The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือ AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

หนังสือ AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

สำ�นกั งานพฒั นารฐั บาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) 99

การใช้ AI ในงานบริหารจัดการภาครัฐ (AI for Government Management)
งานบรหิ ารจดั การภาครฐั หมายถงึ กระบวนการภายในทหี่ นว่ ยงานภาครฐั ตอ้ งท�ำซำ�้ เปน็ ประจำ� และ
มขี ้นั ตอนทช่ี ัดเจน เชน่ การรับ-จ่ายเงิน การเบิกพัสดุ การจองหอ้ งประชุม งานสารบรรณ เปน็ ต้น
โดย AI สามารถท�ำงานแทนบุคลากรภาครัฐในงานบริหารจัดการภาครัฐได้เป็นอย่างดี เน่ืองจาก
งานเหล่านี้มีกระบวนการและขั้นตอนท่ีชัดเจน และไม่ต้องอาศัยรูปแบบของ AI ท่ีมีเทคนิคการ
วเิ คราะห์ในขน้ั สงู มาก
1. การวิเคราะห์รูปแบบ AI ทนี่ �ำมาใช้ในแตล่ ะงาน
สพร. ไดน้ ำ� รปู แบบ AI ทน่ี �ำเสนอไวใ้ นบทที่ 1 มาวเิ คราะหร์ ว่ มกบั ตวั อยา่ งงานบรหิ ารจดั การภายใน
ของหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือน�ำเสนอรูปแบบการน�ำมาใช้งานตามความสามารถของ AI ในแต่ละ
รูปแบบ โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

100 AI for Government

ตารางที่ 3 รูปแบบของ AI ทสี่ ามารถนำ� มาประยกุ ต์ในการบรหิ ารจดั การภาครัฐ

รปู แบบของ AI ท่ีสามารถนำมาประยุกตได

จัดกการาบรภรห�าคารรฐั Speech Vision Robotics LMeaacrnhiinnge NLP Planning SEyxspteermt

งบประมาณ พส� ูจนตวั ตน สแกนใบเสร็จ ระบบ ระบบ ระบบ
ดวยเสยี ง และลงบัญชี ตรวจจบั ทจุ ร�ต จัดกลมุ งบ แนะนำการใช
อตั โนมตั ิ งบประมาณ
อตั โนมัติ ใหเหมาะสม

บรห� ารบุคคล ระบบตรวจจับ ระบบสังเกต หุนยนตที่ ระบบทำนาย Chatbot ทีส่ ดุ กบั
อารมณ อารมณ ปร�กษาบรก� าร การลาออก ใหบ ร�การงาน งานน้ันๆ
พนกั งาน พนักงาน ฝายบคุ คล ของพนกั งาน สว นบคุ คล ระบบดแู ล
(รวมถึงโรค ในการประชมุ อตั โนมัติ สวัสดกิ าร
ซมึ เศรา ) พนักงาน
อตั โนมัติ
จัดซ้อื -จดั จาง วเ� คราะห ระบบจดั กลุม Drone ฝกใหร ะบบ ระบบวเ� คราะห
การตรวจรบั บร�ษทั อัตโนมตั ิ สงพัสดุ องคความรู ขอมูลตาม ระบบ
หาความผด� ภายในองคกร กลยุทธท ่ี การแนะนำ
ปกติ ใหด ีข้�น กำหนดไว การจัดซอ้ื

จดั จาง

พัสดุ ระบบเบกิ ระบบ ระบบ ระบบชวย Enterprise ระบบ
ตรวจสอบ อุปกรณ ตรวจสอบ จา ยพัสดุ เช็คพสั ดุ Resource ประมาณการณ
ดวยเสียง พัสดุอัตโนมัติ อตั โนมัติ คงคลงั Planning:
บัญชี ระบบ คลงั พัสดุ
ตรวจหาทจุ ร�ต
การเงน� ระบบ ระบบ ระบบ ERP ดวย AI Audit A.I.
ตรวจจบั จ�ด ตรวจสอบ ตรวจสอบ ระบบจัดการ
ผด� สงั เกตจาก เอกสารปลอม ความพอใจ ทรัพยากร
บทสนทนา อัตโนมตั ิ

ระบบ ระบบจดั เก็บ ระบบ ระบบจัดกลุม ผูชวย
รบั คำสงั่ เอกสาร ตรวจจบั เอกสาร ผตู รวจสอบ
ดวยสยี ง ความผด� ปกติ อัตโนมัติ บญั ชีอัจฉร�ยะ
ทางดานบัญชี โดยการใช
อัตโนมตั ิ ระบบ Deep
Learning

แบบ
Unsuper-
vised Deep
Learning
กบั การทุจรต�
ทางบญั ชี

ระบบ ระบบคดั แยก ระบบ ระบบจดั กลุม ระบบ
บนั ทกึ การเงน� เอกสารทาง ตรวจจบั เอกสาร ใหคำแนะนำ
การทจุ ร�ต อัตโนมัติ ดานการเง�น
ดว ยเสยี ง การเงน� ทางการเงน�
เฉพาะบุคคล อตั โนมัติ

ส�ำ นักงานพัฒนารฐั บาลดจิ ิทัล (องคก์ ารมหาชน) 101

รปู แบบของ AI ทสี่ ามารถนำมาประยกุ ตได

จดักการาบรภรห�าคารรัฐ Speech Vision Robotics LMeaacrnhiinnge NLP Planning SEyxspteermt

สารบรรณ ระบบ ระบบ หนุ ยนต ระบบ ระบบจัดการ ระบบ ระบบ
รับคำสง่ั แยกเอกสาร เดนิ เอกสาร ออกเลข เอกสาร พจ� ารณา รา งหนังสือ
ดวยเสียง อตั โนมัติ สารบรรณ อตั โนมตั ิ เอกสาร อัตโนมัติ
ตามกลุม อตั โนมัติ
อัตโนมัติ

การบรห� าร ระบบ ระบบ หุน ยนต ระบบ ระบบรวบรวม เพ�่มประสิทธิ สมารท
สำนกั งาน รบั คำส่ัง ตรวจสอบ บรก� าร การศกึ ษา และจดั กลุม ภาพจากการ ออฟฟส�
ดวยเสยี ง ความเร�ยบรอย งานทวั่ ไป การใชบร�การ คำแนะนำ
ของสำนกั งาน สำนกั งาน สำนักงาน วเ� คราะห
อัตโนมตั ิ งานประจำ

แจงบำรงุ ระบบ ระบบ หนุ ยนต ระบบ ระบบระบุ ระบบรับเร่อ� ง ระบบวางแผน
รักษา ตรวจจบั ตรวจจบั ลาดตระเวน คาดการณ จ�ดซอมบำรุง ประเมนิ ซอมบำรุง
ความผด� ปกติ สิ�งผด� ปกติ ตรวจสอบ การซอมบำรุง ตามป
ดว ยเสียง ดวยกลอ ง ความเสยี หาย ลวงหนา ดว ยคำ ความเสยี หาย งบประมาณ
อตั โนมตั ิ แวดลอม และแจงซอม
อตั โนมตั ิ

ขอใช ระบบ ระบบ ระบบ จบั คกู ารใช ระบบ ระบบแนะนำ
ทรัพยากร รับคำสงั่ จอง ตรวจสอบ จัดสรร งานทรัพยากร งานเอกสาร การใชบรก� าร
ของสำนกั งาน ดวยเสยี ง การใช ทรัพยากร กับโครงการ อตั โนมตั ิ สำนกั งาน
เชน จองหอง ทรพั ยากร ลวงหนา (ถาจองตาม
ประชุม สำนักงาน ตอ งการไมไ ด
จองรถยนต ควรดำเนินการ
อยางไรตอ)

การนัดหมาย ระบบบันทึก จัดทำบันทึก ระบบจัดการ ระบบ จดั การประชุม ผชู วยเสมอื น
การนัดหมาย นัดหมายจาก นัดหมาย จดบันทึก ในสถานท่แี ละ อัจฉร�ยะ
ภาพตัวอกั ษร ตามลำดบั การนัดหมาย
จากการ โลโกโ รงแรม/ ความสำคัญ ชว งเวลา
สนทนา สายการบนิ จากขอมูล ท่ีเหมาะสม
หรอ� ลายมือ ในอดตี

การลา ระบบ ตรวจสอบ ระบบแนะนำ แจง ลา แนะนำชว งที่ ผชู วยจัดการ
อนุมตั กิ ารลา ตวั ตนในการ ประเภทการลา แบบสุภาพ เหมาะสมที่จะ การลาจาก
ดวยเสียง แจงการลาดว ย ลาไดโดยไม ขอมูลในอดตี
วด� โี อคอล กระทบกบั งาน

มอบหมาย ระบบ ระบบ ระบบว�เคราะห ระบบ ระบบจดั การ ระบบแนะนำ
สัง่ การ ส่งั การ เก็บหนงั สอื หนงั สือคำสงั่ สนับสนนุ เอกสาร บคุ คลที่
ดวยเสียง คำสง่ั อตั โนมตั ิ เหมาะสมกบั
อตั โนมัติ ระบบวเ� คราะห อัตโนมตั ิ งานน้ันๆ

102 AI for Government

2. ตัวอย่างการน�ำรูปแบบ AI มาใช้ในงานบริหารจัดการภาครัฐ
เนื่องจากหน่วยงานภาครัฐเป็นผู้ให้บริการสาธารณะขนาดใหญ่ ระบบบริหารจัดการภายในของ
ภาครฐั จงึ มขี นาดใหญแ่ ละตอ้ งใชค้ นจำ� นวนมาก หนว่ ยงานภาครฐั ในหลายประเทศจงึ นำ� เทคโนโลยี
AI มาใช้ในงานบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อสนับสนุนให้การด�ำเนินงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพ
เพมิ่ ขนึ้ โดยตวั อยา่ งการน�ำเทคโนโลยี AI ทน่ี ่าสนใจมาใช้ในงานบรหิ ารจัดการของภาครัฐ ดังน้ี
ตวั อยา่ งท่ี 1 รฐั แอลเบอร์ตา แคนาดา นำ� ระบบ AI มาเพิม่ ประสทิ ธภิ าพระบบ ERP ภาครฐั 10

หนว ยงานเจา ของโครงการ: รฐั แอลเบอรตา ประเทศแคนาดา
วตั ถุประสงค: เพื่อการจัดการกระบวนการทางธุรกิจที่ชวยใหองคกรสามารถใชระบบรวมสำหรับ
บรหิ ารจดั การกระบวนการทางธรุ กจิ และการทำงานทเ่ี กย่ี วขอ งโดยอตั โนมตั ิ ใหบ รกิ าร
ภาครัฐมคี ณุ ภาพเดยี วกนั หรือสูงกวา จากบรกิ ารดจิ ทิ ัลของภาคเอกชน
เทคโนโลยที ี่ใชงาน: การประยกุ ตใ ช ระบบ RPA ผสานปญ ญาประดษิ ฐ มาเพม่ิ ความสามารถใหก บั ระบบ
ERP
ผลที่ไดร บั : พฒั นาซอฟตแ วรเ พอ่ื บรหิ ารจดั การงานภาครฐั ใหเ ปน ระบบและรวดเรว็ เทา กบั ภาคธรุ กจิ
ชวยใหหนวยงานภาครัฐสามารถใชระบบเพื่อจัดการทรัพยากรตางๆ ของหนวยงาน
ใหมีประสิทธิภาพ เชน การเงนิ จัดซอ้ื จัดจาง ทรพั ยากรมนุษย เปนตน

+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก:
https://www.aaofficeonline.
cmoamna/dgoecmuemnetnt-

10 ที่มา: Sales Design Studio, 2018

ส�ำ นักงานพฒั นารัฐบาลดิจิทัล (องคก์ ารมหาชน) 103

ตวั อยา่ งท่ี 2 จีนใช้ระบบ “Zero Trust System” ในการตรวจจับการคอร์รัปชนั 11

หนว ยงานเจา ของโครงการ: Chinese Academy of Sciences และ Chinese Communist Party
วตั ถปุ ระสงค: เพื่อเฝาระวังการทำทุจริตในภาครัฐ คนหาแนวโนมของเจาหนาที่ที่อาจมีพฤติกรรม
ทจุ ริต และยับยัง้
เทคโนโลยีท่ีใชง าน: การประมวลผลขอมูลหลากหลาย ใน Big Data ทั้งสวนการทำงาน และ ไลฟสไตล
รวมไปถึงครอบครวั และเพอ่ื นของเจา หนาที่ของรัฐ
ผลท่ีไดร ับ: ระบบ Zero Trust ไดถ กู นำมาใชใ นเมอื งและเขตเพยี งแค 30 แหง ซง่ึ นบั เปน เพยี งแค
1% ของทั้งประเทศเทานั้น แตระบบนี้ก็กลับสามารถจับเจาหนาที่รัฐที่ทำทุจริตได
มากถึง 8,721 รายตั้งแตป 2012 ทรี่ ะบบเริ่มตน ใชงานมา แตห ลายพื้นทเ่ี รยี กรอ งให
ปดระบบ เพราะ ทำใหการทำงานซับซอนขึ้น สรางความกดดันใหเจาหนาที่ รวมถึง
ครอบครัวและเพ่ือนของเจา หนาที่ดว ย
+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก: https://www.chinadailyhk.com/articles/248/88/206/1542258555188.html
11 ท่ีมา: Christian, 2019 และ Chen, 2019

104 AI for Government

ตวั อยา่ งท่ี 3 กลาโหมสหรัฐอเมรกิ าใช้ AI คาดการณ์ยานพาหนะทตี่ ้องไดร้ บั การบำ� รุงรกั ษา 12

หนวยงานเจาของโครงการ: กลาโหมสหรัฐ
วตั ถุประสงค: เพื่อสรางระบบการบำรุงรักษาเชิงพยากรณสำหรับยานพาหนะทางทหาร ที่ชวยลด
ความผิดพลาดระหวางการปฏบิ ตั ิงานภาคสนาม
เทคโนโลยีท่ีใชงาน: ใช Machine Learning ในสวนของการวเิ คราะหเชิงพยากรณ
ผลที่ไดร ับ: BAE Systems ซึ่งเปนระบบ AI ที่ใชในการคำนวนพยากรณ ความเสียหาย ที่ตอง
ซอมบำรุงของยานรบและยานพาหนะขนสงที่หุมเกราะหนัก ทำใหสามารถเขาบำรุง
ไดใ นระยะท่เี หมาะสม
+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก: https://www.army.mil/article/20678/mechanics_repair_military_tactical_vehicles
12 ท่มี า: Sayler, 2019

ส�ำ นักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก์ ารมหาชน) 105

ตวั อย่างที่ 4 สรรพากรออสเตรเลียใช้เสียงในการยืนยันตัวตน 13

หนวยงานเจา ของโครงการ: สำนกั การภาษี ออสเตรเลยี (Australian Taxation Office)
วตั ถุประสงค: เพื่อชวยอำนวยความสะดวกใหกับเจาหนาที่ในการพิสูจนตัวตนเพื่อใชเขาถึงขอมูล
ตามระดับสิทธิท์ ่ีเขา ถึงได
เทคโนโลยีท่ีใชงาน: เปน การใชระบบรูจำเสยี ง เพอ่ื การพสิ จู นตัวตนแทนท่รี ะบบ PIN
ผลท่ีไดรบั : นอกเหนือไปจากการเขาถึงขอมูลไดในระยะเวลาที่รวดเร็วขึ้นแลว การพิสูจนตัวตน
ดวยเสียง ไดรับการพิสูจนแลววาใหความปลอดภัยในระดับที่สูงกวาวิธีการรับรอง
ความถูกตองแบบดั้งเดิมไมวาจะเปน PIN รหัสผาน คำถามเพื่อความปลอดภัยหรือ
สง่ิ ยนื ยนั ทางกายภาพ
+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก: https://announced.media/australian-tax-office-cuts-down-call-time/
13 ทม่ี า: Nuance Communications, Inc., 2016

106 AI for Government

ตัวอยา่ งท่ี 5 ฮังการนี ำ� AI มาใช้จดั การข้อมูลภาพในคลังภาพและเสยี งแห่งชาติ 14

หนวยงานเจา ของโครงการ: The National Audiovisual Archive of Hungary (NEVA)
วตั ถุประสงค: เพื่อจัดเก็บขอมูลเกาดวยวิธีที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นอกเหนือจากนั้น NAVA ยังมี
โปรแกรมอื่นๆ ที่จะทำใหการเก็บขอมูลเกาๆนั้นเกิดประโยชนสูงสุด และเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพใหก บั ขอมลู ท่ีมอี ยู
เทคโนโลยีที่ใชงาน: Cognitive Solution (เชน “Machine Vision”)
ผลท่ีไดรับ: ไดมีการบันทึกโปรแกรมสื่อการบริการสาธารณะ ตั้งแตป 2006 เพื่อทำใหสามารถ
เขาถึงไดออนไลน รวมถึงการทำ Digitize ภาพขาวในประวัติศาสตร นับลานภาพ
ขอ มลู ทม่ี คี ณุ คา นบั Petabyte จะตอ งถกู ประมวลผล มกี ารตง้ั เปา หมายท่ี 2.5 ลา นภาพ
ตอ ป แตด ว ยความสามารถของมนษุ ย ทำใหส ามารถทำงานไดเ พยี ง 40% ของเปา หมาย
จงึ มกี ารนำเทคโนโลยปี ญ ญาประดษิ ฐเ ขา มาแกป ญ หา มฉิ ะนน้ั จะไมส ามารถทำงาน
ทั้งหมดไดในเวลาสั้นๆ ปญญาประดิษฐสามารถเขามาชวยเหลือการทำงานไดใน
การจดจำผูคนอยางรวดเร็ว และสามารถระบุวัตถุ นอกเหนือจากความเร็วแลว ยังมี
ความแมน ยำทส่ี งู กวา มนษุ ยอ กี ดว ย ใชเ วลานอ ยมากในการระบใุ บหนา คนทง้ั จากใน
ภาพถา ย และในวดี โี อ ไมม ผี เู ชย่ี วชาญมนษุ ยค นไหนสามารถรจู กั ผคู นทม่ี ชี อ่ื เสยี งใน
ประวตั ศิ าสตรค รบทกุ คน ซง่ึ ปญ ญาประดษิ ฐส ามารถทำได ปญ ญาประดษิ ฐส ามารถ
จดจำ 90% ของภาพผคู นไดอ ยา งทนั ทที นั ใด จากทแ่ี ตล ะภาพตอ งใชม นษุ ย กบั เวลา
10 นาทเี พ่อื อธิบายภาพ แตปญญาประดษิ ฐใ ชเวลาประมาณ 2 นาที

