The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาการป้องกันการทุจริต สค32036

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชา การป้องกันการทุจริต สค32036

วิชาการป้องกันการทุจริต สค32036

Keywords: วิชาการป้องกันการทุจริต สค32036 กศน.

36

ในพระพุทธศาสนาและสถาบันสงฆอยางแทจริง ไมใช "เด็กเสน-เด็กฝาก" ฝายการเมืองซ่ึงสุดทายก็เขามา
กอบโกยแสวงหาประโยชนไรซ งึ่ ยางอาย ไมมี "หริ ิโอตตัปปะ" ไมเ กรงกลวั ตอบาป

"คดเี งนิ ทอนวดั เปนประเดน็ ทีน่ ายสุวพนั ธุ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา การกระทรวงยุติธรรม ในฐานะ
ประธานศูนยอ าํ นวยการตอตานการทจุ รติ แหงชาติ (ศอตช.) ใหความสําคัญ และติดตามความคืบหนาในการ
ตรวจสอบมาโดยตลอด ท่ีผานมาไดกําชับใหหนวยงานตรวจสอบทุกหนวยปฏิบัติหนาที่อยางเครงครัด
เนอ่ื งจากคดีนเ้ี ปน คดที ่ีประชาชนใหความสนใจ และยังเปนคดีท่ีกระทบตอความรูสึกของประชาชนจํานวนมาก
ดวยยืนยันวาการตรวจสอบของ ศอตช. จะเนนดําเนินการกับเจาหนาที่รัฐที่เขาไปเกี่ยวของกับการทุจริต
ในสว นของพระสงฆหลกั ฐานยงั ไมป รากฏชดั ถึงเจตนาในการกระทาํ ความผิด เบ้ืองตนขอมูลบงช้ีไปในแนวทางวา
พระสงฆถูกเจาหนาท่ีหลอกใหเปดบัญชีเพื่อรับโอนเงินงบประมาณแลวโอนเงินสวนใหญคืนกลับเขาบัญชี
สว นตวั ของเจาหนา ที”่

"ปญหาในคดีเงินทอนวัดสะทอนใหเห็นถึงสภาพการทุจริตในวงราชการ ซึ่งในอดีตถูกปลอยปละ
ละเลยไมม ีการตรวจสอบและปองปรามอยางจริงจังจากรัฐบาลชุดตาง ๆ จนกระท่ังการทุจริตในวงราชการ
ลกุ ลามเขาไปในวดั ดึงวดั เขา มาเกี่ยวของกับการเบิกจา ยเงินงบประมาณ โดยวดั ไดรบั เงนิ เพยี งแค 5 – 7 ของวงเงิน
งบประมาณ สว นท่เี หลอื ซง่ึ เปน เงินกอ นใหญถ ูกโอนกลับคืนเขาบญั ชีของเจาหนาที่รัฐ" เลขาธิการคณะกรรมการ
ปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ ในภาครฐั กลา ว

ท้งั นี้ ในเชงิ ลึกพบวา จากการตรวจสอบคดีเงินทอนวดั ซ่งึ พบมูลความผิดฐานทุจริตจํานวน 173 คดี
บางเรื่องเกิดซาํ้ ข้นึ ในวัดแหง เดียว เน่อื งจากมีการต้งั โครงการเพอื่ ขอรับงบประมาณหลายคร้งั ในสวนของพระสงฆนั้น
หากพิจารณาในแงก ฎหมายถอื วาเขาองคประกอบความผิดทางอาญาฐานรวมกันทุจริต เพราะไดเซ็นชื่อเปด
บัญชีเพื่อรบั เงนิ งบประมาณ รบั โอนเงินงบประมาณเขา บัญชีสว นตัวหรอื บัญชขี องวัดแลวเบิกถอนเงินกอนจะนํา
ฝากเพ่ือโอนเขาบัญชีของเจาหนาที่รัฐ และพบวาพระสงฆบางรูปเปดบัญชีรวมกับเจาหนาท่ีรัฐ แตใ นชนั้ การ
ดําเนินคดีอาญายังตองพิสูจนเจตนาในการรับและโอนเงินดวยวากระทําลงไปเพราะถูกเจาหนาท่ีรัฐหลอกให
หลงเชอื่ หรอื กระทําไปโดยรูเทาไมถ ึงการณวา เปนการทุจรติ งบประมาณของรัฐ

การดาํ เนินงานท่ีผา นมา ตาํ รวจไดมกี ารนํากําลังเขา ตรวจคนบา นบุคคลตองสงสยั ทีเ่ ก่ียวของกับการ
ทจุ รติ เงินทอนวดั ซึง่ มีท้งั พระสงฆและขาราชการ

37

ประเดน็ ใหผ ูเรยี นแบงกลมุ รว มกนั วิเคราะหโ ดยใชกระบวนการคิดเปน จากกรณีศึกษานวี้ า
1. หนวยงานท่เี กีย่ วของจะมีวธิ ีการดูแลอยา งไร เพื่อไมใ หเ กิดกรณีเงินทอนวัดไดอกี
2. จากกรณีศกึ ษามผี ลกระทบตอสังคมหรอื ไม อยา งไร

แนวทางการทาํ กจิ กรรม
1. ครูแบงกลมุ ผูเรยี นอออกเปน 2 – 3 กลุมยอย ใหผูเรียนเลือกประธานกลุมและเลขานุการกลุม

เพ่ือเปนผูนาํ และผูจดบันทึกผลการอภิปรายของกลุมตามลาํ ดับ และนาํ ผลการอภิปรายที่บันทึกไวไปเสนอ
ตอที่ประชุมใหญ จากนนั้ ใหผูเรียนทุกกลุมอภิปรายถกแถลงเพื่อหาคําตอบตามประเด็นที่กําหนดใหครูติดตาม
สงั เกตการใชเ หตผุ ลของแตล ะกลมุ หากขอ มลู ยงั ไมเ พยี งพอ ครอู าจชแ้ี นะใหอ ภิปรายเพมิ่ เติมได

2. เลขานุการกลุมบันทึกผลการพิจารณาหาคําตอบตามประเด็นที่กําหนดตามกระบวนการคิด
ดังตัวอยาง และนาํ คําตอบนั้นไปรายงานในที่ประชุมกลุมใหญ (หากมีผูเรียนไมมาก ครูอาจใหมีการสนทนา
หรืออภิปรายถกแถลงกนั ในกลุม ใหญเลย โดยไมตอ งแบง กลมุ ยอ ยกไ็ ด)

38

เรอื่ งที่ 5 บทบาทของรัฐ/เจาหนา ทีข่ องรฐั ทเ่ี กี่ยวขอ งกับการปองกนั ปราบปรามเก่ียวกบั
การทุจรติ

1. บทบาทของรัฐ
หลักคิดการแยกประโยชนส ว นตนและประโยชนส วนรวมอยางเด็ดขาดดังกลาวนี้ สอดคลองกับ

แนวปฏิบตั ขิ องเจา หนา ท่ีของรฐั ตามประมวลจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือน ขอ 5 ทก่ี าํ หนดใหเ จาหนาทขี่ องรัฐ
ตอ งแยกเรอื่ งสว นตวั ออกจากตําแหนงหนา ที่ และยึดถอื ประโยชนส ว นรวมของประเทศชาติเหนอื กวา ประโยชน
สว นตน โดยอยางนอ ยตอ งวางตน ดังนี้

1.1 ไมนาํ ความสัมพันธสวนตัวที่ตนมีตอบุคคลอื่น ไมวาจะเปนญาติพี่นอง พรรคพวก เพ่ือนฝูง
หรอื ผมู ีบุญคณุ สว นตัวมาประกอบการใชดุลยพนิ จิ ใหเปน คณุ หรือเปน โทษแกบุคคลนนั้ หรอื ปฏบิ ตั ิตอ บุคคลนนั้
ตางจากบคุ คลอื่นเพราะชอบหรอื ชัง

1.2 ไมใชเวลาราชการ เงิน ทรัพยสิน บุคลากร บริการ หรือส่ิงอํานวยความสะดวกของทางราชการ
ไปเพอ่ื ประโยชนสว นตวั ของตนเองหรอื ผูอ่นื เวน แตไ ดรบั อนญุ าตโดยชอบดว ยกฎหมาย

1.3 ไมกระทําการใด หรือดํารงตําแหนง หรือปฏิบัติการใดในฐานะสวนตัว ซ่ึงกอใหเกิดความ
เคลือบแคลงหรือสงสยั วาจะขัดกับประโยชนสวนรวมท่อี ยูในความรบั ผิดชอบของหนา ท่ี ในกรณมี คี วามเคลอื บแคลง
หรือสงสัย ใหขาราชการผูน้ันยุติการกระทาํ ดังกลาวไวกอนแลวแจงใหผูบังคับบัญชา หัวหนาสวนราชการ
และคณะกรรมการจริยธรรมพิจารณา เมื่อคณะกรรมการจริยธรรมวินิจฉยั เปน ประการใดแลว จึงปฏิบัตติ ามนัน้

1.4 ในการปฏิบตั หิ นา ท่ีท่ีรับผิดชอบในหนวยงานโดยตรงหรือหนาที่อื่นในราชการ รัฐวิสาหกิจ
องคการมหาชน หรอื หนวยงานของรัฐ ขาราชการตองยึดถือประโยชนของทางราชการเปนหลัก ในกรณีที่มี
ความขัดแยงระหวางประโยชนของทางราชการหรือประโยชนสวนรวมกับประโยชนสวนตนหรือสวนกลุม
อนั จําเปน ตองวนิ ิจฉยั หรอื ชข้ี าด ตองยดึ ประโยชนข องทางราชการและประโยชนสวนรวมเปน สาํ คัญ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดกําหนดบทบาทหนวยงานของรัฐ
ทเี่ กี่ยวขอ งกบั การปอ งกนั และปราบปรามเก่ยี วกับการทุจรติ ในดานตาง ๆ ดังนี้

39

บทบาทของรฐั ภารกจิ ที่รบั ผิดชอบ
1. ดานการใหความรู การสรา งความเขาใจ
1.1 ตองสงเสริม สนับสนุน และใหความรูแกประชาชน
การรณรงคและสง เสริมการมีสว นรวม ถึ ง อั น ต ร า ย ท่ี เ กิ ด จ า ก ก า ร ทุ จ ริ ต แ ล ะ ป ร ะ พ ฤ ติ มิ ช อ บ
ทงั้ ในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดใหม มี าตรการและกลไก
ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ พ่ื อ ป อ ง กั น แ ล ะ ข จั ด ก า ร ทุ จ ริ ต แ ล ะ
ประพฤติมิชอบดังกลาวอยางเขมงวด รวมทั้งกลไกในการ
สงเสรมิ ใหประชาชนรวมตัวกัน เพ่ือมสี วนรว มในการรณรงค
ใหความรู ตอตาน หรือช้ีเบาะแส โดยไดรับความคุมครอง
จากรัฐตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
1.2 รัฐพึงจัดใหมีกฎหมายเพียงเทาที่จําเปนและยกเลิก
หรือปรบั ปรงุ กฎหมายทหี่ มดความจําเปนหรือไมสอดคลอง
กับสภาพการณ หรือท่ีเปนอุปสรรคตอการดํารงชีวิตหรือ
ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ โ ด ย ไ ม ชั ก ช า เ พื ่อ ไ ม ใ ห เ ป น ภ า ร ะ
แกประชาชน และดําเนินการใหประชาชนเขาถึงตัวบท
กฎหมายตาง ๆ ไดโดยสะดวกและสามารถเขาใจกฎหมาย
ไดงา ยเพอ่ื ปฏิบตั ิตามกฎหมายไดอ ยางถกู ตอง

กอ นการตรากฎหมายทกุ ฉบับ รัฐพึงจัดใหมีการรับฟง
ความคิดเห็นของผูเกี่ยวของ วิเคราะหผลกระทบที่อาจ
เกิดข้ึนจากกฎหมายอยางรอบดานและเปนระบบ รวมท้ัง
เปดเผยผลการรับฟงความคิดเห็นและการวิเคราะหนั้นตอ
ประชาชน และนาํ มาประกอบการพจิ ารณาในกระบวนการตรา
กฎหมายทุกข้ันตอน เมื่อกฎหมายมีผลใชบังคับแลวรัฐพึง
จั ด ใ ห มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ข อ ง ก ฎ ห ม า ย ทุ ก ร อ บ
ระยะเวลาท่กี ําหนดโดยรับฟงความคิดเห็นของผูเกี่ยวของ
ประกอบดวย เพื่อพัฒนากฎหมายทุกฉบับใหสอดคลอง
และเหมาะสมกับบริบทตา ง ๆ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป

รัฐพึงใชระบบอนุญาตและระบบคณะกรรมการใน
กฎหมายเฉพาะกรณีท่ีจําเปนพึงกําหนดหลักเกณฑการใช
ดุลพนิ ิจของเจาหนา ท่ีของรฐั และระยะเวลาในการดําเนินการ

บทบาทของรฐั 40

ภารกิจทร่ี ับผิดชอบ
ตามขั้นตอนตา ง ๆ ท่บี ัญญตั ิไวในกฎหมายใหชัดเจน และพึง
กําหนดโทษอาญาเฉพาะความผดิ รา ยแรง
1.3 รัฐพึงสงเสริมใหประชาชนและชุมชนมีความรู
ความเขา ใจทีถ่ กู ตอ งเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและมีสวนรวมในการ
พฒั นาประเทศดานตาง ๆ การจัดทําบริการสาธารณะ ทั้งใน
ระดับชาติและระดับทองถ่ินการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ
การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดท้ังการ
ตัดสนิ ใจทางการเมอื งและการอื่นใดบรรดาท่ีอาจมีผลกระทบ
ตอ ประชาชนหรอื ชุมชน
1.4 องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่และอํานาจดูแล
และจัดทําบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะ
เพอ่ื ประโยชนของประชาชนในทองถ่ินตามหลักการพัฒนา
อยางยั่งยืน รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
ใหแกป ระชาชนในทอ งถ่นิ ท้งั นี้ ตามที่กฎหมายบญั ญัติ
1.5 ดําเนินการปฏิรูปประเทศอยางนอยในดานตาง ๆให
เกดิ ผลดังตอ ไปนี้

(1) ใหประชาชนมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับ
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ มสี ว นรว มในการดาํ เนินกจิ กรรมทางการเมอื ง
รวมตลอดท้ังการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ รูจักยอมรับ
ในความเห็นทางการเมืองโดยสุจริตท่ีแตกตางกัน และให
ประชาชนใชสิทธิเลือกต้ังออกเสียงประชามติโดยอิสระ
ปราศจากการครอบงําไมวาดว ยทางใด

(2) ใหการดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองเปนไป
โดยเปดเผยและตรวจสอบได เพื่อใหพรรคการเมือง
พฒั นาเปนสถาบนั ทางการเมืองของประชาชน ซ่ึงมีอุดมการณ

บทบาทของรฐั 41

2. ดา นการส่ือสารขอ มลู หรอื ขา วสาร ภารกิจท่ีรบั ผิดชอบ
ตอสาธารณะ ทางการเมืองรวมกนั มีกระบวนการใหสมาชิกพรรคการเมือง
มีสว นรว มและมีความรบั ผิดชอบอยางแทจริงในการดาํ เนิน
กิจกรรมทางการเมือง และการคดั เลอื กผูมีความรูความสามารถ
ซื่อสัตยสุจริตและมีคุณธรรมจริยธรรมเขามาเปนผูดํารง
ตาํ แหนงทางการเมอื งที่ชดั เจนและเปน รปู ธรรม

(3) มกี ลไกท่ีกําหนดความรับผิดชอบของพรรคการเมือง
ในการประกาศโฆษณานโยบายที่มิไดวิเคราะหผลกระทบ
ความคุมคาและความเสย่ี งอยา งรอบดา น
2.1 รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผนดิน
ท้งั ราชการสวนกลางสวนภูมิภาค สวนทองถิ่นและงานของรัฐ
อยา งอื่นใหเปนไปตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
โดยหนวยงานของรัฐตองรวมมือและชว ยเหลือกันในการ
ปฏิบัติหนาท่ีเพื่อใหการบริหารราชการแผนดิน การจัดทํา
บรกิ ารสาธารณะ และการใชจายเงนิ งบประมาณมีประสิทธิภาพ
สูงสุดเพื่อประโยชนสุขของประชาชน รวมตลอดทั้งพัฒนา
เจาหนาท่ีของรัฐใหมีความซ่ือสัตยสุจริต และมีทัศนคติ
เปนผูใหบริการประชาชนใหเกิดความสะดวกรวดเร็วไม
เลอื กปฏิบัตแิ ละปฏิบัติหนาทอี่ ยางมีประสทิ ธภิ าพ
2.2 รัฐพึงจัดใหมีกฎหมายเพียงเทาท่ีจําเปนและยกเลิก
หรือปรับปรงุ กฎหมายที่หมดความจําเปนหรือไมสอดคลองกับ
สภาพการณหรือที่เปนอุปสรรคตอการดํารงชีวิตหรือ
การประกอบอาชีพโดยไมชักชา เพ่ือไมใหเปนภาระแก
ประชาชนและดําเนินการใหประชาชนเขาถึงตัวบทกฎหมาย
ตาง ๆ ไดโดยสะดวกและสามารถเขาใจกฎหมายไดงาย
เพ่ือปฏบิ ัตติ ามกฎหมายไดอ ยา งถกู ตอ ง
2.3 องคกรปกครองสวนทองถ่ินมีหนาท่ีและอํานาจดูแล
และจัดทําบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะ

บทบาทของรฐั 42

ภารกจิ ที่รบั ผิดชอบ
เพ่ือประโยชนของประชาชนในทองถ่ินตามหลักการพัฒนา
อยา งยง่ั ยนื รวมทั้งสงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา
ใหแกประชาชนในทองถ่ิน ท้ังน้ี ตามท่ีกฎหมายบัญญัติการ
จัดทําบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะใดที่สมควร
ใหเปนหนาที่และอํานาจโดยเฉพาะขององคกรปกครอง
สวนทอ งถนิ่ แตละรูปแบบหรือใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
เปนหนวยงานหลักในการดําเนินการใดใหเปนไปตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ ซึ่งตองสอดคลองกับรายไดขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินตามวรรคสี่และกฎหมายดังกลา อยางนอย
ตองมีบทบัญญัติเก่ียวกับกลไกและข้ันตอนในการกระจาย
หนาที่และอํานาจตลอดจนงบประมาณและบุคลากรท่ี
เกี่ยวกับหนาท่ีและอํานาจดังกลาวของสวนราชการใหแก
อ ง ค ก ร ป ก ค ร อ ง ส ว น ท อ ง ถ่ิ น ด ว ย ใ น ก า ร จั ด ทํ า บ ริ ก า ร
สาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะใดท่ีเปนหนาท่ีและอํานาจ
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ถาการรวมดําเนินการกับ
เอกชนหรือหนวยงานของรัฐหรือการมอบหมายใหเอกชน
หรือหนวยงานของรัฐดําเนินการจะเปนประโยชนแก
ประชาชนในทองถ่ินมากกวาการท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
จะดําเนินการเององคกรปกครองสวนทองถ่ินจะรวมหรือ
มอบหมายใหเอกชนหรือหนว ยงานของรัฐดาํ เนินการนั้นกไ็ ด

รัฐตองดําเนินการใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมี
รายไดของตนเอง โดยจัดระบบภาษีหรือการจัดสรรภาษีที่
เหมาะสม รวมท้ังสง เสรมิ และพัฒนาการหารายไดข ององคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน ทั้งน้ี เพ่ือใหสามารถดําเนินการตาม
วรรคหนึ่งไดอยางเพียงพอในระหวางทยี่ งั ไมอ าจดาํ เนนิ การ
ไดใหรัฐจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนองคกรปกครอง
สวนทอ งถนิ่ ไปพลางกอน

บทบาทของรฐั 43

3. ดานการจดั ทําแผน มาตรการ ภารกจิ ทีร่ บั ผิดชอบ
คูมือหลักสูตร พฒั นาระบบงาน กฎหมายตามวรรคหน่ึงและกฎหมายที่เกี่ยวกับการ
สมรรถนะบุคลากรและองคความรู บริหารราชการสวนทองถิ่นตองใหองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นมีอิสระในการบริหาร การจัดทําบริการสาธารณะ
การสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาการเงินและ
การคลัง และการกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ซึ่งตองทําเพียงเทาท่ีจําเปนเพื่อการคุมครองประโยชนของ
ประชาชนในทองถ่ินหรือประโยชนของประเทศเปนสวนรวม
การปองกนั การทุจริตและการใชจายเงินอยางมีประสิทธิภาพ
โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและความแตกตางขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ และตองมีบทบัญญัติ
เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ป อ ง กั น ก า ร ขั ด กั น แ ห ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะ
การปองกันการกาวกายการปฏิบัติหนาท่ีของขาราชการ
สว นทองถิ่นดว ย
3.1 ตองสงเสริมสนับสนุนและใหความรูแกประชาชน
ถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งใน
ภาครัฐและภาคเอกชน และจัดใหมีมาตรการและกลไกที่มี
ประสิทธิภาพเพื่อปองกันและขจัดการทุจริตและประพฤติ
มชิ อบดังกลาวอยางเขมงวด รวมทั้งกลไกในการสงเสริมให
ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีสวนรวม ในการรณรงคใหความรู
ตอตา นหรือช้ีเบาะแส โดยไดรับความคุมครองจากรัฐตามท่ี
กฎหมายบัญญตั ิ
3.2 รัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพัฒนา
ประเทศอยางยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใชเปนกรอบ
ในการจัดทําแผนตาง ๆ ใหสอดคลองและบูรณาการกัน
เพ่อื ใหเ กดิ เปน พลังผลกั ดันรวมกันไปสูเปา หมายดังกลาว
3.3 สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาตอง
(1) ไมดํารงตําแหนงหรือหนาที่ใดในหนวยราชการ

บทบาทของรฐั 44

ภารกจิ ทรี่ บั ผดิ ชอบ
หนว ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ หรือตาํ แหนงสมาชิกสภา
ทองถนิ่ หรอื ผูบรหิ ารทองถิ่น

(2) ไมรับหรือแทรกแซงหรือกาวกายการเขารับ
สัมปทานจากรัฐ หนว ยราชการ หนว ยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
หรือเขาเปนคูสัญญากับรัฐ หนวยราชการหนวยงานของรัฐ
หรอื รัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอน หรือ
เปนหุนสวน หรือผูถือหุนในหางหุนสวน หรือบริษัทที่รับ
สัมปทาน หรือเขาเปนคูสัญญาในลักษณะดังกลาว ท้ังน้ี
ไมว า โดยทางตรงหรอื ทางออม

(3) ไมรับเงินหรือประโยชนใด ๆ จากหนวยราชการ
หน วย ง าน ขอ ง รั ฐ ห รื อ รั ฐ วิ ส า หกิ จ เ ป นพิ เ ศษนอ ก เ ห นื อ
ไปจากที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
ปฏบิ ตั ติ อบุคคลอ่ืน ๆ ในธรุ กจิ การงานปกติ

(4) ไมกระทําการใด ๆ ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม
อนั เปน การขัดขวางหรือแทรกแซงการใชสิทธิหรือเสรีภาพ
ของหนังสือพมิ พหรอื สอ่ื มวลชนโดยมชิ อบ
3.4 สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื สมาชกิ วุฒิสภาตองไมใช
สถานะหรือตําแหนงการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ
สมาชิกวุฒิสภากระทําการใด ๆ อันมีลักษณะที่เปนการ
กา วกาย หรอื แทรกแซงเพ่อื ประโยชนของตนเองของผูอื่นหรือ
ของพรรคการเมืองไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ในเร่ือง
ดงั ตอไปนี้

(1) การปฏิบัติราชการหรือการดําเนินงานในหนาท่ี
ประจาํ ของขาราชการ พนกั งาน หรอื ลกู จางของหนวยราชการ
หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญหรือ
ราชการสวนทองถ่นิ

บทบาทของรัฐ 45

ภารกจิ ท่รี ับผดิ ชอบ
(2) กระทําการในลักษณะที่ทําใหตนมีสวนรวมในการใช
จายเงินงบประมาณหรือใหความเห็นชอบ ในการจัดทํา
โครงการใด ๆ ของหนว ยงานของรฐั เวน แตเปน การดาํ เนินการ
ในกิจการของรัฐสภา
(3) การบรรจุ แตง ตงั้ โยกยาย โอน เลื่อนตําแหนงเล่ือน
เงินเดือนหรือการใหพนจากตําแหนงของขาราชการ ซึ่งมี
ตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง
พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการหนวยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ กิจการท่ีรัฐถือหุนใหญหรอื ราชการสวนทอ งถน่ิ
3.5 รัฐมนตรีตองไมเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวน
หรือบริษัทหรือไมคงไวซ่ึงความเปนหุนสวนหรือผูถือหุนใน
หา งหุนสว นหรือบริษัทตอไปตามจํานวนที่กฎหมายบัญญัติ
และตอ งไมเ ปน ลกู จา งของบคุ คลใด

2. หนา ทีข่ องรัฐ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กําหนดหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของกับ

การปองกนั และปราบปรามเกยี่ วกับการทุจริต ตอ งมกี ารดาํ เนนิ การ ดังนี้
2.1 รฐั ตอ งเปด เผยขอมูลหรอื ขา วสารสาธารณะในครอบครองของหนว ยงานของรัฐที่มิใชขอมูล

เก่ยี วกับความมน่ั คงของรฐั หรอื เปนความลับของทางราชการท่ีกฎหมายบญั ญัติ และตองจดั ใหป ระชาชนเขา ถงึ
ขอ มูลหรอื ขาวสารดังกลาวไดโดยสะดวก

2.2 รฐั ตอ งสงเสรมิ สนบั สนุน และใหความรูแกประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดใหมีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือปองกัน
และขจัดการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบดงั กลาวอยางเขมงวด รวมท้ังกลไกในการสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกัน
เพ่อื มีสวนรว มในการรณรงคใหความรู ตอตา น หรือช้ีเบาะแส โดยไดรับความคุมครองจากรัฐตามที่กฎหมาย
บญั ญัติ

46

3. แนวนโยบายแหงรัฐ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กําหนดแนวนโยบายที่เกี่ยวของกับการ

ปองกนั และปราบปรามเก่ยี วกบั การทุจริต ไวด ังนี้
3.1 รฐั พงึ พฒั นาระบบการบริหารราชการแผนดินท้ังราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถ่ิน

และงานของรัฐอยางอื่น ใหเปน ไปตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี ตลอดทั้งพัฒนาเจาหนาที่ของรัฐ
ใหมคี วามซ่อื สตั ยส จุ ริต

3.2 รัฐพึงจัดใหมีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อใหหนวยงานของรัฐใชเปนหลักการกําหนด
ประมวลจริยธรรมสาํ หรับเจา หนาทข่ี องรัฐในหนวยงานนนั้ ๆ ซ่งึ ตองไมต ํ่ากวา มาตรฐานทางจริยธรรมดงั กลาว

4. เจา หนาท่ีของรัฐที่เกี่ยวขอ งกบั การปองกนั และปราบปรามเกยี่ วกับการทจุ ริต
เจาหนา ท่ขี องรฐั นบั วา เปนผูท่ีมีสวนที่เกี่ยวของในการปองกันและปราบปรามเกี่ยวกับการทุจริต

โดยสอดคลองกบั แนวปฏบิ ตั ขิ องเจาหนา ท่ีของรัฐ ตามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน ขอ 5 ที่กําหนดให
เจา หนา ที่ของรฐั ตอ งแยกเร่อื งสวนตัวออกจากตําแหนงหนาท่ี และยึดถือประโยชนสวนรวมของประเทศชาติ
เหนอื กวา ประโยชนส วนตน โดยอยางนอยตอ งวางตน ดังน้ี

4.1 ไมนําความสัมพนั ธส วนตัวทต่ี นมีตอบคุ คลอืน่ ไมว าจะเปนญาติพีน่ อง พรรคพวก เพื่อนฝูงหรือ
ผมู บี ุญคุณสว นตัว มาประกอบการใชดุลยพินิจใหเปนคุณหรือเปนโทษแกบุคคลนั้น หรือปฏิบัติตอบุคคลน้ัน
ตา งจากบุคคลอน่ื เพราะชอบหรอื ชัง

4.2 ไมใชเวลาราชการ เงิน ทรัพยสิน บุคลากร บริการ หรือส่ิงอํานวยความสะดวกของทาง
ราชการไป เพ่อื ประโยชนส ว นตวั ของตนเองหรอื ผอู ่ืน เวน แตไ ดรบั อนญุ าตโดยชอบดวยกฎหมาย

4.3 ไมกระทําการใด หรือดํารงตําแหนง หรือปฏิบัติการใดในฐานะสวนตัว ซึ่งกอใหเกิดความ
เคลือบแคลงหรอื สงสัยวา จะขัดกบั ประโยชนสวนรวมท่อี ยใู นความรบั ผดิ ชอบของหนาที่

47

กจิ กรรม

คาํ ชแ้ี จง ใหผูเรียนแบง กลุมรวมกนั อภปิ รายในประเดน็ ตอไปนี้
1. ผเู รียนจะปฏบิ ัตอิ ยางไร ถา ทราบวาเจาหนาทีข่ องรัฐมกี ารทุจรติ
2. ผูเรียนมคี วามคิดเห็นอยา งไรตอบทบาทของรัฐในการปองกนั ปราบปรามเก่ยี วกบั การทจุ ริต

48

บทท่ี 2

ความละอายและความไมท นตอ การทุจริต

สาระสาํ คญั

การทุจริตในทุกระดับกอใหเกิดความเสียหายตอสังคม ประเทศชาติ จําเปนที่จะตองแกปญหา
ดว ยการสรางสงั คมทีไ่ มท นตอ การทุจริต โดยเรมิ่ ต้งั แตกระบวนการกลอ มเกลาทางสังคมทุกชวงวัย ปฏิบัติตน
ตามกฎ กตกิ าของสงั คมในเร่อื งตา ง ๆ เชน การทาํ งานทไ่ี ดร บั มอบหมาย การสอบ การเลือกต้ัง การรวมกลุม
เพอ่ื สรางสรรคปอ งกนั การทจุ ริตไดอ ยางถกู ตอง

ตวั ชว้ี ัด

1. อธบิ ายเกี่ยวกบั รายละเอียดการทุจริตของประเทศไทย/โลกได
2. อธิบายความละอายและความไมทนตอการทุจรติ ได
3. สามารถคดิ วเิ คราะหในการทํากจิ กรรมท่ีเกีย่ วขอ งไดถ ูกตอ ง

ขอบขา ยเนื้อหา

เร่อื งที่ 1 การทจุ รติ
เร่อื งที่ 2 ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ

49

เรือ่ งท่ี 1 การทุจริต

1. ความหมายของการทุจรติ
การทุจริต (Corruption) หมายถึง ประพฤติชั่ว คดโกง ไมซื่อตรง การใชอํานาจที่ไดรับมา

หรอื การใชทรพั ยส นิ ทีม่ ีอยูในทางมชิ อบ เพ่อื ประโยชนตอ ตนเองและครอบครัว เพ่ือน คนรูจัก หรือประโยชน
อื่นใดอันมิควรได ซ่ึงกอใหเกิดความเสียหายตอ ประโยชนข องผูอนื่

การทจุ ริตตอหนาที่ หมายถึง การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในพฤติกรรมที่อาจทําให
ผอู ื่นเชือ่ วามตี ําแหนงหนาที่ท้ังที่ตนมิไดมีตําแหนงหนาที่น้ัน หรือใชอํานาจในตําแหนงหนาที่ท้ังน้ี เพ่ือแสวงหา
ผลประโยชนท ี่มิควรไดโดยชอบสาํ หรับตนเอง หรือผูอน่ื

2. รปู แบบการทจุ ริต
การทุจรติ ท่เี กดิ ข้ึนในวงราชการและแวดวงการเมือง เปนพฤตกิ รรมทเ่ี จาหนาที่ของรัฐใชอํานาจ

ในตําแหนงหนาที่โดยมิชอบ เพื่อมุงหวังผลประโยชนสวนตัว สามารถแบงได 3 ลักษณะ คือ แบงตาม
ผูทีเ่ กี่ยวของ แบงตามกระบวนการทใี่ ช และแบงตามลักษณะรปู ธรรม ดังน้ี

2.1 แบงตามผูที่เกี่ยวของ เปนรูปแบบการทุจริตในเรื่องของอํานาจและความสัมพันธ
แบบอปุ ถมั ภร ะหวางผทู ี่ใหก ารอปุ ถัมภ (ผใู หการชวยเหลือ) กับผูถูกอุปถัมภ (ผูที่ไดรับการชวยเหลือ) โดยใน
กระบวนการการทจุ รติ จะมี 2 ประเภท คือ

ประเภทที่ 1 การทุจริตโดยขา ราชการ (Corrupt officials) หมายถงึ การกระทําท่ีมีการใช
หนวยงานราชการเพอื่ มงุ แสวงหาผลประโยชนจ ากการปฏิบัติงานของหนว ยงานนน้ั ๆ มากกวาประโยชนสวนรวม
ของสังคมหรอื ประเทศ โดยลกั ษณะของการทุจริตโดยขาราชการสามารถแบง ออกเปน 2 ประเภทยอย ดงั น้ี

1. การคอรรัปชันตามน้ํา (corruption without theft) จะปรากฏข้ึน
เมอื่ เจาหนา ทขี่ องรฐั ตองการสินบน โดยใหมีการจายตามชองทางปกติของทางราชการ แตใหเพิ่มสินบนรวม
เขา ไวก ับการจายคาบริการของหนวยงานนั้น ๆ โดยท่ีเงินคาบริการปกติที่หนวยงานน้ันจะตองไดรับก็ยังคง
ไดรับตอ ไป เชน การจายเงินพิเศษใหแ กเจาหนาทใ่ี นการออกเอกสารตาง ๆ นอกเหนือจากคาธรรมเนียมปกติ
ที่ตอ งจายอยแู ลว เปน ตน

2. การคอรรัปชันทวนน้ํา (corruption with theft) เปนการคอรรัปชัน
ในลักษณะทเ่ี จาหนาที่ของรัฐจะเรียกรอ งเงนิ จากผูข อรับบรกิ ารโดยตรง โดยที่หนวยงานนั้นไมไ ดมีการเรยี กเกบ็ เงนิ
คาบริการแตอยางใด เชน ในการออกเอกสารของหนวยงานราชการไมไดมีการกําหนดใหตองเสียคาใชจาย
ในการดําเนินการ แตกรณีน้มี ีการเรียกเก็บคาใชจายจากผูท ีม่ าใชบรกิ ารของหนว ยงานของรัฐ

50

ประเภทที่ 2 การทุจรติ โดยนักการเมอื ง (political corruption) เปน การใชหนวยงานของ
ทางราชการโดยบรรดานักการเมืองเพ่ือมุงแสวงหาผลประโยชนในทางการเงินมากกวาประโยชนสวนรวม
ของสังคมหรือประเทศเชนเดียวกัน โดยรูปแบบหรือวิธีการทั่วไปจะมีลักษณะเชนเดียวกับการทุจริต
โดยขาราชการ แตจ ะเปนในระดับทีส่ งู กวา เชน การทจุ รติ ในการประมูลโครงการกอ สรา งขนาดใหญ และมกี าร
เรียกรับ หรอื ยอมจะรบั ทรพั ยส ินหรือประโยชนต าง ๆ จากภาคเอกชน เปน ตน

2.2 แบงตามกระบวนการทใี่ ชม ี 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 เกิดจากการใชอํานาจในการกําหนด กฎ กติกาพ้ืนฐาน เชน การออกกฎหมาย

และกฎระเบยี บตาง ๆ เพือ่ อาํ นวยประโยชนต อกลุมธุรกจิ ของตนหรอื พวกพอ ง
ประเภทที่ 2 เกิดจากการใชอํานาจหนาที่เพื่อแสวงหาผลประโยชนจากกฎ และระเบียบ

ท่ดี ํารงอยู ซึง่ มักเกดิ จากความไมช ดั เจนของกฎและระเบยี บเหลา น้นั ทที่ ําใหเจาหนาที่สามารถใชความคิดเห็น
ของตนได และการใชค วามคดิ เห็นนัน้ อาจไมถกู ตองหากมีการใชไ ปในทางท่ีผดิ หรอื ไมยตุ ิธรรมได

2.3 แบง ตามลักษณะรปู ธรรม มีทง้ั หมด 4 รปู แบบ คือ
รูปแบบที่ 1 คอรรัปชันจากการจัดซื้อจัดหา (Procurement Corruption) เชน

การจดั ซื้อส่งิ ของในหนวยงาน โดยมีการคิดราคาเพม่ิ หรอื ลดคุณสมบัติแตก าํ หนดราคาซื้อไวเ ทา เดิม
รูปแบบท่ี 2 คอรรัปชันจากการใหสัมปทาและสิทธิพิเศษ (Concessionaire Corruption)

เชน การใหเ อกชนรายใดรายหนงึ่ เขา มามีสิทธิในการจัดทาํ สมั ปทานเปน กรณพี เิ ศษตา งกบั เอกชนรายอ่ืน
รูปแบบที่ 3 คอรรัปชันจากการขายสาธารณสมบัติ (Privatization Corruption) เชน

