The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาการป้องกันการทุจริต สค32036

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชา การป้องกันการทุจริต สค32036

วิชาการป้องกันการทุจริต สค32036

Keywords: วิชาการป้องกันการทุจริต สค32036 กศน.

86

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ทรงดินสอไมธรรมดา ๆ โดยมีบันทึกวา
ในปหนึ่ง ๆ ทรงเบิกดินสอใชเพียง 12 แทง โดยทรงใชดินสอเดือนละ 1 แทงเทานั้น เมื่อดินสอส้ันจะทรงใช
กระดาษมามว นตอปลายดินสอใหยาวเพื่อใหเขียนไดถนัดมือ จนกระทั่งดินสอนั้นกุดใชไมไดแลว เน่ืองจาก
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ทรงมีแนวพระราชดําริที่เปนเหตุ เปนผล ดินสอ 1 แทง ทานไมได
มองวาเราตองประหยัดเงินในกระเปา แตทานมองวาดินสอ 1 แทง ตองใชทรัพยากรหรือพลังงานเทาไหร
ตอ งใชทรัพยากรธรรมชาติ คือ ไม แรธาตุที่ทําไสดินสอ การนําเขาวัตถุดิบที่นําเขาจากตางประเทศ พลังงาน
ในกระบวนการผลิตและขนสง ดังน้ัน การผลติ ดนิ สอทุกแทงมผี ลตอการรายรับรายจายของประเทศ เปน สว นหนึง่
มูลคาสินคานําเขาดานวัตถุดิบและ เปนการนําทรัพยากรธรรมชาติที่มีจํากัดมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
ความประหยัดไมใชหมายถึง การไมใช แตยังรวมถึงการใชสิ่งตาง ๆ อยางมีสติและมีเหตุผลอันเปนส่ิง
สําคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

“ดร.สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ ” เขียนไวในหนังสอื “ใตเ บ้อื งพระยุคลบาท”
“ทานผูหญงิ บุตรี” บอกผมมาวาปหน่ึงทานทรงเบิกดินสอ 12 แทง เดือนละแทง ใชจนกระท่ังกุด
ใครอยาไดไ ปท้งิ ของพระองคทานนะ จะทรงกร้ิว ทรงประหยัดทุกอยาง ทรงเปนตนแบบทุกอยาง ของทุกอยาง
มคี า สาํ หรับพระองคทา นท้ังหมดทุกบาท ทุกสตางค จะทรงใชอยางระมัดระวัง ทรงสั่งใหเราปฏิบัติงานดวย
ความรอบคอบ

3. หลอดยาสีพระทนต
หลอดยาสีพระทนตของพระบาทสมเด็จ

พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9)
มีลักษณะแบนราบเรียบ คลายแผนกระดาษ
โดยเฉพาะบรเิ วณคอหลอดยิ่งปรากฏรอยบมุ ลกึ ลง
ไปจนถึงเกลียวคอหลอด สาเหตุท่ีเปนเชนนี้
เพราะพระองคทานทรงใชดามแปรงสีพระทนต ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=หลอดยาสีพระทนต
ชวยรีดและกดจนเปนรอยบุม ศาสตราจารยพิเศษ ทันตแพทยหญิง ทานผูหญิงเพ็ชรา เตชะกัมพุช
ทันตแพทยประจําพระองค อดีตคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดเขียนเลาวา

87

“คร้ังหน่ึงทันตแพทยประจาํ พระองค กราบถวายบังคมทูลเร่ืองศิษยทันตแพทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
บางคนมีคานยิ มในการใชของตางประเทศและมีราคาแพง รายท่ีไมมีทรัพยพอซื้อหา ก็ยังขวนขวายเชามาใช
เปนการชั่วคร้ังชั่วคราว ซึ่งเทาที่ทราบมา มีความแตกตางจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงนิยมใชกระเปาที่ผลิตภายในประเทศเชนสามัญชนท่ัวไป ทรงใช
ดินสอสั้นจนตองตอดาม แมยาสีพระทนตของพระองคทานก็ทรงใชดามแปรงพระทนตรีดหลอดยาจนแบน
จนแนใจวาไมม ียาสีพระทนตหลงเหลืออยใู นหลอดจรงิ ๆ” เมอ่ื กราบบังคมทลู เสร็จ พระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช
ในหลวงรชั กาลท่ี 9) ทรงรับส่งั วา “ของพระองคท า นก็เหมือนกนั ” และยงั ทรงรบั สง่ั ตอไปอีกดวยวา “เมื่อไมนาน
มานี้เองมหาดเล็กหอ งสรง เหน็ วา ยาสีพระทนตของพระองคคงใชห มดแลว จึงไดนําหลอดใหมมาเปล่ียนใหแทน
เมื่อพระองคไดทรงทราบ ก็ไดขอใหเขานาํ ยาสีพระทนตหลอดเกามาคืนและพระองคทานยังทรงสามารถใช
ตอไปไดอีกถึง 5 วัน จะเห็นไดวาในสวนของพระองคทานเองนั้นทรงประหยัดอยางยิ่งซึ่งตรงกันขามกับ
พระราชทรัพยสวนพระองคท่ีทรงพระราชทานเพ่ือราษฎรผูยากไรอยูเปนนิจ” “พระจริยวัตรของพระองค
ไดแสดงใหเหน็ อยางแจมชัดถึงพระวิรยิ ะ อตุ สาหะ ตลอดจนความประหยัดในการใชของอยางคุมคา หลังจากนั้น
ทันตแพทยป ระจาํ พระองคไดก ราบพระบาททูลขอพระราชทานหลอดยาสีพระทนตหลอดน้ัน เพ่ือนําไปใหศิษย
ไดเหน็ และรบั ใสเ กลาเปนตัวอยา งเพอ่ื ประพฤตปิ ฏิบตั ิในโอกาสตอ ๆ ไป” “ประมาณหนึ่งสัปดาหหลังจากนั้น
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ไดพระราชทานสงหลอดยาสีพระทนตเปลาหลอดนั้นมาใหถึงบาน
ทันตแพทยประจาํ พระองค รูสึกซาบซ้ึงในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนเกลายิ่ง เมื่อไดพิจารณาถึงลักษณะ
ของหลอดยาสีพระทนตเ ปลา หลอดน้ันแลว ทําใหเกิดความสงสยั วา เหตุใดหลอดยาสีพระทนตหลอดน้ีจึงแบน
ราบเรียบโดยตลอด คลา ยแผน กระดาษ โดยเฉพาะบรเิ วณคอหลอดยังปรากฏรอยบุมลึกลงไปเกือบถึงเกลียว
คอหลอด เมอื่ ไดม โี อกาสเขา เฝา ฯ อกี คร้ังในเวลาตอ มา จึงไดร บั คาํ อธิบายจากพระองควาหลอดยาสีพระทนต
ที่เห็นแบนเรียบนั้นเปนผลจากการใชดามแปรงสีพระทนตชวยรีดและกดจนเปนรอยบุมที่เห็นน่ันเอง และ
เพื่อท่จี ะขอนําไปแสดงใหศ ิษยท นั ตแพทยไ ดเ ห็นเปนอุทาหรณ จึงไดขอพระราชานุญาต ซึ่งพระองคทานก็ได
ทรงพระเมตตาดวยความเต็มพระราชหฤทัย”

88

4. รถยนตพ ระท่ีน่ัง

ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?q=รถยนตพ ระท่ีนง่ั

นายอนันต รมรื่นวาณิชกิจ ชางดูแลรถยนตพระที่นั่ง ไดใหสัมภาษณรายการตีสิบ เมื่อวันท่ี
27 พฤศจิกายน 2552 โดยมีใจความวา “คร้ังหน่ึงผมตองซอมรถตูเชฟโรเลต ซึ่งเปนรถที่พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) พระราชทานแกสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี สมัยทานเรียนจบท่ีจุฬาฯ และเปนคันโปรดของทานดวย กอนซอมขางประตูดานที่ทาน
ประทับเวลาฝนตกจะมนี ํ้าหยด แตหลงั จากท่ีซอมแลววันหน่ึงทานก็รับส่ังกับสารถีวา วันน้ีรถดูแปลกไป น้ําไมหยด
อยางนี้ก็ไมเย็นนะสิ แตก็ดีเหมือนกันไมตองเอากระปองมารอง” นายอนันตเปดเผยวา ภายในรถยนต
พระท่ีน่ังของแตละพระองคน้ัน เรียบงายมากไมมีอะไรเลยที่เปนส่ิงอํานวยความสะดวก มีแตถังขยะเล็ก ๆ
กับที่ทรงงานเทานั้น สวนการไดมีโอกาสดูแลรถยนตพระที่นั่งทําใหไดเห็นถึงพระราชกรณียกิจของ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ดวยนั้น นายอนันตกลาววา
ครงั้ หน่ึงมีรถยนตพระทน่ี งั่ ท่เี พ่ิงทรงใชในพระราชกรณียกจิ มาทาํ ความสะอาด เหน็ วาพรมใตรถมีน้ําแฉะขังอยู
และมกี ลิ่นเหมน็ ดว ย แสดงวาพระองคทา นทรงนาํ รถไปทรงพระราชกรณียกจิ ในทท่ี ี่นา้ํ ทวม แถมน้าํ ยังซึมเขา ไป
ในรถพระท่ีนั่งดวย แสดงวาน้ําก็ตองเปยกพระบาทมาตลอดทาง จึงถามสารถีวา ทําไมไมรีบเอารถมาซอม
ก็ไดคําตอบวาตองรอใหเสร็จพระราชกรณียกิจกอน เมื่อพิธีกรถามวา จากการที่ไดมีโอกาสรับใชเบ้ือง
พระยุคลบาท ไดเห็นถงึ ความพอเพียงของพระองคอ ยางไร นายอนันต ตอบวา “ปกตถิ า ทรงงานสว นพระองคท านก็
ใชรถคันเล็กเพ่ือประหยัดนํา้ มัน และเมื่อเราสังเกตสีรถพระที่นั่ง จะเห็นวามีรอยสีถลอกรอบคันรถกวาท่ี
ทานจะนํามาทําสใี หมกร็ อบคนั แลว แตค นใชรถอยา งเราแครอยนิดเดยี วก็รบี เอามาทาํ สีแลว และคร้ังหน่ึงระหวาง

89

ที่ผมกําลังประสานงานไปรับรถพระท่ีนั่งของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ก็มีวิทยุของขาราชบริพารบอกกันวารถติดมาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ขึน้ รถไฟฟา ไปแลว”

5. หอ งทรงงาน

หองทรงงานพระตําหนักจิตรลดา

รโหฐานไมไดหรูหราประดับดวยของแพง

แตอยางใด เวลาทรงงาน จะประทับบนพ้ืน

พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน มิไดประทับ

พระเกา อี้เวลาทรงงาน เพราะทรงวางสิ่งของ

ตาง ๆ ไดสะดวก หองทรงงานเปนหองเล็ก ๆ

ขนาด 3 x 4 เมตร ภายในหองทรงงานจะมีวิทยุ ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?q=หอ งทรงงาน
โทรทัศนโทรสารโทรศพั ท คอมพิวเตอร

เทเล็กซเ ครอื่ งบันทกึ เสียง เครือ่ งพยากรณอากาศ เพื่อจะไดทรงสามารถแกปญหาตาง ๆ ไดทันทวงที โดยผนัง

หองทรงงานโดยรอบมแี ผนทีท่ างอากาศแสดงถึงพน้ื ทีป่ ระเทศ หอ งทรงงานของพระองคก ็เปน อีกสง่ิ หนึ่งทเี่ ตอื นสติ

คนไทยไดอยางมาก โตะทรงงานหรือเกาอ้ีโยกรูปทรงหรูหราไมเคยมีปรากฏในหองนี้ ดังพระราชดํารัสของ

สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีตอนหน่ึง ที่วา “...สํานักงาน

ของทาน คือหองกวาง ๆ ไมมีเกาอ้ี มีพ้ืนและทานก็กมทรงงานอยูกับพ้ืน...” นั่นเองนับเปนแบบอยางของ

ความพอดี ไมฟุงเฟอ โดยแท

6. เครอื่ งประดับ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ฉลองพระองคธรรมดา หอยกลอง
ถายภาพไวทพี่ ระศอ มิทรงโปรดการสวมใสเคร่อื งประดับอน่ื เชน แหวน สรอยคอหรือของมีคาตาง ๆ เวนแต
นาฬิกาบนขอพระกรเทานั้น ซ่ึงก็ไมไดมีราคาแพงแตอยางใด “...เคร่ืองประดับ พระองคก็มิทรงโปรดที่จะสวมใส
สักช้ิน นอกเสียจากวาจะทรงแตงองคเพ่ือเสด็จฯ ไปงานพระราชพิธีตาง ๆ หรือตอนรับแขกบานแขกเมือง
เทาน้ัน...”

90

เรื่องท่ี 3 กจิ กรรมทีเ่ กย่ี วของ

ตวั อยา ง ผูเรียนดคู ลปิ วิดีโอตอ ไปนแี้ ละอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ พรอมสรุปสาระขอ คดิ เห็น
กจิ กรรมที่ 1 ความพอเพยี ง : คลิปวดิ โี อเรือ่ ง สาวนักชอ ป ความยาว 9.48 นาที

เร่อื งยอ : หญงิ สาวผใู ชเวลาเดินหา งสรรพสนิ คา และพยายามหาวธิ ีการเสยี คา จอดรถใหน อยทสี่ ดุ
สดุ ทายความพยายามทงั้ หมดกลบั ทาํ ใหเธอพบกบั ความยุงยากมากขน้ึ

คลปิ วดิ ีโอเร่ือง สาวนักชอป
แหลง สอื่ https://www.youtube.com/watch?v=_5wOaLZrrow

ประเดน็ อภิปราย
1. ผเู รยี นคดิ อยา งไรทหี่ ญิงในคลิปพยายามจะซือ้ สนิ คา เพมิ่ เพ่อื ใหคมุ กับระยะเวลา และราคาคา จอดรถ

2. ถา ผเู รียนเปนหญงิ สาวในคลปิ จะทาํ อยา งไร

3. ผูเรยี นไดขอคดิ อะไรจากการชมคลิปนี้

91
กจิ กรรมที่ 2 ความโปรงใสใจสะอาดตา นทจุ รติ : คลปิ วิดโี อเรอ่ื ง ทจุ รติ เชงิ นโยบาย ความยาว 3.00 นาที

เรอื่ งยอ : เปนกลโกงทจุ รติ เชิงนโยบายทผ่ี มู อี าํ นาจแสวงหาประโยชนใ หก บั ตนเองและพวกพอง
โดยการแกไขเพม่ิ เตมิ กฎหมาย ระเบยี บขอ บังคบั เพ่ือเออื้ ประโยชนในเรอ่ื งตา ง ๆ
เปน การสรา งประโยชนต นและพวกพองบนความสูญเสยี ของสว นรวม

คลิปวิดีโอเรอื่ ง ทุจรติ เชงิ นโยบาย
แหลง สอื่ https://www.youtube.com/watch?v=UBA7F5gA_Yk&t=11s

ประเด็นอภปิ ราย
1. ใหผ เู รียนยกตวั อยา งเรื่องราวของกฎ ระเบยี บทีเ่ อ้อื ประโยชนใหก บั ผูรา งกฎ ระเบียบน้นั

2. ถา ผเู รียนเปน บุคคลที่ยกตวั อยา งในขอ 1 ผเู รยี นจะปฏบิ ัตติ นอยางไร

3.ผเู รยี นไดข อคิดอะไรจากการชมคลิปน้ี

92
กิจกรรมท่ี 3 ความตืน่ รู ตา นทจุ รติ : คลิปวิดีโอเรือ่ ง คณุ หมู ตัวเล็ก ธนบตั รปลอม ความยาว 16.35 นาที

เรอื่ งยอ : หญิงสาวผูห นึ่งไดร บั ธนบัตรปลอม ราคา 500 บาท มา 1 ใบ เธอพยายามจะจัดการกับธนบัตร
ปลอมใบน้ัน แตส ดุ ทา ยเธอตัดสนิ ใจเก็บธนบัตรปลอมไวกบั ตวั เอง

คลิปวดิ ีโอเร่ืองคุณหมู ตัวเล็ก ธนบตั รปลอม
แหลงสอื่ https://www.youtube.com/watch?v=CzBUxDHHf08

ประเด็นอภปิ ราย
1. ถา ผเู รยี นไดร ับธนบตั รปลอมมาโดยไมร ูตวั ผูเรยี นจะทําอยา งไร

2.ผเู รยี นคิดวา การตดั สนิ ใจ และการกระทาํ ของหญิง ชาย ในคลิปท่ีตดั สนิ ใจเกบ็ ธนบัตรปลอมไวกับตนเอง
จะชว ยตอ ตา นการทจุ รติ อยางไร

3.ผเู รยี นไดข อคดิ อะไรจากการชมคลปิ น้ี

93
กจิ กรรมท่ี 4 การมุงไปขางหนา : คลิปวิดีโอเรื่อง ระหวา งทาง ความยาว 10.33 นาที

เรื่องยอ : บทสนทนาระหวางการเดินทางของชาย 4 คน สะทอนพฤติกรรมในการอยูรวมกันในรถ
บางคนหลับในขณะที่เพื่อนขับรถ บางคนท้ิงขยะออกนอกรถ เพ่ือนก็จะพูดเตือนวาทําให
คนอื่นเดือดรอน พูดคุยเร่อื งจติ อาสา จิตสาธารณะ การไมเอาเปรยี บคนอ่ืน