+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก:
https://customers.microsoft.
ccoivmili/aenn--guosv/setronrmy/ennatv-a-
azure-services-hungary

14 ทม่ี า: Microsoft, 2019

สำ�นักงานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) 107

3. การใช้ AI ในงานเฉพาะของหนว่ ยงาน (AI for Government Specific Task)
นอกเหนือจากการให้บริการสาธารณะท่ีเปรียบเสมือนงาน Front office และงานบริหารจัดการ
ของภาครฐั ที่เปน็ งาน Back office แล้ว หน่วยงานภาครฐั ยังมงี านตามภารกจิ ทเ่ี ปน็ งานเฉพาะของ
แต่ละหน่วยงาน เช่น การดูแลสาธารณูปโภค การบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ การควบคุมมลพิษ
เป็นต้น ท่ีต้องมีการใช้ทรพั ยากรในการท�ำงานเปน็ จ�ำนวนมาก ปจั จบุ ันงานดงั กลา่ วได้มกี ารนำ� AI
มาประยกุ ต์เพื่อพฒั นางานให้มีประสิทธภิ าพและมมี าตรฐาน โดยมีตัวอยา่ งรูปแบบการนำ� AI มา
ใช้ในงานเฉพาะของหน่วยงาน ดังนี้
ตวั อยา่ งท่ี 1 โรงพยาบาลราชวิถีใช้ AI ในการวินิจฉยั โรคเบาหวาน 15

หนว ยงานเจา ของโครงการ: โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย
วัตถุประสงค: เพื่อแกไขปญหาขาดแคลนผูเชี่ยวชาญในการตรวจพบอาการผิดปกติของจอเรตินา
ท่เี ปน อาการบงชีเ้ บือ่ งตน ของอาการเบาหวานข้นึ ตาได
เทคโนโลยที ่ีใชงาน: ระบบ Visualization และ Deep Learning
ผลที่ไดร ับ: โมเดลปญญาประดิษฐสามารถตรวจจับมีความแมนยำสูงถึง 97% เมื่อเทียบกับ
ผเู ชย่ี วชาญคดั กรอง ทม่ี คี วามแมน ยำอยทู ่ี 74% (เปน ผลการทดลอง เปรยี บเทยี บจาก
ขอมูลที่เก็บไวในคลังขอมูล ซึ่งเมื่อนำไปใชงานจริงอาจมีความคลาดเคลื่อนที่ตอง
ปรบั เทยี บอกี ครง้ั ) ชว ยเพม่ิ การเขา ถงึ ของผปู ว ยในการตรวจคดั กรอง ผปู ว ยจะสามารถ
ทราบระยะของโรคทันที รวมถงึ ชว ยแบงเบาภาระงานใหก ับบุคลากรทางการแพทย

+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก:
http://www.digitalagemag.
com/google-ai-diabetic

15 ท่ีมา: กรุงเทพธุรกิจ, 2562

108 AI for Government

ตวั อย่างที่ 2 เกาหลใี ช้เทคนิค Face Detection ตรวจจับผู้พำ� นกั เกินเวลา 16

หนวยงานเจาของโครงการ: ตำรวจตรวจคนเขาเมอื งเกาหลี
วัตถุประสงค: เพอ่ื แกป ญ หาผพู ำนกั เกนิ เวลาอนญุ าต แบง เบาภาระงานใหก บั ตำรวจตรวจคนเขา เมอื ง
ลดงบประมาณในการลงทุนเพ่อื การตามจบั ผลู กั ลอบเขา เมืองเกินเวลา
เทคโนโลยีท่ีใชง าน: Biometric และ Face Recognition
ผลท่ีไดร บั : การจดจำใบหนา เปน แอปพลเิ คชนั ทส่ี ามารถระบหุ รอื ตรวจสอบบคุ คลโดยการเปรยี บเทยี บ
และวเิ คราะหร ปู แบบตามรปู ทรงใบหนา ของบคุ คลนน้ั จงึ ทำใหก ารตรวจจบั ผพู กั อาศยั
โดยไมมใี บอนุญาตไดอ ยางรวดเร็ว
+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก: http://korea-id.co.kr/eng/technology.php
16 ทีม่ า: Treacy, 2017

ส�ำ นกั งานพัฒนารฐั บาลดิจิทลั (องคก์ ารมหาชน) 109

ตวั อย่างท่ี 3 รัฐเทกซัสให้ AI คาดการณป์ ริมาณนำ�้ ล่วงหนา้ 17

หนวยงานเจา ของโครงการ: หนวยงานทองถิน่ ของรัฐเทกซสั (Texas) สหรัฐอเมรกิ า
วตั ถุประสงค: เพื่อสรางโมเดลคาดการณน้ำทวมที่มีความแมนยำสูง สามารถปรับแตงโมเดลให
เหมาะสมกับสภาวะอากาศไดงาย สามารถพยากรณน้ำหลากได แมวาตัวเซนเซอร
วดั ปริมาณนำ้ จะถกู ทำลายไปแลว
เทคโนโลยีท่ีใชง าน: Machine Learning โดยใชจำลองหลายๆ สถานการณ เพื่อสามารถใหโมเดลยังคง
สามารถทำการพยากรณล วงหนา ได
ผลที่ไดร ับ: หนว ยงานสามารถตดิ ตามสถาณการณ นำ้ ทว มไดแ มอ ยใู นชว งวกิ ฤตทเ่ี สาสง สญั ญาณ
บางสว นไดถ กู ทำลายลงไปแลว รวมทง้ั สามารถประเมนิ ความรนุ แรงของเหตอุ ทุ กภยั
ไดอ ยา งใกลเ คยี งกบั สถานการณจ รงิ รวมถงึ สามารถสง ขอ มลู ออก เพอ่ื ขอคำปรกึ ษา
จากผูเ ชยี่ วชาญในทอ งท่อี ื่นไดท นั ที
+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก: https://www.microsoft.com/en-us/research/blog/preventing-flood-disasters-with-
cortana-intelligence-suite-2/
17 ทีม่ า: Brengel, 2016

110 AI for Government

ตัวอยา่ งที่ 4 เมอื งพิตต์สเบิรก์ รฐั เพนซิลเวเนีย ใช้ AI จัดการปญั หาจราจรติดขัด 18

หนว ยงานเจาของโครงการ: เมืองพติ ตส เบริ ก (Pittsburgh)
วัตถุประสงค: เพ่ือจัดการกบั ปญหาการจราจรติดขดั ผา นการควบคุมการจราจร
เทคโนโลยที ่ีใชงาน: Computer Vision ประกอบกับเทคนคิ Optimization ในระบบสัญญาณไฟจราจร
ผลท่ีไดรบั : ระบบ SURTRAC ชวยใหการเดินทางในเมือง ลดลง 25%, ลดการชะงักงันของการ
จราจร 30%, ลดการรอเวลา 40%, และลดการปลอ ยมลพษิ โดยรวม 21% ในระหวา ง
การดำเนนิ การโครงการนำรอง
+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก: https://www.aaai.org/ocs/index.php/ICAPS/ICAPS13/paper/viewFile/6054/6213
18 ท่ีมา: Smith, Barlow, Xie, & Rubinstein, 2013

สำ�นักงานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทลั (องค์การมหาชน) 111

ตัวอยา่ งที่ 5 สตช. ร่วมกับ สจล. พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั โจรปล้นร้านทอง 19

หนวยงานเจา ของโครงการ: หนวยงานตำรวจไทย
วตั ถปุ ระสงค: เพือ่ ชวยใหจ ับกมุ คนรา ยและทำงานไดงายขึน้ ลดความเสยี หายของทรัพยส นิ ทำให
ประชาชนมีความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยสิน ปอมปรามอาชญากร
เทคโนโลยที ี่ใชงาน: ระบบอาศัยการทำงานรวมกันระหวาง กลองวงจรปด ปญญาประดิษฐ Machine
Learning และ Deep Learning นำเขา ขอ มลู จาก Image recognition ทช่ี ว ยรจู ำและ
แยกแยะบุคคลที่มแี นวโนมจะกอเหตุอาชญากรรม
ผลที่ไดรบั : ปญ ญาประดษิ ฐ สามารถลดภาระงานตำรวจในการเฝา ระวงั คนรา ยเขา มาในรา นทอง
รวมถงึ ชว ยในการตดิ ตอ ประสานงานกบั ทางสถานเี พอ่ื ระดมพลและจดั กำลงั พลเพอ่ื
จบั กมุ คนรา ยภายในกรอบเวลา 8 นาที
+ EXAMPLE

ภาพประกอบจาก: ผศ.ดร.มหศกั ด์ิ เกตุฉำ่�
19 ที่มา: อารีเพม่ิ พร, 2561

112 AI for Government

4. สรปุ บทบาท อนาคต และแนวโน้ม ของปญั ญาประดิษฐ์ในภาครฐั
จากการที่เทคโนโลยีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ท�ำให้ปัญญาประดิษฐ์เริ่มเข้ามามี
บทบาทในหน่วยงานของภาครัฐในหลายประเทศท่วั โลก แนวโนม้ ที่น่าจับตามองของ AI ภาครฐั ใน
ต่างประเทศมีค่อนข้างหลากหลาย ด้วยทิศทางการพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุก
พน้ื ทข่ี องหลายประเทศทจ่ี ะสง่ ผลใหพ้ ฤตกิ รรมการดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนเปลย่ี นไป ซง่ึ การเปลย่ี นแปลง
ดังกล่าวส่วนใหญ่มักเกิดข้ึนจากองค์กรเอกชน ที่ยุคแรกเป็นการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน (Infra-
structure) ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ บรษิ ทั ทางเทคโนโลยขี นาดใหญม่ ากมาย เชน่ Microsoft, Apple, IBM, Cisco
เป็นต้น และตามมาด้วยยุคท่ีพัฒนาเทคโนโลยีจากโครงสร้างที่ยุคแรกได้สร้างไว้ เช่น Google,
Facebook, Amazon, eBay เป็นต้น ปัจจุบันแต่ละประเทศมีแนวโน้มการแข่งขันในการพัฒนา
เทคโนโลยีของภาครัฐ เพื่อส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ภาคธุรกิจและประชาชน ซ่ึง AI
จะเข้ามามบี ทบาทในการทำ� งานและแก้ไขปัญหาแทนมนุษย์ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ

บทท่ี 4
ขอ้ เสนอแนะ
เพือ่ น�ำ AI มาใช้
เพิ่มประสทิ ธภิ าพ
ภาครัฐ

114 AI for Government

บทสรปุ : บทท่ี 4

ข้อเสนอแนะสำ� หรบั หนว่ ยงานภาครฐั

01STEP ประเมินความเหมาะสม
02STEP ในการนำ AI มาใช
03STEP กำหนดกรอบ
04STEP การดำเนนิ โครงการ
05STEP เตรย� มความพรอ ม
ดานขอ มลู
แสดงหาความรวมมอื
กบั ภาคสว นตางๆ
การสราง
จรย� ธรรม

ส�ำ นกั งานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) 115

ประเมนิ ความเหมาะสมในการนำ� AI มาใช้ แสดงหาความร่วมมือกับภาคสว่ นต่างๆ

หน่วยงานควรวิเคราะห์จากกระบวนงานปัจจุบันของ หน่วยงานภาครัฐมักจ�ำเป็นต้องอาศัยความเช่ียวชาญ
หน่วยงานผ่านแนวทางการวิเคราะห์ 3 ขั้นตอน คือ ด้านเทคโนโลยีจากภาคส่วนอื่นในการด�ำเนินโครงการ
การประเมินสภาพปัญหาปัจจุบันของหน่วยงาน การ AI แต่ความร่วมมืออาจน�ำมาซึ่งปัญหาในการด�ำเนิน
ประเมินความเป็นไปได้ และการประเมินคุณค่าของ โครงการ ดังนั้น หน่วยงานต้องวางกลยุทธ์ให้เกิดการ
การน�ำ AI มาใช้ แบง่ ปันทรัพยากรและความโปรง่ ใส

ก�ำหนดกรอบการดำ� เนินโครงการ การสรา้ งจรยิ ธรรม

เพื่อให้ริเร่ิมการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้อย่างเหมาะสม หน่วยงานควรค�ำนึงถึงผลกระทบจากการน�ำเทคโนโลยี
หน่วยงานควรออกแบบโครงการน�ำร่องโดยเร่ิมจากจุด AI มาใช้ในบริการและการบริหารงานภาครัฐ ซ่ึงได้แก่
เล็กๆ ก่อนในระยะเริ่มแรก และก�ำหนดตัวชี้วัดท่ีเป็น การป้องกันอคติในอัลกอริทึม การออกแบบให้ระบบ
รปู ธรรม เพ่อื เรียนรู้ถึงศักยภาพและขอ้ จำ� กดั ของ AI สามารถอธบิ ายการตดั สนิ ใจได้ และอยภู่ ายใตก้ ารกำ� กบั
ดูแลของมนุษย์ แผนรองรับผลกระทบกับแรงงาน และ
เตรียมความพรอ้ มดา้ นขอ้ มลู สรา้ งความปลอดภัยและความเป็นส่วนตวั

เพ่ือให้ปัจจัยในการเรียนรู้ของระบบ AI มีคุณภาพ
และสะท้อนสภาพความเป็นจริงท่ีสุดหน่วยงานควรขอ
ความเห็นด้านเทคนิคจากนกั วิทยาศาสตร์ขอ้ มูล (Data
Scientist) หรอื ผเู้ ชย่ี วชาญทเี่ กยี่ วขอ้ งในการเลอื กขอ้ มลู
และตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ มลู

116 AI for Government

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

Governance
กำหนดกรอบการกำกบั ดแู ล

n AI Principles
n กฎหมาย/มาตรฐาน

Partnerships ขอ เสนอแนะ Data
สงเสรม� ภาคสวน เชิงนโยบาย สงเสร�มพ�้นฐาน
ขอมลู ภาครัฐ
พนั ธมติ ร
n ขอ มลู ภาครฐั
n Deep Tech Startup n โครงสรางพืน้ ฐานขอ มลู
n R&D

AI Capability
สรา งบุคลากร AI ภาครัฐ

n AI Talent
n หลกั สตู รฝก อบรม

ส�ำ นักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องค์การมหาชน) 117

ก�ำหนดกรอบการก�ำกบั ดแู ล (Governance) สรา้ งเสริมบุคลากร AI ภาครัฐ

หลักการน�ำ AI มาใช้ (AI Principles/ ส่งเสริมหลกั สตู รฝึกอบรม (Training)
Codes of Ethics)
ภาครัฐควรจัดท�ำหลักสูตรฝึกอบรมส�ำหรับเจ้าหน้าที่
ภาครฐั ไทยควรดำ� เนนิ การจัดท�ำ “หลักการน�ำ AI มาใช้ ภาครัฐในทุกระดับ เพื่อให้ผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐ
ของประเทศไทย” (Thailand’s AI Principles) เพื่อเป็น มีความเข้าใจแนวทางการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ และ
คมู่ อื (Guideline) ทเ่ี ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ สำ� หรบั ทง้ั ภาครฐั และ การบริหารโครงการ AI อย่างเหมาะสม ในขณะทใี่ หเ้ จ้า
ภาคเอกชนในการพฒั นา AI ของประเทศ ใหก้ ารพฒั นา หน้าที่ในระดับปฏิบัติการมีความเข้าใจและสามารถ
AI ท่ีมจี ริยธรรม (Ethical AI) ท�ำงานร่วมกับระบบ AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ปลอดภัย
กฎหมาย กฎระเบียบ มาตรฐาน (Laws,
Regulations, and Standards) สร้างบุคลากรด้าน AI ภาครัฐ (Government AI
Talent)
แนวทางปฏบิ ตั ทิ สี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การนำ� เทคโนโลยีAIมาใช้
พร้อมมีมาตรการควบคุมลดผลกระทบอย่างชัดเจน สำ� นกั งาน ก.พ. และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรรว่ มมอื กบั
ในระยะยาว กลไกทางกฎหมายเป็นส่ิงจ�ำเป็นต่อการ สถาบันการศึกษาในการส่งเสริมหลักสูตรผลิตบุคลากร
เจริญเติบโตของ AI ทั้งในภาคเอกชน และภาครฐั ในสาขาด้าน AI และเพิ่มจ�ำนวนทุนด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยใี นระดับมหาวิทยาลยั
ส่งเสรมิ พ้ืนฐานข้อมลู ภาครฐั
ข้อมูลภาครฐั (Government Data) สง่ เสรมิ ภาคส่วนที่เก่ียวขอ้ ง
ผปู้ ระกอบการวสิ าหกจิ เรมิ่ ตน้ ที่ใชเ้ ทคโนโลยรี ะดบั สงู
ควรมีการผลักดันให้หน่วยงานภาครัฐจัดเก็บข้อมูลใน (Deep Tech Startups)
รูปแบบดิจิทัลท่ีมีคุณภาพ และเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐ รวมถึงปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ภาครัฐควรส่งเสริมใหเ้ กิด Deep Tech Startup ทน่ี ำ� AI
ให้ก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐในการ มาใช้มากขึ้น และท�ำให้สตาร์ทอัพในกลุ่มดังกล่าวมี
สร้างชุดข้อมูลมูลค่าสูงภาครัฐ (High Value Dataset) ขีดความสามารถมากข้ึน เช่น มาตรการเข้าถึงแหล่ง
และเปดิ เผยข้อมูลแกส่ าธารณะ เงินทุน และมาตรการเข้าถงึ ขอ้ มลู ภาครฐั

จดั ทำ� โครงสรา้ งพนื้ ฐานสารสนเทศส�ำหรบั รองรบั AI ภาควิจยั และพฒั นา (Research and
(IT Infrastructure for AI) Development Sector)

ภาครัฐควรด�ำเนินนโยบายส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐาน ภาครัฐจึงควรเพ่ิมงบลงทุนวิจัยและพัฒนาด้าน AI
สารสนเทศที่จ�ำเป็นต่อการเติบโตของระบบ AI ภาครัฐ แก่สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยของภาครัฐและ
ที่ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้ข้อมูลของ AI เช่น IoT ภาคเอกชน ทง้ั ในดา้ นการประยกุ ตใ์ ช้ ดา้ นจรยิ ธรรมและ
และ Cloud ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี AI