การขายกิจการของรฐั วิสาหกจิ หรอื การยกเอาท่ดี ิน ทรพั ยส ินไปเปน สิทธกิ ารครอบครองของตางชาติ เปนตน
รูปแบบที่ 4 คอรรัปชันจากการกํากับดูแล (Regulatory Corruption) เชน การกํากับ

ดูแลในหนว ยงานแลว ทาํ การทจุ ริตตาง ๆ เปน ตน
3. สาเหตุทที่ ําใหเ กิดการทุจรติ
3.1 การขาดคุณธรรม ผูที่ทุจริตฉอราษฎรบังหลวงกลาวไดวา เปนผูขาดคุณธรรม คุณธรรมท่ีขาด

ไดแก ความซื่อสัตยสุจริต ความละอายบาป ความกตัญูกตเวที ในสมัยกอนความซื่อสัตยสุจริตเปนคุณธรรม
ท่ีไดรับการเนนเปนพิเศษ ถือวาเปนเครื่องวัดความดีของคน คนที่ขาดความซ่ือสัตยสุจริตถือวาเปนคนไมดี
เปนคนท่ีไมควรคบ เปนคนท่ีไมควรเอาเขามาทํางาน ในพระพุทธศาสนาความซ่ือสัตยสุจริต หรือสัจจะ
ถือเปนหลักธรรมทส่ี าํ คญั เปนหลักธรรมทีส่ อดแทรกอยูในขอแรกของฆราวาสธรรม 4 ในขอ 2 ของอธิษฐานธรรม 4
ในขอ 4 ของเบญจธรรม 5 ในขอ 7 ของบารมี 10 สัจจะ หมายถึง ความจริง ความซ่ือตรงความซ่ือสัตย
ความจริงใจ ผูมีสัจจะจะตองมีความจริงตอคําพูด การกระทํา หนาท่ี และบุคคลคือจะตองพูดจริง ทําจริง
ซอื่ ตรงตอ หนาท่ี มีความจรงิ ใจตอ ผูอืน่ ผมู สี ัจจะจะไมเปนผูทุจรติ ไมวา กรณใี ด ๆ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา

51

เจา อยหู วั พระมหาธรี ราชเจา ผูท รงกอ ตั้งกองเสือปาและกองลูกเสือ ไดทรงอบรมส่ังสอนใหเสือปาและลูกเสือ
ยึดม่ันในความซ่ือสัตยสุจริต ไดพระราชทานคําขวัญแกเสือปาและลูกเสือวา “เสียชีพอยาเสียสัตย”
หริ ิ หรือความละอายบาป และโอตตปั ปะ ความเกรงกลวั บาป ถอื เปน ธรรมคุมครองโลก (โลกบาล) ทําใหโลก
มีความเปนระเบยี บเรยี บรอ ยไมเดือดรอ นและสบั สนวนุ วาย กอ นนี้คนไทยสว นใหญเช่ือในเรื่องบุญบาป เช่ือใน
เรื่องกฎแหง กรรม เชื่อในเร่ืองสังสารวัฏ - การเวียนวายตายเกิด จึงเปนผูมีหิริโอตตัปปะ ไมฉอราษฎรบังหลวง
แตในปจ จุบันคนจํานวนไมนอยโดยเฉพาะผูท่ีมีการศึกษาจบจากตางประเทศมักจะไมเชื่อในเร่ืองบุญและบาป
ไมเชื่อในเร่ืองกฎแหงกรรม จึงขาดหิริโอตตัปปะ ทําการทุจริต ทําความชั่วกันมากข้ึนและถือวาการทุจริต
เปนวิถีชีวติ เมอ่ื สังคมและโลกขาดหริ โิ อตตปั ปะเปนธรรมเครอื่ งคุมครอง สังคม และโลก จงึ ขาดความเปน ระเบียบ
เรยี บรอ ย มคี วามเดือดรอนสับสนวนุ วายยงิ่ ข้ึน

3.2 การขาดอุดมการณแ ละอุดมคติ คําวา อุดมการณ หมายถงึ อดุ มคติอันสูงสงท่ีจูงใจมนุษยให
พยายามบรรลถุ ึง และ อุดมคติ หมายถงึ จนิ ตนาการทถ่ี อื วาเปนมาตรฐานแหงความดี ความงาม และความจริงใจ
ทางใดทางหน่ึงที่มนุษยถือวาเปนเปาหมายแหงชีวิตของตน คนที่มีอุดมการณหรืออุดมคติคอื คนทมี่ คี ณุ ธรรม
ความดี ผดิ กบั ผทู ไี่ มมอี ดุ มการณหรืออุดมคติทจี่ ะทาํ ทุกอยา งเพอื่ ใหตนไดรับประโยชนถึงแมวาการกระทําน้ัน
จะผดิ และไมถ ูกตองตามศีลธรรม ผูท่ีจะทํางานใหไดผลและประสบความสําเร็จจึงตองมีคุณธรรมที่สําคัญ 3
ประการ คือ ความกระตอื รอื รน ความบริสทุ ธิ์ใจ และความมีอุดมคติ อุดมการณหรืออุดมคติจึงมีความสําคัญ
ดงั น้ี

1) ทาํ หนา ท่เี ปนเปาหมายของชวี ิต
2) เปน พลงั ผลกั ดนั ใหพ ยายามทาํ งานจนไดร ับความสาํ เร็จและบรรลเุ ปาหมาย
3) ทําใหจิตใจมน่ั คงอยูใ นคุณธรรมความดีในการทาํ งานเพอ่ื สังคมและประโยชนสว นรวม
ผูท่ีมีอุดมคติจึงไดเปรียบกวาผูท่ีไมมีอุดมคติ เพราะการมีอุดมคติซึ่งเปรียบเสมือนแสงสวา ง
ท่นี ําทางใหไ ปสูจดุ หมายปลายทางได สวนผทู ี่ไมมีอุดมคติเหมือนคนที่ขาดแสงสวางเปนผูท่ีตกอยูในความมืด
คอื มใี จทม่ี ดื บอด เขาอาจจะมเี งนิ มีตําแหนงที่สูง มีอํานาจวาสนา แตเขาอาจจะไมมีความสุข ความผิดและ
ความชว่ั ท่เี ขาทาํ อาจจะเปนไฟที่เผาลนจิตใจของเขาใหรุมรอนเหมือนนรกที่อยูในใจ และเมื่อกรรมชั่วใหผล
เขาจะไดรบั ผลกรรมตามกรรมทเี่ ขาไดท ําไวอ ยา งแนนอน เหมอื นคนกินขนมหวานที่เจือดวยยาพิษ ตราบใดที่
ยาพษิ ยังไมใ หผ ล เขาก็จะไดร ับความหวานจากขนม
3.3 มีคานยิ มทผ่ี ิด ในปจจุบันคานิยมของสังคมไดเปล่ียนไปจากเดิม กอนน้ีเราเคยยกยองคนดี
คนทม่ี ีความซอ่ื สตั ยส ุจริต แตในปจ จุบนั เรากลบั ยกยอ งคนท่มี เี งนิ คนทเี่ ปนเศรษฐี มหาเศรษฐี คนที่มีตําแหนง
หนาที่การงานสูง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ไดพระราชทานพระบรมราโชวาท

52

เก่ียวกับความคดิ จติ ใจของคนที่เปลยี่ นแปลงไปในทางท่ีเสอื่ มมขี อความ ดังน้ี “ในบานเมืองเราทุกวันนี้มีเสียง
กลา วกนั วา ความคิดจติ ใจของคนเปล่ียนแปลงไปในทางที่เส่ือม ความประพฤติที่เปนความทุจริตหลายอยาง
มีทาทีจะกลายเปนสิ่งท่ีคนทั่วไปพากันยอมรับและสมยอมใหกระทาํ กันไดเปนธรรมดา สภาพการณเชนนี้
ยอมทาํ ใหวถิ ีชีวิตของแตล ะคนมดื มัวลงไป เปนปญหาใหญท่ีเหมือนกระแสคลื่นอันไหลเขามาทวมท่ัวไปหมด
จาํ เปนตอ งแกไขดวยการชว ยกันฝนคลื่นท่ีกลาวน้ันในการดําเนินชีวิตของเรา เราตองขมใจไมกระทําสิ่งใด ๆ
ที่เรารูผิดดวยใจจริงวาช่ัว วาเส่ือม เราตองฝนตองหามความคิดและความประพฤติทุกอยางที่รูสึกวาขัดกับ
ธรรมะ เราตอ งกลาและบากบน่ั ท่จี ะกระทาํ สงิ่ ทเ่ี ราทราบวาเปน ความดี เปนความถูกตอ งและเปนธรรม ถาเรา
ชวยกันทาํ เชนนี้ไดจริง ๆ ใหผลของความดีบังเกิดใหมากขึ้น ๆ ก็จะชวยคํ้าจุนสวนรวมไวมิใหเสื่อมลงไป
และจะชวยใหฟนคืนดีข้ึนเปนลําดับ” ผูที่มีคานิยมท่ีผิดเห็นวาการทุจริตเปนวิถีชีวิตเปนเรื่องปกติธรรมดา
เหน็ คนซอื่ เปน คนเซอ เหน็ คนโกงเปน คนฉลาด ยอ มจะทาํ การทุจริตฉอราษฎรบ ังหลวงโดยไมมคี วามละอายตอ
บญุ และบาป และไมเกรงกลัวตอกฎหมายของบานเมอื ง

3.4 ใชอ าํ นาจโดยไมเปนธรรม บุคคลใดท่ีมีอํานาจและมีความโลภเห็นแกเงินก็ยอมจะคอรรัปชัน
การมีอํานาจอยางเดียวจึงไมทําใหคนทุจริต แตการมีอํานาจโดยมีความโลภเห็นแกเงินจึงทําใหคนทุจริต
ฉอ ราษฎรบ งั หลวงได กรณตี วั อยา งขา ราชการที่มีอํานาจเปนจํานวนมากท่ีปฏิบัติหนาท่ีราชการรับใชแผนดิน
ดว ยความซื่อสตั ยส จุ รติ ไมมปี ระวตั ดิ า งพรอยในเรอ่ื งการทุจรติ อาทิ จอมพลเจาพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต)
เปนผบู ญั ชาการทหารบกคนแรกในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว ไดรับการยกยองวาเปน
ทหารเสอื หนักแนน มน่ั คง ถือความซ่ือสัตย ความกตัญูและความจงรักภักดีที่ซื่อตรงตอหนาท่ีโดยไมมีประวัติ
ดางพรอยในเรื่องใดท้ังสิ้น ทานไดปฏิบัติตามคําสอนของบิดาทาน คือ พระยาสุรศักดิ์มนตรี (แสง ชูโต)
อยางเครง ครดั คาํ สอนของบิดาทา นมี 3 ขอ ดงั นี้

1) ใหม คี วามซ่ือสัตยสจุ รติ รจู กั คุณบิดามารดา และญาตพิ ่นี อง ท้งั ผมู คี ุณทไ่ี ดอปุ การะมาแลว
2) เม่ือไดทาํ ความผิดสิ่งใดไมใหพดู ปดหรอื แกต ัวดว ยความเท็จ
3) ไมใหป ระพฤตติ นดวยการขมเหงและเบียดเบียนผูใ ดเปน อนั ขาด
จอมพลเจาพระยาสุรศักด์ิมนตรีไดทํางานใหราชการอยางเอาจริงเอาจังโดยเสียสละ
ทัง้ ชีวิตและเงินทอง เงินที่เบกิ จากหลวงไมไดทานก็ออกเงินสดใชเอง เชน ทานไดส่ังซ้ือเคร่ืองชั่งตวงวัดมาใช
ในราชการแตเบิกเงินไมได ทานก็ตองใชเงินสวนตัว เม่ือคราวไปหลวงพระบางเจานายลาวยืมเงินจากทานไป
ปลูกบา นท่ถี กู จนี ฮอ เผา เปนเงนิ 45,000 บาท ไดเจรจาขอเงินคืนก็ไมไดผล นอกจากน้ียังตองใชเงินซึ่งเปนหนี้
หนวยกองตาง ๆ ที่หยิบยืมคราวไปปราบฮอเปนเงิน 120,000 บาท ทานตองใชหน้ีเองทั้งสิ้น ทานไมไดคิด
กอบโกยเงนิ ทองของทางราชการแตอ ยา งใด ทานไดเขียนบันทกึ ในสมุดพกสวนตัวของทานไว ดังนี้ “เราไดทํา
ราชการทุกสิ่ง มไิ ดล ะทิง้ ใหร าชการทานเสยี ความสุขในตัวเรานัน้ หามไิ ดเลย วนั หนงึ่ 24 ช่ัวโมง เราก็ทําตลอด

53

เวนไวแ ตนอนหลับไปเทานัน้ ความจนก็เบยี ดเบียนเราเขา มาทกุ วนั เวลา อาหารจะเล้ียงพ่ีนองก็ไมคอยจะพอ
รับประทาน บานก็ไมพอกันอยู ถึงตัวเราจะไดรับความลําบากถึงเพียงน้ี เราก็ยังมีสันดานอันซื่อตรงอยูเสมอ
ที่เราทนไดก ็เพราะเรามีความกตญั ูตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและบิดามารดาของเราซ่ึงเปนผูมีพระเดช
พระคุณอนั ยง่ิ ใหญ”

3.5 มรี ายไดไ มพอกับรายจา ย สาเหตุอกี ประการของการทุจริต คือ การมรี ายไดไ มพ อกบั รายจา ย
ทาํ ใหตองเปน หนส้ี ิน เมือ่ ไมสามารถหาเงินไดโดยทางสุจริตก็ใชวิธีทุจริต กรณีตัวอยางสําหรับขาราชการที่มี
เงนิ เดือนและรายไดไมพอกบั รายจา ยของตนเองและครอบครัว จงึ ตอ งฉอราษฎรบังหลวง การฉอราษฎรบังหลวง
กโ็ ดยการเรยี กรอ งผลตอบแทนจากผูม ารับบริการหรือการรับสินบนเปนการโกงเงินประชาชน สวนการบังหลวง
คอื การทุจรติ เงนิ หลวง เชน ยกั ยอกเงินทจี่ ะตองสง ใหห ลวงหรือเบิกเงินเกินกวาที่มีสิทธิจะเบิกไดเปนการโกง
เงินแผนดนิ หรือแมแ ตผูท่ที าํ งานเอกชน ติดการพนนั หรอื มีการใชจ ายเงินเกนิ ฐานะ และยิง่ สถานการณของการ
แพรระบาดของบัตรเครดิตทําใหขาดสติ ยับย้ังช่ังใจ ใชจายเงินเกินตัว ทําใหมีหน้ีสินที่ไมสามารถนํามาคืน
หรือผอนสงได จึงเกิดความคิดช่ัววูบหรือความต้ังใจในการกอคดีตาง ๆ เชน การปลนรานทอง หรือบางราย
ไมมีทางออกในการแกไขปญหาใชวิธีการดับชีวิตตนเองเปนการแกไขปญหา เปนตน ส่ิงเหลานี้เกิดขึ้นจาก
ความอยากไดอยากมีอยากเปนท้ังส้ิน ฉะน้ัน การประพฤติปฏิบัติตนโดยการเดินตามรอยพระยุคลบาท และนํา
คุณธรรม 4 ประการตามพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ตรงกบั หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา เร่อื ง ฆราวาสธรรม เปนหลกั การครองชวี ิตของคฤหัสถ มี 4 ประการ คอื

1) สจั จะ ความซือ่ สัตย ซ่อื ตรง ความจริง คือ จรงิ ใจ พดู จรงิ ทาํ จรงิ
2) ทมะ การขม ใจ รูจ ักควบคมุ จติ ใจของตนเอง ปรบั ปรงุ ตนเองใหเจริญกาวหนาดวยสติปญญา
3) ขันติ ความอดทน อดกล้ัน ทํางานดว ยความขยนั หม่นั เพยี ร เขม แข็ง ไมห วนั่ ไหวไมท อ ถอย
4) จาคะ ความเสียสละ เสยี สละประโยชนส ว นตนเพื่อประโยชนส วนรวม สละความสุขสบาย
ของตนในการทําประโยชนเพอื่ สวนรวม เชน ไมเ หน็ แกต ัว พรอ มท่ีจะรวมมือชวยเหลือเอ้ือเฟอ เผ่ือแผ ไมคับ
แคบเหน็ แกตนหรอื เอาแตใจตัว
ดงั น้ัน ความซือ่ สัตยสุจรติ ของทุกคนในชาตจิ าํ เปนจะตอ งใหค วามรวมมือและใหกระบวนการ
มีสวนรวมของคนในสังคม ทงั้ น้ี สามารถแบง เปน 3 สว น คือ
1) ภาครัฐ ตองบรหิ ารทรัพยากรสังคมที่โปรงใส ซื่อตรง เปนธรรม มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
และสมรรถนะสงู ในการนาํ บรกิ ารของรฐั ที่มีคณุ ภาพไปสปู ระชาชน โดยเนนการเปล่ียนทัศนคติ คานิยม และ
วิธีทํางานของเจาหนาที่ของรัฐใหถือเอาประโยชนของประชาชนเปนจุดหมายในการทํางาน และสามารถ
รวมทํางานกับประชาชน และภาคเอกชนไดอ ยา งราบรืน่

54

2) ภาคธุรกิจเอกชน ตองสนับสนุนใหหนวยงานของเอกชน และองคกรเอกชนตาง ๆ

มีกติกาการทาํ งานทโี่ ปรง ใส มีความรับผดิ ชอบตอ ผูถอื หนุ ซ่ือตรงเปนธรรมตอลูกคา มีความรับผิดชอบตอสังคม

มีระบบตรวจสอบที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานการใหบริการรวมทํางานกับภาครัฐและประชาชนอยางราบรื่น

และไวว างใจซ่งึ กนั และกัน

3) ภาคประชาชน ตอ งสรา งความตระหนักตัง้ แตระดบั ปจเจกบุคคลถึงระดับกลุมประชาสังคม

ในเรื่องสทิ ธิหนา ท่แี ละความรับผดิ ชอบทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง เพ่ือเปนพลังของประเทศท่ีมีคุณภาพ

มีความรู ความเขาใจในหลักการของการสรางกลไกการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมทดี่ ี

การทุจริตคอรรัปชันอาจมาจากสาเหตุภายในหรือสาเหตุภายนอก โดยท่ีผูทุจริตสวนใหญ
จะขาดคุณธรรม อันไดแก ความซ่ือสัตยสุจริต ความละอายและความเกรงกลัวตอบาป ความกตัญูกตเวที
เปน ตน และอาจจะมีปจจยั อื่นท่กี อใหเ กิดการทจุ ริตได เชน

1. ปจ จยั สว นบคุ คล ไดแก พฤติกรรมสวนตัวของขา ราชการบางคนที่เปนคนโลภมาก เห็นแกได
ไมรจู ักพอ ความเคยชินของขาราชการท่ีคนุ เคยกบั การท่จี ะได “คาน้ํารอนน้ําชา” หรือ “เงินใตโตะ”จากผูมา
ติดตอ ราชการขาดจิตสาํ นกึ เพ่อื สว นรวม