คลปิ วดิ โี อเรอื่ ง ระหวางทาง
แหลง ส่ือ https://www.youtube.com/watch?v=A-4hAkG4U1w&t=12s

ประเด็นอภปิ ราย
1. ผเู รียนเคยกระทาํ หรอื เคยพบเหน็ พฤตกิ รรมการทิง้ ขยะแบบน้หี รอื ไม ถาเคยกระทําผูเรยี นอธิบายวา
กระทําเพราะเหตใุ ด

2.เราจะสรางพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค เชน ทิง้ ขยะใหเ ปนท่ีใหเ กดิ ขน้ึ ในตัวเราไดอยา งไร

3. การกระทําแบบใดเปน “จติ อาสา” แบบใดเปน “จติ สาธารณะ”“จิตสาํ นกึ ”

4. ผูเรียนไดข อคดิ อะไรจากการชมคลิปนี้

94

กิจกรรมที่ 5 ความเออ้ื อาทร : คลปิ วิดโี อเรอื่ ง 18 ปบรบิ ูรณ ความยาว 13.24 นาที

เร่อื งยอ
แมเปนขาราชการตํารวจอยูกับลูกชายวัยรุน สอนใหลูกชายหัดขับรถยนต แตส่ังวาไมให
ลูกชายนํารถไปขับโดยลําพัง เพราะลกู ชายไมมีใบขบั ข่ี แตล ูกชายแอบนาํ รถยนตไปขบั ในซอยใกล ๆ บาน
เมอ่ื กลบั มาบานจงึ ถกู แมดแุ ละส่ังไมใ หทําอยางน้ันอกี
วันหน่งึ ลูกชายเห็นแมน อนหมดสติอยบู นพน้ื บา น จงึ ไดข บั รถยนตเพ่ือนําแมไปสงโรงพยาบาล
ระหวา งทาง ถกู ตํารวจเรยี กตรวจใบขบั ขร่ี ถยนต จงึ บอกตาํ รวจวา ไมม ีใบขบั ขี่แตจําเปนตองขบั รถยนต
พาแมไปโรงพยาบาล ตํารวจจึงอนุญาตใหลูกชายขับรถพาแมไปโรงพยาบาลได ตอมาเมื่อชายหนุม
มอี ายุครบ 18 ปบ ริบรู ณ สามารถทําใบขับขรี่ ถยนตและขับรถไดตามกฎหมาย มีอยูวันหนึ่งชายหนุม
ถูกตํารวจคนเดิมจับเพราะขับรถไมด ี ทงั้ นี้ชายหนมุ จะทาํ อยา งไร

คลปิ วดิ ีโอเรื่อง 18 ปบ รบิ ูรณ
แหลงสือ่ https://www.youtube.com/watch?v=0_UBLgnJ6jI

ประเดน็ อภปิ ราย
1. ในคลปิ เดก็ หนุมประพฤติตนไดเหมาะสมหรือไมเหมาะสมในพฤติกรรมใด เพราะอะไร

2. พฤตกิ รรมในคลิปของบคุ คลใดทแ่ี สดงใหเหน็ ถงึ ความเอ้อื อาทร และไมย ืดมน่ั ในกฎกติกาจนลืมนกึ ถึงมนุษยธรรม

3.ผูเรียนไดขอ คดิ อะไรจากการชมคลปิ น้ี

95

กิจกรรมท่ี 6 การเรยี นรเู ทา ทันปองกนั การทุจริต : คลปิ วดิ โี อเรอ่ื ง ผตู ดั สิน ความยาว 13.19 นาที

เรอื่ งยอ : ครูสอนดนตรี ไดร บั การแตง ตัง้ ใหเ ปนกรรมการตดั สินการประกวดรองเพลงของนกั เรยี น
แตค รูถูกเขา ใจผดิ คิดวา ลําเอยี งเขาขา งนกั เรยี นทพ่ี อ ของเธอนํากตี ารมาใหครู

คลิปวดิ ีโอเร่ือง ผูต ดั สิน
แหลง สือ่ https://www.youtube.com/watch?v=4A7xpbbjm9Q&t=137s
ประเด็นอภิปราย
1. ในชีวติ ประจําวนั ผเู รยี นเคยเขาใจอะไรผดิ หรอื รีบแสดงความคิดเห็นผา น Social Media โดยที่ยังไมร ู
ความจริงหรอื ไม

2. อะไรคอื ผลกระทบทเี่ กิดจากการเขา ใจผดิ

3. ผเู รียนคดิ วาการตัดสินของครดู นตรีถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด

4. ผูเรยี นไดขอคดิ อะไรจากการชมคลิปนี้

96

บทที่ 4

พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบตอ สังคม

สาระสําคญั

พลเมือง เปนองคประกอบที่สําคัญของสังคมไทยเชนเดียวกับสังคมอื่น ๆ ทุกสังคมยอมตองการ
พลเมืองที่มีคุณภาพ ซงึ่ หมายถงึ ความมรี า งกายจิตใจดี คดิ เปน ทําเปน แกป ญหาได มีประสิทธิภาพ และเปน
กําลงั สําคญั ในการพฒั นาความเจริญกา วหนา ความมน่ั คงใหก ับประเทศชาติ การเปนพลเมอื งท่ีดีนั้น ยอมตอง
มกี ารปฏิบัติตามบรรทดั ฐานและขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม มีคุณธรรมเปนแนวปฏิบัติในการดําเนิน
ชีวติ เพอ่ื การพัฒนาสงั คมใหย ง่ั ยนื

ตวั ช้ีวดั

1. อธิบายความหมายและทมี่ าของคําศัพทท่เี กย่ี วขอ งกับพลเมอื ง
2. อธิบายความหมายและแนวคดิ เกี่ยวกบั การศกึ ษาเพ่ือสรา งความเปน พลเมือง
3. อธิบายองคประกอบของการศกึ ษาความเปนพลเมอื ง
4. บอกแนวทางการปฏบิ ตั ิตนการเปนพลเมอื งดีได
5. แนวทางการสรา งเสริมสาํ นกึ ความเปน พลเมอื ง : กรณีศกึ ษาประเทศไทย
6. บอกผลการศกึ ษาเกยี่ วกบั ความเปนพลเมืองในบรบิ ทตางประเทศ
7. สามารถคดิ วเิ คราะหใ นการทํากจิ กรรมที่เกยี่ วของ

ขอบขายเนอื้ หา

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายและทีม่ าของคําศพั ททเ่ี กีย่ วของกับพลเมือง
เร่ืองที่ 2 ความหมายและแนวคิดเกยี่ วกบั การศึกษาเพือ่ สรางความเปน พลเมอื ง
เรื่องที่ 3 องคประกอบของการศกึ ษาความเปน พลเมือง
เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน พลเมอื งดี
เรอ่ื งที่ 5 แนวทางการสรางเสริมสํานกึ ความเปนพลเมอื ง : กรณศี กึ ษาประเทศไทย
เรอ่ื งที่ 6 การศึกษาเกยี่ วกับความเปน พลเมอื งในบรบิ ทตา งประเทศ
เรื่องท่ี 7 กจิ กรรมที่เกย่ี วของ

97

เร่ืองที่ 1 ความหมายและทมี่ าของคําศัพททเ่ี กี่ยวของกบั พลเมือง

พลเมืองคําวา “พลเมือง” เกิดข้ึนคร้ังแรกเม่ือเกิดการปฏิวัติใหญในฝรั่งเศสเร่ิมตนเมื่อป ค.ศ. 1789
ชาวฝร่ังเศสลกุ ฮอื กันข้ึนมาลมลา งระบอบการปกครองของพระเจา หลยุ สท ี่ 16 ลมลางระบบชนชนั้ ตาง ๆ ขณะนัน้
ไดแ ก พระราชวงศ ขนุ นางขา ราชการ สมณะ นกั พรต นักบวช และไพร ประกาศความเสมอภาคของชาวฝร่ังเศส
ทุกคนตอ มาคาํ วา "Citoyen" จงึ แปลเปน "Citizen" ในภาษาองั กฤษ

สาํ หรับประเทศไทย คําวา “พลเมือง” ถูกนํามาใชสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
เนื่องจากผนู าํ คณะราษฎรบางทา นเคยเรียนที่ประเทศฝรง่ั เศส จงึ ไดน ําเอาคาํ น้มี าใสไวในรฐั ธรรมนญู ฉบับถาวร
ซ่ึงประกาศใชเมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ตอมากลายเปนวิชาบังคับท่ีนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาจะตอง
เรียนควบคกู ับวิชาศีลธรรม กลายเปน วิชา “หนาท่ีพลเมืองและศีลธรรม”

ในสวนที่เปนหนาที่พลเมืองก็ลอกมาจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฉบับป 2475 เรื่อยมาจนถึง
รัฐธรรมนูญ ฉบับป 2475 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 และเลิกใชเมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ทําการ
รฐั ประหาร เม่อื วนั ท่ี 16 กันยายน 2500 แตว ิชาหนา ท่พี ลเมืองก็ยังคงเรยี นและสอนกันตอมาอีกหลายป จึงเลิกไป
พรอม ๆ กับคําวา “พลเมือง” โดยตอมาก็ใชคําวา “ปวงชน” แทนคําวา “ราษฎร” คงเปนการใชแทนคําวา
“ประชาชน” หรอื คาํ วา People ในภาษาองั กฤษ อาจจะมาจากอทิ ธพิ ลของอเมริกาสบื เนอื่ งมาจากสุนทรพจน
ณ เกตตสี เบิรก ของประธานาธบิ ดีอับราฮัม ลินคอลน ท่ีใหคําจํากัดความของรัฐบาลประชาธิปไตยไววา เปน
“รฐั บาลของประชาชน โดยประชาชน และเพือ่ ประชาชน” แตแทนที่เราจะใชคําวา “ประชาชน” แทนคําวา
“ราษฎร” เรากลับใชคําวา “ปวงชน” แทนอยางไรก็ตาม คําวา ปวงชน ก็ใชแตในรัฐธรรมนูญฉบับตาง ๆ
เทานั้น แตไมติดปากที่จะใชกันท่ัวไปในท่ีอ่ืน ๆ ไมวาในหนาหนังสือพิมพหรือในสื่ออื่น ๆ ยังนิยมใชคําวา
“ประชาชน”มากกวาคําวา“ปวงชน”

สาํ หรับคาํ วา “พลเมือง” มีนักวิชาการใหความหมายสรปุ ไดพอสงั เขป
พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมาย “พลเมือง” หมายถึง ชาวเมือง
ชาวประเทศ ประชาชน “วิถี” หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน และ “ประชาธิปไตย” หมายถึง แบบการปกครอง
ท่ถี ือมติปวงชนเปน ใหญ ดังน้นั คาํ วา “พลเมืองดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย” จึงหมายถึง พลเมืองท่ีมีคุณลักษณะ
ท่ีสําคัญ คือ เปนผูท่ียึดม่ันในหลักศีลธรรม และคุณธรรมของศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการ
ดาํ รงชีวิตปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมายดํารงตนเปน ประโยชนต อสังคม โดยมกี ารชว ยเหลือเกอ้ื กูลกันอนั จะกอ ใหเกิด
การพฒั นาสังคมและประเทศชาติ ใหเ ปนสงั คมและประเทศประชาธปิ ไตยอยา งแทจ ริง
วราภรณ สามโกเศศ อธบิ ายวา ความเปนพลเมือง หมายถึง การเปนคนท่ีรับผิดชอบไดดวยตนเอง
มีความสํานกึ ในสันติวิธี มกี ารยอมรบั ความคิดเห็นของผอู ืน่

98

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล กลาววา ความเปนพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การที่
สมาชกิ มอี ิสรภาพ ควบคกู บั ความรับผิดชอบ และมีอิสรเสรภี าพควบคกู บั “หนา ท่ี ”

จากความหมายของนกั วชิ าการตาง ๆ พอสรปุ ไดว า “พลเมือง” หมายถึง ประชาชนที่นอกจากเสีย
ภาษแี ละปฏิบัติตามกฎหมายบานเมืองแลว ยงั ตองมีบทบาทในทางการเมือง คือ อยางนอยมีสิทธิไปเลือกตั้ง
แตย่ิงไปกวาน้ัน คือ มีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นตาง ๆ ตอทางการหรือรัฐได ทั้งยังมีสิทธิเขารวม
ในกิจกรรมตาง ๆ กับรฐั และอาจเปนฝา ยรุกเพื่อเรียกรองกฎหมาย นโยบายและกิจกรรมของรัฐตามท่ีเห็นพอง
พลเมืองน้ันจะเปนคนท่ีรูสึกเปนเจาของในส่ิงสาธารณะ มีความกระตือรือรนอยากมีสวนรวม เอาใจใส
การทํางานของรัฐ และเปนประชาชนที่สามารถแกไขปญหาสวนรวมไดในระดับหนึ่ง โดยไมตองรอใหรัฐ
มาแกไขใหเทา น้ัน

ประชาธิปไตย (Democracy) หมายถึง ระบอบการปกครองท่ีถือมติปวงชนเปนใหญ การถือเสียง
ขางมากเปนใหญ นอกจากนยี้ งั มีความหมายวา ประชาธปิ ไตย เปนรูปแบบการปกครองตามอุดมการณสากล
ท่ีผูนําประเทศไดรับอํานาจและความชอบธรรมในการบริหารประเทศจากประชาชน ผูเปนเจาของอํานาจ
อธิปไตยโดยตรง บนพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และการเคารพศักด์ิศรีแหงความเปนมนุษย
โดยมีการแบงอํานาจในการปกครองประเทศอยางชัดเจน ผานการกระจายอํานาจ และการถวงดุลอํานาจ
ระหวา ง 3 ฝา ย คอื ฝายบรหิ าร ฝายนิติบัญญัติ และฝายตุลาการ เพื่อปองกันการใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ
ของผูปกครองประเทศ

การทุจริต (Corruption) หมายถึง ความประพฤติชั่ว ถาเปนความประพฤติชั่วทางกาย เรียกวา
กายทจุ ริต ถา เปน ความประพฤตชิ ่ัวทางวาจา เรียกวา วจที ุจรติ ถา เปน ความประพฤติชัว่ ทางใจ เรยี กวา มโนทุจริต
และมีผูใหความหมายอีกวา หมายถึง การใชอํานาจที่ไดมาหรือการใชทรัพยสินที่มีอยูในทางมิชอบ
เพอื่ ประโยชนสวนตนหรอื กอใหเกิดความเสียหายตอประโยชนของผูอื่น การทุจริตอาจเกิดไดหลายลักษณะ
อาทิ การติดสินบนเจาพนกั งานดวยการชักชวน การเสนอ การให หรือการรับสินบน ท้ังที่เปนเงินและส่ิงของ
การมีผลประโยชนทับซอน การฉอฉล การฟอกเงิน การยักยอก การปกปดขอเท็จจริง การขัดขวาง
กระบวนการยุติธรรม การคาภายใตแรงอิทธิพล ทั้งนี้ การทุจริตดังกลาวมิไดหมายความถึงเพียง
ความสัมพนั ธร ะหวา งเอกชนกับหนวยงานของรัฐเทานั้น แตยังครอบคลุมถึงธุรกรรมระหวางบุคคลหรือกิจการ
ในระหวางภาคเอกชนดวยกนั เองดว ย

สิทธิ สิทธิ์ (Rights) หมายถึง อํานาจอันชอบธรรม เชน บุคคลมีสิทธิและหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ
เขามีสิทธ์ิในท่ีดินแปลงน้ี และมีผูใหความหมายวา “สิทธิ” คือ ประโยชนหรืออํานาจของบุคคลท่ีกฎหมาย
รับรองและคุมครองมิใหมีการละเมดิ รวมท้ังบงั คบั การใหเ ปนไปตามสิทธิในกรณที มี่ ีการละเมดิ ดวย เชน สิทธิ

99

ในครอบครวั สทิ ธิความเปนอยสู ว นตวั สิทธใิ นเกียรตยิ ศ ชอื่ เสียง สทิ ธิในการเลือกอาชีพ ถ่ินท่ีอยูการเดินทาง
สทิ ธิในทรัพยสนิ เปน ตน

เสรีภาพ (Liberty) หมายถึง ความสามารถท่ีจะกระทาํ การใด ๆ ไดตามที่ตนปรารถนาโดยไมมี
อุปสรรคขัดขวาง เชน เสรภี าพในการพูด เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา ความมสี ิทธทิ ่ีจะทําจะพูดได โดยไมละเมิด
สิทธิของผอู น่ื

เสรีภาพ หมายถึง อํานาจตัดสินใจดวยตนเองของมนุษยที่จะเลือกดําเนินพฤติกรรมของตนเอง
โดยไมม บี ุคคลอืน่ ใดอา งหรอื ใชอํานาจสอดแทรกเขา มาเก่ยี วขอ งการตดั สินใจนัน้

เสรีภาพ ตามความหมายในทางกฎหมาย หมายความถงึ อํานาจของคนเราที่จะตัดสินใจดวยตนเอง
ท่จี ะกระทาํ การหรือไมกระทาํ การสิ่งหนง่ึ สิ่งใดอันไมเปน การฝา ฝนตอกฎหมาย

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 3 ไดกําหนดสิทธิและเสรีภาพ
ของปวงชนชาวไทย ดังตอไปนี้