118 AI for Government

บทท่ี 4 : ข้อเสนอแนะเพ่อื นำ� AI มาใชเ้ พม่ิ ประสิทธิภาพภาครัฐ

การน�ำ AI มาใช้ในภาครัฐนั้นไม่สามารถน�ำมาใช้ได้โดยทันที แต่จ�ำเป็นต้องส�ำรวจตนเองก่อนว่า
มีความพรอ้ มตอ่ การน�ำ AI มาใชป้ ระโยชน์และเพิ่มประสทิ ธิภาพใหก้ ับภาครัฐหรือยงั ซงึ่ เน้ือหาใน
บทน้ีจะน�ำเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้แก่หน่วยงานภาครัฐหากต้องการน�ำ AI มาใช้
ประโยชน์ และนโยบายพัฒนาระบบนิเวศท่ีส่งเสริมให้ภาครัฐไทยสามารถน�ำ AI มาใช้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและปลอดภยั
ขอ้ เสนอแนะส�ำหรบั หน่วยงานภาครฐั
เนื้อหาในบทที่ 3 กล่าวถึงตัวอย่างการน�ำเทคนิค AI มาประยุกต์ใช้กับงานของภาครัฐในรูปแบบ
ตา่ งๆ ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ แสดงศกั ยภาพของ AI ในการแกไ้ ขปญั หาหรอื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทำ� งาน
ของภาครฐั หลากหลายรูปแบบ การเรม่ิ ด�ำเนินโครงการ AI มอี งค์ประกอบและเง่อื นไขทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ต่อความส�ำเร็จของโครงการหลายประการ จึงจ�ำเป็นต้องพิจารณาองค์ประกอบที่เก่ียวข้องก่อน
เชน่ ข้อมลู ระเบียบขอ้ บังคับ โครงสรา้ งพ้นื ฐานดิจิทัล เป็นต้น รวมท้งั ต้องเตรียมองค์ประกอบต่างๆ
ใหม้ ีความพร้อมเพอ่ื รองรับการดำ� เนนิ โครงการอีกด้วย ซงึ่ การด�ำเนนิ โครงการ AI ถือเปน็ เรื่องใหม่
ส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องเตรียมความพร้อมและ
วางแผนการดำ� เนินงานอย่างรอบคอบ เพอ่ื ให้สามารถนำ� เทคโนโลยี AI มาใชไ้ ด้เพิม่ ประสทิ ธภิ าพ
การท�ำงานและก่อใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ
ดังน้ัน ภาครัฐควรมีการวางเปา้ หมายในการน�ำ AI ไปใช้ใหช้ ัดเจนก่อนการรเิ ร่ิมโครงการการน�ำ AI
มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานหรือการให้บริการสาธารณะของหน่วยงาน รวมท้ังควรวาง
แนวทางในการประเมนิ ความจำ� เป็นและความพรอ้ มของหน่วยงานกอ่ นด�ำเนนิ โครงการ

ส�ำ นักงานพฒั นารฐั บาลดิจิทลั (องคก์ ารมหาชน) 119

1. ประเมนิ ความเหมาะสมในการนำ� AI มาใช้
“หนว่ ยงานควรนำ� เทคโนโลยี AI มาใชเ้ พอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการทำ� งานหรอื ไม?่ ” คอื คำ� ถาม
ทห่ี นว่ ยงานควรพจิ ารณาก่อนในลำ� ดับแรก เน่ืองจาก AI ไม่ใช่คำ� ตอบของทกุ ปญั หา เชน่ เดียวกบั
เทคโนโลยีอ่ืนๆ การพยายามใช้เทคโนโลยีเป็นตัวต้ังโดยไม่ค�ำนึงถึงสภาพปัจจุบันของหน่วยงาน
ส่วนใหญ่มักไม่ใช่แนวทางที่ดีในการแก้ไขปัญหา (Pain point) ของหน่วยงานที่ประสบอยู่ ซ่ึงจะ
สง่ ผลใหก้ ารลงทนุ ในโครงการไมค่ มุ้ คา่ และไมไ่ ดร้ บั ผลลพั ธท์ ค่ี าดหวงั ดงั นน้ั หนว่ ยงานควรวเิ คราะห์
สถานการณ์กระบวนการปจั จบุ นั ของตนเอง เพ่อื ระบุ “คุณค่า” ท่เี ทคโนโลยี AI สามารถสร้างให้แก่
หน่วยงานได้
Deloitte ได้พัฒนากรอบแนวคิด Three-Vs Framework เพื่อให้องค์กรใช้เป็นเคร่ืองมือใน
การประเมินกระบวนงานของตนเองท่ีสามารถน�ำเทคโนโลยี AI หรือการติดต้ังระบบ Automation
มาใชเ้ พือ่ เพมิ่ ประสิทธภิ าพ เช่น การบนั ทึกข้อมลู การสื่อสารกับประชาชน การตรวจสอบกิจกรรม
ทางการเงนิ เปน็ ตน้ โดยหนว่ ยงานภาครฐั สามารถใชก้ รอบแนวคดิ นใ้ี นการแสวงหาโอกาสจากการนำ�
AI มาใช้ในการพัฒนากระบวนงาน บริการ หรือโครงการสาธารณะได้ (Schatsky, Muraskin, &
Gurumurthy, 2015)

120 AI for Government

ตารางท่ี 4 3 Vs Framework สำ� หรับประเมินความเหมาะสมในการน�ำ AI มาใช้

คณุ คา สถานการณก ระบวนงานปจจบ� ัน ตวั อยางการนำมาใช เคร่อ� งมอื ในการพ�จารณา
Viable
Valuable อาศยั ทักษะ ตำ่ หรอ� ปานกลาง Forms Processing แผนภาพกระบวนการทางธรุ กิจ
ในการทำงานใหเสรจ็ สิ�น การใหบรก� ารลูกคา ข้ันตน (Business Process Map)
Vital ทงั้ กระบวนงาน การบร�หารจดั การคลังสนิ คา
การใหข อเสนอแนะการลงทุน คลังชุดขอมูล
ตอ งจัดการกับชุดขอ มูลขนาดใหญ (Data Set Inventory)
การวน� จิ ฉยั โรค แผนภาพกระบวนการทางธุรกิจ
มกี ฎเกณฑแนวทางปฏิบตั ิที่ชัดเจน การตรวจจับเหตุทจุ รต� (Business Process Map)
ลดภาระงานแกพนักงานท่ีมที กั ษะ การบรห� ารจัดการการบำรงุ รักษา การจดั การบคุ ลากร
ใหส ามารถไปทำงานทใี่ ชทกั ษะได การจดั การระบบขนสงสาธารณะ
จัดทำรายงานรายได (Staffing Model)
มีตน ทุนดา นแรงงานสูง การเปด เผยพยานหลกั ฐาน
ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (e-Discovery) การจดั การบคุ ลากร
ความเชีย่ วชาญในสายงานหายาก การขบั ข�่ยานพาหนะ (Staffing Model)
และประโยชนท ่ีไดจ ากการ การบร�หารจัดการประกันสุขภาพ
เพ�่มประสทิ ธภิ าพสงู การตอบคำถามผูใชบรก� าร การจัดการบคุ ลากร
การตรวจสอบคุณสมบัติ (Staffing Model)
มาตรฐานการปฏิบัตงิ านกำหนด การตรวจสอบความปลอดภยั และแผนภาพกระบวนการทางธุรกิจ
ใหใช Cognitive Technology (Business Process Map)
ปร�มาณกำลงั คนไมเพ�ยงพอ การว�นจิ ฉยั โรค การวเ� คราะหต ลาด
การตรวจตราทางอากาศ (Market Analysis)
ตอ ปร�มาณงาน การพยากรณเ หตุอาชญากรรม การจัดการบคุ ลากร
(Staffing Model)
อาศัย AI ในการจัดการขอ มูล การปองกนั ทางไซเบอร
Backlogs จำนวนมาก การสบื สวนเหตอุ าชญากรรม

พยากรณสภาพอากาศ
การตรวจจับเหตุทุจรต�
การคุมครองทรัพยสินทางปญ ญา
การตอบสนองตอภัยพ�บตั ิ

Text Mining
การว�เคราะหเ อกสารหลักฐาน

เชงิ ประวตั ศิ าสตร

สำ�นกั งานพฒั นารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน) 121

ใช้การได้ (Viable)
หนว่ ยงานตอ้ งเขา้ ใจถงึ ขดี ความสามารถของ AI เพอ่ื ประเมนิ โอกาสจากการใชเ้ ทคโนโลยี เนอื่ งจาก
เทคโนโลยใี นปจั จบุ นั AI ยงั คงมขี อ้ จำ� กดั ทมี่ กั ไมไ่ ดร้ บั การกลา่ วถงึ อยู่ คำ� วา่ “อจั ฉรยิ ะ” “ชาญฉลาด”
“ทรงปญั ญา” มไิ ดเ้ ปน็ เครอ่ื งการนั ตเี สมอวา่ ระบบดงั กลา่ วจะสามารถ เหน็ ฟงั หรอื รบั รู้ ไดท้ ดั เทยี ม
กับมนษุ ย์ทว่ั ไป โดยเฉพาะเม่ือต้องเผชิญหนา้ กับงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การใชอ้ ารมณ์ และความรู้สกึ
นึกคิด
อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี AI ก็สามารถแก้ปัญหาในงานของภาครัฐได้อย่างดีเยี่ยม เช่น งานท่ี
อาศัยการตอบสนองต่อภาพหรือเสยี ง เช่น การตดิ ต่อผรู้ ับบรกิ ารผ่านทางโทรศพั ท์ กล้องตรวจจบั
(Surveillance) การตรวจสอบเอกสารทีเ่ ขียนดว้ ยมอื เปน็ ต้น ปจั จบุ นั เราสามารถน�ำ AI มาชว่ ยให้
กระบวนงานสามารถเป็นระบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ ด้วยเทคโนโลยี การจ�ำเสียงพูดหรือ
ภาพ (Speech or Vision Recognition) และ การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language
Processing) นอกจากนี้ AI ยังสามารถน�ำมาใช้เพ่ือจัดการกับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และไม่มี
โครงสร้างชัดเจน (Unstructured Data) ซ่ึงยากส�ำหรับมนุษย์ในการประมวลผล แต่เคร่ืองจักร
สามารถหาความเช่ือมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ตั้งแต่การตรวจจับความผิดปกติ
ในขอ้ มูลทางการเงิน หรอื ความสมั พันธข์ องปจั จยั เบอ้ื งหลงั ปญั หาสาธารณสุข หรือเมือ่ น�ำมาใช้ใน
งานทถี่ กู กำ� หนดดว้ ยแนวปฏบิ ตั ทิ ชี่ ดั เจน AI สามารถนำ� มาพฒั นาเปน็ ระบบอตั โนมตั ิ (Automation)
ทชี่ ว่ ยในเรอื่ งของการบรหิ ารจดั การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน่ ระบบคาดการณก์ ารบำ� รงุ รกั ษาและ
คุณภาพ (Predictive Maintenance and Quality) เป็นต้น
สร้างมลู คา่ (Valuable)
การติดต้ังเทคโนโลยี AI ลงในกระบวนงานมีต้นทุนท่ีค่อนข้างสูง กระบวนงานท่ีแรงงานราคาถูก
สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพอยแู่ ลว้ อาจไมเ่ ปน็ ตวั เลอื กทเี่ หมาะสมนกั การปรบั เปลยี่ น
กระบวนงานดงั กลา่ วดว้ ยเทคโนโลยจี งึ อาจไดม้ าซงึ่ ประสทิ ธภิ าพทเ่ี พมิ่ ขนึ้ เลก็ นอ้ ยในขณะทแ่ี ลกมา
ดว้ ยงบลงทนุ มหาศาล “ความค้มุ ค่า (Valuability)” จงึ เป็นอกี ปจั จยั หนึ่งท่ีหน่วยงานควรพจิ ารณา
บุคลากรบางต�ำแหน่งจ�ำเป็นต้องลงแรงไปกับภาระงานท่ีใช้เวลามากและมีลักษณะซ�้ำซาก
(Repetitive) และเสียโอกาสในการใช้ทักษะอื่นอย่างเต็มท่ี หรือบางภาระงานท่ีอาศัยทักษะ
ความเชี่ยวชาญ (Expertise) ท�ำให้มีต้นทุนด้านก�ำลังคนสูง ล้วนน�ำมาซ่ึงการใช้ทรัพยากรบุคคล
อยา่ งไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ หนว่ ยงานสามารถนำ� AI มาใชแ้ บง่ เบาภาระงานของเจา้ หนา้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งมาก
เช่น นกั บญั ชหี รอื นกั กฎหมายทต่ี ้องตรวจสอบเอกสารสัญญาหลายฉบับ ซ่งึ เป็นงานทีอ่ าศยั ทกั ษะ
ด้านการอ่านมากกว่าทักษะวิชาชีพ Cognitive Technology อย่าง NLP ในปัจจุบันสามารถ

122 AI for Government

คัดกรองใจความส�ำคัญ หรือแม้แต่ตรวจจับความผิดปกติของเอกสารหลายร้อยหน้าในระยะ
เวลาน้อยนิด ท�ำให้การตัดสินใจน�ำเทคโนโลยีมาใช้สามารถประหยัดเวลาท�ำงานและก�ำลังคนใน
กระบวนงานไดอ้ ย่างมาก
จ�ำเปน็ (Vital)
ปริมาณงานที่เพ่ิมมากขนึ้ หรอื การเปล่ยี นแปลงจากปัจจยั แวดลอ้ มอื่นๆ อาจเปน็ โจทย์ให้ภาครฐั มี
ความจำ� เป็นตอ้ งนำ� Cognitive Technology มาใช้
เป็นเร่ืองยากท่ีกระบวนงานท่ีต้องอาศัยการดูแลตรวจสอบอย่างใกล้ชิดตลอดเวลาและในขณะ
เดียวกันก็มีขนาดใหญ่ (Scale) จะสามารถท�ำงานได้โดยไม่ต้องพ่ึงพา Cognitive Technology
เชน่ หนว่ ยงาน Transparency and Campaign Finance Commission ของรัฐจอรเ์ จยี มีหนา้ ท่ี
ในการตรวจสอบทางการเงินที่เก่ียวข้องกับการหาเสียง ต้องตรวจสอบเอกสารทางการเงินกว่า
40,000 รายการต่อเดือน ซ่ึงส่วนมากมักไม่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล จึงจ�ำเป็นต้องน�ำเทคโนโลยีมา
ช่วยในการท�ำงาน หรือการใช้ความสามารถในการตรวจจับส่ิงผิดปกติของระบบ AI มาช่วยใน
การป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ หรอื การต่อตา้ นการกอ่ การรา้ ย ซึ่งเปน็ การจดั การความเสีย่ งทีม่ ี
ความสำ� คญั อยา่ งยิง่ ต่อความมัน่ คงของภาครัฐ และอยู่นอกเหนือขีดความสามารถของมนษุ ยโ์ ดย
ไมพ่ งึ่ พาเทคโนโลยี เนอ่ื งจากขอบเขตการทำ� งานทมี่ ขี นาดใหญ่ และตอ้ งอาศยั การเรยี นรู้ ตอบสนอง
ต่อรปู แบบของภัยคุกคามอยา่ งต่อเนอื่ ง

ส�ำ นักงานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน) 123

จากแนวคดิ ข้างตน้ เราสามารถสรุปข้นั ตอนการพจิ ารณาได้ ดงั นี้

ขนั้ ตอนที่ 1
ประเมนิ สภาพปัญหาปจั จบุ ันของหน่วยงาน
หนว่ ยงานควรเร่มิ จากการวเิ คราะหป์ จั จัยที่ส่งผลตอ่ การท�ำงานของหนว่ ยงาน ท้ังปจั จัยภายใน ซ่ึง
ไดแ้ ก่ กระบวนงาน ข้อมูล และกำ� ลังคน และปจั จยั ภายนอก เพ่อื ใหส้ ามารถระบุประเด็นปญั หาตัง้
ตน้ หรือโอกาสในการน�ำ AI มาใช้ โดยมตี ัวอย่างเคร่อื งมือในการวเิ คราะห์ ดงั น้ี

ปจจยั ภายใน ปจ จัยภายนอก

กระบวนงาน โอกาสและอุปสรรค
แผนภาพกระบวนการทางธุรกิจ SWOT Analysis
(Business Process Mapping) PESTEL Analysis

ขอ มลู
คลังชุดขอ มลู (Dataset Inventory)

คน
แผนกำลังคนและการจดั บคุ ลากร

(Staffing Model)

124 AI for Government

ข้นั ตอนท่ี 2
ประเมินความเป็นไปได้ในการน�ำ AI มาใช้
เม่ือทราบถึงประเด็นปัญหาต้ังต้นท่ีต้องการน�ำ AI มาช่วยแล้ว ในล�ำดับถัดมา หน่วยงานควร
วิเคราะห์กระบวนงานท่ีเก่ียวข้องว่าสามารถสอดรับกับศักยภาพของเทคโนโลยี AI หรือไม่ ท้ังนี้
ขอบเขตการนำ� AI มาใชม้ คี วามหลากหลาย ขน้ึ อยกู่ บั สภาพปญั หา ลกั ษณะขอ้ มลู หรอื วตั ถปุ ระสงค์
การใชง้ าน อกี ทง้ั เทคโนโลยี AI ในปจั จบุ นั ยงั อยใู่ นชว่ งเรม่ิ ตน้ และมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ท�ำให้
การช้ีชัดลักษณะของกระบวนงานท่ีเหมาะสมเป็นไปได้ยาก อย่างไรก็ตาม ในเบ้ืองต้น หน่วยงาน
สามารถพิจารณาวา่ กระบวนงานทีเ่ ปน็ เป้าหมาย
n อาศัยทกั ษะต่ำ� หรอื ปานกลางในการท�ำงานหรอื ไม่
n ต้องจดั การกับชุดข้อมูลขนาดใหญห่ รอื ไม่ และ
n มีกฎเกณฑแ์ นวทางปฏิบตั ิที่ชัดเจนหรอื ไม่

ประกอบกับการวิเคราะห์ขอบเขตความสามารถของเทคโนโลยี AI ในหัวข้อท่ี 1.3 เพ่ือใช้ใน
การพิจารณาความเป็นไปไดใ้ นการนำ� AI มาประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนากระบวนงานดงั กล่าว