2. ปจจยั ภายนอก ประกอบดว ย
2.1 ดา นเศรษฐกจิ ไดแ ก รายไดข องขา ราชการนอยหรือตา่ํ มากไมไดสัดสวนกบั การครองชพี

ทสี่ ูงขนึ้ การเตบิ โตของระบบทุนนิยมที่เนนการบริโภค สรางนิสัยการอยากได อยากมีเมื่อรายไดไมเพียงพอ
ก็ตอ งหาทางใชอ ํานาจไปในทางทุจรติ

2.2 ดานสงั คม เปนผลจากการเปล่ียนแปลงทางดานเศรษฐกิจ และสังคมทําใหเกิดความ
ไมเทาเทยี มกัน คา นยิ มของสังคมท่ียกยอ งคนมีเงนิ คนราํ่ รวย และไมส นใจวาเงินนนั้ ไดมาอยา งไรเกิดลทั ธิ
เอาอยาง อยากไดสิง่ ท่ีคนรวยมี เมือ่ เงนิ เดอื นของตนไมเพียงพอกห็ าโดยวิธีมชิ อบ

2.3 ดานวัฒนธรรม ไดแก การนิยมจา ยเงนิ ของนักธุรกิจใหกับขาราชการที่ตองการความสะดวก
รวดเรว็ หรอื การบรกิ ารท่ดี ีกวาดวยการลดตนทนุ ที่จะตอ งปฏิบัตติ ามระเบียบ

2.4 ดา นการเมือง ไดแก การทุจริตของขาราชการแยกไมออกจากนักการเมืองการรวมมือ
ของคนสองกลมุ นี้เกดิ ขน้ึ ไดใ นประเด็นการใชจายเงิน การหารายได และการตัดสินพิจารณาโครงการของรัฐ

2.5 ดานระบบราชการ ไดแ ก
2.5.1 ความบกพรองในการบริหารงานเปดโอกาสใหเกิดการทจุ ริต
2.5.2 การใชดุลพินิจมากและการผูกขาดอํานาจจะทําใหอัตราการทุจริตในหนวยงานสูง

การใชอํานาจโดยไมเปนธรรมและมคี วามโลภเหน็ แกเงิน
2.5.3 เนือ่ งจากข้นั ตอนของระเบยี บราชการมมี ากเกนิ ไป ทาํ ใหผ ูที่ไปตดิ ตอ ราชการจะตอง

เสยี เวลามากจงึ เกิดการสมยอมกนั ระหวา งผูใ หกับผรู บั
2.5.4 การตกอยใู ตสภาวะแวดลอ มและอิทธิพลของผูทุจริตมีทางเปนไปไดท่ีผูนั้นจะทํา

การทจุ ริตดวย

55

2.5.5 การรวมอํานาจ ระบบราชการมีลักษณะท่ีรวมศูนย ทําใหไมมีระบบตรวจสอบ
ทเี่ ปน จรงิ และมปี ระสทิ ธิภาพ

2.5.6 ตําแหนงหนาท่ีในลักษณะอํานวยตอการกระทําผิด เชน อํานาจในการอนุญาต
การอนุมัตจิ ัดซอ้ื จัดจา ง ผูประกอบการเอกชนมักจะยอมเสียเงินติดสินบนเจาหนาท่ี เพ่ือใหเกิดความสะดวก
และรวดเรว็

2.5.7 การที่ขาราชการผูใหญทุจริตใหเห็นเปนตัวอยางแลวไมถูกลงโทษขาราชการ
ช้ันผูนอยจึงเลียนแบบกลายเปนความเคยชิน และมองไมเห็นวาการกระทําเหลาน้ันจะเปนการคอรรัปชัน
หรอื มีความสบั สนระหวางสินนาํ้ ใจกับคอรร ัปชนั แยกออกจากกัน

2.6 กฎหมายและระเบยี บ ไดแก
2.6.1 กฎหมายหลายฉบับทีใ่ ชอ ยยู งั มี “ชองโหว” ที่ทาํ ใหเ กดิ การทุจริตท่ดี าํ รงอยูไ ด
2.6.2 การทุจริตไมไดเปนอาชญากรรมใหคูกรณีทั้งสองฝาย หาพยานหลักฐานไดยาก

ยง่ิ กวา นน้ั คกู รณที งั้ สองฝา ยมกั ไมคอยมีฝายใดยอมเปดเผยออกมา และถา หากมีฝา ยใดตองการทีจ่ ะเปดเผย
ความจรงิ ในเร่อื งน้ี กฎหมายหมน่ิ ประมาทก็ยับยั้งเอาไว อีกทั้งกฎหมายของทุกประเทศเอาผิดกับบุคคลผูให
สินบนเทา ๆ กบั ผูรบั สนิ บน จึงไมค อ ยมีผูใหสนิ บนรายใดกลา ดําเนินคดีกบั ผูร บั สินบน

2.6.3 ราษฎรที่รูเห็นการทุจริตก็เปนโจทกฟองรองมิได เน่ืองจากไมใชผูเสียหาย
ย่งิ กวานน้ั กระบวนการพจิ ารณาพพิ ากษายงั ยุงยากซบั ซอนจนกลายเปน ผลดแี กผ ทู ุจริต

2.6.4 ข้ันตอนทางกฎหมายหรอื ระเบียบปฏิบัติยุงยาก ซับซอน มีขั้นตอนมาก ทําใหเกิด
ชอ งทางใหข าราชการหาประโยชนไ ด

2.7 การตรวจสอบ ไดแ ก
2.7.1 ภาคประชาชนขาดความเขมแข็ง ทําใหกระบวนการตอตานการทุจริตจากฝาย

ประชาชนไมเ ขมแข็งเทา ทีค่ วร
2.7.2 การขาดการควบคมุ ตรวจสอบ ของหนว ยงานที่มหี นา ทตี่ รวจสอบหรือกํากับดูแล

อยา งจริงจงั
2.8 สาเหตอุ ่ืน ๆ
2.8.1 อิทธพิ ลของผูใกลช ดิ เนอ่ื งจากผใู กลช ิดเปน ตวั การสาํ คัญที่สนบั สนนุ และสงเสริม

ใหผ ูม ีอิทธพิ ลทาํ การทุจรติ เพ่อื ความเปน อยขู องครอบครัว
2.8.2 การพนนั ทาํ ใหขา ราชการทีเ่ สียพนนั มีแนวโนม จะทุจริตมากข้นึ

56

4. ระดับการทุจรติ ในประเทศไทย
ผลสํารวจเกี่ยวกับสถานการณดานปญหาคอรรัปชันประจําป 2560 ซึ่งจัดทําโดยองคกร

เพอื่ ความโปรงใส Transparency International ท่ตี ้งั อยใู นเยอรมนี ชี้วา ประเทศพัฒนาแลวหลายประเทศ
ยังคงประสบปญหาในการปราบปรามคอรรัปชัน รวมทั้ง ออสเตรเลีย และ สหรัฐฯซ่ึงอยูท่ีอันดับ 13 และ 16
ตามลาํ ดับ สาํ หรับประเทศไทยจดั ใหอ ยูที่อันดบั 96 ของโลกสว นระดับการทุจริตในประเทศไทยแบง ออกเปน

4.1 การทุจริตระดบั ชาติ เปนรูปแบบการทจุ ริตของนักการเมืองท่ใี ชอ าํ นาจในการบรหิ ารราชการ
รวมถงึ อาํ นาจนติ ิบญั ญตั ิ เปน เคร่อื งมอื ในการออกกฎหมาย แกไขกฎหมาย การออกนโยบายตาง ๆ โดยการ
อาศยั ชองวางทางกฎหมาย

4.2 การทุจริตในระดับทองถ่ิน การบริหารราชการในรูปแบบทองถิ่นเปนการกระจายอํานาจเพื่อให
บริการตาง ๆ ของรฐั สามารถตอบสนองตอ ความตองการของประชาชนไดม ากข้นึ แตการดําเนินการในรปู แบบของ
ทองถิ่นก็กอใหเกิดปญหาการทุจริตเปนจํานวนมาก ผูบริหารทองถ่ินจะเปนนักการเมืองที่อยูในทองถิ่นน้ัน
หรือนกั ธุรกจิ ทป่ี รบั บทบาทตนเองมาเปนนกั การเมอื ง และเมื่อเปนนักการเมืองเปน ผบู รหิ ารทอ งถ่ินแลวก็เปน
โอกาสในการแสวงหาผลประโยชนสาํ หรับตนเองและพวกพองได

การทุจริตระดับชาติและระดับทองถ่ินสวนใหญมักจะมีรูปแบบการทุจริตที่คลายกัน เชน
การจดั ซอ้ื จัดจา ง การประมูล การซ้ือขายตําแหนง โดยเฉพาะในระดับทอ งถน่ิ ทีม่ ีขา วจาํ นวนมากเกย่ี วกบั ผบู รหิ าร
ทองถน่ิ เรียกรบั ผลประโยชนในการปรับเปล่ียนตําแหนง หรือเลื่อนตําแหนง เปนตน โดยการทุจริตท่ีเกิดข้ึน
อาจจะไมใชการทุจรติ ที่เปนตัวเงินใหเห็นไดช ดั เจนเทา ใด แตจะแฝงตวั อยใู นรูปแบบตาง ๆ หากไมพิจารณาใหดีแลว
อาจมองไดวาการกระทําดังกลาวไมใชการทุจริต แตแทจริงแลวการกระทํานั้นเปนการทุจริตอยางหนึ่ง และ
รา ยแรงมากพอทจี่ ะสง ผลกระทบ และกอใหเกิดความเสียหายตอสังคม ประเทศชาติไดเชนกัน การประเมิน
ผลการปฏิบตั งิ าน ซง่ึ ผูบงั คบั บัญชาใหค ะแนนประเมินพเิ ศษแกลกู นองทตี่ นเองชอบ ทําใหไดรับเงินเดือนในอัตรา
ทส่ี งู กวา ความเปน จรงิ ทบ่ี คุ คลนน้ั ควรจะไดร ับ เปนตน การกระทาํ ดังกลาวถือเปนความผิดทางวินัย ซ่ึงเจาหนาที่
ของรัฐจะมีบทบัญญัติเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนใหยึดถือปฏิบัติอยูแลว ซ่ึงหากเกิดกรณี
ดงั กลา วข้นึ เทากับวา เปนการกระทําที่ทจุ ริตและประพฤตผิ ดิ ประมวลจรยิ ธรรมอีกดวย

5. สถานการณก ารทจุ รติ ของโลก
องคกรความโปรงใสนานาชาติ (Transparency International: TI) ไดเผยแพรรายงาน

ผลการจดั อันดบั ความโปรง ใส สถานการณคอรรปั ชันจากทั่วทุกมมุ โลกในป 2018 ท่ี ผานมา พรอมคาคะแนน
ดัชนีการรับรูการทุจริต (Corruption Perception Index) ผลการจัดอันดับความโปรงใสสถานการณ
คอรรัปชันสะทอนใหเห็นวาความพยายามการตอตานคอรรัปชันในประเทศสวนใหญลมเหลวจึงสงผลตอ
วกิ ฤตปิ ระชาธปิ ไตยท่ัวโลก การจัดอันดับความโปรงใสสถานการณค อรรปั ชนั ในป 2561 ไดจ ากการสํารวจถงึ

57

13 ครงั้ และสอบถามผูเชี่ยวชาญในการประเมินการคอรรัปชันในภาครัฐใน 180 ประเทศและเขตการปกครอง
ทั่วโลก โดยใหคะแนนต้ังแต 0 ถึง 100 คะแนน โดยผลการจัดอันดับความโปรงใสสถานการณคอรรัปชัน
พบวา 2 ใน 3 ของประเทศท้ังหมดมีคะแนนต่ํากวา 50 คะแนน โดยมีคะแนนเฉล่ีย 43 คะแนนเทาน้ันและ
ยังคงมี 7 ประเทศทม่ี ีคะแนนสูงสุดอันดับแรกเปน เวลา 3 ปติดตอกัน ประกอบดวย ประเทศจากกลุมนอรดิก
อีก 4 ประเทศ คือเดนมารก ฟน แลนด สวเี ดน และนอรเวย ท่ีเหลือคือ นิวซีแลนด สิงคโปร และสวิตเซอรแลนด
มีคะแนนระหวาง 84 - 88 คะแนน แมไมมีประเทศไหนที่ไดคะแนนเต็ม แตก็มีตัวชี้วัดความเปนประชาธิปไตย
หลายตวั ท่มี ผี ลตอคะแนน เชน มีสถาบันทเี่ ขม แข็ง ยดึ หลกั นิติธรรม และมีการพัฒนาเศรษฐกิจท่ดี ี

การวิเคราะหการจดั อนั ดบั ความโปรงใสพบวา คอรร ัปชนั มผี ลตอวิกฤตปิ ระชาธิปไตยประเทศที่มี
ประชาธปิ ไตยเต็มใบ มคี ะแนนเฉล่ีย 75 คะแนน ประเทศท่ีประชาธิปไตยครึ่งใบ มีคะแนนเฉล่ีย 49 คะแนน
สวนประเทศท่ีมีการปกครองระบบอบผสมผสาน มีคะแนนเฉลีย่ 35 คะแนน สวนประเทศเผด็จการมีคะแนน
เฉลย่ี 30 คะแนน ตวั อยา งที่เห็นไดชัดวาคอรรัปชันมีผลตอวิกฤติประชาธิปไตย คือ ประเทศฮังการีและตุรกี
ทีค่ ะแนนลดลง 8 และ 9 คะแนนตามลําดับในรอบ 5 ปที่ผานมา ขณะเดียวกัน ตุรกีถูกลดชั้นการจัดอันดับ
จากมีอิสระสวนหนึ่ง (partly free) เปนไมมีอิสระ (no free) สวนฮังการีนับเปนการไดคะแนนตํ่าสุด
นับต้ังแตก ารลมสลายของระบอบคอมมวิ นิสต สหรัฐฯ มีคะแนน 71 คะแนน ลดลง 4 คะแนน นบั ตง้ั แตปกอน
และหลุดออกจาก 20 ประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเปนคร้ังแรก ซึ่งเปนผลจากระบบการตรวจสอบกําลังส่ันคลอน
รวมทงั้ มาตรฐานทางจริยธรรมของผูมีอํานาจสูงสุดตกตํ่าบราซิลมีคะแนน 35 ซึ่งลดลงต้ังแตปกอน และเปนระดับ
ตาํ่ สดุ ในรอบ 7 ป ซ่งึ การจัดอนั ดับทลี่ ดลง แสดงใหเห็นวาหลักนิติธรรมและสถาบันประชาธิปไตยออนแอลง
รวมทงั้ พ้ืนที่ของภาคประชาสงั คมและของสอื่ อิสระกล็ ดลงอยา งรวดเร็วในประเทศเหลา นี้ โดยทว่ั ไปประเทศทมี่ ี
คอรรปั ชันสงู เปนสถานท่ีที่อันตรายตอฝายการเมืองที่อยูตรงขาม และมักมีการสั่งเก็บทางการเมืองจากรัฐบาล
โดยตรง

แพตทรเิ ซีย โมเรรา กรรมการผจู ัดการองคก รความโปรงใสสากล ใหค วามเห็นวา สถาบันประชาธิปไตย
ท่ัวโลกถูกคุกคาม ซึ่งมักมาจากผูนําท่ีมีอํานาจหรือไดรับความนิยม เราจึงตองเพิ่มความพยายามใหมากขึ้น
ในการสรางความเขม แข็งของระบบคานอาํ นาจและตรวจสอบ รวมทงั้ คมุ ครองสทิ ธขิ องประชาชน

นอกจากนี้ คอรรัปชันทําใหประชาธิปไตยออนแอลงและสรางวงจรอุบาทวซึ่งคอรรัปชัน
จะทําลายสถาบันประชาธิปไตย ทาํ ใหสถาบนั ทีอ่ อ นแอไมส ามารถควบคุมการคอรร ัปชันได

สําหรับประเทศไทยได 36 คะแนน ติดอันดับ 99 จากปกอนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก นิวซีแลนด
มีคะแนนสูงสุดที่ 87 คะแนน เปนประเทศอันดับหนึ่งของภูมิภาคและอันดับสองของโลกที่เดินหนาแกไข
คอรรปั ชนั รองลงมาคือ สิงคโปร ทีม่ คี ะแนน 85 คะแนน และออสเตรเลียที่มีคะแนน 77 คะแนนประเทศท่ีมี
คะแนนต่าํ คือ เกาหลีเหนือ 14 คะแนน เพราะมีการคอรรัปชันกันทั่วประเทศ ตามมาดวยอัฟกานิสถาน

58

16 คะแนน และกัมพูชา 20 คะแนน กลายเปนประเทศท่ีมีการแกไขคอรรัปชันนอยท่ีสุดในภูมิภาคเอเชีย
แปซิฟกมีคะแนนเฉลี่ย 44 ติดตอกันเปนเวลา 3 ป เพราะมีความคืบหนานอยในการแกไขปญหาคอรรัปชัน
และเมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่นแลวเอเชียแปซิฟกอยูในระดับเดียวกับกลุมอเมริกาที่มีคะแนนเฉลี่ย
44 คะแนนเทากัน ที่ไมมีความคืบหนา และตามหลังยุโรปตะวันตกกับสหภาพยุโรปที่มีคะแนนเฉลี่ย
66 คะแนน สาเหตุท่ีเอเชียแปซิฟกมีความคืบหนานอยในการแกไขปญหาคอรรัปชัน คือ สถาบันประชาธิปไตย
และการคุมครองทางการเมืองโดยรวมออนแอ เมื่อดูนิวซีแลนดและออสเตรเลียท่ีมีคะแนนนําพบวามีระบบ
การเมืองที่ทาํ งานอยา งเขม แข็ง ชว ยใหม ีคะแนนสูง อยา งไรก็ตาม มีบางประเทศในภูมิภาค เชน สิงคโปร ฮองกง
ทมี่ ีการควบคมุ การคอรรปั ชันทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ แมโดยรวมแลว ไมเ ปน ประชาธปิ ไตย

สําหรับประเทศที่ตองจับตา เพราะมีการพัฒนาทางการเมืองที่ดีขึ้น ไดแก มาเลเซียที่ได
คะแนน 47 คะแนน มัลดีฟส 31 คะแนน ปากีสถาน 33 คะแนน และอินเดีย 41 คะแนน เปนผลจากการ
รวมพลังของประชาชนในการตอตานคอรรัปชันและการมีสวนรวมทางการเมือง และการลงคะแนนใหกับ
รัฐบาลใหม ซึ่งจะมผี ลใหม กี ารปฏริ ปู การแกไ ขคอรรปั ชันอยางตอ เน่อื ง อยางไรกต็ าม ยังไมเ ห็นผลท่ชี ัดเจน