มาตรา 25 ไดอธิบายวา สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุมครองไวเปน
การเฉพาะในรฐั ธรรมนญู แลว การใดทมี่ ิไดหามหรือจาํ กัดไวใ นรฐั ธรรมนูญหรอื ในกฎหมายอ่ืนบุคคลยอมมสี ทิ ธิ
และเสรภี าพที่จะทาํ การนั้นได และไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเทาท่ีการใชสิทธิหรือเสรีภาพ
เชนวา นน้ั ไมกระทบกระเทือนหรือเปน อันตรายตอความมน่ั คงของรัฐความสงบเรียบรอ ยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน และไมล ะเมดิ สทิ ธหิ รอื เสรภี าพของบุคคลอื่น

มาตรา 27 ถึงมาตรา 49 ไดก ลาวถงึ เรือ่ งสิทธิและเสรภี าพ ไวดังนี้
1. บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและไดรับความคุมครองตามกฎหมาย

เทา เทียมกันชายและหญิงมสี ทิ ธิเทา เทยี มกนั
2. บคุ คลยอมมีสทิ ธิและเสรีภาพในชีวติ และรา งกาย
3. บุคคลยอ มมเี สรภี าพบริบูรณในการนบั ถือศาสนาและยอมมเี สรภี าพในการปฏิบัติหรือประกอบ

พิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน แตตองไมเปนปฏิปกษตอหนาที่ของปวงชนชาวไทย ไมเปนอันตราย
ตอ ความปลอดภัยของรัฐ และไมข ดั ตอความสงบเรยี บรอยหรอื ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน

4. บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถานการเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอม
ของผูครอบครอง หรือการคนเคหสถานหรือที่รโหฐานจะกระทํามิได เวนแตมีคําส่ังหรือหมายของศาลหรือ
มเี หตอุ ยางอืน่ ตามทีก่ ฎหมายบญั ญัติ

5. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณา
และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจํากัดเสรีภาพดังกลาวจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจ
ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่ตราข้ึนเฉพาะเพื่อรักษาความม่ันคงของรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิหรือเสรีภาพ

100

ของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันสุขภาพ
ของประชาชน

เสรีภาพทางวิชาการยอมไดรับความคุมครอง แตการใชเสรีภาพนั้นตองไมขัดตอหนาที่
ของปวงชนชาวไทย หรอื ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน และตอ งเคารพและไมปดก้นั ความเหน็ ตา งของบุคคลอน่ื

6. บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนยอมมีเสรีภาพในการเสนอขาวสารหรือการแสดง
ความคิดเห็นตามจริยธรรมแหงวิชาชีพ การสั่งปดกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นเพ่ือลิดรอนเสรีภาพ
ตามวรรคหนึ่งจะกระทาํ มิได

7. บคุ คลยอ มมีเสรภี าพในการตดิ ตอ สือ่ สารถึงกันไมวาในทางใด ๆ
8. บคุ คลยอ มมีสิทธใิ นทรัพยส ินและการสืบมรดกขอบเขตแหงสิทธิและการจํากัดสิทธิเชนวาน้ี
ใหเปน ไปตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
9. บคุ คลยอมมีเสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถ่ินท่ีอยูการจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง
จะกระทํามไิ ด เวน แตโดยอาศัยอาํ นาจตามบทบัญญัตแิ หงกฎหมายทตี่ ราขน้ึ เพือ่ ความม่ันคงของรัฐ ความสงบ
เรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือการผังเมือง หรือเพื่อรักษาสถานภาพของครอบครัว หรือเพื่อ
สวสั ดิภาพของผูเ ยาว
10. บุคคลยอมมเี สรภี าพในการประกอบอาชพี
11.บคุ คลและชุมชนยอมมสี ทิ ธิ

(1) ไดร บั ทราบและเขาถึงขอ มูลหรอื ขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงานของรัฐ
ตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ

(2) เสนอเรือ่ งราวรองทุกขตอหนวยงานของรัฐและไดรับแจงผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว
(3) ฟองหนว ยงานของรัฐใหร บั ผิด เน่ืองจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําของขาราชการ
พนกั งาน หรอื ลูกจางของหนวยงานของรฐั
12. บคุ คลยอ มมีเสรีภาพในการรวมกันเปนสมาคม สหกรณ สหภาพ องคกร ชมุ ชน หรือหมูคณะอื่น
การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหน่ึงจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายที่ตราข้ึนเพ่ือคุมครองประโยชนสาธารณะ เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน หรือเพอื่ การปองกนั หรือขจดั การกีดกันหรือการผูกขาด
13. บคุ คลและชุมชนยอมมสี ทิ ธิ
(1) อนุรกั ษฟ น ฟูหรือสง เสริมภมู ปิ ญญา ศลิ ปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณี
อันดงี ามทั้งของทองถนิ่ และของชาติ

101

(2) จัดการ บาํ รุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและความหลากหลาย
ทางชวี ภาพอยา งสมดลุ และย่ังยืนตามวธิ กี ารท่กี ฎหมายบญั ญตั ิ

(3) เขาชื่อกันเพ่ือเสนอแนะตอหนวยงานของรัฐใหดําเนินการใดอันจะเปนประโยชน
ตอประชาชนหรือชมุ ชน หรอื งดเวนการดาํ เนนิ การใดอนั จะกระทบตอ ความเปนอยอู ยางสงบสุขของประชาชน
หรือชุมชน และไดรับแจงผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว ท้ังนี้ หนวยงานของรัฐตองพิจารณาขอเสนอแนะนั้น
โดยใหป ระชาชนท่เี กยี่ วขอ งมสี ว นรวมในการพจิ ารณาดว ยตามวิธกี ารทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ

(4) จดั ใหม ีระบบสวสั ดกิ ารของชมุ ชนสิทธิของบุคคลและชุมชนตามวรรคหน่ึง หมายความ
รวมถึง สิทธิที่จะรวมกับองคก รปกครองสวนทอ งถนิ่ หรอื รฐั ในการดาํ เนนิ การดังกลา วดวย

14. บุคคลยอมมเี สรีภาพในการชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ
15. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมืองตามวิถีทางการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ
16. สิทธขิ องผบู ริโภคยอ มไดร ับความคุมครองบุคคลยอมมีสิทธิรวมกันจัดต้ังองคกรของผูบริโภค
เพือ่ คุม ครองและพิทักษส ิทธขิ องผูบ รโิ ภค
17. บุคคลยอมมีสิทธิไดรับบริการสาธารณสุขของรัฐบุคคลผูยากไร ยอมมีสิทธิไดรับบริการ
สาธารณสุขของรัฐ โดยไมเสียคาใชจายตามที่กฎหมายบัญญัติบุคคลยอมมีสิทธิไดรับการปองกันและขจัด
โรคตดิ ตอ อนั ตรายจากรัฐโดยไมเ สยี คา ใชจาย
18. สิทธิของมารดาในชวงระหวางกอนและหลังการคลอดบุตรยอมไดรับความคุมครองและ
ชว ยเหลอื ตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ
19. บุคคลจะใชสิทธหิ รอื เสรีภาพ เพือ่ ลมลา งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุขมิได
หนาท่ี (Role) หมายถึง กิจที่จะตองทําดวยความรับผิดชอบ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2554) นอกจากน้ียังมีความหมายดังนี้ หนาที่ (Duty) ตามความหมายใน Dictionary of Education
หมายถึง ส่ิงท่ีทุกคนตองทาํ โดยปกติแลวภาวะจํายอมจะเปนไปตามหลักศีลธรรมแตบางครั้งก็เปนไป
ตามกฎหมาย หรือขอตกลงนอกจากน้ียังมีความหมายวา หนาที่ หมายถึงกิจที่ตองกระทํา หรือส่ิงที่บุคคล
จําเปนตองกระทํา ทั้งนี้อาจเปนความจําเปนตามหลักศีลธรรม กฎหมาย หรือดวยความสํานึกที่ถูกตอง
เหมาะสม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 4 ไดกําหนดใหบุคคลมีหนาที่
ดงั ตอไปนี้

102

1. พิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ

2. ปองกันประเทศ พิทักษรักษาเกียรติภูมิผลประโยชนของชาติและสาธารณสมบัติของแผนดิน
รวมทั้งใหความรวมมอื ในการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

3. ปฏิบัตติ ามกฎหมายอยางเครง ครัด
4. เขา รับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบงั คบั
5. รบั ราชการทหารตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ
6. เคารพและไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไมกระทําการใดที่อาจกอใหเกิด
ความแตกแยกหรอื เกลยี ดชงั ในสงั คม
7. ไปใชสทิ ธิเลือกต้ังหรือลงประชามติอยางอิสระ โดยคํานึงถึงประโยชนสวนรวมของประเทศ
เปนสําคัญ
8. รวมมือและสนับสนุนการอนุรักษและคุมครองสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติความหลากหลาย
ทางชีวภาพ รวมท้งั มรดกทางวฒั นธรรม
9. เสียภาษีอากรตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ
10. ไมรวมมอื หรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทกุ รูปแบบ

สงั คม (Social) มหี ลายความหมาย ดงั น้ี
1. คนจํานวนหนึ่งที่มีความสัมพันธตอเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ โดยมีวัตถุประสงคสําคัญ
รวมกนั เชน สังคมชนบท
2. วงการหรือสมาคมของคนกลมุ ใดกลมุ หน่ึง เชน สังคมชาวบา น
3. ทเี่ กยี่ วกบั การพบปะสงั สรรคหรือชมุ นมุ ชน เชน วงสังคม งานสังคม
4. วถิ ชี วี ติ ของมนุษยห รือลกั ษณะตามธรรมชาติของมนษุ ย กค็ อื การอยรู วมกนั เปนกลมุ และจาํ เปน
ทจี่ ะตอ งพึง่ พาอาศยั บุคคลอน่ื ๆ เชน เมือ่ แรกเกดิ ตองอาศยั พอ แมพ่นี องคอยเลยี้ งดู และเม่ือเติบโตเปนผูใหญ
กจ็ ะตอ งมีสัมพนั ธกบั เพอ่ื น ครูอาจารย และบุคคลอนื่ ทเี่ ก่ียวขอ งหรือทเ่ี รยี กวากนั โดยทัว่ ไปวา “สงั คม”
5. กลุมคนตั้งแตสองคนขึ้นไป อาศัยอยูรวมกันเปนระยะเวลายาวนานอยางตอเน่ืองในบริเวณ
หรือพ้ืนท่ีแหงใดแหงหน่ึง มีอาณาเขตที่ชัดเจน และมีการปฏิสัมพันธตอกันอยางมีระเบียบและแบบแผน
ภายใตวิถีชีวิตและขนบธรรมเนยี มท่ีสอดคลอ งกัน ตลอดจนสามารถเลยี้ งตนเองไดตามสมควรแกอัตภาพ

103

ชมุ ชน (Community) หมายถงึ กลุมคนที่อยูรวมกันเปนสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยูในอาณาบริเวณ
เดียวกัน และมีผลประโยชนรวมกันท่ีที่มีคนอาศัยอยูมาก เชน ขับรถเขาเขตชุมชนตองชะลอความเร็ว
นอกจากนีย้ งั มีผูใหความหมายไวด ังน้ี

กาญจนา แกว เทพ (2538) กลา วถงึ “ชุมชน” วา “ชมุ ชน” หมายถึง กลุม คนท่อี าศัยอยใู นอาณาเขต
บริเวณเดียวกัน มีความสัมพันธใกลชิด มีฐานะและอาชีพที่คลายคลึงกัน มีลักษณะของการใชชีวิตรวมกัน
มีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ต้ังแตระดับครอบครัวไปสูระดับเครือญาติ จนถึงระดับหมูบานและระดับ
เกนิ หมูบานและผทู อี่ าศัยในชมุ ชนมีความรสู ึกวาเปนคนชุมชนเดียวกัน นอกจากน้ี ยังมีการดํารงรักษาคุณคา
และมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนาถา ยทอดไปยงั ลกู หลานอกี ดวย

จิตติ มงคลชัยอรัญญา (2540) กลาวถึง “ชุมชน” โดยสรุปวา “ชุมชน” ประกอบไปดวยระบบ
ความสัมพันธของคน ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ระบบเศรษฐกิจ อาชีพ ระบบการเมือง ระบบ
การปกครอง โครงสรางอํานาจ รวมถงึ ระบบนเิ วศนวิทยา สิ่งแวดลอ ม และเทคโนโลยีดานตาง ๆ ซ่ึงระบบเหลานี้
มคี วามสมั พนั ธระหวางกนั หรือเรยี กอกี อยา งหน่ึงวา มีความเชอ่ื มโยงกนั ชนิดท่ีไมสามารถแยกออกจากกนั ได

ประเวศ วะสี (2540) ไดใ หความหมายของ “ชมุ ชน” โดยเนน “ความเปน ชุมชน” หมายถึง การที่คน
จํานวนหนึ่งเทาใดก็ได มีวัตถุประสงครวมกัน มีการติดตอสื่อสารหรือรวมกลุมกัน มีความเอ้ืออาทรตอกัน
มกี ารเรียนรูร วมกนั ในการกระทาํ มกี ารจดั การเพื่อใหเกิดความสาํ เร็จตามวัตถุประสงคร ว มกนั

รัฐบาล (Government) หมายถึง องคกรปกครองประเทศคณะบุคคลที่ใชอํานาจบริหารในการ
ปกครองประเทศ

กฎหมาย (Laws) หมายถึง กฎเกณฑท่ีผูมีอํานาจตราขึ้นเพ่ือใชบังคับบุคคลใหปฏิบัติตามเปนการ
ทั่วไป ผใู ดไมป ฏิบตั ิตามยอ มไดรบั ผลรา ย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกําหนดระเบียบแหงความสัมพันธระหวาง
บุคคลหรือระหวางบุคคลกับรัฐ หรือเพ่อื ใชในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเปน
ท่ียอมรบั นบั ถอื กนั ก็ได

104

กจิ กรรม

คําชแ้ี จง ใหผ ูเรยี นหาความหมายของคําตอ ไปนม้ี าพอสังเขป
1. พลเมือง หมายถงึ

2. ประชาธปิ ไตย หมายถงึ

3. การทุจริต หมายถึง

4. สทิ ธิ หมายถงึ

5. หนาท่ี หมายถึง

6. เสรภี าพ หมายถึง

7. สังคม หมายถงึ

105

8. ชุมชน หมายถงึ
9. รฐั บาล หมายถงึ
10. กฎหมาย หมายถงึ

106

เร่อื งที่ 2 ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเพอ่ื สรางความเปน พลเมอื ง

การใหค วามสําคญั ของการพฒั นาความเปน พลเมืองใหเ กดิ ขน้ึ สาํ หรับคนไทยมีมาอยางตอเนื่องและ
ยาวนาน ซ่ึงสะทอนไดจ ากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ที่พระราชทาน
ในโอกาสสําคัญหลายครั้ง อาทิ

“การศึกษาเปนเรื่องใหญและสําคัญยิ่งของมนุษย คนเราเมื่อเกิดมาก็ไดรับการส่ังสอนจากบิดา
มารดา อนั เปนความรเู บอื้ งตน เมอ่ื เจรญิ เติบโตขน้ึ ก็เปน หนาทข่ี องครแู ละอาจารยส่ังสอนใหไดรับวิชาความรู
สูงและอบรมจิตใจใหถึงพรอมดวยคุณธรรม เพ่ือจะไดเปนพลเมืองดีของชาติสืบตอไป”พระบรมราโชวาท
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกนิสิตและผูเรียน
วทิ ยาลัยวชิ าการศกึ ษา วันพฤหสั บดี 13 ธนั วาคม 2505)

“สงั คมและบา นเมืองใด ใหก ารศกึ ษาท่ีดแี กเยาวชนไดอยางครบถวน ลวนพอเหมาะกันทุก ๆ ดาน
สังคมและบา นเมืองนน้ั ก็จะมีพลเมอื งทมี่ คี ุณภาพ ซ่ึงสามารถธํารงรกั ษาความเจริญม่ันคงของประเทศชาติไว
และพัฒนาใหกาวหนาตอไปไดโดยตลอด ผูมีหนาที่จัดการศึกษาทุก ๆ คนจึงตองถือวา ตัวของทานมี
ความรบั ผิดชอบตอชาตบิ านเมืองอยูอยา งเต็มท่ใี นอันทจ่ี ะตอ งปฏิบัติหนา ท่ีใหเท่ียงตรง ถูกตอง สมบูรณโดยเต็ม
กําลังจะประมาทหรอื ละเลยมิได” พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพล
อดุลยเดช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9)
พระราชทานแกคณะครูและนกั เรียนท่ีไดรับพระราชทานรางวัลฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันจันทร 27 กรกฎาคม
2524

“...การศึกษาเปนเครื่องมืออันสําคัญในการพัฒนา ความรูความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ
คานิยม และคุณธรรมของบุคคล เพ่ือใหเปนพลเมืองดีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เมื่อบานเมืองประกอบ
ไปดว ยพลเมอื งทีม่ ีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศชาติก็ยอมทําใหไดโดยสะดวกราบร่ืนไดผล
ท่ีแนนอนและรวดเร็ว...”พระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) พระราชทานแกครู
ผูใหญแ ละนกั เรยี น ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวงั ดสุ ติ วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2520

จากพระบรมราโชวาทขางตนแสดงใหเ หน็ ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองคท่ีทรงตระหนักและทรงมี
วิสยั ทัศนด า นการศึกษาเพ่ือสรา งความเปน พลเมอื ง ซึ่งเนอ้ื ความยังคงเปนสาระท่มี คี วามทนั สมัย และเปนเรอ่ื ง
สําคัญ เนื่องจากผลของการขัดเกลาและพัฒนาความเปนพลเมืองท่ีตองใชเวลานาน หากไมเรงลงมือพัฒนา

