เช่น สาธารณสุข สง่ิ แวดลอ้ ม การศกึ ษา เป็นตน้
สำ�นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องค์การมหาชน) 81
ประเด็นท่ีน่าสนใจอีกประเด็นหนึ่ง คือ ประเทศที่พัฒนาแล้วส่วนใหญ่มักท�ำการศึกษาผลกระทบ
ของการดำ� เนนิ นโยบายและกลยทุ ธ์ AI ทวี่ างเอาไว้ กอ่ นทจ่ี ะมกี ารประกาศกลยทุ ธอ์ ยา่ งเปน็ ทางการ
เพื่อให้การน�ำเทคโนโลยี AI มาใชไ้ มส่ ง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ และสังคมอยา่ งรวดเร็ว รวมท้งั ยังมี
การจดั ท�ำขอ้ เสนอแนะเพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมอย่างรอบดา้ นอกี ดว้ ย
นอกจากน้ี กลยุทธ์ของแต่ละประเทศยังระบุถึงแนวทางการส่งเสริมด้านวิจัยและพัฒนา และ
การพฒั นาทกั ษะดา้ นเทคโนโลยใี หแ้ กแ่ รงงานซง่ึ สะทอ้ นถงึ การเลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของปจั จยั แวดลอ้ ม
และการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับผลกระทบท่ีมาพร้อมกับเทคโนโลยี AI ท้ังนี้ Asilomar
Conference Beneficial AI 2017 ที่มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งเป็นท่ีประชุมผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ
ไดอ้ อกหลักการในการพัฒนา AI ในช่อื “Asilomar AI Principles” ซ่งึ เกิดข้นึ จากการหารือตกลง
รว่ มกนั ระหวา่ งกลมุ่ นกั วจิ ยั นกั เศรษฐศาสตร์ นกั กฎหมาย นกั จรยิ ศาสตร์ และนกั ปรชั ญา ทปี่ ระกอบ
ไปด้วยหลักการ 3 ประเด็น 23 ข้อ ไดแ้ ก่
ประเดน็ ด้านการวิจัย (Research Issues)
1. จดุ มุ่งหมายของงานวจิ ัยควรเปน็ ไปเพ่ือสร้าง AI ที่ก่อให้เกดิ ประโยชน์
2. การลงทนุ ใน AI ควรน�ำมาซ่ึงผลลัพธ์ท่กี ่อให้เกดิ ประโยชน์
3. นกั วิจยั และผู้ออกนโยบายควรท�ำงานร่วมกนั
4. นกั วจิ ัยและนกั พัฒนา AI ควร มคี วามไว้ใจ และความโปร่งใสในการทำ� งานรว่ มกนั
5. นักวิจัยและนักพัฒนา AI ควรหลีกเลี่ยงการแข่งขันท่ีละเลยความปลอดภัยและประเด็นด้าน
จรยิ ธรรม
ประเด็นดา้ นจรยิ ธรรม (Ethics and Values)
6. ระบบ AI ต้องปลอดภยั ตลอดอายุการใช้งาน
7. ระบบ AI ต้องสามารถระบสุ าเหตุไดเ้ มื่อเกดิ ความผิดพลาด
8. ระบบ AI ต้องสามารถใหค้ �ำอธิบายได้ (Explainability)
9. ผูอ้ อกแบบและพฒั นาระบบ AI ตอ้ งรับผิดชอบตอ่ การใช้ ขอ้ ผดิ พลาด และการตัดสินใจของ
ระบบ
10. ระบบ AI ต้องได้รับการออกแบบให้มีเป้าหมายท่ไี ม่ขดั ต่อการใหค้ ณุ คา่ ของมนษุ ย์
11. ระบบ AI ต้องได้รับการออกแบบให้สอดคล้องกับคตินิยม ศักดิ์ศรี สิทธิเสรีภาพ และ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
12. บคุ คลท่ัวไปควรมสี ิทธใ์ิ นการเข้าถึง จัดการ และควบคมุ ข้อมูลทตี่ นเองเป็นผูน้ ำ� เขา้ ได้
82 AI for Government
13. การใชข้ ้อมูลสว่ นบุคคลของ AI ไม่ควรละเมิดสทิ ธิเสรภี าพของบคุ คลนนั้
14. AI ควรสร้างประโยชน์และเพม่ิ ศกั ยภาพของผคู้ นจ�ำนวนมากท่สี ดุ เท่าท่ีเปน็ ไปได้
15. คนทุกกลมุ่ ควรสามารถเข้าถงึ ความม่ังคงั่ ทางเศรษฐกิจอนั เกิดจากการใช้ AI ได้
16. มนุษยค์ วรมสี ิทธเิ์ ลอื กการตัดสนิ ใจเหนือระบบ AI
17. การตัดสนิ ใจของ AI ควรคำ� นงึ ถงึ และส่งเสรมิ ประเด็นด้านสังคม
18. ควรหลีกเลยี่ งการแข่งขนั ดา้ นการพัฒนาอาวุธอัตโนมตั ิ
ประเดน็ ระยะยาว (Long-term Issues)
19. ควรหลกี เลี่ยงการตงั้ ขอ้ สมมติฐานถึงขดี จ�ำกดั ของ AI ในอนาคต
20. ควรมกี ารวางแผนการพฒั นา AI ขัน้ สูง (Advanced AI)
21. ควรมีการระบแุ ละออกมาตรการรบั มือผลกระทบและความเส่ยี งอันเกิดจากการใช้ AI
22. AI ทสี่ ามารถพัฒนาตัวเองได้ควรอย่ภู ายใต้การควบคุมอย่างใกล้ชดิ
23. เครอื่ งจกั รทรงภมู ปิ ญั ญา (Superintelligence) ควรถกู พฒั นาโดยเรยี นรคู้ ตนิ ยิ มของมนษุ ยเ์ พอ่ื
ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์แกม่ นษุ ยชาติ
นอกเหนือจากการประกาศกลยุทธ์และหลักการส่งเสริมและพัฒนา AI แล้ว ต่างประเทศยังให้
ความสำ� คญั กบั ประเดน็ ดา้ นจรยิ ธรรมสำ� หรบั AI โดยสหภาพยโุ รปไดก้ ำ� หนดแนวทางดา้ นจรยิ ธรรม
ของ AI (Ethics guidelines for trustworthy AI) ไว้ดงั นี้
High-Level Expert Group on Artificial Intelligence (AI HLEG) ซ่ึงแตง่ ตงั้ โดยคณะกรรมาธกิ าร
สหภาพยุโรปได้ประกาศ “Ethics Guidelines for Trustworthy AI” เม่อื เดือนเมษายน 2019 เพ่อื
เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้ยุโรปมีการพัฒนา AI ท่ีมีความก้าวหน้า มีจริยธรรมและ ปลอดภัย
โดยการสร้าง “AI ทเี่ ชือ่ ถอื ได”้ (Trustworthy AI) มปี ระเดน็ สำ� คญั ดังตอ่ ไปน้ี
• Human Agency and Oversight ระบบ AI ตอ้ งเคารพตอ่ อตั ตาณตั แิ ละการตดั สนิ ใจของมนษุ ย์
สร้างเสริมสังคมประชาธิปไตยและความเท่าเทียม โดยส่งเสริมสิทธิพ้ืนฐานของผู้ใช้และมี
กระบวนการควบคมุ ดแู ลโดยมนุษย์
• Technical Robustness and Safety ระบบ AI ต้องได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถใน
การปอ้ งกนั ความเสยี่ งและจำ� กดั ผลกระทบจากความผดิ พลาดใดๆทอ่ี ยนู่ อกเหนอื ความคาดหมาย
เชน่ มีความมนั่ คงปลอดภยั มีมาตรการรองรับกรณเี กดิ เหตุฉกุ เฉิน เปน็ ต้น
สำ�นกั งานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทลั (องคก์ ารมหาชน) 83
• Privacy and Data Governance ระบบ AI ต้องคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลขั้นพ้ืนฐานที่ได้รับ
ผลกระทบจากการใช้ AI โดยสอดคลอ้ งกบั แนวทางการกำ� กบั ดแู ลขอ้ มลู ทค่ี รอบคลมุ ถงึ การใช้
ขอ้ มูล การเขา้ ถึงขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ข้อมลู ที่คมุ้ ครองความเปน็ ส่วนตัวของเจ้าของข้อมลู
• Transparency ระบบ AI ตอ้ งมคี วามโปรง่ ใสทงั้ ในกระบวนการตา่ งๆ ทง้ั ดา้ นขอ้ มลู ระบบ และ
แบบจำ� ลองทางธรุ กจิ ใหส้ ามารถตรวจสอบและสง่ เสรมิ การสอ่ื สารระหวา่ งผทู้ มี่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งได้
• Diversity, Non-discrimination and Fairness ระบบ AI ต้องส่งเสริมการเข้าถึงและ
ความหลากหลาย โดยใหผ้ ทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งมสี ว่ นรว่ มตลอดกระบวนการการทำ� งาน และมแี นวทาง
การท�ำงานทสี่ ง่ เสริมความเท่าเทยี ม
• Societal and Environmental Wellbeing ระบบ AI ต้องมเี ป้าหมายในการสร้างสังคมและ
สิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน รวมถึงต้องค�ำนึงถึงประเด็นระดับโลกและการสร้างอนาคตที่ดีให้แก่
คนรนุ่ ตอ่ ไป
• Accountability ระบบ AI ต้องมีกลไกส่งเสริมการตรวจสอบและความรับผิดชอบตลอดทั้ง
กระบวนการ ตัง้ แต่ขนั้ ตอนการพฒั นาจนการน�ำมาใช้
บทที่ 3
แนวทางการนำ�
AI มาเพม่ิ
ประสิทธภิ าพการ
ทำ� งานของภาครฐั
ส�ำ นกั งานพัฒนารัฐบาลดจิ ทิ ลั (องค์การมหาชน) 85
บทสรปุ : บทท่ี 3
Singapore Chinese
ยกระดับการใหข้ ้อมลู กบั ประชาชน ตรวจจับการคอร์รัปชนั
หนว่ ยงานเจา้ ของโครงการ: หนว่ ยงานเจ้าของโครงการ:
รฐั บาลสิงคโปร์ Chinese Academy of Sciences และ Chinese
เทคโนโลยีท่ีใช้งาน: Communist Party
Government Information + AI Natural Language เทคโนโลยีที่ใชง้ าน:
Processing (NLP) การประมวลผลข้อมูลหลากหลาย ใน Big Data
ผลที่ไดร้ ับ: ผลท่ีได้รับ:
โครงการนี้เป็นการตอ่ ยอดจากระบบ Ask Jamie ทเ่ี ปน็ ระบบ Zero Trust ไดถ้ กู นำ� มาใชใ้ นเมอื งและเขตเพยี งแค่
Chatbot ท่ไี วส้ �ำหรบั ตอบค�ำถามเฉพาะ ทำ� ให้ Chatbot 30 แหง่ ซ่งึ นบั เป็นเพียงแค่ 1% ของทงั้ ประเทศเท่านนั้
สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างถูกต้อง แม่นย�ำ แต่ระบบนี้ก็กลับสามารถจับเจ้าหน้าที่รัฐท่ีท�ำทุจริตได้
สะดวก และพร้อมบริการ 24 ชั่วโมง 7 วนั ตอ่ สปั ดาห์ มากถึง 8,721 ราย
Korea
ตรวจจบั ผู้พำ� นักเกนิ เวลา
หนว่ ยงานเจ้าของโครงการ:
ตำ� รวจตรวจคนเขา้ เมืองเกาหลี
เทคโนโลยีที่ใชง้ าน:
Biometric และ Face Recognition
ผลที่ได้รบั :
การจดจ�ำใบหน้าเป็นแอปพลิเคชันที่สามารถระบุหรือ
ตรวจสอบบุคคลโดยการเปรียบเทียบและวิเคราะห์รูป
แบบตามรปู ทรงใบหนา้ ของบคุ คลนน้ั จงึ ทำ� ใหก้ ารตรวจ
จบั ผพู้ กั อาศัยโดยไมม่ ีใบอนญุ าตได้อย่างรวดเร็ว
BDIAGTA FACBEIORMECEOTRGINCIT&ION
86 AI for Government
Finland Estonia
ช่วยออกแบบหลกั สูตรการศึกษา ตดั สินคดแี ทนผู้พิพากษา
หนว่ ยงานเจ้าของโครงการ: หน่วยงานเจา้ ของโครงการ:
Finnish National Agency for Education (EDUFI) The Estonian Ministry of Justice
เทคโนโลยีท่ีใช้งาน: เทคโนโลยีที่ใชง้ าน:
ระบบผเู้ ชยี่ วชาญ (Expert System : ES) ท�ำงานรว่ มกบั Data Analysis และ Machine Learning
ผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นการศกึ ษามาท�ำงานร่วมกบั ผลที่ไดร้ บั :
ผลที่ได้รบั : ระบบช่วยตัดสินคดีความเล็กๆ น้อยๆ ทุนทรัพย์ไม่เกิน
ระบบท่ีใช้ความรู้ของผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้าน ในการ 7,000 ยูโร เพื่อแบ่งเบาภาระผู้พิพากษาในการสะสาง
ด�ำเนินการช่วยตัดสินใจในการใช้ความรู้เชิงคุณภาพ คดีความคั่งค้างและเปิดโอกาสให้ได้ตัดสินคดีความที่
เปน็ หลกั และใชเ้ ทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐเ์ ปน็ พน้ื ฐาน ซับซอ้ นกว่า
ของระบบ และสามารถใหค้ ำ� แนะนำ� กบั ผเู้ รยี นได้ รวมทง้ั
วิธีการเรียนรู้และอุปกรณ์การศึกษา ท่ีเหมาะสมกับ Canada
นกั เรยี นคนนัน้ ๆ
เพิ่มประสทิ ธิภาพระบบ ERP ภาครัฐ
ให้บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพและประกนั สงั คมในเชงิ รุก
หน่วยงานเจ้าของโครงการ:
หนว่ ยงานเจา้ ของโครงการ: รฐั แอลเบอร์ตา ประเทศแคนาดา
เมอื งเอสปู (Espoo) ประเทศฟนิ แลนด์ เทคโนโลยีท่ีใช้งาน:
เทคโนโลยีท่ีใชง้ าน: การประยกุ ต์ใช้ ระบบ RPA ผสานปัญญาประดิษฐ์
Data Analysis และ Machine Learning ผลที่ได้รบั :
ผลท่ีได้รับ: พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อบริหารจัดการงานภาครัฐให้เป็น
Espoo ใช้วิธีแก้ปัญหาในการระบุปัจจัยเฉพาะ 280 ระบบและรวดเร็วเท่ากับภาคธุรกิจ ช่วยให้หน่วยงาน
รายการท่ีจะช่วยคาดการณ์ว่าครอบครัวใดบ้างท่ีอาจ ภาครัฐสามารถใช้ระบบเพ่ือจดั การทรัพยากรตา่ งๆ ของ
ต้องการบริการสวัสดิการเด็กเพื่อให้หน่วยงานท่ีเหมาะ หน่วยงานใหม้ ีประสิทธภิ าพ เช่น การเงิน จดั ซื้อจัดจา้ ง
สมสามารถใหบ้ รกิ ารเชงิ รกุ ทำ� ใหส้ ามารถปอ้ งกนั ปญั หา ทรัพยากรมนษุ ย์ เป็นตน้
ลดต้นทนุ และเพม่ิ ความเป็นอยู่ท่ดี ขี องครอบครัว
EXPERT SYSTEM RPAA+I
MDAACTHAIANNEALLEYASRINSI&NG
สำ�นักงานพัฒนารฐั บาลดจิ ิทลั (องค์การมหาชน) 87
United States of America
AI คาดการณย์ านพาหนะทต่ี อ้ งไดร้ บั การบำ� รงุ รกั ษา จดั การปัญหาจราจรติดขดั
หน่วยงานเจา้ ของโครงการ: หน่วยงานเจา้ ของโครงการ:
กลาโหมสหรัฐ เมอื งพติ ตส์ เบิร์ก (Pittsburgh)
เทคโนโลยที ี่ใช้งาน: เทคโนโลยีท่ีใชง้ าน:
ใช้ Machine Learning ในส่วนของการวิเคราะห์เชิง Computer Vision ประกอบกบั เทคนคิ Optimization ใน
พยากรณ์ ระบบสัญญาณไฟจราจร
ผลที่ได้รบั : ผลท่ีไดร้ บั :
BAE Systems ซ่ึงเป็นระบบ AI ที่ใชใ้ นการคำ� นวนพยา ระบบ SURTRAC ช่วยให้การเดินทางในเมือง ลดลง