องคกรความโปรงสากลเสนอแนะวา เพ่ือใหมีความคืบหนาในการแกไขคอรรัปชันและเสริมสราง
ประชาธิปไตยใหเ ขมแขง็ ท่วั โลก รฐั บาลควรดาํ เนินการตอไปนี้ คอื

5.1 เสริมความเขมแข็งของสถาบันในการตรวจสอบและถวงดุลอํานาจทางการเมือง และ
ปฏบิ ัตงิ านอยา งไมมขี อ จํากัด

5.2 ปดชองวางระหวา งกฎหมายการตอ ตานคอรรัปชนั ในการปฏบิ ัติงานและการบงั คับใช
5.3 สนบั สนุนองคกรภาคประชาสังคม ดว ยการย้ําความสัมพันธทางการเมืองและสาธารณะใน
การตรวจสอบการใชจา ยของรัฐ โดยเฉพาะระดบั ทองถนิ่
5.4 สนบั สนุนอิสรภาพของสือ่ และดูแลความปลอดภัยของสอื่ โดยไมมีการขม ขคู กุ คาม
6. ผลกระทบของการทจุ ริตตอการพฒั นาประเทศ
การทจุ ริตมีผลกระทบตอ การพัฒนาประเทศในทุก ๆ ดานเปนพื้นฐานท่ีกอใหเกิดความขัดแยง
ของคนในชาติ จากการเห็นประโยชนสวนตนมากกวาประโยชนของประเทศ ประชาชนไดรับบริการสาธารณะ
หรือสิง่ อํานวยความสะดวกไมเตม็ ทีอ่ ยา งท่คี วรจะเปน เงินภาษีของประชาชนตกไปอยูในกระเปาของผูทุจริต
และผลกระทบอนื่ ๆ อกี มากมาย นอกจากน้ีแลว หากพิจารณาในแงการลงทุนจากตางประเทศเพ่ือประกอบ
กิจการตาง ๆ ภายในประเทศ พบวา นักลงทุนตางประเทศจะมองวาการทุจริตถือวาเปนตนทุนอยางหน่ึง
ซงึ่ นักลงทุนจากตางประเทศจะใชเปนการพิจารณาการลงทุนประกอบกับปจจัยดานอื่น ๆ ทั้งน้ี หากตนทุน
ที่ตองเสียจากการทจุ ริตมตี น ทุนท่ีสงู นกั ลงทุนจากตางประเทศอาจพิจารณาตดั สนิ ใจการลงทุนไปยังประเทศอื่น

59

สงผลใหการจางงานการสรางรายไดใหแ กป ระชาชนลดลง เมื่อประชาชนมีรายไดลดลงกจ็ ะสงผลตอ การจดั เกบ็
ภาษอี ากรซ่งึ เปนรายไดข องรฐั ลดลง จงึ สงผลตอการจดั สรรงบประมาณและการพฒั นาประเทศ

มหาวิทยาลัยหอการคาไทยไดสํารวจดัชนีสถานการณคอรรัปชันไทยจากกลุมตัวอยาง 2,400
ตัวอยาง จากประชาชนทั่วไป ผูประกอบการภาคเอกชน และขาราชการ/ภาครัฐ เมื่อเดือนมิถุนายน 2559
พบวา หากเปรยี บเทียบความรุนแรงของปญหาการทุจริตในปจจุบันกับปท่ีผานมา พบวา ผูท่ีตอบวารุนแรง
เพิม่ ข้นึ มี 38% รุนแรงเทาเดมิ 30% สวนสาเหตุการทุจริตอนั ดบั หน่ึง คือ กฎหมายเปดโอกาสใหเจาหนาท่ีใช
ดลุ พินิจที่เอ้ือตอการทุจริต อันดับสอง ความไมเขมงวดของการบังคับใชกฎหมาย อันดับสาม กระบวนการ
ทางการเมืองขาดความโปรงใส ตรวจสอบไดยาก สวนรูปแบบการทุจริตที่เกิดข้ึนบอยท่ีสุด อันดับหนึ่ง คือ
การใหสินบน ของกํานัล หรือรางวัล อันดับสอง คือ การใชชองโหวทางกฎหมายเพื่อแสวงหาประโยชนสวนตัว
และอนั ดบั สาม คอื การใชตาํ แหนง ทางการเมืองเพือ่ เออ้ื ประโยชนแกพ รรคพวก

สําหรับความเสียหายจากการทุจริตโดยการประเมินจากงบประมาณรายจายป 2559 ท่ี 2.72
ลานลานบาทวา แมจะมีการจายเงินใตโตะ แตอัตราการจายอยูที่เฉลี่ย 1 – 15% โดยหากจายที่ 5%
ความเสียหายจะอยูที่ 59,610 ลานบาท หรือ 2.19% ของงบประมาณ และมีผลทําใหอัตราการเติบโต
ทางเศรษฐกิจลดลง 0.42% แตหากจายที่ 15% คิดเปนความเสียหาย 178,830 ลานบาท หรือ 6.57%
ของเงนิ งบประมาณ และมีผลทาํ ใหเศรษฐกิจลดลง 1.27% โดยการลดการเรียกเงินสินบนลงทุก ๆ 1% จะทําให
มลู คาความเสยี หายจากการทจุ รติ ลดลง 10,000 ลานบาท

ในการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ ของประเทศไทยจะมีหนวยงานหลักท่ดี าํ เนินการปองกนั
และปราบปรามการทุจรติ คือ สาํ นักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (สํานักงาน
ป.ป.ช.)

นอกจากน้ยี ังมีหนวยงานอน่ื ทมี่ ภี ารกจิ ในลกั ษณะเดียวกันหรอื ใกลเ คยี งกับสาํ นักงาน ป.ป.ช. เชน
สาํ นกั งานการตรวจเงินแผนดนิ สํานกั งานผตู รวจการแผนดนิ สํานกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปราม
การทุจริตในภาครฐั นอกจากน้ียังมหี นว ยงานภาคเอกชนทใี่ หค วามรวมมือในการปองกันและปราบปรามการ
ทจุ รติ อีกหลายหนว ยงาน และสาํ หรับหนว ยงานภาครัฐในปจจบุ นั ประเทศไทยไดมีการประกาศใชยุทธศาสตร
ชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) เพื่อเปนมาตรการ
แนวทางการดําเนินงานท้ังของภาครัฐและภาคเอกชน

7. ทิศทางการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ
ประเทศไทยไดมคี วามพยายามในการแกไขปญหาการทจุ ริตมาอยา งตอเนอื่ ง โดยอาศัยความรวมมือ

ทงั้ หนวยงานของรัฐ หนวยงานของเอกชน และภาคประชาชนในการรวมมือปองกนั และปราบปรามการทุจริต
รวมถึงไดมีการออกกฎหมายลงโทษผูท่ีกระทําความผิด มีการจัดตั้งศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ

60

เพือ่ ทาํ หนาที่ในการดําเนินคดีกับบุคคลที่ทําการทุจริต นอกจากนี้ยังไดมีการกําหนดยุทธศาสตรชาติวาดวย
การปองกันและปราบปรามการทุจริต ซึ่งฉบับปจจุบันเปนฉบับท่ี 3 มีกําหนดใชตั้งแต พ.ศ. 2560 – 2564
โดยมีวิสัยทัศนวา “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติตานทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand)
และมพี ันธกจิ คือ สรางวัฒนธรรมตอ ตา นการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคสวน
แบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการปองกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบใหม ีมาตรฐานสากล
โดยมรี ายละเอียดยุทธศาสตรช าตวิ า ดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี 3(พ.ศ. 2560 – 2564)
ดังน้ี

ยุทธศาสตรชาติฯ ระยะที่ 3 ประกอบดวยยุทธศาสตร จํานวน 6 ยุทธศาสตร เปนการ
ดําเนนิ การปองกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ต้งั แตการปองกันการทุจริตโดยใชกระบวนการปลูกฝง
คุณธรรมจริยธรรม ผานกิจกรรมและการเรียนการสอน รวมถึงการปองกันการทุจริตเชิงระบบ นอกจากนี้
รวมไปถึงการดําเนนิ การในสว นการตรวจสอบทรพั ยสนิ ที่เปนการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและ
หน้ีสินของเจาหนาที่ของรฐั วา จะมแี นวทางในการดําเนินงานอยางไร และดานการปราบปรามการทุจริต เพอ่ื ให
การดาํ เนินการดานปราบปรามการทุจริตมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเปนการยกระดับคา CPI ใหได
คะแนน 50 คะแนน ตามทีต่ ัง้ เปา หมายไว โดยมีรายละเอียดแตละยทุ ธศาสตร ดังน้ี

ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 : สรางสังคมท่ีไมทนตอการทุจริต มีวัตถุประสงคในการปรับฐานความคิด
ทกุ ชวงวัยใหมีคานิยมรว มตานทุจริต มีจิตสาํ นกึ สาธารณะและสามารถแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตน
และผลประโยชนสว นรวม และสรางกระบวนการกลอมเกลาทางสังคมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต
อยางเปนระบบ รวมถึงการบรู ณาการและเสริมพลังการมีสวนรวมของทกุ ภาคสวนในการผลักดันใหเกิดสังคม
ทไ่ี มท นตอ การทุจริต

ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 : ยกระดับเจตจํานงทางการเมืองในการตอตานการทุจริต มีวัตถุประสงค
เพอ่ื ใหเ จตจาํ นงทางการเมืองในการตอตานการทจุ รติ ของประชาชนไดรับการปฏิบัติใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม
และเพอื่ รกั ษาเจตจํานงทางการเมอื งในการแกไ ขปญ หาการทจุ รติ ใหเ ปน สว นหนงึ่ ของนโยบายรฐั บาลในแตละชวง

ยุทธศาสตรที่ 3 : สกัดก้ันการทุจริตเชิงนโยบาย มีวัตถุประสงคเพื่อใหกระบวนการ นโยบาย
เปนไปตามหลักธรรมาภิบาล สามารถกระจายผลประโยชนสูประชาชนอยางเปนธรรม และไมมีลักษณะ
ของการขดั กนั แหง ผลประโยชนและเพอ่ื แกไขปญหาการทจุ รติ เชิงนโยบายทกุ ระดับ

ยุทธศาสตรท ี่ 4 : พัฒนาระบบปองกันการทุจริตเชิงรุก มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนากลไกการ
ปองกันการทุจริตใหเทาทันตอสถานการณการทุจริต พัฒนากระบวนการทํางานดานการปองกันการทุจริตให
สามารถปองกันการทุจริตใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหเกิดความเขมแข็งในการบูรณาการการทํางานระหวาง
องคกรท่ีเกี่ยวขอ งกบั การปอ งกนั การทุจรติ และเปน การปอ งกันไมใ หมีการทุจรติ เกิดข้ึนในอนาคต

61

ยทุ ธศาสตรท่ี 5: ปฏิรปู กลไกและกระบวนการปราบปรามการทจุ ริต มีวัตถปุ ระสงค เพ่ือปรับปรุง
และพฒั นากลไกและกระบวนการปราบปรามการทุจรติ ใหม คี วามรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และเทาทันตอพลวัตของ
การทจุ ริตการตรากฎหมาย และปรับปรุงกฎหมายใหกระบวนการปราบปรามการทุจริตมีประสิทธิภาพบูรณาการ
กระบวนการปราบปรามการทุจรติ ของหนว ยงานท่ีเกยี่ วของทง้ั ระบบ และเพือ่ ใหผ กู ระทาํ ความผดิ ถกู ดาํ เนนิ คดี
และลงโทษอยา งเปน รปู ธรรมและเทา ทันตอสถานการณ

ยทุ ธศาสตรที่ 6 : ยกระดับคะแนนดชั นีการรับรูก ารทุจรติ มวี ตั ถุประสงคเพ่ือยกระดับคะแนน
ดัชนกี ารรบั รกู ารทุจริตของประเทศไทยใหมีระดับรอยละ 50 ขึน้ ไป เปนเปาหมายที่ตองการยกระดับคะแนน
ใหมีคาสูงข้ึน หากไดรับคะแนนมากจะหมายถึงการท่ีประเทศนั้นมีการทุจริตนอย ดังน้ัน ยุทธศาสตร
ที่ 6 น้ี จึงถอื เปน เปาหมายสําคัญในการทจี่ ะตองมงุ มน่ั ในการดาํ เนินการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต

8. กรณตี ัวอยางผลทีเ่ กดิ จากการทจุ ริต
องคก ารบรหิ ารสว นตําบลแหง หน่ึง ไดจางเหมาใหสรางระบบประปาหมูบาน ในราคา 400,000 บาท

โดยมีบริษทั แหงหนงึ่ เสนอราคาตํา่ สดุ เปนผูไดร บั เลอื กใหกอ สรางดงั กลา ว องคก ารบริหารสว นตําบล ไดม คี ําสั่ง
แตงตั้งคณะกรรมการตรวจการจาง มีนาย ก. ประธานคณะกรรมการ นาย ข. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล
เปนกรรมการ และมีผูแทนประชาคมหมูบานอีก 2 คน เปนกรรมการรวม โดยมี นาย ค. หัวหนาสวนโยธา
เปน ผคู วบคมุ งานกอ สราง ซ่ึง นาย ก. นาย ข. และ นาย ค. ไดรวมกันเรียกรับเงินจากบริษัทดังกลาว จํานวน
10 เปอรเซ็นต ของวงเงนิ คาจางกอสราง ประมาณ 40,000 บาท บริษทั ไดขอตอรองเหลือ 20,000 บาท และ
ไดแ จง ความกับเจา หนาที่ตํารวจใหว างแผนจับกุม นาย ก. พรอ มคณะ ไดพรอ มของกลาง เปนเงินสด 20,000 บาท
การเรียกรบั เงนิ เปอรเซ็นตจ ากคา จา ง เปน การคอรรัปชนั อยางหนงึ่ ในวงการราชการ

62

กจิ กรรม

คาํ ชี้แจง ใหค รู กศน. และผูเ รียน รว มกันสนทนา อภิปราย และยกตวั อยาง เพื่อใหผ ูเรยี นสามารถอธบิ าย
รายละเอยี ดตาง ๆ ของการทจุ รติ ได

63

เร่อื งที่ 2 ความละอายและความไมทนตอ การทุจรติ

การสรา งสงั คมทีไ่ มท นตอ การทุจริต เปน การปรับเปลย่ี นสภาพสังคมใหเกิดภาวะ “ที่ไมทนตอการทุจริต”
โดยเร่มิ ตั้งแตกระบวนการกลอ มเกลาทางสงั คมในทุกชว งวยั เพื่อสรางวัฒนธรรมตอ ตา นการทจุ รติ และปลูกฝง
ความพอเพยี ง มวี นิ ยั ซื่อสัตยสุจรติ ความเปนพลเมอื งดี มีจติ สาธารณะ ผานทางสถาบันหรือกลุมตัวแทนที่ทํา
หนา ที่ในการกลอมเกลาทางสังคม เพอื่ ใหเด็ก เยาวชน ผูใหญเกิดพฤติกรรมท่ีละอายตอการกระทําความผิด
การไมยอมรับและตอ ตา นการทจุ ริตทกุ รูปแบบ

1. ความหมายของความละอายและความไมทนตอ การทุจรติ (Anti - Corruption)
คําวา ละอาย หมายถงึ การรสู ึกอายที่จะทําในส่ิงทไ่ี มถกู ไมควร
ความละอาย เปนความรูสึกอายที่จะทําในสิ่งท่ีไมถูกตอง และเกรงกลัวตอส่ิงท่ีไมดี ไมถูกตอง

ไมเ หมาะสม เพราะเห็นถงึ โทษหรือผลกระทบทีจ่ ะไดรบั จากการกระทํานั้น จึงไมก ลาท่จี ะกระทํา ทําใหตนเอง
ไมห ลงทาํ ในสิ่งทผ่ี ิด นน่ั คอื มคี วามละอายใจ ละอายตอ การกระทําผดิ

คําวา ทน หมายถึง การอดกล้ันได ทนอยูได เชน ทนดา ทนทุกข ทนหนาว ไมแตกหัก หรือ
บบุ สลายงาย

ความอดทน หมายถึง การรูจักรอคอยและคาดหวัง เปนการแสดงใหเห็นถึงความม่ันคง แนวแน
ตอส่งิ ทรี่ อคอย หรอื ส่งิ ทจ่ี ูงใจใหกระทาํ ในส่งิ ท่ีไมด ี

ไมท น หมายถึง ไมอ ดกลน้ั ไมอ ดทน ไมย อม ดงั น้นั ความไมท น หมายถึง การแสดงออกตอการ
กระทําท่ีเกิดข้ึนกับตนเอง บุคคลที่เก่ียวของหรือสังคม ในลักษณะท่ีไมยินยอม ไมยอมรับในส่ิงท่ีเกิดขึ้น
ความไมท นสามารถแสดงออกไดห ลายลกั ษณะทงั้ ในรูปแบบของกรยิ า ทา ทาง หรอื คาํ พดู

ความไมทนตอการทุจริตหรือการกระทําที่ไมถูกตอง ตองมีการแสดงออกอยางใดอยางหนึ่ง
เกิดขึ้น เชน การแซงควิ เพื่อซอื้ ของ การแซงควิ เปน การกระทาํ ทไ่ี มถ ูกตอง ผูถูกแซงคิวจึงตองแสดงออกใหผูที่
แซงควิ รบั รวู า ตนเองไมพอใจ โดยแสดงกิริยาหรือบอกกลาวใหทราบ เพื่อใหผูที่แซงคิวยอมที่จะตอทายแถว
กรณนี แี้ สดงใหเหน็ วาผทู ถี่ ูกแซงควิ ไมทนตอ การกระทําท่ีไมถ ูกตอง และหากผทู ่ีแซงควิ ไปตอ แถวก็จะแสดงให
เหน็ วา บุคคลน้นั มคี วามละอายตอการกระทาํ ทีไ่ มถูกตอง เปน ตน

ความไมทนตอการทุจริต บุคคลจะมีความไมทนตอการทุจริตมาก - นอย เพียงใด ข้ึนอยูกับ
จติ สาํ นกึ ของแตละบคุ คลและผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการกระทํานน้ั ๆ แลวมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกมา ซึ่งการ
แสดงกรยิ าหรือการกระทาํ จะมหี ลายระดับ เชน การวา กลา วตกั เตือน การประกาศใหสาธารณชนรบั รู การแจง

64

เบาะแส การรองทุกขกลา วโทษ การชมุ นมุ ประทวง ซ่งึ เปน ขัน้ ตอนสดุ ทา ยที่รุนแรงที่สุด เนอ่ื งจากมกี ารรวมตัว
ของคนจาํ นวนมาก และสรา งความเสยี หายอยา งมากเชนกัน