107

แกไขอยางจริงจัง อนาคตของประเทศอาจตกอยูในสภาวการณท่ีนาเปนหวงในการท่ีจะยืนหยัดอยูรอด
ปลอดภัยไดอ ยา งมัน่ คง

ในการสรา งความเปนพลเมืองใหเกิดข้ึนกบั ประชาชนเปน เรื่องทที่ กุ ประเทศในโลกพยายามใหเ กดิ ขนึ้
และใหความสําคัญมาโดยตลอด เพราะตองตระหนักถึงความจําเปนและคุณคาของความเปนพลเมือง
ท่ีจะเปนเครื่องมือนาํ พาประเทศใหอยูรอดและกาวพนวิกฤตตาง ๆ ไดเปนอยางดี รวมทั้งเมื่อประชาชน
เปนพลเมืองที่มีคุณภาพแลวยอมสงผลตอการสรางสรรคสังคมท่ีมีคุณภาพ และนําไปสูการพัฒนาใหเกิด
รากฐานของสังคมท่ีเขมแข็ง นับวาเปนการพัฒนาท่ีย่ังยืนอยางแทจริง หลายประเทศที่พัฒนาแลวมีความ
ตระหนักดีในเร่ืองดังกลาว จึงใหความสําคัญตอกระบวนการพัฒนาคนต้ังแตระดับเยาวชนและขับเคล่ือน
การศกึ ษาเพอ่ื สรา งความเปนพลเมือง (Civic Education)

ความหมายของพลเมืองศกึ ษา
พลเมืองศกึ ษา (Civic Education) หมายถึง การจัดการศึกษาและประสบการณเรียนรูเพื่อพัฒนา
ผูเรียนใหเปนพลเมืองดีของประเทศ มีความภาคภูมิใจในความเปนพลเมืองตนเอง มีสิทธิมีเสียง สนใจ
ตอสวนรวม และมีสวนรวมในกิจการบานเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย หรือการเรียนรู
เก่ียวกับรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระบบการเมืองการปกครองสิทธิและความรับผิดชอบของพลเมือง
ระบบการบริหารจัดการสาธารณะและระบบตุลาการ
ดังน้ัน การจะทําใหพลเมืองตระหนักรูในสิทธิและหนาที่จําเปนตองใหการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
กับพลเมือง เพือ่ สรา งความเปน พลเมืองท่ีดีโดยเฉพาะในสังคมระบอบประชาธิปไตยท่ีประเทศตาง ๆ ยึดถือ
เปนแนวทางปกครองประเทศ โดยประชาชนตองมีความรู ทักษะ และขอมูล ความรู และทักษะ ซ่ึงเปนผล
มาจากการศกึ ษาเพื่อความเปน พลเมือง
คณุ ลกั ษณะของพลเมอื ง
การเปนพลเมอื งดจี ะมลี กั ษณะอยางไร สังคมจะเปนผูกําหนดลักษณะที่พึงประสงคเพื่อไดพลเมือง
ท่ีดี ดงั น้ัน พลเมืองของระบอบประชาธิปไตยจึงไมเหมือนกับพลเมืองของการปกครองระบอบอื่น ประเทศ
ทีป่ กครองโดยระบอบประชาธปิ ไตย จะมีการกําหนดคุณลักษณะของความเปน พลเมอื งท่ีประกอบดว ยลักษณะ
6 ประการ ดังน้ี
1. มีอสิ รภาพและพึง่ ตนเองได หมายความวา ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองท่ีประชาชน
เปนเจาของอาํ นาจสูงสุดในประเทศ ประชาชนจึงมีฐานะเปนเจาของประเทศ เปนเจาของชีวิตและมีสิทธิ
เสรีภาพในประเทศของตนเอง ระบอบประชาธิปไตยจึงทําใหเกิดหลักสิทธิเสรีภาพ และทําใหประชาชน
มีอิสรภาพ คือ เปนเจาของชีวิตตนเอง “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยจึงเปนไท คือ เปนอิสระชน
ทพ่ี ึ่งตนเองและสามารถรบั ผิดชอบตนเองไดแ ละไมย อมตกอยูภายใตอทิ ธิพลอาํ นาจหรอื “ระบบอปุ ถมั ภ” ของผูใด

108

2. เห็นคนเทาเทียมกัน หมายความวา ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่อํานาจสูงสุด
ในประเทศเปน ของประชาชน ดังนน้ั ไมวา ประชาชนจะแตกตา งกันอยางไร ทกุ คนลว นแตเทา เทยี มกันในฐานะ
ที่เปนเจาของประเทศ “พลเมอื ง” จึงตอ งเคารพหลกั ความเสมอภาคและจะตองเห็นคนเทาเทียมกัน คือ เห็นคน
เปน แนวระนาบ (Horizontal) เห็นตนเทา เทียมกบั คนอนื่ ทุกคนลวนมีศักดิ์ศรีของความเปนเจาของประเทศ
อยางเสมอกนั ถงึ แมจ ะมีการพ่งึ พาอาศยั แตจะเปนไปอยา งเทาเทยี ม

3. ยอมรับความแตกตาง หมายความวา ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่ประชาชน
เปนเจาของประเทศ ประชาชนจึงมเี สรภี าพ ระบอบประชาธิปไตยจึงใหเสรีภาพและยอมรับความหลากหลาย
ของประชาชน ประชาชนจึงแตกตางกันไดไมวาจะเปนเรื่องการเลือกอาชีพ วิถีชีวิต ความเช่ือทางศาสนา
หรือความคิดเห็นทางการเมือง ดังนั้น เพ่ือมิใหความแตกตางนํามาซึ่งความแตกแยกในสังคม “พลเมือง”
ในระบอบประชาธิปไตยจงึ ตองยอมรบั และเคารพความแตกตางของกันและกัน เพ่ือใหสามารถอยูรวมกันได
และจะตอ งไมมีการใชความรุนแรงตอผูทเ่ี หน็ แตกตางไปจากตนเอง

4. เคารพสิทธิผูอื่น หมายความวา ในระบอบประชาธิปไตยทุกคนเปนเจาของประเทศทุกคน
จึงมีสิทธิ แตถาทุกคนใชสิทธิโดยคาํ นึงถึงแตประโยชนของตนเองหรือเอาแตความคิดของตนเองเปนที่ตั้ง
โดยไมคาํ นึงถึงสิทธิผูอ่ืนหรือไมสนใจวาจะเกิดความเดือดรอนแกผูใด ยอมจะทําใหเกิดการใชสิทธิท่ีกระทบ
ซงึ่ กนั และกนั สทิ ธใิ นระบอบประชาธปิ ไตยจงึ จําเปน ตองมีขอบเขต คือ มีสิทธแิ ละใชสทิ ธไิ ดเ ทาท่ีไมละเมิดสทิ ธิ
ผูอ่นื “พลเมอื ง” ในระบอบประชาธปิ ไตยจงึ ตอ งเคารพสทิ ธิผูอ ่ืนและจะตองไมใชสิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิด
สิทธิของผอู น่ื

5. รบั ผดิ ชอบตอ สังคม หมายความวา ประชาธปิ ไตยมิใชระบอบการปกครองตามอําเภอใจหรือใคร
อยากจะทาํ อะไรก็ทาํ โดยไมคาํ นึงถึงสวนรวม ดังน้ัน “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยยังจะตองใชสิทธิ
เสรภี าพของตนโดยรบั ผิดชอบตอ สังคมดวย ดวยเหตุที่สังคมหรือประเทศชาติมิไดดีข้ึนหรือแยลง โดยตัวเอง
หากสังคมจะดีข้นึ ไดก ด็ ว ยการกระทาํ ของคนในสังคม

6. เขาใจระบอบประชาธิปไตยและมีสวนรวม หมายความวา ประชาธิปไตย คือ การปกครอง
โดยประชาชนใชกติกาหรือกฎหมายท่ีมาจากประชาชนหรือผูแทนประชาชนระบอบประชาธิปไตย จะประสบ
ความสําเร็จไดก็ตอเมื่อมี “พลเมือง” ที่เขาใจหลักการพื้นฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ตามสมควร ทั้งในเรื่องหลักประชาธิปไตยหรือการปกครองโดยประชาชนและหลักนิติรัฐหรือการปกครอง
โดยกฎหมาย ถามีความขดั แยง ก็เคารพกตกิ าและใชวิถีทางประชาธิปไตยในการแกปญหาโดยไมใชกําลังหรือ
ความรนุ แรง

คุณสมบัตขิ องพลเมืองทง้ั 6 ประการ จงึ มีความมงุ หมายทจ่ี ะสรางความสามารถใหแกพลเมืองไทย
ในอนาคต ทจ่ี ะแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คมดวยการสรางสังคมท่สี งบและสนั ตสิ ุข

109

กจิ กรรม

คาํ ชี้แจง ใหผเู รียนตอบคําถามตอไปนี้
1. พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศ มหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร
(พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) ทรงใหความสําคัญกับการเปน
พลเมอื งดีของชาตอิ ยา งไร

2. พลเมืองศกึ ษา มีความหมายวา อยา งไร

3. คุณลกั ษณะของพลเมอื งดี ประกอบดวยอะไรบา ง

4. ใหผูเรียนยกตัวอยางบุคคลที่เปนพลเมืองดีอยางละ 2 คน โดยจัดทําเปนรูปแบบรายงาน
พรอ มรูปภาพ
4.1 ระดบั ชุมชน ทองถ่นิ

4.2 ระดับจังหวัด

4.3 ระดบั ประเทศ

110

เรือ่ งที่ 3 องคประกอบของการศกึ ษาความเปน พลเมือง

หากมกี ารดําเนินการศกึ ษาเพอ่ื ความเปน พลเมอื งอยางจริงจัง ในเวลาไมนานประเทศจะมีพลเมือง
มากพอจนถึงจดุ ทจ่ี ะเปลี่ยนแปลงได ประชาธปิ ไตยของประเทศจะเปล่ียนเปน ประชาธปิ ไตยทเ่ี ปน การปกครอง
โดยประชาชนอยางแทจรงิ สงั คมจะกลายเปนสังคมพลเมือง (Civic Society) เม่ือถึงจุดน้ันสังคมจะเขมแข็ง
ปญหาการเมอื ง ปญหาสังคม ปญหาศีลธรรม ปญหาเยาวชน ปญหาส่ิงแวดลอม แมกระท่ังปญหาเศรษฐกิจ
ก็จะแกไขไดทั้งสิน้ การสราง “พลเมอื ง” หรือเปล่ียนแปลงประชาชนใหเปน “พลเมอื ง” จงึ เปน หนทางในการ
พฒั นาประชาธปิ ไตยท่ีรากฐาน ทตี่ อ งดาํ เนินการเพอื่ ใหป ระเทศมีประชาธิปไตยทม่ี ่ันคง และเปน ประชาธปิ ไตย
ที่เปนการปกครองโดยประชาชน ของประชาชน และเพือ่ ประชาชน อยางแทจ รงิ

การสรางพลเมือง มีหลักการพ้ืนฐานของการจัดการศึกษาเพื่อสราง “ความเปนพลเมือง” ใหเกิด
ความตระหนกั เรยี นรู และพฒั นาคุณสมบัตติ า ง ๆ ของความเปนพลเมือง ในระบอบประชาธปิ ไตย เราสามารถ
สรปุ หลกั การพ้ืนฐานของการศึกษาเพื่อสรา งความเปนพลเมอื ง ไดดงั ตอ ไปนี้

1) ผูสอนจะพฒั นาผูเรียนใหเ ปน พลเมอื ง ไมใชผูสอน แตคือ ตัวผูเรียนเอง โดยผูสอนทําหนาท่ี
เปน “วิทยากรกระบวนการ” ในการจัดกระบวนการเรียนรูใหผูเรียนคิดได และ “พัฒนาตนเอง” ใหมี
คุณสมบัตคิ วามเปน พลเมอื งไดดวยตนเอง

2) การเรียนการสอนเพื่อสรา งความเปน “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตย จึงเปน “แนวระนาบ”
มิใช “แนวด่ิง” ที่มีอาจารยมี “อํานาจ” เปนผูผูกขาด “ความรู” โดยผูเรียนมี “หนาท่ี” ตองจดจําและทํา
ตามท่อี าจารยบ อกและวดั ผลวาถา ใคร “จํา” และตอบตามท่ีอาจารย “สอน” ไดมากเทา ไรจึงไดคะแนนดีมาก
เทาน้ัน หากเปนการเรียนการสอน “แนวระนาบ” ทีผ่ สู อนจะเรียนรูร วมกบั ผเู รียนและเรียนรูจ ากผเู รียนไดด วย

3) การพัฒนาตนเองใหม ีความเปน พลเมืองในขอ ตา ง ๆ ไมไดเ กดิ จากการฟงบรรยาย หากตองใช
กจิ กรรมและการลงมอื ปฏิบตั ิ

4) การเรียนการสอนเพอ่ื สรางความเปน “พลเมือง” จะตองติดตามประเมินผลการพัฒนาตนเอง
โดยใหมีกระบวนการเรียนรอู ยา งตอเน่ืองและสรุปบทเรียนการเรียนรู (Reflection) โดยใหผูเรียนไดแลกเปลี่ยน
เรียนรซู ึ่งกนั และกนั และแลกเปลยี่ นเรียนรูร วมกบั ผสู อนอยา งสมาํ่ เสมอ

การเรยี นรูวิธนี ีจ้ ะเปน การเปด พน้ื ที่ใหส ติปญ ญาและเหตุผล ผูท่ียังคิดไมไดจะไดคิดจากผูเรียนที่คิด
ไดแลว คนท่ียังทําไมไดจะเรียนรูและควบคุมตนเองจากผูที่ทําไดแลว และเม่ือคนสวนใหญเปน “พลเมือง”
แลวคนที่ยังไมเปนพลเมืองจะกลายเปนสวนนอยที่ตองปฏิบัติตามคนสวนใหญ และตองเรียนรูท่ีจะเปน
“พลเมือง” ในทายทีส่ ุด

111

ประเทศที่มกี ารปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย อาจมีการใหนํ้าหนักคุณสมบัติของ “ความเปน
พลเมือง” แตกตางกัน ซ่ึงโดยสรปุ แลวประกอบดวยลกั ษณะ 6 ประการ คือ

1) รบั ผิดชอบตนเองและพง่ึ พาตนเองได
2) เคารพสทิ ธิผอู ื่น
3) เคารพความแตกตา ง
4) เคารพหลกั ความเสมอภาค
5) เคารพกติกา
6) รบั ผดิ ชอบตอ สงั คมและสว นรวม
การศึกษาความเปนพลเมือง ประกอบดวย 4 อยา ง คือ
1) ประชาสงั คมและระบบ
2) องคป ระกอบขอ ปฏบิ ตั พิ ลเมอื ง
3) การมสี ว นรว มพลเมอื ง
4) อตั ลักษณพ ลเมือง
รปู แบบกจิ กรรมเพ่อื สรา ง “ความเปน พลเมือง” เราสามารถใชกิจกรรมรูปแบบตาง ๆ ในกระบวนการเรียน
การสอนเพ่อื ใหผเู รียนไดพ ฒั นาตนเอง ใหม ีคณุ สมบัตคิ วามเปน พลเมอื งในขอตา ง ๆ ท้ัง 6 ขอ

112

กิจกรรม

คาํ ชี้แจง ใหผูเรียนเลือกทํารายงาน 2 หัวขอจากทั้งหมด 4 หัวขอ พรอมนาํ เสนอผลการทาํ รายงาน
ตอ ผูเรียนกลมุ ใหญ คนละ 5 นาที และจดั สงรายงานที่ทําใหครู กศน. ตอไป
1. ประชาสังคมและระบบ
2. องคป ระกอบขอปฏิบตั ิพลเมอื ง
3. การมสี ว นรวมพลเมือง
4. อัตลกั ษณพลเมือง

113

เรื่องท่ี 4 แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน พลเมอื งดี

การปกครองในระบบประชาธิปไตย นอกจากมีกติกาท่ีใชในการปกครองแลว คน หรือ ประชาชน
ผูเ ปน เจาของประเทศ ตองมคี วามสามารถทจ่ี ะปกครองตนเอง มีสิทธิ เสรีภาพ อยางเสมอภาคกัน จึงจะประสบ
ความสําเร็จได ความเปนพลเมอื งของระบอบประชาธิปไตย จึงมีอิสรภาพในการเลือกวิถีชีวิต มีสิทธิเสรีภาพ
อยางเสมอภาคกัน แตอิสรภาพของพลเมืองไมใชอิสรภาพตามอําเภอใจ หากเปนอิสรภาพที่ควบคูกับ
ความรับผดิ ชอบ คอื รบั ผิดชอบตอ ตนเอง ผอู น่ื และสังคม

“ความเปน พลเมอื ง (Citizenship) ของระบอบประชาธปิ ไตย จงึ หมายถงึ การเปน สมาชิกของสังคม
ท่มี อี สิ รภาพควบคกู ับความรับผดิ ชอบ และมีสทิ ธิเสรีภาพควบคูกับหนาที่ สามารถยอมรับความแตกตางและ
เคารพกตกิ าในการอยูรว มกนั พรอ มทั้งมีสว นรว มตอ ความเปนไปและการแกป ญหาในสงั คมของตนเอง”