ขัน้ ตอนท่ี 3
ประเมินคุณค่า (Value) จากการน�ำ AI มาใช้
ในลำ� ดบั สดุ ทา้ ย หนว่ ยงานควรพจิ ารณาถงึ คณุ คา่ ของการนำ� AI มาใช้ โดยแบง่ ออกเปน็ 2 ประเดน็
ส�ำคัญ ดงั นี้
n การน�ำ AI มาใช้ชว่ ยสร้างมลู ค่าหรือไม่ (Valuable) เช่น ระบบ AI สามารถช่วยแบ่งเบาภาระ
งานของเจา้ หนา้ ที่ ลดตน้ ทุนดา้ นก�ำลังคน เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการท�ำงานได้ เปน็ ต้น
n การนำ� AI มาใช้ชว่ ยมีความจ�ำเปน็ ต่อการท�ำงานหรอื ไม่ (Vital) เช่น หน่วยงานมคี วามจำ� เปน็
ต้องใช้เคร่ืองมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานเพื่อรองรับจ�ำนวนผู้ใช้บริการท่ีมีจ�ำนวน
มากขึ้น หรือถูกก�ำหนดจากมาตรฐานระหว่างประเทศ เปน็ ต้น

สำ�นกั งานพฒั นารัฐบาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน) 125

2. ก�ำหนดกรอบการด�ำเนนิ โครงการ
เรอื่ งราวความสำ� เรจ็ ของ Cognitive Technology ไมว่ า่ จากทงั้ ภาครฐั หรอื เอกชน จดุ ประกายใหเ้ กดิ
ความสนใจอนั นำ� มาซง่ึ วสิ ยั ทศั นอ์ งคก์ รแหง่ อนาคต จากผลการสำ� รวจ 2018 CIO Agenda Survey
ของ Gartner พบว่า ร้อยละ 46 ของ CIO 3,160 คน จาก 98 ประเทศทัว่ โลก มกี ารวางแผนจะนำ� AI
มาใชใ้ นองค์กรของตน เช่นเดยี วกัน หนว่ ยงานภาครฐั ไทยเองอาจวางเปา้ หมายว่าจะนำ� เทคโนโลยี
AI มาปฏวิ ตั กิ ารทำ� งานพรอ้ มประสทิ ธภิ าพทเ่ี พมิ่ ขนึ้ อยา่ งกา้ วกระโดด อยา่ งไรกต็ าม เปน็ เรอื่ งเสย่ี ง
อย่างย่ิงหากหน่วยงานเร่งรัดให้เกิดการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ในการท�ำงานท้ังระบบ เน่ืองจาก
เทคโนโลยดี งั กลา่ วมคี วามซบั ซอ้ นเกยี่ วขอ้ งกบั หลายมติ ิ เชน่ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ขอ้ มลู และประเดน็
ทางจริยธรรม (Ethics) เป็นต้น อีกท้ังยังเป็นเรื่องใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับภาครัฐ ท�ำให้
หน่วยงานอาจไม่สามารถรับมือกับปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินโครงการได้ หรือไม่สามารถ
ดึงศักยภาพของเทคโนโลยอี อกมาได้อย่างเต็มประสทิ ธภิ าพ
เพ่ือใหร้ ิเรมิ่ การนำ� เทคโนโลยี AI มาใช้อยา่ งเหมาะสม หน่วยงานควรออกแบบโครงการนำ� ร่องโดย
คำ� นงึ ถงึ ปัจจยั ดังน้ี
จ�ำกัดขอบเขตโครงการ
แทนทจี่ ะพงุ่ เปา้ ไปยงั การแกป้ ญั หาขนาดใหญ่ หนว่ ยงานควรเรม่ิ จากจดุ เลก็ ๆ กอ่ นในระยะเรมิ่ แรก
เพอ่ื จำ� กดั ตวั แปรทม่ี ผี ลตอ่ การดำ� เนนิ โครงการ ลดผลกระทบกรณเี กดิ เหตผุ ดิ พลาด และเสรมิ สรา้ ง
ประสบการณ์ในการด�ำเนนิ โครงการ AI เมื่อวเิ คราะห์ “แผนภาพกระบวนการทางธรุ กจิ (Business
Process Map)” หนว่ ยงานสามารถจำ� แนกองคป์ ระกอบของกระบวนงาน และเลอื กสว่ นทเ่ี หมาะสม
สำ� หรับด�ำเนินโครงการนำ� ร่องการใชเ้ ทคโนโลยี AI เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ

+ EXAMPLE

บรษิ ทั ประกนั Zurich Insurance ไดน้ ำ� รอ่ งการใชเ้ ทคโนโลยี AI ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบการเคลม
ประกนั โดยนำ� Cognitive Technology มาใชใ้ นกระบวนงานตรวจสอบประวตั ทิ างการแพทยข์ องลกู คา้
จากรายการละ 58 นาที เหลือเพียงรายการละ 5 วนิ าทีซงึ่ ช่วยลดระยะเวลาและตน้ ทุนในกระบวนการ
เคลมประกันอยา่ งมาก (Brown, 2017)

126 AI for Government

หรือในอีกมุมหน่ึง หากเป็นกระบวนงานที่มีความเกี่ยวข้องกันสูง ไม่สามารถเลือกท�ำเพียงส่วนใด
ส่วนหนึ่งได้ หน่วยงานสามารถก�ำหนดพื้นท่ีเฉพาะส�ำหรับโครงการน�ำร่อง เพ่ือดูผลกระทบและ
เรยี นรู้กอ่ นน�ำไปใช้ในพื้นทอ่ี น่ื ให้ครอบคลุมต่อไป

+ EXAMPLE

ในปี 2009 มหาวทิ ยาลยั คารเ์ นกเี มลลอน (Carnegie-Mellon University) รว่ มกบั เมอื งพติ ตส์ เบริ ก์ (Pitts-
burgh) และ East Liberty Development Inc. ในการติดตง้ั ระบบจราจรอัจฉริยะ “Traffic21” เพอ่ื แกไ้ ข
ปญั หาการจราจรและมลภาวะ โดยเรม่ิ จากการพฒั นาระบบสญั ญาณไฟจราจรทส่ี ามารถสอื่ สารระหวา่ ง
กันได้จากเทคโนโลยี AI ผสานกับทฤษฎีการจราจร (Traffic Theory) แล้วจึงนำ� มาผ่านการเรียนรู้ด้วย
แบบจำ� ลองการจราจรของเมอื งพติ ตส์ เบริ ก์ กอ่ นนำ� มานำ� รอ่ งในสว่ น East Liberty ของเมอื ง ความสำ� เรจ็
ของโครงการนำ� รอ่ งซง่ึ สะทอ้ นจากการลดเวลาการเดนิ ทางและลดการปลอ่ ยมลพษิ จากรถยนตท์ ำ� ใหเ้ กดิ
ก้าวต่อไปในการนำ� ระบบ Traffic21 ไปใชใ้ นสว่ นอน่ื ของเมือง (Carnegie Mellon University, 2012)

ระบบ AI และแนวทางการแก้ปญั หาอยา่ งง่ายๆ กอ็ าจสรา้ งผลลพั ธ์ไดอ้ ย่างมากหากน�ำมาใชอ้ ยา่ ง
ถูกต้อง การริเร่ิมการน�ำ AI มาใช้ไม่เพียงแต่เป็นก้าวแรกของหน่วยงานในการเตรียมความพร้อม
รองรับต่อสภาวการณ์ของโลกท่ีเปล่ียนแปลงไป หากแต่ยังเป็นการสร้างโอกาสให้หน่วยงานได้
เรียนรู้ถึงศักยภาพและข้อจ�ำกัดของ AI แนวทางการปรับตัวขององค์กร และการสร้างทักษะของ
บคุ ลากรภายใน ดังนัน้ โครงการน�ำรอ่ งนจี้ ะเป็น Proof of Concept (POC) ที่หนว่ ยงานสามารถ
นำ� ไปตอ่ ยอดไดใ้ นภายหลัง
กำ� หนดตัวชว้ี ดั ท่เี ปน็ รปู ธรรม
ณ จุดน้ี หนว่ ยงานอาจจะพอมีแนวคดิ เบือ้ งต้นถงึ ปญั หา โอกาส และ สถานะทคี่ าดหวัง (Desired
State) จากการพิจารณาสภาวการณ์ปัจจุบันของหน่วยงาน เทคโนโลยีไม่ควรเป็นเป้าหมายหลัก
ในการสะท้อนถึงความสำ� เร็จของโครงการ หากเปน็ เพยี งเคร่ืองมอื ที่เราสามารถน�ำมาใช้เพอ่ื บรรลุ
เป้าหมายอ่ืนท่ีแสดงถึงการพัฒนาประสิทธิภาพการท�ำงานของหน่วยงานอย่างแท้จริง ด้วยเหตุน้ี
การตง้ั เปา้ หมายทเี่ หมาะสมจงึ เปน็ สว่ นสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ การนำ� เดนิ โครงการนำ� รอ่ งใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์
สูงสดุ

ส�ำ นกั งานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน) 127

หน่วยงานควรมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม (Concrete Result) ไม่ใช่เป็นเพียงการกล่าวถึง
เป้าประสงค์สุดท้าย (Ultimate Goal) อย่าง “ยกระดับการท�ำงาน” “สร้างบริการคุณภาพ” หรือ
วัตถุประสงค์เชิงนโยบายอื่นๆ อีกทั้งยังควรเป็นผลลัพธ์ที่ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง (Stakeholder) ใน
กระบวนงานดงั กลา่ วสามารถเขา้ ใจและเหน็ ถงึ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งชดั เจน ซง่ึ ทำ� ใหง้ า่ ยตอ่ การทำ� ความ
เข้าใจร่วมกัน และสร้างความร่วมมือระหว่างผู้วางนโยบาย ผู้ปฏิบัติงาน และผู้รับบริการ ดังนั้น
การกำ� หนดเปา้ หมายของโครงการจงึ ควรพจิ ารณาลงไปในระดบั ยอ่ ย(GranularLevel)ของกระบวนงาน
เช่น ระยะเวลาเฉล่ียต่อหนึ่งชิ้นงาน (Time) ต้นทุนต่อหน่วย (Cost) และอัตราส่วนความแม่นย�ำ
(Accuracy) เปน็ ตน้

+ EXAMPLE

หนว่ ยงานสาธารณสขุ ของลาสเวกสั (Las Vegas Health Department) รว่ มมอื กบั มหาวทิ ยาลยั โรเชสเตอร์
(Rochester University) ในโครงการน�ำร่องระบบ AI ประมวลผลข้อความในสื่อสังคมออนไลน์เพื่อ
ระบุร้านอาหารที่มีความเสี่ยงในการเป็นต้นตอของโรคอาหารเป็นพิษแทนการสุ่มตรวจร้านอาหารแบบ
เดิม ซ่ึงในระยะเวลา 3 เดือน นอกจากอัตราการตรวจพบร้านอาหารท่ีละเมิดมาตรฐานสาธารณสุข
ดว้ ยระบบ AI มากกว่าแบบสุ่มตรวจ รอ้ ยละ 15 ตอ่ รอ้ ยละ 9 และมีการประเมินว่า ชว่ ยลดเหตอุ าหาร
เป็นพิษไดถ้ งึ ประมาณ 9,000 คร้ัง และลดการเข้ารกั ษาพยาบาลได้กว่า 557 ราย (National Science
Foundation, 2016)

3. เตรียมความพร้อมด้านขอ้ มลู
ข้อมูลเปรียบเสมือนเชื้อเพลิงส�ำคัญของระบบ AI เนื่องจาก คุณลักษณะเด่นท่ีสุดของ Cognitive
Technology คอื การ “เรยี นร”ู้ ท่ีปรับเปลย่ี นอัลกอริทมึ (Algorithm) ได้ด้วยตนเอง โดยอาศยั ขอ้ มลู
สำ� หรบั สร้างการตัดสินใจและหาแนวทางการตอบสนองทถ่ี ูกต้องทีส่ ุด หรืออาจกล่าวได้ว่า ยงิ่ ปอ้ น
ขอ้ มลู ใหแ้ ก่ระบบมากเทา่ ไหร่ ระบบจะย่ิงแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้นเท่านัน้
เพ่ือใหป้ จั จัยในการเรยี นรขู้ องระบบ AI มคี ณุ ภาพและสะท้อนสภาพความเปน็ จรงิ ทส่ี ดุ การเตรยี ม
ความพร้อมด้านข้อมูล (Data Preprocessing) จึงเป็นข้ันตอนที่ส�ำคัญส�ำหรับการริเร่ิมโครงการ
AI ทง้ั น้ี หนว่ ยงานควรขอความเห็นด้านเทคนคิ จากนกั วิทยาศาสตร์ขอ้ มูล (Data Scientist) หรอื
ผูเ้ ช่ยี วชาญทเี่ กี่ยวขอ้ งประกอบดว้ ย

128 AI for Government

เลอื กขอ้ มูล (Data Selection)
เปน็ ขน้ั ตอนการเลอื กขอ้ มลู ทจ่ี ะนำ� มาใช้ โดยพจิ ารณาจากกรอบโครงการทห่ี นว่ ยงานวเิ คราะหพ์ รอ้ ม
ก�ำหนดไว้ในข้นั ตอนทแ่ี ล้ว ประกอบกบั ตรวจสอบคลงั ชุดข้อมลู (Dataset Inventory) ทห่ี น่วยงาน
ถอื ครองอยู่โดยอาจเปน็ ขอ้ มลู จากการบนั ทกึ สถติ ิภาพและเสยี งเปน็ ตน้ แลว้ จงึ ดงึ ชดุ ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
หรือคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อกระบวนงานมาเป็นตัวต้ังต้นในการสร้างอัลกอริทึม (Algorithm)
ทง้ั นี้ หากขอ้ มลู ทเ่ี ลอื กนำ� มาใชไ้ มค่ รอบคลมุ ทกุ ตวั แปร จะทำ� ใหเ้ กดิ อคติ (Bias) ภายในการตดั สนิ ใจ
ของระบบ AI หรอื การน�ำเขา้ ข้อมลู ทไ่ี ม่เกี่ยวข้อง อาจทำ� ให้เกดิ เหตุผลวิบตั ิ (Fallacy) ได้
การคดั เลอื กขอ้ มลู ทจ่ี ะนำ� มาใชใ้ นระยะแรกของการดำ� เนนิ โครงการนนั้ หนว่ ยงานควรเลอื กใชข้ อ้ มลู
แบบคงท่ี (Static Data) เช่น จำ� นวนผูเ้ สียชวี ติ จากอุบตั ิเหตรุ ถยนตป์ ระจ�ำปี จำ� นวนผู้ใช้บริการราย
วัน เป็นตน้ และหลกี เลี่ยงการพึ่งพาข้อมูลแบบที่มพี ลวตั ร (Dynamic Data) ซง่ึ มกี ารน�ำเข้าข้อมูล
อย่างต่อเนอื่ ง (Stream) และเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เช่น จำ� นวนผปู้ ่วยนอกในปัจจบุ ัน อณุ หภมู ิ
ในขณะน้นั เปน็ ต้น เน่ืองจากข้อมูลอยา่ งหลงั มีความซบั ซอ้ น ยากแกก่ ารนำ� ไปใช้
ตรวจสอบคณุ ภาพข้อมลู (Data Quality)
แต่ถึงแม้ข้อมูลจะมีจ�ำนวนมหาศาล หากเป็นข้อมูลท่ีไม่มีคุณภาพ เช่น ข้อมูลคลาดเคล่ือนจาก
ความเปน็ จริง (Inaccurate) ไม่สมบูรณ์ (Incomplete) หรอื ไม่สม�่ำเสมอ (Inconsistent) เป็นตน้
ย่อมท�ำให้ระบบเรียนรู้ในสิ่งที่ผิดเพี้ยนจากความเป็นจริงและน�ำมาซึ่งการตัดสินใจท่ีผิดพลาด
ดังนั้นเม่ือหน่วยงานก�ำหนดข้อมูลท่ีจะน�ำมาใช้ได้แล้ว ยังต้องมาประเมินคุณภาพของข้อมูล
ดังกล่าวประกอบการพิจารณาดว้ ย
คู่มือ “การก�ำกับดูแลข้อมูล” (Data Governance Framework) ได้ก�ำหนดแนวทางการประเมิน
คุณภาพของขอ้ มลู ไว้ ซึ่งประกอบดว้ ยมติ ิต่างๆ ดงั น้ี (สพร., 2561)
n ขอ้ มลู มคี วามถกู ตอ้ ง (Accuracy) ขอ้ มลู จะมคี วามถกู ตอ้ งและเชอ่ื ถอื ไดข้ น้ึ อยกู่ บั วธิ กี ารทใี่ ช้
ในการควบคุมขอ้ มูลน�ำเข้า และการควบคมุ การประมวลผล ข้อมูลน�ำเข้าจะตอ้ งเปน็ ข้อมูลที่
ผา่ นการตรวจสอบว่าถูกตอ้ งแล้ว
n ขอ้ มลู มคี วามครบถว้ น (Completeness) ขอ้ มลู บางประเภทหากไมค่ รบถว้ น จดั เปน็ ขอ้ มลู ท่ี
ดอ้ ยคณุ ภาพไดเ้ ชน่ กนั เชน่ ขอ้ มลู ประวตั คิ นไข้ หากไมม่ หี มเู่ ลอื ดของคนไข้ จะไมส่ ามารถใชไ้ ด้
ในกรณที ผี่ รู้ อ้ งขอขอ้ มลู ตอ้ งการขอ้ มลู หมเู่ ลอื ดของคนไข้ หรอื ขอ้ มลู ทอี่ ยขู่ องลกู คา้ ทก่ี รอกผา่ น
แบบฟอร์ม ถ้ามีชื่อและนามสกุลโดยไม่มีข้อมูลที่อยู่ ข้อมูลเหล่านั้นก็ไม่สามารถน�ำมาใช้ได้
เช่นกนั