ความไมท นของบุคคลตอ สง่ิ ตาง ๆ รอบตวั ที่สง ผลในทางไมดีตอตนเองโดยตรง สามารถพบเห็น
ไดง า ย ซงึ่ ปกติแลว ทกุ คนมกั จะไมทนตอสภาวะ สภาพแวดลอมท่ีไมดีและสงผลกระทบตอตนเองแลว มักจะ
แสดงปฏิกิริยาออกมา แตการท่ีบุคคลจะไมทนตอการทุจริตและแสดงปฏิกิริยาออกมานั้นอาจเปนเรื่องยาก
เนอ่ื งจากปจจบุ ันสงั คมไทยมแี นวโนมยอมรบั การทุจรติ เพื่อใหต นเองไดร ับประโยชนหรือใหงานสามารถดาํ เนนิ
ตอ ไปสคู วามสาํ เรจ็ ซงึ่ การยอมรบั การทุจริตในสังคมไมเ วน แมแตเดก็ และเยาวชน และมองวาการทุจริตเปนเร่ือง
ไกลตัวและไมมผี ลกระทบกับตนเองโดยตรง

2. ลกั ษณะของความละอายและความไมท นตอ การทุจริต (Anti - Corruption)
ลกั ษณะของความละอายสามารถแบงได 2 ระดับ คือ ความละอายระดับตน หมายถึง ความละอาย

ไมกลา ทีจ่ ะทําในสิ่งทผี่ ดิ เนื่องจากกลัววา เมอื่ ตนเองไดท าํ ลงไปแลว จะมคี นรับรู หากถูกจับไดจะไดรับการลงโทษ
หรือไดรับความเดือดรอ นจากสิ่งทีต่ นเองไดท ําลงไป จึงไมกลา ท่จี ะกระทาํ ผดิ และในระดบั ที่สองเปน ระดบั ทสี่ งู
คือ แมว าจะไมม ีใครรบั รหู รือเหน็ ในสงิ่ ทีต่ นเองไดทําลงไป กไ็ มกลาท่ีจะทําผิด เพราะนอกจากตนเองจะไดรับ
ผลกระทบแลว ครอบครัว สังคมก็จะไดรับผลกระทบตามไปดวย ท้ังชื่อเสียงของตนเองและครอบครัวก็จะ
เส่ือมเสีย บางคร้ังการทุจริตบางเร่ืองเปนส่ิงเล็ก ๆ นอย ๆ เชน การลอกขอสอบ อาจจะไมมีใครใสใจหรือ
สังเกตเห็น แตห ากเปนความละอายขัน้ สูงแลว บุคคลน้นั ก็จะไมก ลา ทาํ

สาํ หรับความไมทนตอ การทุจริต จากความหมายทีไ่ ดกลา วมาแลว คอื เปน การแสดงออกอยางใด
อยางหนง่ึ เกิดขึน้ เพอ่ื ใหรบั รูวาจะไมท นตอ บุคคลหรอื การกระทําใด ๆ ท่ีทําใหเกิดการทุจริต ความไมทนตอการ
ทจุ ริตสามารถแบง ระดบั ตา ง ๆ ไดมากกวา ความละอาย ใชเ กณฑความรุนแรงในการแบงแยก เชน หากเพื่อน
ลอกขอสอบเรา และเราเห็นซ่ึงเราจะไมยินยอมใหเพื่อนทุจริตในการลอกขอสอบ เราก็ใชมือหรือกระดาษ
มาบังสว นทีเ่ ปนคาํ ตอบไว เชนนีก้ ็เปน การแสดงออกถงึ การไมท นตอการทจุ ริต นอกจากการแสดงออกดวยวิธี
ดังกลาวที่ถือเปนการแสดงออกทางกายแลว การวากลาวตักเตือนตอบุคคลที่ทุจริตการประณาม
การประจาน การชุมนมุ ประทวง ถือวา เปน การแสดงออกซง่ึ การไมทนตอการทจุ ริตทงั้ ส้ินแตจะแตกตางกันไป
ตามระดับของการทจุ ริต ความต่นื ตวั ของประชาชน และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทุจริต โดยทายเรื่องนี้ได
ยกตวั อยางกรณศี กึ ษาท่มี ีสาเหตมุ าจากการทจุ ริต ทาํ ใหประชาชนไมพ อใจและรวมตวั ตอ ตาน

ความจําเปน ของการทไี่ มทนตอ การทจุ รติ ถอื เปน สิ่งสําคัญ เพราะการทุจริตไมวาระดับเล็กหรือ
ใหญยอ มกอใหเกดิ ความเสียหายตอ สงั คม ประเทศชาติ ดังเชนตัวอยา ง คดีรถและเรอื ดับเพลิงของกรงุ เทพมหานคร
ผลของการทจุ รติ สรา งความเสยี หายไวอยางมาก รถและเรือดับเพลิงก็ไมสามารถนํามาใชได รัฐตองสูญเสีย
งบประมาณไปโดยเปลา ประโยชน และประชาชนเองก็ไมไดใชประโยชนดวยเชนกัน หากเกิดเพลิงไหมพรอมกัน

65

หลายแหง รถ เรือและอุปกรณด บั เพลงิ จะมีไมเ พยี งพอท่ีจะดบั ไฟไดท ันเวลา เพยี งแคค ิดจากมูลคาความเสียหาย
ท่ีรัฐสญู เสียงบประมาณไป ยังไมไดค ดิ ถึงความเสยี หายทเ่ี กิดจากความเดอื ดรอนหากเกิดเพลงิ ไหมแ ลว ถือเปน
ความเสยี หายท่ีสงู มาก ดงั น้นั หากยังมกี ารปลอยใหมกี ารทุจรติ ยนิ ยอมใหม กี ารทุจริตโดยเห็นวาเปนเรื่องของ
คนอน่ื เปน เรอ่ื งของเจาหนาทรี่ ัฐไมเกย่ี วขอ งกับตนเองแลว สุดทา ยความสูญเสียท่จี ะไดรบั ตนเองกย็ งั คงทจ่ี ะไดร บั
ผลนั้นอยแู มไ มใชทางตรงกท็ างออ ม

ดงั น้ัน การท่บี ุคคลจะเกดิ ความละอายและความไมทนตอการทุจริตได จําเปนอยางย่ิงที่จะตอง
สรา งใหเกดิ ความตระหนกั และรบั รูถ งึ ผลกระทบที่เกดิ ขน้ึ จากการทจุ ริตในทกุ รูปแบบ ทกุ ระดบั ซ่ึงหากสังคม
เปนสังคมที่มีความละอายและความไมทนตอการทุจริตแลว จะทําใหเกิดสังคมที่นาอยู และมีการพัฒนา
ในทกุ ๆ ดา น

3. การลงโทษทางสังคม (Social Sanction) หมายถึง ปฏิกิริยาปฏิบัติทางสังคม เปนมาตรการ
ควบคุมทางสังคมท่ีตองการใหสมาชิกในสังคมประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐาน หรือกฎเกณฑท่ีสังคมกําหนด
โดยมีทั้งดานลบและดานบวก การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanction) เปนการลงโทษ
โดยการกดดนั และแสดงปฏิกริ ิยาตอ ตา นพฤตกิ รรมของบุคคลท่ไี มป ฏบิ ัติตามกฎเกณฑของสังคม ทําใหบุคคล
นน้ั เกดิ ความอับอายขายหนา สําหรับการลงโทษโดยสังคมเชิงบวกหรือการกระตุนสังคมเชิงบวก (Positive
Social Sanction) เปน การแสดงออกในเชิงสนับสนุนหรอื ใหรางวัลเปนแรงจงู ใจ เพื่อใหบุคคลในสังคมประพฤติ
ปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑข องสงั คม

การลงโทษทางสงั คม เปนการลงโทษกบั บคุ ลท่ีปฏิบตั ิตนฝา ฝนกบั ธรรมเนียม ประเพณี หรอื แบบแผน
ทป่ี ฏิบตั ิตอ ๆ กนั มาในชมุ ชน มกั ใชในลักษณะการลงโทษทางสังคมเชงิ ลบมากกวา เชงิ บวก การฝาฝนดังกลาว
อาจจะไมผิดกฎหมาย แตด ว ยธรรมเนียมท่ีปฏิบัติสืบตอกันมานั้นถูกละเมิด ถูกฝาฝน หรือถูกดูหม่ินเกี่ยวกับ
ความเช่อื ของชุมชน กจ็ ะนาํ ไปสกู ารตอตานจากคนในชุมชน แมวาการฝาฝนดังกลาวจะไมผิดกฎหมายก็ตาม
และที่สําคัญไปกวานั้น หากการกระทําดังกลาวผิดกฎหมายดวยแลวอาจสรางใหเกิดความไมพอใจขึ้นได
ไมเพยี งแตในชุมชนน้นั แตอ าจเกย่ี วเนือ่ งไปกบั ชมุ ชนอ่ืนรอบขาง หรือเปนชุมชนท่ใี หญท่สี ุด น่นั คือ ประชาชน
ทั้งประเทศซง่ึ การลงโทษทางสงั คมมีท้ังดานบวกและดานลบ ดังน้ี

การลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยูในรูปของการใหการสนับสนุน
หรือการสรางแรงจูงใจ หรือการใหร างวลั ฯลฯ แกบ ุคคลและสังคม เพ่ือใหประพฤติปฏิบัติสอดคลองกับบรรทัดฐาน
(Norm) ของสงั คมในระดบั ชุมชนหรอื ในระดับสงั คม

การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanctions) จะอยูในรูปแบบของการใช
มาตรการตาง ๆ ในการจดั ระเบยี บสงั คม เชน การวา กลา วตักเตือน ซึ่งเปนมาตรการข้ันตาํ่ สดุ เรือ่ ยไปจนถึงการ

66

กดดันและบีบคั้นทางจิตใจ (Moral Coercion) การตอตาน (Resistance) และการประทวง (Protest)
ในรูปแบบตา ง ๆ ไมว า จะโดยปจเจกบุคคลหรอื การชมุ นมุ ของมวลชน

การลงโทษโดยสงั คมเชิงลบ จะสรา งใหเ กิดการลงโทษตอ บคุ คลทถ่ี ูกกระทํา การลงโทษประเภทน้ี
เปน การลงโทษเพื่อใหหยุดกระทาํ ในส่งิ ที่ไมถกู ตอง และบุคคลทถี่ กู ลงโทษจะเกดิ การเข็ดหลาบ ไมกลา ที่จะทํา
ในสง่ิ นั้นอกี การลงโทษประเภทนี้มีความรุนแรงแตกตางกัน ต้ังแตการวากลาวตักเตือน การนินทาการประจาน
การชมุ นมุ ขับไล ซง่ึ เปน การแสดงออกถึงการไมทน ไมยอมรับตอสิ่งท่ีบุคคลอ่ืนไดกระทําไป ดังน้ัน เมื่อมีใคร
ท่ีทําพฤตกิ รรมเหลา นนั้ ข้นึ จึงเปน การสรางใหเกดิ ความไมพอใจแกบุคคลรอบขาง หรือสังคม จนนําไปสูการ
ตอตานดงั กลาว

การลงโทษโดยสังคมจะมีความรุนแรงมากหรือนอย ก็ข้ึนอยูกับการกระทําของบุคคลน้ันวา
รายแรงขนาดไหน หากเปนเรื่องเล็กนอยจะถูกตอตานนอย แตหากเร่ืองนั้นเปนเร่ืองรายแรง เรื่องท่ีเกิดขึ้น
ประจาํ หรอื มผี ลกระทบตอ สงั คม การลงโทษกจ็ ะมีความรุนแรงมากขนึ้ ดว ย เชน หากมีการทุจริตเกิดข้ึนก็อาจ
นําไปเปนประเด็นทางสังคมจนนําไปสูการตอตานจากสังคมได เพราะการทุจริตถือวาเปนสิ่งที่ไมถูกตอง
ผิดกฎหมาย และผดิ ตอ ศีลธรรม บอยคร้ังทม่ี กี ารทจุ รติ เกิดข้นึ จนเปน สาเหตุของการชมุ นมุ ประทว ง เพอ่ื กดดัน
ขับไลใหบุคคลนั้นหยุดการกระทําดังกลาว หรือการออกจากตําแหนงน้ัน ๆ หรือการนําไปสูการตรวจสอบ
และลงโทษโดยกฎหมาย โดยในหัวขอ สุดทายของเนอื้ หาวชิ านี้ ไดนาํ เสนอตัวอยา งที่ไดแ สดงออกถงึ ความไมท น
ตอการทุจริตที่มีการชุมนุมประทวงบางเหตุการณผูที่ถูกกลาวหาไดลาออกจากตําแหนง ซึ่งการลาออกจาก
ตําแหนงน้ันถือเปนความรับผิดชอบอยางหนึ่งและเปนการแสดงออกถึงความละอายในส่ิงที่ตนเอง
ไดกระทาํ

4. ตัวอยางความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
การทุจริตมีผลกระทบตอการพัฒนาประเทศ ทําใหเกิดความเสียหายอยางมากในดานตาง ๆ

หากนําเอาเงนิ ที่ทุจริตไปมาพฒั นาในสวนอน่ื ความเจรญิ หรือการไดรับโอกาสของผูทด่ี อยโอกาสก็จะมีมากข้ึน
ความเหลื่อมลา้ํ ทางดา นโอกาส ทางดา นสงั คม ทางดานการศึกษา ฯลฯ ของประชาชนในประเทศก็จะลดนอยลง
ดงั ท่ีเห็นในปจจบุ ันวาความเจรญิ ตาง ๆ มกั อยูกบั คนในเมืองมากกวาชนบท ทั้ง ๆ ท่ีคนชนบทก็คือ ประชาชน
สว นหนงึ่ ของประเทศ แตเ พราะอะไรทําไมประชาชนเหลานั้นถึงไมไดรับโอกาสใหทัดเทียมหรือใกลเคียงกับ
คนในเมอื ง ปจ จัยหน่งึ คือ การทจุ ริต สาเหตกุ ารเกิดทุจริตมหี ลายประการตามทก่ี ลา วมาแลวขา งตน แตทําอยา งไร
ถึงทาํ ใหมีการทุจริตไดมาก อยางหนึ่งคือการลงทุนเมื่อมีการลงทุนก็ยอมมีงบประมาณ เมื่อมีงบประมาณ
กเ็ ปน สาเหตใุ หบุคคลทค่ี ดิ จะทุจริตสามารถหาชอ งทางดังกลาวในทางทุจรติ ได แมวาประเทศไทยจะมกี ฎหมาย
หลายฉบับเพื่อปองกันการทุจริตปราบปรามการทุจริต แตนั่นก็คือ ตัวหนังสือที่ไดเขียนเอาไว แตการ
บังคับใชยังไมจริงจังเทาท่ีควร และยิ่งไปกวานั้นหากประชาชนเห็นวาเรื่องดังกลาวไมเกี่ยวของกับตนเอง

67

กม็ กั จะไมอ ยากเขาไปเกย่ี วของเน่ืองจากตนเองก็ไมไดรับผลกระทบที่เกิดข้ึน แตการคิดดังกลาวเปนสิ่งท่ีผิด
เนอื่ งจากวาอาจจะไมไดรบั ผลกระทบโดยตรงตอ การท่มี ีคนทจุ รติ แตโดยออมแลวถอื วาใช เชน เมื่อมีการทจุ ริตมาก
งบประมาณของประเทศท่จี ะใชพฒั นาหรือลงทนุ ก็นอ ย อาจสงผลใหประเทศไมสามารถจางแรงงานหรือลงทุนได

ความเสียหายที่เกิดจากการทุจริต หากเปนการทุจริตในโครงการใหญ ๆ แลว ปริมาณเงิน
ทที่ ุจริตยอมมมี ากความเสียหายก็ยอ มมีมากตามไปดวย โดยในหัวขอน้ีไดยกกรณีตัวอยางที่เกิดข้ึนจากการทุจริต
ไวในทา ยบท ซึง่ จะเห็นไดวาความเสียหายที่เกิดข้ึนนั้นมีมูลคามากมาย และน่ีเปนเพียงโครงการเดียวเทานั้น
หากรวมเอาการทุจริตหลาย ๆ โครงการ หลาย ๆ กรณีเขาดวยกัน จะพบวาความเสียหายที่เกิดข้ึนมานั้น
มากมายมหาศาล ดังนนั้ เม่ือเปนเชนน้ีแลว ประชาชนจะตองมีความต่ืนตัวในการที่จะรวมมือในการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต การรวมมือกันในการเฝาระวังเหตุการณ สถานการณท่ีอาจเกิดการทุจริตได
เม่ือประชาชนรวมถึงภาคเอกชน ภาคธุรกิจ มีความต่ืนตัวท่ีจะรวมมือกันในการแกไขปญหาดังกลาว ปญหา
การทจุ รติ จะถือเปนปญ หาเพียงเล็กนอ ยของประเทศไทย เพราะไมว า จะทําอยา งไรกจ็ ะมีการสอดสอง ตดิ ตาม
เฝาระวังเรื่องการทุจริตอยา งตอ เน่ือง ดงั นั้นแลวสง่ิ สําคัญสงิ่ แรกท่ีจะตองสรางใหเกิดข้ึน คือ ความตระหนักรูถึง
ผลเสียท่ีเกดิ ขึน้ จากการทุจริต สรางใหเกิดความต่ืนตัวตอการปราบปรามการทุจริต การไมทนตอการทุจริต
ใหเกิดข้ึนในสังคมไทยเมื่อประชาชนในประเทศมีความต่ืนตัวท่ีวา “ไมทนตอการทุจริต” แลว จะทําใหเกิด
กระแสการตอ ตา นตอ การกระทําทจุ รติ และคนทีท่ ําทจุ รติ กจ็ ะเกิดความละอายไมก ลาท่จี ะทาํ ทุจริตตอไป เชน
หากพบเห็นวา มีการทุจรติ เกิดขนึ้ อาจมีการบนั ทึกเหตกุ ารณห รือลักษณะการกระทาํ แลว แจงขอมลู เหลานัน้ ไป
ยงั หนว ยงานหรือสอ่ื มวลชนเพื่อรวมกันตรวจสอบการกระทําท่ีเกิดขึ้น และย่ิงในปจจุบันเปนสังคมสมัยใหม
และกําลงั เดนิ หนาประเทศไทยกา วสูยุคไทยแลนด 4.0 แตการจะเปน 4.0 ใหสมบูรณแบบไดนั้น ปญหาการ
ทุจริตจะตอ งลดนอยลงไปดวย เม่อื ประชาชนมคี วามต่ืนตวั ตอ การทไ่ี มทนตอการทุจรติ แลวผลท่ีเกิดข้ึนจะเปน
อยางไร ตัวอยา งท่จี ะนํามากลา วถงึ ตอ ไปนีเ้ ปนกรณีที่เกดิ ขน้ึ ในตางประเทศ แสดงใหเ ห็นถงึ ความไมทนตอการ
ทุจริตท่ีประชาชนไดลุกข้ึนมาตอสู ตอตานตอนักการเมืองที่ทําทุจริต จนในที่สุดนักการเมืองเหลานั้นหมด
อํานาจทางการเมืองและไดรบั บทลงโทษท้ังทางสงั คมและทางกฎหมาย ดังนี้