กรณ์ ความเสยี หาย ทตี่ อ้ งซอ่ มบำ� รงุ ของยานรบและยาน 25%, ลดการชะงักงันของการจราจร 30%, ลดการรอ
พาหนะขนสง่ ทหี่ มุ้ เกราะหนกั ทำ� ใหส้ ามารถเขา้ บำ� รงุ ได้ เวลา 40%, และลดการปล่อยมลพษิ โดยรวม 21% ใน
ในระยะทเ่ี หมาะสม ช่วยลดความผิดพลาดระหวา่ งการ ระหวา่ งการด�ำเนนิ การโครงการน�ำรอ่ ง
ปฏบิ ตั งิ านภาคสนาม
Australia
คาดการณ์ปรมิ าณน้�ำลว่ งหน้า
ใชเ้ สียงในการยนื ยนั ตัวตน
หน่วยงานเจ้าของโครงการ:
หน่วยงานท้องถน่ิ ของรัฐเทกซสั (Texas) สหรฐั อเมริกา หนว่ ยงานเจ้าของโครงการ:
เทคโนโลยีที่ใช้งาน: ส�ำนักการภาษี ออสเตรเลีย (Australian Taxation
Machine Learning โดยใชจ้ �ำลองหลายๆ สถานการณ์ Office)
เพื่อสามารถให้โมเดลยังคงสามารถท�ำการพยากรณ์ เทคโนโลยที ่ีใชง้ าน:
ล่วงหนา้ ได้ เป็นการใช้ระบบรู้จ�ำเสียง เพื่อการพิสูจน์ตัวตนแทนที่
ผลที่ไดร้ บั : ระบบ PIN
หน่วยงานสามารถติดตามสถาณการณ์ น้�ำท่วมได้แม้ ผลท่ีได้รับ:
อยู่ในช่วงวิกฤตที่เสาส่งสัญญาญบางส่วนได้ถูกท�ำลาย นอกเหนือไปจากการเข้าถึงข้อมูลได้ในระยะเวลาท่ี
ลงไปแล้ว รวมท้ังสามารถ ประเมิน ความรุนแรงของ รวดเร็วข้ึนแล้ว การพิสูจน์ตัวตนด้วยเสียง ได้รับการ
เหตอุ ทุ กภยั ไดอ้ ยา่ งใกลเ้ คยี งกบั สถานการณจ์ รงิ รวมถงึ พิสจู น์แลว้ ว่าให้ความปลอดภัยในระดบั ทีส่ ูงกวา่ วิธกี าร
สามารถส่งข้อมูลออกเพ่ือขอค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ รบั รองความถูกตอ้ งแบบด้งั เดิม
ในทอ้ งท่ีอน่ื ไดท้ ันที
COMOPPUTTIMERIZVAITSIOIONN &
88 AI for Government
Thailand
พจิ ารณาคำ� ขออนุญาต เฝา้ ระวังโจรปลน้ รา้ นทอง
หนว่ ยงานเจา้ ของโครงการ: หน่วยงานเจ้าของโครงการ:
กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ร่วมกับ หน่วยงานตำ� รวจไทย
สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (สอท.) เทคโนโลยีท่ีใช้งาน:
เทคโนโลยีท่ีใช้งาน: ระบบอาศัยการท�ำงานร่วมกันระหว่าง กล้องวงจรปิด
ใชเ้ ทคนคิ RPA รว่ มกบั การประมวลผลขอ้ มลู ขนาดใหญ่ และ Image recognition ท่ชี ว่ ยรู้จ�ำและแยกแยะบุคคล
และใหเ้ รยี นรจู้ าก การประเมนิ เอกสารทเี่ คยมาขออนมุ ตั ิ ทม่ี ีแนวโน้มจะกอ่ เหตอุ าชญากรรม
ผลที่ได้รบั : ผลที่ไดร้ ับ:
ระบบ AUTO e-License เป็นระบบการขออนุญาตน�ำ ปญั ญาประดษิ ฐ์ สามารถลดภาระงานตำ� รวจในการเฝา้
กากที่ไม่ใช้แลว้ ออกนอกโรงงานเพยี ง 3 นาทีด้วยระบบ ระวังคนร้ายเข้ามาในร้านทอง รวมถึงช่วยในการติดต่อ
AI โดยผู้ประกอบการเพียงย่ืนขออนุญาตผ่านทางส่ือ ประสานงานกบั ทางสถานเี พอื่ ระดมพลและจดั กำ� ลงั พล
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อช่วยลดภาระให้กับผู้ประกอบการ เพื่อจบั กุมคนร้ายภายในกรอบเวลา 8 นาที
และอำ� นวยความสะดวกเพม่ิ ความรวดเรว็ ในการนำ� กาก
อุตสาหกรรมออกนอกโรงงาน Hungary
วินจิ ฉัยโรคเบาหวาน จดั การข้อมูลภาพในคลงั ภาพและเสยี งแห่งชาติ
หน่วยงานเจ้าของโครงการ: หนว่ ยงานเจ้าของโครงการ:
โรงพยาบาลราชวถิ ี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ The National Audiovisual Archive of Hungary
ประเทศไทย (NEVA)
เทคโนโลยีท่ีใช้งาน: เทคโนโลยีที่ใชง้ าน:
ระบบ Visualization และ Deep Learning Cognitive Solution เช่น “Machine Vision”
ผลท่ีได้รบั : ผลที่ได้รับ:
โมเดลปญั ญาประดษิ ฐส์ ามารถตรวจจบั มคี วามแมน่ ยำ� ไดม้ กี ารบนั ทกึ โปรแกรมสอ่ื การบรกิ ารสาธารณะ รวมถงึ
สูงถึง 97% ช่วยเพ่ิมการเข้าถึงของผู้ป่วยในการตรวจ การท�ำ Digitize ภาพขา่ วในประวัตศิ าสตร์ นบั ลา้ นภาพ
คดั กรอง ผ้ปู ว่ ยจะสามารถทราบระยะของโรคทนั ที รวม จึงมกี ารนำ� เทคโนโลยี ปญั ญาประดษิ ฐ์เขา้ มาช่วยเหลือ