ส�ำ นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) 129

n ข้อมูลมีความต้องกัน (Consistency) ค่าข้อมูลในชุดข้อมูลเดียวกันสอดคล้องกับค่าใน
ชดุ ขอ้ มลู อนื่ มมี าตรฐานการจดั ท�ำขอ้ มลู ทก่ี ำ� หนดใหน้ ยิ ามและแนวทางการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของ
ขอ้ มลู จากชดุ ขอ้ มลู ตา่ งกนั ตอ้ งไมข่ ดั แยง้ กนั เชน่ ขอ้ มลู เดยี วกนั จากสองชดุ ขอ้ มลู ตอ้ งเหมอื นกนั
และมีมาตรฐานในการเก็บขอ้ มลู เหมอื นกนั เป็นต้น
n ขอ้ มลู มคี วามเปน็ ปจั จบุ นั (Timeliness) ขอ้ มลู ทด่ี นี น้ั นอกจากจะเปน็ ขอ้ มลู ทม่ี คี วามถกู ตอ้ ง
เช่ือถือได้แล้ว จะต้องเป็นข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบัน เนื่องจากข้อมูลในอดีตอาจไม่สะท้อนบริบท
ของปัจจุบนั ไดท้ ้ังหมด
n ขอ้ มลู ตรงตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ (Relevancy) ระดบั ของขอ้ มลู ทบี่ รหิ ารจดั การตอ้ งการ
น�ำเสนอโดยตรงและมีประสิทธิภาพ โดยสามารถใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ ตัวอย่างเช่น
ขอ้ มลู ทางสถติ ทิ จี่ ะเปน็ การำ� นเสนอในรปู แบบทง่ี า่ ยตอ่ การเขา้ ใจ สามารถนำ� มาใชง้ านไดต้ าม
ความต้องการ
n ข้อมูลมีความพร้อมใช้ (Availability) ข้อมูลควรเข้าถึงได้ง่าย สามารถใช้งานได้จริง และ
สามารถใชง้ านไดต้ ลอดเวลา ขอ้ มลู ควรถกู แปลงใหอ้ ยใู่ นรปู แบบทเี่ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ามารถ
อา่ นได้ (Machine-readable format) เช่น CSV JSON RDF เป็นต้น
4. แสวงหาความรว่ มมือกับภาคส่วนตา่ งๆ
เมอ่ื หนว่ ยงานมคี วามพรอ้ มดา้ นขอ้ มลู แลว้ ความทา้ ทายถดั มาคอื การนำ� ชดุ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วมาพฒั นา
ระบบ AI ความสำ� เร็จของโครงการ AI ขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยตา่ งๆ เชน่ บุคลากร เทคโนโลยี การบริหาร
จัดการขอ้ มลู ซง่ึ มกั เป็นจดุ อ่อนของหนว่ ยงานภาครัฐ เพ่ือใหส้ ามารถดึงศกั ยภาพของระบบ AI มา
ใช้ในการด�ำเนินงานได้อย่างเต็มท่ี หน่วยงานภาครัฐควรพิจารณาแสวงหาความร่วมมือจาก
ภาคส่วนอื่น ด้วยปัจจัยเชิงโครงสร้าง ภาคเอกชนมักเป็นผู้บุกเบิกในการน�ำเทคโนโลยีใหม่
มาประยกุ ตใ์ ช้ จึงมักเป็นภาคสว่ นท่ีมีประสบการณแ์ ละความคนุ้ เคยกับการใช้ AI มากกว่าภาครฐั
ท�ำให้ภาครัฐในหลายประเทศดึงภาคเอกชนมาเป็นส่วนหน่ึงในการพัฒนาระบบ AI ของภาครัฐ
เพ่ือจัดการความเสี่ยงของโครงการที่อาจเกิดขึ้นจากการขาดประสบการณ์ด้านเทคโนโลยี โดยให้
ภาคเอกชนรบั บทบาทเปน็ “ผ้พู ฒั นา” (AI Developer) แทน

130 AI for Government

ภาพท่ี 27 ตวั อย่างหนว่ ยงานภาครฐั ทร่ี ว่ มมือกบั หน่วยงานภาคเอกชนในการด�ำเนนิ โครงการ AI

องั กฤษ จนี
หนว ยงานภาครฐั หนวยงานภาครัฐ
Department for Business, กระทรวงสาธารณสุข, โรงพยาบาลรฐั
Energy and Industrial Strategy หนว ยงานภาคเอกชน
หนว ยงานภาคเอกชน IBM, Alibaba
Intelligence Voice Ltd, Strenuus Ltd. โครงการ
และ University of East London ใช AI ในการชวยเหลอื แพทย
โครงการ ออกแบบแนวทางการรักษา
ใช AI ในการตรวจจับการโกงประกนั
(Insurance Fraud) โดยประเมนิ
ความนาเชอ่ื ถอื จากเสียง

อินเดยี ญี่ปุน
หนว ยงานภาครัฐ หนว ยงานภาครฐั
Electronics City Township Authority Consortium for Renovating
หนวยงานภาคเอกชน Education of the Future
Siemens Corporate Technology หนว ยงานภาคเอกชน

โครงการ IBM
ใช AI ในการบร�หารจัดการ โครงการ
ใช AI ในการชว ยเหลือครู
สญั ญาณไฟจราจร ในการออกแบบการเรย� นการสอน
เพ่อ� ลดปญ หาการจราจรติดขัด ติดตามนกั เรย� น และให Feedback

อย่างไรกต็ าม ความรว่ มมอื ในลักษณะรฐั และเอกชน (Public-Private Partnership) มักมีปัญหา
เฉพาะเชน่ เดียวกับการท�ำงานท่ีประกอบด้วยผู้ทีม่ สี ่วนเกีย่ วข้องหลายราย (Stakeholder) แบบอ่นื
โดยในการดำ� เนนิ โครงการ AI ภาครฐั อาจประสบปัญหา ดังน้ี
เป้าหมายตา่ งกันและความเชอ่ื ใจ (Different Pursuits and Trust)
ปญั หาแรกเกดิ ขนึ้ จากวตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ รทแ่ี ตกตา่ งกนั หนว่ ยงานภาครฐั มภี ารกจิ ในการตอบ
สนองตอ่ ความตอ้ งการของประชาชน ในขณะทีบ่ ริษทั ถกู ขับเคล่ือนดว้ ยเป้าหมายของการแสวงหา
กำ� ไรสงู สดุ ทำ� ให้ มมุ มองการกำ� หนดเปา้ หมายของโครงการอาจเกดิ ความขดั แยง้ กนั และอาจสง่ ผล
ตอ่ ความเชอื่ ใจระหวา่ งภาครฐั และภาคเอกชน เชน่ ในกรณที หี่ นว่ ยงานภาครฐั ตอ้ งแบง่ ปนั ขอ้ มลู ให้
แก่ภาคเอกชนในการน�ำมาพัฒนาระบบ AI หน่วยงานภาครัฐอาจตั้งค�ำถามถึงความประสงค์ของ
บริษัทเอกชนว่า ข้อมูลที่ได้รับจะถูกน�ำไปใช้เพื่อประโยชน์ของประชาชนผู้รับบริการ หรือมีการน�ำ
ไปใชเ้ พอื่ การพาณชิ ยใ์ นสว่ นทนี่ อกเหนอื จากเนอื้ หาโครงการ หรอื ในกรณที แ่ี บบจ�ำลองทางการเงนิ

สำ�นักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) 131

(Financial Model) ทภ่ี าคเอกชนเสนอในการด�ำเนนิ โครงการอาจทำ� ให้ตน้ ทุนบรกิ ารสาธารณะสูง
ขึ้นและผรู้ บั บรกิ ารบางสว่ นถกู กีดกันดว้ ยสาเหตทุ างด้านรายได้
ความรบั ผิด (Liability)
รูปแบบการท�ำงานของภาครัฐถูกครอบด้วยกระบวนการตรวจสอบอันเกิดจากหน้าที่ความรับผิด
ชอบต่อสังคมและประชาชน เนื่องจากการใช้ระบบ AI ในบริการสาธารณะท�ำให้ผลการตัดสินใจ
ของเครอื่ งจกั รมผี ลกระทบตอ่ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนในทางใดทางหนง่ึ ดว้ ยลกั ษณะการทำ� งาน
ของระบบ AI การหาผู้รับผิดชอบเป็นเร่ืองซับซ้อนเม่ือเกิดความผิดพลาดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เม่ือบริษทั เอกชนมีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง “จะเป็นผู้ควบคมุ ขอ้ มูล ผพู้ ัฒนาระบบ AI ผู้รบั รองระบบดังกลา่ ว
หรือบริษัทท่ีเป็นผู้ด�ำเนินการ” (House of Lords, 2018) ความไม่ชัดเจนดังกล่าวอาจท�ำให้
ภาครัฐมีความระมัดระวังในการตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ ระเบียบข้อบังคับของภาครัฐอาจส่งผลต่อ
การท�ำงาน ท�ำให้หน่วยงานเอกชนไม่สามารถใช้จุดแข็งอย่างเรื่องความคล่องตัวและความคิด
สรา้ งสรรคเ์ พ่อื น�ำเสนอแนวทางการใช้ AI ในโครงการได้อยา่ งเตม็ ท่ี
ความแตกต่างดา้ นทกั ษะ (Skill gap)
ปัญหาสุดท้าย คือ “คน” บุคลากรภาครัฐมีความเชี่ยวชาญในสายงานของตน แต่เม่ือเป็นเรื่อง
เทคโนโลยี หน่วยงานภาครัฐมักประสบปัญหาขาดแคลนบุคลากรที่มีความเข้าใจด้านเทคโนโลยี
โดยเฉพาะเทคโนโลยี AI แมว้ า่ ในความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั และภาคเอกชน ภาระงานดา้ นเทคนคิ
ส่วนมากจะตกเป็นของบุคลากรเอกชน แต่หน่วยงานภาครัฐยังคงมีหน้าที่ในการวางกรอบและ
ควบคุมการด�ำเนินโครงการให้เทคโนโลยีสร้างประโยชน์ให้แก่ประชาชนมากท่ีสุด ปัญหาดังกล่าว
ก่อให้เกิดช่องว่างในการสื่อสารระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ท�ำให้ภาครัฐวางกรอบ
ในการท�ำงานผดิ พลาด หรือไมส่ ามารถทำ� ความเขา้ ใจกับภาคเอกชนไดด้ พี อ

+ EXAMPLE

Sun & Medaglia (2018) ไดท้ ำ� การสำ� รวจความคดิ เหน็ ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งในโครงการนำ� ระบบ AI ชอ่ื Watson
ของ IBM มาใช้ในระบบสาธารณสุขของประเทศจีน เพ่ือระบุถึงความท้าทายท่ีเกิดขึ้นในการด�ำเนิน
โครงการ โดยจากการส�ำรวจ พบว่า การขาดแนวทางจริยธรรม (Ethical Guideline) ท่ีชัดเจน ท�ำให้
โรงพยาบาลไม่ให้ความร่วมมือในการแบ่งปันข้อมูล เช่น ให้บริษัทเอกชนเข้าถึงเฉพาะข้อมูลผู้ป่วย
นอกเท่าน้ัน ซึ่งนับเป็นปัญหาต่อระบบ Watson ท่ีต้องอาศัยข้อมูลจ�ำนวนมากในการสร้างอัลกอริทึม
ทสี่ อดคล้องกบั บรบิ ทของข้อมูลสุขภาพในประเทศจนี (Sun & Medaglia, 2018)

132 AI for Government

ดว้ ยปจั จยั เชงิ โครงสรา้ งองคก์ รและความแตกตา่ งทางดา้ นทรพั ยากรท�ำใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ไมอ่ าจ
ดึงศักยภาพของความร่วมมือออกมาได้อย่างเต็มท่ี และอาจมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการใน
ภาพรวม ดังนน้ั เพอ่ื ใหค้ วามรว่ มมอื ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการดำ� เนนิ โครงการ AI เปน็
ไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและสามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามทต่ี งั้ ไว้ หนว่ ยงานภาครฐั ควรมกี ลยทุ ธ์
ในการทำ� งานรว่ มกบั บรษิ ทั เอกชน ดงั น้ี
Sharing Partnership
หนึ่งในวัตถุประสงค์หลักของความร่วมมือ คือ การให้ทุกภาคส่วนแบ่งปันทรัพยากรซ่ึงกันและ
กัน ซ่ึงการมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน (Shared Objective) เป็นส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งต่อความร่วมมือ
เน่ืองจากวัตถุประสงค์น้ันจะเป็นตัวชี้น�ำในการตัดสินใจต่างๆ และเป็นบรรทัดฐานในการวัดความ
ส�ำเร็จของโครงการ หน่วยงานภาครัฐควรวางกลยุทธ์ในการสื่อสาร (Communication Strategy)
กับบริษัทเอกชน เพื่อให้เกิดการวางกรอบและเป้าหมายโครงการท่ีชัดเจนและสร้างความเข้าใจ
ร่วมกันถึงข้อกังวลของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจ�ำเป็นต่อการหาแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีขัดขวาง
การด�ำเนนิ โครงการรว่ มกนั รวมถงึ สรา้ งวัฒนธรรมความร่วมมือทเ่ี นน้ การแบง่ ปนั ขอ้ มูลระหวา่ งกนั
(Data-sharing Culture) โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ สร้างความรว่ มมือให้

12 3 4 5 6 7
ทุกสว นใช ทุกสวนใช ทกุ สวนมี มกี ระบวนการ ทุกสว นมี
ทุกสว นมีภาพ ทุกสว นมี จ�ดแข็งและ ภาษา สว นรวมใน รับฟ�งประเดน็ สว นรว มใน
ภารกจิ คณุ คา ความเชอื่ ใจกนั ทรัพยากร (Language) ขัน้ ตอนการ ขอคดิ เหน็ ที่ การไดร ับ
รว มกนั เพ�อ่ ทชี่ ัดเจนและ ตดั สินใจ สำคญั ตอ ประโยชน
เปาหมาย และเคารพ บรรลุเปาหมาย มีความเขาใจ และการแก จากโครงการ
ผลลพั ธ และ ซง่ึ กนั และกัน และรกั ษาผล รว มกนั ปญหาความ การบรรลุ
แนวทางการ ประโยชนของ ขัดแยง เปา หมาย
ดำเนินโครงการ ทุกฝา ย (Conflict โครงการ
resolution) สำหรบั
รว มกนั ทกุ สวน

ประยุกตจ์ าก Jarquin, 2012

ส�ำ นักงานพัฒนารัฐบาลดจิ ิทลั (องค์การมหาชน) 133

Accountable Partnership
หน่วยงานภาครัฐควรร่วมกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องก�ำหนดขั้นตอนการท�ำงานที่โปร่งใส (Transparent)
และตรวจสอบได้ (Accountable) ตั้งแต่กระบวนการแลกเปลยี่ นขอ้ มูล ตลอดจนการน�ำ AI มาใช้
ในกระบวนงานจริง รวมถึงก�ำหนดแนวทางป้องกันและมาตรการรองรับท่ีชัดเจนเม่ือการตัดสินใจ
ของระบบ AI กอ่ ให้เกิดผลกระทบ เพ่ือสรา้ งกระบวนการการตรวจสอบและรับผดิ ชอบ (Liability)
ในโครงการได้ โดยครอบคลมุ ถงึ ประเดน็ อย่างนอ้ ยดังตอ่ ไปนี้ 20
n หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องด�ำเนินการจัดหาข้อมลู ทเี่ กย่ี วข้อง โดยปรบั ปรงุ แกไ้ ข และเขา้
รหสั ข้อมลู (Data Encryption) ใหช้ ุดขอ้ มลู มคี ณุ ภาพและพร้อมแกก่ ารน�ำไปใช้ รวมถึงรบั รอง
ความรบั ผิดหากเกดิ ผลกระทบอันเกิดจากความผดิ พลาดของข้อมูล
n เอกชนตอ้ งเกบ็ บนั ทกึ ขอ้ มลู เอกสาร และหลกั ฐานประกอบทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การออกแบบ การใช้
Methodology และการวเิ คราะหท์ เี่ กดิ ขน้ึ จากขน้ั ตอนการออกแบบ พฒั นา และแกไ้ ขระบบ AI
n ขอ้ มลู ทห่ี นว่ ยงานเจา้ ของโครงการจดั หามาให้ ตอ้ งเปน็ ความลบั ไมถ่ กู คดั ลอก เลยี นแบบ หรอื
แจกจ่ายโดยไม่ได้รบั การอนุญาตจากหนว่ ยงานเจา้ ของโครงการ
n หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องด�ำเนินการสื่อสารกับผู้ที่เก่ียวข้องในภาคส่วนอ่ืน ผู้ท่ีได้รับ
ผลกระทบจากการดำ� เนนิ โครงการ และสาธารณะ ในการสรา้ งความเขา้ ใจ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ /
ขอ้ เสนอแนะ และค�ำรอ้ งท่เี ก่ยี วข้องกับโครงการ
n เอกชนต้องตกลงไมด่ �ำเนินการฟอ้ งร้อง หากหนว่ ยงานเจ้าของโครงการ หน่วยงานภาครฐั อ่นื
หรือบุคคลภายนอก ด�ำเนินการศึกษา ทดสอบ ตรวจสอบ หรือท�ำความเข้าใจผลกระทบต่อ
บุคคลหรอื กลุม่ บคุ คล อันอาจเกดิ จากการใช้ระบบ AI
n เม่ือเกิดการร้องเรียนหรือฟ้องร้องต่อนโยบายหรือการตัดสินใจของหน่วยงานจากการด�ำเนิน
โครงการที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางเทคนิค เอกชนต้องสนับสนุนและให้ความร่วมมือแก่
หนว่ ยงานเจา้ ของโครงการ ในขณะท่ีหน่วยงานตอ้ งรับผิดชอบต่อค่าใช้จา่ ยตา่ งๆ ท่เี กิดข้ึน
n เอกชนต้องช่วยสนับสนุนหน่วยงานเจ้าของโครงการในการจัดท�ำข้อมูลน�ำเสนอและรายงาน
ในการพัฒนาระบบ AI รวมถึงการประเมนิ ผลกระทบจากเทคโนโลยี ส�ำหรบั สรา้ งความเข้าใจ
แกผ่ ูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
n เอกชนตอ้ งเปดิ เผยหลกั ฐาน บทวเิ คราะห์ และรายงานทเ่ี กีย่ วข้องกบั ขอ้ บกพร่องเมือ่ ตรวจพบ
ในระบบ AI แบบจำ� ลอง หรือชดุ ข้อมลู

20 ประยุกตจ์ าก (AI NOW, 2018)