พลเมอื งทด่ี ี หมายถงึ พลเมอื งผสู ามารถปฏบิ ตั ิ “กจิ ที่ตองทาํ ” และ “กจิ ทค่ี วรทํา” ไดอ ยางสมบูรณ
โดยประพฤติตนตามหลักกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ศีลธรรม และจริยธรรมอันดีงาม
เพือ่ เสริมสรา งความเจริญรุงเรืองแกตนเอง ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ

พลเมืองดมี คี ณุ ลักษณะ ดังนี้
1. เคารพกฎหมายของประเทศ
2. เคารพสิทธแิ ละเสรีภาพของผอู นื่
3. มีความรบั ผิดชอบตอหนา ทีข่ องตนเอง ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก
4. มีเหตผุ ล ใจกวา ง และรบั ฟง ความคดิ เหน็ ทีแ่ ตกตางของผูอืน่ ไดเสมอ
5. มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรมในการดําเนนิ ชวี ติ ประจําวนั
6. มีความกระตอื รือรน ที่จะมสี ว นรว มในการแกไ ขปญ หาของชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
หรือองคก รท่ีตนเองสังกดั อยู
7. มคี วามกระตอื รอื รน ทจี่ ะรวมกิจกรรมตาง ๆ ทางการเมืองการปกครอง เชน การเลือกตั้ง เปน ตน

แนวทางการปฏิบตั ติ นเปน พลเมืองทด่ี ี สามารถสรา งสรรคป ระโยชนแ กป ระเทศ ดงั น้ี
1. ดานการเมอื งการปกครอง เพราะพลเมอื งดจี ะใชส ิทธิและหนา ท่ขี องตนเองอยางเต็มท่ีตามท่ี

กฎหมายและรฐั ธรรมนูญบัญญัติไวโดยมีสวนรวมทางการเมือง เชน ไปใชสิทธิเลือกต้ัง เพื่อใหประเทศคงไว
ซ่งึ ระบบการปกครองน้นั ๆ และทําใหป ระเทศขบั เคล่ือนไปขางหนา

2. ดานสังคม เพราะพลเมืองดีจะไมกอความวุนวายหรือสรางความเดือดรอนแกผูอื่น เพ่ือรักษา
ความเปนระเบยี บเรยี บรอยและสงบสุขแกสงั คม นอกจากน้ีพลเมืองดจี ะตกั เตือนและปฏิบัติตนใหเปนแบบอยาง
ทีด่ แี กบ ุคคลบางสวนทย่ี ังหลงผดิ ประพฤตไิ มด อี ยู

114

3. ดา นเศรษฐกจิ เพราะพลเมืองดจี ะประกอบอาชีพสุจรติ และใชชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
ซึ่งจะทาํ ใหต นเองมีฐานะมั่นคงและทําใหครอบครัวเขมแข็ง พลเมืองบางคนอาจนําทรัพยบางสวนไปบริจาค
ชวยเหลือผูยากไรหรือต้งั มลู นิธิ เพ่อื พัฒนาสังคมใหดขี ้ึน

กิจกรรม

คาํ ชแ้ี จง ใหผูเรียนแบงกลมุ และอภปิ รายในหวั ขอ ความเปนพลเมืองดขี องขา พเจา พรอ มยกตวั อยา งของ
กิจกรรมและผลทีเ่ กดิ ขึ้นตามตัวอยา งตอไปนี้
1. คณุ ลกั ษณะพลเมืองดีของขาพเจา
2. ความเปน พลเมอื งดีของขา พเจา
2.1 ดานการเมอื งการปกครอง
2.2 ดานสังคม
2.3 ดานเศรษฐกจิ

115

เรือ่ งท่ี 5 แนวทางการเสรมิ สรา งสํานกึ ความเปน พลเมือง : กรณศี กึ ษาประเทศไทย

พลเมือง มีความสําคัญอยางย่ิงตอสังคมและประเทศชาติ หากบานเมืองใดประชาชนขาดความรู
และขาดความสนใจความเปน ไปของบานเมอื ง ยอมมีแตปญหาไมส้ินสุดและไมสามารถพัฒนาได การสรางเสริม
และยกระดับ “ประชาชน” สู “พลเมือง” ใหม าก ๆ จึงเปน ทางออกทท่ี ุกฝายใหความสําคญั

สํานึกพลเมือง คือ ความตระหนักของผูคนของประชาชนที่มีหนาที่ตอประเทศชาติและสังคม
ในฐานะผทู ่จี ะเปน พละกําลังของประเทศ เพราะพลเมือง มาจากคําวา “พละ + เมือง” ในการชวยกันเปนหู
เปน ตาและไมน ่งิ ดูดายตอ ความเปนไปของสังคมและประเทศชาติ และพรอ มทจี่ ะใหค วามรว มมอื ในการทําตาม
กตกิ าของสังคม และรว มแกไ ขปรบั ปรุงพัฒนาชมุ ชน สังคม และประเทศชาตใิ หดีขน้ึ ดวยตนเอง

การสรางสํานึกพลเมือง สามารถทําไดหลายวิธี เชน การเขาไปมีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ
รวมดําเนินการและรว มรับผิดชอบในกิจการของชุมชน สังคม และภาครัฐ การมีสวนรว มทางการเมือง ก็ทําได
หลายรูปแบบ เชน การจดั ทาํ ขอเสนอเชิงนโยบาย เปนรูปแบบหนึ่งท่ีเริ่มมีใหเห็นมากข้ึน กระบวนการสราง
สาํ นึกพลเมอื ง เปนการใหค วามสําคัญในการเสริมสรา งความรู ทักษะ และเจตคติ และการมีสวนรวมของภาค
พลเมืองในการจัดทาํ ขอเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อแกป ญ หาของตัวเอง กระบวนการสรางสํานึกพลเมือง
เปนเพียงแคจดุ เรมิ่ ตนเลก็ ๆ ทีจ่ ะเปด มุมมองและเปลี่ยนทัศนคติ ใหเล็งเห็นศักยภาพของคนในการพ่ึงพาตนเอง
ของคนในสงั คม และชุมชน

กระบวนการสรางสาํ นึกพลเมือง มีทงั้ สิ้น 6 ข้นั ตอน ประกอบดว ย
ข้นั ที่ 1 ระบุปญ หา
ขนั้ ท่ี 2 เลอื กปญหา
ขนั้ ที่ 3 ลงพื้นทเ่ี กบ็ ขอมลู
ขั้นที่ 4 การจัดทาํ ขอ เสนอนโยบายสาธารณะ
ขน้ั ท่ี 5 การนําเสนอผลงานหรือนโยบายสาธารณะ
ขั้นท่ี 6 การสะทอ นประสบการณก ารเรียนรู

นโยบายสาธารณะ คือ แนวทางท่ีภาครัฐใชอํานาจตัดสินใจที่จะกระทําหรือไมกระทําสิ่งหนึ่งสิ่งใด
และกําหนดขึน้ โดยตรง โดยอาจเปนคาํ พูดหรอื ลายลกั ษณอักษร มีวตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ใชเ ปนกรอบในการปฏิบัติงาน
ตั้งแตก ารวางแผน การตัดสินใจ การจัดทําโครงการ บงช้ีทิศทางและเง่ือนไขของการกระทําดานการบริหาร
จดั การท่ีจะชว ยใหบรรลุผลตามตอ งการ

116

กรณตี ัวอยา งของกิจกรรมเพอ่ื เสริมสรางสาํ นึกความเปนพลเมือง

กรณีภาคเหนอื : จงั หวัดลาํ ปาง

1. กจิ กรรมเพ่ือเสริมสรางสาํ นกึ ความเปน พลเมืองแกเยาวชนในจงั หวัดลําปาง
ภาพรวมของการจดั กจิ กรรมสรา งเสรมิ สาํ นึกความเปน พลเมอื งแกเ ยาวชนและภาพรวมของการ

สนับสนุนสงเสริมจากภาคสวนตาง ๆ ในการจัดกิจกรรมสรางเสริมสาํ นึกความเปนพลเมืองแกเยาวชน
ในจังหวัดลาํ ปาง สวนใหญเปนการดาํ เนินการจัดกิจกรรมเพ่ือการแกไขปญหาและพัฒนาเด็กและเยาวชน
ไมไ ดต ้ังวตั ถปุ ระสงคเพื่อสรางเสริมสํานึกความเปนพลเมืองแกเยาวชนโดยตรง เหมือนเชนโครงการท่ีไดรับ
การสนบั สนนุ จากสถาบนั พระปกเกลา ทไ่ี ดด ําเนนิ การในโรงเรยี นบางแหงของจังหวัดลําปาง แตอยางไรก็ตาม
การจดั กิจกรรมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนตาง ๆ ทไ่ี ดดําเนินการในจังหวดั ลาํ ปางนนั้ ทายที่สุดแลวก็จะสงผล
หนุนเสริมเติมเต็มสํานึกความเปนพลเมืองของเด็กและเยาวชนไดเชนกันในขณะเดียวกันภาคสวนตาง ๆ
ท่ดี ําเนินการสนับสนุนสงเสริมกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชน หรือกิจกรรมสรางเสริมสํานึกความเปน
พลเมอื งแกเยาวชน ซึ่งประกอบไปดว ย กลมุ ผปู ฏบิ ัตกิ าร กลุม ผสู นบั สนนุ งบประมาณ กลุมผสู นับสนุนวิชาการ
องคค วามรู กลุมผสู นับสนุนบคุ ลากรวิทยากร กลมุ ผูส นบั สนนุ อาคารสถานที่วัสดุอุปกรณ และกลุมผูมีสวนได
สวนเสียกบั การจดั กจิ กรรมตา ง ๆ มีความรวมมอื ระหวางกันตามภาระหนาทพี่ ันธกจิ และตามความสัมพนั ธของ
ภาคสว นตา ง ๆ เหลานี้

2. ปญหาอปุ สรรคและปจ จยั สูความสาํ เร็จในการสรา งเสรมิ สํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและ
เยาวชน

การดําเนินกิจกรรมสรางเสริมสํานึกความเปนพลเมืองแกเยาวชนในจังหวัดลําปาง มีปญหา
อุปสรรคและความสาํ เรจ็ เกิดขึน้ มาก จากการศกึ ษาขอ มูลผานเวทสี ะทอนในการประชุมกลมุ ยอย สามารถสรปุ
ปจจยั สําคัญที่เปน ปจ จยั ปญหา อปุ สรรคของการดําเนนิ งาน สรา งเสรมิ สาํ นกึ ความเปน พลเมอื งแกเยาวชนเกดิ จาก
3 ปจจยั คอื ปจ จัยครอบครัว พอแม ผปู กครอง ปจ จัยการสนบั สนนุ ของหนว ยงานองคกรท่ีเก่ียวของกับงานดาน
เดก็ และเยาวชน และปจจัยโอกาสการเขาถึงกิจกรรมของเด็กและเยาวชน สวนปจจัยสําคัญที่เปนปจจัยแหง
ความสําเร็จนัน้ เกิดจาก 4 ปจจัย คือ ปจ จยั พลังเดก็ และเยาวชน ปจจยั ครอบครัว พอแม ผูปกครอง ปจจัยบุคคล
หนว ยงานองคกรชมุ ชน และปจ จัยเครอื ขา ยการทาํ งาน

3. แนวทางในการพฒั นารปู แบบกจิ กรรมเพ่ือเสรมิ สรา งสาํ นึกความเปน พลเมอื งแกเดก็ และเยาวชน
การพัฒนาเด็กและเยาวชนเปนงานท่ีตองอาศัยเวลาและตองมีรูปแบบกิจกรรมท่ีเหมาะสม

สอดคลอ งกับบริบทการทํางานของแตละพ้ืนท่ี ซ่ึงจําเปนตองมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมอยูอยางตอเนื่อง
เพ่อื ใหเหมาะสมทนั ตอสภาวการณข องเดก็ และเยาวชนและสภาพการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมทส่ี ง ผลกระทบตอ

117

เด็กและเยาวชนอยางรวดเร็ว จากการศึกษาพบวาแนวทางการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อสรางเสริมสาํ นกึ
ความเปนพลเมืองแกเยาวชนในจังหวัดลําปาง ควรพัฒนารูปแบบกิจกรรมโดยเนนการมีสวนรวมของเด็กและ
เยาวชนการบูรณาการกิจกรรมในพ้ืนที่ระดับตําบลการพัฒนาเครือขายการทํางานดานเด็กและเยาวชน
และการสื่อสารสรา งความรคู วามเขา ใจในพน้ื ท่ีอยางท่ัวถงึ

กรณีภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื : จงั หวัดสกลนคร

1. กจิ กรรมการสรางเสริมสาํ นึกความเปน พลเมอื งแกเด็กและเยาวชนในจังหวัดสกลนคร
ในรอบ 3 ปท่ีผานมาเปนการดําเนินกิจกรรมของหนวยงานทั้งภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน

ที่ทํางานขับเคล่ือนการพัฒนาเด็กและเยาวชน แตพบวาเปนกิจกรรมที่มักจะพัฒนาแนวคิดการดําเนินงาน
ท่ีเปนลักษณะนโยบายสวนกลาง เพอื่ รองรบั งบประมาณ เชน สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
แตถ าเปน กิจกรรมเดน ๆ ท่ีเกิดจากมุมมองในปญหาของเด็กและเยาวชนและผูที่ทํางานกับเด็กและเยาวชน
จรงิ ๆ จะเห็นวายังไมไ ดเกิดในหนว ยงานภาครฐั กจิ กรรมที่สามารถสรา งสาํ นึกพลเมืองเด็กและเยาวชนที่เห็น
ผลของการพัฒนาการสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและเยาวชนที่มีเสียงจากกลุมเด็กและเยาวชน
คือ กิจกรรมคายท่ีใหโอกาสเด็กและเยาวชนไดคิดสรางสรรคกิจกรรมดี ๆ และหลากหลาย โดยอยูภายใต
การดแู ลใหค ําแนะนําและไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากผูใหญใจดี เชน กิจกรรมของชมรมคนรักศิลป
กจิ กรรมของกลมุ เดก็ ฮกั ถ่ิน สรปุ ภาพรวมผลการสนทนากลุมยอยในการสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็ก
และเยาวชนในจังหวัดสกลนคร มีสาระสําคัญ คือ การใหนิยามความหมายของเด็กเยาวชนและผูใหญไมได
แตกตางกนั สวนสํานึกพลเมืองเด็กและเยาวชนในปจจุบันควรจะมีตนแบบสํานึกพลเมืองจากผูใหญสวนสํานึก
พลเมืองของเดก็ และเยาวชนนนั้ ไดเรียนรผู า นกิจกรรมคา ยที่มุงเนนการพฒั นาจติ อาสา

2. ปญ หาและอปุ สรรคในการดําเนนิ กิจกรรม เพือ่ เสริมสรา งสาํ นกึ ความเปนพลเมืองแกเยาวชน
ในจังหวดั สกลนคร

ปจ จัยทเ่ี ปน ปญ หาและอปุ สรรคในการเสรมิ สรางสาํ นึกพลเมืองแกเดก็ และเยาวชนในพน้ื ทจี่ งั หวดั
สกลนคร สรุปไดดังนี้

2.1 การขาดโอกาสในการเรยี นรคู วามเปนพลเมืองของเดก็ และเยาวชน
2.2 พอ แม ผปู กครอง ผูใหญใ นสังคม ไมเปน ตน แบบท่ีดแี กลูกหลานขาดตน แบบผูใหญทดี่ ี
2.3 สถาบันการศึกษาขาดความเขา ใจในการสรางสาํ นกึ พลเมอื งแกเด็กและเยาวชน
ผานหลกั สตู รการจัดการเรียนการสอน

118

2.4 หนว ยงานทดี่ แู ลดา นเดก็ และเยาวชนขาดการประสานงาน ขาดความรู ความเขาใจในเรื่อง
ของการสรางสาํ นกึ พลเมือง และทํางานซํ้าซอ น

3. แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและ
เยาวชนจงั หวัดสกลนครมี 2 มมุ มอง คอื มมุ มองของผใู หญ และมุมมองของเด็กและเยาวชน

มุมมองของผูใหญ การสรางตนแบบใหกับเด็กและเยาวชนผานสื่อตาง ๆ การสงเสริมตนแบบ
คนดี โดยมีเวทีแสดงความดีเชิงประจักษ เชิดชูความดี คนดีเพื่อเปนกําลังใจแกคนทําดี โดยเร่ิมจากระดับ
ครอบครวั และการพฒั นาแบบผสมผสานหลักธรรมคาํ สอนกบั กจิ กรรมในชวี ิตประจาํ วัน รวมท้งั การบรรจุหลกั สตู ร
การเสริมสรา งสาํ นึกพลเมอื งแกเด็กและเยาวชนในทกุ ระดบั การศึกษาทคี่ รอบคลมุ เนอื้ หาทกุ วชิ าทุกมิติ

มุมมองของเด็กและเยาวชน รูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสํานึกพลเมืองที่อยากเห็นและ
ตองการ คือ การใหโอกาสไดเขารวมกาํ หนดกรอบแนวทางเพ่ือสรางสาํ นึกพลเมืองกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ
โดยสอดแทรกกิจกรรมจติ อาสาพฒั นาสาธารณะใหแ กเ ดก็ และเยาวชนอยางตอ เนอื่ งและยง่ั ยนื

กรณภี าคใต : จงั หวดั ยะลา

บริบทปญหาสวนใหญที่คุกคามหรือสงเสริมการสรางสํานึกพลเมืองจังหวัดยะลา คือ เยาวชน
วางงาน เยาวชนเลนการพนัน เยาวชนติดยาเสพติด เยาวชนขับรถซิ่ง เยาวชนขาดการศึกษา ขาดทุนทรัพย
ในการศึกษา แตที่สาํ คัญจากผลการวิจัยพบวาปญหาสําคัญในจังหวัดยะลา คือ เยาวชนติดยาเสพติด
และเยาวชนไดร บั การศกึ ษานอย