ถงึ ช่วยแบง่ เบาภาระงานใหก้ ับบุคลากรทางการแพทย์ การทำ� งานไดใ้ นการจดจำ� ผคู้ นอยา่ งรวดเรว็ และแมน่ ยำ�
VDISEUEAPLLIEZAATRINOINNG&
สำ�นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) 89
บทที่ 3 : แนวทางการน�ำ AI มาเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการทำ�งานของภาครัฐ
หลังจากที่เราเข้าใจพื้นฐานของ AI พอสมควร ท้ังความหมายและการท�ำงานในเบ้ืองต้น รวมท้ัง
แนวโนม้ ของ AI จากกลยุทธข์ องประเทศทน่ี า่ สนใจท่ัวโลก เนือ้ หาในถัดไปจึงเปน็ การรวบรวมกรณี
ตวั อยา่ งของตา่ งประเทศในการน�ำ AI มาใชเ้ พอื่ สนบั สนนุ การทำ� งานและสง่ ผลเชงิ บวกใหแ้ กภ่ าครฐั
ซึง่ จะท�ำให้เราทราบวา่ งานแตล่ ะประเภทของภาครัฐสามารถใช้ AI ในการแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งไร
โดยเนือ้ หาในสว่ นนี้อาจสรา้ งแนวคดิ ใหม่ในการแกป้ ญั หาให้แก่หนว่ ยงานภาครัฐท่ีกำ� ลังเผชญิ อยู่
จากการวเิ คราะหง์ านตามขน้ั ตอนและรปู แบบการทำ� งานของหนว่ ยงานภาครฐั ไทย พบวา่ สามารถ
แบ่งประเภทงานภาครัฐเป็น 3 ประเภท ได้แก่ งานบริการสาธารณะของรัฐตามภารกิจของหน่วย
งาน งานการบริหารจัดการภาครัฐ และงานเฉพาะท่ีแต่ละหน่วยงานจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการตาม
ภารกิจ โดยได้รวบรวมตัวอย่างแนวทางการน�ำ AI มาประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับงานท้ัง 3 ประเภท
ดังกล่าว ซ่ึงมีทั้งตัวอย่างที่มาจากภาครัฐโดยตรงและตัวอย่างที่มาจากภาคเอกชนประกอบกัน
ท้ังนี้ หวงั เป็นอย่างยิง่ ว่ารปู แบบตวั อยา่ งทีร่ วบรวมมาจะชว่ ยเสริมสรา้ งแนวคิดในการน�ำ AI มาใช้
เป็นเคร่ืองมือทางเลือกในการเพ่ิมประสิทธิภาพและสามารถแก้ไขการท�ำงานให้แก่หน่วยงาน
ภาครัฐ โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี
90 AI for Government
การใช้ AI ในการให้บรกิ ารสาธารณะของรัฐ (AI for Public Service)
การให้บริการสาธารณะของรัฐ เป็นงานที่หน่วยงานภาครัฐแต่ละละหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีในการให้
บรกิ ารประชาชนในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การออกเอกสารราชการและใบอนญุ าต (บตั รประจำ� ตวั ประชาชน
ใบขบั ขี่ ทะเบยี นการค้า ฯลฯ) การโอนกรรมสทิ ธแิ ละการแสดงสทิ ธิ (การโอนทีด่ นิ การจดทะเบยี น
รถยนต์ ฯลฯ) เป็นต้น ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นบริการที่มีจ�ำนวนธุรกรรมต่อวันในปริมาณมาก รวมทั้ง
จำ� เปน็ ต้องใช้ทรัพยากรหลายอยา่ งในการให้บรกิ าร เช่น แรงงาน (เจา้ หนา้ ที่หรือลูกจ้าง) สถานที่
(ทอ่ี าจตอ้ งสรา้ งขนึ้ หลายแห่งเพือ่ รองรับจำ� นวนประชากรที่มีการขยายตวั ) งบประมาณ (ทต่ี ้องใช้
มากขน้ึ ทกุ ปที งั้ เงนิ เดอื น คา่ รกั ษาระบบ คา่ ดแู ลอาคารสถานท่ี เปน็ ตน้ งานประเภทนเี้ ปน็ งานทตี่ อ้ ง
ใชแ้ รงงานเปน็ จ�ำนวนมาก มีขน้ั ตอนการท�ำงานชัดเจน และเป็นงานทีต่ อ้ งทำ� ซ�้ำ
1. การวเิ คราะห์รปู แบบ AI ท่ีน�ำมาใช้ในแต่ละข้ันตอน
เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพมากขึ้น สพร. ได้น�ำขั้นตอนการให้บริการสาธารณะภาครัฐ 4 ที่เป็นขั้นตอน
ทั่วไปมาวิเคราะห์เราสามารถน�ำเทคนคิ AI มาใชเ้ พิ่มประสทิ ธภิ าพการทำ� งานในข้ันตอนใดได้บา้ ง
โดยไมจ่ ำ� เปน็ วา่ จำ� เปน็ ตอ้ งใชใ้ นทกุ ขนั้ ตอน อาจเรม่ิ จากขนั้ ตอนทพ่ี รอ้ มกอ่ น เชน่ มขี อ้ มลู ในรปู แบบ
ดิจิทัลในรูปแบบท่ีสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ทันที มีขั้นตอนการท�ำงาน (Workflow) ที่ชัดเจน
เป็นตน้ ทัง้ น้ี หากหนว่ ยงานใดมรี ูปแบบการใหบ้ รกิ ารสาธารณะเฉพาะทไี่ มต่ รงกบั ขัน้ ตอนท่ี สพร.