1. ประเทศเกาหลีใตถือเปนประเทศหน่ึง
ที่ประสบความสําเร็จในดานของการปองกันและ
ปราบปรามการทุจริต แตก็ยังคงมีปญหาการทุจริต
เกิดข้ึนอยูบาง เชนเม่ือป พ.ศ. 2559 มีขาวกรณี
ของประธานาธิบดีถูกปลดออกจากตําแหนง เพราะ
เขา ไปมสี วนเก่ียวของในการเออ้ื ประโยชนใหพวกพอง ที่มา : http://www.bbc.com/thai/international๓๙๒๒๗๔๔๑
โดยการถูกกลาวหาวาใหเพื่อนสนิทของครอบครัว

68

เขามาแทรกแซงการบรหิ ารประเทศรวมถึงใชความสัมพนั ธทีใ่ กลชดิ กบั ประธานาธิบดีแสวงหาประโยชนส ว นตวั
ผลทเ่ี กดิ ขึน้ คอื ถูกดําเนินคดีและตั้งขอหาวาพัวพันการทุจริตและใชอํานาจหนาที่ในทางมิชอบ เพื่อเอื้อ
ผลประโยชนใหแกพวกพอง กรณีที่เกิดข้ึนนี้ประชาชนเกาหลีใตไดมีการรวมตัวกันประทวงกวาพันคน
เรียกรอ งใหป ระธานาธบิ ดคี นดงั กลาวลาออกจากตําแหนงหลงั มเี หตอุ อ้ื ฉาวทางการเมือง

อีกกรณีท่ีจะกลาวถึงเพ่ือเปนตัวอยางการตอตาน
การกระทําท่ีไมถูกตอง คือ การท่ีผูเรียนคนหน่ึงไดเขาเรียน
ในมหาวทิ ยาลยั ทง้ั ท่ีผลคะแนนที่เรียนมาน้ันไมไดส งู และการ
ที่คุณสมบัติของผูเรียนดังกลาวมีคุณสมบัติไมตรงกับการ
คัดเลือกโควตานักกีฬาที่กําหนดไววาจะตองผานการแขงขัน
ประเภทเดี่ยวแตผูเรียนคนดังกลาวผานการแขงขันประเภท
ที ม เ ท า กั บ ว า คุ ณ ส ม บั ติ ไ ม ถู ก ต อ ง แ ต ไ ด รั บ เ ข า เ รี ย น
ทีม่ า : http://teen.mthai.com/education ในมหาวทิ ยาลยั ดงั กลาว การกระทาํ เชนนจี้ งึ เปนสาเหตุหนง่ึ
ของการนําไปสูการประทวง ตอตานจากผูเรียนและอาจารยของมหาวิทยาลัยดังกลาว ซ่ึงทางมหาวิทยาลัย
ก็ไมสามารถใหคําตอบที่ชัดเจนแกกลุมผูประทวงได จนในที่สุดประธานของมหาวิทยาลัยดังกลาวจึงลาออก
จากตาํ แหนง

2. ประเทศบราซลิ ประชาชนไดมีการชุมนุม
ประทวงการทุจริตทีเ่ กิดขึน้ เปน การแสดงออกถึงความ
ไมพอใจตอวัฒนธรรม การโกงของระบบราชการของ
ประเทศโดยมีประชาชนจํานวนหลายหม่ืนคนเขารวม
การชมุ นมุ ในครง้ั น้ี มกี ารแสดงภาพหนเู พอ่ื เปนสัญลักษณ
ในการประณามตอนักการเมืองที่ทุจริต การประทวง
ทีม่ า : http://www.dallynews.co.th/foregin ดังกลา วยังถือวามีขนาดเล็กกวาครงั้ กอ น เพราะท่ีผานมา
ไดม ีการทจุ รติ เกิดขน้ึ และมีการประทว งจนในทสี่ ดุ ประธานาธบิ ดไี ดถกู ปลดจากตาํ แหนงเนอ่ื งจากการกระทาํ
ท่ลี ะเมิดตอกฎระเบยี บเรอ่ื งงบประมาณ
จากตัวอยางขางตนแสดงใหเห็นถึงความตื่นตัวของประชาชนที่ออกมาตอตานตอการทุจริต
ไมวาจะเปนการทุจริตในระดับหนวยเล็ก ๆ หรือระดับประเทศ เปนการแสดงออกซึ่งการไมทนตอการทุจริต
การไมท นตอการทจุ รติ สามารถแสดงออกมาไดหลายระดบั ตง้ั แตก ารเห็นคนทท่ี าํ ทจุ รติ แลว ตนเองรสู กึ ไมพ อใจ
มกี ารสงเรื่องตรวจสอบ รอ งเรยี น และในที่สดุ คอื การชุมนุม ประทวง ตามตัวอยางท่ีไดนํามาแสดงใหเห็นขางตน
ตราบใดที่สามารถสรางใหสังคมไมท นตอการทจุ รติ ได เมื่อนนั้ ปญ หาการทุจรติ ก็จะลดนอยลง แตห ากจะใหเกิด

69

ผลดยี ิ่งขึ้น จะตองสรา งใหเ กดิ ความละอายตอการทุจริต ไมกลา ทีจ่ ะทาํ ทุจริต โดยนําเอาหลักธรรมทางศาสนา
มาเปนเครอ่ื งมือในการสงั่ สอน อบรม ในขณะเดียวกันหากมีการทุจริตเกิดข้ึนกระบวนการในการแสดงออก
ตอการไมทนตอการทุจริตจะตองเกิดข้ึน และมีการเปดเผยช่ือบุคคลที่ทุจริตใหกับสาธารณะชนไดรับทราบ
อยางท่วั ถงึ เม่อื สังคมมที งั้ กระบวนการในการปองกันการทุจริต การปราบปรามการทุจริตท่ีดีรวมถึงการสราง
ใหสังคมเปนสังคมท่ีไมทนตอการทุจริต มีความละอายตอการทําทุจริตแลว ปญหาการทุจริตจะลดนอยลง
ประเทศชาตจิ ะสามารถพฒั นาไดมากขนึ้

สําหรับระดับการทุจริตท่ีเกิดขึ้น ไมวาจะเปนในระดับใดลวนแลวแตสงผลกระทบตอสังคมและ
ประเทศชาติทั้งสิ้น บางครั้งการทุจริตเพียงนิดเดียวอาจนําไปสูการทุจริตอยางอ่ืนที่มากกวาเดิมได การมี
วัฒนธรรม คา นยิ ม หรือความเชอ่ื ท่ีไมถูกตองก็สงผลใหเกิดการทุจริตไดเชนกัน เชน การมอบเงินอุดหนุนแก
สถานศึกษาเพ่ือใหบ ุตรของตนไดเขาศึกษาในสถานท่ีแหงน้ัน หากพิจารณาแลวอาจพบวาเปนการชวยเหลือ
สถานศึกษาเพ่ือท่ีสถานศึกษาแหงน้ันจะไดนําเงินที่ไดไปพัฒนาสภาพแวดลอม การเรียนการสอนของทาง
สถานศึกษาตอไป แตการกระทําดังกลาวนี้ไมถูกตองเปนการปลูกฝงส่ิงที่ไมดีใหเกิดขึ้นในสังคม และตอไป
หากกระทําเชนน้ีเร่ือย ๆ จะมองวาเปนเรื่องปกติท่ีทุกคนทํากันไมมีความผิดแตอยางใด จนทําใหแบบแผน
หรอื พฤตกิ รรมทางสังคมทดี่ ีถูกกลนื หายไปกบั การกระทําท่ไี มเ หมาะสมเหลานี้ ตัวอยางการมอบเงนิ อุดหนนุ
แกส ถานศึกษายังคงเกิดขนึ้ ในประเทศไทยอยา งตอ เนื่อง โดยเฉพาะในสถานศกึ ษาทีม่ ชี อ่ื เสียงซง่ึ หลายคนอยาก
ใหบตุ รของตนเขา ศกึ ษาในสถานท่ีแหง น้นั แตด ว ยขอจาํ กดั ท่ไี มส ามารถรับนักเรียนผูเรียนไดท้ังหมด จึงทําให
ผูปกครองบางคนตอ งใหเงนิ กบั สถานศึกษา เพ่อื ใหบตุ รของตนเองไดเ ขาเรียน

70

กจิ กรรม

กิจกรรมที่ 1

คาํ ช้ีแจง ใหผเู รียนรว มกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เหตกุ ารณท กี่ อ ใหเ กดิ ความละอายใจ แลวชวยกันวิเคราะห
ถงึ ผลเสยี ผลกระทบทไี่ ดร บั และแนวทางแกไข

เหตกุ ารณ/ สถานการณ ผลเสีย/ผลกระทบที่ไดร ับ แนวทางแกไข
1. สมชายลอกการบา นเพอ่ื น

2. นติ ยาขอรอ งใหส มจติ ร
ทาํ การบา นให

3. พอ แมชว ยกนั ทําช้ินงานท่ีครู
มอบหมายใหผ เู รียนทํา

4. ครสู ัง่ ใหสมชายตอนกิ่ง
มะมวงแลว นําไปสง ครู
แตสมชายกลับไปซ้ือกงิ่
มะมวงทพ่ี อ คา ทําไวขาย
ไปสง ครู

71

กิจกรรมที่ 2

สถานการณ ผเู รียนจะทาํ อยางไร เมื่อรมู าวาเพื่อน ๆ ในหอ งสว นใหญว างแผนจะทจุ รติ ในการสอบ
และไดช กั ชวนใหผูเรยี นเขารว มกระบวนการทุจรติ ดวย

คาํ ชแ้ี จง 1. ใหผูเรียนแสดงบทบาทสมมุติเปนผูเรียน และพูดคุยชักชวนเพ่ือน ๆ ในกลุมใหทุจริตการสอบ
โดยมเี พือ่ นบางคนไมเ หน็ ดว ยตอการกระทําครง้ั นี้

2. ครู กศน. รว มกบั ผเู รยี น ชวนคดิ ชวนคุยเกีย่ วกบั ประเดน็ ตอไปนี้
2.1 ทําไมผเู รียนจงึ คดิ ที่จะทุจริตตอการสอบ
2.2 เพ่อื นท่ีไมทนตอ การทุจรติ มีความรูสึกอยา งไร
2.3 ถา ทําการทจุ รติ แลว ผลท่เี กิดข้นึ จะมอี ะไรบาง

2.4 แนวทางแกไขการไมทนสรตปุอ อกงาครทค จุวราิตมรทู ไ่ี ดร ับ

72

กิจกรรมท่ี 3

คําช้ีแจง 1. ครู กศน. ซกั ถามผเู รียนวา สถานศกึ ษามีกจิ กรรมอะไรบาง ทีผ่ เู รียนตอ งทํา เชน กิจกรรมเขาคาย
กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน กิจกรรมจิตอาสา ฯลฯ

2. ครู กศน. อธิบายเพิ่มเตมิ เก่ยี วกบั กจิ กรรมทีผ่ ูเรียนตอบจากขอ 1 วาแตละกจิ กรรมลวนมคี วามสําคญั
เปน กิจกรรมทีช่ ว ยพัฒนาผูเรียนดานตา ง ๆ ดงั นน้ั ผเู รยี นจะตอ งเขา รว มกิจกรรมทุกคร้ัง

3. ใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นตอสถานการณ กรณีท่ีผูเรียนไมเขารวมกิจกรรมของสถานศึกษา
ผูเรยี นจะไดร บั ผลกระทบ หรือผลเสยี อยา งไรบาง และผเู รียนมวี ธิ กี ารแกไขปญหาการไมท าํ กิจกรรม
อยา งไร

ผลกระทบหรือผลเสียที่เกดิ ขน้ึ แนวทางการแกไ ข

4. ครู กศน. สมุ ผูเ รยี นออกมา 3 – 4 คน เพ่อื นาํ เสนอตอ กลุม ใหญ และครู กศน. สรปุ เพิม่ เติม

73

กิจกรรมที่ 4

คําชี้แจง 1. ครู แบง กลมุ ผเู รียนเปน 2 กลมุ
กลุมท่ี 1 ใหผูเ รยี นศึกษาใบความรู เรอ่ื ง การแตงกาย
กลมุ ที่ 2 ใหผูเ รยี นศึกษาใบความรู เรื่อง การเขา ควิ

2. ผูเรยี นแตล ะกลมุ นาํ เสนอความรทู ไ่ี ดจากการคน ควา
3. ครู กศน. ชวนคดิ ชวนคุยถึงหวั ขอตอ ไปนี้

3.1 การแตงกาย หมายถึงอะไร
3.2 การแตงกายมคี วามสําคญั อยางไร
3.3 ผูเ รยี นคดิ วาการแตงกายท่ีถูกตอง และเหมาะสมมผี ลดีตอ ตวั ผเู รียนอยา งไรบาง
3.4 ถา ผูเ รยี นพบเห็นบคุ คลทแ่ี ตงกายไมเ หมาะสมกบั สถานท่ี ผูเรียนจะมีวธิ ีการแนะนําผูนั้น

อยา งไร
4. ครู กศน. ชวนคดิ ชวนคยุ ถงึ หวั ขอตอไปนี้

4.1 การเขา ควิ คืออะไร
4.2 การเขา คิวดอี ยางไร
5. ใหผูเรียนชมคลิปวิดีโอ “การไมเขาแถวซื้ออาหาร โดยการแซงคนอื่น ถือเปนการกระทํา
ทไ่ี มถ ูกตองและคนอ่นื ๆ ไดแสดงอาการไมพ อใจตอ การกระทําน้ัน”

แหลงสอ่ื https://www.youtube.com/watch?v=AyoRPq4t_lMโตไปไมโ กง ตอน โดนัท

6. ถาผูเรียนพบบุคคลที่ไมเขาคิว หรือแซงคิว ผูเรียนจะมีวิธีการบอกกลาวบุคคลนั้นอยางไร
และหากบุคคลนนั้ ปฏเิ สธ ผเู รียนจะมวี ธิ ีแกไขอยางไร เพื่อใหคนท่แี ซงคิวเกดิ ความละอาย

74

กิจกรรมที่ 5

คําชี้แจง 1. ครู กศน. และผเู รียน รวมกันแสดงความคิดเห็นวาเราควรจะตองยึดกฎ ระเบียบของการเลือกตั้ง
ใหถูกตอง ไมสรา งความเดอื ดรอ นกับสังคม และประเทศชาติเพราะเหตใุ ด

2. ครู กศน. แบงกลุมผูเรียนเปนกลุม ๆ ละ 3 – 5 คน ไปศึกษา คนควาหัวขอการเลือกต้ัง
กบั การทุจริต จากแหลง เรยี นรูตา ง ๆ เชน อนิ เทอรเ นต็ หองสมุด ฯลฯ

3. แตละกลุมนําเสนอขอมูลที่ไดจากการคนควาลงในกระดาษ Flip Chart พรอมนําเสนอ
ตอกลุมใหญ

4. ครู กศน. และผเู รียน รว มกันสรปุ ขอ ดีของการไมรบั สินบนจากการไปใชสทิ ธใ์ิ นการเลอื กต้งั

75

กจิ กรรมท่ี 6

คําชี้แจง 1. แบงกลุมผูเรียนออกเปน 4 กลุม ๆ ละเทา ๆ กัน โดยใหผูเรียนแตละกลุมแสดงบทบาทสมมุติ
เกีย่ วกับความละอายและความไมทนตอ การทุจรติ ในเร่อื ง
กลมุ ท่ี 1 ความซอ่ื สตั ย
กลมุ ที่ 2 ความมีวินัย
กลุมท่ี 3 การตรงตอเวลา
กลมุ ท่ี 4 ความรับผดิ ชอบในการทาํ งาน

2. ผูเรียนทกุ คนรว มกนั แสดงความคิดเหน็ ดงั ตอไปนี้
ก. ความซ่อื สัตย

ขอ ดีของความซ่ือสตั ย ผลกระทบของความไมซ่อื สัตย

ข. ความมวี นิ ยั ผลกระทบของความไมม ีวินยั
ขอ ดีของการมวี นิ ยั

ค. การตรงตอ เวลา ผลกระทบของการไมตรงตอเวลา
ขอ ดขี องการตรงตอเวลา

ง. ความรับผิดชอบในการทํางาน 76
ขอดีของความรับผิดชอบในการทาํ งาน ผลกระทบของความไมร บั ผดิ ชอบในการทาํ งาน

3. ผูเรียนแตละคนสะทอนความคดิ โดยการเขียนลงสมดุ จดงานเกยี่ วกับเรือ่ งตอ ไปน้ี
เรือ่ ง วธิ ีการสรา งความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
ความซื่อสัตย

ความมีวินยั

การตรงตอเวลา

ความรบั ผิดชอบ
ในการทาํ งาน

4. ผูเรยี นแตล ะคนนําเสนอผลสะทอ นความคดิ ทง้ั 4 เรอ่ื ง ใหก ลุม ใหญฟง โดยครู กศน. สรุปประเด็น
แตละเรื่องของผเู รยี นทไี่ มซ ้ํากับในกระดาษ Flip Chart

5. ผูเรยี นคดั ลอกเนอ้ื หาจากขอ 4 ลงในสมุดจดงาน เพื่อเก็บไวท บทวน

77

บทที่ 3

STRONG : จติ พอเพยี งตานการทุจรติ

สาระสาํ คญั

การสรางประชาชนใหมีความต่ืนตัวตอการทุจริต มีการใหความสนใจตอขาวสาร และตระหนักถงึ
ผลกระทบของการทุจรติ ทีม่ ตี อ ประเทศ มกี ารแสดงออกถงึ การตอ ตานการทุจริตท้ังในชีวิตประจําวันและการ
แสดงออกผานสื่อสาธารณะและส่ือสังคมออนไลนตาง ๆ ดังนั้น ประชาชนในแตละชวงวัยจะตองไดรับการ
กลอมเกลาทางสังคมวาดวยการทุจริต ดังน้ัน หนวยงานทุกภาคสวนตองใหความสําคัญอยางแทจริงกับการปรับ
ประยกุ ตห ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชป ระกอบหลกั การตอตานการทุจรติ

ตัวชว้ี ดั

1. อธบิ ายเกย่ี วกับจิตพอเพยี งตานการทจุ รติ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. อธิบายแบบอยา งความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช

มหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9)
3. สามารถคดิ วเิ คราะหในการทํากิจกรรมทเี่ กย่ี วขอ งไดถูกตอง

ขอบขายเนื้อหา

เรื่องที่ 1 จติ พอเพยี งตานการทจุ ริต
เร่อื งที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9)
ทรงเปนแบบอยางในเร่อื งความพอเพียง
เร่ืองท่ี 3 กจิ กรรมท่ีเก่ียวขอ ง