สาํ หรับทีผ่ านมาการดําเนินงานดา นการพัฒนาเยาวชนในจังหวัดยะลา จากขอมูลประเด็นยุทธศาสตร
ของจังหวัดยะลาสรุปไดวา โครงการพัฒนาเยาวชนเพื่อสรางงาน โครงการจางงานนักเรียนผูเรียนในชวงปด
ภาคฤดรู อ น โครงการฝกอาชีพแกเยาวชนในสถาบันการศึกษาปอเนาะ โครงการมหกรรมเปดโลกการศึกษา
และอาชพี เพ่ือการมงี านทํา โครงการศนู ยย ะลาสันติสุขคนื คนดสี สู งั คม โครงการมวลชนสานสัมพันธสานฝนสู
อามานดามัน และโครงการครอบครัวปองกันภัยแกไขปญหายาเสพติด ตลอดจนมีโครงการพัฒนาเยาวชน
ในถ่นิ ทุรกันดาร โครงการทูบนี ับเบอรวนั เปนตน อาจกลาวไดวาการสรางเยาวชนใหมีสํานึกพลเมืองเริ่มตน
จากการอบรม ดูแล เอาใจใส ศึกษาใหความรูของครอบครัว พอแม และญาติพี่นอง การไดรับการศึกษา
จากสถาบันท่ีเยาวชนศึกษา และหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่เกี่ยวกับเยาวชน คือ สํานักงานพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย จงั หวดั ยะลา และสํานักงานพัฒนาชุมชน จังหวดั ยะลา

119

1. กจิ กรรมการสรางเสรมิ สํานึกความเปน พลเมืองแกเด็กและเยาวชนในระดับพ้นื ทจี่ งั หวดั ยะลา
1.1 จดั โครงการสอนภาษาไทยใหผ ูไมร ูห นังสือหรือผูอา นภาษาไทยไมไ ด เพ่อื สรางความภาคภูมิใจ

ในความเปน คนไทยมีความเปน เจาของประเทศมากขึน้
1.2 โครงการสอนภาษามลายใู หแกท หารพราน เพื่อใหสามารถสือ่ สารสรางความเขา ใจกบั ประชาชน
1.3 โครงการสํานึกรักษทองถิ่นเสริมสรางความสมานฉันท เพื่อใหเยาวชนทํากิจกรรมรวมกัน

และเปนโครงการท่ีสง เสริมปลกู จติ สาํ นกึ ใหเ ยาวชนรกั บานเกดิ รสู กึ ความเปน เจา ของ
1.4 โครงการนาํ เยาวชนสูส ันติ เพื่อเรยี นรวู ธิ กี ารสรางสันตภิ าพการจัดการความขัดแยง
1.5 โครงการคายเอดสและยาเสพตดิ
1.6 จัดตั้งศูนยบ รกิ ารทเี่ ปน มิตรแกเยาวชน เพ่ือใหเยาวชนมีความพอใจมีความประทับใจรูสึกวา

ตนเองมีความสําคัญทาํ ใหมคี วามรักตอประเทศชาติ
1.7 จัดเวทปี ระชาคมหมูบาน เพื่อใหเยาวชนมสี ว นรวมกับทุกฝายในการพฒั นาหรือแกไขปญ หา

ในชมุ ชนทําใหเ ยาวชนภูมิใจและมีความรักตอ ชมุ ชน
1.8 โครงการสง เสรมิ อาชพี แกเ ยาวชน เพื่อใหเยาวชนเห็นชองทางอาชีพในอนาคตใชเวลาวาง

ใหเ ปนประโยชนม ีความคดิ สรา งสรรคม คี วามรบั ผิดชอบมากข้นึ
1.9 กิจกรรมนันทนาการเชนกิจกรรมฟุตบอลภาคฤดูรอนและกิจกรรมออเครสตรา

เพอื่ สะทอ นการอยูรว มกัน
1.10 โครงการสานพลังเยาวชนนําสงั คมเขม แข็ง
1.11 โครงการสงเสริมอาชพี ใหเ ดก็ และเยาวชนเชนปลูกผักเลย้ี งไกซอ มรถจักรยานยนต

2. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเยาวชน
ในจังหวัดยะลา

ปญหาสวนใหญท่ีคุกคามหรือสงเสริมการสรางสํานึกพลเมือง จังหวัดยะลา คือ เยาวชน
ขาดความรับผิดชอบในการรวมกจิ กรรมเพื่อการพฒั นาศักยภาพ และในการทําโครงการปญหาความไมเขาใจ
ในวัตถุประสงคของการทาํ กิจกรรม เยาชนขาดจิตอาสา จิตสาธารณะ ปญหาดานยาเสพติด งบประมาณ
ในการพฒั นาศกั ยภาพของเยาชนในการทําโครงการไมต อเนอื่ ง การใชงบประมาณไมโ ปรง ใส ขาดความเปน อิสระ

3. แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการสรางเสริมสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและ
เยาวชนในระดับพนื้ ทจ่ี งั หวดั ยะลา

3.1 กิจกรรมการสรา งเสรมิ สํานึกความเปนพลเมืองแกเ ด็กและเยาวชน ควรดาํ เนนิ การทั้งในระบบ
และนอกระบบโรงเรยี น เนนกิจกรรมการมีสว นรว ม และสรุปบทเรยี นรว มกัน เพื่อกอ ใหเ กิดการเรียนรูและยํ้า
สํานึกพลเมอื งบอย ๆ เพอ่ื ใหกลายเปนวัฒนธรรมของชุมชนตอไป

120

3.2 กิจกรรมนอกหลักสูตรที่ทํานอกเหนือกิจกรรมในชั้นเรียน นอกจากนี้ยังรวมทั้งการให
หนว ยงานราชการภาคีที่มีหนา ทเี่ กย่ี วกบั โครงการที่เยาวชนดําเนินการหรือบุคคลที่มีบทบาทในชุมชนมารวม
รบั รเู ปน สกั ขพี ยานการทํางานของโครงการ โดยเนน วางระบบการทํางานแบบเปนทางการ และลายลักษณอักษร
มีกําหนดการทาํ งานท่ชี ัดเจน และมคี ณะบุคคลทม่ี หี นา ทเี่ ก่ยี วของมารว มติดตาม

กิจกรรม

คาํ ชี้แจง ใหผูเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม โดยเลือกกรณีตัวอยางของแตละภาคของกิจกรรม
เพ่ือเสริมสรางสาํ นกึ ความเปน พลเมอื งในพน้ื ท่จี ากกรณีศึกษาทีเ่ รียนรมู าแลว โดยใชก ระบวน
การสรา งสาํ นึกพลเมอื ง 6 ขัน้ ตอน ดงั น้ี
ขั้นท่ี 1 ระบปุ ญ หา
ขน้ั ท่ี 2 เลือกปญ หา
ขั้นที่ 3 ลงพืน้ ท่เี ก็บขอมลู
ขัน้ ท่ี 4 การจดั ทาํ ขอ เสนอนโยบายสาธารณะ
ขัน้ ท่ี 5 การนาํ เสนอผลงานหรอื นโยบายสาธารณะ
ขน้ั ที่ 6 การสะทอนประสบการณการเรยี นรู

121

เรื่องท่ี 6 การศกึ ษาเกีย่ วกบั ความเปน พลเมอื งในบริบทตางประเทศ

ในหลายประเทศมีการสงเสริมเร่ืองการศึกษาเร่ืองความเปนพลเมือง ซ่ึงแตละประเทศมีแนวคิด
และประเด็นในการศึกษาที่แตกตางกัน โดยเอกสารนี้จะนาํ เสนอแนวคิด พรอมทั้งประเด็นการปฏิบัติ
ที่นาสนใจที่เกดิ ข้ึนจากการสง เสรมิ ดา นความเปนพลเมือง ซง่ึ มีประเทศท่ีนา สนใจ ดังน้ี

ประเทศญี่ปนุ
ญี่ปุนเปนประเทศท่ีอยูในทวีปเอเชียมีรูปแบบของรัฐเปนรัฐเดี่ยวและปกครองดวยระบอบ
ประชาธิปไตย ในระบบรัฐสภามีองคพระจักรพรรดิ หรือกษัตริยทรงเปนประมุข มีนายกรัฐมนตรีเปนผูนํา
ในการบริหารประเทศ เชนเดียวกับประเทศไทย ในป ค.ศ. 2013 ไดรับการจัดอันดับดานความเปน
ประชาธปิ ไตย (Democracy Ranking) เปนอันดับ 20 ของโลก นับเปนประเทศประชาธิปไตยในฝงเอเชยี เพียง
ไมกป่ี ระเทศทีไ่ ดรบั การประเมนิ อยูในอันดบั ตน ๆ ของโลก
การศึกษาเพ่ือความเปนพลเมืองในประเทศญ่ีปุน คือ การพัฒนาพลเมืองผูซึ่งจะสรางสังคม
ประชาธปิ ไตยในอนาคต ซ่ึงประชาธิปไตยมีท้ังทางตรงและทางออม ความเปนพลเมืองมีท้ังรูปแบบเสรีนิยม
และรัฐนิยม จึงมีความหลากหลายและความยากที่จะนิยามคํานี้ใหมีความหมายที่ครอบคลุมไดในระดับ
นโยบายเรอื่ งการศกึ ษาเพือ่ ความเปน พลเมืองน้นั อยภู ายใตค วามรบั ผดิ ชอบของกระทรวงหลัก 2 กระทรวง คือ
กระทรวงสาธารณสุขแรงงานและสวัสดิการ และกระทรวงศึกษาธิการวัฒนธรรมวิทยาศาสตรกีฬาและ
เทคโนโลยี
โดยทร่ี ัฐบาลมกี ารกาํ หนดแผนนโยบายการพัฒนาเด็กและเยาวชนข้ึน ในป ค.ศ. 2003 โดยไดกลาวถึง
หลกั การสาํ คัญ 4 ขอ สําหรับการจัดการศกึ ษาเพอื่ ความเปนพลเมอื งของญี่ปุน ประกอบดว ย

1) สนับสนนุ ความเปนอสิ ระทางสงั คม
2) สนบั สนุนใหไดร ับประสบการณต ามความตองการของแตล ะบคุ คล
3) ปรบั เปล่ยี นมุมมองของเยาวชนในฐานะสมาชิกท่ีกระตอื รือรนของสังคม
4) กระตุนใหเ กดิ บรรยากาศทีเ่ ปนอสิ ระและมกี ารอภิปรายไดอ ยางเปดกวา งในสังคม
ในป ค.ศ. 2006 มีการปฏริ ปู พระราชบัญญัติการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของญี่ปุน ซึ่งนับตั้งแตป ค.ศ. 1947
ที่ยงั ไมเคยมีการปฏิรูป แตห ลกั การทสี่ ําคัญประการหนึ่งทย่ี ังคงไวอ ยูในพระราชบัญญัติโดยที่มิไดมีการเปล่ียนแปลง
มีใจความสาํ คญั ในวรรคแรกวา เปาหมายของการศึกษาท่ีสาํ คญั คอื การศกึ ษาจะกอใหเกิดการพัฒนาบุคลิกภาพ
โดยสมบูรณ พยายามอยางหนักในการสั่งสอนขัดเกลาบุคคล มีจิตใจที่สดใสรางกายที่สมบูรณเปนผูซึ่งรัก
ในความถูกตองและความยุติธรรม เคารพในคุณคา ของตนเอง เคารพผูใชแรงงาน มีความตระหนักตอความสํานึก

122

รับผดิ ชอบอยา งลึกซงึ้ ซมึ ซับจิตวิญญาณท่ีเปนอสิ ระในฐานะเปนผูสรางสันติภาพแหงรัฐและสังคม ซึ่งเปาหมาย
ท่กี าํ หนดขน้ึ น้นั เปน ประเดน็ สําคัญทจี่ ะสนบั สนุนใหประชาชนเปน พลเมอื งอยางแทจรงิ

มีการสงเสริมเรื่องจิตสาธารณะซึ่งนําไปสูการมีสวนรวมอยางอิสระในการสรางสังคม พรอมทั้ง
การพัฒนาทัศนคติทมี่ ีตอ ความตอ งการรับผดิ ชอบตอ การเติบโตของสังคม ซึ่งปจจุบันทําใหประชาชนในประเทศ
มจี ิตสาธารณะสามารถเห็นไดในหลาย ๆ เหตกุ ารณท ่เี กดิ ขน้ึ ในประเทศญีป่ นุ

การศึกษาความเปนพลเมืองถูกบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนต้ังแตในระดับประถมศึกษา
เนือ้ หาวิชาพลเมืองเปนศูนยกลางของการสรา งความเปน พลเมอื ง โดยอาศยั ฐานของการตระหนกั ในประชาธิปไตย
และความรู ความเขาใจในสิทธิมนุษยชน และความหมายและแนวคิดในเรื่องความสัมพันธระหวางประเทศ
“สรางความเช่ือมโยงกับครอบครวั และชุมชน สรางใหน ักเรยี นมีความตระหนักวามนุษยเปน จดุ เริ่มตน ท่สี าํ คัญ
ของสังคม สรางใหนักเรียนมีความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางเรื่องสวนตัวและสังคมความมีศักดิ์ศรี
ของตนเองในระบบครอบครวั แบบรว มสมัย ความเทาเทยี มทางเพศ และสรางใหเยาวชนตระหนักถึงความสําคัญ
ของแบบแผนประเพณีของชวี ติ ในสงั คม การรกั ษาขนบธรรมเนียมและความสาํ นกึ รับผิดชอบของแตละบุคคล”

ประเด็นศึกษาเก่ียวกบั หนา ที่พลเมืองในประเทศญ่ปี นุ
สาํ หรับประเทศญี่ปุนเปนประเทศท่ีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบอยครั้ง แตละครั้งมีความรุนแรง
และสรา งความเสียหายตอ ชีวติ และทรพั ยส นิ เปน จาํ นวนมาก แตจ ากความยากลําบากจากส่ิงที่เกิดขึ้นก็ไดเกิด
สงิ่ ท่นี า สนใจจากพฤตกิ รรมที่แสดงออกถึงความเปนพลเมือง ทั้งในสวนของความรับผิดชอบตอสังคม จิตสาธารณะ
ความมวี ินยั และอื่น ๆ

กรณีท่ี 1 ท่ีสวนสนุกแหงหน่ึง เกิดเหตุการณซึ่งทําใหนักทองเท่ียวจํานวนมากไมสามารถออกไป
ขางนอกได และทางรานขายของก็ไดเอาขนมมาแจกนักทองเที่ยว มีนักเรียนช้ันมัธยมปลายหญิงกลุมหน่ึง
ไปเอามาเปน จํานวนมาก ซงึ่ มากเกนิ กวา ทจ่ี ะบริโภคหมด คนเขียนรูสกึ ทันทีวา “ทําไมเอาไปเยอะ” แตวินาที
ตอ มากลายเปนความรูส กึ ตืน้ ตันใจเพราะ “เดก็ กลมุ นั้นเอาขนมไปใหเด็ก ๆ ซึ่งพอแมไมสามารถไปเอาเองได
เนือ่ งจากตองอยูดูแลลกู

จากเหตุการณนี้แสดงใหเห็นถึงความเอ้ือเฟอ การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบ
ตอผอู ่ืน

กรณีท่ี 2 ในซปุ เปอรมารเกต็ แหง หนงึ่ มขี องตกระเกะระกะเต็มพ้นื เพราะแรงแผนดินไหว แตคนที่เขา
ไปซ้อื ของไดชวยกนั เกบ็ ของขึ้นไวบ นชัน้ แลวกห็ ยิบสวนที่ตนอยากซอื้ ไปตอ คิวจา ยเงิน

จากเหตุการณน้ีแสดงใหเห็นถึงความเปนระเบียบเรียบรอย การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และมี
ความรบั ผดิ ชอบตอ ผอู ่ืน

123

กรณีที่ 3 ในจังหวัดจิบะเกิดแผนดินไหวบานเรือนพังเสียหาย คุณลุงคนหนึ่งที่หลบภัยอยูก็ได
เปรยออกมาวา ตอจากนี้ไปจะเปนอยางไร เด็กหนุม ม.ปลายก็ตอบกลับไปวา “ไมเปนไรครับ ไมตองหวง
ตอ จากน้ไี ปเมอ่ื เปนผใู หญ พวกผมจะทําใหมนั กลับมาเหมือนเดิมแนน อน

จากเหตุการณน แ้ี สดงใหเ ห็นถงึ ความรบั ผดิ ชอบตอชุมชนบานเกิด มีความคิดที่จะสรางชุมชนบานเกิด
กลับมาใหเ หมอื นเดิมไมยอ ทอ ตอ ความยากลําบาก

กรณีที่ 4 หลังจากเกิดเหตุการณสึนามิคร้ังใหญ อาคารบานเรือนพังเสียหาย ประชาชนไมมีท่ีอยู
อาศัย และอาหารไมเพียงพอตอการบริโภค มีการแจกจายอาหาร ประชาชนไมมีการแยงอาหารกันประชาชน
ตอแถวเพือ่ รบั อาหารอยางเปนระเบยี บเรยี บรอย

จากเหตุการณนี้แสดงใหเห็นถึงความเปนระเบียบเรียบรอย ไมเห็นแกตัว และความมีสิทธิและ
ความเทาเทยี มกัน