น�ำมาใช้เป็นตัวอย่าง อาจน�ำแนวคิดการน�ำเทคนิค AI มาใช้ในแต่ละขั้นตอนไปประยุกต์เพื่อเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการทำ� งานเฉพาะขั้นตอนไดเ้ ช่นกัน
4 จากแนวคิดการพัฒนาศูนย์บริการร่วม ณ จุดเดียว (One-Stop Service) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15
กรกฎาคม 2562
ส�ำ นักงานพฒั นารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) 91
ตารางที่ 2 รปู แบบของ AI ทส่ี ามารถนำ� มาประยุกตใ์ นขั้นตอนการใหบ้ ริการของรฐั
ขน้ั ตอนการใหบ รก� ารของรัฐ: อำนวยความสะดวกใหประชาชนสามารถกรอกฟอรมไดจากทั้งการพูด
แบบฟอรม ย่ืนคำรอ ง/คำขอ การเขยี น นอกเหนอื ไปจากการพมิ พ โดยใชเ ทคนคิ รจู ำภาพและรจู ำเสยี ง
(Single e-Form) เพื่อนำเขาระบบ โดยสามารถพัฒนาความสามารถในการรับเสียงและ
อา นลายมอื ดว ย Machine Learning และ NLP สามารถใชร ะบบผเู ชย่ี วชาญ
เพื่อรับคำรองเบื้องตน ที่สามารถตัดสินใจไดดวยปญญาประดิษฐเลย
และมีการเก็บคำรองอื่นๆ ที่นอกเหนือจากขอมูลที่มีไวใหมนุษยโดยใช
ระบบปญ ญาประดิษฐสำหรับการวางแผน
รูปแบบของ AI ท่ีสามารถนำมาประยุกตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ขน้ั ตอนการใหบ รก� ารของรฐั : สามารถใชปญญาประดิษฐเพื่อชวยยืนยันตัวตนประกอบคำรอง ไมวา
แนบสำเนาเอกสารประกอบ จะเปนการรูจำเสียงหรือการรูจำใบหนารวมไปถึง การใช Machine
(Automatic Digital Document) Learning เพอ่ื ตรวจสอบลายเซน็ ลงนาม การรจู ำภาษาสามารถนำมาใช
เพื่อจัดการเอกสารเบื้องตนโดยไมตองใชมนุษย และสามารถประยุกต
ระบบผเู ชย่ี วชาญเพอ่ื ใหแ นะนำการแนบเอกสาร ตรวจสอบความถกู ตอ ง
เบอื้ งตนและแนะนำการเตรยี มเอกสารเบอ้ื งตนได
รปู แบบของ AI ท่สี ามารถนำมาประยกุ ตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ขัน้ ตอนการใหบรก� ารของรัฐ: การรูจำเสียงและการรูจำภาพสามารถชวยใหการตรวจสอบตัวตน
การเชอื่ มโยงขอมลู ขามหนวยงาน ผมู สี ทิ ธเ์ิ ขา ถงึ ทำไดง า ยขน้ึ Machine Learning ชว ยใหส ามารถตรวจสอบ
(Data Exchange) ความสมบรู ณข องขอ มลู ไดอ ยา งทว่ั ถงึ และสรา งความมน่ั ใจในความถกู ตอ ง
ของขอ มลู ทจ่ี ะสง ตอ ไปยงั หนว ยงานอน่ื ดว ยการใชร ะบบภาษาธรรมชาติ
ตรวจสอบเพื่อความสมบูรณของขอมูลและสะดวกตอการใหบริการ
ปญ ญาประดษิ ฐเ พอ่ื การจดั การสามารถเขา มาดแู ลในสว นน้ี และระบบ
ผเู ชย่ี วชาญสามารถใหค ำแนะนำเรอ่ื งชดุ ขอ มลู กลมุ ของชดุ ขอ มลู ทค่ี วร
ใชรว มกนั
รูปแบบของ AI ทส่ี ามารถนำมาประยกุ ตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
92 AI for Government
ข้นั ตอนการใหบ รก� ารของรฐั : พิจารณาคำรองเทียบกับระเบียบหนวยงานดวยการประมวลผลภาษา
การพจ� ารณาอนมุ ัติ ธรรมชาติ และสงตอเขาระบบผูเชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาอนุมัติ อนุญาต
อนญุ าตของหนว ยงาน อำนวยความสะดวกของการยน่ื คำรอ งดว ยระบบรจู ำภาพและเสยี ง และใช
(Application Examination) Machine Learning เพอ่ื หาจดุ ผดิ ปกตขิ องคำรอง
รูปแบบของ AI ทีส่ ามารถนำมาประยกุ ตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ขั้นตอนการใหบ ร�การของรฐั : ระบบผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบสิทธิ์ของเจาพนักงานเพื่อลงนาม ระบบ
การอนมุ ตั ิ อนุญาต รจู ำภาพและเสยี ง สามารถชว ยตรวจสอบตวั ตนไดร วดเรว็ ขน้ึ การประมวลผล
ดว ยอำนาจของเจาหนา ท่ี ภาษาธรรมชาติ ชวยจับคูเจาหนาที่ผูรับผิดชอบและคำรองที่รองขอได
(Digital Signature) ถกู ตอ งยง่ิ ขน้ึ ระบบพจิ ารณาความถกู ตอ งของเอกสาร โดยการวเิ คราะห
เปรียบเทียบกับ Case ที่ผานมาและประมวลผลเพื่ออนุมัติ/อนุญาต
อตั โนมตั ิ
รูปแบบของ AI ที่สามารถนำมาประยกุ ตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ขั้นตอนการใหบ รก� ารของรฐั : การยืนยันตัวตนโดยอาศัยขอมูลทางชีวมิติ (Biometrics) จากระบบ
การยนื ยนั ตวั ตน/รับรองสำเนา รูจำภาพ/เสียง ชวยใหการยืนยันตัวตน สะดวกรวดเร็ว และ Machine
(Digital ID) Learning สามารถพจิ ารณาการปลอมแปลงตวั บคุ คลดว ยการวเิ คราะห
จากขอมลู เกา