78

เรอ่ื งที่ 1 จิตพอเพยี งตา นการทจุ ริต
1. ความหมายของ STRONG : จติ พอเพียงตานการทจุ ริต

จติ หมายถงึ ใจ สงิ่ ท่ีทาํ หนา ที่ นึก รบั ความรสู ึก
พอเพียง หมายถึง พอดีกับความตองการ เติมเทาท่ีจําเปน ความพอประมาณ มีเหตุมีผล
การเดินทางสายกลาง
พอเพยี ง หมายถงึ ไดเทา ท่ีกะไว เชน ไดเ ทานก้ี ็พอเพียงแลว
ตาน หมายถึง ทนไว ยันไว รับไว ปะทะไว กนั ไว คัดคาน ทดั ทานตอสู
ตาน หมายถงึ ตอ ตาน โต ขดั ขวา
ตา น หมายถงึ ยัน หรือรับไวเพ่ือไมใหลํ้าแนวเขามา เชน ตานขาศึก รับแรงปะทะ (เรือตานลม)
ตานทาน (นาย ก. ขัดขวาง ยบั ยั้งตอ สยู ันไว)เปน ตน
ทจุ รติ หมายถงึ ประพฤตชิ ว่ั โกง ไมซ่ือตรง
จากขอมูลขางตน กลาวไดวา จิตพอเพียงตานการทุจริต คือ การมีจิตสํานึกในการดําเนินชีวิต
แบบพอเพียงที่จะไมก ระทาํ การทจุ รติ

79

องคประกอบ
รองศาสตราจารย ดร.มาณี ไชยธรี านวุ ฒั ศิริ ไดจดั ทําโมเดลองคประกอบของSTRONG : จิตพอเพียง

ตา นการทจุ ริต ตามแผนภาพตอไปน้ี

หลักความพอเพยี ง โดยบคุ คลสามารถแยกแยะ

ผลประโยชนส วนตัวและผลประโยชนส ว นรวม

อยางเปน อตั โนมัติ บุคคลและหนวยงาน

รวมพฒั นาใหเ กิด ปฏบิ ัติงานบนฐาน
ความเออื้ เฟออาทร
ตอ กนั บนพนื้ ฐาน ของความโปรงใส
ของจริยธรรมและ
จติ พอเพยี ง

รแู ละพรอ ม
ลงมือปอ งกันทุจรติ

แสวงหาความรอู ยางตอ เน่ือง มงุ พัฒนาใหเ กดิ ความเจริญ
เพือ่ ใหเ ทา ทนั ตอสถานการณก ารทจุ ริต โดยการตอ สกู ับการทจุ ริตไดอ ยา งไมยอทอ

พฒั นาโดย การประยกุ ตหลกั ความพอเพยี งดวยโมเดล
รศ.ดร. มาณี ไชยธีรานุวฒั ศิริ. 2560.2561
STRONG : จิตพอเพยี งตา นทุจรติ

ทม่ี า : http://www.stopcorruption.moph.go.th=สะกดจิตเขาสภู วังค

จากแผนภาพโมเดล องคป ระกอบของ STRONG : จิตพอเพยี งตา นการทจุ ริต
รองศาสตราจารย ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ไดกาํ หนดองคประกอบแตละเร่ืองไว ดังน้ี
1. S (Sufficient) : ความพอเพียง หมายถึง ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน

นอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกตเปนหลักความพอเพียงในการทํางานการดํารงชีวิต
การพัฒนาตนเองและสวนรวม รวมถึงการปองกันการทุจริตอยางยั่งยืน ซึ่งความพอเพียงตอสิ่งใดส่ิงหนึ่ง
ของมนุษยแ มวาจะแตกตางกนั ตามพนื้ ฐาน แตการตัดสินใจวาความพอเพียงของตนเองตองตั้งอยูบนความมีเหตุ
มีผลรวมท้ังตอ งไมเบียดเบียนตนเอง ผูอื่น และสวนรวมความพอเพียงดังกลาวจึงเปนภูมิคุมกันใหบุคคลนั้น
ไมก ระทําการทจุ ริต ซ่งึ ตองใหค วามรูความเขาใจ (Knowledge) และปลุกใหต น่ื รู (Realize)

80

2. T (Transparent) : ความโปรงใส หมายถงึ ผูนํา ผูบรหิ าร บุคคลทกุ ระดบั องคก รและชมุ ชน
ตองปฏิบัติงานบนฐานของความโปรงใส ตรวจสอบได ดังน้ัน จึงตองมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ
ขอปฏิบัติ กฎหมาย ดา นความโปรงใส ซึ่งตองใหค วามรคู วามเขาใจ (Knowledge) และปลุกใหตื่นรู (Realize)

3. R (Realize) : ความตื่นรู หมายถึง ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
มีความรคู วามเขา ใจ และตระหนักรถู ึงรากเหงา ของปญ หาและภัยรา ยแรงของการทจุ ริตประพฤติมิชอบภายใน
ชุมชนและประเทศ ความตื่นรจู ะบงั เกิดเม่ือไดพบเห็นสถานการณที่เสี่ยงตอการทุจริตยอมจะมีปฏิกิริยาเฝา
ระวังและไมยินยอมตอการทุจริตในที่สุดซ่ึงตองใหความรูความเขาใจ (Knowledge) เกี่ยวกับสถานการณ
การทจุ ริตท่เี กดิ ข้นึ ความรา ยแรงและผลกระทบตอ ระดับบุคคลและสวนรวม

4. O (Onward) : มุงไปขางหนา หมายถึง ผูนําผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
มุงพัฒนาปรับเปลี่ยนตนเองและสวนรวมใหมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน บนฐานความโปรงใส
ความพอเพียงและรวมสรา งวัฒนธรรมสุจริตใหเ กิดขึ้นอยางไมยอทอ ซ่ึงตองมีความรูความเขาใจ (Knowledge)
ในประเด็นดงั กลา ว

5. N (Knowledge) : ความรู หมายถึง ผูน ํา ผูบ ริหาร บคุ คลทกุ ระดับ องคกรและชุมชนตองมี
ความรู ความเขาใจสามารถนําความรูไปใช สามารถวิเคราะห สังเคราะห ประเมินไดอยางถองแทในเร่ือง
สถานการณการทุจริต ผลกระทบที่มีตอตนเองและสวนรวม ความพอเพียงตานการทุจริตการแยกแยะ
ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมที่มีความสําคัญย่ิงตอการลดการทุจริตในระยะยาว รวมทั้ง
ความละอายไมกลากระทําการทุจริตและเกิดความไมทนเม่ือพบเห็นวามีการทุจริตเกิดข้ึนเพื่อสรางสังคม
ไมทนตอ การทจุ รติ

6. G (Generosity) : ความเออ้ื อาทร หมายถงึ คนไทยมคี วามเออ้ื อาทร มีเมตตา มีน้ําใจตอกัน
บนฐานของจิตพอเพียงตานการทุจริต ไมเ อ้อื ตอการรับหรือการใหผ ลประโยชนต อพวกพอง

2. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดประมวลและกลั่นกรองจาก

พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) เรอื่ งเศรษฐกิจพอเพียง และขอพระราชทาน
พระบรมราชานุญาตนําไปเผยแพร ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ทรงพระกรณุ าปรับปรุง
แกไขและทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทานพระบรมราชานุญาตตามที่ขอพระมหากรุณา
โดยมีใจความวา

81

“เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน ปรชั ญาชถ้ี ึงแนวการดาํ รงอยูและปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับตั้งแต
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมเี หตุผล รวมถึงความจาํ เปน ทจ่ี ะตองมีระบบภูมิคุมกนั ในตวั ทีด่ พี อสมควร ตอ การมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก
การเปลย่ี นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้ังนี้ จะตองอาศัยความรอบรูความรอบคอบ และความระมัดระวัง
อยา งยง่ิ ในการนาํ วิชาการตา ง ๆ มาใชใ นการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะตอง
เสรมิ สรา งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับใหมีสํานึก
ในคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูท่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร
มีสติปญญา และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและ
กวา งขวางทง้ั ดา นวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยางดี”

คุณลกั ษณะทสี่ ําคัญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”
แนวทางการดาํ เนินชีวิตใหอ ยบู นทางสายกลางตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือพน
จากภัยและวกิ ฤติการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกอใหเกิดคุณภาพชีวิตที่ดีอยางมั่นคงและย่ังยืนประกอบดวย 3 หวง
2 เงือ่ นไข ดังแผนภาพตอไปนี้

82

ท่ีมา : https://sites.google.com/site/prachyasersthkicphxpheiyng12/-site-prachyasersthkicphxpheiyng12

ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีตอความจําเปนไมมากเกินไป ไมนอยเกินไปและตอง
ไมเ บียดเบยี นตนเองและผูอื่น

ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดําเนินการเร่ืองตาง ๆ อยางมีเหตุผลตามหลักวิชาการ
หลักกฎหมาย หลักศลี ธรรม จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมท่ีดงี าม คดิ ถึงปจจัยที่เกี่ยวของอยางถี่ถวน โดยคํานึงถึง
ผลทค่ี าดวา จะเกิดขน้ึ จากการกระทาํ น้ัน ๆ อยางรอบคอบ

มีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
ดานเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอมที่จะเกิดข้ึน เพื่อใหสามารถปรับตัวและรับมือไดอยางทันทวงที

เง่ือนไขในการตดั สินใจในการดําเนินกิจกรรมตา ง ๆ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. เงื่อนไขความรูประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของรอบดาน
ความรอบคอบที่จะนาํ ความรเู หลาน้ันมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง
ในการปฏิบตั ิ

83

2. เงอ่ื นไขคุณธรรม ท่ีจะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย
สจุ ริตและมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชสติปญญาในการดําเนนิ ชวี ติ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางการดําเนินชีวิตแนวทางสายกลาง การพ่ึงตนเองรูจัก
ประมาณตนอยางมีเหตุผล อยูบนพ้ืนฐานความรูและคุณธรรมในการพิจารณา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดําเนินการไมไ ดเฉพาะเจาะจงในเร่ืองของเศรษฐกิจแตเพียงอยางเดียวแตยังครอบคลุมไปถึงการดําเนินชีวิต
ดา นอืน่ ๆ ของมนุษยใ หอ ยรู ว มกนั ในสงั คมไดอ ยา งปกติสขุ เชน หากเรามคี วามพอเพียง เราจะไมท ุจรติ คดโกง
ไมล ักขโมยของไมเ บยี ดเบียนผูอ่ืน กจ็ ะสงผลใหผูอ นื่ ไมเ ดอื ดรอน สงั คมก็อยูไดอยา งปกติสุข เปน ตน

84

เรอื่ งที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9)
ทรงเปนแบบอยางในเรื่องความพอเพยี ง

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ (พระบาทสมเดจ็
พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) เปนแบบอยางในเร่ืองของความพอเพียงเรื่อง ฉลอง
พระองคบนความ “พอเพยี ง” : หนงั สอื พิมพค มชดั ลกึ 24 ตุลาคม 2559

นายสุนทร ชนะศรีโยธิน เจาของรานสูท “วินสัน เทเลอร” ไดบอกเลาพระราชจริยวัตรในดาน
“ความพอเพียง” ท่ีพระองคทานทรงปฏิบัติมาอยางตอเน่ืองวา “นายตาํ รวจนํามาใหผมซอมเปนผารัดอก
สาํ หรับเลนเรือใบสภาพเกามากแลว นายตํารวจทานนั้นบอกวาไมมีรานไหนยอมซอมใหเลย ผมเห็นวา
ยังแกไ ขไดก ็รบั มาซอมแซมใหโ ดยไมค ดิ เงนิ เพราะนึกเพยี งแคอ ยากบริการแกไขใหดใี หลูกคา ประทบั ใจ แตไ มรู
มากอ นวา เขาเปนเจาหนาที่ในพระราชสาํ นัก ตอนน้ันผมบอกวาไมคิดคาตัดบอกเขาวาไมรับเงิน แกไขแคน้ี
ผมมีนํ้าใจ ผมเปดรานเสื้อเพราะตองการใหมีชื่อเสียงดานคุณภาพและบริการลูกคามากกวา แกไขนิดเดียว
กอ็ ยากทาํ ใหเ ขาดี ๆ ไมตองเสียเงิน ตอนน้ันเขาถามผมอีกวาแลวจะเอามาใหทําอีกไดไหม เราก็บอกไดเลย
ผมบริการให จากน้นั เราก็รับแกชุดใหน ายตาํ รวจทานนีเ้ รือ่ ย ๆ เขาขอใหคดิ เงนิ กไ็ มคิดให พอคร้งั ท่ี 5 น่ีสิ ทานเอาผา
มา 4 - 5 ผืน จะใหตัดถามผมวาเทาไหร ๆ แลวก็รีบควักนามบัตรมาใหผม ทานชื่อ พล.ต.ต.จรัส สุดเสถียร
ตําแหนง เขยี นวา เปน นายตาํ รวจประจําราชสํานกั ทานบอกวา “ส่ิงท่ีเถาแกทําใหเปนของพระเจาอยูหัวนะ”
ผมอ้ึงมากรีบยกมือทวมหัวดีใจที่ไดรับใชเบื้องพระยุคลบาทแลว นายสุนทรเลาดวยนํ้าเสียงตื้นตันใจ แตละ
ฉลองพระองคทไ่ี ดร ับมาใหซ อ มแซมถาเปน คนอนื่ ผาเกา ขนาดนน้ั เขาไมซ อ มกันแลว เอาไปท้ิงหรือใหคนอื่น ๆ
ไดแ ลว แตพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ทรงมคี วามมัธยัสถ ฉลองพระองคแตละองคที่เอามา
เกามาก เชน เสื้อสูทสีฟาชัยพัฒนา ผาเกา สีซีดมากแลว ตรงตราชัยพัฒนามัวหมอง ตรงดิ้นทองก็หลุด
เกือบหมด ผมเอามาแกะหมดเลยใหโ รงงานปก ใหมใหเ หมอื นแบบเดิม เพราะเขาใจวาทานอยากไดฉลองพระองค
เดิมแตเปล่ียนตราใหดูใหม ถาสมมุติวันนี้มีเจาหนาที่มาสงซอม พรุงนี้เย็น ๆ ผมก็ทําเสร็จสงคืนเขาไป
เจาหนา ทีท่ ี่มารับฉลองพระองคชอบถามวา ทําไมทําไว ผมตอบเลยวา เพราะตั้งใจถวายงานครับ ผมอยูผืน
แผน ดนิ ไทยใตร มพระบารมขี องพระองค ผมก็อยากไดรับใชเบ้ืองพระยุคลบาทสักเรื่องผมเปนแคชางตัดเสื้อ
ไดร ับใชข นาดนี้ผมก็ปลื้มปติที่สุดแลว “ผมถือโอกาสนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระองคทานมาใชตลอด
เสือ้ ผา เกา ๆ ทีไ่ ดรบั มาวันแรกทาํ ใหรูวา พระองคท รงอยูอยา งประหยัด มัธยัสถ ทรงเปนแบบอยางความพอเพียง
ใหแ กประชาชน และเม่ือไดถวายงานบอ ยครงั้ ทาํ ใหผมตระหนักวาคนเราวันหน่ึงตองคิดพิจารณาตัวเองวาส่ิงไหน
บกพรอ งก็ตอ งแกไ ขสงิ่ นั้น ทุกคนตองแกไขสงิ่ ท่บี กพรองกอนงานถึงจะบรรลุเปาหมาย และเมื่อประสบความสําเร็จ
แลวอยา ลมื ต้ังใจทําส่ิงดี ๆ ใหประเทศชาติตลอดไป” ขอ คิดและขอปฏิบัติดี ๆ ที่ไดจากพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในหลวงรชั กาลท่ี 9) ของชางสุนทร

85

1. นาฬกิ าบนขอพระกร

วันงานเปดตัวรายการทีวี “ธรรมดี

ทพี่ อ ทํา” และงานสมั มนา “ถอดรหัส” ธรรมดี

ท่ีพอทําพอเร่ิมบรรยาย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

ถามผูฟงวา พวกเรามีเสื้อผาคนละกี่ชุด

ใสนาฬิกาเรือนละเทาไหร หลายคนแยงกัน

ตอบและพากันอึ้ง เม่ือ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

เลา วา “คร้ังหน่ึง ผมพยายามจะแอบดูวา ท่ีมา : https://www.winnews.tv/news/9200 = นาฬิกาบนขอ พระกร
พระองคทานใสนาฬิกาย่ีหออะไร

จนพระองคทานรูสึกไดวาผมพยายามอยากจะดูยี่หอ ทานจึงยื่นขอพระหัตถมาใหดูตรงหนาจึงทราบวา

พระองคทานใสนาฬิการาคาเพียงเรือนละ 750 บาทเทานั้น ซึ่งก็เดินตรงเหมือนกันกับนาฬิกาเรือนแพง

แมกระทั่งฉลองพระองคก็ทรงมไี มกี่ชุด ทรงใชจนเปอยซีด แตพวกเรามักคิดวา การมีแบบเหลือกินเหลือใช

จึงจะดี เพราะคนสมัยนี้เริ่มไมเอาเกษตรกรรม แตเลือกท่ีจะทําอุตสาหกรรม (เปนศัพทท่ีบัญญัติขึ้นเอง)

สุดทายอนาคตก็จะอดกิน”ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ถามอีกวา คนในหองนี้มีรองเทาคนละก่ีคูก็มีนักธุรกิจสตรี

ตอบวา รอ ยกวาคู ดร.สเุ มธ ตนั ตเิ วชกุล จงึ ถามตอ วา วันนี้ใสมาก่ีคูถาจะใชใหคุมทําไมไมเอามาแขวนคอดวย

(ทําเอาบรรยากาศในหองเงียบสงัดเพราะโดนใจกันเต็ม ๆ) กอนจะบอกวา พระองคทรงฉลองพระบาทคูละ

300 - 400 บาท ขณะที่ขาราชบริพารใสรองเทาคูละ 3 - 4 พัน แตเวลาที่พระองคทรงออกเย่ียมราษฎร

ในพ้ืนท่หี า งไกลที่สดุ แลว ขา ราชบริพารกเ็ ดินตามพระองคไมทนั อยูดี เวลาเดินคนเราใสรองเทา ไดคเู ดยี ว อีกทั้ง

ฉลองพระบาทของพระองคยังถูกนําสง ไปซอ มแลว ซอมอีก

2. ดินสอทรงงาน
ดินสอธรรมดาของคนทั่วไปอาจหาซือ้ ไดดวย

ราคาเพียงไมก่ีบาทนี้ เปนดินสอชนิดเดียวที่ปรากฏ
อยูบนพระหตั ถของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ขณะทรงงานอันเน่ืองมาจาก
พระราชดํารติ าง ๆ

ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/scoop/37407.html
= ดินสอทรงงาน


Click to View FlipBook Version