134 AI for Government

Multi-joint Partnership
หนว่ ยงานเจา้ ของโครงการควรปรกึ ษาหารอื หนว่ ยงานภาครฐั อน่ื ทม่ี อี งคค์ วามรดู้ า้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
ในการด�ำเนินโครงการ AI ร่วมกับหน่วยงานเอกชน เพื่อขอความช่วยเหลือให้การด�ำเนินโครงการ
เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ และประสานความร่วมมือระหว่างภาครฐั และภาคเอกชนใหเ้ ปน็ ไปอย่าง
มีประสทิ ธิภาพ
ในปจั จบุ นั หนว่ ยงานภาครฐั ทม่ี บี ทบาทหนา้ ทใ่ี นการสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นภาครฐั และ
หน่วยงานเจ้าของโครงการสามารถสร้างความร่วมมอื ได้ มหี ลกั ๆ สองหน่วยงาน ได้แก่
1. สำ� นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (สพร.) เปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นารฐั บาล
ดิจิทัลของประเทศไทย โดยในพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การ
มหาชน) พ.ศ. 2561 มาตรา 8 ก�ำหนดให้ สำ� นักงานฯ ท�ำหน้าทีใ่ ห้บริการส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้
หน่วยงานของรัฐให้บริการดิจิทัล และให้ค�ำปรึกษาและสนับสนุนหน่วยงานของรัฐในการบริหาร
จัดการโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัล สพร. ได้ด�ำเนินบทบาทการเป็นที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศใหก้ บั หนว่ ยงานภาครฐั มาเปน็ เวลานานกวา่ 10 ปี และไดร้ ว่ มงานกบั หลายหนว่ ยงานใน
การพัฒนาบรกิ ารดิจิทลั เช่น รว่ มมอื กับกรมทางหลวงในการวิเคราะห์ขอ้ มลู จากจดุ ส�ำรวจปริมาณ
จราจรชนดิ ตดิ ตง้ั ถาวร สำ� หรบั ประกอบการวางแผนบรหิ ารจดั การจราจรเพอ่ื อำ� นวยความสะดวกแก่
ประชาชนผ้ใู ช้ทางในชว่ งสงกรานต์ในปี 2015-2016
2. ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) เปน็ หนว่ ยงานภาย
ใต้ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยมีหนา้ ที่หลกั ในการดำ� เนนิ การวิจัย ให้ทุนสนบั สนนุ การวจิ ยั ในภาครฐั รวมถึงรว่ มกับพันธมติ ร
ในการผลักดันให้เกิดระบบนิเวศน์ของการใช้เทคโนโลยีที่วิจัยและพัฒนาข้ึน โดยในด้าน AI
NECTEC ได้จัดต้งั “หนว่ ยวจิ ยั ปญั ญาประดษิ ฐ์” (Artificial Intelligence Research Unit: AINRU)
เพอ่ื วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยี AI โดยเนน้ การประมวลภาษา เสยี งพดู และรปู ภาพ พรอ้ มทง้ั ถา่ ยทอด
เทคโนโลยเี พอื่ ใหผ้ ใู้ ชเ้ ขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยและสามารถประยกุ ตใ์ ชง้ านไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจและเหมาะสม AINRU
มีประสบการณ์ในการท�ำวิจัยท่ีน�ำไปสู่การประยุกต์ใช้ AI ในหลายภาคส่วน เช่น การเกษตร
การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ การศึกษา อตุ สาหกรรมการผลติ และอุตสาหกรรมการบริการ เป็นตน้

ส�ำ นกั งานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) 135

+ EXAMPLE

ตัวอยา่ งผลงานวิจัยของ AINRU ระบบฝึกฝนสัญญาณสมองแบบป้องกลบั เกิดจากการพฒั นารว่ มกับ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเกมส์ที่ควบคุมโดยการอ่านสัญญาณสมองผ่านสัญญาณ EEG ใช้เพ่ือ
ฝกึ สมาธกิ ารจดจอ่ รวมถึงช่วยฝกึ ฝนความจำ� ชว่ งปฏิบัตงิ าน (Working Memory) โดยผู้เล่นจะทราบถึง
ระดบั สมาธกิ ารจดจอ่ ของตนผา่ นโปรแกรมเกมส์ และพยายามรกั ษาสภาวะจดจอ่ ตลอดการเลน่ เกมส์ เมอื่
ฝกึ ฝนเปน็ อยา่ งดี จะสามารถควบคมุ จดั การสมาธไิ ดด้ ขี นึ้ รวมถงึ สามารถพฒั นาทกั ษะสมอง (Executive
Functions) ได้ตอ่ ไป (NECTEC, 2562)

5. การสรา้ งจรยิ ธรรม
“เมื่อคุณประดิษฐ์รถยนต์ คุณได้ประดิษฐ์อุบัติเหตุรถยนต์ขึ้นมาด้วย” (When you invent
cars, you also invent car accidents) เทคโนโลยี AI นำ� มาซ่ึงปัญหารูปแบบใหม่ หน่วยงานควร
คำ� นึงถงึ ผลกระทบจากการนำ� เทคโนโลยี AI มาใชใ้ นบริการและการบรหิ ารงานภาครฐั ดงั นี้
อคติ (Bias)
คุณภาพของอัลกอริทึมซ่ึงเป็นหัวใจของระบบ AI ข้ึนอยู่กับข้อมูลที่มนุษย์เป็นผู้ป้อนให้ ท�ำให้ใน
บางครั้งระบบ AI เรียนรู้ “อคติ” ของมนุษย์ที่แฝงอยู่ในข้อมลู ได้โดยไม่ไดต้ ง้ั ใจ ทำ� ใหก้ ารตดั สนิ ใจ
โดยเครื่องจักรสร้างประเด็นทางจริยธรรมข้ึน เช่น แคนาดาน�ำร่องระบบ AI ในกระบวนการตรวจ
คนเข้าเมืองและคัดกรองผู้อพยพ โดยเรียนรู้จากบันทึกข้อมูลที่ผ่านมาและมาตรการในกฎหมาย
Immigration and Refugee Protection Act (IRPA) แต่จากการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั โทรอนโต
และ Citizen Lab พบวา่ ระบบเลอื กปฏบิ ตั คิ นบางกลมุ่ (Discriminate) อยา่ งชดั เจนดว้ ยปจั จยั ทาง
ดา้ นเชอื้ ชาติ ศาสนา และการเปน็ สมาชกิ องคก์ ร/สมาคม โดยไมค่ �ำนงึ ถงึ ปจั จยั ความจำ� เปน็ อนื่ เชน่
การล้ภี ัยดว้ ยสาเหตทุ างสงั คมของกลุ่ม ผหู้ ญงิ และ LGBT เปน็ ตน้ หรอื กรณีระบบคัดกรองผูส้ มคั ร
งานของ Amazon กดคะแนนผสู้ มคั รหญงิ เนอ่ื งจากเรยี นรขู้ ้อมูลใบสมคั รที่บรษิ ัทไดร้ บั ในช่วง 10
ปที ี่ผ่านมาซง่ึ ส่วนมากมแี ตผ่ สู้ มคั รเพศชาย (Dastin, 2018)
ตัวอย่างข้างตน้ แสดงใหเ้ ห็นวา่ แมข้ อ้ มลู ที่ใช้ฝึกฝนระบบ AI จะถูกต้อง มีคณุ ภาพ แตก่ ารเลือกใช้
ข้อมูลท่ีไม่เหมาะสมและไม่มีการควบคุม ทำ� ให้เกิดอคติขึ้นในอัลกอริทึมที่สร้างความไม่เป็นธรรม
ต่อคนบางกลุ่ม

136 AI for Government

ดงั นน้ั เพอ่ื ปอ้ งกนั ปญั หาอคตใิ นระบบ AI หนว่ ยงานเจา้ ของโครงการควรคดั เลอื ก และทดสอบขอ้ มลู
ทนี่ ำ� มาใชใ้ นการฝกึ ฝนระบบ AI อยา่ งรอบคอบ รวมถงึ ระบขุ อ้ มลู คณุ ลกั ษณะทอี่ าจมผี ลตอ่ การเกดิ
อคติ เชน่ อายุ เพศ เชื้อชาติ หรอื ปจั จยั อ่ืนๆ ในชดุ ข้อมูลท่มี ีนยั ยะทางสังคม รวมถงึ มกี ารตรวจสอบ
เฝา้ ระวงั การตดั สนิ ใจของระบบ AI อยา่ งสมำ�่ เสมอ นอกจากน้ี หนว่ ยงานควรจดั ทำ� มาตรการสง่ เสรมิ
ความโปร่งใส (Policy for Disclosure) ใหผ้ ู้ทีม่ ีสว่ นเกยี่ วข้องทราบถึงแนวทางการนำ� ระบบ AI มา
ใช้ พรอ้ มจดั ท�ำชอ่ งทางรบั ฟงั ความคดิ เห็น/ขอ้ รอ้ งเรยี น (Feedback Channel) โดยเฉพาะส�ำหรับ
ผ้ไู ด้รบั ผลกระทบจากการใช้ระบบ AI ซ่งึ เปน็ อกี หนงึ่ แหลง่ ขอ้ มลู ที่ชว่ ยใหห้ น่วยงานสามารถรับรถู้ งึ
ปัญหาอันอาจเกิดจากอคติในระบบ AI ได้
ความสามารถในการอธบิ ายได้ (Explainability)
“ความผดิ พลาด” เปน็ สงิ่ ทห่ี ลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในชว่ งเรยี นรขู้ องระบบ AI หรอื แมจ้ ะ
ไมถ่ อื เปน็ ความผดิ พลาด แตผ่ ทู้ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการตดั สนิ ใจของเครอ่ื งจกั ร ยอ่ มมสี ทิ ธโิ ดยชอบ
ธรรมในการทราบถงึ สาเหตกุ ารตัดสินในนนั้ “ความสามารถในการอธบิ ายได”้ (Explainability) จงึ
เป็นอีกประเด็นส�ำคัญต่อการสร้างระบบ AI ให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ และอาจมีผลต่อ
การตดั สินใจของหนว่ ยงานในการน�ำ AI มาใชจ้ รงิ ประธานเจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ ารของ IBM กลา่ ววา่ “เรา
ตอ้ งสามารถอธบิ ายไดว้ า่ อลั กอรทิ มึ นำ� มาซงึ่ ผลลพั ธแ์ ตล่ ะอยา่ งไดอ้ ยา่ งไร ถา้ ผใู้ ชไ้ มส่ ามารถทำ� ได้
ระบบ AI ไมค่ วรถกู นำ� มาใช”้ (Nott, 2018) เชน่ เดยี วกนั The House of Lords’ Select Committee on
Artificial Intelligence ของสหราชอาณาจกั รมอบขอ้ เสนอแนะวา่ “ถา้ อลั กอรทิ มึ ทใ่ี ชใ้ นการตดั สนิ ใจ
เก่ียวกับประชาชนชาวอังกฤษไม่สามารถถูกอธิบายได้ ควรถูกห้ามน�ำมาใช้” (Shanck15, 2018)
ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐควรท�ำใหแ้ นใ่ จวา่ ระบบทพ่ี ัฒนามานน้ั สามารถอธบิ ายท่ีมาทไ่ี ปของการ
ตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างเหมาะสม (Explainable) ตวั อย่างเชน่ ศนุ ทรั ปจิ ไช (Sundar Pichai) ประธาน
บริหารกูเก้ิลอธิบายสาเหตุต่อรัฐสภาสหรัฐ (US Congress) ผลลัพธ์การค้นหาของ “Idiot”
ถึงแสดงผลเป็นรปู ประธานาธิบดีสหรัฐ ดอนัลด์ ทรัมป์ ว่าเกดิ จากระบบ AI ที่ประมวลจากปจั จัย
ต่างๆ มากมายกวา่ 200 ตัว เชน่ ความเช่อื มโยง ความใหม่ (Freshness) ความนยิ ม และการเอา
ไปใชข้ องผ้ใู ชบ้ รกิ าร เพื่อน�ำมาจัดอนั ดับในการแสดงผล (Robertson, 2018)

ส�ำ นกั งานพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) 137

อตั ตาณัตขิ องมนษุ ย์ (Human Autonomy)
แมว้ า่ ศกั ยภาพของระบบ AI สามารถทำ� งานบางอยา่ งแทนมนษุ ยไ์ ดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ หรอื แมแ้ ตท่ ำ� ได้
เกินขดี ความสามารถทวั่ ไปของมนุษย์ การปล่อยให้เคร่อื งจักรก�ำหนดทางเลอื กของมนุษย์โดยไมม่ ี
การควบคมุ อาจนำ� มาซงึ่ ปญั หาหลกั ๆ2ประการประการแรกการทำ� งานของCognitiveTechnology
ยงั คงมขี อ้ บกพรอ่ งเชน่ ในกรณรี ถยนตไ์ รค้ นขบั (Driverless Car)ของTeslaพงุ่ ชนกบั รถพว่ งอยา่ งแรง
เม่ือเดือนพฤษภาคม 2016 เป็นเหตุให้ผู้ขับเสียชีวิต Tesla ได้เผยถึงสาเหตุของอุบัติเหตุในเวลา
ต่อมาว่า ระบบไมส่ ามารถแยกระหวา่ งสีขาวของรถพว่ งกับทอ้ งฟา้ ในขณะนนั้ ได้ ทำ� ใหร้ ะบบเบรก
อตั โนมตั ไิ มท่ �ำงาน (The Tesla Team, 2016)
ประเด็นปัญหาทางจริยธรรมที่เกิดขึ้นต่อมาคือ มนุษย์ยังมีสิทธิ์ในการก�ำหนดผลลัพธ์และ
ความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดข้ึนอยู่หรือไม่ อ�ำนาจการตัดสินใจของมนุษย์ที่ถูกลดทอนด้วย
ระบบอัตโนมัติของเครื่องจักรอาจหมายถึงการลดคุณค่าของสิทธ์ิในการเลือกทางเลือกของปัจเจก
Lamanna และ Byrne (2018) ได้น�ำเสนอแนวทางการนำ� AI มาใช้ในก�ำหนดแนวทางการรักษา
ส�ำหรับผู้ป่วยที่ไร้ความสามารถ (Incapacitated Patient) โดยดูจากข้อมูลท่ัวไป เวชระเบียน
(Medical Record) ตลอดจนข้อมูลการแสดงความคิดเห็นในส่ือสังคมออนไลน์ของผู้ป่วยเพื่อ
คาดคะเนแนวทางการรักษาที่ผปู้ ว่ ยต้องการ (Treatment Model) แม้วา่ ในกรณที ่ผี ปู้ ่วยเปน็ -ตาย
เท่ากนั (Life-death Decision Making) เทคโนโลยนี ้อี าจเปน็ เครื่องมือทช่ี ่วยลดภาระทางอารมณ์
ส�ำหรับญาติของผู้ป่วยในการตัดสินใจ แต่ถ้าข้อสรุปของญาติกับ AI ไม่สอดคล้องกัน เราควรท�ำ
ตามเจตจ�ำนงค์ของญาติผู้ป่วยหรือไม่ หรือถ้าผลการวิเคราะห์ออกมาได้ทางเลือกท่ีไม่ได้ให้ผล
การรักษาที่ดีท่ีสุด แพทย์ผู้รักษาควรเคารพเจตจ�ำนงค์ของผู้ป่วย หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ป่วย
ควรได้รับ
ส�ำหรับงานศึกษานี้จะไม่ลงลึกหาค�ำตอบในปัญหาสุดท้าย เน่ืองจากยึดโยงกับประเด็นทางด้าน
จริยธรรมและสังคมที่มีความซับซ้อน แต่เป็นท่ีแน่ชัดว่า หน่วยงานภาครัฐควรท�ำให้แน่ใจว่า
การทำ� งานของระบบAIและการตดั สนิ ใจควรอยภู่ ายใตก้ ารกำ� กบั ดแู ลของมนษุ ย์เพอื่ ชว่ ยปดิ ชอ่ งโหว่
หากเกดิ ความผดิ พลาดอนั เกดิ จากขอ้ จำ� กดั ทางเทคโนโลยี และเพอ่ื ปอ้ งกนั การละเมดิ สทิ ธิ์ หนว่ ยงาน
ควรออกมาตรการการใชง้ านทคี่ ำ� นงึ ถงึ “ความยนิ ยอม” (Consent) ของผทู้ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการ
ตัดสินใจของระบบ AI เป็นส�ำคัญ ซึ่งนอกจากช่วยสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ผู้ใช้งานแล้ว ยังสร้าง
ความโปรง่ ใสในกระบวนการตรวจสอบเมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุ ตวั อยา่ งเชน่ กรณรี ถยนตไ์ รค้ นขบั ของ Uber
พุ่งชนหญงิ วัย 49 ปี ทกี่ �ำลงั จูงจักรยานขา้ มถนนจนเสยี ชวี ติ เมื่อวนั ท่ี 18 มนี าคม 2018 ท่ผี า่ นมา
จากการตรวจสอบพบวา่ ตวั รถมกี ารตรวจจบั รา่ งของผเู้ คราะหร์ า้ ยไดก้ อ่ นการปะทะถงึ 6 วนิ าที แต่
ผู้ควบคุมรถ (Operator) กระท�ำกิจกรรมอื่นอยู่ในขณะนั้น จนเป็นเหตุให้ตอบสนองต่อเหตุการณ์

138 AI for Government

ได้ไมท่ นั ทว่ งที สดุ ทา้ ยอยั การของรัฐอรโิ ซนาไม่ดำ� เนนิ การส่ังฟ้องบรษิ ัท Uber ในขณะทผี่ คู้ วบคมุ
รถยงั อาจสามารถถกู ด�ำเนินคดีได้อยู่ (BBC, 2019)
การแทนทีแ่ รงงาน (Job replacement)
อีกหน่ึงข้อกังวลท่ีมักถูกหยิบยกขึ้นมาเมื่อกล่าวถึงการประยุกต์ใช้ AI คือ การทดแทนแรงงาน
มนุษย์ด้วยเครื่องจักร Reform ซึ่งเป็นหน่วยงาน Thinktank ของประเทศอังกฤษการคาดการณ์
ว่า ภายในปี 2030 Chatbot จะเขา้ มาท�ำงานแทนทีพ่ นกั งานกวา่ ร้อยละ 90 ของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั บาล
สหราชอาณาจักร และพนักงานในภาคสาธารณสุขกว่าหม่ืนคนจะได้รับผลกระทบ ถึงแม้ว่า
การเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วคาดวา่ จะสามารถประหยดั งบประมาณคา่ บคุ ลากรไปไดก้ วา่ 4พนั ลา้ นปอนด์
ต่อปี แต่ยอ่ มสร้างขอ้ กงั วลวา่ จะเกดิ อะไรข้นึ กบั พนักงานเหล่านน้ั (Gayle, 2017)
หนว่ ยงานควรท�ำความเข้าใจกับเจา้ หนา้ ท่ีขององค์กร โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ทใ่ี นกระบวนงานท่ีมสี ว่ น
เกี่ยวข้องกับโครงการการน�ำ AI มาใช้ ว่าเทคโนโลยีน้ีไม่ใช่การทดแทนแต่เป็นเคร่ืองมือที่จะช่วย
การทำ� งานของตนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ รวดเรว็ ขน้ึ สะดวกสบายขนึ้ สามารถลดภาระงานซำ�้ ซาก
(Repetitive task) และใหเ้ จา้ หนา้ ทไ่ี ปทำ� งานอน่ื ทม่ี คี ณุ คา่ มากกวา่ เดมิ แทนได้ นอกจากน้ี หนว่ ยงาน
ควรเสริมสร้างความรู้ด้านเทคโนโลยีและ AI ผ่านการอบรมที่อาศัยความร่วมมือกับหน่วยงาน
ภายนอก เชน่ สพร. NECTEC และสมาคมปัญญาประดิษฐ์แหง่ ประเทศไทย เปน็ ตน้ เพอ่ื รองรบั
การเปลย่ี นแปลง ใหพ้ นกั งานสามารถเขา้ ใจและใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบ AI ไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ
ความปลอดภยั และความเปน็ สว่ นตวั (Security and Privacy)
การพัฒนา AI จ�ำเป็นต้องอาศัยข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีมักเป็นข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับความเป็นส่วนตัว
ของประชาชน (Privacy) ทอี่ าจน�ำมาซึ่งการขาดความเชอื่ มัน่ (Distrust) จากภาคประชาชน หรอื
แม้กระท่ังสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงได้หากขาดมาตรการความปลอดภัยที่รัดกุม
(Security)
เพอ่ื ปอ้ งกนั ประเดน็ ทางกฎหมายและสรา้ งความเชอ่ื มนั่ หนว่ ยงานควรจดั ทำ� มาตรการความมน่ั คง
ปลอดภยั ทางไซเบอร์ (Cyber Security) ในดา้ นต่างๆ ดงั น้ี