ประเทศสาธารณรฐั เกาหลใี ต

สาธารณรฐั เกาหลใี ต ตัง้ อยทู างใตข องคาบสมทุ รเกาหลีมรี ะบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
โดยมีประมุขของประเทศ คือ ประธานาธิบดี ซึ่งไดรับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนใหเปนหัวหนา
ฝายบริหาร และมีนายกรัฐมนตรี ซ่ึงไดรับการแตงต้ัง โดยประธานาธิบดีผานความเห็นชอบจากรัฐสภา
เกาหลีใตเปนประเทศในเอเชียเพียงไมกี่ประเทศท่ีไดรับการจัดอันดับดานความเปนประชาธิปไตย
(Democracy Ranking) ตดิ 1 ใน 30 ของโลก โดยไดเ ปนอันดับ 26 จากการประเมนิ ป ค.ศ. 2013 อาจกลา ว
ไดวา ประเทศเกาหลใี ตมีพัฒนาการของความเปนประชาธิปไตยดีข้ึนมาเปนลาํ ดับ ทั้งความกาวหนาในดาน
ระบบการเลือกตั้งและความเจริญทางวัฒนธรรม ดัชนีความเปนประชาธิปไตยขยับเพ่ิมข้ึนทุกป มีคะแนนสูง
ในทุกดาน โดยเฉพาะอยางย่ิงดานสิทธิทางการเมืองและดานเสรีภาพของพลเมืองจ นไดรับการจัดอันดับ
ใหอยูในกลุมประเทศที่เปนประชาธิปไตยสมบูรณเต็มใบ ในดานการพัฒนาเยาวชนดานการศึกษา
เพ่ือความเปนพลเมืองนั้น มีการดําเนินการมาอยางตอเนื่องมีการกําหนดคานิยม/ส่ิงท่ีดีงามพื้นฐานที่เปน
องคประกอบของทักษะชีวติ 4 ดา นดา นละ 5 ลักษณะยอ ย ไดแก

1) การใชชีวิตสวนตัว : การเคารพตนเอง ความจริงใจ ความซื่อสัตย ความเปนอิสระและการ
ยับยั้งชั่งใจ

2) การใชชีวิตรวมกนั ในครอบครัว เพ่อื นบาน และโรงเรยี น : การปฏิบัติตนตามศาสนา การปฏิบัติ
หนาที่ของลูกตอ พอ แม จรรยามารยาทการอยูรวมกนั และความรักตอโรงเรยี นและบา นเกิด

3) การใชชีวติ ในสงั คม : การปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย การสนใจตอผูอ่ืน การอนุรักษสิ่งแวดลอม
ความยตุ ิธรรม และการสรางจติ สํานึกสาธารณะ

124

4) การใชชีวิตในระดับชาติและชาติพันธุ : ความรักในรัฐความรักในชาติ การมีจิตใจที่มั่นคงมี
สติสมั ปชัญญะ การสรา งความสนั ตภิ ายหลังการแบง แยก และความรักในมนษุ ยชาติ

ลักษณะสําคัญ 4 ประการน้ี ถูกปลูกฝงมาตั้งแตในระดับช้ันประถมศึกษาและยังสงเสริมการปลูกฝง
ทกั ษะการคิด และการตดั สินใจเชิงจริยธรรม (moral thinking and judgment) หรือทักษะท่ีจําเปนตอการ
แกไขเชงิ จริยธรรมในชีวติ ประจําวันอยางถกู ตอ งและมเี หตุผล

โดยสรุป แนวคิดสําหรับการศึกษาเพ่ือสรางความเปนพลเมืองของเกาหลีใต หมายถึง การฝกฝน
ความสามารถในการคิดตัดสินใจในสถานการณท่ีเกี่ยวของกับการเมือง และมีวัตถุประสงคที่จะใหความรู
เก่ียวกับปรากฏการณทางการเมืองระดับชาติและทองถิ่น ในฐานะที่เปนพลเมืองผูถืออํานาจอธิปไตย
(Sovereign Citizen) และสาํ หรับการใหการศึกษาแกเยาวชนเก่ียวกับการมีสวนรวมทางการเมือง จะให
ความสําคัญกับการฝกฝนทักษะและสอนใหรูบทบาทหนาที่ในฐานะพลเมืองท่ีมีความสํานึกรับผิดชอบ
(Responsible Citizen)

วัฒนธรรมของคนเกาหลีใตสอนใหคนมีระเบียบวินัย หากไดเคยสัมผัสหรือสังเกตคนเกาหลีใต
จะรับรูไดไมวาจะเปนทั้งทางดานการศึกษา กีฬา หรือการใชชีวิต และหากดูวิวัฒนาการของเกาหลีใตนั้น
ประสบความสาํ เร็จในหลากหลายดานในเวลาอันรวดเร็ว เพราะเกาหลีใตสอนใหมีการตื่นตัวกับสิ่งตาง ๆ
อยูเสมอมีการปลกู ฝงความรกั ชาติ ซ่ึงเปน วฒั นธรรมที่สบื ทอดกนั มาอยางยาวนาน

ประเดน็ ศึกษาเก่ยี วกับหนา ที่พลเมืองในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

กรณีท่ี 1 กรณีการอัปปางของเรือเฟอรร่ีของเกาหลีใตท่ีชื่อเซวอล ซึ่งจมลงระหวางการเดินทาง
จากกรุงโซลไปยังเกาะเซจู ท้ังสาเหตุของการลมของเรือ ความรับผิดชอบของกัปตันเรือ นายลี จูนเซี๊ยก
(Lee Joon-seok) และผูชวยกัปตันเรือ การปฏิบัติการ และการกระจายคําสั่งของลูกเรือหลังเกิดอุบัติเหตุ
รวมท้ังการกูภยั ทยี่ ังคงดําเนนิ อยู ซง่ึ พบศพผูโ ดยสาร 54 คน สูญหาย 248 คน รอดชีวิต 174 คน จากจํานวน
ผูโดยสารและลูกเรือทั้งหมด 476 คน ผูเสียชีวิตและสูญหายสวนใหญเปนนักเรียนมัธยมจากโรงเรียน
Danwon High School ในเมืองอันซัน ชานกรุงโซล ท่ไี ปทศั นศกึ ษาถงึ 350 คน

รอยเอก นายแพทยยงยุทธ มัยลาภ ไดเขียนเรื่องที่นาสนใจประเด็นหนึ่งไว คือ การปฏิบัติ
ของนักเรียนที่อยูบนเรือ หลังจากมีคําสั่งจากลูกเรือไปยังผูโดยสารเมื่อเกิดเหตุแลวก็คือ “ใหนั่งอยูกับที่
หามเคล่ือนไหวไปไหนขณะท่ีเจาหนาที่กําลังดําเนินการแกไขปญหากันอยู ซ่ึงผูโดยสารจํานวนมากก็ปฏิบัติ
ตามคําสง่ั น้”ี จนกระทัง่ เรอื เอยี งและจมลง แมว า จะมเี วลาถงึ กวา 2 ชัว่ โมงกอ นทเี่ รือจะจม ซง่ึ ผโู ดยสารนาจะมี
เวลาเพียงพอที่จะสามารถชวยเหลือตัวเองออกมาจากเรือได ซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงวินัยของเด็ก ๆ นักเรียน
ท่ีฟงคาํ ส่ังของ “ผูใหญ” และสะทอนถึงความมีระเบียบวินัยของคนเกาหลีที่เชื่อฟงคําสั่งแมตนทราบดีวา

125

อนั ตรายใกลต วั เขา มามากแลว แตครงั้ นี้ “ผใู หญ” คงประเมนิ สถานการณผ ดิ พลาดอยา งรายแรง มีรายงานวา
ลูกเรือไดพยายามกระจายคําสั่งสละเรือในชวงคร่ึงช่ัวโมงตอมาหลังจากเกิดอุบัติเหตุ แตเขาใจวาคําสั่งน้ี
กระจายไปไมท ว่ั ถึง และเชอื่ วา ผโู ดยสารจํานวนมากโดยเฉพาะเด็กๆก็ยงั คงนัง่ อยกู ับที่

กรณีที่ 2 ประเด็นเรื่องของความรับผิดชอบ เห็นไดจากการลาออกและฆาตัวตายของขาราชการ
นักการเมืองในประเทศหลายคนทั้ง ๆ ที่อาจจะไมเกี่ยวกับความผิดที่เกิดข้ึนโดยตรง แตอยูในภาระหนาท่ี
ทดี่ ูแลเชน

การลาออกของนายกรัฐมนตรี ชอง ฮง วอน เพือ่ รับผดิ ชอบตอการลมของเรือเซลวอน และไมสามารถ
ชวยเหลือไดอยา งรวดเร็ว ท้งั ๆ ท่ีนายกรัฐมนตรีไมใชคนขับเรอื และกไ็ มใ ชค นที่เขาไปชว ยเหลือ

เดอื นธนั วาคม 2548 นายฮหู  จุนยัง ผูบัญชาการตาํ รวจเกาหลใี ต ไดยื่นหนังสือลาออกจากตําแหนง
เพอ่ื รับผดิ ชอบกรณที ตี่ ํารวจปราบปรามกลมุ ผปู ระทวงจนถึงแกค วามตาย กรณีเจาหนาท่ีตํารวจทบุ ตกี ลมุ เกษตรกร
ที่มารวมตัวประทวงเร่ืองการเปดเสรีขาวในกรุงโซล จนเปนเหตุใหมีชาวนาเสียชีวิต 2 คน พรอมกับขอโทษ
ตอกรณีดงั กลาว

เดอื นมีนาคม 2549 นายกรฐั มนตรี ลี เฮชอน แหงเกาหลีใต ประกาศลาออกจากตําแหนงภายหลัง
จากท่ีเขาแอบไปรวมตีกอลฟกับกลุมนักธุรกิจ ท่ีเมืองปูซาน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2549 แมจะเปนวันหยุด
ของเกาหลใี ตแตก ็ฟง ไมข นึ้ ในขณะท่ีทั้งประเทศกาํ ลังประสบปญหาเน่อื งจากการประทวงของพนกั งานรถไฟ

126

กจิ กรรม

คาํ ชแ้ี จง ใหผูเ รยี นสรุปผลการศกึ ษาเก่ียวกบั ความเปนพลเมอื งในบริบทตา งประเทศของประเทศญ่ปี นุ
และประเทศเกาหลีใต เปน Mind Map

127

เรื่องที่ 7 กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วของ

ความรู ความเขาใจที่ถูกตองในการเปนพลเมืองและความรับผิดชอบตอสังคมที่เกี่ยวของกับ
การเปนพลเมืองดีหรือพลเมืองของประเทศ ของพลโลก ผานการสรางเด็ก เยาวชน และประชาชน โดยใช
การศึกษาเพื่อสรา งความเปนพลเมอื งในระดับครอบครวั ชุมชน สงั คม และระดับโลก ใหม คี วามสามารถในการคิด
วเิ คราะห ตระหนกั ในการคิด ตัดสินใจในสถานการณท ี่เก่ยี วกบั การเมืองการปกครอง ปรากฏการณทางการเมือง
ระดบั ชาตแิ ละทอ งถ่นิ ในฐานะท่เี ปน พลเมือง

ตัวอยางการจัดทํากจิ กรรมที่ทาํ ใหเ กิดการคดิ วิเคราะหเกยี่ วกับเรอ่ื งพลเมอื งกับความรับผิดชอบตอ
สังคม

1. การเคารพสิทธหิ นา ทีต่ นเองและผอู ่ืน

กรณีศึกษา เร่อื งที่ 1 เด็ก ป.3 เกบ็ กระเปาสตางค
เด็กชายภาวัต ตุลา นักเรียนช้ัน ป.3 โรงเรียนบานสันตนดู เก็บกระเปาสตางคได ในกระเปา
สตางคมีธนบตั รและมเี อกสารตา ง ๆ รวมเปนเงนิ 100,000 กวา บาท แลวนาํ คืนเจาของครบทุกบาททุกสตางค
เจา ของใหเ งินคาตอบแทนเปนคาขนม แตเด็กชายภาวัตก็ไมรับ จึงตองนําใสมือใหทางโรงเรียนขอช่ืนชม
เปนตวั อยางใหค นอนื่ และนกั เรียนในโรงเรยี นวา เปน เด็กที่มคี วามซ่ือสตั ย สจุ ริต มวี ินัย

จากกรณีศึกษา เร่ืองที่ 7.1 ใหผูเรียนคิด วิเคราะห กรณีขางตนเกี่ยวกับการเคารพสิทธิ หนาท่ี
ของตนเองผอู น่ื และนาํ เสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน

128

2. ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย
การมีวินัย มีความสามคั คี และรจู กั หนาที่ ถือกันวาเปนคุณสมบัติสําคัญประจําตัวของคนทุกคน

แตใ นการสรางเสรมิ คณุ สมบัติ 3 ขอน้ี จะตองไมลืมวา วินัย สามัคคี และหนาที่นั้น เปนไดท้ังในทางบวกและ
ทางลบ ซง่ึ ยอ มใหค ณุ หรือใหโ ทษไดมากเทา ๆ กนั ทั้ง 2 ทาง เพราะฉะนนั้ เมื่อจะอบรมจําเปนตองพิจารณา
ใหถ อ งแทแนช ัดกอนวา เปนวนิ ยั สามัคคี และหนาทท่ี ีด่ ี คอื ปราศจากโทษ เปนประโยชน เปนธรรม

กติกา คอื สง่ิ ที่บุคคลหรือคณะบคุ คลสรางข้ึน เพ่ือใหเปนแบบแผนปฏิบัติในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง
เมอ่ื กตกิ านนั้ ไดร บั การยอมรับในสงั คมมากขนึ้ กติกานั้นกจ็ ะกลายเปน กตกิ าสากล กติกาการแขงขนั กีฬา เปน ตน
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) พระราชทานแกผูบังคับบัญชาลูกเสือ ในวันอังคารที่
12 กรกฎาคม 2526

ระเบยี บ หมายถงึ แบบแผนทีว่ างไวเปนแนวปฏิบตั ิหรือดําเนนิ การ เชน ระเบียบวินัย ระเบียบ
ขอ บงั คับ ตอ งปฏิบัติตามระเบยี บ วนิ ัย ถูกลําดับ ถูกที่ เปนแถวเปนแนว มีลักษณะเรียบรอย เชน เขาทํางาน
อยางมีระเบยี บ

กฎ ตามพระราชบัญญัติ หมายถึง วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 5(2)
หมายความวา พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือ
บทบญั ญตั อิ นื่ ท่ีมผี ลบงั คบั เปนการทวั่ ไป โดยไมมงุ หมายใหใ ชบังคับแกกรณใี ดหรอื บคุ คลใดเปนการจําเพาะ

กฎ หมายถึง ทกุ อยางท่กี ลา วมาแตตน ออกโดยหนวยงานทางปกครอง โดยมีผลบังคับเชนเดียวกับ
กฎหมาย อาจมีระยะเวลาหรือไมกไ็ ด ท่เี รยี กวา กฎ กเ็ พราะวา กฎ ไมไดอ อกโดยรัฐสภาหรือฝายนติ ิบญั ญัติ
มีศักด์ิทางกฎหมายตามลําดับขั้นอยูในชั้น กฎ ถึงแมระเบียบขอบังคับทองถิ่นจะออกโดยสภานิติบัญญัติ
ทอ งถน่ิ ก็มศี กั ดเ์ิ ปนเพียง กฎ

กฎหมาย หรอื พระราชบญั ญตั ิ ถกู ตราขนึ้ โดยฝายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาในประเทศท่ีใชระบบ
สองสภา สว นในประเทศทีใ่ ชสภาเดยี ว ก็ทําหนา ทีเ่ ปนรัฐสภา

การเสนอกฎหมาย ถึงแมโดยหลักการจะออกโดยรัฐสภา แตกฎหมายสวนใหญถูกเสนอขึ้น
โดยฝายบริหาร หรอื รัฐบาล (ในรปู แบบรฐั สภา) ในรูปแบบอื่นจะตางไปจากน้ี กฎหมาย สมาชิกสภาผูแทนฯ
สามารถเสนอเขา สสู ภาได โดยมีผูเขา ชอ่ื รับรองในการเสนอรางกฎหมายนั้น 20 คน แตกฎหมายใดเปนกฎหมาย
ท่ีเกย่ี วกบั การเงนิ คือ เกี่ยวขอ งกับงบประมาณแผนดิน เชน แยกกระทรวง แยกจงั หวัด เปนตน รา งกฎหมาย
ฉบับนน้ั ตอ งใหน ายกรัฐมนตรีเซน็ รับรองกอนเสนอเขา สูส ภา

129

ดังนั้น กฎหมายจึงมีศักดิ์สูงกวากฎ โดยลําดับชั้นทางกฎหมาย รัฐธรรมนูญมีศักดิ์สูงสุด
การแกไ ขรัฐธรรมนูญหรือยกเลิกจะตองตราเปนรัฐธรรมนูญฉบับใหม หรือรัฐประหารที่เปนวิธีนอกข้ันตอน
กฎหมายถา หากวา จะยกเลิกกต็ อ งตรากฎหมายใหมขึน้ มายกเลิกเชนกัน