รปู แบบของ AI ที่สามารถนำมาประยุกตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ขน้ั ตอนการใหบรก� ารของรฐั : คัดกรองเอกสารตามหลักเกณฑไดจากทั้งภาพและเสียง จากระบบรูจำ
การออกใบอนญุ าต ใชก ารประมวลผลภาษาธรรมชาตเิ พอ่ื ยแยกประเภทเอกสาร สง ตอ ใหก บั
(e-Certification/e-License) ระบบผเู ชย่ี วชาญเพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั อิ นญุ าต และใช Machine Learning
เพื่อหาจุดผิดปกติของคำรอง เพื่อตราจสอบวาคำรองนี้ผิดปกติหรือไม
เพอ่ื แจงเตือนใหเ จา หนาทด่ี ำเนนิ การตรวจสอบโดยละเอียดตอ ไป
รูปแบบของ AI ทสี่ ามารถนำมาประยุกตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ส�ำ นักงานพฒั นารฐั บาลดิจทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) 93
ขน้ั ตอนการใหบรก� ารของรัฐ: ระบบตรวจสอบและยืนยันบุคคลจากเสียงหรือใบหนา ผานตูอัตโนมัติ
การชำระเงน� ณ จดุ รบั จา ยเงนิ ระบบการ Machine Learning เพอ่ื ลดความผดิ พลาด
(e-Payment) ในการชำระเงิน ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถชวยตรวจสอบธุรกรรมที่มี
ปญ หา ระบบแชตบอทจากการประมวลผลภาษาธรรมชาตชิ ว ยใหบ รกิ าร
และตอบคำถามผูใชง านเบื้องตน
รูปแบบของ AI ทีส่ ามารถนำมาประยุกตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ขน้ั ตอนการใหบรก� ารของรฐั : ตูอัตโนมัติ ใชระบบรูจำเพื่อพิสูจนตัวตนผูใชบริการ ออกใบเสร็จรับเงิน
ใบเสรจ็ รบั เงน� ตามความตองการของลูกคาจากระบบเรียนรูภาษาธรรมชาติพรอมทั้ง
(e-Receipt/e-Tax Invoice) สง เขาระบบลดหยอ นภาษีดว ยระบบผเู ชี่ยวชาญ
รปู แบบของ AI ท่ีสามารถนำมาประยกุ ตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
ขั้นตอนการใหบร�การของรฐั : Machine Learning สามารถทำใหฟงกชันการสงเอกสารรายบุคคลมี
การจัดสง เอกสารไปยังประชาชน ประสทิ ธภิ าพ NLP ชว ยใหส ามารถใสเ นอ้ื หาอตั โนมตั ไิ ด ระบบวางแผน
(e-Mail/Digital Inbox) ชวยใหสามารถกำหนดเวลาจัดสงที่ดีที่สุดได ใชการรับขอมูลไดจาก
ทัง้ ภาพและเสียง
รูปแบบของ AI ทส่ี ามารถนำมาประยุกตได
Speech Vision Robotics Machine Learning NLP Planning Expert System
2. ตวั อย่างการน�ำ AI มาใช้ในงานบรกิ ารสาธารณะของรฐั
รฐั บาลหลายประเทศไดพ้ ฒั นาบรกิ ารรว่ มกบั เอกชน เนอื่ งจากเทคโนโลยขี องเอกชนมคี วามทนั สมยั
และเขา้ ถงึ พฤตกิ รรมการใชง้ านของประชาชนอยา่ งแทจ้ รงิ ซง่ึ ตรงกบั แนวคดิ การใหบ้ รกิ ารสาธารณะ
ของภาครฐั ในหลายประเทศทม่ี ปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Citizen-centric) โดยมตี วั อยา่ งการนำ� AI
มาประยกุ ตเ์ พ่ือใชใ้ นงานบริการสาธารณะของรฐั ท่นี า่ สนใจ ดังนี้
94 AI for Government
ตัวอย่างท่ี 1 สิงคโปรพ์ ฒั นา Gov.sg Chatbot เพือ่ ยกระดบั การใหข้ ้อมูลกับประชาชน 5
หนว ยงานเจาของโครงการ: รัฐบาลสิงคโปร
วตั ถุประสงค: เพื่อยกระดับการบริการประชาชนใหสามารถรองรับผูใชจำนวนมากไดอยางถูกตอง
แมน ยำ สะดวก และพรอ มบรกิ าร 24 ชว่ั โมง 7 วนั ตอ สัปดาห
เทคโนโลยีท่ีใชง าน: Government Information + AI Natural Language Processing (NLP)
ผลท่ีไดรบั : โครงการนี้เปนการตอยอดจาก ระบบ Ask Jamie ที่เปน Chatbot ที่ไวสำหรับตอบ
คำถามเฉพาะ ของหนว ยงาน Info-communications Media Development Authority
เมอ่ื มกี ารบรู ณาการกบั เทคโนโลยี จาก Microsoft ทำให Chatbot สามารถใหบ รกิ าร
ประชาชนไดต ลอดเวลาและรองรบั การใชบ รกิ ารครง้ั ละจำนวนมากได ดว ยการบรกิ าร
ทง่ี า ย ทำใหผ สู งู อายุ และผทู ไ่ี มถ นดั เทคโนโลยี สามารถใชง านไดเ หมอื นคยุ กบั มนษุ ย
+ EXAMPLE
ภาพประกอบจาก: https://www.gov.sg/news/content/5-reasons-to-use-the-gov-sg-bot
5 ท่มี า: Chan, 2017
ส�ำ นกั งานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) 95
ตวั อยา่ งท่ี 2 ฟินแลนดใ์ ช้ AI ชว่ ยออกแบบหลกั สูตรการศกึ ษา 6
หนวยงานเจา ของโครงการ: Finnish National Agency for Education (EDUFI)
วัตถปุ ระสงค: เพอ่ื แกไ ขปญ หาการจดั การเรยี นการสอนใหเ หมาะสมกบั ความถนดั ของผเู รยี นแตล ะ
คนที่ตอ งใชเ วลาในการวิเคราะหอยา งใกลช ดิ
เทคโนโลยีที่ใชง าน: ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System : ES) เพื่อแนะนำหลักสูตรและวิธีการเรียนรูที่