ส�ำ นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทลั (องค์การมหาชน) 139

n บคุ คลากร (People) พนกั งานของหนว่ ยงานควรไดร้ บั การอบรมแนวปฏบิ ตั ดิ า้ นความปลอดภยั
ทางไซเบอรเ์ พอ่ื ลดพฤตกิ รรมเสย่ี ง และสามารถตอบสนองไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งทเี มอ่ื เกดิ เหตรุ ว่ั ไหล
n กระบวนงาน (Process) การน�ำข้อมูลของประชาชนมาใช้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของ
ประชาชนและไม่ถกู น�ำมาใชน้ อกเหนอื วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เช่นตวั อยา่ งในหัวขอ้ 4.1.4
(2) รวมถงึ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั พ.ร.บ. คมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล พ.ศ. 2562 ซง่ึ จากการพจิ ารณา
พบว่า กฎหมายดังกล่าวยดื หยุน่ ให้หน่วยงานภาครฐั สามารถเกบ็ และน�ำขอ้ มลู ส่วนบุคคลมา
ใชไ้ ดโ้ ดยไมต่ อ้ งไดร้ บั การยนิ ยอมจากเจา้ ของขอ้ มลู หากเปน็ ไปเพอื่ วตั ถปุ ระสงคส์ าธารณะตาม
ภารกจิ ของหนว่ ยงานตามมาตราที่ 24 และ 27 ทงั้ นี้ กฎหมายยงั กำ� หนดให้ “ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล”
หมายถงึ “ขอ้ มลู เกย่ี วกบั บคุ คลซงึ่ ทำ� ใหส้ ามารถระบตุ วั บคุ คลนน้ั ไดไ้ มว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม
...” ดังนนั้ หากมคี วามจำ� เปน็ ทีท่ �ำให้ไม่สามารถทำ� ข้อมูลให้เป็นนิรนาม (Anonymization) ได้
หน่วยงานต้องท�ำให้แน่ใจว่ามีการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลในกรณีท่ีมีการเก็บ
รวบรวมข้อมลู ส่วนบคุ คลทีเ่ ก่ยี วกบั “เชอื้ ชาติ เผา่ พันธุ์ ความคดิ เหน็ ทางการเมือง” และข้อมูล
อนื่ ๆ ตามมาตรา 26

+ EXAMPLE

ในปี 2016 National Health Service (NHS) ของสหราชอาณาจักร กับ Deepmind ของ Google
ถูกส่ือโจมตีว่ามีการน�ำข้อมูลส่วนตัวผู้ป่วยกว่า 1.6 ล้านข้อมูลมาใช้เพ่ือพัฒนาระบบ AI โดยไม่ได้
รับความยินยอม (Consent) จากเจ้าของข้อมูล NHS จึงได้น�ำโปรแกรม de-Identification (DE-ID)
มาใช้ในการจดั การปญั หาดังกลา่ ว (Bayern, 2018)

n เทคโนโลยี (Technology) นอกเหนือจากมาตรการความปลอดภยั ของขอ้ มูลแล้ว หน่วยงาน
ควรตรวจสอบระบบ อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และอปุ กรณเ์ ครอื ข่ายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการ
น�ำเข้าและแลกเปล่ียนข้อมูล ให้ได้มาตรฐานด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ พร้อมท้ังมี
มาตรการตรวจสอบการท�ำงานอย่างสม่�ำเสมอ
ข้อเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินโครงการ AI ระดบั หนว่ ยงานภาครฐั สามารถสรปุ ได้ดงั ตาราง
ที่ 5 ดงั นี้

140 AI for Government

ตารางที่ 5 สรปุ ข้นั ตอนการด�ำเนนิ โครงการ AI

ลำดับ ขั้นตอน คำถาม แนวทาง ผลลพั ธ Key Factors

1 ประเมินเหมาะสมใน AI เหมาะกบั 3 VS Framework กรอบการดำเนนิ องคความรูใน
การนำ AI มาใช หนวยงานหร�อไม โครงการเบอ้ื งตน เทคโนโลยี AI

2 กำหนดกรอบการ เรม�่ กา วแรกอยา งไร • จำกัดกรอบ กรอบการดำเนิน องคความรูใน
ดำเนินโครงการ AI โครงการนำรอง โครงการ เทคโนโลยี AI
• กำหนดตัวช้ีวดั

3 ประเมนิ ความพรอม มีขอ มลู พรอมหรอ� ไม • Data Selection ขอมลู สำหรบั Train ความพรอมดาน
ดา นขอ มูล • Data Quality ระบบ AI ทีม่ คี ุณภาพ ขอ มูล
Assessment
(DGF)

4 สรางความรว มมอื ควรดำเนนิ โครงการ Sharing, ความรว มมอื ในการ ศักยภาพของ
ในการพฒั นา รว มกับภาคสว นอ่ืน Accountable และ พฒั นาระบบ AI ภาคสว นพนั ธมติ ร
ระบบ AI อยางไร Multi-Joint ทีโ่ ปรง ใสและ
Partnerships ตอบโจทยโครงการ

5 สรางจร�ยธรรม ประเดน็ ดา นจร�ยธรรม Bias, แนวทางการรองรับ การกำกับดูแล
ในระบบ AI ของโครงการ AI Explainability, ประเด็นปญ หาดาน
ท่ีตองคำนงึ ถงึ Human Autonomy, จร�ยธรรมจากการ
มีอะไรบา งและ Job Risk, ดำเนินโครงการ AI
รบั มืออยา งไร Privacy & Security

ส�ำ นกั งานพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องค์การมหาชน) 141

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
หัวขอ้ ท่ี 4.1 แสดงถงึ ข้นั ตอนในการดำ� เนนิ โครงการ AI เครือ่ งมือที่นำ� มาใช้ ผลลพั ธท์ ค่ี าดหวงั และ
ปัจจยั สคู่ วามส�ำเร็จในแตล่ ะขัน้ ซ่ึงได้แก่
n การก�ำกบั ดแู ล
n ความพรอ้ มดา้ นข้อมลู
n องค์ความรู้ในเทคโนโลยี AI
n ศักยภาพของภาคสว่ นพนั ธมิตร

ดังน้ัน รัฐบาลไทยควรด�ำเนินนโยบายส่งเสริมเพ่ือสร้างปัจจัยสู่ความส�ำเร็จท่ีช่วยให้หน่วยงาน
ภาครัฐไทยมีความพร้อมในการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ในแต่ละด้าน ดังต่อไปน้ี

ภาพท่ี 28 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสนับสนนุ ปัจจยั ท่สี ง่ เสรมิ ในการพฒั นาโครงการ AI ภาครฐั

1 2

Governance Data
กำหนดกรอบการกำกบั ดูแล สงเสรม� พน�้ ฐานขอ มลู ภาครฐั

n AI Principles n ขอมูลภาครฐั
n กฎหมาย/มาตรฐาน n โครงสรา งพนื้ ฐานขอมูล

AI Capability Partnerships
สรา งบคุ ลากร AI ภาครฐั สงเสรม� ภาคสวนพันธมิตร

n AI Talent n Deep Tech Startup
n หลักสตู รฝกอบรม n R&D

3 4

142 AI for Government

1. กำ� หนดกรอบการก�ำกบั ดแู ล (Governance)
นอกเหนอื จากโอกาสแลว้ เทคโนโลยี AI ยงั นำ� มาซง่ึ ความเสย่ี งทอี่ าจสง่ ผลตอ่ ชวี ติ ของผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง
ทั้งทางตรงและทางอ้อม จึงจ�ำเป็นต้องมีการก�ำกับดูแลการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ เพ่ือให้เกิด
การพัฒนา AI ที่ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ และจ�ำกัดผลกระทบทางลบที่ไม่พึงประสงค์
โดยมีแนวทางดังน้ี
หลักการนำ� AI มาใช้ (AI Principles/ Codes of Ethics)
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี AI รวมถึงการคาดการณผ์ ลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขนึ้ สรา้ งการตน่ื ตวั
เป็นวงกว้างทัว่ โลก เพื่อใหเ้ ทคโนโลยี AI ถูกนำ� ไปใชเ้ พอ่ื ประโยชน์สงู สุดแก่มนษุ ย์ มีความโปร่งใส
และคำ� นึงถึงจรยิ ธรรม หนว่ ยงานภาคเอกชน ตลอดจนรฐั บาลหลายแหง่ ได้ประกาศ “หลกั การนำ�
AI มาใช”้ (AI Principles)
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังไม่มีการบัญญัติหลักการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ส�ำหรับประเทศไทย
อย่างเป็นทางการ ดงั นั้น ภาครัฐไทยควรด�ำเนนิ การจัดท�ำ “หลกั การน�ำ AI มาใช้ของประเทศไทย”
(Thailand’s AI Principles) โดยผา่ นกระบวนการให้ทกุ ภาคสว่ น ซ่งึ ไดแ้ ก่ ภาคประชาชน ภาครฐั
ภาคเอกชน และภาควชิ ากร มสี ว่ นรว่ มในการออกแบบแนวทางดงั กลา่ ว เพอ่ื เปน็ คมู่ อื (Guideline)
ทเี่ ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ สำ� หรบั ทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนในการพฒั นา AI ของประเทศ ใหก้ ารพฒั นา AI ที่
มีจริยธรรม (Ethical AI) ของประเทศไทย ซง่ึ ควรครอบคลมุ ประเด็นอย่างน้อยดงั ต่อไปนี้
n เปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งทว่ั ถงึ (Beneficial to All) การพฒั นาและวจิ ยั ระบบ AI ตอ้ งมวี ตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือสร้างคุณประโยชน์ให้แก่คนทุกกลุ่มอย่างไม่ปิดกั้น ไม่แบ่งแยก และไม่ก่อให้เกิด
ความสูญเสยี ท้ังชีวิตและทรพั ย์สินของใครคนในคนหนึง่
n เคารพมนษุ ย์ (Respectful to Human) ระบบ AI ต้องไมล่ ดทอนสทิ ธก์ิ ารตดั สนิ ใจของมนุษย์
(Human Right to Choose) ไม่ขดั ต่อการใหค้ ณุ ค่า (Value) และเคารพความหลากหลายทาง
วฒั นธรรม (Cultural Diversity)
n ปลอดภัย (Safe and Secure) ระบบ AI ตอ้ งค�ำนึงถึงความเปน็ ส่วนตัวของผทู้ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งเปน็
สำ� คญั กระบวนการและเครอ่ื งมอื ตอ้ งไดร้ บั การออกแบบใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ดา้ นขอ้ มลู และ
มีมาตรการรองรับอย่างรอบคอบ รดั กมุ
n โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ (Transparent and Accountable) ระบบ AI ต้องมีกระบวนการการ
ท�ำงานทีโ่ ปร่งใส รวมถึงตอ้ งสามารถอธิบายกระบวนการตัดสนิ ใจอันน�ำมาซ่ึงผลลัพธท์ ่ีส่งผล
กระทบต่อมนุษย์ได้ (Explainability) ซ่ึงจ�ำเป็นต่อการสร้างความเข้าใจกับสาธารณะ และ
กระบวนการยุติธรรมหากเกิดเหตุฟ้องร้องขน้ึ

ส�ำ นักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) 143

n สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื (Cooperative) การพฒั นาระบบ AI ควรค�ำนงึ ถงึ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง
ทกุ ภาคสว่ น ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควชิ าการ และภาคประชาชน เพ่ือให้เกดิ การแลกเปลี่ยน
ขอ้ มูล เทคโนโลยี และทรัพยากรบุคคลระหวา่ งกนั
กฎหมาย กฎระเบียบ มาตรฐาน (Laws, Regulations, and Standards)
แมว้ า่ การเพมิ่ แกไ้ ขกฎหมาย และยกเลกิ จะเตม็ ไปดว้ ยกระบวนการทซ่ี บั ซอ้ น ใชเ้ วลานาน แตเ่ พอ่ื
ใหเ้ กิดแนวทางปฏิบัตทิ ส่ี ่งเสรมิ ให้เกิดการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ พร้อมมมี าตรการควบคุมลดผล
กระทบอย่างชดั เจนในระยะยาว กลไกทางกฎหมายเป็นสงิ่ จ�ำเปน็ ต่อการเจรญิ เตบิ โตของ AI ทัง้ ใน
ภาคเอกชน และภาครฐั
ส�ำหรับประเทศไทย ภาครัฐควรทบทวนกฎหมาย/ กฎระเบียบในปัจจุบัน เพ่ือหาแนวทางรองรับ
การพัฒนา AI ในประเด็นทเ่ี กี่ยวข้อง พร้อมแก้ไขใหส้ อดรบั กับบริบทท่เี ปลยี่ นไป เชน่
n กฎหมายความรับผิด (Liability) นอกเหนือจากการจัดท�ำกฎหมายที่ก�ำหนดให้การพัฒนา
ระบบ AI มีความโปรง่ ใส่ ตรวจสอบได้ และสามารถอธิบายได้ นัน้ ต้องมกี ารพจิ ารณาแก้ไข
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความชัดเจนหากเกิดกรณีที่มีความเสียหาย
จากการตดั สนิ ใจของ AI โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการสรา้ งความเปน็ ธรรมใหแ้ กท่ กุ สว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง
และได้รับผลกระทบ เชน่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 437 ระบใุ ห้ “บคุ คลใด
ครอบครองหรอื ควบคมุ ดแู ลพาหนะอยา่ งใดๆ … บคุ คลนน้ั จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบเพอื่ การ
เสียหายอันเกิดแต่ยานพาหนะนั้น” ซ่ึงในกรณีรถยนต์ไร้คนขับ ผู้ควบคุมรถยนต์จะต้อง
แบกรบั ภาระในการพสิ จู นค์ วามบรสิ ทุ ธิ์ทงั้ ทเ่ี หตอุ าจเกดิ จากความผดิ พลาดของเครอื่ งจกั รซงึ่ ทำ� ให้
ผคู้ วบคมุ ถอื เป็นหนึ่งในผู้เสียหายได้เช่นกัน
n การก�ำกับดูแลข้อมูล (Data Governance) สพร. ได้จัดท�ำและเผยแพร่ “กรอบการก�ำกับ
ดแู ลขอ้ มลู ” (Data Governance Framework: DGF) เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั สามารถใชเ้ ปน็
แนวทางในการก�ำกับดูแลข้อมูล รวมถึงติดตามการบริหารจัดการข้อมูลให้มีความโปร่งใส
มั่นคงปลอดภัย และบรู ณาการได้อยา่ งครบถว้ น ถกู ตอ้ ง และเป็นปัจจบุ ัน ดังน้ัน ควรผลกั ดนั
การบงั คบั ใช้ DGF ใหเ้ ปน็ มาตรฐานกลางทภี่ าครฐั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม เพอื่ สรา้ งแนวทางการบรหิ าร
จดั การข้อมลู รว่ มกันของภาครฐั

144 AI for Government

2. สง่ เสริมพื้นฐานข้อมลู ภาครัฐ
ส่วนนี้กล่าวถึง ข้อเสนอแนะนโยบายส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีความพร้อมด้านข้อมูล ตั้งแต่
กลไกขบั เคลอื่ นใหเ้ กดิ แหลง่ ขอ้ มลู ภาครฐั ทม่ี คี ณุ ภาพ เขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย ตลอดจนขอ้ เสนอแนะในการจดั
ทำ� โครงสรา้ งพน้ื ฐานสารสนเทศทเี่ พมิ่ ศกั ยภาพตอ่ การน�ำขอ้ มลู ภาครฐั มาใชใ้ นการพฒั นาระบบ AI
ขอ้ มูลภาครฐั (Government Data)
ควรมกี ารผลกั ดนั ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั จดั เกบ็ ขอ้ มลู ในรปู แบบดจิ ทิ ลั ทม่ี คี ณุ ภาพตามคมู่ อื “การกำ� กบั
ดแู ลข้อมูล” (Data Governance Framework) ท่ีไดก้ ล่าวไว้ในหวั ขอ้ 4.1.3 และมมี าตรฐาน ดงั นน้ั
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบควรเร่งก�ำหนดมาตรฐานด้านข้อมูลท่ีจ�ำเป็นในการสนับสนุนการเชื่อมโยง
ขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั และก�ำหนดแนวทางรอ้ งขอขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงานใหส้ อดคลอ้ งกบั
พ.ร.บ. คมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล พ.ศ. 2562 เพอ่ื ใหก้ ารแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ทเี่ ขา้ ขา่ ยขอ้ มลู สว่ นบคุ คล
ระหวา่ งหน่วยงานภาครฐั เปน็ ไปอย่างปลอดภัยและไมล่ ะเมิดสทิ ธสิ ่วนบุคคลของเจา้ ของข้อมลู
อกี แนวทางหนง่ึ ในการเสรมิ สรา้ งความพรอ้ มของภาครฐั ดา้ นขอ้ มลู ทพ่ี รอ้ มถกู นำ� ไปใชพ้ ฒั นาระบบ
AI คอื “การส่งเสริมการเปดิ เผยขอ้ มูลภาครฐั (Open Government Data)” ส�ำหรบั ประเทศไทยนัน้
แนวคดิ การเปดิ เผยขอ้ มูลภาครัฐปรากฎอยใู่ นกฎหมายหลัก 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ รฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2560
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และ พ.ร.บ. การบริหารงานและการให้บริการ
ภาครฐั ผา่ นระบบดจิ ทิ ลั พ.ศ. 2562 อยา่ งไรกต็ าม กลไกเชงิ กฎหมายทสี่ นบั สนนุ แนวทางขอ้ มลู เปดิ
ภาครัฐของประเทศไทยมุ่งเน้นเฉพาะการสร้างความโปร่งใสในการท�ำงานของหน่วยงาน แต่ไม่
ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การน�ำขอ้ มูลภาครฐั ไปตอ่ ยอดทางนวัตกรรม ดงั นั้น เพ่อื สง่ เสรมิ ข้อมูลเปิดภาครัฐท่ี
หลากหลายและมีประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนในการน�ำไปใช้ ควรมีการปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง
ให้ก�ำหนดบทบาทหน้าท่ีของหน่วยงานภาครัฐในการสร้างชุดข้อมูลมูลค่าสูงภาครัฐ (High Value
Dataset) และเปิดเผยข้อมูลแก่สาธารณะ โดยมีหลักการพิจารณาในการเปิดเผยข้อมูล (สรอ.,
2561) ดงั ต่อไปนี้