กรณีศกึ ษา เรอ่ื งท่ี 2 ไมก ลายเปนทองคาํ
นายมานะ เปนพอคาท่ีมีอิทธิพลในวงการธุรกิจและวงการทางการเมือง รวมไปถึงวงการ
ราชการไทย ครั้งหน่ึงเขาไดพานักการเมืองและขาราชการชั้นผูใหญ จํานวน 10 คน ไปเท่ียวประเทศ
แถบอเมริกาใต โดยออกคา เดนิ ทางและคาใชจ า ยทั้งหมด เม่ือถึงวันเดินทางกลับ เขาไดนําทองคําเถ่ือน
เขามาโดยบอกวาเปนไมแ กะสลักของผูเดินทางท้ังหมด เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจประเมินราคาจัดเก็บภาษี
ของเจาหนา ท่ีผูตรวจ ซ่งึ เขาไดรับยกเวน การตรวจ เน่ืองจากนายมานะมีความสนิทสนมคุนเคยและให
สิ่งของแกเจาหนาที่เปนประจํา ในครั้งน้ีเจาหนาที่คํานวณเก็บภาษีโดยไมไดเปดลังตรวจตามขั้นตอน
ปกติ เปน เงนิ 2,000 บาท หลงั จากนั้น เจาหนา ท่รี กั ษาความปลอดภยั พบพิรุธจงึ ไมใหน ําสินคาออกนอก
สนามบิน ขณะที่พลเมืองดีก็โทรศัพทแจงสํานักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.)
วาเขาแจงนําสินคาไมตรงกับรายการที่ไดรับแจง ดังนั้น ป.ป.ช. จึงประสานระงับการนําสินคาออกไป
เพอื่ รอการตรวจพสิ ูจน เม่ือทาํ การตรวจพสิ จู นแ ลว พบวา จากท่ีนายมานะแจงวาเปนไมแกะสลักกลับ
กลายเปน ทองคํามูลคา หลายสิบลา นบาท เม่ือหลักฐานการสบื คนชัดเจนจงึ ไดดําเนินการสงฟองจําเลย คือ
เจาหนาท่ีผูจัดเก็บภาษีฐานะละเลยการปฏิบัติหนาที่ และนายมานะฐานะสนับสนุนการทําความผิด
ของเจาหนาท่ี ในคดีน้ีศาลไดพิพากษาวา จําเลย คือ เจาหนาท่ีผูจัดเก็บภาษีละเลยการปฏิบัติหนาท่ี
สวนนายมานะ ศาลลงโทษจําคกุ และปรับเปนเงิน 4 เทาของราคาประเมนิ บวกอากร รวมเปนเงินหลาย
สบิ ลานบาท

จากกรณีศึกษาเรื่องที่ 2 ใหผูเรียนแบงกลุมคิด วิเคราะห กรณีขางตนเกี่ยวของกับ
1. ระเบียบ
2. กฎ
3. กติกา
4. กฎหมาย

130

3. ความรับผิดชอบตอตนเองและผอู ื่น/สังคม/โลก

กรณศี กึ ษา เรอื่ งท่ี 3 ชาวบา นจังหวัดประจวบคีรขี ันธ
จิตอาสารวมเก็บขยะตลอดแนวชายหาดหวั หิน

นายกิตติกรณ เทพอยูอํานวย หัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)
จังหวดั ประจวบครี ีขันธ พรอ มดวย นายอุทัย ขันทอง หัวหนากลุมงานยุทธศาสตรและการจัดการปองกันภัย
จังหวัด นายจีรวัฒน พราหมณี ปลดั เทศบาลเมืองหัวหิน เจาหนาทีท่ หารรอ ย รส. อ.หัวหิน รวมกันจัดการ
เก็บซากขยะกวา 10 ตัน ท่ีถูกพัดขึ้นมาบริเวณชายหาดหัวหิน ตั้งแตหนาโรงแรมนาวีภิรมยทาเทียบ
เรือสะพานปลาหัวหิน โรงแรมฮิลตัน หัวหินโรงแรมเซนทารา หัวหินชายหาดเขาตะเกียบ และชายหาด
หัวดอน ตลอดแนวระยะทางกวา 10 กโิ ลเมตร ตอเนอ่ื งเปน วันท่ีสอง โดยคาดวาจะใชเวลาเก็บประมาณ 3 วัน
เพื่อใหชายหาดตลอดแนวคนื สสู ภาพปกติ และไมสงผลกระทบตอ การทอ งเท่ยี ว

พรอมกันนี้ทางสํานักงานปองกันภัยจังหวัด ไดประสานขอกําลังสนับสนุนเจาหนาที่ทหารจาก
ศูนยการทหารราบ คายธนะรัชต อ.ปราณบุรี เพื่อชวยเก็บซากขยะบริเวณดังกลาว เนื่องจากขยะ
มปี รมิ าณมาก สาํ หรบั ขยะดงั กลา วเกิดจากลมมรสุมพัดเขามาเกยหาดเปนประจําทุกป โดยเทศบาลเมือง
หัวหินไดออกดูแลใหชายหาดสะอาด สวยงาม และปลอดภัย เพื่อให หัวหิน เปนสถานที่ทองเท่ียวที่มี
ช่ือเสยี งของประเทศ และประทับใจแกนักทองเทยี่ วทั้งชาวไทยและชาวตา งประเทศตลอดไป

ที่มา : https://www.thairath.co.th/news/local/central/1397193

จากกรณีศึกษา เรอ่ื งท่ี 3 ใหผเู รียนแบง กลุมแลว สะทอ นความคิดเห็นจากกรณศี กึ ษา ในดา น
1. ความรับผดิ ชอบของตวั เอง
2. ความรบั ผดิ ชอบของตัวเอง
3. ความรบั ผดิ ชอบตอ สว นรวม
4. ความรับผิดชอบตอ โลก

131

4. ความเปนพลเมืองของประเทศ/โลก

กรณีศึกษา เร่ืองท่ี 4 ตาํ นานพอ เฒาปลูกตน ไม 37 ป กลายเปนปา ทึบ
ลุงสงัด อินมะตูม ตาํ นานคนปลูกปาบานทาไชย กวา 37 ปแลว ที่พ้ืนท่ีปาบานทาไชย เติบโต
เปนปาชุมชน บนเนื้อที่ 36 ไร มีตนไมหลากหลาย 17 ชนิด ราว 5,000 ตน จากนํ้าพักนํ้าแรงของลุงสงัด
โดยไมเ คยตอ งการคา ตอบแทน ดวยตระหนักวา การปลกู ตนไม คอื การทําบญุ
ปาชมุ ชนวัดทาไชย ต.มะตูม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก ถือเปนความสําเร็จในเร่ืองการปลูกปาและ
สรา งแรงบนั ดาลใจแกคนรกั ปา ท่ีตอ งการปลูกปา รวมท้งั ยังใหค วามรมร่ืน ชมุ ชน้ื แกพนื้ ทีบ่ า นทา ไชยซึ่งปาแหงน้ี
เกิดจากนํ้าพักน้ําแรงของลุงสงัด อินมะตูม ชายชราวัย 98 ป อยูบานเลขที่ 25 หมู 2 ต.มะตูม
อ.พรหมพริ าม จ.พิษณุโลก แตช วงเวลานไี้ มไดไ ปบอย ๆ เนื่องจากสภาพรา งกายไมแข็งแรงทําใหลุงสงัดไมได
ออกไปปลกู ปา เหมอื นแตกอน
โดยลุงสงัด เลาวา ท่ีเร่ิมมาปลูกปา ชวงน้ันอายุราว ๆ 60 ป เม่ือป 2524 ครอบครัวมีฐานะมั่นคง
พออยูพอกนิ และลูก ๆ ชวยตัวเองไดแลว จึงเขาวัดอีกครั้งเพ่ือศึกษาธรรมะท่ีเคยบวชเรียนและชวยงานวัด
ดูแลพ้ืนทข่ี องวดั ทาไชยทีอ่ ยใู กลบ าน ซึง่ ขณะนัน้ พระอาจารยสาม เปน เจาอาวาสวัดทาไชย มีความรูความสนใจ
และรักตน ไม จึงซึมซบั ความรสู ึก จนกระทั่งเอาจริงจังกับการปลูกตนไม การเพาะตนไมและดูแลรักษาตนไม
ในพ้ืนท่ีของวัด โดยเฉพาะสวนที่เปนธรณีสงฆที่บรรพบุรุษลุงสงัดถวายใหแกวัดทาไชยบนเน้ือท่ีกวา 36 ไร
ตอมาพระอาจารยสาม ขอใหลุงสงัดดูแลพ้ืนที่วัดทาไชยใหมีปามีตนไมตอไปตราบเทาจะทําได ดวยสัจจะ
สญั ญาระหวางพระอาจารยส ามกบั ลงุ สงัด ตามสัญญาทใ่ี หไ ว ทีจ่ ะดูแลปา วดั ทา ไชย
อีกทง้ั ทคี่ วามคดิ ที่วา "ทเ่ี ปนของวดั ปา เปน ของพระราชนิ "ี จึงทําดว ยความสุข ไมม สี ่ิงตอบแทนจึงดูแล
ปาวัดทาไชยเรื่อยมาและขยายพันธุไมในกระปองนม สูวัดใกลเคียงและผูสนใจทั่วไปปละเปนหมื่นตน
ซ่งึ ปลูกปา มาไดจนอายุ 92 ป ดวยวัยทช่ี ราไมส ามารถปลกู ปาตอ ไดแตก็ยงั หวังใหท กุ คนคอยดูแลและรกั ษาปา
ตอไป
ที่ผานมาลุงสงัด เคยไดรับรางวัล เม่ือป 2536 รางวัลบุคคลดีเดนในการรวมปลูกตนไมโครงการ
คืนธรรมชาติสูแผนดิน อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลกและป 2548 โลเกียรติคุณสาขาการสงเสริมและพัฒนาปา
ชุมชน กรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

ทีม่ า : https://www.sanook.com/news/6634362/

132

จากกรณีศึกษา เรื่องที่ 4 ใหผูเรียนคิด วิเคราะห กรณีขางตนเกี่ยวกับความเปนพลเมืองที่ดี
ของประเทศ (โลก) อยา งไรบาง

133

5. แนวทางการปฏิบัติตนเปนพลเมอื งท่ดี ี
จากการเรียนรเู กย่ี วกับการปฏบิ ตั ติ นเปน พลเมืองดที ่ีผานมาแลว ใหผ เู รยี นนําเสนอกรณีตัวอยาง

การเปนพลเมืองที่ดีของตนเองวามีอะไรบาง และส่ิงที่ปฏิบัติน้ันสงผลดีหรือไม อยางไร

134

6. พลโลกท่มี ีความรับผดิ ชอบตอการปองกนั การทุจรติ
พลโลก หมายถึง ทกุ คน ทกุ บาน ทกุ ตําบล ทุกอาํ เภอ และทกุ ประเทศ ทุกชน ทุกเผา ทกุ ชั้น

วรรณะ ไมมีแบง แยก เราทุกคนอยใู นบานหลังเดียวกันเปนบา นหลังใหญ
คณุ ลักษณะพลเมอื งทีด่ ขี องประเทศชาติและสงั คมโลก
1. เคารพกฎหมายและปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสังคม เมื่อพลเมืองทุกคนปฏิบัติ

ตามกฎระเบยี บ ขอ บงั คบั ของสงั คม และบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย เชน ไมล วงละเมิดสิทธิของผูอื่น หรือไมกระทํา
ความผดิ ตามทีก่ ฎหมายกาํ หนดก็จะทาํ ใหรัฐไมตองเสียงบประมาณในการปองกันปราบปราม และจับกุมผูท่ี
กระทาํ ความผดิ มาลงโทษ นอกจากนี้ยังทําใหสงั คมมคี วามเปนระเบียบสงบสุขทุกคน อยูรวมกันอยางสมานฉันท
ไมห วาดระแวงคิดรา ยตอกัน

2. เปนผูมีเหตุผล และรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นทุกคนยอมมีอิสรภาพ เสรีภาพในการ
แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ระหวางกนั ซ่ึงการรูจักการใชเหตุผลในการดําเนินงาน จะทําใหชวยประสานความสัมพันธ
ทาํ ใหเ กิดความเขา ใจอนั ดีงามตอกัน

3. ยอมรับมติของเสียงสวนใหญ เมื่อมีความขัดแยงกันในการดําเนินกิจกรรมอันเกิดจาก
ความคดิ เห็นทแี่ ตกตางกัน และจําเปนตอ งตัดสินปญ หา ดวยการใชเ สียงขางมากเขา ชว ย และมติสว นใหญ
ตกลงวาอยา งไร ถึงแมวา จะไมตรงกบั ความคิดของเรา เราก็ตองปฏบิ ตั ติ ามเพราะเปน มตขิ องเสยี งสว นใหญน นั้

4. เปน ผูน ํามีนาํ้ ใจประชาธิปไตย และเห็นแกประโยชนสวนรวม ผูที่มีความเปนประชาธิปไตยนั้น
จะตองมีความเสียสละในเรื่องท่ีจําเปนเพื่อผลประโยชนของสวนรวม และรักษาไวซ่ึงสังคมประชาธิปไตย
เปน การสง ผลตอความม่ันคงและความกาวหนาขององคกร ซงึ่ สดุ ทายแลว ผลประโยชนด งั กลา วก็ยอนกลบั มาสู
สมาชิกของสงั คม เชน การไปใชส ทิ ธ์ิเลอื กต้ัง ถงึ แมว าเราจะมีอาชพี บางอยางท่มี รี ายไดตลอดเวลา เชน คาขาย
แตก็ยอมเสียเวลาคาขายเพอื่ ไปลงสทิ ธิ์เลอื กต้ัง บางคร้งั เราตองมีน้ําใจชวยเหลือกิจกรรมสวนรวม เชน การสมัคร
เปนกรรมการเลอื กต้ังหรอื สมาคมบาํ เพญ็ ประโยชนสว นรวม เปน ตน

5. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอื่น ควรรูจักเคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอื่น เชน บุคคล
มเี สรีภาพในการแสดงความคิดเห็นการพูด แตตองไมเปนการพูดแสดงความคิดเห็นท่ีใสรายผูอ่ืนใหเสียหาย

6. มคี วามรับผิดชอบตอ ตนเอง สังคม ชมุ ชน ประเทศชาติ ในการอยรู ว มกันในสังคมยอมตองมีการ
ทํางานเปน หมคู ณะจึงตองมกี ารแบงหนาทีค่ วามรบั ผิดชอบในงานน้นั ๆ ใหสมาชิกแตละคนนําไปปฏิบัติตามที่
ไดรบั มอบหมายไวอยา งเตม็ ที่

7. มีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง ในสังคมประชาธิปไตยนั้น สมาชิกทุกคนตอง
มีสวนรว มในกิจกรรมการเมอื งการปกครอง เชน การเลือกตั้ง เปนตน

135

8. มีสวนรวมในการปองกัน แกไขปญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ชวยสอดสอง
พฤติกรรมม่ัวสุมของเยาวชนในสถานบนั เทิงตา ง ๆ ไมห ลงเชื่อขาวลอื คาํ กลาวรา ยโจมตี ไมมองผูที่ไมเห็นดวย
กบั เราเปน ศัตรู รวมถงึ สง เสรมิ สนบั สนุนการแกไ ขปญหาความขัดแยงตาง ๆ ดว ยสนั ติวิธี

9. มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามหลักธรรม ทุกคนควรมีศีลธรรมไวเปนหลักในการ
ควบคุมพฤติกรรมของบุคลใหดาํ เนินไปอยางเหมาะสม ถึงแมจ ะไมมีบทลงโทษใด ๆ ก็ตาม

กรณีศึกษา เรือ่ งที่ 6 พลโลกที่มคี วามรับผดิ ชอบตอ การปองกนั การทจุ ริต
สําหรับประเทศเกาหลี การตอตานคอรรัปช่ันเขมแข็งมากจากภาคประชาชน นําโดย
ปก วาน ชุน (Pak Whan Chun) นักกฎหมายจากฮารวาด รณรงคใหมีการตอตานการคดโกงของขาราชการ
นักการเมอื ง และนักธุรกิจ มีประชาชนใหการสนบั สนนุ จากจาํ นวนสบิ เปน จํานวนหลายหม่ืน เปน สมาชกิ และ
บริจาคเงินมูลนิธิดวยการจํากัดจํานวน เพื่อไมใหมีการครอบงําจากอิทธิพลใด ไมรับเงินชวยเหลือจาก
รัฐบาล และนักการเมือง การทํางานเปนไปอยางโปรงใส ไดรับขอมูลเบาะแสการประพฤติมิชอบของ
ขาราชการ นักการเมือง จากสมาชิกทั่วประเทศ และมีทีมงานนักกฎหมายตรวจสอบกล่ันกรองแลว
เปด เผยใหส าธารณชนทราบ รวมท้ังผลกั ดนั ใหมีการออกกฎหมายปองกันพยานไดสําเร็จ ทําใหเกิดพลัง
สังคมท่ีเขมแข็ง เพ่ือตอตานคอรรัปชัน ประสบความสําเร็จในระดับที่ทําใหประธานาธิบดีของเกาหลี
ถูกพิพากษาจําคุก และบางคนเพียงถูกสงสัยก็ฆาตัวตาย เพราะเกิดความละอาย และพรอมแสดงตน
ปกปอ งความดีเพื่อสงั คม

ที่มา : ทิพยพ าพร ตนั ติสนุ ทร
สถาบนั นโยบายการศึกษา http://www.fpps.or.th/news.php?detail=n1367173359.news

จากกรณศี ึกษา เร่อื งท่ี 6 ใหผ ูเ รียนคิด วิเคราะห ในฐานะพลเมอื งของโลกน้ี เราจะมคี วามรบั ผิดชอบ
ตอการปอ งกันการทจุ รติ อยา งไร


Click to View FlipBook Version