เหมาะกบั ผเู รยี นแตล ะคน โดย ใชผ ทู รงคณุ วฒุ ดิ า นการศกึ ษามาทำงานรว มกบั ระบบ
AI Expert System เพื่อเรียนรูแ ละทำความเขา ใจผเู รียนแตล ะคน
ผลท่ีไดร ับ: เปนระบบที่ใชความรูของผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ในการดำเนินการชวยตัดสินใจใน
การใชค วามรเู ชงิ คณุ ภาพเปน หลกั ประกอบดว ยองคป ระกอบตา งๆ ไดแ ก ฐานความรู
(Knowledge Base) กลไกอนมุ าน (Inference Engine) และสว นตอ ประสานกบั ผใู ช
(User Interface) และใชเ ทคโนโลยปี ญ ญาประดษิ ฐเ ปน พน้ื ฐานของระบบ และสามารถ
ใหคำแนะนำกับผูเรียนได รวมไปถึงวิธีการเรียนรูและอุปกรณการศึกษาที่เหมาะสม
กับนักเรยี นคนนัน้ ๆ
+ EXAMPLE
ภาพประกอบจาก: https://finland.fi/business-innovation/combining-finnish-educational-expertise-and-
artificial-intelligence/
6 ทมี่ า: Koshenlaakso, 2018
96 AI for Government
ตวั อยา่ งท่ี 3 เอสโตเนียใช้ AI ตัดสนิ คดีแทนผู้พิพากษา 7
หนวยงานเจาของโครงการ: The Estonian Ministry of Justice
วตั ถปุ ระสงค: เพอ่ื แบง เบาภาระผพู พิ ากษามคี ดที ต่ี อ งเสยี เวลาไมน อ ยไปกบั คดมี โนสาเร การพฒั นา
AI ผูพพิ ากษาข้นึ เพ่ือตดั สนิ คดีฟองรอ งเล็กๆ ท่ีมีคาเสยี หายไมส ูงนกั และไมซ ับซอ น
เทคโนโลยีที่ใชง าน: Data Analysis และ Machine Learning
ผลที่ไดร ับ: ระบบชว ยตดั สนิ คดคี วามเลก็ ๆ นอ ยๆ ทนุ ทรพั ยไ มเ กนิ 7,000 ยโู ร หรอื ราว 250,634
บาท เพื่อสะสางคดีความคั่งคางและเปดโอกาสใหผูพิพากษาไดตัดสินคดีความที่
ซับซอนกวา โปรแกรมยังอยูในชวงเริ่มตนยังตองใชการสอนจากผูเชี่ยวชาญทาง
กฎหมาย แตที่สามารถทำงานไดเปนอยางดีเพราะวา แอสโตเนียไดเตรียมการดาน
E-Stonia เปน อยา งดแี ลว จงึ สามารถใชก ารประมวลผลคดี จากขอ มลู ทม่ี อี ยใู นระบบได
+ EXAMPLE
ภาพประกอบจาก: https://www.nlc.org/advocacy/court-cases
7 ท่ีมา: Tangermann, 2019
สำ�นักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องคก์ ารมหาชน) 97
ตัวอยา่ งท่ี 4 ไทยใช้ AI พจิ ารณาอนุญาตนำ� กากอตุ สาหกรรมออกนอกบรเิ วณโรงงาน 8
หนวยงานเจาของโครงการ: กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) รว มกับ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (สอท.)
วตั ถปุ ระสงค: เพื่อชวยลดภาระใหกับผูประกอบการ และอำนวยความสะดวกเพิ่มความรวดเร็ว
ในการนำกากอตุ สาหกรรมออกนอกโรงงาน
เทคโนโลยที ่ีใชง าน: ใชเ ทคนคิ RPA รว มกบั การประมวลผลขอ มลู ขนาดใหญ และใหเ รยี นรจู ากการประเมนิ
เอกสารท่เี คยมาขออนุมตั ิ
ผลที่ไดร บั : ระบบ AUTO e-License เปน ระบบการขออนญุ าตนำกากทไ่ี มใ ชแ ลว ออกนอกโรงงาน
เพียง 3 นาทีดวยระบบ AI โดยผูประกอบการเพียงยื่นขออนุญาต สก.2 ผานทางสื่อ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส หลงั จากนน้ั ระบบฯ จะตรวจสอบขอ มลู ทกุ รายการในคำขอทย่ี น่ื ขออนญุ าต
กับขอมูลสารสนเทศที่มีในระบบ และประมวลผลพิจารณาอนุญาตตามเงื่อนไข
โดยอัตโนมตั แิ ทนเจาหนาท่ี
+ EXAMPLE
ภาพประกอบจาก: http://www.universalwastemanagement.co.uk/hazardous-waste-disposal/
8 ท่มี า: กล่มุ ประชาสมั พันธ์ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม, 2018
98 AI for Government
ตัวอย่างท่ี 5 เมืองเอสปู ฟินแลนด์ ใช้ AI ใหบ้ รกิ ารด้านสุขภาพและประกันสงั คมในเชงิ รุก 9
หนวยงานเจาของโครงการ: เมืองเอสปู (Espoo) ประเทศฟน แลนด
วัตถปุ ระสงค: เพ่อื ใหบริการสาธารณะเชงิ รกุ ท่ีเหมาะสมกับความตอ งการของประชาชนแตล ะคน
เทคโนโลยที ี่ใชง าน: Data Analysis และ Machine Learning
ผลที่ไดร ับ: Espoo ใชวิธีแกปญหาในการระบุปจจัยเฉพาะ 280 รายการที่จะชวยคาดการณวา
ครอบครัวใดบางที่อาจตองการบริการสวัสดิการเด็กเพื่อใหหนวยงานที่เหมาะสม
สามารถทำงานรว มกนั และขยายการบรกิ ารสนบั สนนุ ลว งหนา ดว ยการทำงานเชงิ รกุ
เมืองจะสามารถแกไขปญหากอนเกิดปญหา หลีกเลี่ยงการวาจางบริการที่หนักกวา
และมีราคาแพงกวา และเพ่ิมความเปน อยทู ่ดี ีของครอบครัว
+ EXAMPLE
ภาพประกอบจาก: https://www.oxford-healthcare.com/home-care-case-studies-blog/category/Case+Studies
9 ที่มา: Microsoft, 2018