ส�ำ นักงานพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ลั (องค์การมหาชน) 145

ตารางท่ี 6 หลกั การพิจารณาในการเปิดเผยข้อมูล

หลกั การ คำอธบิ าย
เปด โดยปร�ยาย
(Open by Default) ขอมลู นั้นควรจะเปด โดยปร�ยาย ซ่งึ หนว ยงานอาจจะเรม่� จากการกำหนดระดับของการเปด เผย
และจัดทำขอ มลู ใหอยูในรูปแบบท่กี ำหนดตง้ั แตต น หากชดุ ขอ มลู นนั้ ยังไมส มบูรณ
การปอ งกันในกรณที ีจ่ ำเปน
(Protected when Required) ควรมกี ารกำหนดบรบ� ทของขอมูลและ Metadata ทเ่ี พ�ยงพอ รวมถงึ มกี ารแจง ขอ จำกดั ตางๆ
ใหแกผ ูใชขอ มลู
จดั ลำดบั ความสำคัญ
(Prioritized) ขอมลู ใดบา งที่ไมค วรถูกเผยแพร หร�อไมค วรเผยแพรอยา งเตม็ รปู แบบ เชน ความเปนสวนตวั
การรักษาความปลอดภัย ความลับ และสิทธพิ �เศษทางกฎหมาย เปนตน
จดั ลำดบั ความสำคัญ
(Prioritized) ชุดขอมูลท่มี คี ณุ คา สูง (High-value Dataset) ควรจะถูกจดั ใหอ ยใู นลำดับตนๆ ในการคัดเลอื ก
งายตอ การคนพบ มาเผยแพร ซ่งึ สอดคลองกับความตองการของประชาชน รวมถงึ หนวยงานตางๆ
(Discoverable)
สามารถใชง านได ชดุ ขอ มลู ทมี่ ีคุณคา สูง (High-value Dataset) ควรจะถกู จดั ใหอ ยใู นลำดับตน ๆ ในการคดั เลือก
(Usable) มาเผยแพร ซึ่งสอดคลองกบั ความตองการของประชาชน รวมถงึ หนว ยงานตางๆ

ขอมูลปฐมภูมิ ขอมูลจะตองถูกคนพบหรอ� สามารถคนหาไดง า ย ซงึ่ จะชวยใหผูใชง านสามารถเขาถึงขอมลู ไดงาย
(Primary) และเปด กวา งสำหรับทุกภาคสวน
ทันเวลา
(Timely) ขอมลู ควรจะอยใู นรูปแบบทงี่ ายตอการนำไปใช ไมว า จะเปนการแปลงขอ มูลและการนำมาใชใหม
รวมถงึ อยูในรูปแบบที่เครอ่� งสามารถอานได (Machine-readable) ไมมีผูใดถอื ครองกรรมสิทธ์ิ
การจัดการทดี่ ี เชื่อถอื ไดและ
มีอำนาจจัดการ (Non-Proprietary) มคี วามสมบรู ณ และมี Metadata ที่มคี ณุ ภาพและชัดเจน
ขอ มลู ควรจะถูกเผยแพรจ ากแหลงทเี่ กบ็ ขอมูลโดยตรง ดวยระดับความละเอยี ดสูง
(Well Managed, Trusted
and Authoritative) ไมมีการปรับแตง หร�อทำใหอยูใ นรูปแบบขอ มลู สรุป
ใชงานฟร� ขอ มูลควรจะเปนปจจบ� นั และหากเปน ไปไดอาจจะเปน ลกั ษณะ Real-time Feed ซงึ่ อาจจะ
พ�จารณาตามความเหมาะสม ชุดขอมูลควรจะมีการบนั ทึกเวลา หร�อขอ มลู อ่ืนๆ ทช่ี ว ยใหผูใชง าน
(Free when Appropriate)
รบั ฟง� จากสาธารณะ สามารถระบุไดวาขอ มูลน้นั เปน ปจ จ�บัน
ขอ มลู จะตองไดร ับการจัดการท่ีดเี พอ่� ใหขอมูลมีความสมบูรณอยา งตอ เน่อื งและมปี ระสิทธิภาพ
(Subject to Public Input)
สำหรับผูใชง าน เชน ปองกันการเปลี่ยนแปลงแกไขขอมลู โดยไมไดรบั อนญุ าต เปน ตน

ขอ มลู ควรจะจัดใหส ามารถใชง านโดยไมเสียคาใชจาย เพ�อ่ เปนการสง เสรม� การใชง านอยาง
แพรห ลาย ทำใหเ กิดเปนนวัตกรรมและบรรลุเปา หมายทีห่ นวยงานต้งั ไว

การเปดเผยขอ มลู ควรจะมีการรบั ฟง� ความคดิ เหน็ จากประชาชน และผมู ีสว นไดส ว นเสีย
รวมถึงการทำงานรว มกันของภาครัฐจะชว ยเพม่� ศกั ยภาพในการนำชุดขอ มูลไปใชงาน

146 AI for Government

จัดท�ำโครงสร้างพืน้ ฐานสารสนเทศส�ำหรบั รองรับ AI (IT Infrastructure for AI)
โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศเป็นองค์ประกอบส�ำคัญต่อการพัฒนาระบบ AI เน่ืองจากช่วยให้
การบรหิ ารจดั การขอ้ มลู เปน็ ไปอยา่ งมคี ณุ ภาพ รวดเรว็ และมคี วามปลอดภยั ตลอดทงั้ กระบวนการ
ภาครฐั ควรดำ� เนนิ นโยบายสง่ เสรมิ โครงสรา้ งพน้ื ฐานสารสนเทศทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การเตบิ โตของระบบ AI
ภาครฐั ประกอบกบั การใช้เทคโนโลยีอบุ ตั ิใหม่ (Emerging Technology) ทส่ี ่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพ
การใชข้ ้อมูลของ AI ดงั นี้
n การเชอ่ื มโยงและรบั สง่ ขอ้ มลู (Network and Data Transmission) เนื่องจากการฝกึ ฝน
ระบบ AI จ�ำเป็นต้องอาศยั ข้อมลู จำ� นวนมหาศาล และในบางกรณจี ำ� เปน็ จะตอ้ งอาศัยการรบั
ส่งข้อมูลแบบ Real-time อปุ กรณอ์ ินเทอรเ์ น็ตทุกสรรพสงิ่ (IoT) เชน่ กล้องวงจรปิด นาฬิกา
อจั ฉริยะ มือถืออจั ฉรยิ ะ เป็นต้น จงึ เป็นเทคโนโลยีทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การพฒั นาระบบ AI การผนวก
รวมระหว่างระบบเซนเซอร์และระบบเชื่อมต่อกับเครือข่ายท�ำให้เกิดการรับส่งข้อมูลท่ีเช่ือถือ
ได้อย่างตอ่ เนอ่ื งพร้อมลดความผิดพลาดของมนษุ ย์ (Human Error) ภาครฐั จึงควรพจิ ารณา
ตดิ ตง้ั อปุ กรณ์IoTทม่ี คี วามปลอดภยั หรอื การดงึ ขอ้ มลู จากอปุ กรณ์IoTจากแหลง่ อน่ื ทเี่ ชอ่ื ถอื ได้
มาใช้ รวมถงึ เรง่ รดั ใหเ้ กดิ การใชเ้ ทคโนโลยี 5G ภายในประเทศซงึ่ จะชว่ ยใหก้ ารเชอ่ื มโยงขอ้ มลู
มีประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้ึน

+ EXAMPLE

แคนซัสซิตี (Kansas City) ติดตั้งโปรแกรม TrafficVision ซึ่งเป็นระบบประมวลผลด้วยภาพ (Image-
processing) ให้กับกล้องวงจรปิดจราจรกว่า 300 ตัวท่ัวท้ังเมือง ที่สามารถส่งข้อมูลภาพมายังศูนย์
บัญชาการแบบ Real-time เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจจับคนขับรถผิดช่องทาง อุบัติเหตุ และ|
สิ่งกีดขวางการจราจรบนถนน ท�ำให้เจ้าหน้าท่ีสามารถตอบสนองได้เร็วกว่าเดิมถึง 14 นาทีโดยเฉล่ีย
(Lowe, n.d.)

n การเกบ็ ขอ้ มลู (Data Storage) การเกบ็ ขอ้ มูลขนาดใหญเ่ ปน็ อีกหนง่ึ ความทา้ ทายของหน่วย
งานภาครฐั ในการจดั หาอปุ กรณ์ โครงสรา้ งพนื้ ฐานสารสนเทศทจ่ี ำ� เปน็ ซงึ่ หากแตล่ ะหนว่ ยงาน
แยกด�ำเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง จะท�ำให้เกิดภาระงบประมาณในภาพรวมอย่างมาก ดังน้ัน
ภาครฐั จงึ ควรจดั ใหม้ กี ารบรหิ ารจดั การขอ้ มลู แบบรวมศนู ยท์ สี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ การประหยดั จากขนาด
(Economies of Scale) และใหแ้ ตล่ ะหนว่ ยงานภาครฐั สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ไดร้ ว่ มกนั

ส�ำ นกั งานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องคก์ ารมหาชน) 147

ปจั จบุ นั กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมไดใ้ หบ้ รกิ าร Private Cloud สำ� หรบั ภาครฐั หรอื
G-Cloud ซ่ึงเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานบนอินเทอร์เน็ตแบบใช้ทรัพยากรร่วมกันท่ีให้บริการแก่
หนว่ ยงานภาครฐั ด้วยเทคโนโลยีคลาวด์ โดยเก็บทรัพยากรไวบ้ นอนิ เทอร์เนต็ สามารถเรยี กใช้
งานผ่านเครือข่ายได้ตลอดเวลาจากระยะไกล ลดภาระการบริหารจัดการ และมีความม่ันคง
ปลอดภัยสูง หน่วยงานภาครัฐสามารถแบ่งปันข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ได้ ในบางคร้ัง ข้อมูล
ทีห่ น่วยงานถอื ครองอยอู่ าจมไี มเ่ พยี งพอต่อการพฒั นาระบบ AI หรือจ�ำเปน็ ตอ้ งใชข้ อ้ มลู รอบ
ดา้ นเพอ่ื ใหร้ ะบบ AI เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งรอบดา้ น การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เปดิ ภาครฐั บนระบบคลาวด์
เป็นช่องทางหนึ่งที่ช่วยให้หน่วยงานที่ต้องการริเริ่มโครงการ AI สามารถเข้าถึงข้อมูลได้
หลากหลายขนึ้ มมี ติ คิ รอบคลมุ มากขนึ้ ซง่ึ จะทำ� ใหก้ ารพฒั นาอลั กอรทิ มึ ของระบบAIมปี ระสทิ ธภิ าพ
มากข้ึน ท้ังน้ี การจัดท�ำข้อมูลภาครัฐจะต้องมีมาตรฐานกลาง (Data standard) เพ่ือให้เกิด
การบูรณาการข้อมูลระหวา่ งกนั ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์
n การประมวลผลขอ้ มลู (Data Processing) ในกรณที หี่ นว่ ยงานเจา้ ของโครงการมคี วามพรอ้ ม
ประสบการณ์ และตอ้ งการพฒั นาอลั กอรทิ มึ AI ดว้ ยตนเอง นำ� มาซง่ึ ความตอ้ งการในเครอ่ื งมอื
ประมวลผลศักยภาพสูงเพ่ือให้สามารถใช้เทคโนโลยี Machine Learning ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม เราสามารถใช้เทคโนโลยีคลาวด์ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้
เชน่ กนั ในปัจจบุ นั ภาคเอกชนไดม้ กี ารใหบ้ ริการส�ำหรับนักพฒั นาระบบ AI ผ่านแพลตฟอร์ม
คลาวด์ โดยผู้ใช้บริการสามารถเช่าพื้นที่บนคลาวด์เพื่อสร้าง ฝึกฝน และปรับใช้อัลกอริทึม
ของระบบ AI ตามความตอ้ งการได้ ดงั นนั้ ภาครฐั ไทยควรตง้ั เปา้ หมายในการยกระดบั G-Cloud
ใหเ้ ปน็ AI Service Platform ทสี่ ามารถใหบ้ รกิ ารเชา่ พน้ื ทพี่ ฒั นาระบบ AI ได้ พรอ้ มทงั้ เปน็ แหลง่
รวบรวมโมเดล AI พื้นฐานสำ� หรับภาครฐั ซง่ึ พฒั นาโดยหนว่ ยงานดิจิทลั กลางอยา่ ง NECTEC
และ สพร. เช่น Chatbot NLP Image Recognition เป็นตน้ ทีห่ นว่ ยงานภาครัฐสามารถดึงไป
ฝึกฝนด้วยข้อมูลของตนเองได้ เมื่อเปรียบเทียบกับการขอความช่วยเหลือจากภาคเอกชน
แนวทางนจ้ี ะชว่ ยใหภ้ าครฐั สามารถลดภาระงบประมาณในการจดั ซอื้ จดั จา้ ง และมคี วามยดื หยนุ่
ในการด�ำเนินงานกว่าในกรณีที่มีความจ�ำเป็นต้องใช้ผลอย่างเร่งด่วนหรือข้อมูลมี
ความอ่อนไหวมาก

148 AI for Government

+ EXAMPLE

C-SPAN (Cable-Satellite Public Affairs Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานเครือข่ายเคเบิลทีวีที่เผยแพร่
กิจกรรมและโปรแกรมของรัฐบาลกลาง (Federal Government) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบ
Amazon Rekognition ซึง่ เป็นระบบ Image Recognition เพือ่ ระบุตัวตนบุคคลทีอ่ ยใู่ นบนั ทึกวิดโี อได้
โดยอัตโนมัติ ซ่ึงช่วยในการจัดเรียงดัชนีคอนเทนต์ต่างๆ ได้รวดเร็วขึ้นกว่า 2 เท่า และมีความแม่นย�ำ
เทียบเท่ามนุษย์ (Amazon, n.d.) ซ่ึงระบบ Amazon Rekognition เป็นส่วนหน่ึงของ Amazon
Sagemaker บน Amazon Web Services (AWS) ท่ี Amazon พฒั นาข้ึน

3. สรา้ งเสรมิ บุคลากร AI ภาครัฐ
บคุ ลากรเปน็ อกี หนงึ่ ปจั จยั พนื้ ฐานสำ� คญั ในการพฒั นา AI ของภาครฐั เนอื่ งจาก ความรู้ ความเขา้ ใจ
ถึงศักยภาพของเทคโนโลยี AI เป็นส่ิงจ�ำเป็นต่อการมองเห็นโอกาสจากการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว
ในการพฒั นาบริการและการบรหิ ารงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ตลอดจนการด�ำเนนิ โครงการใหเ้ กิด
ประโยชน์สูงสดุ และการออกนโยบายมาตรการรบั มือผลกระทบจากการใช้ AI
ดงั นน้ั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพบคุ ลากรภาครฐั ใหร้ องรบั ตอ่ การใช้ AI ภาครฐั ควรดำ� เนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี
ส่งเสรมิ หลักสูตรฝึกอบรม (Training)
ภาครฐั ควรจดั ทำ� หลกั สตู รฝกึ อบรมระยะสนั้ และระยะกลางสำ� หรบั เจา้ หนา้ ทภ่ี าครฐั ตามความเหมาะสม
ในทุกระดับ สถาบนั พฒั นาบุคลากรดจิ ทิ ลั ภาครัฐ (TDGA) ซ่ึงมีหนา้ ท่สี ง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหบ้ รกิ าร
งานดา้ นวิชาการดา้ นทักษะดจิ ิทลั มาตรฐานองค์ความรู้ การจัดอบรม และการสรา้ งความร่วมมอื
กบั หนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนเพอื่ รว่ มพฒั นาศกั ยภาพใหก้ บั ขา้ ราชการและบคุ ลากรภาค
รฐั ใหม้ คี วามพรอ้ มในทกั ษะทางดา้ นดจิ ทิ ลั ในการขบั เคลอ่ื นหนว่ ยงานภาครฐั สกู่ ารเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั
ควรแสวงหาความรว่ มมอื กับ NECTEC และสมาคมปัญญาประดษิ ฐแ์ หง่ ประเทศไทย (AIAT) ซ่งึ มี
องคค์ วามรู้ ประสบการณ์ และผ้เู ช่ียวชาญด้านเทคโนโลยี AI มาชว่ ยในการจัดท�ำหลักสูตรส�ำหรับ
บคุ ลากรภาครฐั รว่ มกนั โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหผ้ บู้ รหิ ารในหนว่ ยงานภาครฐั มคี วามเขา้ ใจแนวทาง
การน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ และการบริหารโครงการ AI อย่างเหมาะสม พรอ้ มกลยุทธเ์ ชิงนโยบาย
ในการสง่ เสรมิ การพฒั นา AI ภายในองคก์ ร ในขณะทใ่ี หเ้ จา้ หนา้ ทใ่ี นระดบั ปฏบิ ตั กิ ารมคี วามเขา้ ใจ
และสามารถทำ� งานร่วมกับระบบ AI ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและปลอดภยั


Click to View FlipBook Version